Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสาร ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ก.ค-ธ.ค. 63

วารสาร ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ก.ค-ธ.ค. 63

Published by ED-APHEIT, 2021-07-06 07:11:36

Description: วารสาร ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ก.ค-ธ.ค. 63

Search

Read the Text Version

ปที ี่ 6 ฉบบั ท่ี 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 50 มีคุณประโยชน์ในการมีแหล่งขอ้ มูลสารสนเทศเพื่อการศกึ ษาคน้ คว้าในวิทยาการสาขาต่าง ๆ ท้งั ในลกั ษณะส่ือ สาเรจ็ เชน่ Software แถบบนั ทกึ วีดิทัศน์ รวมถึง CD-ROM และ CAI หรอื ชอื่ Web sites ตา่ ง ๆ ซึ่งควรจดั ทา ระบบ Catalog และดัชนีใหส้ ะดวกตอ่ การสืบค้น การบริการของหน่วยงานกลางทางเทคโนโลยีเพ่ือการเรยี นรู้ ซึ่งหนว่ ยงานกลางด้านเทคโนโลยีควรส่งเสริมการ ใช้เทคโนโลยีของสถาบันการศึกษาด้วยการบริการด้านข้อมูลสารสนเทศ เช่น จัดทาเอกสาร รายเดือน รายงาน Software ท่ีออกใหม่ แจ้งชื่อ Websites ใหม่ ๆ พร้อมสาระเนื้อหาโดยย่อ จัดทาคลังข้อมูลความรู้ (Knowledge Bank) เพื่อการเรียนรู้ในด้านต่าง ๆ ผ่านส่ืออิเลคทรอนิกส์ หรือส่ือทางไกลผ่านดาวเทียม เพ่ือ เผยแพรส่ นองความต้องการและความสนใจของผู้เรียนเป็นประจา นอกจากน้กี ารรวบรวมผลงานของผู้สอนและ ผู้เรียนในการจัดกระบวนการเรยี นการสอนด้วยเทคโนโลยี จะเป็นตัวอย่างที่ดีสาหรับผู้สอนและผู้เรยี นทั่วไปที่ จะใชเ้ ทคโนโลยีเพอ่ื ช่วยการเรียนการสอนในการจัดการเรียนการสอนให้สมั พนั ธก์ ับเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ IT นั้น ซ่ึงการจัด T : Technology ไม่ค่อยน่าห่วง เพราะถ้ามีงบประมาณก็จัดหาได้และสอนให้ผู้เรียนใช้ เทคโนโลยีเป็นโดยไม่ยาก แต่สิ่งที่ขาดแคลนคือ I : Information หรือสารสนเทศ ที่จะเป็นเน้ือหาของการใช้ เทคโนโลยี เพราะถา้ ขาดข้อมูลสารสนเทศเพื่อใช้ในการเรียนรู้ และขาดการเชื่อมโยงกระบวนการเรยี นรู้ให้เข้า กับเทคโนโลยีสารสนเทศแล้ว ตัวระบบเทคโนโลยีก็ไร้ความหมาย และสูญค่าคุณประโยชน์ ดังน้ัน จึงมีความ คาดหวังว่า ในอนาคตสถาบนั ควรจะได้พบกบั ความสมบูรณ์ของระบบข้อมูลสารสนเทศที่หลากหลายผนวกเป็น ส่วนหนึ่งของระบบเทคโนโลยี และได้พบผลงานของผู้สอนและผลการเรียนรู้ของผู้เรียนที่แสดงถึงการใช้ เทคโนโลยใี ห้เกดิ ประโยชน์สูงสดุ ในการเรยี นการสอน การบูรณาการเทคโนโลยนี วัตกรรมและการเรียนรูอ้ ยา่ งสร้างสรรค์ เปน็ การใช้นวตั กรรมและเทคโนโลยีดา้ นต่าง ๆ เพ่ือประโยชน์ของการบริหารจัดการการศึกษาในแบบแผนของการบูรณาการทน่ี า เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ ทงั้ ดา้ นของการนาเอาการวิจัยนวตั กรรมและความคิดสร้างสรรค์ และการดาเนนิ งานท่ีเกีย่ วขอ้ งมาประยุกตใ์ ช้หรือ การบรู ณาการในระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ ทีส่ ามารถนามาใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ในการบริหารการศึกษาให้เกิด ท้ังประสิทธิภาพ (Efficiency) และประสิทธิผล (Effectiveness) เพ่ือนาไปสู่คุณภาพ (Quality) ของผู้จบ การศึกษาและคุณภาพของระบบการบริหารและการจัดการเรยี นการสอน บทสรปุ การนานวัตกรรมและความคดิ สร้างสรรคท์ ง้ั หมดดงั กล่าวมาในบทความน้ี เพอ่ื มาใชใ้ นสถาบนั การศึกษาน้ัน โดย การนาเสนอแนวคิดและการนาเทคโนโลยีมาใช้เพอ่ื ปรับปรุงกระบวนการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียน และผสู้ อนสามารถใช้ประโยชน์จากเครือ่ งมอื เหลา่ นไ้ี ด้อย่างเต็มความสามารถ ไม่วา่ จะใช้ประโยชน์ในด้านการ เรียนการสอนซ่ึงเป็นภารกิจหลักของสถาบันแล้ว ยังมีการนาเทคโนโลยีในรูปแบบ “ระบบ” ของนวัตกรรม การศึกษาและการเรียนรู้อย่างเรียนสร้างสรรค์ เพื่อสนับสนุนให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลความรู้ จาก สือ่ ความรู้ทางการศกึ ษาหลากหลายรูปแบบ จนเรยี กได้ว่าเป็นยุคแห่งนวัตกรรมการศึกษาและการเรยี นรู้อย่าง สร้างสรรค์อย่างเต็มรูปแบบท่ีผู้เรียนสามารถศึกษาหาความรู้ได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ เท่าที่ผู้เรียนจะมีกาลัง ความสามารถในการท่ีจะค้นควา้ หาความรู้ได้ และขอบข่ายของนวตั กรรมทางการศึกษาในด้านหลักสูตร การ

ปีท่ี 6 ฉบับที่ 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 51 เรียนการสอน สื่อสารสอน การประเมินผลและการบริหารจัดจะต้องมีการพัฒนาและมีการปรับตัวเพื่อให้ ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนและสถานการณ์โลกท่ีเทคโนโลยีน้ันมีการพัฒนาไปอย่างกว้างขวางและ รวดเร็ว และนอกจากนี้ยังต้องให้ความสาคัญเกี่ยวกับการบริหารนวัตกรรมกับความคิดสร้างสรรค์ภายใน สถาบันการศึกษา โดยให้ผู้ที่อยู่ในสถาบันการศึกษาได้มีความคิด จินตนาการ มีการกาหนดทิศทางและการ กาหนดมุมมองของงานวิจัยนวัตกรรมหรือการทางานด้วยตัวเอง โดยสถาบันการศึกษาน้ันมีหน้าที่ในการ สนับสนุนเครื่องมือในการคิด เป็นที่ปรึกษาให้แก่บุคลากรภายในสถาบัน เป็นต้น และจะสามารถทาให้ สถาบันการศึกษานั้นอยู่รอดได้ในอนาคตภายใต้สภาวะแวดล้อมของโลกท่ีเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ซ่ึงต้อง อาศัยความคิดสร้างสรรค์และที่สามารถดึงศักยภาพของคนในสถาบันออกมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและ จะต้องไม่ยึดติดกับกฎเกณฑ์เดิม ๆท่ีจากัดจินตนาการของคนในวงการศึกษา ดังนั้นหน้าท่ีหลักของ สถาบันการศึกษายุคใหม่ที่ควรจะเป็น คือ สนับสนุนเคร่ืองมือในการคิด เป็นที่ปรึกษาให้แก่บุคลากรภายใน สถาบันด้วยการนานวตั กรรมหรือเทคโนโลยีมาใช้การดาเนินการดงั กล่าวนน้ั จะส่งผลกระทบถงึ ระบบของการ ใช้เทคโนโลยีในสถาบันในเชิงของการบริหาร หรือเรียกว่า นวัตกรรมการบริหารการศึกษาเป็นสาคัญ สาหรับผู้บริหารสถาบันนั้น เทคโนโลยีที่นามาใช้ในการบริหารการศึกษามิได้มีเพียงเทคโนโลยีสารสนเทศหรือ เทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์เท่าน้ัน แต่รวมถึงวิธีการกระบวนการบริหาร อุปกรณ์ เคร่ืองมือหรือเครื่องจักร อีกด้วย โดยในปัจจุบันมีเทคโนโลยีต่าง ๆ มากมาย ท่ีสามารถนามาใช้ในการบริหารการศึกษา อาทิเช่น Balanced Scorecard, TQM, QR code เปน็ ตน้ ผบู้ ริหารสถาบนั สามารถนาเทคโนโลยีต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้ ให้เหมาะสมในการพฒั นาสถาบนั ยคุ ใหมต่ ่อไปในอนาคต บรรณานุกรม วีระวฒุ ิ วจั นะพุกกะ และ อาทติ ยา อรุณศรโี สภณม. “ชุมชนแหง่ นวัตกรรมและความคิดสรา้ งสรรค์.” วารสารนักบรหิ าร 30,3 (กรกฎาคม –กนั ยายน 2553) : 25-30. มาลี สืบกระแส. 9E-Leader บทความนวัตกรรมเพอื่ บรหิ ารการศกึ ษา. สืบคืนเมอ่ื วนั ท่ี 15 กรกฎาคม 2563, จาก http://gotoknow.org/file/maleessj/9e-leader.doc พัลลภ พริ ยิ ะสุรวงศ์. เทคโนโลยกี บั การปฏริ ปู การศึกษา สืบคน้ เมอื่ วนั ที่ 17 กรกฎาคม 2563, จาก http://www.school.net.th/library/create-web/10000/generality/10000-8892.html เทคโนโลยีกับการเรยี นรู้. สบื คืนเม่ือวันท่ี 18 กรกฎาคม 2563, จาก http://anong07.multiply.com./journal/item/2. เทคโนโลยกี ารพฒั นาประเทศ. สืบคน้ เม่ือวนั ท่ี 20 กรกฎาคม 2563, จาก http://dnfe5nfe.go.th/lip/soc5/so31-5-3.htm มลู นธิ เิ ทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดารัสของสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราช กุมารี. สบื คน้ เม่อื วันที่ 20 กรกฎาคม 2563, จาก http://www.princess-it.org

ปีที่ 6 ฉบบั ที่ 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 52 อนาคตของเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมทางการศกึ ษา The future trend of information technology and educational innovation เอกกรชิ อกั โข* Eggrish Akkho* โรงเรียนยางคาวิทยา สานกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาร้อยเอ็ด เขต 2 บทคดั ย่อ บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการศึกษาไทยในปัจจุบันว่ามีรปู แบบการจัดการเรียนการ สอนอย่างไร รวมถึงศึกษาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมทางการศึกษามาใช้ในการจัดการเรียน การสอน โดยศึกษาท้งั ในปัจจุบนั และวเิ คราะหแ์ นวโนม้ ความเป็นไปได้ท่ีจะเกิดขึ้นในอนาคตของทั้งเทคโนโลยี สารสนเทศ และนวัตกรรมทางการศกึ ษาวา่ จะเป็นไปในทิศทางใด และนวัตกรรมทางการศึกษาน้นั มีการพัฒนา อย่างต่อเน่ืองดว้ ยเหตุผลเทคโนโลยีในปัจจุบนั มีวิวัฒนาการเปล่ยี นแปลงไปอย่างรวดเร็ว ทาให้มีวสั ดุ อปุ กรณ์ และเทคนิควิธีการใหม่ๆ เพ่ือนามาใช้ประโยชน์อย่างไม่มีขีดจากัดในทุกวงการซึ่งรวมถึงวงการการศึกษาดว้ ย ด้วยเหตุนี้จึงมแี นวโนม้ ที่เทคโนโลยสี ารสนเทศ และนวัตกรรมทางการศกึ ษาจะดีขน้ึ ในอนาคตโดยในบทความนี้ จะกล่าวถึงเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีจะเกิดขึ้นในอนาคต และมีความสาคัญกับการจัดการเรียนการสอน และ นวัตกรรมทางการศึกษาประเภทต่าง ๆ ทใ่ี ช้อยู่ในปัจจุบนั รวมถึงแนวโน้มท่ีจะเกิดข้นึ ในอนาคตว่าจะมีแนวโน้ม ไปในทศิ ทางใดมีการนามาปรับใช้อยา่ งไรในการเรยี นการสอน คาสาคัญ เทคโนโลยีสารสนเทศ นวตั กรรมทางการศึกษา นวัตกรรม การศกึ ษา Abstract The purpose of this paper is to study the current teaching management mode in Thailand, including the use of. Information technology and education innovation research and analysis trend. The future of information technology and educational innovation may take place in any direction and educational innovation. This is due to the rapid development of technology, materials, equipment and equipment. In addition, new methods and methods have unlimited use in every project, including education. In this article, information technology will play an important role in educational innovation in the future. Future and future

ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 53 importance, teaching and educational innovation, including future trends. In the future, no matter in any direction, the trend will serve teaching. Keywords Information technology Educational innovation Innovation Education บทนา การศึกษาในประเทศไทยนนั้ ได้ยึดหลักของการจัดการเรียนการสอนทเ่ี น้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง แตเ่ มอ่ื ยุคสมัย เปลย่ี นแปลงความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทเ่ี กดิ ขน้ึ ทาใหร้ การศกึ ษาในประเทศไทยน้ันจาเป็นท่ีจะต้องทา การเปลี่ยนแปลงรูปแบบวิธีการให้ตามทันกับยุคสมัยท่ีเปล่ียนไป โดยต้องการรูปแบบการทางานท่ีสามารถ พัฒนากรอบความคิดเพอ่ื การเรยี นรู้แห่งศตวรรษท่ี 21 เพื่อทส่ี ามารถจัดการศึกษาตอบสนองตอ่ ความต้องการ ท่ีกาลังเปลี่ยนแปลงของสังคมซึ่งเยาวชนไทยกาลังเผชิญอยู่ จากการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีและ สภาพแวดล้อมในยุคปจั จุบัน ทาใหก้ ารจัดการเรียนการสอนต้องมีการเปลยี่ นแปลงเกิดขนึ้ โดยนักการศึกษาได้ มีการนาเสนอหลักการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 ซ่ึงสามารถสรุปประเด็นสาคัญของลักษณะการจัดการเรียนรู้ได้ ดังนี้ (innochai : 2559) ผู้สอนต้องใช้วิธีการสอนท่ีหลากหลาย หากผู้สอนนารูปแบบการเรียนรู้แบบใดแบบหน่ึงไปใช้กับผุ้เรียนทุกคน ตลอดเวลา อาจทาใหผ้ ู้เรียนบางคนเกิดอาการเบอ่ื และทาให้ไม่เกิดการเรยี นรทู้ ี่เต็มประสิทธภิ าพ ผู้เรียนควรเปน็ ผกู้ าหนดองค์ความรูข้ องตนเอง โดยที่ผู้สอนไมไ่ ดท้ าการสอน และใหผ้ ูเ้ รียนจา โลกยุคใหม่ต้องการผู้เรียนซึ่งมีวินัย มีพฤติกรรมท่ีรู้จักยืดหยุ่นหรือปรับเปล่ียนให้เข้ากับสถานการณ์ได้อย่าง เหมาะสม ไม่ว่าจะอยูใ่ นสถานการณ์แบบใด เนื่องจากข้อมลู ขา่ วสารในโลกมกี ารเปลยี่ นแปลงอย่างรวดเรว็ และเปลย่ี นแปลงไปอยา่ งมาก ในส่วนโรงเรียนจึง ต้องใชว้ ิธสี อนทห่ี ลากหลาย โดยใหผ้ เู้ รียนได้เรยี นร้ใู นรปู แบบต่าง ๆ กัน สรา้ งสงั คม และชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ ซึ่งมีข้อมูลข่าวสารตา่ ง ๆ มากมายในชุมชน เพ่ือท่จี ะทาให้เกดิ การเรียนรู้ ได้ทกุ ที่ และทุกเวลาไมใ่ ชเ่ ฉพาะที่เกิดข้นึ ในหอ้ งเรียนเพยี งเท่านน้ั การเรียนรู้แบบเจาะลึก โดยจะต้องเรียนให้รู้จริง ให้รู้ลึก รู้รอบ ไม่ใช่เรียนเพยี งเพือ่ เพราะให้จบหลักสูตรเพยี ง เท่าน้ัน ดังจะเห็นจากในอดีตวา่ มีการบรรจุเนื้อหาไวใ้ นหลักสูตรมากเกินไป จนผู้เรียนไม่รู้ว่าเรียนไปเพอ่ื อะไร และส่งิ ที่เรยี นไปแล้วมคี วามสมั พนั ธ์อยา่ งไร มกี ารบูรณาการการศึกษาโดยมีการนาเทคโนโลยมี าปรับใช้ ไมว่ า่ จะเป็นรปู แบบการเรียนการสอน สือ่ การเรียน การสอน เพอื่ ทจี่ ะทาให้เดก็ นั้นสามารถที่จะเรียนรู้ และก้าวทันโลก นอกจากนี้สภาพแวดลอ้ มทางการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ก็มกี ารเปลย่ี นแปลงไปจากสภาพแวดล้อมในปัจจุบัน ดังนี้ (innochai : 2559) ส นั บ ส นุ น ท า ง วิ ช า ชี พ แ ก่ ชุ ม ช น ท้ั ง ใ น ด้ า น ก า ร ใ ห้ ก า ร ศึ ก ษ า ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ก า ร แ บ่ ง ปั น สงิ่ ปฏิบัตทิ ี่เป็นเลศิ ระหว่างกันรวมทั้งการบูรณาการหลอมรวมทกั ษะหลากหลายสู่การปฏิบตั ิในชน้ั เรยี น

ปีที่ 6 ฉบับท่ี 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 54 สรา้ งผเู้ รยี นเกดิ การเรียนร้จู ากสิ่งท่ีปฏิบตั ิจรงิ ตามบริบท โดยเฉพาะการเรยี นแบบโครงงาน เน้นให้ผู้เรยี นเกิดความคดิ สร้างสรรค์ ใหค้ ิดและสร้างสรรค์สิง่ ใหม่ ๆ สรา้ งโอกาสในการเขา้ ถึงสือ่ เทคโนโลยี เคร่อื งมือหรอื แหล่งการเรียนรู้ท่มี คี ุณภาพ ออกแบบระบบการเรยี นรูท้ เ่ี หมาะสมทัง้ การเรยี นเป็นกลุ่มหรอื การเรยี นรายบุคคล นาไปส่กู ารพฒั นาและขยายผลส่ชู มุ ชนทง้ั ในรปู แบบการเผชิญหนา้ หรือระบบออนไลน์ โดยท่ีกล่าวมาท้ังหมดในเบื้องต้นน้ัน เป็นการสร้างแนวคิดของการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 โดยการเรียนการสอนของครูต้องมีประสิทธิภาพเพื่อทาให้ผู้เรียนนั้นมีประสิทธิภาพ โดยการสอนท่ีจัดว่ามี ประสิทธิภาพ ครูนั้นต้องมีคุณสมบัติมากกว่าการเป็นผู้ท่ีทาหน้าท่ีสอน ครูต้องมีลักษณะของผู้ท่ีสามารถชี้แนะ การเรียนรู้ และสามารถทาหน้าที่เป็นผู้นานักเรียนท่องเท่ียวไปสู่โลกแห่งการเรียนรู้ได้ โดยส่ิงท่ีจะทาให้การ เรยี นการสอนใหม้ ปี ระสิทธิภาพ และกา้ วทันการเปล่ียนแปลงของโลกในปัจจุบัน และอนาคตแลว้ นนั้ คอื การนา นวตั กรรมมาปรบั ใช้ในการเรียนการสอน เพอ่ื ที่จะทาให้การสอนนัน้ มปี ระสิทธภิ าพดยี ่ิงขน้ึ ผ้เู รยี นสามารถเกิด การเรียนรู้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิผลสูงกว่าเดิม เกิดแรงจูงใจในการเรียนโดยการที่นานวัตกรรมมาปรับใช้ใน การเรียนการสอนน้นั มีคาเรยี กว่า นวัตกรรมทางการศึกษา นวัตกรรมทางการศึกษา ประกอบด้วยคาสองคาคือ นวัตกรรม และคาว่าการศึกษาโดยคาว่านวัตกรรมนน้ั สามารถสรุปความหมายได้ว่า การนาแนวคิดใหม่ วิธีการใหม่ หรือสิ่งใหม่มาใช้ทง้ั หมดหรือการพัฒนา ปรบั ปรุง เปลี่ยนแปลง หรือเพ่ิมเติม แนวคิดเดิม วิธีการเดิม หรือสิ่งเดิมเพ่ือช่วยให้การทางานมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลดียิ่งข้ึน ส่วนคาว่าการศึกษาความหมายตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542 หมายความว่ากระบวนการการเรียนร้เู พ่ือความเจริญงอกงามของบุคคลและสงั คมโดยการถ่ายทอดความรู้ การ ฝึก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสร้างสรรค์จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์ ความรู้อันเกิดจากการจัดสภาพแวดล้อม สังคม การเรียนรู้และปัจจัยเกื้อหนุนให้บุคคลเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง ตลอดชีวิต ดังนั้นสามารถสรุปความหมายของคาว่านวัตกรรมทางการศึกษาได้ว่า การนาแนวคิดใหม่ วิธีการ ใหม่ หรอื สิง่ ใหม่มาใช้ หรือการพัฒนา ปรบั ปรุง เปล่ยี นแปลง หรือเพิ่มเติม แนวคิดเดมิ วิธีการเดมิ หรอื สง่ิ เดิมที่ ช่วยให้เกิดกระบวนการเรียนรเู้ พ่อื ความงอกงามของบุคคล และสังคมอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยนวัตกรรม ทางการศกึ ษาที่ได้รับความสนใจได้แก(่ พชิ ติ ฤทธจ์ิ รูญ : 2559: 85) นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร เป็นการใช้วิธีการใหม่ๆ ในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมใน ท้องถิ่นและตอบสนองความต้องการของบุคคล โดยออกแบบหลักสูตรให้สอดคล้องกับความกา้ วหน้าทางดา้ น เ ท ค โ น โ ล ยี เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ข อ ง โ ล ก แ ล ะ ส า ม า ร ถ ท า ก า ร บูรณาการจากองค์ความรู้ในสาขาต่าง ๆ มาประกอบหลักสูตรให้เข้ากับคุณธรรม จริยธรรม โดยมุ่งให้ผู้เรียน เป็นคนดีมีคุณธรรม นอกจากนี้ยังมีหลักสูตรรายบุคคลสาหรับผู้เรียนแต่ละประเภท หลักสูตรกิจกรรมและ ประสบการณ์ท่ีมุ่งเน้นกระบวนการในการจัดกิจกรรมและประสบการณ์ให้กับผู้เรียนเพื่อนาไปสู่ความสาเร็จ หลักสูตรท้องถ่ินท่ีต้องการกระจายการบริหารจัดการออกสู่ท้องถิ่น เพื่อให้สอดคล้องกับศิลปวัฒนธรรม ส่ิงแวดล้อมและความเป็นอยู่ของประชาชนที่มีอยู่ในแต่ละท้องถิ่น แทนที่หลักสูตรในแบบเดิมที่ใช้วิธีการรวม ศูนยก์ ารพฒั นาอยใู่ นส่วนกลาง

ปที ่ี 6 ฉบบั ท่ี 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 55 นวัตกรรมการเรยี นการสอน คือส่ิงใหม่ๆ ท่ีสร้างขึ้นมาเพือ่ ช่วยแก้ปัญหาเกี่ยวกบั การเรยี นการสอนหรือพฒั นา ใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดการเรียนรู้อย่างมปี ระสิทธิภาพ ได้แก่ แนวคิด รูปแบบ วิธกี าร กระบวนการ ส่ือต่าง ๆ ท่ีเก่ยี วกับ การศึกษาเป็นการใช้ระบบในการปรับปรุงและคิดค้นพัฒนาวิธีสอนแบบใหม่ๆ เป็นการใช้วิธีการสอนหรือ เทคนิคการสอนในรปู แบบตา่ ง ๆ ท่ีนักการศึกษาได้คิดค้นเพื่อพัฒนาการด้านการเรียนรู้ใหแ้ ก่ผู้เรียนทั้งในดา้ น ความรู้ ทักษะกระบวนการ และเจตนคติ ท่ีสามารถตอบสนองการเรียนรายบุคคล การสอนแบบผู้เรียนเป็น ศูนย์กลาง การเรียนแบบมีส่วนร่วม การเรียนรู้แบบแก้ปัญหา การพัฒนาวิธีสอนจาเป็นต้องอาศัยวิธีการและ เทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาจดั การและสนบั สนุนการเรยี นการสอน นวัตกรรมสื่อการสอน เน่ืองจากมีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์เครือข่าย และเทคโนโลยี โทรคมนาคม ทาให้นักการศึกษาพยายามนาศักยภาพของเทคโนโลยีเหล่าน้ีมาใช้ในการผลิตสื่อการเรียนการ สอนใหมๆ่ จานวนมากมาย นวตั กรรมส่ือการสอน ไดแ้ ก่ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) มลั ตมิ ีเดยี (Multimedia) การประชุมทางไกล (Teleconference) ชุดการสอน (Instructional Module) วีดิทัศน์แบบมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive Video) โดยในปัจจุบันนั้นมีการนานวตั กรรมทางการศึกษาท้ังสามข้อที่ได้กล่าวไปข้างต้นมาปรบั ใช้ในการจัดการเรียน การสอนปัจจุบันได้นาทฤษฎีและหลักการแนวคิดทางเทคโนโลยีการศึกษาในทัศนะต่าง ๆมาใช้ร่วมกันอย่าง ผสมผสานเพอื่ ก่อให้เกดิ คุณภาพของการสอนเทคโนโลยีทางการศึกษา หรอื นวัตกรรมทางการศกึ ษา โดยการใช้ วัสดุอุปกรณ์เข้าช่วยในการจัดการเรียนการสอนได้มีบทบาทอย่างมากในการประยุกต์ใช้ทฤษฎีเพื่อส่งเสริม สนับสนุนการสอน ให้การจดั การเรยี นการการสอน เพอื่ ทีจ่ ะทาใหเ้ ดก็ นน้ั เกิดการเรียนรู้ และทาให้การเรียนการ สอนน้ันมีประสทิ ธิภาพมากขนึ้ อย่างไรกต็ ามดว้ ยความเปลี่ยนแปลงของโลก และเทคโนโลยีต่าง ๆ ท่เี กิดขึ้นเร็ว และเปลี่ยนแปลงในระยะเวลาอันส้ัน ทาให้นวัตกรรมการศึกษาน้ันต้องมีการเปลี่ยนแปลง หรือปรับเปล่ียน เพ่ือให้ทันกับการเปล่ียนแปลงท่ีเป็นไปอย่างรวดเร็ว โดยในบทความนี้จะศึกษา และอธิบายแนวโน้มของ นวัตกรรมการศึกษาท่ีเปล่ียนไป หรือที่จะเกิดข้ึนในอนาคตนั้นเป็นอย่างไร เพ่ือที่จะเตรียมตัวให้พร้อมกับการ เปลย่ี นแปลงของสังคม และเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถงึ นวัตกรรมต่าง ๆ และเตรียมพรอ้ มที่จะนามาปรับใช้ กบั การจดั การเรียนการสอน เพ่ือให้การเรียนการสอนมปี ระสิทธภิ าพมากย่ิงขึน้ เนอ้ื หา จากที่ได้กล่าวไปในข้างต้นจะเห็นว่าการใช้นวตั กรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาเป็นสิ่งจาเป็นในการจัดการ เรียนการสอนในปัจจุบัน การจัดทาแผนภาพ หรือแผนภูมิหาวัสดุอุปกรณ์ประกอบการเรียนการสอนซ่ึงไม่เคย ใชม้ าก่อนเป็นนวตั กรรมทางการศกึ ษาการจดั ให้มีการสร้างจดั หาวัสดุอุปกรณ์ประกอบการสอนเป็นสิ่งจาเป็นใน การจัดการเรียนการสอนการจัดให้ครูทาบันทึกการสอนตามลาดับข้ันตอนการสอนของกิจกรรมการเรียนการ สอนซึ่งครูไม่เคยทาการบันทึกมากอ่ นเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยสร้าง บทเรียนสาเร็จรูปใช้ในการเรียนการสอนเช่นนเี้ ป็นการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยที างการศึกษาขอเสนอแนว ดาเนินการการจดั ทาบทเรียนสาเร็จรปู และบทเรียนโปรแกรม เพอ่ื ใชใ้ นการเรียนการสอน ซึ่งในโลกปัจจบุ นั น้นั มีการเปลี่ยนแปลงเกิดข้ึนมากมาย ไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนแปลงทางด้านต่าง ๆ ทั้งเศรษฐกิจ สังคม และ

ปีท่ี 6 ฉบบั ที่ 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 56 การเมือง มีผลทาให้มีความเปลี่ยนแปลงของนวัตกรรมและเทคโนโลยีในระยะที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบันพบว่า ประเดน็ ที่น่าสนใจทท่ี าให้มกี ารเปลี่ยนแปลงไปในลกั ษณะต่าง ๆ ก่อให้เกิดนวัตกรรมประเภทตา่ ง ๆ ซ่งึ รวมถึง แนวโนม้ ของเทคโนโลยสี ารสนเทศในอนาคต การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศในคริสต์ศตวรรษท2่ี 1มีแนวโน้ม ท่ีจะพัฒนาคอมพิวเตอร์ให้มีความสามารถใกล้เคียงกับมนุษย์ เช่น การเข้าภาษาส่ือสารของมนุษย์ โครงข่าย ประสาทเทียม ระบบจาลอง ระบบเสมอื นจรงิ โดยพยายามนาไปใช้ให้เกิดประโยชนม์ ากข้นึ ลดข้อผิดพลาดและ ปอ้ งกนั ไม่ใหน้ าไปใช้ในทางที่ไม่ถูกต้องหรือผดิ กฎหมาย โดยแนวโนม้ ของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคตน้ันมี ท้งั ท่ีเปน็ ไปได้ทัง้ ในทางด้านบวก และในแนวทางดา้ นลบ แนวโน้มด้านบวกของเทคโนโลยสี ารสนเทศในอนาคตมีดงั ตอ่ ไปนี้ (รัตติยากร : 2556) การพัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตท่ีเชื่อมโยงกันท่ัวโลก ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทาง สังคม ช่องทางการดาเนินธุรกิจ เชน่ การทาธรุ กรรมอิเล็กทรอนิกส์ การพาณชิ ย์อิเล็กทรอนกิ ส์ ดหู นัง ฟงั เพลง และเกมส์ออนไลน์ การพฒั นาใหค้ อมพวิ เตอร์สามารถฟังและตอบเป็นภาษา พดู ได้ อ่านตวั อกั ษรหรอื ลายมอื เขยี นได้ การแสดงผล ของคอมพิวเตอรไ์ ดเ้ สมือนจริง เป็นแบบสามมิติ และการรับรดู้ ้วยประสาทสมั ผัส เสมือนวา่ ไดอ้ ยู่ในทีน่ ้ันจริง การพฒั นาระบบสารสนเทศ ฐานข้อมูล ฐานความรู้ เพ่อื พฒั นาระบบผ้เู ช่ียวชาญและการจดั การความรู้ การศึกษาตามอัธยาศัยด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-learning) การค้นคว้าหาความรู้ได้ตลอด 24 ชั่วโมงจาก หอ้ งสมุดเสมอื น (virtual library) การพัฒนาเครอื ขา่ ยโทร คมนาคม ระบบการสอื่ สารผ่านเครือข่ายไร้สาย เครือขา่ ยดาวเทียม ระบบสารสนเทศ ภมู ศิ าสตร์ ทาใหส้ ามารถคน้ หาตาแหน่งได้อย่างแมน่ ยา การบริหารจัดการภาครัฐสมัยใหม่ โดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเครือข่ายการส่ือสารเพ่ือเพ่ิม ประสิทธิภาพการ ดาเนินการของภาครัฐทเ่ี รยี กว่า รัฐบาลอเิ ล็กทรอนิกส์ (e-government) แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคตไม่ได้มีแต่ด้านบวกเพียงเท่าน้ัน แต่ยังมีแนวโน้มท่ีเป็นด้านลบท่ี อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต โดยมแี นวโนม้ ในทางลบดังต่อไปนี้ (รัตติยากร : 2543) ความผิดพลาดในการทางานของระบบ คอมพิวเตอร์ ทั้งส่วนฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ที่เกิดข้ึนจากการ ออกแบบและพฒั นา ทาให้เกิดความเสยี หายต่อระบบและสญู เสยี คา่ ใชจ้ า่ ยในการแกป้ ญั หา การการละเมดิ ลขิ สทิ ธิ์ของทรพั ยส์ ินทางปญั ญา การทาสาเนาและลอกเลียนแบบ การกอ่ อาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร์ การโจรกรรมขอ้ มูล การลว่ งละเมดิ การกอ่ กวนระบบคอมพวิ เตอร์ ทไ่ี ด้กล่าวไปข้างต้นน้ีคอื แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต ซง่ึ มีท้งั ในดา้ นบวก และในดา้ นลบซึ่งจะมี สว่ นสาคัญอย่างมากในการพฒั นาประเทศในดา้ นตา่ ง ๆ โดยเฉพาะการศกึ ษา ซึง่ เทคโนโลยสี ารสนเทศสาคัญที่ มแี นวโนม้ จะเกดิ ข้ึนในอนคตมดี ังต่อไปนี้ (รตั ติยากร : 2543) คอมพวิ เตอร์ ไดม้ ีการพฒั นาหนว่ ยความจาให้มีประสิทธภิ าพสูงข้นึ แต่มรี าคาถกู ลง ซึง่ ช่วยเพิ่มศักยภาพในการ ทางานของคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในปัจจุบันตลอดจนการนาชุดคอมพิวเตอร์ชนิดลดคาสั่งมาใช้ในการ ออกแบบหนว่ ยประเมินผล ทาใหค้ อมพวิ เตอร์สามารถทางานไดเ้ ร็วขนึ้ โดยใชค้ าสั่งพนื้ ฐานงา่ ยๆ

ปที ่ี 6 ฉบับที่ 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 57 ปัญญาประดิษฐ์ เป็นการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ให้มีความสามารถในการตอบสนองกับความต้องการของ มนุษย์ได้ ให้มพี ฤติกรรมเลยี นแบบมนษุ ย์ มีความเขา้ ใจภาษามนษุ ย์ รับรภู้ าษามนุษยไ์ ด้ เชน่ หุน่ ยนต์ เปน็ ต้น ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร เป็นการพัฒนาระบบสารสนเทศที่สนับสนุนผู้บริหารในงานระดับวางแผน นโยบายและกลยุทธ์ขององค์กร การจดจาเสยี งเปน็ การพัฒนาเพอ่ื ให้ผ้ใู ชม้ ามารถออกคาส่งั และตอบโต้กบั คอมพวิ เตอร์แทนการกดแปน้ พมิ พ์ การแลกเปล่ียนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เป็นการส่งข้อมูลจากระบบคอมพิวเตอร์หนึ่งไปสู่ระบบคอมพิวเตอร์อื่น โดยผา่ นระบบส่อื สารอิเล็กทรอนกิ ส์ เชน่ การทาธุรกจิ คา้ ขาย ทาให้ไม่ตอ้ งเสยี เวลาเดินทาง เสน้ ใยแกว้ นาแสง เป็นตัวกลางท่สี ามารถส่งขอ้ มูลข่าสารได้อย่างรวดเร็ว โดยอาศัยการส่งสญั ญาณแสงผ่านเส้น ใยแก้วนาแสงท่มี ัดรวมกนั เกดิ แนวคิด ทางดว่ นข้อมลู ท่ีเชื่อมโยงระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอรเ์ ข้าดว้ ยกนั อินเทอร์เน็ต เป็นเครือขา่ ยที่เชอื่ มโยงกันทัว่ โลกได้รบั ความนยิ มอย่างต่อเนอื่ ง โดยสมาชิกสามารถติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนขอ้ มูลกันได้ ระบบเครอื ข่าย เปน็ ระบบส่ือสารเครือขา่ ยท่ีใชใ้ นระยะทางที่กาหนด ส่วนใหญจ่ ะอยใุ่ นอาคารหรือในหนว่ ยงาน การประชุมทางไกล เป็นการผสมผสานกันระหว่าง คอมพิวเตอร์ เครื่องถ่ายโทรทัศน์ และ ระบบสื่อสาร โทรคมนาคม ผปู้ ระชุมไม่จาเป็นอยใู่ นห้องประชุม ช่วยประหยดั เวลาในการเดนิ ทางและผู้ท่ีอยหู่ ่างไกลกันมาก โทรทศั น์ตามสายและผา่ นดาวเทยี ม เปน็ การสง่ สญั ญาณโทรทศั น์ผ่านส่ือตา่ ง ๆ ไปยงั ผชู้ ม ข้อมลู แพรไ่ ปไดอ้ ย่าง รวดเรว็ และครอบคลุมพน้ื ที่กว้างขวาง เทคโนโลยีมัลติมิเดีย เป็นการนาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มาประยุกต์ใช้กับคอมพิวเตอร์ในการเก็บข้อมูล เช่น รูปภาพ ข้อความ เสยี ง โดยสามารถนากลับมาใชไ้ ด้ใหม่ การใช้คอมพิวเตอร์ในการฝึกอบรม เป็นการนาคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการฝึกอบรมในด้านต่าง ๆ หรือท่ี เรยี กว่า คอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน เพ่ือส่งเสริมประสทิ ธิภาพการเรียนรู้ การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ ช่วยในการออกแบบผลิตภัณฑ์ รูปแบบหีบห่อ รวมทั้งด้านการ ออกแบบวิศวกรรมและสถาปตั ยกรรมใหเ้ หมาะกับความต้องการ การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการผลิต ช่วยในการผลิตสินค้าในโรงงานอุตสาหกรรม สามารถตรวจสอบ รายละเอียดและข้อผิดพลาดของผลิตภณั ฑ์ เพื่อให้ได้มาตรฐาน จากที่กลา่ วไปในข้างต้นสังคมในปัจจบุ นั น้ันเทคโนโลยีสารสนเทศมกี ารเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก คนในสังคมมี การปรับตัวเพ่ือรองรับการเปล่ียนแปลง คนทุกระดับอายุ ทุกสายอาชีพ มีความต้องการสารสนเทศอยู่ ตลอดเวลา ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศมาเปน็ เคร่ืองมือช่วยอานวยความสะดวกในการดาเนนิ ชวี ิตประจาวัน ไมว่ ่า จะเป็นการศึกษาหาความรู้ การประกอบธุรกิจ การบริหารจัดการ การพักผ่อนและบันเทิง รวมทั้งการสร้าง โอกาสใหม่ๆ ให้กับชีวิตของตนเอง และเนื่องจากเทคโนโลยีในปัจจุบันมีวิวัฒนาการเปล่ียนแปลงไปอย่าง รวดเร็ว ทาให้มีวัสดุ อุปกรณ์ และเทคนิควิธีการใหม่ๆ เพ่ือนามาใช้ประโยชน์อย่างไม่มีขีดจากัดในทุกวงการ เช่นเดียวกับวงการศึกษาท่ีนาเทคโนโลยีเหล่านี้มาใช้เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนและการบริหาร จัดการ รวมถึงใช้ในการกาหนดแนวโน้มของการใช้เทคโนโลยีเพ่ือความเปล่ียนแปลงในอนาคตว่า ควรมีการ ปรับปรุงเปล่ียนแปลงอย่างไรบ้างเพื่อให้มีการใช้เทคโนโลยีอยา่ งได้ผล โดยหลังจากศึกษาจากหลาย ๆ แหล่ง

ปที ่ี 6 ฉบบั ท่ี 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 58 พบว่าการพัฒนาการของเทคโนโลยี และแนวโนม้ ในอนาคตในการเรียนการสอนมีดังนี้ (บทความแนวโนม้ ของ นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษาในอนาคต : ไมป่ รากฏช่อื ผแู้ ต่ง) พฒั นาการของเทคโนโลยีและการเรยี นการสอน วงการต่าง ๆ รวมถึงวงการศึกษาล้วนได้ประโยชนอ์ ย่างมหาศาลจากวิวัฒนาการของเทคโนโลยีสมัยใหม่ เพื่อนามาใช้ในการปรับการดาเนนิ งานให้ทนั สมัยสมกับยุคสมัยทมี่ ีการเปล่ียนแปลงไปอยา่ งรวดเร็ว และเพ่ือนา เทคโนโลยีท่ีทันสมัยมาใช้เพ่ือเพิ่มพูนประสิทธิผลการเรียนรู้แกผ่ ู้เรียน การนาเอาเทคโนโลยีมาใช้ในห้องเรียน ปจั จบุ นั จงึ เกี่ยวขอ้ งกับววิ ฒั นาการของวัสดุ อุปกรณแ์ ละวธิ กี ารอันเป็นผลสบื เน่ืองมาจากการพฒั นาระบบและ เทคนิคระดับสงู ในการผลิตและใช้งานเทคโนโลยีที่พฒั นาและเออ้ื ประโยชนต์ ่อการใช้งานทั้งในปัจจุบันและนับ เนือ่ งถึงอนาคตอนั ใกลจ้ ะมมี ากมายหลายรูปแบบเพอื่ ใช้ในวงการตา่ ง ๆ การบรรจบกันของเทคโนโลยแี ละสื่อการสอน เปน็ การรวมตัวกนั ของเทคโนโลยีให้เป็นเทคโนโลยรี ูปแบบเดียวที่สามารถใช้งานได้หลายวัตถุประสงค์ ในหนึง่ เดียว ตวั อยา่ งเช่น อปุ กรณส์ อ่ื สารไรส้ ายขนาดเล็กท่ีเปน็ ท้งั โทรศพั ท์และคอมพวิ เตอร์ส่วนบุคคล ขนาด เล็กลักษณะ PDA การบรรจบกันของเทคโนโลยีในเร่ืองของส่ือการสอนจะช่วยเอ้ือประโยชน์ใน สถาบันการศึกษาและการเรียนการสอนได้อย่างมากในเรื่องของการจัดหาทรัพยากรและวัสดุอุปกรณ์ ท่ีใช้ เทคโนโลยีใหม่ ทาให้ไม่จาเป็นต้องจัดหางบประมาณเพ่ือซ้ือวัสดุอุปกรณ์มากมายหลายอย่างเพ่ือใช้ในการ ถ่ายทอดเน้ือหาความรู้ ศักยภาพของการสอ่ื สารในสถาบนั การศึกษา แนวโน้มในอนาคตของสถาบนั การศึกษาท้ังในระดับโรงเรยี นและระดับอุดมศกึ ษาจาเป็นต้องมีการวางแผนใน การใชก้ ารสื่อสารบรอดแบรนดม์ ากขน้ึ ทงั้ น้เี นอ่ื งจากการถ่ายทอดเนื้อหาความรู้ในการเรียนการสอนไม่จากัด เฉพาะเพียงข้อความตัวอักขระและภาพน่ิงเหมือนแต่เดิมอีกต่อไป แต่จะมีการถ่ายทอดความรู้และสื่อสาร ข้อมูลด้วยการเชือ่ มต่อทง้ั แบบเครอื ขา่ ยเฉพะทแ่ี ละเครอื ข่ายอินเทอร์เนต็ รอบโลก พัฒนาการของอเี ลิร์นนงิ : Learning Object ทรัพยากรและบทเรียนอเี ลิรน์ นงิ ปกติแล้วจะมีอยู่กระจัดกระจายบนอินเทอร์เน็ต ทาให้ไม่สามารถเรยี กใชง้ าน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยเหตุนี้จึงได้มีการพัฒนาอีเลิร์นนิงโดยการสร้างเน้ือหาในรูปแบบท่ีเรียกวา่ “เลิร์ นนิงออบเจกต”์ (learning object) แบบอิสระที่สามารถเก็บรวมอยู่ในท่ีเดียวกนั เพอ่ื แบ่งปันกันใช้ในระหว่าง สถาบันการศึกษาและสามารถใช้งานไดห้ ลายแนวทาง Grid Computing เป็นรปู แบบของเครอื ข่ายประเภทหนง่ึ ซงึ่ ไมเ่ หมอื นกบั เครอื ข่ายแบบเดิม grid computing จะทางานร่วมกัน โดยใช้วงจรวา่ งของการประมวลผลของคอมพวิ เตอร์ท้ังหมดในเครอื ขา่ ยเพื่อแก้ปัญหาร่วมกันอยา่ งเข้มขน้ มาตรฐาน และอุปกรณ์ท่ีใช้ใน grid computing ในปัจจุบันกาลังได้รับการเลือกสรรและส่วนมากแล้วจะมี การสรา้ งขึ้นเพ่อื ใชง้ านด้านวิทยาศาสตร์ หากนามาใชใ้ นวงการศึกษาจะช่วยใหน้ ักศกึ ษาและครูผู้สอนสามารถ เข้าถงึ ข้อมูลที่แต่เดมิ สงวนไวเ้ ฉพาะมหาวทิ ยาลยั ด้านการวิจัยเทา่ นนั้ เพ่อื นามาใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอน ได้

ปที ี่ 6 ฉบบั ที่ 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 59 โดยแนวโน้มของการเรียนการสอนในอนาคตย่อมมีการใช้ grid computing กันอย่างกว้างขวางมากขึ้นท้ังนี้ เพราะการสื่อสารเพื่อแบ่งปันข้อมูลความรู้ระหว่างผู้สอน ด้วยกันเอง ระหว่างผู้เรียน หรือระหว่างผู้สอนกับ ผ้เู รยี น การค้นควา้ ทดลองท้ังในระดับประเทศและนานาชาติ จะมีการแบ่งปนั ข้อมูลได้งา่ ยขน้ึ เนื่องด้วยแนวโน้มท่ีพัฒนาไปของเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมทางการศึกษาวง การศึกษาจึงมีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมทางการศึกษามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนใน ปัจจุบัน ซ่ึงนวัตกรรมารศึกษาที่นามาใช้ทั้งที่ผ่านมาแล้ว และท่ีจะมีในอนาคตมีหลายประเภทข้ึนอยู่กับการ ปร ะ ยุก ต์ใช้น วัตก รร มใน ด้านต่าง ๆ โ ดยใน บทคว ามนี้จะก ล่าว ถึง คือ น วั ตก ร ร มก าร ศึกษา 5 ประเภท (chatchai soontornsawat : 2553) ไดแ้ ก่ นวัตกรรมทางด้านหลกั สูตร เป็นการใช้วิธีการใหมๆ่ ในการพฒั นาหลักสูตรให้สอดคลอ้ งกับสภาพแวดล้อมใน ท้องถน่ิ และตอบสนองความต้องการของบคุ คลให้มากข้ึน เน่อื งจากหลักสูตรจะตอ้ งมีการเปลยี่ นแปลงอยู่เสมอ เพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความกา้ วหนา้ ทางด้านเทคโนโลยีเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ และของโลก การพัฒนา หลกั สูตรตามหลักการ และวิธกี ารดังกลา่ วต้องอาศยั แนวคิดและวธิ ีการใหม่ๆ ทเ่ี ปน็ นวัตกรรมการศึกษาเข้ามา ช่วยเหลือจัดการให้เป็นไปในทิศทางที่ต้องการ นวัตกรรมทางด้านหลักสูตรในประเทศไทย ได้แก่ การพัฒนา หลักสูตรดงั ต่อไปน้ี หลักสูตรบูรณาการ เป็นการบูรณาการส่วนประกอบของหลักสูตรเขา้ ด้วยกันทางด้านวทิ ยาการในสาขาต่าง ๆ การศึกษาทางด้านจริยธรรมและสังคม โดยมุ่งให้ผู้เรียนเป็นคนดีสามารถใช้ประโยชน์จากองค์ความรู้ในสาขา ต่าง ๆ ให้สอดคลอ้ งกับสภาพสงั คมอยา่ งมีจริยธรรม หลกั สูตรรายบุคคล เปน็ แนวทางในการพฒั นาหลักสูตรเพ่ือการศกึ ษาตามอัตภาพ เพอื่ ตอบสนองแนวความคิด ในการจัดการศึกษารายบคุ คล ซึง่ จะต้องออกแบบระบบเพ่อื รองรบั ความก้าวหน้าของเทคโนโลยดี า้ นต่าง ๆ หลักสูตรกิจกรรมและประสบการณ์ เป็นหลักสูตรท่ีมุ่งเน้น กระบวนการในการจัดกิจกรรมและประสบการณ์ ให้กับผู้เรียนเพ่ือนาไปสู่ความสาเร็จ เช่น กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในบทเรยี น ประสบการณ์การ เรยี นร้จู ากการสบื ค้นด้วยตนเอง เปน็ ต้น หลักสูตรท้องถ่ิน เป็นการพัฒนาหลักสูตรที่ต้องการกระจายการบรหิ ารจัดการออกสู่ท้องถิ่น เพื่อให้สอดคล้อง กับศิลปวัฒนธรรมส่ิงแวดล้อมและความเป็นอยู่ของประชาชนที่มีอยู่ในแต่ละท้องถ่ิน แทนที่หลักสูตรใน แบบเดมิ ทใ่ี ชว้ ิธกี ารรวมศูนย์การพัฒนาอย่ใู นสว่ นกลาง นวตั กรรมการเรยี นการสอน เป็นการใชว้ ิธีระบบในการปรบั ปรงุ และคิดค้นพฒั นาวธิ สี อนแบบใหม่ๆ ท่ีสามารถ ตอบสนองการเรียนรายบุคคล การสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การเรียนแบบมีส่วนร่วม การเรียนรู้แบบ แกป้ ญั หา การพัฒนาวิธสี อนจาเป็นต้องอาศยั วิธีการและเทคโนโลยีใหม่ๆ เขา้ มาจัดการและสนับสนุนการเรียน การสอน ตัวอย่างนวัตกรรมที่ใช้ในการเรียนการสอน ได้แก่ การสอนแบบศูนย์การเรียน การใช้กระบวนการ กลมุ่ สัมพันธ์ การสอนแบบเรยี นรู้ร่วมกนั และการเรียนผ่านเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต การวิจยั ใน ชนั้ เรยี น ฯลฯ นวัตกรรมสื่อการสอน เนื่องจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครือข่ายและ เทคโนโลยี โทรคมนาคม ทาให้การผลิตส่ือการเรียนการสอนใหมๆ่ มีจานวนมากมายเพม่ิ มากข้ึน ทั้งการเรยี น

ปีที่ 6 ฉบบั ที่ 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 60 ด้วยตนเองการเรียนเป็นกลุ่ม และการเรียนแบบมวลชน ตลอดจนสื่อที่ใช้เพื่อสนับสนุนการฝึกอบรม ผ่าน เครือขา่ ยคอมพิวเตอรต์ ัวอยา่ ง นวัตกรรมสอ่ื การสอน ได้แก่ คอมพิวเตอรช์ ่วยสอน (CAI) มัลตมิ ีเดยี (Multimedia) การประชุมทางไกล (Teleconference) ชดุ การสอน (Instructional Module) วดี ีทศั น์แบบมปี ฏิสมั พันธ์ (Interactive Video) นวัตกรรมทางด้านการประเมินผล เป็นนวัตกรรมท่ีใช้เป็นเครื่องมือเพื่อการวัดผลและประเมินผลได้อย่างมี ประสิทธิภาพและทาได้อย่างรวดเร็ว รวมไปถึงการวิจัยทางการศึกษา การวิจัยสถาบัน ด้วยการประยุกต์ใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์มาสนับสนุนการวัดผล ประเมินผลของสถานศึกษา ครู อาจารย์ ตัวอย่าง นวัตกรรม ทางด้านการประเมินผล ได้แก่ การพัฒนาคลงั ข้อสอบ การลงทะเบียนผ่านทางเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ และอินเตอรเ์ น็ต การใชบ้ ตั รสมารท์ การด์ เพ่ือการใชบ้ รกิ ารของสถาบันศกึ ษา การใชค้ อมพิวเตอร์ในการตดั เกรด นวตั กรรมการบรหิ ารจัดการ เป็นการใช้นวตั กรรมที่เกีย่ วขอ้ งกับการใช้สารสนเทศมาชว่ ยในการบริหารจัดการ เพ่ือการ ตัดสินใจของผู้บริหารการศึกษาให้มีความรวดเร็วทันเหตุการณ์ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก นวัตกรรมการศึกษาที่นามาใช้ทางด้านการบริหารจะเกี่ยวข้องกับระบบการจัดการฐานข้อมูลในหน่วยงาน สถานศึกษา เช่น ฐานข้อมูล นักเรียน นักศึกษา ฐานข้อมูล คณะอาจารย์และบุคลากร ในสถานศึกษา ด้าน การเงิน บญั ชี พัสดุ และครุภัณฑ์ ฐานข้อมูลเหล่านตี้ ้องการออกระบบทส่ี มบรู ณม์ ีความปลอดภยั ของขอ้ มูลสงู นอกจากนี้ยงั มีความเก่ยี วข้องกบั สารสนเทศภายนอกหนว่ ยงาน เชน่ ระเบียบปฏิบัติ กฎหมาย พระราชบญั ญัติ ที่เก่ียวกับการจัดการศึกษา ซึ่งจะต้องมีการอบรม เก็บรักษาและออกแบบระบบการสืบค้นท่ีดีพอซ่ึงผู้บริหาร สามารถสืบคน้ ข้อมลู มาใชง้ านไดท้ นั ทีตลอดเวลาการใชน้ วัตกรรมแต่ละดา้ นอาจมีการผสมผสานทซ่ี อ้ นทบั กันใน บางเรือ่ ง ซง่ึ จาเปน็ ต้องมีการพัฒนาร่วมกันไปพร้อม ๆ กันหลายดา้ น การพัฒนาฐานขอ้ มลู อาจต้องทาเป็นกลุ่ม เพื่อให้สามารถนามาใช้ร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพนวัตกรรมทางการศึกษาต่าง ๆ ท่ีกล่าวถึงกันมากใน ปัจจบุ นั สรปุ เทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมทางการศึกษาจาเป็นอย่างมากในการนามาปรับใช้กับการเรียนการสอน เพื่อทาให้การเรียนการสอนนั้นมีคุณภาพ และประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน โดยครูผู้สอน และสถานศึกษาควร เตรียมพร้อมในการนาเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมทางการศึกษามาปรับใช้ในสถานศึกษา เพราะ เทคโนโลยีสารสนเทศมีแนวโน้มท่ีจะพัฒนามากข้ึนท้ังในด้านบวก และด้านลบโดยตัวอย่างของเทคโนโลยีที่

ปีที่ 6 ฉบบั ที่ 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 61 สาคัญทจ่ี ะเกิดข้ึนในอนาคตเช่น การประชุมทางไกล เทคโนโลยมี ัลติมเิ ดยี เป็นต้น ซง่ึ สามารถท่ีจะนามาปรับใช้ กับการเรียนการสอนได้ไม่ว่าจะเป็นพัฒนาการของอีเลิร์นนิง : Learning Object รวมถึงนวัตกรรมทาง การศึกษาต่อไปน่าจะมแี นวโนม้ ในทางที่ดีขึน้ มากในอนาคต และจะสาคัญอย่างมากในการนามาปรับใช้ในการ เรียนการสอนเพราะปัจจุบันมีการปฏิรปู การศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ซ่ึงต้องมีการจัดการเรยี นการสอนที่ เน้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามสภาพจริง เรียนรู้จากประสบการณ์ผู้เรียนจึงจะทาให้เกิดการเรยี นรู้อยา่ งเต็ม ศกั ยภาพ ทาใหเ้ กดิ การเรียนรู้อย่างมีความหมายมีความสนใจกระตอื รือร้นและเกิดความอยากรอู้ ยากเห็น โดย ครูผู้สอนต้องมีความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยสี ารสนเทศ และนวัตกรรมทางการศึกษาที่มีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา และนามาปรับใช้กับการเรียนการสอนไม่ว่าจะเป็นนวัตกรรมทางด้านหลักสูตรโดยการพฒั นาหลักสูตรใหม่ ๆ ให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม นวัตกรรมการเรียนการสอนเป็นการใช้วิธีระบบในการปรับปรุงและคิดค้น พัฒนาวิธีสอนแบบใหม่ๆ นวัตกรรมส่ือการสอนเน่อื งจากมคี วามกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ครูผู้สอน ต้องสามารถจัดทาสอื่ นวัตกรรมออกมาใช้ในการเรยี นการสอนเชน่ คอมพิวเตอรช์ ่วยสอน (CAI) เป็นต้น ครผู สู้ อนจึงตอ้ งเตรียมพร้อมตามสงิ่ ทก่ี ล่าวมาข้างต้น เพ่ือใหผ้ ู้เรยี นสามารถพฒั นาตนเองไดต้ ามศกั ยภาพอย่าง เตม็ ท่ีและเต็มความสามารถโดยนอกจากการนามาใช้ในการเรียนการสอนแลว้ นน้ั นวัตกรรมการทางศึกษาท้ังที่ เกิดข้ึนในปัจจุบัน และท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคตยังมีส่วนช่วยในการการประเมินผลโดยการนานวัตกรรมทางด้าน การประเมนิ ผลโดยใชเ้ ป็นเครื่องมือเพ่อื การวัดผลและประเมินผลได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพและทาได้อยา่ งรวดเร็ว ด้วยการประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มาสนับสนุนการวัดผล ประเมินผลของสถานศึกษาเช่น การพัฒนา คลังข้อสอบ การใช้คอมพิวเตอร์ในการตัดเกรด นอกจากน้ียังจาเป็นแก่สถานศึกษา และผู้บริหารสถานศึกษา โดยการนานวัตกรรมการบรหิ ารจัดการมาใช้ในสถานศึกษาเพื่อการตัดสินใจของผู้บริหารการศึกษาให้มีความ รวดเร็วทันเหตุการณ์ ทันต่อการเปล่ียนแปลงของโลกนวัตกรรมการศึกษาท่ีนามาใช้ทางด้านการบริหารจะ เกยี่ วขอ้ งกับระบบการจัดการฐานขอ้ มลู ในหน่วยงานสถานศึกษา เช่น ฐานขอ้ มลู นักเรียน นักศกึ ษา ฐานขอ้ มูล ด้านการเงิน บญั ชี พสั ดุ และครุภัณฑ์ ฐานข้อมูลเหล่านี้ต้องการออกระบบทีส่ มบรู ณ์มคี วามปลอดภยั ของข้อมูล สูง ด้วยเหตุนี้ครูผู้สอน และผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องเตรียมความพร้อม และศึกษาแนวโน้มในอนาคตของ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และนวตั กรรมทางการศึกษาวา่ เปน็ อย่างไรเพอ่ื ทจ่ี ะได้นามาปรับใช้ในการเรียนการสอน ในสถานศึกษาเพื่อท่ีจะส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการนาเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมทาง การศกึ ษาไปพัฒนาการศึกษาให้มีความเจริญ ก้าวหนา้ ต่อไป เอกสารอา้ งอิง กิดานันท์ มลิทอง. (2548) เทคโนโลยีและการสื่อสารเพอ่ื การศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์อรณุ การพมิ พ์ มาลี สบื กระแส. (2554) 9E-Leader บทความนวัตกรรมเพ่ือบรหิ ารการศกึ ษา. http://gotoknow.org/file/maleessj/9e-leader.doc วรวฒุ ิ รามจนั ทร์. (2555) นวัตกรรมการศกึ ษาและการเรยี นรอู้ ย่างสร้างสรรค์ในสถาบันการศึกษายุคใหม่. มหาวิทยาลัยเกริก

ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 62 เศรษฐชยั ชัยสนิท. (2553). นวตั กรรมและเทคโนโลยี. เขา้ ถงึ ได้จาก http://it.east.spu.ac.th/informatics/ admin/knowledge/A307Innovation%/20and %20Te chnology.pdf. สมบัติ นามบรุ .ี (2562) นวตั กรรมและการบริหารจดั การ. มหาวิทยาลัยรตั นบัณฑิต : กรุงเทพมหานคร การส่งเสรมิ การใชส้ อ่ื อเิ ล็กทรอนิกส์เพ่ือยกระดับคณุ ภาพการศึกษา Promoting the use of Electronic Media to Enhance the Quality of Education นันทนา กัณหา บทคัดย่อ การส่งเสริมใหค้ รแู ละบุคลากรทางการศึกษามคี วามสามารถในการนาเทคโนโลยที ่ีเป็นสื่ออิเลก็ ทรอนกิ สไ์ ปใช้ใน การจัดการเรยี นรไู้ ด้อย่างมีประสิทธิภาพนน้ั อาจมอี ีกหลายแนวทาง แต่สิ่งที่สาคัญน่ันคือ ผู้บริหารสถานศึกษา จะตอ้ งศกึ ษาบรบิ ทสถานศึกษาของตนเองและศึกษาแนวทางในการส่งเสรมิ ครูผูส้ อนดว้ ยวธิ อี ืน่ ๆ อกี ท้ังต้องทา ความเข้าใจหลักการวตั ถุประสงค์ของแนวทางนน้ั ๆ นอกจากน้ีคุณลักษณะของผู้บรหิ ารก็มคี วามสาคัญเพราะ การบริหารเป็นท้ังศาสตร์และศิลป์ผู้บริหารพึงต้องเป็นผู้มีความสามารถในการครองตน ครองคน และครองงาน ให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาเกิดความเช่ือมั่นและศรัทธามีใจที่จะร่วมกันพัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้เกิด ปร ะ โยชน์แก่ผู้เรียนเพ่ือให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการ เรี ยนที่สูงขึ้นครูมีความพึงพอใจในการ ทา งานและ สถานศึกษามคี ณุ ภาพ

ปีท่ี 6 ฉบบั ที่ 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 63 คาสาคญั การยกระดับคณุ ภาพการศึกษา, การสง่ เสริมการใช้สื่อ, ส่ืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ Abstract Encouraging teachers and education personnel to have the ability to effectively apply electronic technology in the management of learning could be several approaches. But the important thing is School administrators must study their own educational institutions' context and study ways to promote teachers in other ways. Must understand the principles, objectives of that approach. In addition, the characteristics of management are important because management is both a science and an art, the management must be capable of possessing people. To encourage teachers and education personnel to gain confidence and faith in joint development of learning management for the benefit of learners in order for learners to have higher academic achievement. Quality work and educational institutions. บทนา เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นปัจจัยสาคัญในการสร้างความม่ันคงทางเศรษฐกิจและเพ่ิมความสามารถในการ แขง่ ขนั ในระดับนานาชาติทั้งยงั เป็นเครอ่ื งมือเพิ่มศักยภาพให้กับประเทศที่เป็นผนู้ าในด้านต่าง ๆ อีกท้ังบทบาท สาคัญของเทคโนโลยีสมัยใหม่เป็นปัจจัยหน่ึงในการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการศึกษาจึงมีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศดังที่พระราชบัญญัติ การศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่แี ก้ไขเพิม่ เตมิ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2553 ได้บญั ญตั หิ ลักใน การปฏิรูปการศึกษาของชาติในหลายด้านโดยเฉพาะด้านเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาที่ปรากฏอยู่ในหมวด 9 สอดคล้องกับกระทรวงศึกษาธิการได้จัดทาแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 กาหนดยุทธศาสตร์ท่ี เก่ียวข้องกบั การส่งเสรมิ การใช้สื่ออิเล็กทรอนกิ ส์คือยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 การสร้างโอกาสความเสมอภาคและความ เทา่ เทียมทางการศกึ ษา(สานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษากระทรวงศกึ ษาธกิ าร,2560,น.119-125) นอกจากนี้ กระทรวงศึกษาธิการยังได้จัดทาแผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) และได้กาหนดยุทธศาสตร์ที่เกย่ี วข้องกบั การส่งเสริมการใช้ส่ือและเทคโนโลยคี ือ ยุทธศาสตร์ท่ี 4 ขยายโอกาส การเขา้ ถึงบริการทางการศกึ ษาและการเรียนร้อู ย่างต่อเนอื่ งตลอดชีวิตโดยการ เรง่ พฒั นาแหลง่ เรยี นรู้ท่ีเอ้ือต่อ การศึกษาและการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิตอยา่ งมีคุณภาพมีความหลากหลายและ สามารถใหบ้ รกิ ารไดอ้ ยา่ งท่ัวถึงและ ยุทธศาสตร์ที่ 5 ส่งเสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาโดยการพัฒนาระบบเครือข่าย

ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 64 เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาและการบริหารจัดการที่ทันสมัยและไม่ซ้าซ้อนให้ผู้รับบริการสามารถเข้าถึงได้ อย่างทว่ั ถึงและมปี ระสิทธภิ าพการผลิตและพัฒนาโปรแกรมประยุกตห์ รือสอ่ื การเรยี นรู้อิเล็กทรอนิกสใ์ ห้ผู้เรียน สถานศึกษาและหน่วยงานทางการศึกษาทุกระดับประเภทการศึกษานามาใช้เพิ่มคุณภาพการเรียนรู้อย่างเป็น ระบบและการจัดหาอุปกรณ์ทรัพยากรพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้กับผู้เรยี นอย่างเพยี งพอทั่วถึงและ เหมาะสมกับการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเน่ือง(สา นักงาปลัดกระทรวงศึกษาธิก าร กระทรวงศึกษาธิการ 2559, น. 50-56) โดยมุ่งหวังว่าเทคโนโลยีสารสนเทศจะเป็นส่วนหน่ึงท่ีสาคัญในการ พัฒนาผู้เรียนอันจักเป็นกาลังสาคัญของชาติและยกระดับคุณภาพการศึกษาของประเทศไทยให้ทัดเทียมกับ นานาประเทศการจัดการศึกษาของประเทศไทยที่ผ่านมาได้มีการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชา ติ(PISA) แนวโน้มจากการประเมิน PISA 2000 จนถึง PISA 2015 พบว่าผลการประเมินทั้งด้านวิทยาศาสตร์ด้าน คณติ ศาสตรแ์ ละดา้ นการอา่ นมีแนวโนม้ ลดลงท้งั สามดา้ นโดยการอ่านเป็นดา้ นทีม่ ีคะแนนลดลงมากทสี่ ดุ จากผลการประเมินพบวา่ นักเรียนไทยยังขาดสมรรถนะการอา่ นดิจิทัลแมก้ ระท่ังทักษะระดับต่าง เช่น การค้น คืนขอ้ มูล(Retrieving information)นกั เรียนไม่อาจชีว้ ่าตรงไหนของถอ้ ยความทีบ่ อกสาระหลักอีกท้งั การแปล ความตีความก็ทาได้ต่าง แต่ในการตอบคาถามนักเรียนมักใช้การคัดลอกข้อความและนามาวางเป็นคาตอบ (copy-paste)เป็นหลักท้ังนี้สะท้อนถึงการเรียนการสอนที่ใช้ส่ือดิจิทัลในโรงเรียนท่ีนักเรียนมักใช้วิธีน้ีในการ ทางานส่งครูและมักไดร้ ับการประเมินสงู จากครูผลการประเมินของนกั เรียนไทยจึงต่างมากซึ่งปกติการอ่านต่าง อยู่แล้วยิ่งต่างลงไปอีกสาหรบั การอ่านดิจิทัลรองลงมาคือวิทยาศาสตร์ท่ีมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 421คะแนน อยู่ ในชว่ งลาดบั ท่ี 51 - 57 ซ่งึ ต่างกวา่ คา่ เฉล่ีย OECD มากกวา่ หน่ึงระดับและคณิตศาสตร์ท่ีมีคะแนนเฉล่ียเท่ากับ 415 คะแนน อยูใ่ นช่วงลาดบั ท่ี 49 - 55 ซึง่ ต่างกวา่ คา่ เฉล่ีย OECD มากกว่าหน่ึงระดบั (สถาบัน ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2559, น. 1-18) จากที่กล่าวมาแสดงให้เห็นว่าการพัฒนาทาง การศึกษาของนักเรียนไทยยังมีผลการประเมินในระดับท่ีไม่น่าพึงพอใจและบ่งช้ีว่าคุณภาพการศึกษาไทยยัง ห่างไกลจากความเปน็ เลิศเมื่อเทียบกบั ประเทศเอเชียตะวันออกนอกจากนี้ในการจดั การศกึ ษาทผ่ี ่านมายังพบว่า การพัฒนาผู้เรียนยังไม่สอดคล้องกับจุดมงุ่ หมายของหลักสูตรโดยเฉพาะการใหผ้ ู้เรยี นไดเ้ รียนรอู้ ย่างหลากหลาย ทั้งในมิติของวิธีการจัดการเรียนรู้ส่ือการสอนและแหล่งเรียนรู้ซึ่งควรให้ผู้เรียนได้มีโอกาสพัฒนาตนเองสู่ มาตรฐานการเรียนรูแ้ ละมีความเหมาะสมกบั ศักยภาพท่ีแท้จริงของตน (สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้น พ้นื ฐาน, 2553) อันจะส่งผลให้ผเู้ รียนมรี ะดับคุณภาพทางการศกึ ษาตา่ งทงั้ ในระดับประเทศและระดับนานาชาติ ช้ีให้เห็นว่าการเรียนการสอนของไทยไม่บรรลุเป้าหมายทั้งน้ีอาจเกิดจากหลายปัจจัยอาทิครูส่ือการสอน กระบวนการเรียนการสอนและการเน้นให้ผ้เู รยี นไดล้ งมอื ปฏบิ ัตจิ ริง(พรพรรณ ไวทยางกูร, 2559,น. ก) จากปัญหาทกี่ ล่าวมาข้างต้นพบว่าปัจจัยประการหนงึ่ ทส่ี ง่ ผลตอ่ คุณภาพการศกึ ษาที่แตกต่างคือส่อื การสอนท่ีใช้ ประกอบในการจดั การเรยี นรู้กระทรวงศกึ ษาธกิ ารตระหนักถงึ ความสาคัญของการใชส้ อื่ และ เทคโนโลยีสารเทศ ในการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรยี นจึงได้จัดทาแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ และการศึกษาเพอ่ื การศึกษาโดยมีสาระสาคัญคือการสร้างกาลังคนให้มีศักยภาพในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสาร อย่างสร้างสรรค์มีธรรมาภิบาลคุณธรรมเน้นการพัฒนาผู้สอนและบุคลากรทางการศึกษาให้มี ความรู้ ความสามารถด้านการพัฒนาและการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ(กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2553, น. 8-9)

ปที ี่ 6 ฉบบั ที่ 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 65 และต้องอาศัยความรู้และประสบการณ์ที่มีในระดับต่าง ๆ โดยนาความรู้นวัตกรรมการเปลี่ยนแปลงทาง เทคโนโลยเี พอ่ื การดาเนนิ งานของประเทศและสามารถแข่งขนั กับผู้อนื่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพมีความก้าวหน้าสู่ สังคมแหง่ ภูมปิ ัญญาแหง่ การเรียนรนู้ ั้นตลอดจนสามารถกา้ วสู่สังคมแหง่ ภมู ิปญั ญาและการเรียนรู้ได้อย่างมั่นคง ประกอบกับเทคโนโลยีคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยีการส่อื สารหรอื ไอซที ี (Information and Communication Technology : ICT ) มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาจึงส่งผลให้เกิด ความพยายามนาเอา เทคโนโลยีเหล่านี้มาประยุกต์ใช้ในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาการศึกษาให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพมาก ย่ิงข้นึ (สานกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา, 2554, หน้า 2) รปู แบบการสง่ เสริมการใช้สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ สานักเทคโนโลยีเพ่ือการเรียนการสอนสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการมี อานาจหน้าท่ีในการส่งเสริมการนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไปใช้ในการ เรียนการสอนการศึกษา ข้ันพื้นฐานให้ทั่วถึงและเสมอภาควิจัยและพัฒนาต้นแบบการใช้ส่ือด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือการ เพ่ือการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับสภาพการพัฒนาของเทคโนโลยีและความ พร้อมของบุคลากรได้ ดาเนินการวิจัยและพัฒนาส่ือการเรียนรู้สาหรับการจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาคุณภาพ การศึกษาผ่านระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศและสนับสนุนสื่อดังกล่าวโดยทางสานกั ฯได้ผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อการจัดการเรยี นรู้ ประกอบดว้ ย (1) สอ่ื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ประเภทสอื่ มลั ติมีเดียปฏิสมั พันธ์ (Interactive Multimedia Application) (2) สอื่ อิเล็กทรอนกิ สป์ ระเภทเกมการศกึ ษาสามมิติ (Edutainment MultiPlayer Games 3D) และ (3) สอ่ื อิเล็กทรอนิกส์ประเภทหนงั สอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ (Multimedia e-Publishing Application) โดยได้ทาการวิจัยและพัฒนาจนเป็นส่ือการจัดการเรียนรู้ท่ีมีประสิทธิภาพเพ่ือให้โรงเรียนมีสื่อและเทคโนโลยี สารสนเทศที่ทันสมัยเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษาแต่อย่างไรก็ตามจากการสา รวจยังพบว่าครูผู้สอนยังขาด ความพร้อมในการจัดการเรียนการรู้โดยใช้เทคโนโลยียังไม่เห็นความสา คัญของนวัตกรรมและเทคโนโ ลยี สารสนเทศขาดความรปู้ ระสบการณ์และความชานาญในการใชส้ อ่ื (จนั ทวรรณ ปิยะวฒั น์, 2555, น. 3)

ปที ี่ 6 ฉบับท่ี 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 66 ดงั นั้นผบู้ ริหารสถานศึกษาจึงควรมีแนวทางทจ่ี ะให้ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษามีความสามารถท่นี าเทคโนโลยี ท่ีเป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยการนา เอารูปแบบการ ส่งเสริมการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาในโรงเรี ยนประชารัฐสังกัดสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน(สมเกียรติ สรรคพงษ์, 2562, น. 119) มาประยุกต์ใช้กับโรงเรียนปกติได้ เป็นอย่างดีซึง่ รปู แบบการส่งเสริมการใช้ส่อื อิเลก็ ทรอนกิ สเ์ พือ่ ยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาดงั กลา่ วมีรายละเอียด ดังนี้ แผนภาพ รูปแบบการส่งเสรมิ การใช้ส่อื อิเล็กทรอนกิ ส์เพอ่ื ยกระดับคุณภาพการศกึ ษาในโรงเรียนประชารฐั สังกดั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ท่มี า : สมเกยี รติ สรรคพงษ์ (2562, น. 119) จากภาพรปู แบบการส่งเสริมการใช้สื่ออิเล็กทรอนกิ ส์เพื่อยกระดบั คุณภาพการศึกษาในโรงเรียน ประชารฐั สังกัด สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน สรุปผลไดอ้ งค์ประกอบของรูปแบบ 6องคป์ ระกอบมีรายละเอียด ดังนี้ องคป์ ระกอบท่ี 1 หลักการของรูปแบบ กระบวนการหรอื กิจกรรมท่สี ่งเสริมการใช้สื่ออิเลก็ ทรอนกิ สข์ องครใู นโรงเรยี นเพื่อยกระดบั คณุ ภาพการศึกษา

ปีท่ี 6 ฉบับที่ 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 67 องคป์ ระกอบที่ 2 วัตถปุ ระสงค์ของรูปแบบ 1) เพ่ือยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของผ้เู รียน 2) เพือ่ ให้ครูสามารถนาสื่ออเิ ล็กทรอนิกส์ไปใช้ในการจดั การเรียนร้ไู ด้อยา่ งมปี ระสทิ ธิผล 3) เพ่ือให้มกี ระบวนการบรหิ ารจัดการทส่ี ง่ ผลต่อคุณภาพโดยรวมของสถานศกึ ษา องคป์ ระกอบที่ 3 กระบวนการและกิจกรรมของรปู แบบ กระบวนการและกจิ กรรมของรูปแบบการส่งเสรมิ การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยมี 5 ข้ันตอนตามกระบวนการส่งเสริมการใช้ส่ืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา เรียกย่อว่า “KIETS Process” ดงั น้ี ขัน้ ท่ี 1 การสรา้ งความตระหนักและความเข้าใจของครูตอ่ รูปแบบ (K: Knowledge Awareness) ประกอบดว้ ย (1) การจัดประชมุ ครเู พื่อช้ีแจงเก่ียวกบั หลักการ วตั ถุประสงค์ กระบวนการ และการวดั และการประเมินผล ของรูปแบบการส่งเสริมการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา ในโรงเรียนประชารัฐสังกัด สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน และ (2) การจัดชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ ทางวิชาชีพ (PLC) ขนั้ ท่ี 2 การสง่ เสริมด้านปัจจยั นาเขา้ (I : Input Supports) ประกอบด้วย (1) สือ่ อเิ ล็กทรอนกิ สป์ ระเภทส่อื มลั ตมิ ีเดียปฏสิ มั พนั ธ์ ( Interactive Multimedia Application) (2) สอ่ื อเิ ล็กทรอนกิ สป์ ระเภทเกมการศึกษาสามมิติ (Edutainment MultiPlayer Games 3D) (3) สอ่ื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ประเภทหนังสืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ (Multimedia e-Publishing Application) ซึ่งส่ือ ดังกล่าวเป็นสื่อทพี่ ฒั นาโดยสานักเทคโนโลยเี พอื่ การเรียนการสอนสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐานกระทรวงศึกษาธกิ าร ขั้นที่ 3 การส่งเสริมด้านสภาพแวดลอ้ ม (E : Environment Supports) ประกอบดว้ ย (1) การจัดระบบไฟฟ้าให้มีความพร้อมรองรบั การใชส้ อ่ื อิเลก็ ทรอนกิ สใ์ นการจดั การเรยี นรู้ (2) การจัดระบบอินเตอร์เน็ตใหม้ ีความพร้อมรองรบั การใชส้ ือ่ อิเล็กทรอนิกสใ์ นการจัดการเรยี นรู้ (3) การจัดสรรอุปกรณ์ส่งเสริมการจัดเรียนรู้ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้มีความพร้อม รองรับการใช้ ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ในการจัดการเรียนรู้ได้แก่ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ โทรทัศน์ และอุปกรณ์ สนับสนุนการจดั การเรยี นรูโ้ ดยใชส้ ่ืออิเลก็ ทรอนกิ สอ์ น่ื ๆ (4) การจัดบรรยากาศในหอ้ งเรยี นให้มคี วามพร้อมรองรับการใช้สอื่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ในการจัดการ เรียนรู้ ขัน้ ที่ 4 การส่งเสรมิ ด้านการพัฒนาครแู ละบุคลากร (T : Teacher Improvement Supports) ประกอบด้วย (1) การฝกึ อบรม (2) การศกึ ษาตอ่ (3) การประชุมสมั มนา

ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 68 (4) การศกึ ษาดงู าน (5) การจดั ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (PLC) ขั้นที่ 5 การสง่ เสรมิ ด้านการจัดกระบวนการนิเทศการศกึ ษา (S : Supervise Supports) ประกอบด้วย (1) การวางแผนการจดั กระบวนการนเิ ทศการศกึ ษา (2) การให้ความรู้ความ เข้าใจเกี่ยวกับหลักการ จุดประสงคแ์ ละแนวทางในการนเิ ทศการศึกษา (3) การลงมือปฏบิ ัติการนิเทศ การศึกษาตามแผนการนเิ ทศการศึกษา (4) การเสรมิ กาลงั ใจแก่ครูท่รี ับการนเิ ทศการศกึ ษา เพือ่ สรา้ งขวญั กาลงั ใจและสรา้ งแรงบันดาลใจ ในการใชส้ ือ่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ในการจัดการเรยี นรู้เพ่ือยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษา (5) การประเมนิ การนเิ ทศการศกึ ษา องคป์ ระกอบที่ 4 การวดั และการประเมินผลของรปู แบบ การวัดและการประเมินผลของรูปแบบการส่งเสริมการใช้ส่ืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อยกระดับการศึกษาสังกดั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐานพจิ ารณาจากประสิทธิผลของรูปแบบใน 3 ด้าน ไดแ้ ก่ (1) ดา้ นผ้เู รียนใช้ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนของผูเ้ รียน (Achievement) ใช้ผลสมั ฤทธท์ิ างการ ทดสอบ ระดับชาติขัน้ พนื้ ฐานของนักเรียน (2) ด้านความพงึ พอใจในการทางานของครู (Job Satisfaction) และ (3) ด้านคุณภาพโดยรวมของสถานศกึ ษา (Overall Quality) ใชก้ ารรับรปู้ ระสิทธิผลของโรงเรยี น โดยรวมของ ผ้บู ริหารสถานศึกษามาใชว้ ัดคุณภาพการจดั การศกึ ษา องคป์ ระกอบท่ี 5 การสะทอ้ นผลการพัฒนารูปแบบ การสะท้อนผลการวัดและการประเมินผลของรูปแบบการส่งเสริมการใช้ส่ืออิเล็กทรอนิกส์เพ่ือยกระดับ คุณภาพการศึกษาในโรงเรียนประชารัฐ สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการพัฒนา อย่างต่อเนื่องทั้งองค์ประกอบด้านวัตถุประสงค์ของรูปแบบและกระบวนการและกิจก รรมของรูปแบบ องค์ประกอบท่ี 6 เงื่อนไขความสาเรจ็ ประกอบด้วย (1) สถานศกึ ษาต้องจัดสภาพแวดลอ้ มใหม้ ีความพร้อมรองรับการใช้ สอ่ื อเิ ล็กทรอนกิ สใ์ นการจดั การ เรยี นรู้ (2) ผูบ้ ริหารสถานศึกษาและครูตอ้ งตระหนักถงึ ความสาคญั ของการใช้สอื่ อเิ ลก็ ทรอนิกสใ์ นการ จัดการเรียนรู้เพื่อยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษา (3) ผู้มีส่วนเก่ียวข้องต้องเข้าใจรูปแบบการส่งเสริมการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อยกระดับคุณภาพ การศึกษาหากสถานศึกษาอ่ืน ๆ มีความประสงค์ที่จะนารูปแบบการส่งเสริมการใช้ส่ืออิเล็กทรอนิกส์เพ่ือ ยกระดับคุณภาพการศึกษาในข้ันต้นไปใช้ผู้บริหารสถานศึกษาต้องตระหนักและให้ความสา คัญกับเง่ือนไข ความสาเร็จซ่ึงสถามศึกษาควรจัดสภาพแวดล้อมให้พร้อมท่ีจะรองรับการใช้ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ในการจัดการ เรียนรู้อีกทั้งควรให้ความสาคัญกับรายละเอียดของแต่ละองค์ประกอบโดยเฉพาะอย่างยิ่งกระบวนการและ กิจกรรมของรูปแบบการวัดและการประเมินผลของรูปแบบและการสะท้อนผลเพื่อพัฒนารูปแบบซ่ึงผู้บริหาร สถานศึกษาสามารถปรับกระบวนการและกิจกรรมตลอดจนการวัดและการประเมินผลของรูปแบบได้ตาม

ปที ่ี 6 ฉบับที่ 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 69 บริบทของสถานศึกษาท้ังด้านวัฒนธรรมการทางานของครูวัฒนธรรมองค์กรรวมถึงเง่ือนไขความสาเร็จต่าง ๆ ไดต้ ามความเหมาะสมและทา้ ยท่ีสุดน้ีผู้บริหารต้องกระต้นุ ให้ครูเกิดความตระหนกั ถึงความสาคัญของการใช้ส่ือ อิเล็กทรอนกิ ส์ในการจัดการเรยี นรแู้ กผ่ ู้เรยี น สรุป การสง่ เสริมให้ครูและบุคลากรทางการศึกษามคี วามสามารถในการนาเทคโนโลยที ี่เป็นสือ่ อิเล็กทรอนกิ สไ์ ปใช้ใน การจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพน้ันอาจมีอีกหลายแนวทางแต่ส่ิงที่สาคัญน่นั คือ ผู้บริหารสถานศึกษา จะตอ้ งศึกษาบริบทสถานศกึ ษาของตนเองและศึกษาแนวทางในการส่งเสรมิ ครูผู้สอนด้วยวิธีอ่ืน ๆ อกี ทง้ั ต้องทา ความเข้าใจหลักกาวัตถุประสงค์ของแนวทางน้ัน ๆ นอกจากนี้คุณลักษณะของผู้บริหารก็มีความสาคัญเพราะ การบริหารเปน็ ทง้ั ศาสตรแ์ ละศิลป์ผู้บริหารพงึ ตอ้ งเปน็ ผู้มีความสามารถในการครองตน ครองคน และครองงาน ให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาเกิดความเชื่อมั่นและศรัทธามีใจที่จะร่วมกันพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ให้เกิด ประโยชน์แก่ผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ีสูงข้ึนครูมีความพึงพอใจในการทา งานและ สถานศกึ ษามีคณุ ภาพอย่างทไ่ี ดต้ ้งั ไว้ เอกสารอา้ งองิ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2553). แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเพอ่ื การศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2554-2556. กรุงเทพฯ : สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ. จนั ทวรรณ ปิยะวฒั น์. (2555). โครงการกระตุน้ การมีส่วนรว่ มของประชาชนผา่ นสอื่ อิเล็กทรอนิกสส์ าหรบั สานักงานรฐั บาลอเิ ล็กทรอนิกส์ (องค์กรการมหาชน) ประเด็นที่ 5 ปญั หา เทคโนโลยีการศึกษา. สืบคน้ เมือ่ 1 มิถุนายน 2563. จาก https://cdn.gotoknow.org/assets/media/files/000/853/839/original_Edu_it_proble ms.pdf?1354259689 พรพรรณ ไวทยางกูร. (2559). บทบาทของผนู้ าในการผลักดนั และขับเคล่ือนวิทยาศาสตรศ์ กึ ษาของไทย. กรุงเทพมหานคร. สสวท. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2559). สรุปผลการวจิ ยั PISA 2015. สืบคน้ เม่ือ วันที่ 3 มถิ ุนายน 2563 จาก htps://drive.google.com/file/d/0BwqFSkq5b7zScUJOOV9ldUNfTlk/view สมเกียรติ สรรคพงษ.์ (2562). รปู แบบการสง่ เสริมการใชส้ ื่ออเิ ล็กทรอนกิ สเ์ พอ่ื ยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาใน โรงเรยี นประชารฐั สงั กัดสานักงานคณะกรรมการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน. สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขนั้ พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2553). คมู่ อื การประเมนิ สมรรถนะครู (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2553). สืบคน้ เม่อื 4 มิถุนายน 2563. จาก http://gpa.tmk.ac.th/teacher/capasity.pdf สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ ารกระทรวงศึกษาธิการ. (2559). แผนพฒั นาการศึกษาของ

ปีท่ี 6 ฉบบั ที่ 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 70 กระทรวงศกึ ษาธิการ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ.2560-2564). กรงุ เทพฯ : สานกั นโยบายและยุทธศาสตร.์ สานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2560). แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2560-2579. กรุงเทพฯ : พรกิ หวานกราฟฟคิ . สานกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา. (2554). ข้อเสนอการปฏริ ปู การศึกษาใน ทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552- 2561). กรุงเทพฯ : พรกิ หวานกราฟฟคิ . เทคโนโลยีกับการเรียนภาษาจีนในศตวรรษท่ี 21 Technologies for Teaching Chinese Language in 21st Century สนุ สิ า สงิ ห์ลอ โรงเรียนมนี ประสาทวทิ ยา กรุงเทพมหานคร สานกั งานบริหารคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน บทคัดยอ่

ปีที่ 6 ฉบับท่ี 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 71 ในยุคปัจจุบันส่ือเทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทในการจัดการเรียนการสอนมากขึ้น โดยเฉพาะการ จัดการเรียนการสอนภาษาจีน โดยได้ถูกนามาใช้เป็นเครื่องมือเพ่ืออานวยความสะดวกในการเรียน ช่วยให้ ผู้เรียนไดป้ รับปรงุ และทักษะการเรียนร้ใู ห้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อฝึกทักษะทางด้านการ ใช้ภาษาในการส่อื สาร การปรบั ใช้เทคโนโลยีในการเรียนของนักเรียนในศตวรรษที่ 21 จากการเปลี่ยนแปลงสู่ ยุค 4.0 นั้น จะเห็นได้ว่ามีการเน้นการพัฒนาบุคคลด้านวิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ เทคโนโลยี เป็นต้น ดังน้ัน ความสามารถในการใช้สอื่ เทคโนโลยีจงึ เป็นปัจจัยสาคญั ตอ่ การจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 เปน็ อยา่ งย่ิง การ ใชเ้ ทคโนโลยีการศกึ ษาที่ทนั สมัยและปรับปรงุ ระดบั การสอนภาษาจนี ซึ่งเปน็ ภาษาต่างประเทศท่ีสาคญั มากอีก ภาษาหนึ่งในศตวรรษท่ี 21 เพ่ือปรับเปล่ียนวิธีการสอนแบบเดิม ๆ และกระตุ้นความสนใจของผู้เรียนให้ สอดคล้องกับความสามารถของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 บทความน้ีจะเสนอความสาคัญของภาษาจีน วิวัฒนาการตัวอักษรจีน สัทอักษรจีน และแอพพลิเคช่ันทางการศึกษาสาหรับผู้สอนภาษาจีนเป็นแนวทาง สาหรับการเรียนการสอนตอ่ ไป คาสาคญั : แอพพลิเคชนั่ สทั อักษรจนี ศตวรรษที่ 21 Abstract Nowaday the technology Media is more important role in the classroom management. Especailly in teaching Chinese language. Technology Media is used for the facility in the classroom. It can help the learner to improve effectively learning skill. For the object in communication skill.The technology application for the students’ learning in the 21st Century. From the transformation to the 4. 0 Era,showed the emphasis of personal development in Science , English , technology ete. Therefore the ability of using technology media is the important factor in the education management in 21st century. The using of technology in the modern educational and improving the level of Chinese language teaching which is the one of the important foreign language in the 21st century for modification of the traditional teaching method and stimulate the learners’ attention for the coherence of the learners’ ability in the 21st century บทนา ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 (21st Century Skills) วิจารณ์ พานิช (2555:16-21) ได้กล่าวถึงทักษะเพ่ือ การดารงชวี ติ ในศตวรรษท่ี 21 ซึ่งในแตล่ ะสาระวชิ ากม็ ีความสาคัญ แต่ไมเ่ พยี งพอสาหรับการเรียนรู้เพ่อื ชีวิตใน ยุคศตวรรษท่ี 21 ปัจจุบันการเรียนรู้สาระวิชา ควรเป็นการเรียนจากการค้นคล้าเองของผู้เรียน โดยครูเป็น เพียงผู้ที่คอยช่วยแนะนา และออกแบบกิจกรรมท่ีช่วยให้นักเรียนแต่ละคนสามารถประเมนิ ความก้าวหน้าของ การเรียนของตนเองได้

ปีที่ 6 ฉบบั ท่ี 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 72 ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 หมายถึง กลุ่มความรู้ ทักษะ และนิสัยการทางาน ที่เชื่อว่ามีความสาคัญยิ่ง ต่อความสาเร็จในการเรียนรู้ตลอดชีวิต ทักษะดังกล่าวน้ีเป็นผลจากการพัฒนากรอบความคิดการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 (21 st Century Learning Framework) โดยภาคีเพื่อทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 เบอรน์ ที รลิ และ ชาลส์แฟเดล (Bernie Trilling & Charles Fadel) ได้เสนอในหนังสือ 21st Century Skills : Learning for Life in Our Times (2009) เปน็ สมการดังน้ี 3Rs x 7Cs = ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 โดย 3Rs ประกอบด้วย ทักษะการรหู้ นงั สือ ไดแ้ ก่ Reading (ทักษะการอ่าน) ทักษะการเขียน ทกั ษะเลขคณติ ส่วน 7Cs ประกอบดว้ ย ทักษะ 7 ด้าน คอื (1) ดา้ นการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณและการแกป้ ญั หา (critical thinking and problem solving) (2) ด้านการสอ่ื สารสารสนเทศและการร้เู ทา่ ทนั ส่ือ (communications, information, media literacy) (3) ดา้ นความร่วมมือ การทางานเป็นทมี และภาวะผนู้ า (collaboration, teamwork and leadership) (4) ด้านการสร้างสรรค์และนวตั กรรม (creativity and innovation) (5) ดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร (computing and ICT literacy (6) ด้านการทางาน การเรยี นรู้ และการพึ่งตนเอง (career and learning self–reliance) (7) ด้านความเขา้ ใจต่างวฒั นธรรม ตา่ งกระบวนทศั น์ (cross–cultural understanding) ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เป็นเปา้ ประสงค์พลเมืองโลกของการจัดการศึกษาและการเรียนร้ทู ี่ชว่ ยช้ีนา วธิ กี าร สร้างกระบวนการเรียนรู้ที่พัฒนาชวี ิตของผู้เรยี นให้มีคุณภาพและประสบความสาเร็จเพ่ือการดารงชีวิต ในศตวรรษท่ี 21 วิสัยทัศน์การปฏิรูปการศึกษาไทยในทศวรรษท่ีสองกาหนดให้“คนไทยได้เรียนรู้ ตลอดชีวิต อย่างมคี ุณภาพ” โดยมีจุดเน้นการปฏิรูป 3 เรอ่ื ง ได้แก่ 1) พัฒนาคณุ ภาพการศึกษาและการเรยี นรู้ 2) โอกาสทางการศกึ ษา เปดิ โอกาสให้คนไทยเขา้ ถงึ การเรียนรู้อยา่ งมคี ุณภาพ 3) การมสี ว่ นร่วมจากทกุ ภาคสว่ นของสังคม คุณภาพของการศึกษาและการเรียนร้จู ะต้องบรรลุ 4 คุณภาพ คอื 1) คณุ ภาพคนไทยยคุ ใหม่ 2) คณุ ภาพครยู คุ ใหม่ 3) คณุ ภาพแหลง่ เรยี นร/ู้ สถานศึกษายุคใหม่ 4) คณุ ภาพการบรหิ ารจัดการใหม่ โดยกาหนด เป้าหมายยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ สองไว้ ดังน้ี 1) คนไทยและการศึกษาไทยมคี ณุ ภาพและมาตรฐานระดับสากล 2) คนไทยใฝ่รู้ : สามารถเรียนรู้ดว้ ยตนเอง รกั การอ่านและแสวงหาความรู้

ปีท่ี 6 ฉบบั ท่ี 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 73 3) คนไทยใฝ่ดี : มีคุณธรรมพ้ืนฐาน มีจิตส านึกและค่านิยมท่ีพึงประสงค์เห็นประโยชน์ส่วนรวมมีจิต สาธารณะ มีวฒั นธรรมประชาธปิ ไตย 4) คนไทยคดิ เป็น ทาเป็น แก้ปญั หาได้ มีทักษะในการคิดและปฏิบัติ มคี วามสามารถในการแก้ปัญหา มีความคิดรเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ มคี วามสามารถในการแข่งขนั นโยบายหลักเพอื่ ขบั เคล่อื นในประเดน็ หลักท่ี 1 กระบวนการเรียนรใู้ หม่ เชน่ นโยบายพฒั นาผู้เรยี น ให้ มีทกั ษะวิทยาศาสตรค์ ณิตศาสตร์เทคโนโลยี ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาตา่ งประเทศอ่นื และเทคโนโลยี สารสนเทศ นโยบายการปรบั หลกั สตู ร การเรยี นการสอนเนน้ กิจกรรมมากขนึ้ นโยบายส่งเสรมิ การ 3 สอนแบบ ใหม่โดยใช้วิจัย โครงการ และกิจกรรม อีกทั้งยังกาหนดประเด็นหลักที่ 2 การพัฒนาครูยุคใหม่ โดยพัฒนาครู ด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี ภาษาไทย อังกฤษ และภาษาต่างประเทศอ่ืน และ เทคโนโลยี สารสนเทศพัฒนาครูประจาการให้เปน็ ครยู ุคใหม่จะเห็นได้ว่าประเดน็ หลกั การพฒั นาครู จงึ เป็น ประเด็นหลักท่ี สาคัญในการขับเคลื่อนส่งผลให้การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ปัจจัย ความสาเร็จที่ เก่ยี วขอ้ งประกอบดว้ ยทักษะเพอื่ การดารงชวี ิตในศตวรรษที่ 21 สาหรับการศึกษาภาษาต่างประเทศปัจจุบันในประเทศไทยน้ัน เราจะเห็นได้ว่าภาษาจีนกลางได้รับความ นิยมเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่องในช่วงหลายปีท่ีผ่านมา อันเนื่องมาจากการท่ีภาษาจีนกลางได้เข้ามามีบทบาทต่อ ตลาดแรงงานของไทยในทุกระดับ ไม่ว่าจะเป็นในเร่ืองของธุรกิจอุตสาหกรรมการท่องเท่ียว การติดต่อทาธุรกิจ ค้าขาย หรือการร่วมทุนกับนักธุรกิจชาวจีนทั้งจากแผ่นดินใหญ่ ไต้หวัน ฮ่องกง หรือ สิงคโปร์ที่มีอัตราส่วนทางการ ทาธุรกจิ เพ่มิ มากขึ้นเรอื่ ย ๆ ทาใหม้ ีความต้องการบคุ ลากรท่ีมีความรใู้ นการใช้ภาษาจนี กลางเพิม่ มากขน้ึ อยา่ งไรกต็ ามเราจะเห็นได้วา่ สถานการณโ์ ดยรวมของการเรียนการสอนภาษาจนี กลางในประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ในระบบสถานศกึ ษาท้ังของรัฐและเอกชนนน้ั ยงั ไม่สามารถเรียกว่าประสบความสาเร็จเท่าใด นัก ทั้งน้ีเพราะเหตุปัจจัยท่ีเป็นอุปสรรคหลายประการ อันได้แก่ การขาดครูผู้สอนที่มีความรู้ความเช่ียวชาญ การขาดหลกั สตู รและนโยบายในการจัดการการเรียนการสอนภาษาจนี กลางที่ชัดเจนและดีเพียงพอ และปัจจัย ที่เกย่ี วกับความพรอ้ มของตวั ผู้เรยี นเอง ความสาคญั ของภาษาจีนในปจั จุบัน ถ้าหากมองถึงความสาคัญของภาษาจีนกลางแล้วนัน้ ภาษาจีนกลางเป็นภาษาที่สาคัญของทวปี เอเชยี มาชา้ นาน เน่ืองจากประเทศจนี เป็นแหล่งอารยธรรมทย่ี ง่ิ ใหญ่หนงึ่ ในสองของทวีป ดงั นน้ั การบันทกึ ความรู้และ วิทยาการต่าง ๆ จึงเป็นภาษาจีน ไม่ว่าจะเป็นความรู้ด้านปรัชญา ประวัติศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เป็นต้น ด้วย สภาพภูมิศาสตร์ต่าง ๆ ทั้งขนาดของประเทศ จานวนประชากร การเมือง การปกครอง และเศรษฐกิจที่มีการ เจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง ทาให้ภาษาจีนกลางเป็นภาษาหนึ่งของเอเชียท่ีใช้ในองค์การสหประชาชาติ ย่ิงเพิ่ม ความสาคัญให้กับภาษาจีนกลางเป็นอย่างมาก การที่คนต่างประเทศอย่างเช่นคนไทยมีโอกาสท่ีจะ เรียน ภาษาจนี กลางแล้วนน้ั ย่อมถือว่ามปี ระโยชนอ์ ย่างย่งิ ไมเ่ พียงแต่สามารถใช้ภาษาเพ่ือการส่อื สารท่ัวไปแล้ว เรา สามารถใช้ภาษาเพ่ือสร้างความเจริญก้าวหน้าในด้านต่าง ๆ ท้ังในระดับบุคคล และระดับประเทศ เช่น การศึกษาความรู้วิทยาการ การประกอบธุรกิจการลงทุน และการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศ แม้ว่าภาษาจีนจะมคี วามหลากหลายของสาเนียงซ่ึงแปรเปลี่ยนไปตามภูมภิ าคหรือแต่ละท้องถิ่น แต่

ปีท่ี 6 ฉบับที่ 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 74 ภาษาจีนกม็ คี วามเปน็ เอกภาพอย่ใู นตวั นน่ั คือตัวอักษรจีน ตัวอกั ษรจนี เป็นตัวอกั ษรทีม่ วี วิ ฒั นาการมาจากอักษร ภาพหรือถ้ามองอยา่ งนกั ศิลปะแล้วก็คือหน่ึงตัวอักษรก็คือหนึ่งภาพน่ันเอง เพ่ือความเป็นเอกภาพของประเทศ ทางรัฐบาลจีนจึงกาหนดให้ภาษาจีนกลางหรือที่ชาวต่างชาติเรียกว่าแมนดารินเป็นภาษากลาง ท่ีใช้ในการ ติดต่อสื่อสาร แม้ว่าในประเทศไทยจะมีชาวจีนอาศัยอยู่เป็นจานวนมากแต่ภาษาท่ีใช้กันอยู่โดยท่ัวไปนั้นเป็น ภาษาจนี แตจ้ ว๋ิ ภาษาจีนกวางตุ้ง ภาษาจนี ไหหลา ภาษาจนี ฮกเกยี้ น ภาษาจีนแคะ ซง่ึ ทง้ั หมดล้วนถอื เป็นภาษา ท้องถิ่นของชาวจีนในปัจจุบัน ดังน้ันชาวต่างชาติท่ีต้องการติดต่อสื่อสารกับชาวจีนในปัจจุบันหรือนักเรียนที่ ต้องการเดินทางไปเรียนต่อที่ประเทศจีน ทาการค้าธุรกิจกับคนจีน จึงควรเลือกเรียนภาษาจีนกลางเป็นหลัก มากกวา่ นอกจากนี้ ดว้ ยปัจจัยเร่ืองขนาดของประเทศและจานวนประชากร ทาให้ภาษาจีนเปน็ ภาษาท่มี ีคนใช้ มากท่ีสุดในโลก และถือเป็นหนึ่งในห้าภาษาหลักขององค์การสหประชาชาติ ประกอบกับนโยบายปฏิรูป เศรษฐกิจและเปิดประเทศในยุคผู้นาใหม่ เช่น การเข้าเป็นสมาชิกองค์การการค้าโลก (WTO) และการลงนาม จัดตั้งเขตการค้าเสรีกับไทย แสดงให้เห็นว่าจีนเป็นประเทศที่มีโอกาสทางธุรกิจสูง เป็นตลาดการค้าที่ใหญ่ อันดับต้นๆ และมีแนวโน้มการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างต่อเน่ือง เมื่อไม่นานมานี้ รัฐบาลไทยเองก็เพิ่ง กาหนดให้ภาษาจนี เปน็ ภาษาต่างประเทศภาษาที่สองสาหรบั คนไทย จงึ ปฏิเสธไมไ่ ด้วา่ การรภู้ าษาจีนย่อมมปี ระโยชน์อย่างย่งิ คนทส่ี ามารถใช้ภาษาจีนในการติดตอ่ สื่อสาร ได้คล่องแคล่ว ก็เท่ากับมีเครื่องมือชิ้นสาคัญที่จะนาไปสู่การสร้างความสัมพนั ธ์ การประกอบอาชีพ การขยาย โอกาสทางธรุ กจิ และการศกึ ษาหาความรู้ในวทิ ยาการแขนงต่าง ๆ ซ่ึงจนี เปรยี บเสมอื นคลงั ภมู ิปญั ญาตะวันออก ที่มคี ่ามหาศาล (สุภิญญา เรือนแกว้ ) ววิ ฒั นาการของอกั ษรจีน นับแต่โบราณกาลมา ผู้คนรู้จักใช้เส้นเชือก ภาพวาดและเครื่องหมายเพื่อใช้ในการจดบันทึกสิ่งต่าง ๆ เม่ือล่วงเวลานานเข้า จึงเกิดวิวัฒนาการกลายเป็นตัวอักษร สาหรับศิลปะในการเขียนตัวอักษรจีนน้ัน ได้ถือ กาเนิดข้ึนมาพรอ้ มๆกับตัวอักษรจีนเลยทีเดียว ดังนั้น การจะศึกษาถึงศิลปะในการเขียนตัวอกั ษรจีนจึงต้องทา ความเขา้ ใจถึงต้นกาเนิด ของตัวอกั ษรควบคูก่ นั ไป การปรากฏของอักษรจีนท่ีเก่าแก่ที่สุดมาจากแหล่งโบราณคดีปั้นปอจาก เมืองซีอันมณฑลส่านซีทาง ตะวนั ตกเฉียงเหนือของประเทศจีน สามารถนับย้อนหลังกลับไปได้กว่า 5,000 ปี โดยอยใู่ นรูปของอักษรภาพท่ีสลัก เป็นรปู วงกลม เสย้ี วพระจันทร์และภูเขาห้ายอดบนเครื่องป้นั ดนิ เผา จวบจนถึงเมื่อ 3,000 ปีกอ่ นจึงกา้ วเขา้ ส่รู ูปแบบ ของอักษรจารบนกระดูกสัตว์ ซ่งึ นบั เปน็ ยคุ ต้นของศิลปะการเขยี นอักษรจีน อกั ษรภาพทีเ่ กา่ แก่ทีส่ ุดในจนี เม่ือปี ค.ศ. 1899 ชาวบ้านจากหมู่บ้านเล็ก ๆแห่งหน่ึงทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของอาเภออันหยา งมณฑลเหอหนันประเทศจนี ได้ คน้ พบสิ่งทเ่ี รยี กกนั วา่ ‘กระดูกมงั กร’ จงึ นามาใชท้ าเป็นตวั ยารกั ษาโรค ตอ่ มา เนื่องจากพ่อค้าหวังอี้หรงเกดิ ความสนใจต่อตัวอักษรบนกระดูก จึงสะสมไว้มีจานวนกวา่ 5,000 ช้ินและส่งให้ ผูเ้ ช่ยี วชาญทาการศึกษาวจิ ยั จงึ พบว่ากระดกู มังกรน้ันแทท้ ี่จริงคือกระดกู ทีจ่ ารกึ อักขระโบราณของยุคสมยั ซาง ท่ีมอี ายเุ ก่าแกถ่ งึ 1,300 ปกี ่อนคริสตกาล

ปที ่ี 6 ฉบบั ท่ี 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 75 อย่างไรกต็ าม วิวัฒนาการของตวั อักษรจนี เกดิ จากการฟูมฟักอย่างค่อยเปน็ ค่อยไป มกี ารผสมผสานกัน ของอกั ษรชนดิ ที่แตกต่างกันในชว่ั ระยะเวลาหน่งึ ผ่านการขัดเกลาจนเกิดเปน็ ตัวอักษรชนิดใหม่เขา้ แทนท่ีอักษร ชนิดเดิม ไม่ใช่การยกเลิกอักษรชนิดเก่าโดยสิ้นเชิง ดังนั้น ผู้คนในยุคต่อมาจึงยังคงมีการศึกษาและใช้อักษรใน ยคุ เก่ากอ่ น ทัง้ ในเชงิ ศิลปะหรอื ในชวี ติ ประจาวนั ทีย่ ังคงพบเหน็ ไดอ้ ยเู่ สมอ อักษรกระดองเต่า(甲骨文)เป็นอักขระโบราณท่ีมีอายเุ ก่าแกท่ ่ีสุดของจีน เท่าที่มีการค้นพบ ในปัจจบุ นั โดยมากอย่ใู นรูปของบันทึกการทานายท่ีใชม้ ีดแกะสลักหรือจารลงบนกระดองเต่า หรือกระดูกสัตว์ ปรากฏแพรห่ ลายในราชสานกั ซางเมื่อ 1,300 – 1,100 ปกี อ่ นครสิ ตกาล ลักษณะของตวั อักขระบางสว่ น ยังคง มลี ักษณะของความเปน็ อักษรภาพอยู่ โครงสรา้ งตัวอกั ษรเปน็ รูปวงรี มีขนาดใหญเ่ ล็กแตกตา่ งกนั ทข่ี นาดใหญ่ บา้ งสงู ถึงน้ิวกว่า ขนาดเล็กเทา่ เมล็ดข้าว บางครง้ั ในอักขระตัวเดียวกันยังมีวธิ กี ารเขียนท่ีแตกต่างกัน ตัวอกั ษรมี การพัฒนาการในแต่ละช่วงเวลา โดยมีลักษณะพิเศษ กล่าวคือ ยุคต้น ตัวอักษรมีขนาดใหญ่ ยุคกลาง มีขนาด เล็กและลายเส้นที่เรียบง่ายกว่า เม่ือถึงยุคปลายจะมีลักษณะใกล้เคียงกับอักษรจินเหวินหรืออักษรโลหะท่ีมี ความ เปน็ ระเบียบสารวม อักษรโลหะ (金文) เป็นอักษรท่ีใช้ในสมัยซางต่อเน่ืองถึงราชวงศ์โจว (1,100 – 771ปีก่อนคริสต ศักราช) มีชื่อเรียกอีกอย่างหน่ึงว่า ‘จงต่ิงเหวิน’ หมายถึงอักษรที่หลอมลงบนภาชนะทองเหลืองหรือสาริด เน่ืองจากตัวแทนภาชนะสาริดในยุคน้ันได้แก่ ‘ต่ิง’ซึ่งเป็นภาชนะคล้ายกระถางมีสามขา ใช้แสดงสถานะทาง สังคมของคนในสมัยนัน้ และตวั แทนจากเคร่ืองดนตรีที่ทาจากโลหะ คือ ‘จง’ หรือระฆงั ดังนนั้ อักษรท่ีสลักหรือ หลอมลงบนเคร่ืองใช้โลหะดังกล่าวจึงเรียกว่า ‘จงต่ิงเหวิน’ มีลักษณะพิเศษ คือ มีลายเส้นท่ีหนาหนัก ร่อง ลายเส้นราบเรียบท่ีได้จากการหลอม ไม่ใช่การสลักลงบนเน้ือโลหะ อักษรโลหะในสมัยหลังรัชสมัยเฉิงหวัง และคังหวงั แหง่ ราชวงศ์โจว จะมคี วามสงา่ งาม สะท้อนภาพลักษณ์ทสี่ ขุ ุมเยอื กเยน็ เนื้อหาท่ีบันทึกด้วยอักษรโลหะ โดยมากเป็น คาสั่งการของชนช้ันผู้นา พิธีการบูชาบรรพบุรุษ บันทึกการทา สงคราม เปน็ ตน้ มกี ารบนั ทึกการค้นพบอักษรโลหะตงั้ แต่รชั สมัยฮ่นั อู่ตี้ในราชวงศ์ฮ่ัน (116 ปกี ่อนครสิ ตศักราช) บนภาชนะ ‘ต่งิ ’ ทีส่ ง่ เขา้ วังหลวง ดังนัน้ จึงมกี ารศึกษาและการทาอรรถาธบิ ายจากปัญญาชนในยุคตอ่ มา อักษรจ้วนเล็กจากสมัยชุนชิวจ้ันกว๋อจนถึงยุคการกอ่ ต้ังราชวงศ์ฉิน (770 – 202 ปีก่อนคริสตศักราช) โครงสร้างของตัวอักษรจนี โดยมากยังคงรกั ษารูปแบบเดมิ จากราชวงศโ์ จวตะวนั ตก ซง่ึ นอกจากอักษรโลหะแล้ว ยังมีอักษรรูปแบบต่างๆ ท่ีเหมาะกับการบันทึกลงในวสั ดุแต่ละชนดิ เช่น อักษรที่ใช้ในการลงนามสัตยาบันรว่ ม ระหว่างแว่นแคว้นที่สลักลงบนแผ่นหยกก็ เรียกว่า หนังสอื พันธมติ ร หากสลักลงบนไมก้ ็เรยี กสาสน์ ไม้ หากสลัก ลงบนหินกเ็ รยี ก ตวั หนังสือกลองหนิ ฯลฯ นอกจากนี้ กอ่ นการรวมประเทศจนี บรรดาเจ้านครรัฐหรือแวน่ แคว้น ตา่ งก็มีตัวอกั ษรทใ่ี ชแ้ ตกต่างกนั ไป ซ่งึ สว่ นหน่งึ ได้แก่อกั ษรจว้ นใหญห่ รอื ต้าจ้วน ซึง่ เปน็ ตน้ แบบของเสี่ยวจว้ นใน เวลาตอ่ มา ภายหลงั จากจิ๋นซีฮอ่ งเต้ได้รวมแผ่นดนิ จนี เข้าด้วยกนั ในปีค.ศ. 221แลว้ กท็ าการปฏิรูประบบตัวอักษรครั้งใหญ่ โดยการสร้างมาตรฐานรูปแบบตัวอักษรที่เป็นหน่ึงเดียวกันท่วั ประเทศ กลา่ วกนั วา่ ภายใต้การผลักดันของมหา เสนาบดีหลี่ซือ ได้มีการนาเอาตัวอักษรดั้งเดิมของรัฐฉิน(อักษรจ้วน)มาปรับให้เรียบง่ายข้ึน จากน้ันเผยแพร่ ออกไปทั่วประเทศ ขณะเดียวกัน ก็ยกเลิกอักษรท่ีมีลักษณะเฉพาะจากแว่นแคว้นอื่น ๆในยุคสมัยเดียวกัน

ปีท่ี 6 ฉบบั ท่ี 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 76 อักษรที่ผ่านการปฏิรูปน้ี รวมเรียกว่า อักษรเสี่ยวจ้วนหรือจ้วนเล็ก (小篆) ถือเป็นอักษรที่ใช้ทั่วประเทศจนี เปน็ ครัง้ แรก อักษรลีซ่ ขู ณะท่ยี ุคสมยั ฉนิ ประกาศใชอ้ กั ษรจ้วนเลก็ อย่างเป็นทางการ พรอ้ มกนั นนั้ กป็ รากฏวา่ มีการใช้ อักษรล่ีซู(隶书)ควบคู่กันไป โดยมีการประยุกต์มาจากการเขียนอักษรจ้วนอย่างง่าย อักษรลี่ซูทาให้ อักษรจีนก้าวเข้าสู่ขอบเขตของอักษรสัญลักษณ์อย่างเต็มรูปแบบ อาจกล่าวได้ว่า เป็นกระบวนการของการ เปลย่ี นรูปจากอกั ษรโบราณทยี่ ังมีความเปน็ อักษรภาพสู่ อักษรจนี ทีใ่ ชใ้ นปจั จุบนั สาหรับท่ีมาของอักษรลี่ซูน้นั กล่าวกันว่าสมัยฉินมีทาสท่ีเรียกวา่ เฉิงเหม่ียวผู้หนึ่ง เนื่องจากกระทาความผิด จึง ถูกสั่งจาคุก เฉิงเหม่ียวท่ีอยู่ในคุกคุมขังจึงคิดปรับปรุงตัวอักษรจ้วนให้เขียนง่ายข้ึน จากโครงสร้างกลม เปลี่ยนเป็นสี่เหล่ียมกลายเป็นอกั ษรรปู แบบใหม่ จ๋ินซีฮ่องเต้ทอดพระเนตรเหน็ แล้วทรงโปรดอย่างมาก จึงทรง แต่งต้ังให้เฉิงเหม่ียวทาหน้าที่อารักษ์ในวังหลวง ต่อมาตัวหนังสือชนิดน้ีแพร่หลายออกไป จึงมีการเรียกชื่อ ตวั หนงั สือชนิดนว้ี า่ อักษรลซี่ หู รืออักษรทาส (คาว่า ‘ล’่ี ในภาษาจีนหมายถึง ทาส) แต่ในเชิงโบราณคดีนั้น พบว่าอักษรลี่ซูเป็นอักษรท่ีใช้เขียนบนวัสดุที่ทาจากไม้หรือไม้ไผ่มาตั้งแต่ ยุคจั้นกว๋อ จนถงึ สมัยฉนิ และมพี ฒั นาการมาเร่ือย ๆ จวบถึงสมยั ราชวงศฮ์ ่ันไดก้ ลายเปน็ อักษรทไ่ี ดร้ บั ความนยิ มสูงสุด อักษรข่ายซูเรียกอีกอย่างหน่ึงว่าอักษรจริง (真书) เป็นอักษรจีนรูปแบบมาตรฐานใช้กันอย่าง แพร่หลายในปัจจุบัน อักษรข่ายซูเป็นเส้นสัญลักษณ์ที่ประกอบกันข้ึน ภายใต้กรอบสี่เหล่ียม หลุดพ้นจาก รปู แบบอักษรภาพของตัวอกั ขระยคุ โบราณอยา่ งส้นิ เชงิ อักษรข่ายซมู ตี น้ กาเนดิ ในยุคปลายราชวงศ์ฮน่ั ตะวันออก ภายหลังราชวงศ์ว่ยุ จ้นิ (สามกก๊ ) (คริสตศักราช 220 – 316) ไดร้ ับความนิยมอย่างแพรห่ ลาย จากการกา้ วเข้าสู่ ขอบเขตขน้ั ใหม่ของอักษรลซ่ี ู พฒั นาตามมาด้วย อกั ษรข่ายซู เฉ่าซู และสงิ ซู ก้าวพ้นจากขอ้ จากัดของลายเส้น ท่ีมาจากการแกะสลัก เม่ือถึงยุคถัง(คริสตศักราช 618 – 907) จึงก้าวสู่ยุคทองของอักษรข่ายซูอย่างแท้จริง จวบจนปัจจุบนั อักษรข่ายซยู ังเป็นอักษรมาตรฐานของจนี อกั ษรเฉ่าซู(草书)ตงั้ แตก่ าเนิดมีตัวอกั ษรจนี เป็นต้นมา อักษรแตล่ ะรปู แบบล้วนมวี ิธีการเขียน แบบตัวหวัดทั้งสิ้น จวบจนถึงราชวงศ์ฮ่ัน อักษรหวัดจึงได้รับการเรียกขานว่า ‘อักษรเฉ่าซู’ อย่างเป็นทางการ (คาว่า ‘เฉ่า’ ในภาษาจีนหมายถึง อย่างลวก ๆหรืออย่างหยาบ) อักษรเฉ่าซู เกิดจากการนาเอาลายเส้นที่มีแต่ เดิมมาย่นย่อเหลือเพียงขีดเส้นเดียว โดยฉีกออกจากรูปแบบอันจาเจของกรอบสี่เหลี่ยมในอักษรจีน หลุดพ้น จากข้อจากัดของข้ันตอนวิธีการขีดเขียนอักษรในแบบมาตรฐานตัวคัดหรือ ข่ายซู ในขณะที่อักษรข่ายซูอาจ ประกอบขึ้นจากลายเส้นสิบกว่าสาย แต่อักษรเฉ่าซูเพียงใช้ 2 – 3 ขีดก็สามารถประกอบเป็นสัญลักษณ์ เชน่ เดยี วกนั ได้ อักษรสิงซู (行书)เป็นรูปแบบตัวอักษรท่ีอยู่ก่ึงกลางระหว่างอักษรข่ายซูและ อักษรเฉ่าซู เกิดจาก การเขียนอักษรตัวบรรจงท่ีเขียนอย่างหวัดหรืออกั ษรตัวหวัดท่ีเขียน อยา่ งบรรจง อาจกลา่ วได้วา่ เปน็ ตวั อักษร ก่ึงตัวหวัดและกึ่งบรรจง อักษรสิงซูกาเนิดขึ้นในราวปลายราชวงศ์ฮั่นตะวันออก รวบรวมเอาปมเด่นของอักษร ข่ายซูและเฉา่ ซูเขา้ ดว้ ยกนั

ปีท่ี 6 ฉบับที่ 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 77 อกั ขระโบราณและอักษรปจั จุบันตัวอักษรจนี สามารถแบง่ ออกเป็นอกั ขระท่ีใชใ้ นสมยั โบราณกบั อักษร ทีใ่ ช้ในปัจจุบนั ตวั อย่างเช่น อกั ษรลซ่ี ซู งึ่ เป็นรูปแบบของอักขระโบราณ อันเปน็ ต้นแบบของการปฏิรูปลักษณะ ตวั อกั ษรจีนครงั้ ใหญ่ กลายเป็นเสน้ แบ่งระหว่างอกั ษรรนุ่ เกา่ และใหม่ ยุคสมัยที่ใช้อกั ษรลีซ่ แู ละกอ่ นหน้านั้น ถอื เป็นอักขระโบราณ ได้แก่ อักษรจารบนกระดูกสัตว์หรือเจ๋ียกู่เหวนิ จากสมัยซาง อกั ษรโลหะจากราชวงศโ์ จวตะ วันตก อักษรเส่ียวจ้วนจากยุคสมัยจั้นกว๋อและสมัยฉิน หลังจากกาเนิดอักษรล่ีซูให้ถือเป็นอักษรในยุคปัจจุบัน อันได้แก่ อักษรล่ีซู อักษรข่ายซู สาหรับอักษรเฉ่าซูและสิงซู อาจกล่าวได้ว่าเป็นเพียงพัฒนาการของรูปแบบ ตวั อักษร ไม่ใช่ววิ ัฒนาการของตวั อักษรจีนโดยรวม (ค่มู ือการเรยี นการสอนภาษาจนี ฉบับสมบรู ณ์) สัทอกั ษรจีน 拼音(พินอิน) เริ่มต้นในปีพ.ศ. 2501 และเร่ิมใช้กันในปีพ.ศ. 2522 โดยรัฐบาลของสาธารณรัฐ ประชาชนจีน 拼音 (พินอิน) ใช้แทนท่ีระบบ การถ่ายถอดเสียงแบบเก่า เช่น ระบบเวดและไจลส์และระบบ เปอเพอเมอเฟอ (注音符号 / จูย้ ิน ฝูฮ่าว) นอกจากน้ียงั มกี ารออกแบบระบบอ่นื ๆ สาหรับ นาไปใชก้ ับภาษา พดู ของจนี ในถ่ินต่างๆ และภาษาของชนกลมุ่ น้อย ที่ไมใ่ ชภ้ าษาฮั่นในสาธารณรฐั ประชาชนจนี ด้วย นับแต่น้ันมา 拼音(พนิ อนิ ) ก็เปน็ ทย่ี อมรบั จากสถาบนั นานาชาติ หลายแห่ง รวมทั้งรัฐบาลสงิ คโปร์หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน และสมาคมหอสมุด อเมริกัน โดยถอื วา่ เปน็ ระบบการถ่ายถอดเสียงท่เี หมาะสมสาหรับภาษาจีนกลาง เมอื่ ปพี .ศ. 2522 องค์การมาตรฐานนานาชาติ (ISO) ก็ได้รับเอาพินอินเป็นระบบมาตรฐาน (ISO 7098) ในการถ่ายทอด เ สี ย ง ภ า ษ า จี น ปั จ จุ บั น ด้ ว ย อั ก ษ ร โ ร มั น ( the standard romanization for modern Chinese) ดังน้ัน 拼音 (พินอนิ ) หรือ ระบบสัทอกั ษรจนี (พนิ อนิ ) ที่เหน็ เปน็ ตัวอกั ษรภาษาองั กฤษนน้ั แท้จริง คือ อักษรโรมัน (ซึ่งพัฒนามาจากตัวอักษร ละติน) นามาใช้เป็นสัญลักษณ์ในการสะกดคา และการอ่านออก เสียงภาษา จีนกลาง ถูกบรรจุในหลักสูตรระบบการศึกษาของสาธารณรัฐประชาชนจีน นอกจากน้ี ยังทาให้ ชาวต่างชาติสามารถเรียนรู้ภาษาจีนกลางได้ง่ายและ รวดเร็วขึ้น จากการใช้ 拼音 (พินอิน) ในการอ่านออก เสียง 拼 (พิน) หมายถึง การสะกด 音 (อิน) หมายถึง เสียง ดังน้ัน 拼音 (พินอิน) จึงหมายถึง การสะกด เสยี ง หรอื การถ่ายทอดเสียง หรือ คาอ่านของอักษรจนี กลาง ส่วนประกอบ 拼音 (พนิ อิน) มสี ว่ นประกอบคือ 声母 (เซิงหมู่) พยัญชนะ 韵母 (ยว้ินหมู่) สระ และ声调 (เซิงเต้ียว) วรรณยุกต์ (คู่มือการเรียนการสอน ภาษาจนี ฉบับสมบูรณ์) การบรู ณาการเทคโนโลยกี ับการเรยี นการสอนภาษาจีน เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตและมัลติมีเดียได้กลายเป็นเคร่ืองมือที่สร้างสรรค์สาหรับการพัฒนา ความสามารถของมนุษย์เพื่อตอบสนองความท้าทายในการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและ โลกาภวิ ฒั น์ทางเศรษฐกิจประเทศทีพ่ ฒั นาแลว้ ได้เร่มิ มุ่งเน้นการปลกู ฝังความสามารถใหม่ ๆ ของผู้เรียน ผเู้ รยี น มีความสามารถในการตรวจสอบและรับข้อมลู ได้อยา่ งรวดเรว็ ถูกต้อง ระบุความถูกต้องของขอ้ มลู

ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 78 มีความสามารถ ในการประมวลผล และประมวลผลข้อมูลอยา่ งสร้างสรรค์และเพื่อให้ผู้เรยี นมีความสามารถใน การควบคุมและใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นพ้ืนฐานท่ีเป็นประโยชน์และเป็นประโยชน์สาหรับการอ่านการ เขียนและการบัญชีในยุคของเศรษฐกิจ การรู้สารสนเทศกลายเป็นรากฐานที่สาคัญสาหรับการรู้หนังสือทาง วิทยาศาสตร์ (ChenZhili, 2002 อา้ งถงึ ใน QIAO JUAN KANG, 2010) การสอนภาษาจนี เปน็ ภาษาตา่ ง ประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งการสอน ในระดบั สงู ขึ้นไป วัตถุประสงค์การเรียนการสอนไม่เพียงแต่จะให้ผู้เรียนมี ความรเู้ กยี่ วกบั ค าศัพทโ์ ครงสร้าง ประโยคและความเขา้ ใจอืน่ ๆเทา่ นน้ั แต่ผเู้ รยี นต้องสามารถสืบค้นข้อมูลจาก หัวข้อท่ีก าหนดให้ได้ สามารถจัด ระเบียบภาษาเพ่ืออธิบายขั้นตอนท่ีผู้เรียนได้เรียนรู้ในสภาพแวดล้อมและ บริบทการส่ือสารที่แท้จริงได้อย่าง รวดเร็ว สามารถเลือกใช้ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลได้อย่างถูกต้อง และการใช้ องค์ประกอบทางภาษาในการแสดงออก ของความสามารถทางความคดิ อยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสมและชดั เจน ตวั อยา่ งเทคโนโลยีในการเรยี นการสอนภาษาจีน 1. Pleco Chinese Dictionary ภาพที่ 1 Pleco Chinese Dictionary ทมี่ า : https://apps.apple.com/th/app/pleco-chinese-dictionary/id341922306?l=th เป็นแอพพลิเคชั่นท่ีมีท้ังใน Android และ IOS ซ่ึงเป็นแอพพลิเคช่ันที่ช่วยในการหาคาอ่านตัวอกั ษร จนี ได้เปน็ อย่างดี จากได้กล่าวไวใ้ นข้างต้นอักษรจีนมีตน้ กาเนิดมาจากรูปวาดดังนั้นจงึ ยากพอสมควรท่ีจะทาให้ ผู้เรียนสามารถอ่านออกเสียงตัวอักษรจีนได้อย่างทันที ดังน้ัน จึงต้องมีสัทอักษรจีนท่ีกาหนดเสียงของตัวอักษร จีนในแต่ละตวั Pleco Chinese Dictionary เป็นอีกแอพพลิเคช่ันหนึง่ ที่ครูสามารถนามาปรับใช้ในการสอนให้ เขา้ กับศตวรรษท่ี 21 ไดโ้ ดยให้ผู้เรยี นนน้ั ไดค้ ้นควา้ หาคาอา่ นด้วยตนเอง ครูผู้สอนจึงกาหนดตัวอักษรจีนท่ีเป็นคาศัพท์ บทความหรือบทกวีส้ัน ๆ แล้วให้ผู้เรียนน้ันได้ใช้ Pleco Chinese Dictionary สืบค้นหาพินอินและความหมาย ทั้งน้ียังสามารถนาไปใช้เล่นเกมแข่งขันหาคาศัพท์อีก ด้วย 2. การใสค่ าอ่านตวั อกั ษรจีน (พนิ อิน)คาแปลและคน้ ตวั อักษรจีนระบบพนิ อนิ และจอู้ นิ http://popupchinese.com/tools/adso

ปที ่ี 6 ฉบบั ท่ี 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 79 ภาพที่ 2 Popup Chinese Website ทมี่ า : http://popupchinese.com/tools/adso ครูผู้สอนภาษาจีน สามารถใช้ Popup Chinese Website ในการใส่เสียงอ่านพินอินให้กับตัวอกั ษรจีน ซึ่ง สะดวกและรวดเร็ว นอกจากนี้ยังสามารเลอื กตวั อักษรจนี ท่ีตอ้ งการไดอ้ ีกดว้ ย 3. ClassDojo ClassDojo เป็นเคร่ืองมือที่ช่วยให้ครูสามารถติดตามคุณลักษณะ (Character Strength) หรือ พฤติกรรมของผู้เรียน ได้ดีและมีฟังก์ชันการบริหารจัดการชั้นเรียนที่หลากหลาย ClassDojo มีคุณสมบัติการ ทางานท่ีเด่น ๆ เช่น 1) เช็คการเข้ามาเรียนของผู้เรียน 2) บันทึกพฤติกรรมท้ังด้านที่ดีและไม่ดีของผู้เรียน 3) Feedback พฤติกรรมของผู้เรยี น การสร้างห้องเรียนแบบนี้จะทาให้ผู้เรียนนั้นเกิดความสนใจในการเรียนมากขึ้น อยากเรียนมากข้ึน เพราะผู้เรียนที่อยู่ในแอพพลิเคชั่นน้ี จะมี Character เป็นของตนเองโดย Characterน้ันจะปรากฏเป็นตัว การต์ ูนต่าง ๆ จงึ ทาใหส้ ามารถดงึ ดดู ผเู้ รียนไดโ้ ดยงา่ ย ภาพท่ี 3 ClassDoJo ท่มี า : https://classdojo.zendesk.com/hc/en-us/articles 4. การใชเ้ กมการศึกษา เกมการศึกษากบั การเรียนในยคุ น้ีถือไดว้ ่าเป็นสิ่งท่ีดงึ ดูดความสนใจผู้เรียนไม่น้อย เพราะผู้เรียนน้นั ได้ มีส่วนร่วมในการทากิจกรรมระหว่างเรียนมากยิ่งขึ้น อาจทาให้ผู้เรียนน้ันมีความสนใจในการเรียนมากข้ึนอีก ดว้ ย เพราะมีเกมเปน็ ตวั กระตนุ้ ดงั น้นั ผเู้ รียนจะมีความสนใจและตัง้ ใจเรยี นเป็นพิเศษเพอื่ จะจดจาบทเรียนและ นาไปตอบคาถามในเกมนน้ั ๆ ซ่ึงเกมการศกึ ษาน้นั มอี ยู่มากมายแตท่ ไ่ี ด้รบั ความนิยมเป็นอยา่ งมากคือ Kahoot และ Quizizz ซึ่งเป็นเกมท่ีผู้เรียนนั้นเข้าถึงง่ายและให้ความสนุกสนาน และนาไปปรับใช้กับการสอนได้ทุก ระดบั

ปีที่ 6 ฉบบั ที่ 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 80 ภาพท่ี 4 Quizizz ภาพที่ 5 Kahoot ท่มี า : https://quizizz.com/admin/quiz ท่ีมา : kahoot.it เทคโนโลยีการสอนที่กล่าวมาในข้างต้นนน้ั เป็นเพียงตัวอย่างในการนาเสนอเท่าน้ัน ยังมีเทคโนโลยีการสอน อกี มากมายที่เป็นประโยชน์ต่อการจดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ซง่ึ ช่วยให้ผู้สอนไดอ้ อกแบบกิจกรรมการสอน ใหผ้ ู้เรยี นไดม้ สี ่วนร่วมในการทากิจกรรมและมรี ปู แบบการสอนทแี่ ตกต่างกันออกไป 5. ทาสอื่ การสอนด้วย wordwall ภาพที่ 6 Wordwall ที่มา : https://eltplanning.com/2019/07/28/vocabulary-games-wordwall/ Wordwall เป็นส่ือเทคโนโลยีอีกรูปแบบหนง่ึ ที่สร้างงา่ ย สะดวกในการใช้ สื่อเป็นส่วนสาคัญอีกส่วนหนึ่งใน การเรียนการสอนภาษาจนี เนอ่ื งจากสือ่ เปน็ ตัวท่ีจะกระตุ้นความสนใจให้ผู้เรียน เมอื่ ผเู้ รยี นสนุกและมีสว่ นร่วม ในการเรียน ผู้เรียนจะสร้างทัศนคติบวกใหก้ บั รายวิชาน้ัน ๆ และทาให้ผูเ้ รยี นอยากทจ่ี ะเรียนร้มู ากขึ้น ภาษาจีน เป็นภาษาท่ียาก เนื่องจากตัวอักษรนนั้ เป็นเสมือนรปู ภาพ ดังนั้นการใช้สื่อที่ผู้เรียนให้ความสนใจมาก ๆ จะทา ใหผ้ ้เู รยี นสามารถจดจาตัวอกั ษร และคาศพั ทภ์ าษาจนี ได้ ทาให้การเรยี นการสอนภาษาจีนง่ายขน้ึ แนวโนม้ การใช้เทคโนโลยกี ับการสอนภาษาจีน การเรียนการสอนภาษาจนี ด้วยเทคโนโลยี ส่ือมลั ตมิ เี ดียวตา่ ง ๆ เปน็ การสอนทมี่ ่งุ เนน้ เน้ือหาที่มีความ หลากหลายของการเรียนการสอน เพ่ือให้ผู้เรียนนั้นได้มีส่วนร่วม เกิดความสนุกสนาน และมีทักษะการใช้ ภาษาจีนเพิ่มมากข้ึน ดังนัน้ เทคโนโลยีเปน็ ทิศทางใหม่ของการสอนภาษาจนี ในศตวรรษที่ 21 ท่บี ทบาทสาคัญ เป็นอย่างยิ่งทั้งกับผู้สอนและผู้เรียนการสอนภาษาจีนเป็นภาษาต่างประเทศมีเป้าหมายเพื่อเน้นการพัฒนา ความสามารถของผู้เรยี นในการ สื่อสารสอื่ ความหมายและเพอ่ื เผยแพรว่ ัฒนธรรมและปรัชญาท่ีโดดเดน่ ของจีน ในกระบวนการสอนภาษาทง้ั หมด ครผู ูส้ อนต้องหาวิธีในการสร้างสภาพแวดล้อมการเรยี นการสอนที่ดีเพื่อช่วย ในการสอน การสอนเทคโนโลยีเพอ่ื ส่งเสริมความสนใจในการเรยี นรู้ของผู้เรียนเพ่ือให้งานสอนน้ันสมบูรณ์เพือ่ หาขอ้ บกพรอ่ งเพ่อื นาไปปรับปรงุ และพฒั นาทักษะของผเู้ รียนในด้าน การอา่ น การคดิ การพูด การเขยี นและ การสื่อสาร ท้ังน้ียังสามรถนาไปพัฒนาทักษะด้านการสอนของครูผู้สอน ในด้านการต้ังคาถาม การใช้ส่ือหรือ เทคนิคต่าง ๆ เพ่ือทาให้การเรยี นการสอนนั้นมีประสิทธิภาพมากย่งิ ข้ึน แต่อย่างไรก็ตามเทคโนโลยี มัลติมีเดีย มิได้เป็นสิ่งที่ครูผู้สอนจะสามารถพ่ึงพาในการสอนได้ตลอดเวลา ดังนั้นมัลติมีเดีย เทคโนโลยี ในกระบวนการ เรียนการสอนสามารถนามาผสมผสานกบั วิธกี ารสอนแบบด้ังเดมิ ได้อยา่ งลงตวั และเหมาะสม ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับการ

ปที ี่ 6 ฉบับที่ 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 81 ออกแบบการสอนของผู้สอนเป็นสาคัญ เพราะอย่างไรก็ตามรูปแบบวิธีการสอนในห้องเรียนยังคง ต้องการ ครผู สู้ อนเป็นแนวทางในการช่วยให้ผเู้ รียนมีความก้าวหน้าในความรรู้ ะบบของเทคโนโลยียังไม่สามารถทาหน้าที่ แทนที่สมองของมนษุ ย์ได้และยังไม่สามารถแก้ปัญหาความซับซ้อนของกระบวนการเรยี นรู้ในสถานการณ์ ท่จี า เป็นได้เช่นเดียวกัน ศตวรรษที่ 21 เป็นสังคมข้อมูลการใช้เทคโนโลยีมัลติมีเดีย การสอนภาษาจีนเป็น ภาษาต่างประเทศก็หลีกเล่ียงไม่ได้ ดังน้ันการหาเทคนิค วิธีการ การจัดรูปแบบการสอน ส่ือเทคโนโลยีใหม่ ๆ เพือ่ นามาประยุกตใ์ ช้ในการเรียนการสอนใหม้ ีความทันยุกต์ทนั เหตกุ ารณ์และตรงตามความต้องการของผู้เรียน จึงมีความสาคัญมากเช่นกัน กล่าวสรุปได้ว่า ภาษาจีนนั้นเป็นภาษาท่ีค่อนข้างยาก เน่ืองจากตัวอักษรจีนน้นั ได้ ถูกพัฒนามากจากอักษรภาพ และมีตัวอักษรจานวนมาก จึงทาให้มีการสร้างพินอินขึ้นมาเพ่ือทาให้ผู้ที่เรียน ภาษาจีนในต่างประเทศสามารถจดจา อ่าน เขียน และแปลความหมายของภาษาจีนได้นั่นเอง หากต้องนามา สอนให้สอดคล้องกับศตวรรษท่ี 21 น้ันจึงมีการทาสื่อการสอนท่ีทันสมัยขึ้นเพื่อกระตุ้นความสนใจและสร้าง ทศั นคตบิ วกใหก้ ับผ้เู รียนใหผ้ ู้เรียนน้ันเขา้ ใจอา่ น สามารถนาไปใช้ไดจ้ ริงและเรียนภาษาไดอ้ ย่างไม่น่าเบือ่ เอกสารอ้างองิ ศศณิ ฎั ฐ์ สรรคบุรานรุ ักษ. สือ่ มลั ตมิ ีเดยี และเทคโนโลยีกบั การสอนภาษาจนี ในศตวรรษที่ 21. มหาวทิ ยาลัย ศลิ ปากร.เทคโนโลยีสารสนเทศและหลักสตู รบูรณการ ดเิ รก วรรณเศียร , รูปแบบการจัดการเรียนรู้สาหรบั ศตวรรษที่ 21. กรงุ เทพฯ.มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ติ . ศน. สุวิทย์ บัง้ เงิน , ทักษะการเรยี นรแู้ ห่งศตวรรษที่ 21. นิเทศออนไลน์ สานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา ปร ะ ถมศึก ษาเชียงราย เขต 2 (ออน ไ ลน์) จาก https:/ / sites.google.com/a/esdc. go. th/sv- sw/home/thaksa-ni-stwrrs-thi-21. สืบคน้ ขอ้ มูลเม่ือวนั ท่ี 18 สงิ หาคม 2562. สุภิญญา เรือนแกว้ . ทาไมต้องไปเรียนท่จี นี NT Education (ออนไลน์).จาก https://sites.google.com/site/thaistudyinchina/khwam-sakhay-phasa-cin. สบื ค้นขอ้ มูลเมอื่ วนั ที่ 18 สิงหาคม 2562. สานักพมิ พ์แมนดารนิ .(2551).คู่มอื การเรยี นการสอนภาษาจนี ฉบับสมบรณู ์.

ปีท่ี 6 ฉบับที่ 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 82 การจดั การความขัดแยง้ ในสถานศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน สังกัดสานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 2 The Conflict Management of the Basic Education Schools under the Secondary Educational Service Area Office 2 วนิดา เนาวนิตย์1 รองศาสตราจารย์ ดร.กล้า ทองขาว2 Wanida Naowanit3 Associate Professor Dr.Kla Tongkow 4 1นักศึกษาหลักสูตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการการศกึ ษา วทิ ยาลยั ครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรุ กจิ บัณฑติ ย์ 1อาจารยท์ ปี่ รกึ ษาหลักวิทยานพิ นธ์ บทคัดยอ่ การวิจัยครงั้ นม้ี ีวัตถุประสงค์เพ่อื ศึกษาและเปรยี บเทยี บการจัดการความขัดแยง้ ในสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน สงั กดั สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 จาแนกตามระดับความขัดแย้งผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติ (O-NET) และขนาดของสถานศึกษา ศึกษาปัญหา ข้อเสนอแนะ และแนวทางการจัดการความ ขัดแย้งในสถานศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ตวั อย่างที่ใช้ในการศกึ ษา คือ สถานศึกษาขั้นพ้นื ฐาน สังกดั สานักงานเขตพนื้ ท่ี การศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 2 จานวน 44 แหง่ เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษา คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติทีใ่ ช้ในการวิเคราะหข์ อ้ มลู ไดแ้ ก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ คา่ เฉลย่ี สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน การทดสอบ คา่ ที และการทดสอบคา่ เอฟ ผลการวจิ ัยพบว่า การจัดการความขัดแย้งมีการรับรู้จากผู้ให้ข้อมูลคนสาคัญในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับปานกลาง ใน สถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 ด้านกลยุทธ์การจัดการความ ขัดแย้ง มีการรับรู้อย่ใู นระดับมาก ผลการเปรียบเทียบการจัดการความขัดแย้ง จาแนกตามระดับความขัดแยง้ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET) และขนาดของสถานศึกษา พบว่า ไม่แตกต่างกันปัญหาการ จัดการความขัดแย้ง คือ การส่ือสารในการปฏิบัติงานที่คลาดเคล่ือน ลักษณะนิสัย และมีความคิดเห็นในการ ปฏิบัติงานที่แตกต่างกัน โดยการจัดการความขัดแย้งในสถานศึกษามีผลทั้งผลทางบวกและผลทางลบ ผล ทางบวก คือ องค์กรเกิดการเปล่ียนแปลง พัฒนา และสามารถบรรลุเป้าหมายท่ีวางไว้ บุคลากรเกิดความ สามัคคี และมีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงานมากข้ึน ส่วนผลทางลบ คือ บุคลากรขาดกาลังใจในการ 1นักศึกษาหลกั สูตรมหาบณั ฑิต สาขาการจัดการการศึกษา วิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธุรกจิ บณั ฑิตย์ 2อาจารย์ท่ปี รึกษาหลักวทิ ยานพิ นธ์ 3 Master’s degree student Education Management College of Education Dhurakij Pundit University 4Thesis Principal Advisor

ปที ่ี 6 ฉบับท่ี 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 83 ปฏิบัติงาน เสยี เวลาในการแก้ปัญหา และมีบรรยากาศไม่เออื้ ในการปฏบิ ตั งิ าน แนวทางการจัดการความขัดแย้ง ในสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน คือ ควรมีการจัดกิจกรรมท่ีสร้างสรรค์ให้ทุกคนมีส่วนร่วมบ่อย ๆ กิจกรรมท่ีสร้าง แรงจงู ใจในการปฏิบตั งิ าน เพื่อให้สถานศกึ ษาเกิดการพฒั นาและเป็นทยี่ อมรบั ของบุคคลภายนอก Abstract The objective of this research was to study and compare the conflict management of the basic education schools under the secondary educational service area office 2, classified by conflict level, the test results of ordinary national educational ( O- NET) and the size of educational institutions , problems study and suggestions of the conflict management of the basic education schools, the samples used in the study were 44 basic education schools under the Office of Educational Service Area 2 The tools used in the study were questionnaires and interview forms. , data analysis using frequency distribution, percentage, Mean, standard deviation t-test and F-test, The results of the research found that The management of conflicts had the perception from the important data-givers data in general and each aspect at moderate level in basic education schools under the Office of Secondary Educational Service Area 2. The conflict management strategies had the perception at a high level. The compared result of the conflict classified by conflict level , the test results of ordinary national educational (O-NET) and the size of educational institutions was found that it was indifferent. The problems of the conflict management were the inaccurate communication in the operation, the character and the different opinion in the operation. By the conflict management of the basic education schools; there were both positive and negative results. Positive results were that the organization changed, developed and was able to achieve its goals, and the unity of staff was created. There was more enthusiasm in the work, and the negative result was the staff’ s lacking of reinforcements in the operation, wasting time in solving problems and the unfavorable atmosphere to work. The way to manage the conflicts in the basic education schools was to organize the creative activities for everyone to participate frequently, and the activities to motivate the staff to work in order to develop the school and be accepted by the outsiders.

ปีท่ี 6 ฉบบั ที่ 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 84 1. ท่ีมาและความสาคัญของปัญหา ในการบริหารงานใด ๆ กต็ ามความขัดแย้งเปน็ เรื่องปกติของทุกองค์กรเป็นกระบวนการทางสงั คม เมือ่ บคุ คลหรอื กล่มุ บุคคลตอ้ งเผชญิ กับเป้าหมายท่ีไมส่ ามารถทาให้ทกุ ฝ่ายพอใจ เนื่องจากแต่ละฝ่าย มีจดุ มงุ่ หมาย วิธีการ และค่านิยมที่แตกต่างกัน เป็นความแตกต่างจากการรับรู้หรือการปฏิบัติ ความขัดแย้งเกิดขึ้นเม่ือต้อง พงึ่ พาอาศัยกนั ซงึ่ อาจมีฝา่ ยที่ปกปอ้ งหรอื บีบบงั คบั กบั ฝ่ายที่ต่อต้านหรือกีดขวางเปน็ พฤตกิ รรมทไ่ี ม่ลงรอยกัน มีฝ่ายหนึง่ ยับยัง้ สกัดกั้นหรือสร้างความคับข้องใจกับอีกฝา่ ยหนง่ึ ความขัดแย้งก็จะเกิดขน้ึ อาจจะนามาซ่งึ ความ แตกแยก ขาดความสามัคคีอันดีต่อกันหรือนามาซ่ึงการกระตุ้นและส่งเสริมความเจริญเติบโตก้าวหน้าของ องคก์ ร ทุกองค์กรจะต้องเผชญิ กับปัญหาของความขัดแยง้ ในการทางานอยา่ งหลีกเลย่ี งไมไ่ ด้ สภาพสงั คมไทยในปัจจุบนั ท่ีเตม็ ไปดว้ ยการแข่งขัน รวมท้งั ระบบการศึกษาก็เช่นเดียวกัน ความสาเร็จ จะถูกวัดด้วยการเป็นผู้ชนะ เป็นระบบการแข่งขันหรือระบบแพ้คัดออกนักเรียนท่ีเรียนเก่งเรียนดีเท่าน้ันท่ี สามารถมีโอกาสก้าวเข้าสู่สถานศึกษาท่ีมีคุณภาพและได้รับการศึกษาในระดับที่สูงข้ึน ระบบการแข่งขัน ดงั กล่าวอาจสง่ ผลใหเ้ กดิ ความขัดแย้ง และบางครัง้ นาไปสู่ความรุนแรงได้ ซึง่ ตรงกับแนวคดิ ของ (Max Weber อ้างถึงใน เสรมิ ศักด์ิ วศิ าลาภรณ์, 2540) ท่ีเช่อื ว่าการแขง่ ขนั เปน็ สาเหตุหน่งึ ที่ทาให้เกิดความขัดแยง้ ซ่ึงในการ บริหารสถานศึกษาปัญหาหรือความขัดแย้งที่เกิดข้ึนในการบริหารองค์กร อาจจะเป็นความขัดแย้งระหว่าง บุคคล ความขัดแย้งภายในกลุ่มและความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม ผู้บริหารทุกระดับต้องเผชิญกับปัญหาความ ขัดแย้งในการทางาน เน่ืองจากผู้บริหารจะต้องทางานร่วมกับบุคคลท่ีมีพื้นฐานชีวิต ความต้องการ ความรู้สึก ความรู้ ประสบการณ์ ลักษณะนิสัย และมีความพอใจท่ีแตกต่างกัน เม่ือต้องมาอยู่ร่วมกัน ทางานร่วมกันด้วย ธรรมชาติของความแตกต่างทเ่ี กิดข้นึ ก็เป็นปจั จยั ท่สี าคัญทท่ี าให้เกดิ ความขัดแย้งขน้ึ ได้ ดงั นน้ั เมอ่ื เกิดความขัดแย้งในองค์กรผู้บริหารก็ไม่สามารถเพิกเฉยหรอื ไม่สนใจ ปล่อยให้เหตุการณ์ดังกล่าว เกิดความรุนแรงข้ึน โดยไม่ไดร้ ับการแก้ไขอย่างเหมาะสม จากงานวจิ ัยต่างประเทศ (เสริมศักด์ิ วศิ าลาภรณ์, 2540) พบว่า ผู้บริหารระดับสูงใช้เวลาประมาณร้อยละ 20 - 25 ของเวลาทางาน เพ่ือจัดการกับความขัดแย้งใน องคก์ รสาหรบั ผ้บู รหิ ารระดบั กลางน้ันใชเ้ วลาร้อยละ 30 ในการจดั การกบั ความขัดแย้ง ดังขา่ วทเี่ คยเกิดข้ึนทาง หน้าหนังสือพมิ พ์ “ซ่ึงเกิดความขัดแย้งในสถานศึกษาแห่งหนง่ึ สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 2 และจากการศึกษาข้อมูลพ้ืนฐานของสถานศึกษา พบว่าส่วนใหญ่เป็นสถานศึกษาขนาดใหญ่และขนาด ใหญพ่ ิเศษ ซ่งึ สถานศกึ ษาท่ีมีบุคลากรจานวนมาก อาจจะส่งผลให้เกดิ ปัญหาข้นึ ภายในองคก์ รได้ ดว้ ยเหตุผลท่ี กล่าวมาข้างต้นผู้วิจัยจึงสนใจทาการวิจัยเพื่อศึกษาการจัดการความขัดแย้งในสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สังกัด สานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 2 ซงึ่ เป็นเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษาทผ่ี วู้ ิจัยสังกัด 2. วัตถุประสงค์ของการวจิ ยั 1. เพ่อื ศึกษาระดับการจัดการความขัดแยง้ ในสถานศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน สงั กดั สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา มธั ยมศกึ ษา เขต 2

ปีที่ 6 ฉบับท่ี 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 85 2. เพ่ือเปรยี บเทียบการจัดการความขัดแยง้ ในสถานศึกษาขนั้ พื้นฐาน สังกดั สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษา มัธยมศกึ ษา เขต 2 ตามระดับความขดั แย้ง ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ (O-NET) และขนาดของ สถานศกึ ษา 3. เพอ่ื ศึกษาปญั หา ข้อเสนอแนะ และแนวทางการจดั การความขดั แย้งในสถานศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน สงั กัด สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 2 3. กรอบแนวคิดการวจิ ัย กรอบแนวคิดในการวจิ ัย ได้จากการสังเคราะห์ หลักการ แนวคิดและทฤษฎีของ (Anderson, 1988) แบ่งออกเปน็ 4 ดา้ น คอื 1. การศกึ ษาเหตุแหง่ ความขัดแย้ง 2. การนิยามปัญหาความขัดแย้ง 3. กลยุทธก์ ารจดั การความขัดแย้ง 4. การพจิ ารณาผลท่ตี ามมาของความขดั แยง้ 4. สมมตฐิ านการวจิ ัย สถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สังกดั สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 2 ท่ีมีระดบั ความขดั แย้ง มี ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ (O-NET) และมขี นาดของสถานศกึ ษาตา่ งกนั มีการจัดการความขัดแย้ง แตกต่างกนั 5. วธิ กี ารดาเนินการวิจัย การวิจยั ครง้ั นเี้ ป็นการวจิ ัยเชงิ สารวจ กลมุ่ ตัวอยา่ งเป็นสถานศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน สงั กัดสานกั งานเขตพ้ืนท่ี การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 จานวน 44 แห่ง โดยผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและรองผู้บริหาร สถานศึกษา จานวน 79 คน และครูหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้(5 วิชาหลัก) จานวน 114 คน รวม 193 คน โดยการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เคร่อื งมอื ทใี่ ช้ในการวจิ ยั คอื แบบสอบถามทผ่ี ู้วิจัยสร้างขึ้นจากการศึกษา แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยั ที่เก่ียวข้อง แบบสอบถาม แบง่ เปน็ 3 ตอน ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู พนื้ ฐานของสถานศึกษา ตอนท่ี 2 การสอบถามเกี่ยวกบั ระดับการจัดการความขัดแย้งในสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เป็นแบบสอบถามแบบมาตรา ส่วนประมาณค่า 5 ระดับ และตอนที่ 3 เป็นแบบสอบถามปลายเปิดเกี่ยวปัญหา ข้อเสนอแนะ และแนวทาง การจัดการความขัดแย้งในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน แบบสอบถามที่สร้างขึ้นผ่านการตรวจสอบคุณภาพโดย ผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน ผลการตรวจคุณภาพแบบสอบถามมีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ระหว่าง 0.60 - 1.00 ไดป้ รับแบบสอบถามตามคาแนะนาของผู้ทรงคุณวฒุ ิ และนาแบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบทดลองใช้ (Try Out) กบั สถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน จานวน 3 แหง่ ท่มี ลี ักษณะใกล้เคยี งกับกลุ่มตัวอย่างของการวจิ ัย ไดค้ า่ ความเชื่อม่ันของ แบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.85 นาแบบสอบถามเก็บข้อมูลจริง และนาข้อมูลท่ีได้วิเคราะห์ด้วยสถิติ ได้แก่ การ แจกแจงความถี่ รอ้ ยละ คา่ เฉลีย่ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการทดสอบค่าเอฟ

ปีที่ 6 ฉบบั ท่ี 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 86 6. ผลการศึกษา ตอนท่ี 1 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูลพ้ืนฐานของสถานศกึ ษา ตารางท่ี 1 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู พื้นฐานของสถานศกึ ษาตามระดบั ความขดั แยง้ ผลการทดสอบทางการศึกษา ระดบั ชาติ (O-NET) และขนาดของสถานศึกษา (n = 44) สถานศกึ ษา จานวน รอ้ ยละ 1. ระดับความขดั แยง้ 2 4.54 1.1 สูง/มาก 26 59.10 1.2 ปานกลาง 16 36.36 1.3 ต่า/นอ้ ย 44 100.0 รวม 23 52.27 2. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET) 21 47.73 44 100.0 2.1 สูงกว่าค่าเฉล่ียระดบั ชาติ 2.2 ต่ากว่าค่าเฉลี่ยระดับชาติ 2 4.54 7 15.91 รวม 16 36.36 3. ขนาดของสถานศกึ ษา 19 43.19 44 100.0 3.1 ขนาดเลก็ จานวนนักเรียน ไม่เกิน 500 คน 3.2 ขนาดกลาง จานวนนกั เรยี น ต้งั แต่ 501 ถึง 1,500 คน 3.3 ขนาดใหญ่ จานวนนกั เรยี น ตั้งแต่ 1,501 ถงึ 2,500 คน 3.4 ขนาดใหญ่พิเศษ จานวนนักเรียน ตง้ั แต่ 2,501 คนขึ้นไป รวม จากตารางท่ี 1 พบวา่ สถานศกึ ษามีการรบั รู้หรอื การปฏิบตั ิเกยี่ วกับระดับความขัดแย้งปานกลาง มาก ทส่ี ดุ คิดเป็นร้อยละ 59.10 รองลงมาระดบั ความขัดแย้งต่า คิดเป็นร้อยละ 36.36 ผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติ (O-NET) สงู กว่าค่าเฉลีย่ ระดับชาติ คดิ เป็นร้อยละ 52.27 และตา่ กวา่ ค่าเฉลี่ยระดับชาติ คดิ เป็นร้อย ละ 47.73 และขนาดของสถานศกึ ษา สถานศึกษาขนาดใหญพ่ ิเศษ จานวนนกั เรยี น ต้ังแต่ 2,501 คนขน้ึ ไป มาก ที่สดุ คิดเปน็ รอ้ ยละ 43.19 รองลงมาสถานศึกษาขนาดใหญ่ จานวนนกั เรยี น ตัง้ แต่ 1,501 ถงึ 2,500 คน

ปีท่ี 6 ฉบบั ท่ี 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 87 ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับระดับการจัดการความขัดแย้งในสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สังกัด สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 2 ตารางที่ 2 ค่าเฉล่ียและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเกี่ยวกับระดับการจัดการความขัดแย้งในสถานศึกษา ขน้ั พน้ื ฐาน สังกัดสานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 2 จาแนกตามรายด้าน (n = 44) การจัดการความขัดแยง้ ในสถานศึกษาขน้ั พื้นฐาน X̅ ระดับการรบั รู้ อนั ดับ S.D. หรือการปฏบิ ตั ิ 1. การศกึ ษาเหตแุ ห่งความขัดแยง้ 2. การนยิ ามปญั หาความขัดแย้ง 2.84 .92 ปานกลาง 4 3. กลยทุ ธก์ ารจัดการความขัดแยง้ 4. การพจิ ารณาผลทต่ี ามมาของความขัดแย้ง 3.14 .91 ปานกลาง 2 รวม 3.74 .86 มาก 1 3.13 .84 ปานกลาง 3 3.21 .88 ปานกลาง จากตารางที่ 2 ผลการจัดการความขดั แยง้ จากการรับรู้หรอื การปฏบิ ตั ใิ นสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน สังกัด สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เม่ือพิจารณาเป็นราย ด้าน พบวา่ ทกุ ดา้ นมีการรบั รหู้ รอื การปฏิบตั ิอยู่ในระดบั ปานกลาง ยกเว้น ดา้ นกลยทุ ธก์ ารจดั การความขัดแย้ง มกี ารรบั รู้หรอื การปฏบิ ัตอิ ยใู่ นระดับมาก เรยี งลาดับค่าเฉลีย่ สงู สดุ และรองลงมา ได้แก่ กลยุทธ์การจดั การความ ขัดแย้ง การนิยามปัญหาความขัดแย้ง การพิจารณาผลท่ีตามมาของความขัดแย้ง และการศึกษาเหตุแหง่ ความ ขัดแยง้ ตามลาดับ ตารางที่ 3 ผลการเปรยี บเทยี บการจัดการความขัดแย้งในสถานศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน สังกดั สานักงานเขตพนื้ ท่ี การศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 2 ตามระดบั ความขดั แย้ง (n = 44) การจดั การความขัดแย้ง สูงหรอื มาก ตา่ หรือน้อย t Sig. ในสถานศึกษาข้ันพนื้ ฐาน และปานกลาง (n = 16) 2.094 .039 1. การศกึ ษาเหตุแห่งความขัดแย้ง (n = 28) X̅ S.D. 2.669 .009 2. การนยิ ามปัญหาความขัดแย้ง ̅X S.D. 2.73 .62 -2.196 .029 3. กลยทุ ธก์ ารจัดการความขัดแย้ง 2.98 .64 -2.786 .006 4. การพจิ ารณาผลทต่ี ามมาของ 2.91 .45 3.86 .47 3.22 .55 3.22 .35 3.67 .61 3.08 .34

ความขัดแยง้ ปีท่ี 6 ฉบบั ท่ี 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 88 รวม 3.22 .49 3.20 .52 -.05 .021 หมายเหตุ. มีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 จากตารางที่ 3 ผลการเปรียบเทียบการจัดการความขัดแย้งจากการรับรู้หรือการปฏิบัติในสถานศึกษาขั้น พื้นฐาน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 ตามระดับความขัดแย้งสูงหรือมากและปาน กลางกับระดับความขัดแย้งต่าหรอื นอ้ ย พบว่า ในภาพรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมนี ัยสาคัญทางสถิติที่ ระดบั .05 ซึง่ เป็นไปตามสมมตฐิ าน ตารางท่ี 4 ผลการเปรียบเทียบการจัดการความขัดแย้งในสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่ การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 2 ตามผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ (O-NET) (n = 44) สูงกว่าคา่ เฉลี่ย ต่ากวา่ คา่ เฉลย่ี ระดบั ชาติ การจัดการความขัดแย้ง ระดับชาติ (n = 21) X̅ S.D. ในสถานศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน (n = 23) t Sig. 2.91 .58 ̅X S.D. 2.97 .59 -1.139 .256 3.66 .62 2.787 .006 1. การศกึ ษาเหตแุ ห่งความขัดแย้ง 2.81 .50 3.34 .38 1.390 .166 -5.666 .000 2. การนิยามปญั หาความขัดแยง้ 3.22 .58 3.22 .54 -.66 .107 3. กลยทุ ธ์การจัดการความขัดแย้ง 3.78 .54 4. การพิจารณาผลทีต่ ามมาของ 3.03 .29 ความขัดแย้ง รวม 3.21 .48 หมายเหตุ. มีนัยสาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .01 , .05 จากตารางท่ี 4 ผลการเปรียบเทียบการจัดการความขัดแย้งจากการรับรู้หรือการปฏิบัติในสถานศึกษาขั้น พ้นื ฐาน สังกดั สานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 2 ตามผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ (O- NET) สูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับชาติและต่ากว่าค่าเฉลี่ยระดับชาติ พบว่า ในภาพรวมไม่แตกต่างกันและไม่เป็นไป ตามสมมติฐาน แตเ่ มื่อพิจารณารายดา้ น พบวา่ ด้านการพจิ ารณาผลทต่ี ามมาของความขัดแยง้ แตกตา่ งกนั อย่าง มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และด้านการนยิ ามปัญหาความขัดแยง้ แตกต่างกันอย่างมนี ัยสาคัญทางสถิตทิ ี่ ระดบั .05 ในขณะทีด่ ้านการศึกษาเหตแุ หง่ ความขัดแย้งและดา้ นกลยุทธก์ ารจดั การความขัดแย้งไมแ่ ตกต่างกัน

ปที ี่ 6 ฉบับท่ี 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 89 ตารางท่ี 5 ผลการเปรียบเทียบการจัดการความขัดแย้งในสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ี การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 2 ตามขนาดของสถานศึกษา (n = 44) ขนาดเล็ก ขนาดใหญ่ ขนาดใหญพ่ เิ ศษ และกลาง การจัดการความขัดแยง้ (n=9) (n=16) (n=19) ในสถานศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน X̅ S.D. ̅X S.D. ̅X S.D. 2.54 .53 1. การศึกษาเหตแุ หง่ ความขัดแย้ง 2.84 .64 2.82 .58 2.93 .44 2. การนิยามปัญหาความขัดแย้ง 3.91 .46 2.93 .54 3.39 .54 3. กลยทุ ธ์การจัดการความขัดแยง้ 3.55 .25 3.75 .58 3.69 .58 4. การพิจารณาผลท่ีตามมาของ 3.18 .36 2.99 .27 3.21 .47 ความขัดแย้ง 3.17 .51 3.25 .46 รวม ตารางท่ี 5 (ต่อ) การจดั การความขัดแยง้ SS df MS F Sig ในสถานศึกษาข้นั พ้นื ฐาน 1. การศึกษาเหตุแห่งความขัดแยง้ 2.39 2 1.196 4.508 .012 2. การนยิ ามปญั หาความขัดแย้ง 11.04 2 5.522 18.374 .000 3. กลยุทธ์การจัดการความขัดแย้ง 0.76 2 0.379 1.171 .312 4. การพิจารณาผลทต่ี ามมาของ 5.13 2 2.564 26.281 .000 ความขัดแย้ง รวม 4.83 2 2.42 12.58 .081 หมายเหตุ. มีนัยสาคัญทางสถิติท่รี ะดับ .01 , .05 จากตารางที่ 5 ผลการเปรียบเทียบการจดั การความขดั แย้งจากการรบั รู้หรือการปฏิบัติในสถานศึกษา ขั้นพ้นื ฐาน สังกัดสานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 2 ตามขนาดของสถานศึกษา ในภาพรวมไม่ แตกตา่ งกันและไมเ่ ป็นไปตามสมมติฐาน แตเ่ มอ่ื พจิ ารณารายดา้ น พบว่า ด้านการนิยามปญั หาความขัดแย้งและ ด้านการพิจารณาผลที่ตามมาของความขัดแย้งแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และด้าน

ปีที่ 6 ฉบับท่ี 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 90 การศึกษาเหตุแห่งความขัดแย้งแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ในขณะที่ด้านกลยุทธ์การ จดั การความขัดแย้งไมแ่ ตกตา่ งกนั ตอนท่ี 3 ปญั หา ขอ้ เสนอแนะ และแนวทางการจดั การความขดั แยง้ ในสถานศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน สังกัดสานักงาน เขตพื้นท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 2 ปัญหาความขัดแย้งในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 พบปัญหาเกี่ยวกับการขาดแคลนอัตรากาลังตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา การเปลี่ยนแปลงนโยบายของ กระทรวงศึกษาธิการ และการผลักภาระงาน การสื่อสารในการปฏิบัติงานท่ีคลาดเคลื่อน ลักษณะนิสัย และมี ความคิดเห็นในการปฏิบัติงานที่แตกต่างกัน สถานศึกษาเลือกใช้กลยุทธ์หรือวิธีการแก้ปัญหาโดยการกาหนด ข้อตกลงหรือแนวปฏิบัติท่ีชัดเจน การแสดงความคิดเห็นแบบมีส่วนร่วม และการตัดสินใจแก้ปัญหาอย่าง รวดเร็วเพ่อื ลดความขัดแย้ง และพบผลที่เกดิ ข้ึนตามมาจากความขัดแยง้ และพบผลท่ีตามมากลยุทธห์ รอื วิธีการ แก้ปัญหาโดยการกาหนดข้อตกลงหรือแนวปฏิบัติท่ีชัดเจน การแสดงความคิดเห็นแบบมีส่วนร่วม และการ ตดั สนิ ใจแก้ปญั หาอย่างรวดเร็วเพ่ือลดความขัดแย้ง และพบผลที่เกดิ ขึ้นตามมาในการจดั การความขัดแย้ง ซง่ึ มี ผลทั้งทางบวกและทางลบ ผลทางบวก ได้แก่ องค์กรเกิดการเปลี่ยนแปลง พัฒนา บรรลุเป้าหมายที่วางไว้ บุคลากรเกิดความสามัคคี และมีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงานมากขึ้น ส่วนผลทางลบ ได้แก่ บุคลากร ขาดกาลังใจในการปฏิบตั งิ าน เสยี เวลาในการแก้ปัญหา และมีบรรยากาศไม่เอ้อื ในการปฏิบตั ิงาน ขอ้ เสนอแนะการจดั การความขัดแย้งในสถานศึกษาขั้นพ้นื ฐาน สงั กดั สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 2 พบว่า ควรมีการแต่งต้ังรักษาการในตาแหน่งรองผู้อานวยการ การประชุมแจ้งนโยบายที่ชัดเจนและ ร่วมกันเสนอแนวทางสู่การปฏิบัติ การออกคาส่ังในการปฏิบัติหน้าท่ีที่ชัดเจน การส่ือสารกันโดยตรงกับผู้ท่ี เก่ียวข้องเพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาด การรู้จักแยกแยะเรื่องส่วนตัวและเร่ืองการปฏิบัติงาน การรับฟังความ คิดเห็นท่ีแตกต่าง บุคลากรต้องตระหนักในบทบาทหน้าที่ท่ีได้รับมอบหมาย การเปิดโอกาสให้ทุกคนแสดง ความคิดเห็นและมีส่วนร่วมในการพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายที่วางไว้ และควรจัดกิจกรรมท่ี สร้างสรรคใ์ ห้ทกุ คนมีส่วนร่วมบ่อย ๆ จัดกิจกรรมที่สร้างแรงจงู ใจในการปฏิบตั งิ าน เพือ่ ใหส้ ถานศกึ ษาเกิดการ พัฒนาและเปน็ ทยี่ อมรบั ของบคุ คลภายนอก แนวทางการจัดการความขัดแย้งในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มธั ยมศกึ ษา เขต 2 พบวา่ การจดั การความขดั แยง้ แบบประนีประนอม เพอื่ ลดความขัดแย้งหรือยุตปิ ญั หาความ ขัดแย้ง การจัดการความขัดแย้งแบบอ่ืน ๆ ตามความเหมาะสมเพ่ือรักษาภาพลักษณ์และชื่อเสียงของ สถานศกึ ษา 7. อภปิ รายผล 1. จากการวิจัยคร้ังนี้พบว่า การจัดการความขัดแย้งจากการรับรู้หรือการปฏิบัติในสถานศึกษาขั้น พ้ืนฐาน สงั กัดสานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 2 ในภาพรวมอยู่ในระดบั ปานกลาง พบว่า ดา้ นกล ยุทธ์การจัดการความขัดแย้ง มีการรับรู้หรือการปฏิบัติอยู่ในระดับมากที่สุด และด้านการศึกษาเหตุแห่งความ

ปีท่ี 6 ฉบับที่ 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 91 ขดั แย้ง มีการรบั รู้หรอื การปฏบิ ัตอิ ยูใ่ นระดบั น้อยทส่ี ดุ แสดงใหเ้ ห็นวา่ การจัดการความขัดแย้งในสถานศึกษาขั้น พื้นฐาน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 ให้ความสาคัญด้านกลยุทธ์ การจัดการความ ขัดแย้งมากท่ีสุด เก่ียวกับการส่งเสริมครูและบุคลากรให้ใช้ทักษะการปฏิบัติงานเพ่ือมุ่งสู่ความเป็นเลิศของ สถานศึกษา การสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานแก่ครูและบุคลากรเพื่อให้เกิดการแข่งขันในการสร้างผลงาน การกาหนดเป้าหมายและแนวปฏิบัติในการทางานของครูและบุคลากรไว้ชัดเจน ทั้งน้ีสถานศึกษาจะเกิดการ เปลย่ี นแปลงอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพหรอื ลม้ เหลว นอกจากสถานศกึ ษามีผู้บริหารหรอื ผู้นาทมี่ คี วามรู้ความสามารถ และประสบการณ์แล้ว ยังต้องมีทักษะด้านกลยุทธ์หรือวิธีการจัดการความขัดแย้งเป็นอย่างดี เมื่อเกิดปัญหา ความขัดแยง้ ขึน้ ในสถานศึกษาสามารถตัดสนิ ใจเลอื กใช้กลยุทธ์หรอื วธิ ีการแกป้ ัญหาท่เี หมาะสมกับสภาวะการณ์ ต่าง ๆ เพื่อยุติปัญหาหรือส่งผลกระทบต่อท้ังสองฝ่ายน้อยท่ีสุดหรอื สถานศึกษาท่ีมีระดับความความขัดแย้งต่า หรือน้อยสามารถใช้กลยุทธ์กระตุ้นให้เกิดความขัดแย้งให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม เพ่ือให้สถานศึกษาเกิดการ เปล่ียนแปลงอย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุเป้าหมายท่ีวางไว้ ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของรังสรรค์ เหมันต์ (2546, บทคัดย่อ) ได้ศึกษาการจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสานักงานการประถมศึกษา อาเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และวิธีการที่ผู้บริหารโรงเรียน เลอื กใชใ้ นการจัดการความขัดแยง้ มากท่ีสุดเรียงตามลาดับคือ วธิ ีประนีประนอม วิธไี กลเ่ กลย่ี วิธเี ผชญิ หน้า วิธี หลกี เล่ียง และวธิ ีการบังคับ ซึง่ ใหค้ วามสาคัญดา้ นกลยทุ ธก์ ารจดั การความขดั แยง้ ประเด็นด้านการศึกษาเหตุแห่งความขัดแย้งในสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มัธยมศึกษา เขต 2 ให้ความสาคญั ในการจดั การความขัดแย้งน้อยทส่ี ุด ในเรือ่ งของครูและบุคลากรมีช่วงอายุ มี ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน และมีระดับการศึกษาแตกต่างกัน หากสถานศึกษาทุกแห่งมองว่าปัญหาหรือ ความขัดแย้งท่ีเกิดขึ้นไม่ว่าจะอยู่ในระดับใด หมายถึงการบริหารจัดการท่ีล้มเหลวของผู้บริหารหรือผู้นาท่ีไมม่ ี ประสิทธิภาพ ซ่ึงจะเห็นได้ว่าการเปลี่ยนแปลงท้ังภายในและภายนอกองค์กรไม่สามารถเกิดขึ้นได้ ถ้าขาดการ บริหารจัดการท่ีดีและทักษะการบริหารท่ีดีของผู้บริหารองค์กร ดังน้ัน การจัดการท่ีดีและมีประสิทธิภาพของ ผู้บริหารองค์กรจึงเป็นส่ิงสาคัญต่อความก้าวหนา้ และบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ ซ่ึงสอดคล้องกับผลการวิจัยของ จุฑามาศ รุจิรตานนท์ (2547, บทคัดย่อ) ได้ศึกษาสาเหตุของความขัดแย้งและวิธีการจัดการกับความขัดแย้ง ของผ้บู ริหารสถานศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ช่วงชนั้ ที่ 1-2 สงั กดั สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาสพุ รรณบุรี พบวา่ สาเหตุ ของความขัดแย้งหากพิจารณาตามองค์ประกอบใหญ่ ๆ องค์ประกอบส่วนบุคคลเป็นสาเหตุของความขัดแย้ง อันดับที่ 1 รองลงมาไดแ้ ก่ ปฏิสัมพันธใ์ นการทางาน และสาเหตุของความขัดแยง้ อนั ดับสุดท้าย 2. จากการวิจัยคร้ังน้ีพบว่า การจัดการความขัดแย้งจากการรับรู้หรือการปฏิบัติในสถานศึกษาขั้น พื้นฐาน สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 ตามระดับความขัดแย้งสูงหรือมากและปาน กลางและระดับความขดั แยง้ ต่าหรอื น้อย พบวา่ ในภาพรวมและรายด้านแตกต่างกนั อยา่ งมีนยั สาคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 ซ่ึงสอดคล้องกับผลการวิจัยของ (Hoover, 1991, p. 2942-A อ้างถึงใน สโรชิน โคตรโสภา, 2550, น. 65) ได้ศึกษาพฤติกรรมการแก้ปัญหาความขัดแย้งของผู้บริหารกบั บรรยากาศองค์กรในสถานศึกษาของรฐั แพนซิลวาเนยี ผลการวจิ ยั พบว่า ความขดั แยง้ ในองคก์ รระดับตา่ ผูบ้ รหิ ารจะใชว้ ิธีการแก้ปญั หาแบบยอมให้และ

ปีท่ี 6 ฉบับที่ 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 92 การประณีประนอม ส่วนความขัดแย้งในองค์กรระดับสูงผู้บริหารใช้แบบอานาจและการหลีกเล่ียง ซ่ึงเลือกใช้ วิธกี ารแกป้ ัญหาความขัดแยง้ แตกตา่ งกนั ตามระดับความขัดแยง้ ในสถานศึกษา 3. จากการวิจัยครั้งน้ีพบว่า การจัดการความขัดแย้งจากการรับรู้หรือการปฏิบัติในสถานศึกษาขั้น พ้นื ฐาน สังกัดสานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 2 ตามผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ (O- NET) สงู กว่าคา่ เฉล่ยี ระดบั ชาติและตา่ กว่าค่าเฉลย่ี ระดับชาติ พบวา่ ในภาพรวมไมแ่ ตกต่างกัน แตเ่ ม่อื พจิ ารณา รายดา้ น พบว่า ด้านการพจิ ารณาผลทต่ี ามมาของความขัดแย้งแตกต่างกนั อยา่ งมีนัยสาคัญทางสถติ ิท่รี ะดับ .01 และดา้ นการนยิ ามปัญหาความขัดแย้งแตกตา่ งกันอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิตทิ ่รี ะดบั .05 ในขณะทด่ี ้านการศกึ ษา เหตุแห่งความขัดแย้งและด้านกลยุทธ์การจัดการความขัดแย้งไม่แตกต่างกัน ซ่ึงสอดคล้องกับแบบรายงานผล การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) (2561, น. 44 - 46) ได้รายงานผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาตขิ นั้ พ้นื ฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2561 ของสานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 2 พบวา่ การจดั อันดับสถานศกึ ษาทม่ี ผี ลการทดสอบทางการศึกษาสงู กว่าค่าเฉลยี่ ระดบั ชาตแิ ละตา่ กว่าค่าเฉล่ีย ระดับชาติไม่ได้ส่งผลกระทบต่อการจัดการความขัดแย้งในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา มัธยมศึกษา เขต 2 แต่พบว่าเกิดจากพ้ืนความรเู้ ดิมของนักเรยี นมอี ิทธพิ ลต่อผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นอย่างเห็น ได้ชัด อีกตัวแปรหนึ่งท่ีมีอิทธิพลต่อผลการเรียน คือ แรงจูงใจ ครูผู้สอน ดังนั้นการที่จะยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นของผเู้ รยี นเกดิ จากพ้นื ความรู้เดมิ ของนกั เรียน แรงจูงใจ การพฒั นาครู พฒั นาการออกขอ้ สอบ ให้มีการวดั ผลที่สงู ขนึ้ ถงึ ขั้นวิเคราะห์ สงั เคราะห์ และประเมนิ คา่ ซ่ึงจะเปน็ ปจั จยั เสริมที่จะยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี น 4. จากการวิจัยคร้ังนี้พบว่า การจัดการความขัดแย้งจากการรับรู้หรือการปฏิบัติในสถานศึกษาขั้น พ้ืนฐาน สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 ตามขนาดของสถานศึกษา ในภาพรวมไม่ แตกต่างกัน แต่เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านการนิยามปัญหาความขัดแย้งและด้านการพิจารณาผลที่ ตามมาของความขัดแย้ง แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 และด้านการศึกษาเหตุแห่งความ ขัดแย้ง แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในขณะที่ด้านกลยุทธ์การจัดการความขัดแย้งไม่ แตกต่างกัน ซง่ึ สอดคล้องกับผลการวจิ ัยของสกุ ัญญา พรหมคณุ (2549, บทคดั ยอ่ ) ได้ศกึ ษาการแกป้ ญั หาความ ขดั แย้งในโรงเรยี นของผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา สงั กัดสานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาชลบรุ ี เขต 3 จาแนกตามจาแนก ตามขนาดโรงเรยี นระหวา่ งโรงเรียนขนาดเลก็ และโรงเรียนขนาดใหญ่ โดยรวมภาพไมแ่ ตกต่างกันและสอดคล้อง กับผลการวิจัยของสยุมพร ธาวิพัฒน์ (2550, บทคัดย่อ) ได้ศึกษาการจัดการความขัดแย้งในสถานศึกษาของ ผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาอุทัยธานี พบว่า สถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาอุทัยธานี ท่ีมีขนาดแตกต่างกันมีปัญหาความขัดแย้งระหว่างบุคคล ปัญหาความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม งาน ปัญหาความขัดแย้งระหว่างโรงเรียนกับบุคคลหรือหน่วยงาน แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ี ระดับ .05 5. ปัญหาความขัดแย้งในสถานศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 พบว่า ด้านการนิยามปัญหาความขัดแย้งมีปัญหามากที่สุด คือ การส่ือสารในการปฏิบัติงานที่คลาดเคล่ือน สภาพการณ์อยา่ งหน่งึ ทีน่ าไปสู่ความขัดแย้ง อาจไม่ไดเ้ กดิ จากการไมต่ ิดตอ่ สื่อสารกนั แต่เปน็ การด้อยคุณภาพ

ปที ี่ 6 ฉบบั ที่ 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 93 ของการสอ่ื สาร การส่อื สารท่นี ้อยเกนิ ไปหรือมากเกินไปกส็ ่งผลใหเ้ กิดความขัดแยง้ ขึ้นได้ รองลงมา คอื ลักษณะ นสิ ยั ทีแ่ ตกต่างกันในการปฏบิ ัติงาน ควรรูจ้ ักแยกแยะเรื่องส่วนตัวและเรอื่ งการปฏบิ ัตงิ าน และความคิดเห็นใน การปฏบิ ตั ิงานทแ่ี ตกต่างกัน และพบผลท่ีเกิดขึ้นตามมาในการจัดการความขัดแยง้ ซึง่ มีทง้ั ทางบวกและทางลบ ผลทางบวก ได้แก่ องค์กรเกดิ การเปลี่ยนแปลง พฒั นา บรรลุเป้าหมายท่ีวางไว้ บคุ ลากรเกดิ ความสามคั คี และมี ความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงานมากข้ึน และผลทางลบได้แก่ บุคลากรขาดกาลังใจในการปฏิบัติงาน เสียเวลาในการแกป้ ัญหา และมีบรรยากาศไม่เอื้อในการปฏบิ ัติงาน ซึ่งสอดคล้องกับผลการวจิ ัยของสุรางค์ โล่ สัมฤทธ์ิชัย (2546, บทคัดย่อ) ได้ทาการวิจัยเร่ืองสาเหตุของความขัดแย้งและวิธีจัดการกับความขัดแย้งของ ผบู้ รหิ ารโรงเรยี นมัธยมศึกษาสังกัดกรมสามญั ศึกษาในเขตกรงุ เทพมหานคร พบวา่ สาเหตจุ ากสภาพขององค์กร ตามลาดับ แต่ถ้าพิจารณาสาเหตุของความขัดแย้งในข้อย่อย พบว่า สาเหตุที่พบมากได้แก่ ลักษณะนิสัยใจคอ และอารมณ์วิธีการทางาน ประสบการณ์ในชีวติ มนุษย์สัมพันธ์ของสมาชิกในองค์กร ความบกพร่องของระบบ การส่อื สาร และความไมช่ ัดเจนของโครงสรา้ งการบรหิ าร 6. ขอ้ เสนอแนะการจดั การความขัดแยง้ ในสถานศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน สงั กดั สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษา มัธยมศกึ ษา เขต 2 พบวา่ ด้านการพิจารณาผลท่ีตามมาของความขัดแย้งท่ีให้ความสาคัญมากท่ีสดุ คือ ควรจัด กิจกรรมที่สร้างสรรค์ให้ทุกคนมีส่วนร่วมบ่อย ๆ จัดกิจกรรมที่สร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน เพื่อให้ สถานศึกษาเกิดการพัฒนาและเป็นท่ียอมรับของบุคคลภายนอก ซ่ึงสอดคล้องกับผลการวิจัยของพิชญาภร ติ นิโส (2554) ได้ศึกษาเร่ืองพฤติกรรมการบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โรงเรียน มัธยมศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี จากการวิจัยมีข้อเสนอแนะดังนี้ 1) ผู้บริหารสถานศึกษาควรพัฒนาความรู้ เกี่ยวกับวธิ ีการบรหิ ารความขัดแย้งอย่างสรา้ งสรรค์และทนั สมยั ต่อเหตกุ ารณ์ปัจจุบันและสามารถเข้าถงึ ปัญหา ที่เกิดขึ้นอย่างจริง ๆ ไม่ปล่อยให้ความขัดแย้งเล็ก ๆ กลายเป็นความขัดแย้งท่ีไม่สามารถแก้ไขได้อีกจนทาให้ องค์กรแตกแยก 2) ผ้บู ริหารควรจัดใหม้ กี ารอบรม สมั มนา และสง่ เสริมให้บุคลากรในโรงเรียนมีความรู้ในเร่ือง ความขัดแยง้ ที่สร้างสรรค์ เพือ่ ให้การทางานทุกฝา่ ยมคี วามสามคั คปี รองดองกนั เพ่ือประโยชน์ขององคก์ ร 7. แนวทางการจัดการความขัดแย้งในสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา มัธยมศึกษา เขต 2 พบว่า จัดการความขัดแย้งแบบประนีประนอมเพ่ือลดความขัดแย้งหรือยุติปัญหาความ ขัดแย้ง ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของวัชรพล มนตรีภักดี (2550, บทคัดย่อ) ได้ศึกษาพฤติกรรมการบริหาร ความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษาเขตพ้ืนที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 1 ผลการศึกษาโดยภาพรวมผู้บริหาร สถานศกึ ษา มพี ฤตกิ รรมการบรหิ ารความขดั แยง้ มากทีส่ ดุ เปน็ แบบการประนปี ระนอมเพือ่ ลดความขัดแย้ง และ การจัดการความขัดแย้งแบบอื่น ๆ ตามความเหมาะสมท่ีจะส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์และช่ือเสียงของ สถานศึกษา สอดคล้องกับผลการวิจัยของวีรนุช สุทธพันธ์ (2550, บทคัดย่อ) ได้วิจัยเร่ือง การบริหารความ ขดั แยง้ ในการปฏิบัตงิ านของ ผู้บรหิ ารสถานศึกษาขั้นพนื้ ฐาน สงั กัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 ผลการวิจัย พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษาใช้วิธีการบริหารความขัดแย้งแบบประนีประนอมมากที่สุด รองลงมา คือไกลเ่ กลยี่ เผชิญหน้า หลีกเหล่ียง และวธิ บี ังคับ

ปีท่ี 6 ฉบบั ที่ 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 94 ขอ้ เสนอแนะ เพ่อื ใหผ้ ลการวิจยั ในครั้งนีม้ ปี ระโยชน์มากยิ่งข้นึ จงึ ควรมีการนาผลการวจิ ัย และมกี ารศึกษาเพิม่ เติมดงั ข้อเสนอแนะต่อไปนี้ 1. ควรศึกษาเก่ียวกับการจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษาท่ีส่งผลต่อประสิทธิผลของ สถานศกึ ษา 2. ควรศึกษาเก่ยี วกับการจัดการความขัดแยง้ ของผู้บรหิ ารสถานศึกษาที่สง่ ผลต่อการปฏิบตั ิงานของครู 3. ควรศึกษาเกย่ี วกบั การจดั การความขัดแย้งทสี่ ัมพนั ธ์กบั บรรยากาศของสถานศึกษา เอกสารอ้างอิง จฑุ ามาศ รจุ ริ ตานนท.์ (2547). การศกึ ษาสาเหตุของความขัดแย้งและวิธกี ารจัดการความขัดแยง้ ของผู้บริหาร สถานศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ช่วงชั้นที่ 1-2 สังกดั สานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาสพุ รรณบรุ ี (วทิ ยานพิ นธ์ ปรญิ ญาครุศาสตรมหาบัณฑติ ). กาญจนบุรี : มหาวิทยาลัยราชภฏั กาญจนบุร.ี พิชญาภร ตินิโส. (2555). พฤติกรรมการบริหารความขัดแยง้ ของผู้บรหิ ารสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานโรงเรยี น มธั ยมศกึ ษาจงั หวดั กาญจนบุรี (วิทยานิพนธป์ รญิ ญาครุศาสตรมหาบณั ทติ สาขาการบริหาร การศึกษา). กาญจนบุรี : มหาวิทยาลยั ราชภฏั กาญจนบรุ .ี รังสรรค์ เหมนั ต์. (2546). การจดั การความขัดแย้งของผู้บรหิ ารโรงเรียน สังกัดสานักงานการประถมศกึ ษา อาเภอนครชัยศรี จงั หวัดนครปฐม (สารนพิ นธป์ รญิ ญาศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑิต). นครปฐม : มหาวทิ ยาลัยศิลปากร. วัชรพล มนตรภี กั ด.ี (2550). พฤติกรรมความขัดแย้งของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา เขตพื้นท่กี ารศึกษา เชียงใหม่ เขต 1 (ปริญญาศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต). เชยี งใหม่ : มหาวิทยาลยั เชยี งใหม.่ วีรนชุ สทุ ธพนั ธ์. (2550). การบริหารความขัดแย้งในการปฏบิ ตั งิ านของผู้บริหารสถานศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน สังกัดสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 (วิทยานพิ นธ์ปริญญามหาบัณฑติ การบริหาร การศึกษา). ฉะเชงิ เทรา : มหาวิทยาลยั ราชภัฏราชนครนิ ทร์. สยุมพร ธาวิพัฒน์. (2550). การศึกษาการจัดการความขดั แยง้ ในสถานศึกษาของผูบ้ ริหารโรงเรียน สังกัดสานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาอุทยั ธานี (วิทยานพิ นธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑติ ). นครสวรรค์ : มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครสวรรค์. สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 2. (2561). รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้น พน้ื ฐาน(O-NET) 2561 สืบค้น 19 มีนาคม 2563, จาก htttp://www.secondary2.obec.go.th สกุ ัญญา พรหมคุณ. (2549). ศึกษาการแกป้ ญั หาความขดั แยง้ ในโรงเรียนของผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาสังกัด สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาชลบุรี เขต 3 (วิทยานพิ นธป์ รญิ ญาครุศาสตรมหาบัณฑติ ). ชลบุรี : มหาวทิ ยาลัยบรู พา. สุรางค์ โล่สมั ฤทธช์ิ ัย. (2546). สาเหตุของความขัดแยง้ และวิธีจัดการกบั ความขัดแย้งของผู้บรหิ ารโรงเรียน มธั ยมศกึ ษา สงั กดั กรมสามญั ศกึ ษาในเขตกรุงเทพมหานคร (ปริญญาการศึกษามหาบัณฑติ สาขาการ

ปีที่ 6 ฉบับท่ี 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 95 บรหิ ารการศึกษา). กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ. เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. ( 2534). การบริหารเพ่อื ความสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ : ตะเกียง. Hoover, D., R. (1991). Relationship among perception’s of principals conflict management behaviors, levels of conflict and organization climate in high school. Dissertation Abstracts International, 51(9), 2942-A

ปที ี่ 6 ฉบบั ที่ 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 96 การปฏบิ ัติตามจรรยาบรรณวชิ าชีพครูในสถานศึกษาเอกชนสายสามัญควบคู่ศาสนาอิสลาม กรุงเทพมหานคร The Performance of Professional Ethics for Teachers in Ordinary Schools Coupled With Islam In Bangkok มานิดา วงษส์ นั ต์* Manida Wongsan* นกั รบ หม้แี สน** Nukrob Meesan** บทคดั ย่อ การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาสภาพการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพครูและเปรียบเทียบ ความคิดเห็นการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพครูในสถานศึกษาเอกชนสายสามัญควบคู่ศาสนาอิสลาม กรุงเทพมหานคร โดยจาแนกตามเพศ อายุ สาขาที่สาเร็จการศึกษา ประสบการณ์การทางาน กลุ่มวิชาท่ีสอน และศาสนาที่นบั ถอื และเพื่อศกึ ษาปัญหาและแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาปฏิบัตติ ามจรรยาบรรณวิชาชีพ ครูในสถานศึกษาเอกชนสายสามัญควบคู่ศาสนาอิสลาม กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูใน สถานศึกษาเอกชนสายสามัญควบคู่ศาสนาอิสลาม กรุงเทพมหานครจานวน 206 คน เคร่ืองมือท่ีใช้ในการ รวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ ผลการวิจัย พบว่า สภาพการปฏิบัติตามจรรยาบรรณ วชิ าชีพครูในสถานศกึ ษาเอกชนสายสามญั ควบคู่ศาสนาอิสลาม กรงุ เทพมหานคร จรรยาบรรณวิชาชีพครูทัง้ 5 ด้านและโดยภาพรวมอยู่ในระดบั มาก สว่ นผลการเปรียบเทยี บความคดิ เหน็ เกยี่ วกับการปฏบิ ตั ิตามจรรยาบรรณ วิชาชีพครูในสถานศึกษาเอกชน สายสามัญควบคู่ศาสนาอิสลาม กรุงเทพมหานคร เกี่ยวกับสถานภาพท่ัวไป พบว่า เพศต่างกัน การปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพครูโดยรวมมีความคิดเห็นแตกต่างกันเป็นไปตาม สมมติฐาน ส่วนอายุ สาขาท่ีสาเร็จการศึกษา ประสบการณ์การทางาน กลุ่มวิชาที่สอน และศาสนาที่นับถือ ต่างกัน การปฏิบัติตามจรรยาบรรณวชิ าชีพครูโดยรวมและรายด้านทั้ง 5 ด้านมีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน ซึ่ง ไม่เป็นไปตามสมมติฐาน ปัญหาของการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู พบว่า มีปัญหาทางการเงิน ขาด ความภาคภูมิใจในวิชาชีพ ครไู ม่มีความเมตตาตอ่ ศิษย์และการให้บรกิ ารตอ่ ผู้ปกครองให้เสมอภาคและเท่เทียม กัน เป็นต้น และผลการวิเคราะห์แบบสัมภาษณ์เก่ียวกับการปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพของครูดีเด่น พบว่า ครดู เี ดน่ จะมกี ารปฏิบตั ิตนเปน็ แบบอย่างที่ดแี ก่ผ้อู ่นื ทงั้ เรอื่ งคณุ ธรรม จริยธรรม ตลอดจนการปฏิบัติตน ตามหลักศาสนาอยา่ งเครง่ ครดั คำสำคัญ : จรรยาบรรณวิชาชีพครู สถานศึกษาเอกชนสายสามัญควบคู่ศาสนาอสิ ลาม * นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวชิ าการจดั การการศกึ ษา วิทยาลัยครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธรุ กิจบัณฑิตย์ E-mail Address : [email protected] ** ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ประจาสาขาวิชาการจดั การการศกึ ษา วิทยาลยั ครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกจิ บัณฑติ ย์ E-mail Address : [email protected]

ปีท่ี 6 ฉบบั ที่ 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 97 Abstract The purpose of this research were to study and to compare the performance of professional ethics for teachers in ordinary schools coupled with islam in Bangkok, sorted by gender, age, education, experience of teaching, subject of teaching and religion. Also, another purpose of this research was to study about the problem and the improving method of development the performance of professional ethics for teachers in ordinary schools coupled with islam in Bangkok. The samples of this research were 206 teachers of ordinary schools coupled with islam in Bangkok. The research tools for collecting information comprised questionnaire and interview. According to the research, it can be concluded by these following; The overall result of the performance of professional ethics for teachers in ordinary schools coupled with islam in Bangkok was high level. The comparison of the the performance of professional ethics for teachers in ordinary schools coupled with islam in Bangkok, sorted by gender different the performance of professional ethics for teachers. Also, in terms of age, education, experience of teaching, subject of teaching and religion, showed that the overall result and the individual part of the performance of professional ethics were not different; the results were not based on the hypothesis. The problem according to research was financial problems. Moreover, the lack of professional pride, teachers do not have compassion students and services to parents equally etc. The analysis of the interview about the the performance of professional ethics in outstanding teachers showed outstanding teachers had a good role model for others including morality, ethics, and strict religious practices. Keywords : Professional Ethics In Teachers / Ordinary Schools Coupled With Islam บทนำ พระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร กล่าวถึงครมู ใี จความสาคญั ประการหน่ึงว่า ครเู ปน็ ผ้ทู ่มี ีความสาคญั อย่างย่งิ ตอ่ การพฒั นาสตปิ ัญญาของเยาวชน ในชาติ ครูเป็นบุคคลท่ีสาคัญและมีความหมายอย่างมากต่อกระบวนการให้การศึกษา (สิทธิชัย จันทานนท์, 2554) ปัจจุบันการเปล่ียนแปลงในสังคมไทยที่มีผลกระทบมาจากการพัฒนาที่ก้าวหน้าเข้าสู่ยุคสมัยโลกาภิ วัตน์ ทาให้ขอบข่ายของการศึกษา ค้นคว้า แสวงหาถ่ายทอดความรู้และการเรียนรู้เป็นไปอย่างกว้างขวาง รวดเรว็ โดยการเรียนรศู้ าสตรต์ า่ งๆ นน้ั นาไปส่กู ารปรับตวั และการเปลีย่ นแปลงทางด้านการศึกษาโดยภาพรวม ให้มีการพัฒนาเท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงใหม่ๆท่ีเกิดข้ึน เพื่อให้การพัฒนาเป็นไปอย่างย่ังยืนและมีคุณภาพ ดังน้ันจึงจาเปน็ ต้องมีการส่งเสริมการเรียนรู้อย่างต่อเน่อื งเพื่อพฒั นาคุณภาพและขีดความสามารถของคนสว่ น ใหญ่ภายในประเทศอย่างมีประสิทธภิ าพ โดยเฉพาะครูคณาจารย์ซง่ึ เป็นปัจจยั ที่สาคญั ยิ่งตอ่ การพฒั นาคุณภาพ และมาตรฐานการศกึ ษา ถึงแม้ปจั จุบันจะมีวิกฤตเก่ียวกบั ครนู านัปการ เชน่ ในกรณมี คี ลิปวิดโี อในโลกออนไลน์ ของครโู รงเรียนขยายโอกาส ตาบลยาง อาเภอศขี รภูมิ จงั หวัดสรุ ินทร์ ไดม้ ีการตอ่ วา่ นกั เรียนชายแล้วเดนิ ไปดึง ใบหูและใช้ฝ่ามือตบบ้องหู ซ่ึงเป็นการลงโทษนักเรียนเกนิ กวา่ เหตุ (สานักข่าวทีนวิ ส์, 2562) ซึ่งแสดงให้เห็นว่า

ปีท่ี 6 ฉบบั ท่ี 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 98 ครทู า่ นน้ีขาดจรรยาบรรณท้งั 5 ดา้ น ได้แก่ จรรยาบรรณตอ่ ตนเอง วชิ าชพี ผรู้ บั บริการ ผ้รู ่วมประกอบวิชาชีพ และสังคม จรรยาบรรณวิชาชีพครู เป็นกฎแหง่ ความประพฤติสาหรับสมาชกิ วิชาชีพครู ซ่ึงองคก์ รวิชาชพี ครูเป็นผู้ กาหนดและสมาชิกในวิชาชีพทุกคนต้องถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด หากมีการละเมิดหรือไม่ปฏิบัติตามจะมีการ ลงโทษ โดยจรรยาบรรณวิชาชีพครนู ัน้ มีความสาคญั ทง้ั หมด 3 ประการ ดังนี้ ปกปอ้ งการปฏิบัตงิ านของสมาชิก ในวชิ าชีพ รกั ษามาตรฐานวชิ าชพี และพัฒนาวชิ าชีพ (พฤทธิ์ ศริ ิบรรณพิทักษ์, 2556) ซ่ึงจรรยาบรรณวิชาชีพ ครูมีความสาคญั ต่อครู เนอ่ื งจากเปน็ แบบแผนการประพฤตเิ พือ่ ให้ครูปฏบิ ตั ิตามและกาหนดลกั ษณะพงึ ประสงค์ ของครู สถานศึกษาเอกชนสายสามัญควบคู่ศาสนาอิสลาม เป็นการจัดการศึกษาแบบบูรณาการท่ีผสมผสาน ระหว่างการเรียนวิชาสามัญกับการศึกษาศาสนาควบคู่กันไป โดยผู้เรียนได้ศึกษาวิชาสามัญและยังได้รับ การศึกษาทางดา้ นศาสนาซง่ึ อยภู่ ายใต้สภาพแวดลอ้ มที่สอดคลอ้ งกบั หลกั ศาสนาอิสลาม ถือเปน็ การสรา้ งความ สมดุลในความรู้ท้ังทางโลกและทางธรรม จากความคาดหวังของสังคมและบุคลากรหลายระดับท่ีหวังให้ครูมี บทบาทหน้าท่ีที่สาคัญและมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เพ่ือเป็นแบบอย่างและเป็นกลไกสาคัญในการพัฒนา พลเมืองและประเทศชาติให้มีความเจริญก้าวหน้าทัดเทียมอารยะประเทศท้ังทางด้านคุณธรรมความรู้และ ความสามารถต่างๆ (ซิดดิก อาลี และดลมนรรจน์ บากา, 2555) นอกจากน้ีผ้วู ิจัยได้สงั เกตการปฏิบัติตนในสถานศกึ ษาเอกชนสายสามัญควบคู่ศาสนาอิสลามพบปัญหา ที่สาคัญ ได้แก่ การที่โรงเรียนมีการเปล่ียนแปลงครูผู้สอนกลางภาคเรียนกระทันหันส่งผลต่อจรรยาบรรณ วิชาชีพครูด้านจรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ เนื่องจากผู้รับบริการขาดการเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองและขาดความ เข้าใจในเน้ือหาการเรยี น ทีเ่ กิดจากการเปลีย่ นแปลงครผู สู้ อน และการเปล่ยี นแปลงครูผสู้ อนยงั สง่ ผลกระทบต่อ จรรยาบรรณวิชาชีพครูด้านจรรยาบรรณต่อตนเองทางด้านการเรยี นการสอนและการแสวงหาความรูเ้ พ่ิมเติม เพอ่ื พัฒนาศกั ยภาพของตนเอง นอกจากน้ีสถานศึกษาเอกชนสายสามัญควบคู่ศาสนาอิสลามยงั มีปัญหาการที่ ครทู าโทษผ้รู ับบรกิ ารในพน้ื ท่สี าธารณะสง่ ผลใหผ้ ้รู ับบริการเกิดความอับอายจนไมอ่ ยากมาโรงเรียน และการรับ บุคลากรเป็นชาวต่างชาติเขา้ มาสอนในโรงเรียนที่สะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงจรรยาบรรณวชิ าชีพครูด้านจรรยาบรรณต่อผู้ ร่วมประกอบวิชาชีพในเร่ืองวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน ได้แก่ การส่ือสาร มารยาท การอยู่ร่วมกับผู้อื่น และการ ดาเนินชีวิตท่ีส่งผลกระทบต่อการอยู่ร่วมกันของบุคลากรอื่นๆในองค์กร และยังส่งผลกระทบต่อผู้รับบริการ ไดแ้ ก่ การสอนพฤติกรรมและการสอ่ื สารท่ีไม่เหมาะสมใหก้ ับผรู้ ับบริการด้วย จากเหตุผลดังกลา่ ว ผวู้ ิจยั มคี วามสนใจทจ่ี ะศึกษาการปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณวชิ าชีพครใู นสถานศึกษา เอกชนสายสามัญควบคู่ศาสนาอิสลามในกรุงเทพมหานคร เพอื่ ให้ผเู้ ก่ียวขอ้ งนาขอ้ มูลท่ีไดไ้ ปใช้เปน็ แนวทางใน การปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาครูให้ได้ตามมาตรฐานทั้งด้านการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตน ซ่ึงเป็นปัจจัย สาคัญต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้มีมาตรฐานและพัฒนาวิชาชีพครูตามจรรยาบรรณวิชาชีพให้เป็น วิชาชีพช้ันสูงท่ีไดร้ ับการยกย่อง มีเกียรติในสังคม และเป็นหลักประกันใหก้ ับผู้เรียนว่าจะได้รบั ประโยชนส์ ูงสุด จากการให้บริการทางการศกึ ษาของครู

ปที ี่ 6 ฉบบั ท่ี 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 99 วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือศึกษาสภาพการปฏบิ ัตติ ามจรรยาบรรณวชิ าชพี ครูในสถานศกึ ษาเอกชนสายสามัญควบคศู่ าสนา อสิ ลาม กรุงเทพมหานคร 2. เพื่อเปรยี บเทยี บความคดิ เหน็ การปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพครใู นสถานศกึ ษาเอกชนสายสามญั ควบคู่ศาสนาอิสลาม กรุงเทพมหานคร โดยจาแนกตามเพศ อายุ สาขาที่สาเร็จการศึกษา ประสบการณ์การ ทางาน กลุ่มวชิ าทส่ี อนและศาสนาท่นี ับถือตา่ งกัน 3. เพอ่ื ศึกษาปัญหาและแนวทางในการส่งเสริมและพฒั นาปฏบิ ตั ติ ามจรรยาบรรณวชิ าชพี ครใู น สถานศกึ ษาเอกชนสายสามัญควบคศู่ าสนาอิสลาม กรุงเทพมหานคร วธิ ดี ำเนินกำรวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง ประชากรท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังน้ี คือ ครูในสถานศึกษาเอกชนสายสามัญควบคู่ศาสนาอิสลาม กรุงเทพมหานคร จานวน 441 คน (สมชาย วรกิจเกษมสกลุ , 2554, น. 175) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งน้ี คือ ครูในสถานศึกษาเอกชนสายสามัญควบคู่ศาสนาอิสลาม กรุงเทพมหานคร จานวน 206 คน โดยเลือกจานวนกลุ่มตัวอยา่ งจากตารางสูตรเครจซีแ่ ละมอร์แกน (Krejcie and Morgan) และใชว้ ิธีการสมุ่ แบบงา่ ย (Simple random sampling) ดังนี้ 2. เครื่องมอื ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั และการตรวจสอบคณุ ภาพเครื่องมือ เครือ่ งมอื ที่ใช้ในการวิจัย ไดแ้ ก่ 2.1 แบบสอบถาม ตอนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลพ้ืนฐาน สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ อายุ สาขาที่ สาเร็จการศกึ ษา ประสบการณก์ ารทางาน กลุ่มวิชาท่สี อนและศาสนาที่นับถอื ของครูในสถานศกึ ษาเอกชนสาย สามัญควบคศู่ าสนาอิสลาม กรงุ เทพมหานคร ตอนที่ 2 แบบสอบถามความคิดเห็นเก่ียวกบั การปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพครูทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ จรรยาบรรณต่อตนเอง จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบ วิชาชีพ และจรรยาบรรณต่อสังคมในสถานศึกษาเอกชนสายสามัญควบคู่ศาสนาอิสลามในกรุงเทพมหานคร ลกั ษณะคาถามเป็นแบบมาตรประมาณค่า (Rating Scale) จานวน 36 ข้อ ตอนท่ี 3 แบบสอบถามแสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระเกี่ยวกับปัญหา ข้อเสนอแนะแนวทางการ ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพครูในสถานศึกษาเอกชนสายสามัญควบคู่ศาสนาอิสลาม กรุงเทพมหานคร ลักษณะแบบสอบถามเปน็ แบบปลายเปิด (open ended) 2.2 แบบสัมภาษณ์ เป็นแบบสัมภาษณ์ครูในสถานศึกษาเอกชนสายสามัญควบคู่ศาสนาอิสลาม กรุงเทพมหานครที่มีจรรยาบรรณวิชาชีพครูท้ัง 5 ด้าน ได้แก่ จรรยาบรรณต่อตนเอง จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ และจรรยาบรรณต่อสังคมต้องปฏิบัติตน อย่างไร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook