Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่1 เครื่องมือในการศึกษาภูมิศาสตร์

หน่วยที่1 เครื่องมือในการศึกษาภูมิศาสตร์

Published by kingmanee2614, 2021-02-04 03:42:24

Description: หน่วยที่1 เครื่องมือในการศึกษาภูมิศาสตร์

Search

Read the Text Version

กลอ้ งสามมิติ (Mirror Steroscope) และกลอ้ ง สามมิตแิ บบพกพา (Pocket Steroscope) ใช้ สาํ หรบั มองภาพสามมิติ จากรูปถา่ ยทางอากาศ

เครอ่ื งยอ่ ขยายแผนที่ (Pantograph) ใชส้ าํ หรบั ยอ่ หรอื ขยายแผนทใ่ี หไ้ ดข้ นาดหรอื มาตราสว่ นตามที่ ตอ้ งการ

เครอ่ื งมือวดั พ้นื ท่ี (Planimeter) มลี กั ษณะคลา้ ยไม้ บรรทดั ทาํ ดว้ ยโลหะยาวประมาณ 1 ฟตุ ใชส้ าํ หรบั วดั พ้ืนที่ ในแผนท่ี โดยเครอื่ งจะคาํ นวณใหท้ ราบคา่ ของพ้ืนทแ่ี สดง คา่ บนหนา้ ปัด

เรอื่ งนา่ รู้ “เข็มทศิ แรกของโลก” ประวตั ศิ าสตรข์ องโลกบนั ทึกไวว้ ่า โคลมั บสั คอื นกั เดนิ เรอื คนแรกท่ีแล่นเรอื ไปทวั่ โลกจนไดค้ น้ พบทวีป อเมรกิ า แต่ก่อนหนา้ นนั้ 70 ปี \"เจ้งิ เหอ\" นกั เดนิ เรอื ชาว จนี นาํ กองเรอื ขนาดใหญ่ออ้ มไปครง่ึ โลกมาแลว้ สมยั แรกคนจนี ใชเ้ ขม็ แม่เหลก็ ตดิ ไวบ้ นรถสรา้ ง “รถช้ที ศิ ” เพอ่ื ใชใ้ นการสงครามหรอื ใชเ้ ป็ นเครอ่ื งมอื หาทิศทางเวลาอยู่ในป่ าลกึ หรอื ภูเขา 54

เรอื่ งนา่ รู้ “เข็มทศิ แรกของโลก” ศตวรรษท่ี 12 ในบนั ทกึ ชอื่ ผงิ โจวเข่อถาน บนั ทึกไวว้ ่า ในคนื แรม ทหารเรอื ไดใ้ ชเ้ ขม็ ทศิ หนา้ ปัด กลมจาํ แนกทิศทาง ต่อมา เจ้งิ เหอไดน้ าํ มาใชใ้ นการ เดนิ ทางตงั้ แต่ปี ค.ศ. 1405 เดนิ ทางไปถงึ อาหรบั และ แอฟรกิ าตะวนั ออกไปกลบั 7 ครง้ั รวมเวลาได้ 28 ปี ชาวอติ าเลยี นใชเ้ ขม็ ทศิ ในศตวรรษท่ี 14 จนี จงึ ใช้ เขม็ ทศิ เรว็ กว่าอติ าลอี ย่างนอ้ ยสองศตวรรษ 55

เรอื่ งนา่ รู้ “เข็มทศิ แรกของโลก” แมช้ าวจนี จะเป็ นผูค้ ดิ คน้ เขม็ ทิศแม่เหลก็ แต่ผูพ้ ฒั นาการใชใ้ นทะเลกค็ อื ชาวอาหรบั ท่นี าํ ความรจู้ าก 2 ชาติมาเขยี นแผนที่ทางทะเล ซงึ่ บาง ช้นิ ยงั อยู่รอดมาจนถงึ ปัจจบุ นั และอาจทาํ ใหก้ าร แล่นเรอื เลยี บชายฝั่งจากจนี ไปแอฟรกิ าไม่ไกลเกนิ เอ้อื ม 56

เครอ่ื งมือทางภมู ิอากาศ เป็นเครอื่ งมือวดั ความกดอากาศทน่ี ิยมใชม้ อี ยู่ 3 ชนิด บารอมิเตอร์ (barometer) บารอมเิ ตอร์แบบปรอท เป็ นบารอมเิ ตอร์ มาตรฐานทใี่ ชโ้ ดยทว่ั ไป มหี น่วยเป็ น มลิ ลิเมตรของปรอทหรอื มลิ ลิบาร์ 57

บารอมเิ ตอร์แบบตลบั ประกอบดว้ ยโลหะบาง ๆ ที่ สบู อากาศออกเกือบหมดตรงกลางตลบั มสี ปรงิ ตอ่ ไป ยงั คานและเข็มช้ี เมอื่ ความกดอากาศเปล่ยี นแปลง ตลบั โลหะจะพองหรอื แฟบลง ทาํ ใหส้ ปรงิ ดงึ เข็มช้ที ี่ หนา้ ปัด 58

บารอมิเตอรแ์ บบบารอกราฟ ใชห้ ลกั การเดยี วกบั บารอมเิ ตอรแ์ บบตลบั แตต่ อ่ แขนปากกาใหไ้ ปขีดบน กระดาษกราฟทห่ี ุม้ กระบอกหมุนทห่ี มนุ ดว้ ยนาฬกิ า จงึ บนั ทกึ ความกดอากาศไดอ้ ยา่ งตอ่ เนื่อง 59

เครอ่ื งมือทางภมู ิอากาศ เทอรโ์ มมิเตอรเ์ ป็ นเครอื่ งมือวดั อณุ หภมู ิที่ใชโ้ ดยทว่ั ไปมีดงั น้ี เทอรโ์ มมิเตอร์ (thermometer) เทอร์โมมเิ ตอร์แบบธรรมดา ใชต้ รวจวดั อุณหภมู ิ ประจาํ วนั วดั อุณหภมู ติ งั้ แต่ -20 ถึง 50 องศาเซลเซยี ส 60

เครอ่ื งมือทางภมู ิอากาศ เทอรโ์ มมิเตอร์ (thermometer) เทอรโ์ มมเิ ตอรส์ ูงสดุ มีปรอทบรรจใุ นหลอดแกว้ ตา่ งจาก เทอรโ์ มมเิ ตอรแ์ บบธรรมดาตรงทม่ี บี รเิ วณลาํ เทอรโ์ มมิเตอร์ เหนือกระเปาะบรรจปุ รอทข้นึ มาเล็กนอ้ ยจะเป็นคอคอดเพื่อ ป้ องกนั ปรอททขี่ ยายตวั และไหลกลบั ลงกระเปาะ ใชว้ ดั อุณหภูมสิ งู สดุ คอคอดกนั ปรอทไหลกลบั กระเปาะ 61

เครอ่ื งมือทางภมู ิอากาศ เทอรโ์ มมิเตอร์ (thermometer) เทอรโ์ มมเิ ตอรต์ ่าํ สดุ เป็นชนิดเอทแิ อลกอฮอลบ์ รรจใุ น หลอดแกว้ มกี า้ นช้โี ลหะรูปดมั บเ์ บลลย์ าวประมาณ 2 เซนตเิ มตรบรรจอุ ยู่ ใชว้ ดั อุณหภูมติ าํ่ สดุ กา้ นช้โี ลหะรูปดมั บเ์ บลล์ 62

เครอ่ื งมือทางภมู ิอากาศ เทอรโ์ มมิเตอร์ (thermometer) เทอรโ์ มมิเตอรแ์ บบซกิ ซ์ เป็ นหลอดแกว้ รูปตวั ยภู ายในบรรจปุ รอทและ แอลกอฮอล์ มกี า้ นโลหะรูปดมั บเ์ บลลอ์ ยใู่ นหลอดขา้ งละ 1 อนั หลอดทาง ดา้ นซา้ ยบอกอณุ หภมู ติ าํ่ สุด ดา้ นขวาบอกอุณหภมู สิ งู สุด กระเปาะแอลกอฮอล์ สญู ญากาศ กา้ นชโี้ ลหะ กา้ นชโี้ ลหะ ปรอท 63

เครอ่ื งมือทางภมู ิอากาศ เทอรโ์ มมิเตอร์ (thermometer) เทอรโ์ มกราฟ ใชบ้ นั ทกึ อุณหภูมแิ บบตอ่ เน่ืองนิยมใช้ 2 แบบ คอื เทอรโ์ มกราฟแบบโลหะประกบ และเทอรโ์ มกราฟ ชนิดปรอทบรรจใุ นแทง่ เหล็ก ใชว้ ดั อณุ หภูมใิ นดนิ ไดด้ ว้ ย 64

เรอื่ งน่ารู้ “เทอรโ์ มมิเตอร์ Handmade” เราสามารถสรา้ งเทอรโ์ มมเิ ตอรอ์ ยา่ งง่ายดว้ ยตะเกียบไม้ 1 คู่ เทปกาว หลอดกาแฟ เข็มหมุด หนงั ยาง และไมข้ ดี ไฟ ดงั น้ี 1. พนั เทปกาวรอบตะเกียบ 3 ชว่ ง และนาํ หนงั ยางมาคาด 2. นาํ เข็มหมุดมาเสยี บหลอดกาแฟใหป้ ลาย กลาง โผลเ่ ขม็ เล็กนอ้ ย แลว้ ไวไ้ ตห้ นงั ยาง นาํ เทอรโ์ มมิเตอรไ์ ปทดลองใช้ โดยนาํ เปลวไฟมาใกลห้ นงั ยาง หนงั ยางจะรอ้ นข้นึ และหดตวั ทาํ ใหเ้ ข็มหมุดใตห้ นงั ยางหมุนตวั และทาํ ให้ หลอดกาแฟบิดตาม ย่งิ อุณหภูมิของหนงั สต๊กิ สงู ข้นึ มาก หลอดกาแฟก็จะยิง่ บิดมากหลอดกาแฟจะทาํ หนา้ ที่เป็นเข็มช้วี ดั อณุ หภูมินนั่ เอง 65

เครอ่ื งมือทางภมู ิอากาศ เป็นเครอื่ งมือสาํ หรบั วดั ความช้นื สมั พทั ธ์ และจดุ นาํ้ คา้ งในอากาศ ประกอบดว้ ย เทอรโ์ มมิเตอร์ 2 อนั อนั หน่ึงเรยี กวา่ เทอรโ์ มมเิ ตอรต์ มุ้ แหง้ อกี อนั หน่ึงเรยี กวา่ เทอรโ์ มมเิ ตอรต์ มุ้ เปี ยก 66

เครอ่ื งมือทางภมู อิ ากาศ ไซโครมเิ ตอร์ (psychrometer) เทอรโ์ มมิเตอรต์ ุม้ แหง้ เทอรโ์ มมิเตอรต์ ุม้ เปี ยก ปรอท ปรอท ดา้ ย 67

เครอ่ื งมอื ทางภูมิอากาศ ไซโครมเิ ตอร์ (psychrometer) วิธีใช้ - ใชด้ า้ ยผกู ผา้ มสั ลินหุม้ กระเปาะ เทอรโ์ มมเิ ตอรต์ ุม้ เปียก - ปลายดา้ ยจมุ่ ในถงั นาํ้ ขา้ งลา่ งนาํ้ จะซมึ ตามเสน้ ดา้ ยข้นึ มาทาํ ใหผ้ า้ มสั ลิน เปี ยกชุม่ - นาํ้ ในผา้ จะระเหยไปในอากาศทอี่ ยรู่ อบ ๆ - การระเหยของนาํ้ จากผา้ มสั ลนิ มสี ว่ นสมั พนั ธก์ บั ความช้นื ของอากาศ โดยรอบ - ถา้ อากาศอม่ิ ตวั นาํ้ จะไมร่ ะเหย อณุ หภมู เิ ทอรโ์ มมิเตอรท์ ง้ั สองจะเทา่ กนั - ถา้ อากาศแหง้ นาํ้ จากผา้ มสั ลินจะระเหย อณุ หภูมิเทอรโ์ มมิเตอรต์ มุ้ เปียก จะตาํ่ กวา่ เทอรโ์ มมิเตอรต์ มุ้ แหง้ 68

เครอ่ื งมอื ทางภมู อิ ากาศ ไฮโกรมิเตอร์ (hygrometer) ใชว้ ดั ความช้นื ในอากาศแบบตอ่ เนื่อง เครอ่ื งไฮโกรมิเตอรน์ ้ีอาจนาํ ไปรวม นิยมใชก้ นั มาก มีอปุ กรณท์ สี่ าํ คญั คอื กบั เทอรโ์ มมเิ ตอร์ เรยี กวา่ เทอรโ์ ม เสน้ ผม ความช้นื นอ้ ย เสน้ ผมหดตวั ลง ไฮโกรมเิ ตอร์ ความช้นื มาก เสน้ ผมขยายตวั ยาว ไฮโกรมิเตอร์ เทอร์โมไฮโกรมเิ ตอร์ 69

เครอ่ื งมือทางภมู ิอากาศ มาตรวดั ลม (anemomenter) เป็ นเครอื่ งมอื วดั ความเรว็ ลมทน่ี ิยม มาตรวดั ลมแบบลูกถว้ ย ใชก้ นั มากเป็นแบบลกู ถว้ ย ประกอบดว้ ยถว้ ยทรงกรวย 3 หรอื 4 ใบ ลกู ถว้ ยจะหมุนตาม แรงลม จาํ นวนรอบหมุนจะ เปลย่ี นเป็ นระยะทาง โดยมีหน่วย เป็ น กิโลเมตร หรอื ไมล์ อา่ นไดจ้ าก หนา้ ปัดของเครอ่ื งอา่ นความเรว็ 70

เครอ่ื งมือทางภมู ิอากาศ เครอื่ งวดั ฝน (rain gauge) เป็นเครอ่ื งชว่ ยวดั ปรมิ าณฝน โดยใช้ อุปกรณร์ ูปทรงกระบอก ปากภาชนะ รองรบั มขี นาดแคบและพอดกี บั กรวย เพ่ือลดการสญู เสยี จากการระเหย ถงั รองรบั นาํ้ ฝนมีขนาด 200 ̶ 500 ตารางเซนตเิ มตร การวดั ปรมิ าณฝน กระบอก กรวย ทองแดง ขวดแกว้ อาจใชแ้ กว้ ตวงหรอื หยอ่ นไม้ ทมี่ มี าตรวดั ลงไป ถงั ดา้ นนอก 71

เครอื่ งมือทางภมู ิศาสตรท์ ่ีกาํ หนดใหส้ ามารถนาํ ไปใชป้ ระโยชนไ์ ดอ้ ย่างไร เครอ่ื งมือทางภมู ิศาสตร์ การใชป้ ระโยชน์ 1. แผนที่ ใชศ้ กึ ษาสภาพทางภูมิศาสตร์ 2. เครื่องมือวดั ระยะทางบนแผนที่ ใชว้ ดั ระยะทางจริงบนแผนที่ 3. เครื่องมือวดั พ้นื ท่ี ใชห้ าพ้นื ทีจ่ ริงบนแผนที่ 4. กลอ้ งสามมิติ ใชม้ องภาพสามมิตบิ นรปู ถ่ายทางอากาศ 5. บารอมิเตอร์ ใชว้ ดั ความกดอากาศ 6. เทอรโ์ มมิเตอร์ ใชว้ ดั อณุ หภมู ิ 7. ไซโครมิเตอร์ ใชว้ ดั ความช้นื สมั พทั ธ์ในอากาศ 8. ไฮโกรมิเตอร์ ใชว้ ดั ความช้นื ในอากาศ 9. มาตรวดั ลม ใชว้ ดั ความเร็วลม 72

สรปุ บารอมิเตอร์ ใชว้ ดั ความกดอากาศ มีอยู่ 3 ชนิด บารอมิเตอรแ์ บบปรอท มหี น่วยเป็ นมลิ ลิเมตรของ ปรอทหรอื มลิ ลิบาร์ บารอมิเตอรแ์ บบตลบั เมอ่ื ความดนั อากาศเปล่ยี นแปลง ตลบั โลหะจะพองหรอื แฟบลง ทาํ ใหส้ ปรงิ ดงึ เข็มช้ที หี่ นา้ ปัด บารอมิเตอรแ์ บบบารอกราฟ เหมอื นกบั บารอมเิ ตอร์ แบบตลบั แตต่ อ่ แขนปากกาใหไ้ ปขีดบนกระดาษกราฟทห่ี ุม้ กระบอกหมุนทหี่ มุนดว้ ยนาฬิกา 73

สรปุ เทอรโ์ มมิเตอร์ เป็นเครอื่ งมอื วดั อณุ หภมู ิ เทอรโ์ มมเิ ตอร์แบบธรรมดา ใชต้ รวจวดั อุณหภูมปิ ระจาํ วนั วดั อุณหภมู ิตงั้ แต่ -20 ถึง 50 องศาเซลเซยี ส เทอรโ์ มมเิ ตอร์สงู สดุ มปี รอทบรรจใุ นหลอดแกว้ เหนือกระเปาะ บรรจปุ รอทข้ึนมาจะเป็นคอคอดเพื่อป้ องกนั ปรอทไมใ่ หไ้ หลกลบั ลง กระเปาะ ใชว้ ดั อุณหภูมิสงู สดุ เทอร์โมมเิ ตอร์ตา่ํ สดุ เป็นชนิดเอทลิ แอลกอฮอลบ์ รรจใุ น หลอดแกว้ ใชว้ ดั อณุ หภูมติ าํ่ สดุ 74

สรปุ เทอร์โมมเิ ตอร์แบบซกิ ซ์ เป็ นหลอดแกว้ รูปตวั ยภู ายใน บรรจปุ รอทและแอลกอฮอล์ หลอดทางดา้ นซา้ ยบอกอณุ หภูมิ ตาํ่ สุด ดา้ นขวาบอกอุณหภูมสิ งู สดุ เทอร์โมกราฟ ใชบ้ นั ทกึ อุณหภูมิแบบตอ่ เน่ืองนิยมใช้ 2 แบบ คอื เทอรโ์ มกราฟแบบโลหะประกบและ เทอรโ์ มกราฟ ชนิดปรอทบรรจใุ นแทง่ เหล็ก ใชว้ ดั อุณหภมู ิในดนิ ไดด้ ว้ ย 75

สรปุ ไซโครมิเตอร์ ใชว้ ดั ความช้นื สมั พทั ธแ์ ละจดุ นาํ้ คา้ งในอากาศ ประกอบดว้ ยเทอรโ์ มมิเตอร์ 2 อนั อนั หน่ึงเรยี กวา่ เทอรโ์ มมเิ ตอร์ ตุม้ แหง้ อกี อนั หน่ึงเรยี กวา่ เทอรโ์ มมเิ ตอรต์ มุ้ เปี ยก ไฮโกรมิเตอร์ ใชว้ ดั ความช้นื ในอากาศแบบตอ่ เนื่อง มีอุปกรณท์ ่ี สาํ คญั คอื เสน้ ผม ความช้นื นอ้ ย เสน้ ผมหดตวั ลง ความช้ืนมาก เสน้ ผมขยายตวั ยาวเมือ่ นาํ ไปรวมกบั เทอรโ์ มมิเตอรเ์ รยี กวา่ เทอรโ์ ม ไฮโกรมเิ ตอร์ 76

สรปุ มาตรวดั ลม ใชว้ ดั ความเร็วลม เป็นแบบลูกถว้ ย ถว้ ยทรงกรวย 3 หรอื 4 ใบ ลกู ถว้ ยจะหมุนตามแรงลม จาํ นวนรอบหมุนจะ เปลย่ี นเป็นระยะทาง มหี น่วยเป็น กิโลเมตร หรอื ไมล์ เครอ่ื งวดั ฝนใชว้ ดั ปรมิ าณฝน มีอปุ กรณท์ รงกระบอก ปากภาชนะ รองรบั มขี นาดแคบและพอดกี บั กรวย ถงั รองรบั นาํ้ ฝนมขี นาด 200–500 ตารางเซนตเิ มตร การวดั ปรมิ าณนาํ้ ฝน ใชแ้ กว้ ตวงหรอื หยอ่ นไมท้ ม่ี มี าตรวดั ลงไป 77

เทคโนโลยแี ละ สารสนเทศ ในการศกึ ษาภมู ิศาสตร์

รูปถ่ายทางอากาศ หมายถึง ภาพท่ีเกิดจากการถ่ายภาพใน ระยะไกล โดยใชเ้ คร่ืองบินในการถ่ายภาพเป็ นหลกั แสดงใหเ้ หน็ ถึง ภาพรวมของขอ้ มลู ในพ้ ืนที่เป็ นบริเวณกวา้ ง

ตวั อยา่ งรูปถา่ ยทางอากาศในเขตกรุงเทพมหานคร บริเวณเขตบางเขน ท่ีมา : กรมแผนท่ีทหาร

แบ่งออกได้ 2 ประเภท ดงั น้ ี รูปถา่ ยด่ิง หมายถึง ภาพท่ีถ่ายโดยใหแ้ กนกลอ้ งอยใู่ นแนวด่ิง ตวั อยา่ งรูปถา่ ยทางอากาศประเภทรูปถา่ ยด่ิง ในเขตกรุงเทพมหานคร บริเวณเขตบางเขน ท่ีมา : กรมแผนท่ีทหาร

รูปถา่ ยเฉียง หมายถึง ภาพที่ถ่ายโดยใหแ้ กนกลอ้ งเอียงจากแนวดิ่ง รูปถา่ ยทางอากาศในเขตกรุงเทพมหานคร ประเภทรูปถา่ ยเฉียงสูง บริเวณเขตพระนคร (ซา้ ย) และประเภทรูปถา่ ยเฉียงต่าํ บริเวณสวนลุมพินี (ขวา) ท่ีมา : สาํ นกั ผงั เมือง กรุงเทพมหานคร

ภาพจากดาวเทยี ม หมายถึง อุปกรณท์ ่ีใชใ้ นการศึกษาขอ้ มลู พ้ ืนผิวโลก ซึ่งเกิดจากการถ่ายภาพในระยะไกล เพอ่ื การสาํ รวจ ทรพั ยากรธรรมชาติ การสื่อสารและเทคโนโลยตี ่าง ๆ ดาวเทียมดวงแรกท่ีประเทศไทย ใชเ้ พ่ือการสาํ รวจทรพั ยากรธรรมชาติ มชี ่อื วา่ ดาวเทยี มธีออส ซึ่งเป็ นความรว่ มมอื ระหวา่ งรฐั บาล ไทยและรฐั บาลฝรงั่ เศส

ตวั อยา่ งภาพจากดาวเทียม LANDSAT-5TM บริเวณภาคตะวนั ออก ของประเทศไทย ท่ีมา : GISTDA

ชว่ ยใหเ้ ห็นท่ีต้งั และ ประโยชนข์ องภาพ ใหข้ อ้ มลู เก่ียวกบั ขอบเขตของสถานท่ีและ จากดาวเทียม ปรากฏการณต์ ่าง ๆ ลกั ษณะทางธรรมชาติ ท่ีเกิดข้ ึนบนโลก ครอบคลุมพ้ ืนท่ีเป็ น ตลอดเวลา เชน่ การ บริเวณกวา้ งและชดั เจน เคล่ือนท่ีของพายุ ชว่ ยในการวางแผน ใชต้ ิดตามการ และกาํ หนดแนวทาง เปล่ียนแปลงของพ้ นื ที่ แกป้ ัญหาเกี่ยวกบั และภูมิประเทศ เชน่ ทรพั ยากรธรรมชาติ ภาพความเสียหาย ท่ีเกิดจากพายุ

เทคโนโลยภี มู ิสารสนเทศ เทคโนโลยภี มู ิสารสนเทศ หมายถึง สารสนเทศที่เกีย่ วขอ้ งกบั การศึกษาโลกดว้ ยเทคนิควธิ ีการสมยั ใหม่ เป็ นเทคโนโลยที ี่เก่ยี วขอ้ ง กบั การไดม้ าซึ่งขอ้ มลู การบรู ณาการ การวเิ คราะห์ การจดั การ และ การตีความขอ้ มลู เชิงพ้ ืนท่ี

ระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ หมายถึง เครื่องมือทางภูมศิ าสตร์ ที่ใชร้ ะบบคอมพิวเตอรช์ ว่ ยในการนําเขา้ ขอ้ มลู จดั เกบ็ วเิ คราะห์ และแสดงผลการวเิ คราะห์ รวมท้งั สามารถคน้ ควา้ เพือ่ ดดั แปลงแกไ้ ข และนําเสนอขอ้ มลู เพ่อื ใหเ้ หน็ มติ ิและความสมั พนั ธเ์ ชงิ พ้ ืนท่ีของขอ้ มลู และนําไปใชป้ ระโยชน์ในดา้ นการบริหารจดั การและดา้ นการวางแผน กาํ หนดนโยบายต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ มอี งคป์ ระกอบท่ีสาํ คญั อยู่ 5 ส่วน ดงั น้ ี องคป์ ระกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

ระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ เป็ นการนําระบบคอมพวิ เตอรม์ าใชใ้ นการจัดการ ระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ ขอ้ มลู เชงิ พนื้ ท่ี สําหรับการจัดเกบ็ ปรับปรงุ มอี งคป์ ระกอบทส่ี ําคัญ อะไรบา้ ง ? วเิ คราะห์ และแสดงผลออกมาเป็ นสารสนเทศ รปู แบบตา่ ง ๆ เชน่ แผนท่ี รปู ภาพ ตารางสถติ ิ ฮารด์ แวร์ สว่ นประกอบของอปุ กรณ์คอมพวิ เตอรท์ ใี่ ชใ้ นระบบ สารสนเทศภมู ศิ าสตร์ ใชใ้ นการนําเขา้ ขอ้ มลู ประมวลผล แสดงผล เชน่ หน่วยประมวลผลกลาง จอภาพ เครอ่ื งพมิ พ์ ซอฟตแ์ วร์ ชดุ คําสัง่ โปรแกรมทใ่ี ชร้ ว่ มกับฮารด์ แวร์ เพอ่ื ใหร้ ะบบสามารถทํางานได ้ 89 ซงึ่ จะทําใหไ้ ดส้ ารสนเทศทตี่ อ้ งการ มรี ปู แบบการทํางานทส่ี ําคัญ 5 ประการ ไดแ้ ก่ การนําเขา้ ขอ้ มลู และการตรวจสอบขอ้ มลู การเกบ็ ขอ้ มลู และการจัดเกบ็ ขอ้ มลู การคํานวณและการวเิ คราะหข์ อ้ มลู การรายงานผลขอ้ มลู สว่ นสัมพันธก์ บั ผใู ้ ช ้

ระบบการจดั เกบ็ ขอ้ ดขี องระบบ สามารถสรา้ ง ขอ้ มลู มีความสามารถ สารสนเทศ ขอ้ มลู เชงิ พ้ นื ที่ ในการเก็บขอ้ มลู ตา่ งๆ ภมู ิศาสตร์ ไวใ้ นชุดเดียวกนั ได้ สามารถปรบั ปรุงแกไ้ ข เม่ือแสดง ขอ้ มลู ไดง้ ่ายทาํ ให้ ขน้ั ตอน การวเิ คราะห์ ขอ้ มลู มคี วามทนั สมยั สามารถนํา และตรวจสอบ สะดวก ขอ้ มลู ขอ้ มลู ประเภทต่างๆ มคี วามรวดเร็ว มาประยกุ ตใ์ ช้ ร่วมกนั

ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตรถ์ ูกนํามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นดา้ น การบริหารจดั การและการวางแผนกาํ หนดนโยบายอยา่ งกวา้ งขวาง ดา้ นการบริหารจดั การ มีความสาํ คญั ต่อประสิทธิภาพในการบริหาร จดั การพ้ ืนท่ี เนื่องจากใชข้ อ้ มลู จากระบบสารสนเทศ ทาํ ใหส้ ามารถ ทาํ การวเิ คราะหห์ าพ้ นื ที่ที่มีความเหมาะสมสาํ หรบั การทาํ กจิ กรรม และการไมท่ าํ กจิ กรรมต่าง ๆ ได้ ดว้ ยความสะดวกและรวดเร็ว

ตวั อยา่ งการประยุกตใ์ ชเ้ ทคนิค GIS/RS เพ่ือวิเคราะหพ์ ้ืนท่ีเส่ียงภยั ตอ่ การเกิดแผน่ ดินถลม่ บริเวณทิวเขาเหนือหมูบ่ า้ นน้ํากอ้ อาํ เภอหลม่ สกั จงั หวดั เพชรบูรณ์ ท่ีมา : ศูนยว์ ิจยั สารสนเทศเพ่ือประเทศไทย (GISTHAI)

ดา้ นการวางแผนกาํ หนดนโยบาย มคี วามสาํ คญั อยา่ งยงิ่ ต่อการพฒั นา พ้ ืนท่ี เน่ืองจากการใชข้ อ้ มลู จากระบบสารสนเทศ สามารถนําเสนอ ขอ้ มลู ไดใ้ นรูปของการบูรณาการร่วมกนั ระหวา่ งขอ้ มลู ทางดา้ นลกั ษณะ ส่ิงแวดลอ้ มทางธรรมชาติและขอ้ มลู ทางดา้ นสิ่งแวดลอ้ มทางสงั คม ทาํ ใหเ้ กดิ การวางแผนตดั สินใจและกาํ หนดนโยบายแบบองคร์ วม โดยครอบคลุมพ้ ืนที่และปัจจยั ต่าง ๆ ที่มีผลต่อการพฒั นาและการแกไ้ ข ปัญหาในพ้ นื ที่

รโี มตเซนซิง หมายถึง การรวบรวมขอ้ มลู เกี่ยวกบั วตั ถุ หรือปรากฏการณต์ า่ ง ๆ โดยไม่มีการสมั ผสั วตั ถุน้ัน และเป็ นการ บนั ทึกขอ้ มลู จากการสะทอ้ นแสงหรือการแผ่รงั สีพลงั งานแม่เหล็กไฟฟ้า โดยเครื่องวดั หรืออุปกรณบ์ นั ทึกที่ติดอยกู่ บั ยานสาํ รวจ

กระบวนการไดร้ บั ขอ้ มูล กระบวนการวิเคราะหข์ อ้ มูล ดวงอาทิตย์ ดาวเทียม ช้นั บรรยากาศ ขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากดาวเทียม • สายตา • เครื่องคอมพิวเตอร์ แสงอาทิตย์ • รปู แบบเชิงอนุมาน การสะทอ้ นแสงของวตั ถุ • รูปแบบเชิงตวั เลข ผลการวิเคราะห์ วตั ถุหรือสิ่งต่างๆ บนพ้ ืนโลก รายงาน หลกั การทาํ งานของรีโมตเซนซิง

เทคโนโลยที ่ีใชก้ าํ หนดตาํ แหน่งบนพ้ ืนโลกโดยอาศยั ดาวเทียม สถานีภาคพ้ นื ดิน และเครื่องรบั จพี เี อส โดยเคร่ืองรบั จีพเี อสจะรบั สญั ญาณ จากดาวเทียม เพ่อื ใชใ้ นการนําทางและติดตาม เคร่ืองกาํ หนดคา่ พิกดั

การรบั รจู้ ากระยะไกล กระบวนการและองคป์ ระกอบของการรบั รจู้ ากระยะไกล ประกอบดว้ ย 2 ขนั้ ตอน คอื การรบั สญั ญาณขอ้ มูล โดยอาศยั พลงั งาน คอื ดวงอาทติ ย์ (ก) ที่ จะกระจายพลงั งานแมเ่ หล็กไฟฟ้ าผา่ นชนั้ บรรยากาศมายงั พ้ืนโลก (ข) ซงึ่ วตั ถุแตล่ ะชนิดจะดูดกลืนและสะทอ้ นพลงั ไฟฟ้ าแมเ่ หล็ก กลบั ไปยงั ชนั้ บรรยากาศทแ่ี ตกตา่ งกนั (ค) ระบบภาพถา่ ยจะเก็บ ขอ้ มูลโดยใชเ้ ครอ่ื งวดั เชน่ กลอ้ งถ่ายรูป ตดิ ตงั้ บนยานสาํ รวจ เชน่ เครอ่ื งบนิ ดาวเทยี ม (ง) ทาํ ใหไ้ ดผ้ ลิตภณั ฑข์ อ้ มูลทเ่ี ป็นรูปภาพ หรอื ขอ้ มูลเชงิ ตวั เลข (จ)

การวิเคราะหข์ อ้ มูล นาํ ผลิตภณั ฑข์ อ้ มูลทไ่ี ดม้ าทาํ การวเิ คราะหด์ ว้ ยสายตาหรอื ระบบคอมพิวเตอร์ (ฉ) ทาํ ใหไ้ ดผ้ ลติ ภณั ฑส์ ารสนเทศ เชน่ แผนที่ รูปถ่ายทางอากาศ ภาพจาก ดาวเทยี ม (ช) และนาํ ไปใชป้ ระโยชนต์ อ่ ไป (ซ) การรับสัญญาณข้อมูล การวเิ คราะหข์ ้อมลู (ก-จ) (ฉ-ช) ข้อมลู อา้ งอิง (ก) แหล่งพลังงาน (ง) ภาพ ดว้ ยสายตา (ซ) (ข) การกระจายผา่ น ระบบถ่ายภาพ ตวั เลข ด้วย ผู้ใช้ ชั้นบรรยากาศ (ค) ลักษณะผิวหน้าของโลก (จ) ผลิตภณั ฑ์ ข้อมลู คอมพิวเตอร์ 98 (ช) (ฉ) ผลิตภณั ฑ์ กระบวนการ สารสนเทศ แปลภาพ

การรบั รจู้ ากระยะไกล กระบวนการรบั รูจ้ ากระยะไกลในประเทศไทย ไดเ้ รมิ่ อยา่ งจรงิ จงั หลงั จากไดเ้ ขา้ รว่ มกบั นาซา เมือ่ วนั ที่ 14 กนั ยายน พ.ศ. 2514ตอ่ มา พ.ศ. 2524 ไดม้ กี ารจดั ตง้ั สถานีรบั สญั ญาณจากดาวเทยี มสาํ รวจทรพั ยากรและ ดาวเทยี มอตุ นุ ิยมวทิ ยา ทสี่ ถานีรบั สญั ญาณดาวเทยี มลาดกระบงั สถานีรบั สญั ญาณดาวเทียมลาดกระบงั 99

ชนดิ ของขอ้ มลู การรบั รจู้ ากระยะไกล รปู ถา่ ยทางอากาศ หมายถงึ รปู ภาพของลกั ษณะภมู ปิ ระเทศทป่ี รากฏบนพน้ื ผวิ โลก โดยนํากลอ้ งตดิ กับอากาศยานทบ่ี นิ ไปเหนอื ภมู ปิ ระเทศบรเิ วณ ทตี่ อ้ งการถา่ ยภาพ ภาพถา่ ยตอ้ งครอบคลมุ พน้ื ทที่ บั ซอ้ นประมาณรอ้ ยละ 60 เพอื่ ใชส้ ําหรับดดู ว้ ยกลอ้ งสามมติ ิ และแตล่ ะแนวภาพตอ้ งซอ้ นทบั กนั ประมาณรอ้ ยละ 20–30 เพอ่ื ป้ องกนั บางสว่ นขาดหายไป ลกั ษณะการถา่ ยภาพทางอากาศ รูปถา่ ยทางอากาศแสดงสภาพความเสยี หาย จากนา้ํ ทว่ มฉบั พลนั 100


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook