Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภูมิปัญญาท้องถิ่น ม.658

ภูมิปัญญาท้องถิ่น ม.658

Published by kingmanee2614, 2021-01-25 07:44:58

Description: ภูมิปัญญาท้องถิ่น ม.658

Search

Read the Text Version

กจิ กรรมการอนุรกั ษ์ภูมปิ ญั ญาไทยใหค้ งดาํ รงอยู่นนั้ มกี จิ กรรม หลกั ดงั น้ี 1.กจิ กรรมภูมปิ ญั ญาศกึ ษา 2.กจิ กรรมการกาํ หนดแนวทางแกไ้ ขปญั หาวกิ ฤตภูมปิ ญั ญาไทย ซง่ึ ผูเ้รยี น ครู ปราชญ์ชาวบา้ น บุคคลในชุมชน ครอบครวั องค์กร ชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวชิ าชพี สถาบนั ศาสนา สถาน ประกอบการและสถาบนั สงั คมอนื่ ๆ 3.กจิ กรรมการทาํ ทะเบยี นภูมปิ ญั ญาไทยในทอ้ งถน่ิ ใหเ้ ป็นระบบ 4.กจิ กรรมรณรงค์ใหค้ นในทอ้ งถนิ่ หนั มาใหก้ ารส่งเสรมิ สนบั สนุนการใชส้ นิ ค้าและผลติ ภณั ฑ์จากภูมปิ ญั ญาในการดาํ รงชวี ติ

5.กจิ กรรมการยกย่องบุคคล หนว่ ยงานทอี่ นุรกั ษ์สบื สานและ สร้างสรรค์ภูมปิ ญั ญาไทย 3.การฟ้ื นฟูภมู ิปั ญญาไทย การฟ้ื นฟูภมู ปิั ญญาไทย หมายถงึ การเลอื กสรร ภูมปิ ญั ญาไทยทก่ี าํ ลงั จะสูญหายหรอื หมดความนยิ มใหก้ บั ความเจรญิ งอกงาม กิจกรรมการฟ้ื นฟูภมู ปิั ญญาไทยมีดังน้ี 1.กิจกรรมภมู ิปั ญญาศึกษา 2.กิจกรรมกาํ หนดแนวทางแก้ไขปั ญหาวิกฤต ภมู ปิั ญญาไทย

3.กจิ กรรมการจดั ทาํ ทะเบยี นผลผลติ จากภูมปิ ญั ญาทคี่ วร แก่การฟ้ ื นฟู 4.กจิ กรรมรณรงค์เพอ่ื ใหป้ ระชาชนและหน่วยงานร่วมกนั ฟ้ืนฟูผลติ ภณั ฑ์ภูมปิ ญั ญา 5.กจิ กรรมยกย่องและเชดิ ชูเกยี รตบิ ุคคลหนว่ ยงานแบบอย่าง ฟ้ืนฟูภูมปิ ญั ญาไทย

4.การสืบสานภมู ิปั ญญาไทย การสืบสานภมู ปิั ญญาไทย หมายถงึ การตระหนกั ใน คุณค่าของภูมปิ ญั ญาไทยดว้ ยการเสาะแสวงหาเพอื่ นาํ ภูมปิ ญั ญา ดงั กลา่ วใหม้ กี ารดาํ เนนิ การต่อไปจากรุ่นสู่รุ่น กจิ กรรมการสบื สานภูมปิ ญั ญาไทยมดี งั น้ี 1.กิจกรรมสืบค้น แสวงหาภูมปิ ญั ญาด้านต่างๆทมี่ ใีน ทอ้ งถน่ิ 2.กจิ กรรมส่งเสรมิ สนบั สนุนใหเ้ ยาวชน ประชาชน หน่วยงานทางการศกึ ษา หน่วยงานเอกชนสบื สานภูมปิ ญั ญาไทย

3.กจิ กรรมยกย่องเชดิ ชูเกยี รตบิ ุคคลหรอื หนว่ ยงานทส่ี บื สาน ภูมปิ ญั ญาไทยจนเป็นทป่ี ระจกั ษ์และเป็นทย่ี อมรบั ของสงั คม 4.เผยแพร่ประชาสมั พนั ธ์ องค์ความรู้ วธิ กี ารและผลการ สบื สานภูมปิ ญั ญาไทยเป็นแบบอย่างแก่คนทวั่ ไป

5.การพฒั นาภมู ปิั ญญาไทย การพฒั นาภมู ิปั ญญาไทย หมายถงึ การทาํ ใหภ้ ูมปิ ญั ญา ไทยมคี วามเจรญิ กา้ วหนา้ มกี ารปรบั ปรุงเปลยี่ นแปลงภูมปิ ญั ญาไทยให้ เหมาะสมกบั ยุคสมยั กิจกรรมการพฒั นาภมู ิปั ญญาไทยมีดังน้ี 1.ศกึ ษาและค้นควา้ สภาพความเหมาะสม 2.จดั ทาํ ทะเบยี นการเลอื กสรรภูมปิ ญั ญา ทเ่ีหมาะสมกบั การ พฒั นา 3.กจิ กรรมรณรงค์เพอื่ จดั หางบประมาณสนบั สนุนผูค้ ดิ คน้ รูปแบบการพฒั นาภูมปิ ญั ญา

4.กจิ กรรมการถ่ายทอดองค์ความรู้การพฒั นาภูมปิ ญั ญา เขา้ สู่ระบบการศกึ ษา 3 ระบบ 5.กจิ กรรมระดมความคดิ เพอ่ื แสวงหารูปแบบและแนวทางการ พฒั นาภูมปิ ญั ญาไทย 6.กจิ กรรมยกย่องเชดิ ชูเกยี รตบิ ุคคลและหนว่ ยงาน 7.กจิ กรรมประชาสมั พนั ธ์ องความรู้ วธิ กี ารและผลการ พฒั นาเพอื่ เป็นแบบอย่างแก่คนทว่ั ไป

6.การถ่ายทอดภมู ปิั ญญาไทย การถ่ายทอดภมู ิปั ญญาไทย หมายถงึ การนาํ ภูมิ ปญั ญาไทยเขา้ สู่กระบวนการศกึ ษาและกระบวนการเรยี นรู้เพอ่ื ปลูกฝั่ง ค่านยิ มในความเป็นไทย กิจกรรมการถ่ายทอดภมู ปิั ญญาไทยให้ดาํ รงอยู่ดังน้ี 1.กจิ กรรมการศกึ ษา ค้นควา้ วจิ ยั วเิคราะห์และสงั เคราะห์ 2.กจิ กรรมการถ่ายทอดองค์ความรู้ภูมปิ ญั ญาไทย รูปแบบและ วธิ กี ารอนั หลากหลายแก่ผูเ้รยี น 3.กจิ กรรมรณรงค์เพอื่ ใหส้ ถานศกึ ษาในทอ้ งถน่ิ และสถาบนั การศกึ ษาอนื่ ๆ

4.กจิ กรรมยกย่องเชดิ ชูเกยี รตคิ ุณ สถานการศกึ ษาหรอื หน่วยงานทด่ี าํ เนนิ การถ่ายทอดภูมปิ ญั ญาไทย 5.กจิ กรรมการเผยแพร่ ประชาสมั พนั ธ์ องค์ความรู้ วธิ กี ารและผลการถ่ายทอดภูมปิ ญั ญาไทย

7.การส่งเสริมภมู ิปั ญญาไทย การส่งเสริมภมู ปิั ญญาไทย หมายถงึ การเก้อื หนุน สนบั สนุนใหบ้ ุคคล ครอบครวั องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรอาชพี สถาบนั การศกึ ษา สถานประกอบการ สถาบนั สงั คมอน่ื ๆมสี ่วนสาํ คญั ในการจดั กจิ กรรม 1.กาํ หนดกจิ กรรมการส่งเสรมิ ภูมปิ ญั ญาไทยในรูปแบบ ต่างๆ 2.กจิ กรรมการเรยี นรู้กบั ครูภูมปิ ญั ญาไทย 3.กจิ กรรมท่องเทยี่ วหมู่บา้ นภูมปิ ญั ญาไทย

4.กจิ กรรมมหกรรมสนิ ค้าจากภูมปิ ญั ญาไทย 5.กจิ กรรมการยกย่องเชดิ ชูเกยี รตผิ ูท้ รงภูมปิ ญั ญาไทยด้านต่างๆ 6.กจิ กรรมการเผยแพร่ ประชาสมั พนั ธ์ องค์ความรู้วธิ กี ารและ ผลการส่งเสรมิ ภูมปิ ญั ญาไทย

8.การเสริมสร้างผูท้ รงภมู ปิั ญญาไทย การเสริมสร้างผูท้ รงภมู ปิั ญญาไทย หมายถงึ การ ส่งเสรมิ สนบั สนุนใหบ้ ุคคลมคี วามสามารถพเิศษทางความคดิ สร้างสรรค์ด้านภูมปิ ญั ญาไทย กิจกรรมการเสริมสร้างผูท้ รงภมู ปิั ญญาไทยมีดังน้ี 1.กจิ กรรมการสบื ค้น สาํ รวจ บุคคลผูม้ คี วามสามารถ พเิศษทางความคดิ สร้างสรรค์ดา้ นภูมปิ ญั ญาไทยในแต่ละทอ้ งถนิ่ 2.ส่งเสรมิ สนบั สนุนใหบ้ ุคคลผูม้ คี วามสามารถพเิศษทาง ความคดิ สร้างสรรค์ดา้ นภูมปิ ญั ญาไทยเผยแพร่ต่อสงั คม

3.สนบั สนุนการศกึ ษาคน้ ควา้ สร้างสรรค์ พฒั นาภูมปิ ญั ญาไทย 4.ศกึ ษา บนั ทกึ องค์ความรู้ในการสร้างสรรค์ภูมปิ ญั ญาไทย 5.จดั กจิ กรรมการประกวดผลงานสร้างสรรค์ด้านภูมปิ ญั ญาไทย อย่างต่อเนอื่ ง 6.สนบั สนุนทุนศกึ ษา เพอื่ พฒั นาศกั ยภาพของบุคคลผูม้ คี วาม สามารถพเิศษทางความคดิ สร้างสรรค์ 7.ส่งเสรมิ สนบั สนุนใหบ้ ุคคล มคี วามรู้ความสามารถพเิศษทาง ความคดิ สร้างสรรค์ได้ต่อเตมิ ความรู้ 8. กจิ กรรมการเผยแพร่ ประชาสมั พนั ธ์ องค์ความรู้วธิ กี าร และผลการส่งเสรมิ ภูมปิ ญั ญาไทย

9.การแลกเปล่ียนภมู ิปั ญญาไทย การแลกเปลี่ยนภมู ิปั ญญาไทย หมายถงึ การส่งเสรมิ สนบั สนุนใหบ้ ุคคลหรอื หน่วยงามมโีอกาสแลกเปลยี่ นภูมปิ ญั ญาซง่ึ กนั และกนั กิจกรรมการแลกเปลี่ยนภมู ิปั ญญาไทยมกี ิจกรรมดังน้ี 1.เลอื กสรรภูมปิ ญั ญาไทยทม่ี ใีนแต่ละทอ้ งถน่ิ 2.จดั กจิ กรรมการศกึ ษาดูงานด้านภูมปิ ญั ญาในทอ้ งถน่ิ ต่างๆ 3.จดั มหกรรมการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ด้านภูมปิ ญั ญาในโอกาส ต่างๆ

หน่วยท่ี 6 การปรับใช้ภมู ปิั ญญา ในสภาวการณ์ปั จจบุ นั

การเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย ประเทศไทยมแี ผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาตฉิ บบั ที่ 1เมอ่ื พ.ศ. 2504 จนถงึ ปจั จุบนั มแี ผนพฒั นาฯมาแลว้ 10 ฉบบั ปจั จุบนั เราใชแ้ ผนพฒั นาฉบบั ท่ี 11ผลปรากฏว่า ประเทศไทยมคี วามเจรญิ กา้ วหนา้ ทางด้านวตั ถุอย่างมาก สาธารณูปโภคทงั้ ถนน ไฟฟ้ า ประปา โทรศพั ท์และ งานด้าน อุตสาหกรรม

การปรบั ใช้ภมู ปิั ญญา หลักการของทฤษฎีใหม่ 1.มกี ารบรหิ ารและจดั แบ่งทด่ี นิ แปลงเลก็ ออกเป็นสดั ส่วนที่ ชดั เจนเพอื่ ประโยชนส์ ูงสุดของเกษตรกรซงึ่ ไมเ่ คยมใีครคดิ มาก่อน 2.มกี ารคาํ นวณโดยใชห้ ลกั วชิ าการเกยี่ วกบั ปรมิ าณน้าํ ท่ี จะกกั เกบ็ ใหพ้ อเพยี งต่อการเพาะปลูกไดอ้ ย่างเหมาะสมตลอดปี 3.มกี ารวางแผนทสี่ มบูรณ์แบบสาํ หรบั เกษตรกรรายย่อย โดยมี 3 ขนั้ ตอน

ทฤษฎีใหมข่ ั้นต้น:การจัดสรรพ้นื ที่อยู่อาศัย และท่ีทาํ กิน (ช้ันท่ี 1) โดยแบง่ ทดี่ นิ ออกเป็น 4 ส่วน ตามอตั รา 30:30:30:10 1.พ้นื ท่ีส่วนที่หนึ่ง ประมาณร้อยละ 30 ใหข้ ุดสระเกบ็ กกั น้าํ 2.พ้นื ท่ีส่วนที่สอง ประมาณร้อยละ 30 ใหป้ ลูกขา้ ว 3.พ้นื ท่ีส่วนที่สาม ประมาณร้อยละ 30 ใหป้ ลูกไมผ้ ล ไมย้ นื ต้น พชื ผกั พชื ไร่ พชื สมุนไพร ฯลฯ 4.พ้นื ท่ีส่วนที่สี่ ประมาณร้อยละ 10 เป็นทอี่ ยู่อาศยั เลย้ี งสตั ว์ ถนนหนทาง และโรงเรอื นอน่ื ๆ

ทฤษฎีใหมข่ ั้นก้าวหน้า (ข้ันท่ี 2) 1.การผลิต ในด้านการผลติ เกษตรกรจะต้องร่วมมอื การ ผลติ โดยเรม่ิ ตง้ั แต่ขน้ั เตรยี มดนิ หาพนั ธ์ุพชื ปุ๋ย การจดั หาน้าํ 2.การตลาด เมอ่ื ผลติ แลว้ ต้องเตรยี มการต่างๆเพอ่ื ขาย ผลผลติ ใหไ้ ด้ประโยชนส์ ูงสุด 3.ความเป็ นอยู่ 4.สวัสดิการ 5.การศึกษา 6.สังคมและศาสนา

ทฤษฎีใหมท่ ี่สมบรู ณ์ (ขั้นที่ 3) เมอ่ื ดาํ เนนิ การตามหลกั ของทฤษฎใีหมข่ นั้ ทส่ี องแลว้ เกษตรกร หรอื กลุม่ เกษตรกค็ วรพฒั นากา้ วหนา้ ไปสู่ขนั้ ทส่ี ามต่อไปคอื การตดิ ต่อ ประสานงานเพอ่ื จดั หาทุนหรอื แหลง่ ทุน เช่น ธนาคารหรอื บรษิ ทั หา้ งร้าน เอกชนมาช่วยลงทุน ประโยชน์ของทฤษฎีใหม่ 1.ใหป้ ระชาชนพออยู่พอกนิ ตามสมควร 2.ในหนา้ แลง้ มนี ้าํ นอ้ ยกส็ ามารถเอาน้าํ ทเี่กบ็ ไว้ในสระมาใช้ 3.ในปีทฝ่ี นตกหนกั ตามฤดูกาลโดยมนี ้าํ ดตี ลอดปีสามารถสร้างรายได้ 4.ในกรณที เ่ีกดิ อุทกภยั กส็ ามารถฟ้ืนตวั และช่วยตวั เองระดบั หนง่ึ

การปรับใช้ภมู ปิั ญญา นายจอนิ โอ่โดเชา สบื เชอ้ื สายปกาเกอะญอซง่ึ เป็นชนเผา่ หนง่ึ ในภาคเหนอื ซง่ึ เขา้ เกดิ และเตบิ โตมากบั ป่าทาํ ใหม้ คี วามรกั ในป่าและ เขาเป็นผูร้ เิรม่ิ ใหช้ นเผา่ ปกาเกอะญอและชนเผา่ อนื่ ๆอกี 13 เผา่ ร่วม มอื กนั พทิ กั ษ์ป่าไม้

การเรยี นรู้ ชาวปกาเกอะญอเชอ่ื ว่าป่าทส่ี มบูรณ์จะต้องมี 7 ขนั้ ได้แก่ ป่ าชั้นที่ 1 จะมพี ชื เลก็ ๆและหนา้ ดนิ จะมเีหด็ รา ไสเ้ ดอื น จง้ิ หรดี ป่ าชั้นที่ 2 มตี ้นไมข้ นาดเลก็ ๆเป็นพชื คลุมดนิ ป่ าชั้นที่ 3 เป็นป่าไมท้ มี่ ไีมพ้ ุม่ เต้ยี ๆอุดมสมบูรณ์ ป่ าช้ันที่ 4 เป็นป่าทมี่ ตี ้นไมใ้ หญ่ มกี ง่ิ กา้ นสาขามากขน้ึ ปกคลุม ป่ าช้ันที่ 5 เป็นป่าทม่ี ตี ะไคร่น้าํ ขน้ึ ทวั่ บรเิวณ ป่ าชั้นที่ 6 เป็นป่าทมี่ ดี อกเอ้อื งและกาฝากทง้ั หลาย ป่ าช้ันที่ 7 จะมเีถาวลั ย์อยู่มากมาย

ผูใ้ หญ่วิบลู ย์ เข็มเฉลิม (เพอื่ แกป้ ญั หาหนส้ี นิ และทด่ี นิ ทาํ กนิ ) เป็นชาวฉะเชงิ เทราโดยเคยประสบความลม้ เหลวในการประกอบ อาชพี เกษตร กรรมจนเป็นหนส้ี นิ จนหาวธิ ที างหลายครงั้ จนประสบ ความสาํ เรจ็ ในการทาํ “วนเกษตร” นางเกลียว เสร็จกิจ (เพลงอแี ซว) นางเกลยี ว เสรจ็ กจิ ชอื่ ทางการแสดงว่า ขวญั จติ ศรปี ระจนั ต์ เป็นชาว สุพรรณบุรไี ดฝ้ ึ กร้องเพลงอแี ซวซง่ึ เป็นเพลงพน้ื บา้ นซง่ึ ใน ปจั จุบนั เพลงพน้ื บา้ น(เพลงอแี ซว)กลบั มาไดร้ บั ความนยิ มอกี ครง้ั และมผี ูส้ บื สานกนั มายงิ่ ขน้ึ

นายคาํ เดื่อง ภาษี ครูภูมปิ ญั ญาด้านเกษตรกรรม(เกษตร ธรรมชาต)ิ ชาวจงั หวดั บุรรี มั ย์ เคยประสบปญั หาความลม้ เหลว ทางการทาํ การเกษตรไร่ออ้ ยโดยนาํ ความผดิ พลาดมาหาวธิ ที าง แกป้ ญั หาจนประสบความสาํ เรจ็ องค์ความรู้ 1.ไม่ไถพรวนดนิ 2.ไม่ใชป้ ุ๋ยเคมี 3.ไม่ใชย้ าฆ่าแมลง 4.ไมก่ าํ จดั วชั พชื

นายอัมพร ด้วงปาน ครูภูมปิ ญั ญาไทยด้านกองทุนและ ธุรกจิ ชุมชน (การออมทรพั ย์) ชาวจงั หวดั สงขลา เป็นผูม้ คี วามคดิ กา้ วหนา้ สนใจพฒั นาชุมชนด้านต่างๆและมคี วามเลอ่ื มใสในหลกั ธรรม พระพุทธศาสนาโดยรเิรมิ่ ใหม้ กี ารจดั ตงั้ กลุม่ ออมทรพั ย์ตาํ บลคลอง เปียะเรม่ิ แรกมสี มาชกิ 51 คนเงนิ ทุน 2,850 บาทและเพม่ิ เป็น 4,000คนรวมเงนิ ทุน 80,000,000 บาทและประสบความสาํ เรจ็ จนถงึ ปจั จุบนั

สรปุ การปรับใช้ภมู ิปั ญญามีวัตถปุ ระสงค์ 3 ประการ 1.การปรับเพอื่ ความอยู่รอดของชีวิต การนาํ ความคดิ และความรู้ใหมๆ่ เขา้ มาประยุกต์ใชใ้ หส้ อดคลอ้ งกบั วถิ ชี วี ติ ความ เป็นอยู่ในแต่ละทอ้ งถน่ิ 2.การปรับเพอื่ แสวงหาทางเลือกใหม่ การนาํ ความคดิ และ ความรู้ใหมอ่ นั หลากหลายมาผสมผสานกบั ภูมปิ ญั ญาเดมิ 3.การปรับเพอื่ ดาํ รงรักษาความเป็ นชมุ ชนท้องถิ่นและ ความเป็ นชาติ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook