Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสาร ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ก.ค-ธ.ค. 63

วารสาร ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ก.ค-ธ.ค. 63

Published by ED-APHEIT, 2021-07-06 07:11:36

Description: วารสาร ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ก.ค-ธ.ค. 63

Search

Read the Text Version

ปีท่ี 6 ฉบับที่ 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 100 เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ท่ีผู้วิจัยได้สร้างและพัฒนาจากการ สังเคราะหแ์ นวคดิ ทฤษฏี และงานวจิ ยั ทีเ่ ก่ียวขอ้ ง โดยผ่านการตรวจสอบคณุ ภาพเคร่ืองมอื นาร่างแบบสอบถาม ไปให้ผู้เช่ียวชาญ 5 คน ตรวจสอบพิจารณาความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหา (Content Validity) เชิงโครงสร้าง (Construct Validity) รวมท้ังด้านใช้ภาษาและอ่ืนๆ ของข้อความแต่ละข้อที่เห็นสมควรให้แก้ไข เพ่ือความ สมบูรณ์ของแต่ละข้อคาถามแล้วนาข้อคาถามมาหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC : Index Of Consistency) จึงนาแบบสอบถามไปทดลองใช้ (Try out) กับครูในสถานศึกษาเอกชนในกรุงเทพมหานคร จานวน 30 ชุด ท่ี ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย แล้วนามาวิเคราะห์หาค่าเชื่อม่ัน (Reliability) ได้ค่าความเช่ือมั่นเท่ากับ .997 ท้ังนี้ผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูลจากการส่งแบบสอบถามท้ังหมด 206 ฉบับ และได้รับแบบสอบถามคืน 206 ฉบับ อตั ราการตอบกลบั คิดเป็นรอ้ ยละ 100 การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติใช้โปรแกรมในการวิเคราะห์ เพ่ือหาจานวน ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) t-test และ F-test ผลกำรวิจัย 1. จากการศึกษาพบว่าสภาพการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพครูในสถานศึกษาเอกชนสายสามัญ ควบค่ศู าสนาอสิ ลาม กรุงเทพมหานครมีดงั น้ี การปฏบิ ตั ิตามจรรยาบรรณวชิ าชพี ครูทัง้ 5 ด้าน โดยภาพรวมอยู่ ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือด้านจรรยาบรรณต่อสังคม รองลงมา คือ จรรยาบรรณตอ่ ตนเอง และจรรยาบรรณตอ่ ผู้รว่ มประกอบวชิ าชพี ตามลาดับ และจรรยาบรรณวิชาชพี ครทู ้ัง 5 ด้านอยใู่ นระดบั มาก 2. จากการเปรียบเทียบความคิดเห็นเก่ียวกับการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพครูในสถานศึกษา เอกชน สายสามัญควบคู่ศาสนาอิสลาม กรุงเทพมหานคร เก่ียวกับสถานภาพทั่วไปด้านเพศต่างกัน การปฏิบตั ิ ตามจรรยาบรรณวิชาชีพครูโดยรวมมคี วามคิดเห็นแตกต่างกนั และวิเคราะห์เป็นรายด้านพบวา่ มีจรรยาบรรณ 3 ด้านที่มีความคิดเห็นแตกต่างกัน ได้แก่ ด้านจรรยาบรรณต่อวิชาชีพ ด้านจรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ และ ด้านจรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ ซ่ึงเป็นไปตามสมมติฐาน ส่วนด้านอายุ สาขาที่สาเร็จการศึกษา ประสบการณ์การทางาน กลุ่มวิชาท่ีสอน และศาสนาท่ีนับถือต่างกัน การปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู โดยรวมและรายดา้ นท้งั 5 ด้านมคี วามคดิ เห็นไม่แตกตา่ งกัน ซึ่งไมเ่ ป็นไปตามสมมติฐาน 3. ปัญหาและแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพครูในสถานศึกษา เอกชนสายสามญั ควบคูศ่ าสนาอสิ ลาม กรงุ เทพมหานคร คอื มีปญั หาทางการเงิน ทาให้ขาดโอกาสในการพฒั นา ตัวเองใหม้ อี งคค์ วามรู้เพม่ิ ขนึ้ ขาดความภาคภูมิใจในวิชาชพี ขาดตกบกพร่องในการทางานเนื่องจากได้รบั งานที่ มอบหมายมากเกินไป ครูไม่มีความเมตตาต่อศษิ ย์และการใหบ้ รกิ ารตอ่ ผปู้ กครองให้เสมอภาคและเท่าเทียมกัน ในโรงเรยี นมกี ารแบง่ กล่มุ ระหวา่ งครทู ีอ่ ยมู่ าก่อนและครูเข้าใหม่ การสือ่ สารทใ่ี ชภ้ าษา ครบู างส่วนปฏิบตั ิหน้าที่ เฉพาะในโรงเรียนเท่านัน้ ไม่ค่อยมสี ่วนรว่ มในกิจกรรมต่าง ๆ นอกโรงเรยี นไมว่ ่าจะเป็นกิจกรรมทางชุมชนหรอื กิจกรรมระหวา่ งโรงเรยี นและชุมชน และเมอื่ มีกจิ กรรมระหวา่ งโรงเรยี นและชุมชน ครูทีน่ ับถอื ศาสนาท่ีแตกต่าง

ปที ่ี 6 ฉบบั ที่ 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 101 กับชุมชนไม่สามารถปฏิบัติหน้าท่ีได้อย่างเต็มท่ี แนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาปฏิบัติตามจรรยาบรรณ วิชาชีพครูในสถานศึกษาเอกชนสายสามัญควบคู่ศาสนาอิสลาม กรุงเทพมหานคร คือ ผู้บริหารมีการจัดต้ัง กองทุนกู้ยืมเพื่อช่วยเหลือบุคลากร โรงเรียนจัดกิจกรรมพัฒนาสร้างเสริมความรู้และทักษะที่จาเป็นในยุค ปัจจุบันให้ทันสมัย และจัดกิจกรรมสร้างขวัญและกาลังใจ รวมทั้งปลูกจิตสานึกความเป็นครูให้เกิดคุณค่าใน ตนเองและวิชาชีพ ผู้บริหารหรือที่ผู้ที่มีอานาจต้องพิจารณาการมอบหมายงานให้เหมาะสมกับความรู้ ความสามารถของบคุ ลากร มีการวางระบบงานและความสาคญั ของงานให้ชัดเจน ครตู ้องมคี วามเขา้ ใจนักเรียน ทปี่ ระพฤติปฏิบัตติ นแตกต่างกนั อย่างเขา้ ใจ โดยไมใ่ ช้อารมณ์ ผู้บริหารมีการกาหนดมาตรการการปฏิบัติตนต่อ ผู้รบั บรกิ ารอยา่ งเสมอภาคเทา่ เทยี มไม่ว่าแตกต่างกันในด้านใด เช่น ศาสนา การแตง่ กาย ฐานะ เพศ อายุ เปน็ ต้น โรงเรียนควรจัดกิจกรรมกระชับความสัมพันธ์ในเพ่ือนครูให้เกิดความรัก ความสามัคคี โรงเรียนมีการจัด อบรมการใช้ภาษาในการส่ือสารเพื่อพัฒนาตนเองให้เหมาะสมและเกิดภาพลักษณ์ที่น่าเชื่อถือ โรงเรียนจัดทา โครงการสัมพันธ์ชุมชนเพื่อให้ครูมีส่วนร่วมในการทากิจกรรมพัฒนาชุมชนให้ดียิ่งข้ึนอีกทั้งยังเกิดความ ภาคภูมิใจในการปฏิบัติหน้าที่ของตนเองและโรงเรียนจัดอบรมเร่ืองวัฒนธรรม การดารงชีวิต คติความเชื่อ เพือ่ ให้ครูเขา้ ใจความรู้สึกนกึ คิดของผู้ปกครองหรอื คนในชุมชนจากภมู ิหลงั ต่างๆ หรอื เข้าใจพฤติกรรมของผู้คน มากขนึ้ ทาให้สามารถเขา้ ถงึ คนในชมุ ชนและปฏิบัตกิ ิจกรรมไดบ้ รรลุเป้าหมายหรือจุดประสงค์ของกจิ กรรมและ โครงการน้นั ๆ 4.จากการสัมภาษณ์ครทู ่ไี ด้รับรางวัลดเี ดน่ จานวน 5 คน สรุปผลการสัมภาษณ์ได้ดังน้ี 4.1 ครูดีเด่นในสถานศึกษาเอกชนสายสามัญควบคู่ศาสนาอิสลามมีการจัดการทางด้านความคิดและ การปฏิบัตติ นอยา่ งไรและมีความแตกต่างกับครูทัว่ ไปในสถานศึกษาเอกชนสายสามญั ควบคู่ศาสนาอิสลามดังนี้ ครูดีเด่นจะปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้อื่น ทั้งเร่ืองคุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนการปฏิบัติตนตามหลัก ศาสนาอย่างเคร่งครัด เป็นเหมือนเพชรเม็ดงามที่บ่มเพาะมีความรู้ ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ ปฏิบัติตน อย่างน่ายกย่องโดยจัดเป็นบุคลากรนา้ ดีของสถานศึกษา หม่ันพัฒนาตนเองอยู่เสมอ มีคุณธรรม เป็นที่ยอมรับ ของทุกคน จึงมคี วามแตกตา่ งกับบคุ ลากรครูท่วั ไป 4.2 ครูในสถานศึกษาเอกชนสายสามัญควบคู่ศาสนาอิสลามมีการจัดการทางความคิดและการปฏิบตั ิ ตนตา่ งจากครใู นสถานศึกษาเอกชนทัว่ ไปดงั นี้ ในดา้ นการจัดการศกึ ษา ครูแตล่ ะท่าน แตล่ ะสายวิชาไม่ว่าจะอยู่ ในโรงเรียนสอนศาสนาหรือสถานศึกษาขั้นพื้นฐานท่ัวไป ย่อมมีวิธีการจัดการทางความคิดท่ีแตกต่างกนั แต่ยึด พื้นฐานในกระบวนการในการจัดการเรียนรูเ้ พ่ือใช้ในการจัดการเรยี นการสอน และมุ่งเน้นใหน้ ักเรียนได้ศึกษา ทางโลกและเนน้ การปฏิบัตติ นให้ถกู ตอ้ งตามหลกั ธรรมของศาสนา 4.3 ครูในสถานศึกษาเอกชนสายสามัญควบคู่ศาสนาอิสลามมีวิธีการปฏิบัติตนต่อผู้รับบรกิ ารที่นับถือ ศาสนาที่แตกต่างดังนี้ ในด้านการบริการทางสถานศึกษาต่อผู้รับบริการต้องมีการปฏิบัติตนอย่างถูกต้อง เหมาะสม และเท่าเทียมกนั ให้ความรักความเมตตาต่อผรู้ ับบริการ และปฏบิ ตั ิตามจรรยาบรรณอย่างดไี ม่ว่าจะ เป็นนักเรียนหรือผู้ปกครองไม่มีการแบ่งแยกชนชั้น ฐานะ ศาสนา และเพศ หากแตกต่างกันก็จะเป็นเรื่องการ พดู คุย เชน่ การแลกเปล่ียนดา้ นศาสนากับผู้รับบรกิ ารนบั ถือศาสนาเดยี วกนั

ปที ี่ 6 ฉบับท่ี 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 102 4.4 ครใู นสถานศึกษาเอกชนสายสามัญควบคู่ศาสนาอิสลามมกี ารปฏบิ ัติต่อผ้รู ่วมประกอบวชิ าชีพท่ีนับ ถือศาสนาแตกต่างกันดังน้ี ในการปฏิบัติงานมีการปฏิบัติตนท่ีเหมาะสม โดยยึดจรรยาบรรณการทางานต่อผู้ ประกอบวิชาชีพเดียวกัน คานึง หลักคุณธรรมเห็นอกเห็นใจ ช่วยเหลือกันอย่างดี และพยายามหลีกเลี่ยง ประเด็นท่เี กยี่ วขอ้ งกับศาสนาใหอ้ สิ ระทางความคดิ เก่ยี วกับหลักความเช่อื ซึ่งกนั และกัน 4.5 ครูในสถานศึกษาเอกชนสายสามัญควบคู่ศาสนาอิสลามควรทาประโยชน์อย่างไรบ้างให้แก่สังคม และชุมชน โดยบุคลากรทุกคนต้องปฏิบัติตนเป็นแม่พมิ พ์ท่ีดี เหมาะสม เป็นแบบอย่างท่ีดี และสร้างประโยชน์ ต่อสังคมอยู่เสมอไม่มากก็น้อย หากไม่มีโอกาสในการจัดกิจกรรมหรือโครงการท่ีช่วยเหลือสังคม อาจจะใช้ วิธีการให้ความรู้แก่บุคคลท่ัวไปให้เกดิ ความรูค้ วามเข้าใจอย่างถูกตอ้ งในเรือ่ งตา่ งๆ อภิปรำยผล จากผลการวิจัยการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพครูในสถานศึกษาเอกชน สายสามัญควบคู่ศาสนา อิสลาม กรุงเทพมหานคร ซึ่งครอบคลุมเก่ียวกับการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพครูท้ัง 5 ด้าน ได้แก่ จรรยาบรรณต่อตนเอง จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบ วิชาชีพ และจรรยาบรรณต่อสังคมพบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มี ค่าเฉล่ียสูงสุด คือด้านจรรยาบรรณต่อสังคม รองลงมา คือจรรยาบรรณต่อตนเอง และจรรยาบรรณต่อผู้ร่วม ประกอบวิชาชีพ ตามลาดับ ซ่ึงสอดคล้องกับข้อบงั คับคุรุสภาว่าด้วยแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของ วิชาชีพ พ.ศ. 2550 โดยแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ คือ การประมวลพฤติกรรมที่เป็น ตัวอย่างของการประพฤติปฏิบัติท่ีกาหนดข้ึนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ ซ่ึงผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ได้แก่ ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และศึกษานิเทศก์ จะต้องประพฤติปฏิบัติตาม ท้ังหมด 5 ด้าน ไดแ้ ก่ จรรยาบรรณต่อตนเอง วชิ าชพี ผู้รบั บรกิ าร ผรู้ ว่ มประกอบวิชาชพี และสังคม (สานักงานเลขาธิการ คุรุสภา, 2550) เพื่อประพฤติตนเหมาะสมกับสถานภาพและเป็นแบบอย่างที่ดี ปฏิบัติงานตามหน้าท่ีที่ได้รับ มอบหมายให้สาเร็จอย่างมีคุณภาพตามเป้าหมายที่กาหนด เป็นต้น นอกจากน้ียังสอดคล้องกับงานวิจัยของ อุษา พรหมรินทร์ และ พิมลพรรณ เพชรสมบัติ (2562) ที่วิจัยเรื่องการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพครขู อง ครใู นสถานศึกษาของรัฐสงั กัดสานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาพระนครศรอี ยธุ ยาเขต 2 โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก เนื่องมาจากครูจะต้องเป็นต้นแบบและเป็นตัวอย่างท่ีประทับใจแก่ลูกศิษย์ครูน้ันต้องพัฒนา ความรู้และพัฒนาวิชาชีพเพ่ือนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้ามาประยุกต์ใช้ในการเรียน การสอนตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 ที่กาหนดให้กระทรวงมีการส่งเสริมการพัฒนาครูและบุคลากร ทางการศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐานท่ีเหมาะเป็นวิชาชีพชั้นสูง โดยท่ีครูน้ันจะต้องประพฤติตนอยู่ภายใต้ กฎกติกาของอาชีพและมากด้วยคุณธรรม มีจริยธรรมประจาใจประพฤติตนเป็นแบบอย่างท่ีดีตามท่ีสังคม คาดหวังและยอมรับ และเป็นแบบอย่างท่ีดีแก่ศิษย์ ครูมีความเป็นครู คือ ผู้มีความรู้และมีหน้าท่ีถ่ายทอด ความร้ใู หก้ บั ศิษย์และมีตั้งมั่นอยู่ในจรรยาบรรณวชิ าชีพ

ปีที่ 6 ฉบับท่ี 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 103 จากการเปรยี บเทียบความคดิ เหน็ เก่ียวกับการปฏบิ ัตติ ามจรรยาบรรณวิชาชีพครูในสถานศกึ ษาเอกชน สายสามัญควบคู่ศาสนาอิสลาม กรุงเทพมหานคร เกี่ยวกับสถานภาพทั่วไปด้านเพศ อายุ สาขาที่สาเร็จ การศกึ ษา ประสบการณก์ ารทางาน กล่มุ วิชาท่สี อน และศาสนาทนี่ บั ถอื 1. เพศ พบว่าครูท่ีมีเพศต่างกันมีการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพครูทั้ง 5 ด้าน พบว่าโดยรวมมี ความคิดเห็นแตกต่างกัน และวิเคราะห์เป็นรายด้านพบว่ามีจรรยาบรรณ 3 ด้านท่ีมีความคิดเห็นแตกต่างกัน ได้แก่ ด้านจรรยาบรรณต่อวิชาชีพ ด้านจรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ และด้านจรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบ วชิ าชพี โดยเพศชายมีค่าเฉลีย่ สงู กว่าเพศหญิง และท้งั เพศชายและเพศหญงิ การปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ ครูดา้ นจรรยาบรรณตอ่ สังคมมีค่าเฉล่ียสงู สดุ อาจเนอ่ื งมาจากความแตกต่างทางความคิดเห็นของเพศหญิงและ เพศชายขึน้ อยูก่ บั สังคมและวัฒนธรรมทีก่ าหนดบทบาทและกจิ กรรมของคนแต่ละเพศไว้แตกต่างกัน โดยเพศมี ความสมั พนั ธ์กับ บุคลกิ ลกั ษณะจิตใจและอารมณข์ องบุคคล โดยผู้หญงิ กับผู้ชายมคี วามแตกต่างกนั อย่างมากใน เร่ืองความคิด ค่านิยม และทัศนคติ ซ่ึงไม่สอดคล้องกับงานวิจัยของ อุษา พรหมรินทร์ และ พิมลพรรณ เพชร สมบัติ (2562) ที่วิจัยเร่ืองการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพครูของครูในสถานศึกษาของรัฐสังกัดสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยาเขต 2 พบว่าครูสอนที่มีเพศต่างกันมีการปฏิบัติตนตาม จรรยาบรรณวิชาชีพครูโดยรวมไม่แตกต่างกัน เพราะครูท้ังหมดต่างปฏิบัติตามระเบียบและมีจรรยาบรรณ วิชาชีพครู มีสุขภาพจิตดี กิริยาวาจาดี ท่าทางสง่างาม มีความกระตือรือร้นในการทางาน ใจกว้าง มีเหตุผล ปรับตัวและสามารถทางานร่วมกบั ผู้อน่ื ได้ 2. อายุ พบว่าครูที่มีอายตุ ่างกันมีการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพครูท้ัง 5 ดา้ น พบว่าโดยรวมและ รายด้านท้งั 5 ด้านมคี วามคดิ เห็นไมแ่ ตกต่างกนั โดยครูทีม่ ีอายมุ ากกว่า 45 ปีมคี า่ เฉล่ียสงู สุด รองลงมาคอื ครทู ี่ มีอายุ 25-45 ปี และครูที่มีอายุน้อยกวา่ 25 ปี ตามลาดับ ส่วนเม่ือพิจารณาค่าเฉล่ียในด้านที่สูงสุดของครูทม่ี ี อายุมากกวา่ 45 ปี ได้แก่ ด้านจรรยาบรรณต่อตนเอง สว่ นของครูทม่ี อี ายุ 25-45 ปี ได้แก่ ด้านจรรยาบรรณต่อ สังคม และครูท่ีมีอายุน้อยกว่า 25 ปี ได้แก่ ด้านจรรยาบรรณต่อตนเอง ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจยั ของ คุณัชญา สมจิตร และผดงุ พรมมลู (2561) ทที่ าวจิ ยั เรอ่ื งการปฏิบตั ิตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพของครูในโรงเรยี นสังกัด สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดชุมพร พบว่าผู้บริหารท่ีมีอายุต่างกันมีความคิดเห็นต่อการ ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพของครูในโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัด ชุมพรในภาพรวมไม่แตกต่างกัน เน่ืองจากผู้บริหารสถานศึกษาจะเป็นผู้ท่ีกาหนดกรอบนโยบาย ควบคุมการ ปฏิบัติงาน และการปฏบิ ัตติ นของบุคลากรให้เปน็ ไปตามทิศทางทก่ี าหนดและสอดคลอ้ งกบั วิสยั ทัศน์ เป้าหมาย ของโรงเรียน รวมถึงการดารงตนในวิชาชีพอย่างถูกต้องและเหมาะสมของบุคลากรครดู ้วย ดังนั้นการประพฤติ ปฏบิ ัติของครูจงึ ควรตอ้ งอย่ใู นกรอบจรรยาบรรณวชิ าชพี อย่างเครง่ ครัด 3. สาขาท่ีสาเร็จการศึกษา พบว่าครูที่สาเร็จการศึกษาสาขาต่างกันมีการปฏิบัติตามจรรยาบรรณ วิชาชพี ครทู งั้ 5 ด้าน พบวา่ โดยรวมและรายด้านไมแ่ ตกตา่ งกัน โดยครูทีส่ าเรจ็ การศกึ ษาสาขาศาสนามคี า่ เฉลี่ย สูงกว่าครูท่ีสาเร็จการศึกษาสาขาท่ัวไป ส่วนค่าเฉล่ียในด้านที่สูงสุดของครูท่ีสาเร็จการศึกษาสาขาศาสนา คือ ด้านจรรยาบรรณต่อตนเอง รองลงมาคือ ด้านจรรยาบรรณต่อสังคม และด้านจรรยาบรรณต่อวิชาชีพ

ปที ่ี 6 ฉบับท่ี 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 104 ตามลาดับ ส่วนกลุ่มครูท่ีสาเร็จการศึกษาสาขาท่ัวไป พบว่า ค่าเฉล่ียในด้านท่ีสูงสุด คือ ด้านจรรยาบรรณต่อ ผรู้ ับบริการ รองลงมาคอื ดา้ นจรรยาบรรณตอ่ สงั คม และดา้ นจรรยาบรรณตอ่ ผู้รว่ มประกอบวิชาชพี ตามลาดับ ซึง่ ไม่สอดคลอ้ งกับงานวจิ ัยของ ณัฐพร ปยุ๋ รักษา (2552) ที่วจิ ัยเรอ่ื งสภาพ และปัญหาการจดั การเรียนการสอน อิสลามศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร พบว่าสาขาท่ีสาเร็จการศึกษาแตกต่างกันส่งผลต่อการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน การส่ือสารการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผลการเรียนรูแ้ ตกต่างกนั เนื่องจากครูส่วนใหญ่ที่จบการศึกษาทางด้านศาสนาโดยเฉพาะ เช่น สาขาอกีดะฮ์ และชะรีอะฮ์ จะนาหลัก จริยธรรมอิสลาม ได้แก่ การศรัทธาต่ออัลเลาะฮ์ การมีกิริยามารยาทแบบอิสลาม และการเป็นคนดีมา สอดแทรก เพื่อให้ผู้เรียนมีความศรัทธามั่นและปฏิบัติตามคาสอนของอิสลามพัฒนาตนเอง ครอบครัว และ สงั คมมบี ุคลิกภาพตามแบบทา่ นนบีมุฮัมมดั 4. ประสบการณก์ ารทางาน พบว่าครูที่มปี ระสบการณ์การทางานต่างกนั มกี ารปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณ วิชาชีพครูท้ัง 5 ด้าน พบว่าโดยรวมและรายด้านท้ัง 5 ด้านมีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน โดยครูท่ีมี ประสบการณ์การทางานมากกว่า 10 ปีมีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ ครูท่ีมีประสบการณ์การทางาน 5-10 ปี และครูท่มี ปี ระสบการณก์ ารทางานน้อยกวา่ 5 ปี ตามลาดบั ส่วนเมอ่ื พจิ ารณาคา่ เฉลีย่ ในด้านท่สี ูงสุดของครูที่มี ประสบการณ์การทางานมากกว่า 10 ปี ได้แก่ ด้านจรรยาบรรณต่อตนเอง ส่วนของครูที่มีประสบการณ์การ ทางาน 5-10 ปี ไดแ้ ก่ ดา้ นจรรยาบรรณตอ่ สังคม และครทู ่ีมีประสบการณ์การทางานมากกวา่ 10 ปี ไดแ้ ก่ ดา้ น จรรยาบรรณต่อสังคม ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของ อุษา พรหมรินทร์ (2561) ท่ีวิจัยเร่ืองการปฏิบัติตาม จรรยาบรรณวิชาชีพครูของครูในสถานศึกษาของรัฐสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา พระนครศรีอยุธยาเขต 2 พบว่าครูสอนท่ีมีประสบการณ์การทางานต่างกันมีการปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณ วิชาชีพครูโดยรวมไม่แตกต่างกัน โดยในปัจจุบันเป็นโลกยุคโลกาภิวัตน์ทาให้มีการปฏิรปู การศึกษาเพื่อพัฒนา คุณภาพการสอนของครูอย่างต่อเน่อื ง ซงึ่ เปน็ หวั ใจสาคญั ในการปฏริ ูปการเรียนรู้ และเปน็ จกั รกลสาคัญในการ ขับเคลื่อนใหก้ ารปฏิรปู ประสบความสาเรจ็ 5. กลุ่มวิชาที่สอน พบว่าครูที่สอนกลุ่มวชิ าต่างกันมกี ารปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพครูท้ัง 5 ด้าน พบว่าโดยรวมและรายได้ไมแ่ ตกต่างกัน โดยครูท่ีสอนกลุ่มวิชาสามญั มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าครูที่สอนกลุ่มวิชาศาสนา ส่วนค่าเฉลี่ยในด้านท่ีสูงสุดของครูที่สอนกลุ่มวิชาสามัญ คือ ด้านจรรยาบรรณต่อตนเอง รองลงมาคือ ด้าน จรรยาบรรณต่อสังคม และด้านจรรยาบรรณต่อวิชาชีพ ตามลาดับ ส่วนกลุ่มครูที่สอนกลุ่มวิชาศาสนา พบว่า คา่ เฉลย่ี ในด้านที่สูงสุด คอื ดา้ นจรรยาบรรณตอ่ สงั คม รองลงมาคือ ด้านจรรยาบรรณตอ่ ผรู้ บั บริการ และด้าน จรรยาบรรณตอ่ ผ้รู ่วมประกอบวชิ าชพี ตามลาดบั ซ่ึงสอดคล้องกับงานวจิ ัยของ วาทณิ ี มาม้ยุ (2554) ทว่ี ิจัยเรอื่ ง การปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพของข้าราชการครู เครือข่ายโรงเรียนท่ี 22 สานักงานเขตบางกะปิ กรงุ เทพมหานคร พบว่าการปฏิบัตงิ านตามเกณฑม์ าตรฐานวิชาชีพครขู องข้าราชการครเู ครือข่ายโรงเรียนที่ 22 จาแนกตามสาขาวิชาที่สอนต่างกันมีการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพครูโดยภาพรวมและรายด้านไม่ แตกต่างกัน ที่เป็นเช่นน้ีเพราะว่าครูยุคใหม่มีความขยันหม่ันเพียร มีความรู้ความสามารถ เสียสละ และต้ังใจ สอนผู้เรียนอย่างเต็มความสามารถ รวมทั้งมุง่ ม่ันพฒั นาตนเองอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากจรรยาบรรณวิชาชีพของ

ปีท่ี 6 ฉบบั ท่ี 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 105 ครูเป็นเหมอื นศีลธรรมทม่ี ีทั้งเป็นข้อพึงปฏิบัติเพื่อประพฤติตนเปน็ แบบอย่างทดี่ ีและข้อไมพ่ งึ ปฏิบัติครูจึงยึดถือ ว่าเป็นสิ่งท่ีสาคัญย่ิงในการประกอบวิชาชีพครูเพ่ือรักษาเกียรติศักดิ์ศรีและส่งเสริมเกียรติคุณแห่งวิชาชีพและ เปน็ แบบแผนในการปฏบิ ัติงานอย่างเท่าเทียมกัน ทุกด้านนกั ศกึ ษาทุกสาขาวชิ าไดร้ ับรู้พฤตกิ รรมและการปฏิบัติ ตนของครูในทศิ ทางท่สี อดคลอ้ งกันว่าครตู ้องถือปฏบิ ัติตนตามมาตรฐานจรรยาบรรณวิชาชีพของครู 6. ศาสนาที่นับถือ พบวา่ ครูท่นี ับถือศาสนาที่ต่างกันมกี ารปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณวิชาชพี ครูทัง้ 5 ดา้ น พบว่าโดยรวมและรายด้านทั้ง 5 ดา้ นมคี วามคิดเห็นไมแ่ ตกต่างกัน โดยครทู ่ีนบั ถือศาสนาอิสลามมีค่าเฉลย่ี สูงสุด รองลงมาคือ ครทู นี่ ับถอื ศาสนาพทุ ธ และครูทน่ี ับถือศาสนาอื่น ๆ ตามลาดบั สว่ นเมื่อพิจารณาค่าเฉล่ยี ในด้านที่ สูงสุดของครูที่นับถือศาสนาอิสลาม ได้แก่ ด้านจรรยาบรรณต่อตนเอง ส่วนของครูท่ีนับถือศาสนาพุทธได้แก่ ด้านจรรยาบรรณต่อสังคม และครูท่ีนับถือศาสนาอื่น ๆ ได้แก่ ด้านจรรยาบรรณต่อตนเอง แต่ไม่สอดคล้องกบั งานวิจัยของ ณัฐพร ปุ๋ยรักษา (2552) ที่วิจัยเร่ืองสภาพ และปัญหาการจัดการเรียนการสอนอิสลามศึกษาใน โรงเรียนมัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร พบว่าศาสนาที่แตกต่างกันส่งผลต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การสื่อสารการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้แตกต่างกัน เนื่องจากครูส่วนใหญ่ท่ีจบ การศึกษาทางด้านศาสนาโดยเฉพาะ เช่น สาขาอกีดะฮ์ และชะรีอะฮ์ จะนาหลักจริยธรรมอิสลาม ได้แก่ การ ศรัทธาต่ออัลเลาะฮ์ การมีกิริยามารยาทแบบอิสลาม และการเป็นคนดีมาสอดแทรก เพื่อให้ผู้เรียนมีความ ศรัทธามั่นและปฏิบัติตามคาสอนของอิสลามพัฒนาตนเอง ครอบครัว และสังคมมีบุคลิกภาพตามแบบท่านนบี มฮุ ัมมัด ขอ้ เสนอแนะ ข้อเสนอแนะจากผลการวจิ ัย 1. ด้านจรรยาบรรณต่อตนเอง ได้แก่ การวางแผนในการปฏิบัติงานและดาเนินการตามแผนตาม เป้าหมายท่ีต้ังไว้ โดยครูจะต้องมีการวางแผนและต้ังเป้าหมายในการปฏิบัติงานในเร่ืองต่างๆ เช่น ขอบเขต เน้ือหาการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมหรือดาเนินโครงการส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับศิษย์ เพ่ือให้ตนเอง สามารถดาเนินการตามเปา้ หมายทีก่ าหนดได้สาเร็จ 2. ด้านจรรยาบรรณต่อวิชาชีพ ได้แก่ ครูมุ่งถ่ายทอดวิชาความรู้แก่ศิษย์อย่างเต็มกาลังและ ความสามารถ โดยครูจะต้องมีการศึกษา ค้นคว้า หาความรู้เพ่ิมเติม เพื่อถ่ายทอดวชิ าความรู้ให้แกศ่ ิษย์ได้มาก ข้นึ 3. ดา้ นจรรยาบรรณต่อผู้รบั บริการ ได้แก่ รับฟงั ความคดิ เหน็ ของศษิ ย์ โดยครูจะตอ้ งเปิดใจและรับฟัง ความคิดเห็นในเร่ืองต่างๆ ของศิษย์ให้มากข้ึน ไม่ว่าจะเป็นวิธีการและสื่อการเรยี นการสอน การอยู่รว่ มกนั ใน หอ้ งของศิษย์ และเรื่องราวต่าง ๆ ของศษิ ย์ เพือ่ ให้ครูเขา้ ใจศษิ ยม์ ากขน้ึ 4. ด้านจรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ ได้แก่ ไม่ตาหนิติเตียนผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ โดยครู จะต้องมีความเข้าอกเข้าใจ คอยช่วยเหลือเก้ือกูลและให้คาปรึกษาผู้ร่วมประกอบวิชาชีพด้วยกัน เมื่อมีเรื่อง ผิดพลาดควรชว่ ยเหลือกนั ในการแก้ไขปญั หาตา่ งๆ

ปีที่ 6 ฉบบั ท่ี 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 106 5. ด้านจรรยาบรรณต่อสงั คม ไดแ้ ก่ ประพฤติปฏบิ ตั ิตนเพื่อรักษาผลประโยชน์สว่ นรวม โดยครจู ะต้อง เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตนเอง คอยให้ความช่วยเหลือเกื้อกูลบุคคลอื่น ชุมชน และ สงั คม ข้อเสนอแนะในการทาการวิจัยครัง้ ตอ่ ไป 1. ควรมีการศกึ ษาการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชพี ครใู นสถานศึกษาเอกชนสายสามัญควบค่ศู าสนา อสิ ลามในเขตต่างจังหวดั 2. ควรมีการศึกษาปัจจยั อ่ืน ๆ ท่สี ง่ ผลตอ่ การปฏิบัตติ ามจรรยาบรรณวิชาชพี ครูในสถานศึกษาเอกชน สายสามญั ควบคู่ศาสนาอสิ ลาม เช่น ตาแหน่งงาน ระดบั การศึกษา ประเภทสถานศึกษา 3. ควรศึกษาทรรศนะของกลุ่มตัวอย่างอ่ืนๆ ที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพครูใน สถานศกึ ษาเอกชนสายสามัญควบคูศ่ าสนาอสิ ลาม เช่น นักเรียน ผู้ปกครองนักเรยี น เอกสำรอ้ำงอิง คุณชั ญา สมจติ ร และผดุง พรมมลู . (2561). กำรปฏบิ ตั ิตนตำมจรรยำบรรณวชิ ำชีพของครใู น โรงเรยี นสังกดั สำนักงำนเขตพืน้ ท่ีกำรศึกษำประถมศกึ ษำจังหวัดชุมพร. วารสารบัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั สวนดสุ ิต 14(2) : 14-31. ซิดดกิ อาลี และดลมนรรจน์ บากา. (2555). ววิ ัฒนำกำรกำรเรยี นกำรสอนอิสลำมศึกษำของ โรงเรยี นเอกชนสอนศำสนำอสิ ลำมในสำมจังหวัดชำยแดนภำคใตข้ องไทย. วารสาร AL-NUR บณั ฑติ วิทยาลัย, 7(13) : 56-62. ณัฐพร ป๋ยุ รักษา. (2552). สภำพ และปัญหำกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนอสิ ลำมศกึ ษำในโรงเรียน มธั ยมศกึ ษำ กรุงเทพมหำนคร. กรงุ เทพฯ : จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. พฤทธิ์ ศริ บิ รรณพิทกั ษ.์ (2556). จรรยำบรรณวิชำชพี คร.ู สืบค้นเมอื่ 20 มกราคม 2562, จาก http://www.ap.mju.ac.th/data_silo/jarya/2013-07-01-09-36-54go0.pdf. วาทิณี มามุ้ย. (2554). กำรปฏบิ ตั ิงำนตำมเกณฑ์มำตรฐำนวชิ ำชีพของข้ำรำชกำรครู เครอื ขำ่ ย โรงเรียนท่ี 22 สำนักงำนเขตบำงกะปิ กรุงเทพมหำนคร. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ. สมชาย วรกิจเกษมสกลุ , (2554). ระเบียบวิธกี ารวิจยั ทางพฤตกิ รรมศาสตร์ และสงั คมศาสตร์. อดุ รธานี : อกั ษรศิลปก์ ารพิมพ์. สิทธิชยั จนั ทานนท์. (2554). คุณลกั ษณะของครูทีน่ ักเรียนตอ้ งกำรในยุคโลกำภิวัตน์. สบื ค้นเมื่อ 25 มนี าคม 2562, จาก http://cms.srivikorn.ac.th/svkforum/index.php? topic=3888.0 สานกั ข่าวทีนิวส.์ (2562). ครทู ำโทษนกั เรียนเขำ้ ที่บ้องหู. สบื คน้ เมื่อ 14 กรกฎาคม 2562, จาก https://www.tnews.co.th/social/509099/ครทู าโทษนกั เรียน-เข้าท่ีบอ้ งหู สานักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2550). ข้อบังคับคุรุสภำว่ำดว้ ยแบบแผนพฤตกิ รรมตำมจรรยำบรรณของ วชิ ำชพี พ.ศ. 2550. กรงุ เทพฯ : สานกั เลขาธกิ ารคุรสุ ภา.

ปที ่ี 6 ฉบบั ท่ี 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 107 อษุ า พรหมรินทร์ และ พิมลพรรณ เพชรสมบัติ. (2562). กำรปฏิบัตติ ำมจรรยำบรรณวชิ ำชพี ครูของ ครใู นสถำนศกึ ษำของรัฐสงั กัดสำนกั งำนเขตพน้ื ทก่ี ำรศึกษำประถมศึกษำพระนครศรอี ยธุ ยำเขต 2. นครนายก : มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ .ี

ปที ่ี 6 ฉบับท่ี 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 108 การบริหารงานกจิ การนักศึกษาจีนในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน : กรณศี กึ ษาวิทยาลัยนานาชาติ จนี มหาวทิ ยาลัยธรุ กจิ บัณฑิตย์ THE ADMINISTRATION OF STUDENT AFFAIRS IN PRIVATE HIGHER EDUCATION INSTITUTIONS: A CASE STUDY OF CHINA-ASEAN INTERNATIONAL COLLEGE, DHURAKIJ PUNDIT UNIVERSITY Junheng Wang วิทยาลยั ครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธุรกจิ บณั ฑติ ย์ บทคัดย่อ การวิจัยคร้ังนี้มีวตั ถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการบริหารงานกิจการนักศึกษาจีน 2) เปรียบเทียบ การบริหารงานกิจการนักศึกษาจีนและ 3) เพ่ือศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะเก่ียวกับการบริหารงานกิจการ นักศึกษาจีนในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน กรณีศึกษาวิทยาลัยนานาชาติจีน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ กลุ่ม ตัวอยา่ ง ไดแ้ ก่ ผบู้ รหิ าร อาจารย์ บคุ ลากร และนักศึกษาจีน วทิ ยาลัยนานาชาติจนี มหาวทิ ยาลยั ธรุ กิจบณั ฑิตย์ จานวน 742 คน เครอื่ งมือทใี่ ช้ในการวจิ ัยเป็นแบบสอบถามและแบบสมั ภาษณ์ สถติ ทิ ีใ่ ช้ในการวเิ คราะห์ ไดแ้ ก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที (t-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวน และ การเปรยี บเทยี บรายคูโ่ ดยใชว้ ธิ ขี องเชฟเฟ่ ผลการวิจยั พบวา่ 1. การศกึ ษาสภาพการบริหารงานกิจการนกั ศกึ ษาจีนในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน กรณศี กึ ษาวทิ ยาลัย นานาชาติจีน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าข้อที่มี ค่าเฉล่ียสูงสุด 3 ลาดับแรก ได้แก่ แต่งต้ังให้มีอาจารย์ท่ีปรึกษาให้คาแนะนาแก่องค์กรนักศึกษา รองลงมาคือ สง่ เสรมิ ใหน้ กั ศึกษาจัดและร่วมกิจกรรมด้านกีฬา และมีการประเมนิ ผลการดาเนนิ งานด้านกิจกรรมนกั ศึกษามี คา่ เฉลี่ยอยู่ในระดบั มากทง้ั 3 ขอ้ และข้อทมี่ ีค่าเฉลย่ี น้อยที่สุด คือ นักศึกษามีส่วนรว่ มการกาหนดนโยบาย กล ยทุ ธแ์ ละแผนงานด้านกจิ กรรมนักศึกษา 2. ผลการวิจัยเพ่ือเปรียบเทียบการบริหารงานกิจการนักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติจีนใน สถาบันอุดมศึกษาเอกชน กรณีศึกษาวิทยาลัยนานาชาติจีน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ จาแนกตามเพศ และ สาขาวิชาท่ีศึกษาของนักศึกษา พบว่า การบริหารงานกิจการนักศึกษาด้านกิจกรรมนักศึกษาและด้านการ บริการและสวัสดิการนักศึกษา วิทยาลัยนานาชาติจีนในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน : กรณีศึกษาวิทยาลัย นานาชาตจิ นี มหาวิทยาลัยธรุ กจิ บณั ฑิตย์ จาแนกตามเพศพบว่าไมแ่ ตกต่างกนั ในทุกด้าน สว่ นการเปรียบเทียบ การบริหารงานกิจการนักศึกษาด้านกิจกรรมนักศึกษาและด้านการบริการและสวัสดิการนักศึกษา วิทยาลัย นานาชาติจีนในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน : กรณีศึกษาวิทยาลัยนานาชาติจีน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

ปีท่ี 6 ฉบับท่ี 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 109 จาแนกตามสาขาวิชาที่ศึกษา พบว่า นักศึกษาท่ีกาลังศึกษาในสาขาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศมีความ คิดเหน็ แตกต่างจากนักศกึ ษาคณะการบัญชี และการออกแบบและงานศิลปะ คาสาคญั : การบริหารงานกิจการ, นักศกึ ษาจีน, สถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชน ABSTRACT The purposes of this research were to: 1) study the state of the Administration of Student Affairs for Chinese Students, 2) compare the administration of student affairs and student services, and student welfare classified by gender and field of studies, and 3) study the problems and give suggestions for the Administration of Student Affairs for Chinese Students in Private Higher Education Institutions: A Case Study of CHINA- ASEAN International College, Dhurakij Pundit University. The sample was 742 students, and statistics in this research was used percentages, mean, standard deviation, Analysis of Variance: ANOVA by Scheffe’ method. The results showed that 1. the total average mean was at a high level, the three highest mean was the announcement for advisors who give an advice to student’s organization, encourage students to arrange and attend the sports activities, and students’ participation in policy, strategy, and students’ activity plan respectively. The student’s opinions for Chinese Students welfare, the total average mean was at a high level. The Three highest mean was most of students’ service and student’s welfare, the results of evaluation was used to improve service and welfare such as first- aids room and nurse to help sick students and VISA services for Chinese students respectively. The results of problem and suggestion for Chinese Students forces showed that a few students attended the activity, and were not interested in these activities, and also not clear for the authorized administration model. 2. The research result to compare the Administration of Student Affairs for Chinese Students in Private Higher Education Institutions: A Case Study of CHINA- ASEAN International College, Dhurakij Pundit University was classified by gender and major of study revealed that there was no different in gender in each student’ s opinions that was not proved hypothesis. The comparison of student’ s opinions for the Administration of student activities, services, and student welfare for Chinese Students in Private Higher Education Institutions, the result showed that there was different classified by major of study that was proved hypothesis,

ปที ี่ 6 ฉบบั ท่ี 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 110 International Business students’ opinion was different from Accounting Faculty and Design and Arts students. 3. The result for problems and suggestions of the Administration of Student Affairs for Chinese Students in Private Higher Education Institutions: A Case Study of CHINA- ASEAN International College, Dhurakij Pundit University found that students’ activities problem was there was a few students attended and didn’t pay attention in joining these students’ activities. The other problem was there was not clear in the administration and the authority, the services and students’ welfare problem were the security and students’ scholarship. Suggestions were as follows: 1) Chinese Students should be able to apply for students’ group activities by hobbies, develop individual strength, and staff should be able to have role and responsibilities for written duties rules and regulations, , 2) Students Services and students’ welfare should have safety training for students and emergency card for contact the students, other suggestions was notified for providing scholarship and support fund, and other suggestion should be arranged the activities for COVID19 for students’ value of understanding. KEYWORDS: STUDENT AFFAIRS, PRIVATE HIGHER EDUCATION INSTITUTION บทนา สถาบันอุดมศึกษา มีความสาคัญต่อนักศึกษา โดยเฉพาะอย่างย่ิงการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และ การศึกษา เพราะเป็นแหล่งผลิตชนชันสมองในสาขาววิทยาการทูกด้าน ด้าน ความเจริญทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และการศึกษาเป็นผลมาจากพัฒนาคนให้มีความรู้ความสามารถในการดาเนนิ งานในหน้าที่ที่ รบั ผิดชอบให้ดีทส่ี ดุ ซง่ึ สถาบนั อุดมศึกษามีหน้าที่สาคัญ การท่ีจะบรรลจุ ดุ มุ่งหมายดง้ กลา่ วสถาบันอดุ มศกึ ษาได้ กาหนดให้มีหน่วยงานและบุคลากรท่ีจะรับผิดชอบปฏิบัติงานท้ังทางด้านการเอื้ออานวยความสะดวก ด้าน สถานที่และอุปกรณ์การเงิน ทรัพยากรบุคคล เพ่ือจัดการเรียนการสอน และภารกิจหลักท่ีสาคัญคือ การมุ่ง สร้างบัณฑติ ให้เจริญงอกงามเปน็ บัณฑิตท่สี มบรู ณ์ พรอ้ มท่จี ะออกไปสสู้ ังคมและตลาดแรงงานตอ่ ไป สถาบันอุดมศึกษา จึงต้องตระหนักถึงภารกิจในการผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพและมีคุณลักษณะท่ีพึง ประสงค์ของสังคม ซึ่งบัณฑิตที่คุณภาพถือเป็นองค์ประกอบสาคัญที่แสดงให้เห็นถึงคุณภาพและประสิทธิภาพ ของสถาบนั อดุ มศกึ ษา ดงั นัน้ งานกิจการนกั ศึกษาต่างชาติ จึงเป็นกลไกสาคญั ที่สถาบันอุดมศกึ ษาต้องให้ความ คาคญั อย่างยง่ิ ในการผลติ บณั ฑิตใหม้ ีคณุ ลักษณะที่พงึ ประสงคข์ องสังคมและตลาดแรงงาน ปัจจุบันมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ งานกิจการนักศึกษาชาวต่างชาติ ซึ่งมีบทบาทสาคัญในการ จัดบริการด้านต่างๆ เพ่ือเสริมสร้างความพร้อมในการเรียน โดยการพัฒนานักศึกษาเพื่อเสริมสร้างความเป็น ผนู้ า พัฒนาบคุ ลิกภาพ ความมรี ะเบยี บวนิ ัย และการเคารพกฎเกณฑ์ของสงั คม ได้กาหนดวตั ถุประสงคข์ องงาน

ปีท่ี 6 ฉบบั ที่ 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 111 กิจการนักศึกษาต่างชาติไว้ ด้านเพื่อช่วยให้นกั ศึกษาต่างชาตมิ ีความพร้อมในการศึกษาเล่าเรียน ซึ่งได้แก่ การ จดั บริการดา้ นตา่ งๆ เช่น ดา้ นการให้คาปรึกษา ทพี่ กั อาศยั ทนุ การศึกษา อนามัยและอืน่ ๆ ดา้ นเพอื่ ช่วยพฒั นา นกั ศกึ ษาใหเ้ ปน็ คนท่ีสมบูรณช์ ่วยเสรมิ ดา้ นวิชาชพี รา่ งกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา จากขอ้ ความดังกลา่ ว ชี้ให้เห็นว่าการบริหารงานกิจการนักศึกษาต่างชาติมีมากมายดังที่ได้กล่าวมาแล้วนั้นรวมท้ังจากสภาพการ บริหารงานกิจการนักศึกษาต่างชาติยังไม่ประสบผลสาเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้และไม่บรรลุตามพันธกิจท่ี ต้องการสร้างบัณฑติ ท่มี ีคณุ ภาพ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม มีคณุ ลักษณะท่พี ง่ึ ประสงคส์ สู่ งั คม ผู้วิจัยในฐานะนักศึกษาจีนในมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เห็นว่าการบริหารงานด้านกิจการนักศึกษา ของมหาวิทยาลัยนั้น เป็นภาระงานหลักของมหาวิทยาลัยที่จะต้องดาเนินไปพร้อมๆกับงานด้านวชิ าการ จึงมี ความสนใจท่ีจะศึกษาสภาพและปัญหาการบรหิ ารงานกจิ การนกั ศึกษาจีน เพื่อนาผลท่ีได้จากการวิจัยไปเป็น ข้อเสนอสาหรับผู้บริหารอาจารย์ และเจ้าหน้าที่ที่เก่ียวข้องกับงานกิจการนักศึกษาจีน รวมไปถึงหน่วยงานที่ เก่ียวข้อง เพ่ือเป็นแนวทางในการพัฒนาการบริหารงานกิจการนักศึกษาจีน ซ่ึงจะส่งผลต่อประสิทธิภาพและ สทิ ธผิ ลของงานกิจการนักศึกษาจนี มหาวิทยาลัยธุรกจิ บณั ฑติ ย์ต่อไป วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือศึกษาการบริหารงานกิจการนกั ศกึ ษาจีนในสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชน กรณีศึกษามหาวทิ ยาลยั วทิ ยาลัยนานาชาตจิ นี มหาวิทยาลยั ธุรกิจบัณฑติ ย์ 2. เพ่ือศกึ ษาเปรยี บเทยี บความคิดเหน็ ของนักศกึ ษาต่อการบริหารงานกิจการนกั ศกึ ษาจีนใน สถาบนั อุดมศึกษาเอกชน กรณีศกึ ษาวทิ ยาลยั นานาชาติจีน มหาวิทยาลยั ธรุ กจิ บัณฑิตย์ กรุงเทพมหานคร จาแนกตามเพศและสาขาวิชา 3. เพื่อศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะแนวทางการบรหิ ารงานกิจการนกั ศึกษาจีนในสถาบนั อดุ มศึกษา เอกชน กรณีศึกษามหาวทิ ยาลัยวิทยาลยั นานาชาตจิ ีน มหาวิทยาลัยธรุ กิจบัณฑิตย์ วิธีดาเนินการวจิ ัย ประชากรจานวน 1993 คน เป็นผู้บริหาร อาจารย์ เจ้าหน้าท่ี และนักศึกษาจีนท่ีกาลังศึกษาของ วิทยาลัยนานาชาติจีนมหาวิทยาลยั ธุรกิจบัณฑติ ย์ กาหนดขนาดตัวอย่างของเครจซ่ีและมอร์แกน (Krejcie and Morgan) ซึ่งได้กลุ่มตัวอย่างโรงเรียนตัวอย่างทั้งหมด 742 คน โดยการสุ่มตามสัดส่วน (Proportional Stratified Random Sampling) และการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการ วิจัย คือ แบบสอบถามความคิดเห็นสาหรับผู้บริหาร อาจารย์ เจ้าหน้าท่ี และนักศึกษาจีนของวิทยาลัย นานาชาติจีนมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ และแบบสัมภาษณ์เชิงโครงสร้าง ใช้สถิติพ้ืนฐานในการวิเคราะห์ ข้อมูล ร้อยละ ค่าคะแนนเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใช้สถิติทดสอบ t-test การวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA) และการเปรียบเทียบรายคโู่ ดยใชว้ ิธขี องเชฟเฟ่ (Scheffe’sMethod)

ปีที่ 6 ฉบบั ท่ี 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 112 สรปุ ผลการวิจยั 1. ผลการวิจัยเกี่ยวกับการบริหารงานกิจการนักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติจีนในสถาบันอุดมศึกษา เอกชน กรณีศกึ ษาวิทยาลยั นานาชาตจิ นี มหาวิทยาลัยธรุ กจิ บัณฑิตย์ ดงั น้ี 1.1 เก่ียวกับการบริหารงานกิจการนักศึกษาในภาพรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบวา่ ดา้ นงานบรกิ ารและสวัสดกิ ารนกั ศกึ ษามีคา่ เฉลีย่ สูงกวา่ ด้านงานกิจกรรมนกั ศกึ ษา 1.2 เกี่ยวกบั การบรหิ ารงานกิจการนกั ศกึ ษาดา้ นงานกิจกรรมนักศึกษา พบวา่ ในภาพรวมอยู่ในระดับ มาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อท่ีมีค่าเฉล่ียสูงสุด 3 ลาดับแรก ได้แก่ ส่งเสริมให้นักศึกษาจัดและร่วม กิจกรรมด้านบาเพ็ญประโยชน์และจิตอาสาพัฒนามหาวิทยาลัยและชุมชน ส่งเสริมให้องค์กรนักศึกษา บริหารงานด้านกิจกรรมนักศึกษาโดยจัดสถานท่ีและงบประมาณสนับสนุน รองลงมา ส่งเสริมให้นักศึกษาจัด และร่วมกจิ กรรมด้านกฬี า มกี ารประเมินผลการดาเนินงานด้านกจิ กรรมนกั ศึกษา อยใู่ นระดับมากท้งั 3 ข้อ โดย ข้อที่มีคา่ เฉลี่ยน้อยทีส่ ดุ คือ นกั ศกึ ษามสี ่วนร่วมการกาหนดนโยบาย กลยทุ ธแ์ ละแผนงานด้านกิจกรรมนักศึกษา 1.3 เกี่ยวกับการบริหารงานกิจการนักศึกษาด้านงานบริการและสวัสดิการนักศึกษาในภาพรวมอยูใ่ น ระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 ลาดับแรก ได้แก่ นักศึกษาส่วนใหญ่มีการ ประเมินผลการดาเนนิ งานด้านการบริการและสวัสดกิ ารนกั ศึกษา มีการกาหนดนโยบาย กลยุทธ์และแผนงาน ด้านการบริการและสวัสดิการนักศึกษา และมีการนาผลการประเมินมาปรับปรุงงานด้านการบริการและ สวสั ดกิ ารนกั ศกึ ษาให้ดีขนึ้ อยู่ในระดับมากทงั้ 3 ขอ้ โดยขอ้ ทมี่ คี า่ เฉลยี่ น้อยทส่ี ุด คอื มีสถานที่หรือโรงอาหาร ทีถ่ กู สขุ ลักษณะและเพยี งพอกบั จานวนนกั ศกึ ษา มีเจ้าหนา้ ทด่ี ูแลรักษาความปลอดภยั ในชีวิตและทรัพย์สินของ นกั ศกึ ษา ซ่ึงอยู่ในระดับปานมาก 2 ผลการวิจัยเพื่อเปรียบเทียบการบริหารงานกิจการนักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติจีนใน สถาบันอุดมศึกษาเอกชน กรณีศึกษาวิทยาลัยนานาชาติจีน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ จาแนกตามเพศ และ สาขาวิชาท่ีศึกษาของนกั ศึกษา ดังน้ี 2.1 เปรียบเทียบการบริหารงานกิจการนักศึกษาด้านกิจกรรมนักศึกษาและด้านการบริการและ สวัสดิการนักศึกษา วิทยาลัยนานาชาติจีนในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน : กรณีศึกษาวิทยาลัยนานาชาติจีน มหาวิทยาลัยธรุ กจิ บณั ฑติ ย์ จาแนกตามเพศ พบว่า ไม่แตกต่างกนั ในทุกด้าน การบริหารงานกิจการนกั ศึกษา เพศ t Sig ชาย หญิง ดา้ นงานกิจกรรมนกั ศึกษา (337) (405) ดา้ นงานบริการและสวสั ดิการนกั ศกึ ษา รวม X S.D. X S.D. 3.87 0.81 3.91 0.77 -.576 .565 3.86 0.85 3.97 0.77 -1.830 .066 3.87 0.80 3.94 0.75 -1.151 .250

ปีท่ี 6 ฉบับที่ 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 113 2.2 เปรียบเทียบการบริหารงานกิจการนักศึกษาด้านกิจกรรมนักศึกษาและด้านการบริการและ สวัสดิการนักศึกษา วิทยาลัยนานาชาติจีนในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน : กรณีศึกษาวิทยาลัยนานาชาติจีน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ จาแนกตามช้ันปีที่กาลังศึกษาพบความแตกต่างทั้งในภาพรวมและรายด้านในทุก ด้าน 1) การเปรียบเทียบรายการบริหารงานกิจการนักศึกษาด้านกิจกรรมนักศึกษา วิทยาลัย นานาชาตจิ นี ในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน : กรณีศึกษาวทิ ยาลัยนานาชาติจีน มหาวทิ ยาลัยธรุ กิจบัณฑิตย์ พบว่า นักศึกษาท่ีกาลังศึกษาในสาขาการบริหารธรุ กจิ ระหวา่ งประเทศมีความคิดเห็นแตกต่างจากนักศึกษาคณะการ บัญชี และการออกแบบและงานศิลปะ 2) การเปรียบเทียบรายการบริหารงานกิจการนักศึกษา ด้านงานบริการและสวัสดิการ นักศึกษา วิทยาลัยนานาชาติจีนในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน : กรณีศึกษาวิทยาลัยนานาชาติจีน มหาวิทยาลัย ธุรกิจบัณฑิตย์ พบว่านักศึกษาที่กาลังศึกษาในสาขาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศมีความคิดเห็นแตกต่าง จากนกั ศึกษาสาขาการบัญชี และการออกแบบและงานศลิ ปะ 3) การเปรียบเทียบรายการบริหารงานกิจการนักศึกษา ด้านงานบริการและสวัสดิการ นักศึกษา วิทยาลัยนานาชาติจีนในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน : กรณีศึกษาวิทยาลัยนานาชาติจีน มหาวิทยาลัย ธุรกิจบัณฑิตย์ พบว่านักศึกษาท่ีกาลังศึกษาในสาขาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศมีความคิดเห็นแตกต่าง จากนักศกึ ษาสาขาวชิ าการบัญชี และการออกแบบและงานศลิ ปะ 3 ผลการศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะแนวทางเกี่ยวกับการบริหารงานกิจการนักศึกษาวิทยาลัย นานาชาติจีนในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน กรณีศึกษาวิทยาลัยนานาชาติจีน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์จาก แบบสอบถามและการสัมภาษ์ พบวา่ ดา้ นงานกิจกรรมนักศกึ ษา ปัญหาสว่ นใหญ่ คือ นักศกึ ษาในการเข้าร่วม กิจกรรมต่าง ๆ จานวนน้อย และไม่ค่อยสนใจงานกิจกรรม รองลงมาคือการบริหารวุ่นวาย อานาจไม่ชัดเจน ส่วนด้านงานบรกิ ารและสวัสดิการนกั ศึกษา ปัญหาส่วนใหญ่ คือ เร่ือนความปลอดภัย รองลงมาคือ การได้รับ ทุนการศกึ ษาอย่างไม่ทัว่ ถงึ ขอ้ เสนอแนะเก่ยี วกับการบรหิ ารงานกิจการนกั ศกึ ษาจีนในสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชน กรณีศึกษาวิทยาลัยนานาชาติจีน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ท้ัง 2 ด้าน ด้านงานกิจกรรมนักศึกษา โดย ข้อเสนอแนะส่วนใหญ่ พบว่า ควรให้นักศึกษาสามารถสมัคเข้ากลุ่มตามงานอดิเรกส่วนตัวของตัวเอง และ พัฒนาจุดแข็งของส่วนตัว รองลงมาคือควรให้มีความรับผิดชอบท่ีชัดเจนของเจ้าหน่าที่ธุรการ โดยจัดต่ัง ขอ้ กาหนดและกระบวนการท่ีเปน็ ลายลักษณ์อักษร ส่วนข้อเสนอแนะด้านงานบริการและสวัสดิการนักศึกษา พบว่า ควรจัดการอบรมเรื่องเกี่ยวกับความ ปลดภัยให้กับนักศึกษาที่เข้ามาและแจกบัตรวิธีติดต่อในกรณีฉุกเฉิน รองลงมา คือ ควรจัดการเก่ียวกับ ทุนการศึกษาและเงินช่วยเหลือ และข้อเสนอแนะอื่น ๆ คือ ควรมีจัดกิจกรรมที่เกี่ยวกับโรคเร่ือง covid-19 เพ่ือให้นักศกึ ษาเขา้ ใจคุณคา่ ของชีวิต

ปที ี่ 6 ฉบบั ท่ี 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 114 การอภิปรายผล การอภิปรายผลการบริหารงานกิจการนักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติจีนในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน กรณีศกึ ษาวิทยาลัยนานาชาติจีน มหาวทิ ยาลยั ธรุ กจิ บณั ฑิตย์ จากการศึกษาการบริหารงานกิจการนักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติจีนในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน กรณีศึกษาวิทยาลัยนานาชาติจีน มหาวิทยาลยั ธรุ กิจบัณฑติ ย์ โดยภาพรวมมคี วามคิดเห็นอยู่ในระดับมาก โดย ด้านงานบริการและสวัสดิการนักศึกษามีค่าเฉล่ียสูงที่สุด ซ่ึงจากข้อค้นพบนี้แสดงให้เห็นว่าทางมหาวิทยาลัย ธุรกิจบัณฑิตย์ มีการดาเนินการและเห็นความสาคัญของงานบริการและสวัสดิการนักศึกษาส่งผลต่อความ คิดเห็นในทางที่ดีในการเล่าเรียนของนักศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับจิตติมา ลันธ์จิโรสกุล กล่าวว่า ขอบข่ายการ จัดบริการนักศึกษามหาวิทยาลัยควรจัดให้กับนักศึกษาตามความต้องกันและความจา เป็นของมหาวิทยาลัย รวมถึงการจัดการบริการแก่นักศึกษาต้องมกี ารพัฒนานักศึกษา ให้ความสะดวกสบาย การส่งเสริมบรรยากาศ การเรียนรู้ หลักการให้ก่อนขอความสามัคคี ตามหลักการในการจัดบริการแก่นักศึกษานั้นเป็นการให้ความ เอ้ืออานวย และจะส่งผลต่อการพัฒนากระทบโดยตรงต่อการพัฒนานักศึกษาในมหาวิทยาลัย (วัลลภา เทพหสั ดิน ณ อยุธยา, 2543) ปีอาจเกา่ ไป รองลงมา คือ ด้านงานกิจกรรมนักศึกษา ซ่ึงเป็นสิ่งสาคัญประการหน่ึงท่ีโดยมุ่งสร้างความเจริญงอก งามทางด้านสติปัญญา สังคม รา่ งกาย และจิตใจของนักศึกษา การเขา้ ร่วมกจิ กรรมนกั ศกึ ษาน้ันไม่มีการบังคับ นักศึกษาท่ีเข้าร่วมก็จะได้ประสบการณ์จากการเข้าร่วมกิจกรรมในครัง้ นั้น ซ่ึงสอดคล้องกับ กรกช ศิริ (2536, หน้า 13.14 ) ปีอาจเก่าไปได้ให้ความหมายไว้ว่า กิจกรรมนักศึกษา คือ กิจกรรมทั้งหลายท่ีสถานบันจัดให้แก่ นิสิต หรือส่งเสริมให้นิสิตจัดข้ึนเองตามความสนใจ และด้วยความสมัครใจของนิสิตเพ่ือพัฒนานิสิตทุกๆ ด้าน นอกเหนือไปจากส่ิงท่ีบังคับตามหลักสูตร โอยไม่ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของผลการศึกษา การงานท่ีจัดขึ้นต้อง เป็นไปตามระเบียบข้อบัวคับของสถาบันต้องไดรับความเห็นชอบการดูแลเอาใตใส่จากอาจารย์ที่ปรึกษาและ ผู้บริหารสถาบัน รวมถึงเป็นการจัดสวัสดิการการการให้บรกิ ารและการควบคุมดูแล ซ่ึงสถานบันการศึกษาจดั ข้ึนเพื่อนักเรียนนักศึกษา โอยคานึงถึงหลักวิชาการว่าด้วยงานกิจกรรมของนักเรียนนักศึกษา โอยจะมีฝ่าย กิจการของนักศึกษาหรือเรียกชื่ออย่างอ่ืนในลักษณะงานเดียวกันเป็นผู้รับผิดชอบ เพื่อให้การบริหารงานด้าน กิจกรรมนักเรียนนักศึกษาเป็น ไปเพื่อการพัฒนานกั เรียนนกั ศึกษาให้มีชีวติ ในสถาบันในสัวคมอย่างมีความสขุ เสริมวทิ ย์ ศภุ เมธี (2531,หน้า69) ปอี าจเก่าไป การอภิปรายผลการเปรียบเทียบการบริหารงานกิจการนักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติจีนใน สถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชน กรณศี กึ ษาวิทยาลัยนานาชาตจิ นี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ จากการเปรยี บเทียบการบริหารงานกิจการนกั ศกึ ษาวิทยาลยั นานาชาติจนี ในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน กรณีศึกษาวิทยาลัยนานาชาติจีน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ จาแนกตามสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ในภาพรวมมีความคิดเห็นไมต่ ่างกัน ทั้งที่อาจเป็นเพราะนกั ศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ จานวน น้อย และไม่ค่อยสนใจงานกิจกรรม และการบริหารวุ่นวายทาให้ไม่เข้าใจในบทบาทหน้าท่ีของตนเอง ซ่ึงไม่ สอดคล้องกิจกรรมนิสิตนักศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของการใช้ชีวิตของนิสิตนักศึกษาในร้ัวมหาวิทยาลัยหรือ

ปีท่ี 6 ฉบบั ท่ี 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 115 สถาบนั การศึกษาระดับอุดมศกึ ษาซึง่ มคี วามสาคญั ต่อการพัฒนานสิ ิตนักศกึ ษาใหเ้ ป็นผู้ใหญท่ ส่ี มบูรณ์ในอนาคต สถาบันการศึกษาแต่ละแห่งจึงให้ความสาคัญในการพานิสิตนักศึกษาในสถาบันของตนเอง ด้วยการกาหนด นโยบายวัตถุประสงค์ของการพัฒนากิจกรรมนสิ ิตนกั ศึกษาที่ชัดเจน แน่นอน และครอบคลุม ซ่ึงจะนาไปสูการ พัฒนาตนเองของนินติ นักศึกษาท้ังด้านร่างกายสติปัญญา ความสมบูรณ์เพียบพร้อมในด้านต่าง ๆ ปัญญา ชื่อ สตั ย์ (2542) ปีอาจเกา่ ไป ผลการเปรียบเทียบการบริหารงานกิจการนักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติจีนในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน กรณีศึกษาวิทยาลัยนานาชาติจีน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ จาแนกตามเพศของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ในภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกันท้ังนี้อาจเป็นเพราะนักศึกษาส่วนใหญ่มีความสนใจในกิจกรรมและ บทบาทหน้าที่ที่ทางมหาวิทยาลัยได้ดาเนินการไว้ให้ และสอดคล้องกับการความสาคัญต่อนักศึกษา นักศึกษา โดยท่ัวไปเป็นคนหนมุ่ สาวที่มีพละกาลางท้ังร่างกาย ความคิด มีความอยากรู้อยากเห็น และท่ีมีความหวังดีตอ่ สงั คมด้วยใจอันบริสุทธ์ กจิ กรรมเสริมหลักสูตร หรือกิจกรรานอกหลักสูตรจะช่วยตอบสนองความต้องการของ นกั ศึกษาได้เปน็ อย่างดี กจิ กรรมจึงมีความสาคัญต่อนกั ศึกษา เชน่ ความหลากหลายของกิจกรรมนักศึกษาช่วย ให้นักศึกษาสามารถค้าหาอาชีพงานอดิเรก และกิจกรรมพักผ่อนใจที่เหมาะสมกับตนเอง และการทากิจกรรม ทาให้นักศกึ ษาไดม้ โี อกาสเปลี่ยนบรรยากาศ และอิริยาบถ ทาให้นกั ศึกษาได้ผอ่ นกลายความตงึ เครยี ดจากการที่ ตอ้ งศกึ ษาเล่าเรยี นอยา่ งหนกั สาเนาว์ ขจรศิลป์ (2538) ปอี าจเกา่ ไป ผลการเปรียบเทียบการบริหารงานกิจการนักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติจีนในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน กรณีศึกษาวิทยาลัยนานาชาติจีน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ จาแนกตามอายุของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ในภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน อาจเนื่องมากจากมหาวิทยาธุรกิจบัติย์มีนโยบายเร่อื งการส่งเสริมและ สนับสนุนด้านกิจกรรมนักศึกษาอยู่แล้ว โดยอาจมีการเพ่ือการให้ความรู้ความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน สอดคล้องกบั กรกช ศิริ (2536) ซึ่งกลา่ วไว้ว่า กิจกรรมนกั ศกึ ษาปน็ กิจกรรมทม่ี คี วามสาคญั และมคี วามจาเป็น ทส่ี ถานศกึ ษาจะต้องสง่ เสรมิ และให้การสนับสนนุ ให้นักศกึ ษาได้จัดกจิ กรรมนน้ั ขน้ึ เพอ่ื ฝึกและเสรมิ ทกั ษะให้กับ นักศึกษาในขณะทีก่ าลงั ใช้ชีวติ ในรวั้ สถาบันการศึกษาอุดศึกษา โดยฝึกการทางานเป็นกลมุ่ เป็นทีมงาน และเม่ือ หลังจากท่ีสาเรจ็ การศกึ ษาไปแล้วนน้ั จึงเห็นผลประโยชน์ของการเขา้ ร่วมกิจกรรม ผลการเปรียบเทียบการบริหารงานกิจการนักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติจีนในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน กรณีศึกษาวิทยาลัยนานาชาติจีน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ จาแนกตามสาขาที่ศึกษา พบว่าในภาพรวมไม่ ตา่ งกัน ทั้งน้อี าจเปน็ เพราะการกาหนดนโยบายและการวางแผนของแต่ละสาขาวิชานน้ั มีการดาเนนิ การเป็นไป ตามแนวปฏิบัติของทางมหาวิทยาลัยเหมือนกัน สอดคล้องกับ ปัญญา ชื่อสัตย์ (2542) ปีอาจเก่าไปกล่าวว่า นักศกึ ษาในการเขา้ ร่วมกิจกรรมต่าง ๆ จานวนนอ้ ย และไมค่ ่อยสนใจงานกิจกรรม และการบริหารว่นุ วายทาให้ ไม่เข้าใจในบทบาทหน้าท่ีของตนเอง ซ่ึงไม่สอดคล้องกิจกรรมนิสิตนักศึกษาเป็นส่วนหน่ึงของการใช้ชีวิตของ นิสิตนักศึกษาในร้ัวมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาซึ่งมีความสาคัญต่อการพัฒนานิสิต นักศึกษาให้เป็นผู้ใหญ่ที่สมบูรณ์ในอนาคต สถาบันการศึกษาแต่ละแห่งจึงให้ความสาคัญในการพานิสิต นักศึกษาในสถาบันของตนเอง ด้วยการกาหนดนโยบายวัตถุประสงค์ของการพัฒนากิจกรรมนิสิตนักศึกษาที่ ชัดเจน แน่นอน และครอบคลุม ซึ่งจะนาไปสูการพัฒนาตนเองของนินิตนักศึกษาทั้งด้านร่างกายสติปัญญา

ปที ี่ 6 ฉบบั ท่ี 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 116 ความสมบรู ณ์เพยี บพรอ้ มในด้านต่าง ๆ แต่เมอ่ื พจิ ารณาเปน็ รายดา้ น พบวา่ ดา้ นงานกิจกรรมนกั ศึกษาแตกต่าง กันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 อาจเน่ืองมากจากกิจกรรมของแต่ละสาขาวิชาที่ไม่เหมาะสมกับการ ปฏิบตั กิ ิจกรรมของนักศึกษา ซ่งึ ไม่สอดคลอ้ งกบั แนวคิดเก่ยี วกับการจัดกิจกรรมนิสิต ดา้ นการประสานงานกับ ภาควิชาหรือหน่วยงานต่าง ๆ ในสถาบันการจัดกิจกรรมนิสิตต้องประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ ในการ ดาเนินงาน เช่น หน่วยรักษาความปลอดภัย ตารวจหรือจราจร เพื่อช่วยให้งานต่าง ๆ ดาเนินต่ออย่างราบรื่น เรียบร้อยทั้งสนับสนุนอานวยความสะดวกให้แก่นิสิตเก่ียวกับการจัดกิจกรรมต่าง ๆ และการจัดหาอาจารย์ท่ี ปรึกษากิจกรรมหรืออาจารย์แนะแนวท่ีมีประสบการณ์ในงานกิจกรรม ในการจัดกิจกรรมนิสิต อาจารย์ท่ี ปรึกษาหรืออาจายรย์แนะแนวจะมีหน้าท่ีคอยช่วยเหลือให้แนะแนวความคิดหรือแนะแนวทางจัดกิจกรรมให้ นิสิตสามารถจดั กจิ กรรมได้อยา่ งเหมาะสม วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา (2530) ปีอาจเกา่ ไป ผลการเปรียบเทียบการบริหารงานกิจการนักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติจีนในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน กรณศี กึ ษาวทิ ยาลัยนานาชาติจนี มหาวทิ ยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ จาแนกตามชั้นปีทก่ี าลงั ศกึ ษา พบว่าในภาพรวม และรายด้านไม่แตกต่างกัน อาจเนื่องมาจากการกาหนดวัตถุประสงค์ของการพัฒนาด้านกิจกรรมของนิสิต นักศึกษาท่ีไม่เอ้ือต่อการร่วมกิจกรรม รวมถึงความชัดเจน แน่นอน และครอบคลุม ซ่ึงจะนาไปสูการพัฒนา ตนเองของนิสิตนักศึกษา ซ่ึงไม่สอดคล้องกับ วฤษาย์ ฤกขะเมธ (2546) ได้มีการศึกษาทัศนะของนิสิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ที่มีต่อการจัดกิจกรรมนิสิตของมหาวิทยาลัยในรูปแบบกิจกรรมบังคับ พบว่า นิสิตมีทัศนะต่อการจัดกิจกรรมนิสิตของมหาวิทยาลัยในรูปแบบกิจกรรมบังคับ โดยรวมระดับปานกลาง เป็น เพ ร าะ นิ สิ ตมหาวิ ทย าลั ย ศรี น คริ น ทร วิ โ ร ฒ ส่ ว น ใหญ่ ไ ม่ค่ อ ย เห็ น ด้ ว ย กั บก าร ปร ะ ทั บตร ากิ จก ร ร มใน สมุด ประทับตรา ท่ีแสดงว่านิสิตได้เข้าร่วมกิจกรรมแล้ว เพราะนิสิตบางคนอาจไม่ได้เข้าร่วมกิจกรรมแต่ฝากเพ่ือ ประทับตรากจิ กรรม หรือนิสิตไม่ต้งั ใจรว่ มมือในการทากิจกรรม รอแตก่ ารประทับตรากิจกรรมเท่านั้น หรอื นสิ ติ ไม่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมเพราะกิจกรรมไม่น่าสนใจ ไม่สร้างสรรค์และลักษณะของกจิ กรรมไม่เหมาะสมกับยคุ สมยั และในการจดั กิจกรรมนสิ ติ ขาดการประชาสมั พันธอ์ ย่างทว่ั ถึง และการศกึ ษาเกี่ยวกับสงั คมปัจจุบนั เป็นยุค ท่ีต้องด้ินรนเพื่อความอยู่รอดนกั ศึกษาเข้ามาเพ่ือเรยี นให้จบโดยเรว็ และออกไปทางาน จึงไม่สนใจทากิจกรรม ร่วมกับผู้อ่ืนและประกอบกับเมืองใหญ่มีศูนย์การค้ามากมายที่นักศึกษานิยมไปมากกว่าท่ีจะเข้าร่วมกิจกรรม และแม้ว่ากิจกรรมนักศึกษาจะได้รับการยอมรบั ว่ามีความสาคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากิจกรรมการเรยี นการสอน ทางวชิ าการ โสภณ อรณุ รตั น์ (2542) ปอี าจเก่าไป ข้อเสนอแนะ 1 ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย 1) สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากับสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยและ มหาวิทยาลัยเอกชน ควรการนานโยบายและการวางแผนการจัดกิจกรรมการพัฒนากิจการนกั ศึกษาวิทยาลัย นานาชาตจิ นี ในสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนไปปฏบิ ัติเกี่ยวกบั การให้ผ้บู ริหารและบุคลากรฝา่ ยกจิ กรรมนกั ศึกษามี การนากิจกรรมที่ตรงตามความสนใจและความถนดั ของนกั ศึกษา

ปที ี่ 6 ฉบับที่ 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 117 2) สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากับสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยและ มหาวทิ ยาลยั เอกชน ควรมีการหารือรว่ มกนั พฒั นานโยบายและแผนงานสง่ เสริมการดาเนนิ กิจกรรมการพัฒนา กิจการนักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติจีนในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่ต่อเนื่อง สอดคล้องกับการเตรียมความ พร้อมบัณฑิตสู่การทางานและสงั คมในปจั จุบัน 2 ขอ้ เสนอแนะเชงิ ปฏิบัติ 1) สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากับสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยและ มหาวิทยาลัยเอกชน ควรดาเนินการปรับปรุงพัฒนากิจกรรมนักศึกษาให้ทันสมัยเหมาะสมกับความสนใจและ ความถนดั รวมถึงความปลอดภัยในการดาเนนิ ชวี ิตของนกั ศกึ ษา 2) ผู้บริหารและบุคลากรฝ่ายกิจกรรมนักศึกษา ควรให้ควรสาคัญร่วมศึกษาผลการดาเนินแผนงาน หรือโครงการเพื่อพัฒนาหลังการปฏิบัติกิจกรรม ในการปรับปรุงกิจกรรมนักศึกษาให้สอดคล้องตามความ ต้องการของนกั ศึกษา 3. ขอ้ เสนอแนะสาหรบั การวจิ ยั ในครงั้ ต่อไป 1) ควรศึกษาทาการวิจัยเกย่ี วกับการพัฒนาระบบการบริหารงานกิจการนักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติ จีนในสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชน ในดา้ นความตอ้ งการพนื้ ฐานของนักศึกษาในแตล่ ะมหาวทิ ยาลยั 2) ควรศึกษาทาการวิจัยเกี่ยวกับการเผยแพร่ผลงานการบริหารงานกิจการนักศึกษาวิทยาลัย นานาชาติจีนในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน เพ่ือให้สอดคล้องกับการเตรียมความพร้อมบัณฑิตสู่การทางานและ สังคมในปัจจบุ นั เอกสารอา้ งองิ กรกช ศิริ. (2536). การศกึ ษาปญั ญาและความตอ้ งการของนิสิตเก่ยี วกับการเขา้ รว่ มกิจกรรมนสิ ิตมหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (วิทยานิพนธป์ รญิ ญามหาบัณฑติ ). กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒประสานมติ ร. ปญั ญา ซอ่ื สตั ย์. (2542). การดาเนินงานฝ่ายกจิ การนักเรยี น นกั ศึกษา ของ. วทิ ยาลัยเทคนคิ สกลนคร, วิทยานพิ นธป์ ริญญาศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต. (สาขาการบริหารการศกึ ษา), บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ . วฤษาย์ ฤกขะเมธ. (2546). ทัศนะของนิสติ มหาวิทยาลัยศรีนครทิ รวโิ รฒท่ีมีตอ่ การจดักิจกรรม นิสิตของ มหาวทิ ยาลยั ในรปูแบบกจิ กรรมบงั คับ. ปริญญานพิ นธ์กศ.ม. (การอดุ มศึกษา). กรงุ เทพฯ: บัณฑิต วทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ. วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยธุ ยา. (2543). การพัฒนาคณุ ธรรมจรยิ ธรรมนสิ ติ นกั ศกึ ษา. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์ชวนพมิ พ.์ สาเนาว์ ขจรศิลป์. (2537). มิตใิ หม่ของกจิ การนกั ศึกษา 1: พื้นฐานและบรกิ ารนกั ศกึ ษา. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พแ์ หง่ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์. โสภณ อรุณรัตน์. (2542). สภาพปัญหาและความตอ้ งการในการดาเนนิ งานกจิ กรรม. นกั ศกึ ษาของคณะ ศกึ ษาศาสตรม์ หาวิทยาลยั เชียงใหม่, เชยี งใหม่

ปที ี่ 6 ฉบบั ท่ี 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 118 วทิ ยาลัยครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธุรกิจบณั ฑติ ย์ เลขที่ 110/1-4 ถนนประชาชื่น แขวงท่งุ สองหอ้ ง เขตหลกั ส่ี กรุงเทพฯ 10210 Website : https://www.dpu.ac.th/ces/cesjournal.html


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook