Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภูมิปัญญาท้องถิ่น ม.658

ภูมิปัญญาท้องถิ่น ม.658

Published by kingmanee2614, 2021-01-25 07:44:58

Description: ภูมิปัญญาท้องถิ่น ม.658

Search

Read the Text Version

การลงแขก หมายถงึ การทค่ี นคนหนงึ่ มคี วามจาํ เป็นทจี่ ะต้องได้ รบั ความช่วยเหลอื จากสงั คมใหส้ งเคราะห์ในเรอื่ งใดเรอื่ งหนง่ึ คนใน สงั คมจะ ร่วมแรงร่วมใจใหค้ วามสงเคราะห์ช่วยเหลอื คนนน้ั ด้วยความเตม็ ใจเช่น - การลงแขกสร้างศาลาพกั ร้อน - การลงแขกสร้างวดั - การลงแขกสร้างอาคารเรยี น - การลงแขกขุดบอ่ น้าํ สาธารณะ - การลงแขกทาํ ถนน - การจดั ตงั้ กลุม่ ฌาปนกจิ สงเคราะห์ - การจดั ตง้ั กลุม่ สจั จะออมทรพั ย์

สรปุ ภูมปิ ญั ญาไทยในการจดั เครอื ขา่ ยระบบการพง่ึ พามสี ่วนอย่างสาํ คญั ที่ ทาํ ใหส้ งั คมไทยเป็นสงั คมทมี่ คี วามดุลยภาพระหว่างมนุษย์ สงั คม ธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอ้ มและสงิ่ เหนอื ธรรมชาตกิ ่อใหเ้ กดิ ความเป็นปึกแผน่ หลอ่ หลอม สงั คมไทยใหเ้ ป็นสงั คมทมี่ ลี กั ษณะเด่นชดั ดงั น้ี -มคี วามเอ้อื เฟ้ือเผอื่ แผซ่ ง่ึ กนั และกนั -ช่วยเหลอื เกอ้ื กูลกนั -ใหก้ ารสงเคราะห์ผูต้ กทุกขไ์ ด้ยาก -มลี กั ษณะของการประนปี ระนอม รู้จกั การยดื หยุ่น -ไม่ผูกพยาบาท -รกั ถนิ่ ทอ่ี ยู่ -ใหค้ วามสาํ คญั กบั เรอ่ื งจติ ใจเป็นสาํ คญั

การจัดระบบเครอื ข่ายการพงึ พา ได้แก่ 1.ระบบการพงึ่ พาระหว่างมนษุ ย์กับมนษุ ย์ หมายถงึ การท่ี มนุษย์มกี ารตดิ ต่อสอ่ื สารกนั ปฏบิ ตั ติ ่อกนั ดว้ ยความเขา้ ใจ มคี วาม เกอ้ื กูลซงึ่ กนั และกนั มผี ูน้ าํ และผูต้ าม 2.ระบบการพงึ่ พาระหว่างมนษุ ย์กับสังคม หมายถงึ การที่ มนุษย์ดาํ เนนิ กจิ การต่างๆภายใต้กฎเกณฑ์ทเ่ีป็นแบบแผนในการ ดาํ รงชวี ติ ร่วมกนั อย่างสนั ตสิ ุข 3.ระบบการพงึ่ พาระหว่างมนษุ ย์กับธรรมชาติและสิ่ง แวด ล้อม หมายถงึ การทมี่ นุษย์ใชป้ ระโยชน์จากธรรมชาตเิพอื่ ดาํ รง ชพี ของตนเองในลกั ษณะของการพงึ่ พาแบบยงั่ ยนื และสมดุล

4.ระบบการพงึ่ พาระหว่างมนษุ ย์กับสิ่งเหนือ ธรรมชาติ หมายถงึ การทม่ี นุษย์แสวงหาทพ่ี ง่ึ ทางใจกบั สง่ิ ท่ี อยู่เหนอื ธรรมชาติ เพอื่ ความสบายใจและเกดิ ความสมั พนั ธ์ที่ ดรี ะหว่างมนุษย์กบั สง่ิ เหนอื ธรรมชาตติ ามความเชอ่ื ของแต่ละ คนและแต่ละสงั คม

หน่วยที่ 4 สภาพภมู ิศาสตร์ ปัจจยั สาํ คญั ของการเกดิ ภมู ิปัญญาไทย

ปัจจยั สาํ คญั ของการเกดิ ภมู ปิ ัญญาไทย 1.การแกไ้ ขปัญหาในการดาํ รงชวี ติ ของประชาชนในแต่ ละทอ้ งถิ่นใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพแวดลอ้ มทอี่ ยอู่ าศยั 2.การพฒั นาชวี ติ ใหด้ กี วา่ เดมิ ดว้ ยการประดษิ ฐค์ ดิ คน้ สงิ่ ใหมๆ่ เพื่อขจดั ปัญหาอุปสรรคทมี่ มี าแตเ่ ดมิ ใหห้ มดส้นิ ไปกอ่ ใหเ้ กิดความสะดวกและเกิดประโยชนต์ อ่ การ ดาํ รงชวี ติ ทสี่ อด คลอ้ งกบั การเปลีย่ นแปลงของยุคสมยั และการเปลี่ยน แปลงของสภาพสงิ่ แวดลอ้ มทอี่ ยอู่ าศยั

บอ่ เกิดภมู ิปั ญญาภาคเหนือ ลกั ษณะทางภูมศิ าสตร์กายภาพของภาคเหนอื ประกอบ ไปด้วยเทอื กเขามที รี่ าบเทลาดเทสลบั กนั เป็นแอ่งทรี่ าบระหว่าง ภูเขาทม่ี นี ้าํ จากภูเขา ภาคเหนอื มพี น้ื ท่ี 93,691 ตารางกโิลเมตร ประกอบ ด้วยจงั หวดั ต่างๆ 9 จงั หวดั ได้แก่ แมฮ่ ่องสอน เชยี งราย เชยี งใหม่ พะเยา น่าน แพร่ ลาํ ปาง ลาํ พูนและ อุตรดติ ถ์



ภมู ปิ ระเทศ เป็นภูเขาสูงเป็นส่วนมากมที รี่ าบระหว่างหุบเขา เหมาะสาํ หรบั ทาํ เกษตรกรรมได้ ภมู อิ ากาศ มฝี นตกในฤดูร้อน ฤดูหนาวจะแหง้ แลง้ พชื พรรณ ธรรมชาตใินภาคเหนอื เป็นลกั ษณะของทุ่งหญา้ เมอื งร้อน ฤดูฝน มรี ะยะเวลาประมาณ 5 เดอื น ทรัพยากรธรรมชาติ มปี ่าไมอ้ ุดมสมบูรณ์และมแี ร่ธาตุต่างๆ มากมาย เช่น แร่ดบี ุก วุลแฟรม ฟลูออไรด์ ลกิ ไนต์ สรปุ ภาคเหนอื เป็นบรเิวณเป็นบรเิวณพน้ื ทสี่ ูงทมี่ เีทอื กเขาทอด ยาวจรดเหนอื ลงทางใต้ มปี ่าไมอ้ ุดมสมบูรณ์

ภูเขาสูงของภาคเหนอื เป็นต้นกาํ เนดิ ของแม่น้าํ สายหลกั 4 สายไดแ้ ก่ แมน่ ้าํ ปิง วงั ยม น่าน ทไี่หลผา่ นจากเหนอื สู่ใต้ ภมู ปิั ญญาด้านเกษตรกรรม ภูมศิ าสตร์กายภาพของภาคเหนอื ของไทยเป็นทสี่ ูงทลี่ าดเทลง สู่ทางใต้ประชาชนภาคเหนอื จงึ เรม่ิ คดิ หาทางจะแกป้ ญั หาในการกกั เกบ็ น้าํ ไว้ใชค้ อื การทาํ ฝายกกั เกบ็ น้าํ โดยนาํ ท่อนไมเ้ สย้ี มเป็นเสาตอกกนั้ น้าํ อย่างหนาแน่นจากนน้ั นาํ หนิ กรวดทรายถมทบั ลงไปหนา้ เสา

ภมู ปิั ญญาด้านการแพทย์แผนไทย ภูมปิ ญั ญาด้านการแพทย์ไทยนถ้ี า้ จะสอดคลอ้ งกบั วถิ ชี วี ติ ของ ประชาชนในภาคเหนอื แลว้ กอ็ าจจะเรยี กว่า ภูมปิ ญั ญาด้านการแพทย์ลา้ นนา ได้เช่น เมอื่ มนุษย์อาศยั และเตบิ โตอยู่กบั ธรรมชาติ ชวี ติ ของมนุษย์จงึ ขน้ึ อยู่ กบั ธรรมชาตเิป็นสาํ คญั เพระถงึ แมโ้ ลกจะมวี ทิ ยาการทกี่ ้าวหนา้ ล้าํ ลกึ สกั เพยี งใดกต็ ามแต่วทิ ยาการทมี่ นุษย์คดิ ค้นขน้ึ ลว้ นแต่มพี น้ื ฐานทพี่ ฒั นามา จากธรรมชาตโิดยความรู้ด้านการแพทย์พน้ื บา้ นได้มกี ารสบื ทอดกนั มา อย่างยาวนานโดยส่วนหนง่ึ มรี ากฐานมาจากอายุรเวทของอนิ เดยี

ภูมปิ ญั ญาการดูแลรกั ษาสุขภาพของประชาชนภาคเหนอื เกดิ มาจาก ลองผดิ ลองถูกจนเกดิ เป็นองค์ความรู้จงึ กลายเป็นตาํ รายาซงึ่ เป็นองค์ ความร้ขู องชาวลา้ นนาหรอื ร้จู กั กนั ในปจั จุบนั ว่า “หมอเมอื ง” เชอ่ื ว่ามนุษย์ ประกอบด้วยธาตุ 4 ได้แก่ ธาตุดนิ ธาตุน้าํ ธาตุลม ธาตุไฟ แลว้ จงึ เกดิ เป็นอวยั วะ 32 ประการซง่ึ อวยั วะทง้ั 32 ประการจะมขี วญั อยู่ประจาํ 32 ขวญั ได้แก่ แกม้ 1 ค้วิ 1 ดงั้ (จมูก) 1 ปาก 1 หู 1 ตา 1 ผม 1 มอื 10 (10 นว้ิ ) นม 2 แล(่ ไหล)่ 2 แขน 2 ทอ้ ง 1 สขี า้ ง 2 หลงั 1 หนา้ 1 ขา 2 เทา้ 2 ร่างกายของคนนนั้ จะมจี ติ วญิ ญาณสงิ สถติ อยู่ คนเราจงึ ประกอบไปด้วยร่าง ขวญั และจติ วญิ ญาณ

บอ่ เกิดภมู ปิั ญญาภาคกลาง ภาคกลางมพี น้ื ท่ี 91,795 ตารางกโิลเมตรประกอบดว้ ย 22จงั หวดั สุโขทยั พษิ ณุโลก พจิ ติ ร เพชรบูรณ์ สระบุรี ลพบุรี นครสวรรค์ กาํ แพงเพชร อุทยั ธานี สุพรรณบุรี ชยั นาท สงิ ห์บุรี อ่างทอง พระนครศรอี ยุธยา นครนายก ปทุมธานี นนทบุรี นครปฐม สมุทรสงคราม สมุทรสาคร สมุทรปราการ และกรุงเทพมหานคร เป็นภาคทมี่ เีนอ้ื ทมี่ าก เป็นอนั ดบั 3 ของประเทศ รองจากภาคตะวนั ออก และภาคเหนอื



ภมู ปิ ระเทศ มที ร่ี าบลุม่ และมแี ม่น้าํ ขนาดใหญ่เป็นดนิ แดนทม่ี ี ความอุดมสมบูรณ์ มที ร่ี าบชายฝ่ังทะเลทางด้านตะวนั ตกมเีทอื กเขาสูง และทร่ี าบหุบเขาแคบๆ ภมู ิอากาศ อุณหภูมริ ะหว่างฤดูร้อนและฤดูหนาวโดยเฉลยี่ แลว้ ไมค่ วามแตกต่างกนั มากนกั ฤดูฝนมรี ะยะเวลาประมาณ 5-6 เดอื น ทรัพยากรธรรมชาติ พน้ื ทม่ี คี วามอุดมสมบูรณ์น้าํ มี ปรมิ าณมากและเพยี งพอในการอุปโภคบรโิ ภค มแี ร่หลายชนดิ แก่แร่ เหลก็ ยปิ ซมั่ หนิ ปูน

ภมู ปิั ญญาด้านศิลปกรรม หมายถงึ ภูมปิ ญั ญาในส่วน ทเี่กย่ี วขอ้ งกบั สถาปตั ยกรรมอนั หมายถงึ การก่อสร้างทอี่ ยู่ อาศยั ซง่ึ การปลูกสร้างมลี กั ษณะเฉพาะดงั น้ี 1.บา้ นเรอื นในภาคกลาง เป็นบา้ นใต้ถุนสูง 2.หลงั คาบา้ นภาคกลางเป็นทรงจว่ั สมเหลยี่ มสูงเพอื่ ลดความร้อนใต้ หลงั คา 3.วสั ดุมุงหลงั คาส่วนมากเป็นแฝก จาก ไม้ กระเบอ้ื งดนิ เผา 4.มชี ายคายนื่ ยาวออกไปนอกตวั บา้ นเพอื่ ป้องกนั ฝนสาดเขา้ หนา้ ต่าง และยงั ป้องกนั แสงแดดกระทบตวั บา้ นเรอื น 5.บา้ นแยกหอ้ งครวั หอ้ งนอน หอ้ งโถงและชานบา้ นเป็นสดั ส่วน





บอ่ เกิดภมู ปิั ญญา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ภาคอสี าน หรอื ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื เป็นเขตหรอื ภาคหน่ึงทางทศิ ตะวนั ออกเฉยี งเหนือของประเทศไทย อยูบ่ นทรี่ าบ สงู โคราช มีแมน่ าํ้ โขงกน้ั เขตทางตอนเหนือและตะวนั ออกของภาค ทางดา้ นใตจ้ รดชายแดนกมั พชู า ทางตะวนั ตกมเี ทอื กเขาเพชรบูรณ์ และเทอื กเขาดงพญาเย็นเป็นแนวกน้ั แยกจากภาคเหนือและภาคกลาง ภาษาหลกั ของภาคน้ี คอื ภาษาอสี าน แตภ่ าษาไทยกลางก็นิยมใชก้ นั แพรห่ ลายโดยเฉพาะในเมืองใหญ่ ขณะเดยี วกนั ยงั มภี าษาเขมร ทใี่ ชก้ นั มากในบรเิ วณอสี านใต้ นอกจากน้ียงั มภี าษาถ่ินอนื่ ๆ อกี มาก เชน่ ภาษาผไู้ ท ภาษาโส้ ภาษาไทยโคราช เป็นตน้

ภาคอสี านมเีอกลกั ษณ์ทางวัฒนธรรมทโ่ีดดเด่น เช่น อาหาร ภาษา ดนตรีหมอลาํ และศิลปะการฟ้ อนราํ ทเี่ป็นเอกลกั ษณ์เฉพาะ เป็นต้น ภาคอีสาน มเีนอ้ื ทม่ี ากทส่ี ุดของประเทศไทย ประมาณ 168,854 ตารางกโิลเมตร หรอื มเีนอ้ื ทรี่ ้อยละ 33.17 เทยี บได้กบั หนง่ี ในสามของ พน้ื ทที่ งั้ หมดของประเทศไทยได้จดั ว่าเป็นพน้ื ทที่ ใ่ีหญท่ ส่ี ุดในประเทศไทย เทอื กเขาทสี่ ูงทสี่ ุดในภาคอสี านคอื ยอดภูหลวง และภูกระดงึ ซง่ึ เป็นต้น กาํ เนดิ ของแมน่ ้าํ สายสาํ คญั ของชาวอสี านในหลายจงั หวดั ด้วยกนั เช่น ลาํ ตะคอง แม่น้าํ ชี แม่น้าํ พอง แม่น้าํ เลย แม่น้าํ พรม แมน่ ้าํ มูล

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือประกอบด้วย 20 จงั หวดั ไดแ้ ก่ หนองคาย นครพนม มุกดาหาร สกลนคร อุดรธานี เลย ขอนแก่น ชยั ภูมิ มหาสารคาม กาฬสนิ ธ์ุ ร้อยเอด็ ยโสธร อุบลราชธานี ศรสี ะเกษ สุรนิ ทร์ บุรรี มั ย์ นคราชสมี า บงึ กาฬ อาํ นาจเจรญิ หนองบวั ลาํ ภู ภมู ปิ ระเทศ พน้ื ทเี่ป็นทรี่ าบสูง แอ่งกระทะ มขี อบสูงชนั เป็นสนั เขา ภมู ิอากาศ มลี กั ษณะใกลเ้คยี งกบั ภาคเหนอื และภาคกลางฤดู ฝนมรี ะยะเวลาประมาณ 4-5 เดอื น

ทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉลยี่ แลว้ มคี วามอุดมสมบูรณ์ นอ้ ยกว่าภาคอน่ื ๆมแี ร่ธาตุธรรมชาตทิ ส่ี าํ คญั ได้แก่ แร่เกลอื หนิ แร่ โพแทช

ภมู ิปั ญญาด้านอุตสาหกรรมและหัตถกรรม คาํ ขวญั ของจงั หวดั ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ทกี่ ลา่ วถงึ ภูมิ ปญั ญาดา้ นหตั ถกรรมทอผา้ ไหมและผา้ ฝ้ ายมากทส่ี ุด 11 จงั หวดั จังหวัดอุดรธานี : น้าํ ตกจากสนั ภูพาน อุทยานแหลง่ ธรรมะ อารยธรรมหา้ พนั ปี ธานผี า้ ลายขดิ แกนเนรมติ หนองประจกั ษ์ เลศิ ลกั ษณ์กลว้ ยไมห้ อมอุดรซนั ไชน์ จังหวัดขอนแก่น : พระธาตุขามแก่น เสยี งแคนดอกคูน ศูนย์ รวมผา้ ไหม ร่วมใจผูกเสยี่ ว เทย่ี วบงึ แก่นนคร

จังหวัดชัยภมู ิ : ชยั ภูมทิ วิ ทศั น์สวย รวยป่าใหญ่ มชี า้ งหลาย ดอกไมง้ าม ลอื นามวรี บุรุษ สุดยอดผา้ ไหม พระใหญ่ทวารวดี จังหวัดมหาสารคาม: พุทธมณฑลศรอี สี าน ถนิ่ ฐานอารย ธรรม ผา้ ไหมล้าํ เลอค่า ตกั ศลิ านคร จังหวัดกาฬสินธ์:ุ เมอื งฟ้ าแดดสงยาง โปงลางเลศิ ล้าํ วฒั นธรรมภูไท ผา้ ไหมแพรวา ผาเสวยภูพาน มหาธารลาํ ปาว ไดโนเสาร์สตั ว์โลก จังหวัดร้อยเอ็ด: ร้อยเอด็ เพชรอสี าน พลาญชยั บงึ งาม เรอื งนามพระสูงใหญ่ ผา้ ไหมชน้ั ดี สตรโี สภา ทุกุลาสดใส งานใหญ่ บุญผะเหวด

จังหวัดยโสธร: เมอื งประชาธปิ ไตย บง้ั ไฟโก้ แตงโมหวาน หมอนขวานผา้ ขดิ แหลง่ ผลติ ขา้ วหอมมะลิ จังหวัดสรุ ินทร์: สุรนิ ทร์ถน่ิ ชา้ งใหญ่ ผา้ ไหมงาม ประคาํ สวย ร่าํ รวยปราสาท ผกั กาดหวาน ขา้ วสารหอม งามพร้อมวฒั นธรรม จังหวัดบรุ ีรัมย์: เมอื งปราสาทหนิ ถนิ่ ภูมเิขาไฟ ผา้ ไหมสวย รวยวฒั นธรรม จังหวัดนครราชสีมา:เมอื งหญงิ กลา้ ผา้ ไหมดี หมโี่คราช ปราสาทหนิ ดนิ ด่านเกวยี น

จังหวัดอาํ นาจเจริญ:พระมงคลมง่ิ เมอื ง แหลง่ รุ่งเรอื งเจด็ ลุม่ น้าํ งามล้าํ ถ้าํ ศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิ เทพนมิ ติ พระเหลา เกาะแก่งเขาแสนสวย เลอค่าด้วยผา้ ไหม ราษฎร์เลอื่ มใสใฝ่ ธรรม ภมู ิปั ญญาการย้อมสีด้วยวัสดุธรรมชาติ 1.แก่นขนนุ สีที่ได้ เหลือง 2.ต้นคราม สีที่ได้ สีคราม 3.มะเกลือ สีที่ได้ ดาํ 4.รากต้นยอ สีที่ได้ แดง/แดงคล้าํ

บอ่ เกิดภมู ิปั ญญาภาคตะวันออก ภาคตะวันออก มพี น้ื ท่ี 34,381 ตารางกโิลเมตร ประกอบด้วยจงั หวดั ต่างๆ 7 จงั หวดั ไดแ้ ก่ ปราจนี บุรี ฉะเชงิ เทรา ชลบุรี จนั ทบุรี ระยอง ตราด และสระแกว้ ภมู ิประเทศ เป็นเทอื กเขาสลบั กบั ทรี่ าบลกั ษณะคลา้ ยลูกฟูก และส่วนหนงึ่ จะเป็นทรี่ าบชายฝั่งทะเล ภมู ิอากาศ มคี วามแตกต่างกนั มากระหว่างดา้ นตะวนั ตก และดา้ นตะวนั ออกของภาค ด้านตะวนั ตกของภาคได้แก่ จงั หวดั ชลบุรฉี ะเชงิ เทราและบางส่วนของระยองกบั ปราจนี บุรี



ทรัพยากรธรรมชาติ มปี ่าไมท้ อี่ ุดมสมบูรณ์ เป็นป่าดงดบิ มแี ร่เหลก็ และรตั นชาตทิ ส่ี มบูรณ์และมชี อ่ื เสยี งของประเทศ ภมู ิปั ญญาด้านโภชนาการ 1.เส้นก๋วยเต๋ียว ไดแ้ ก่ เสน้ ก๋วยเตยี๋ วจนั ทบุรี 2.ขนมกระยาสารท ไดแ้ ก่ ขนมกระยาสารทจงั หวดั ฉะเชงิ เทราของนางพรรณี นอ้ ยใจบุญ

บ่อเกิดภมู ิปั ญญาภาคตะวันตก ภาคตะวันตก มแี ม่น้าํ แมก่ ลองเป็นแมน่ ้าํ สายหลกั ทส่ี าํ คญั ของภูมภิ าคทเ่ีกดิ มาจากการบรรจบกนั แมน่ ้าํ แควนอ้ ยและแควใหญ่ ภาคตะวันตกมพี ้นื ที่ 34,381 ตารางกโิลเมตร ประกอบด้วยจงั หวดั ต่างๆ 5 จงั หวดั ไดแ้ ก่ จงั หวดั ตาก กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี และประจวบครี ขี นั ธ์ ภมู ปิ ระเทศ มลี กั ษณะเป็นเทอื เขาสูงสลบั กบั ทรี่ าบหุบเขาแคบๆ ภมู ิอากาศ แบบทุ่งหญา้ สะวนั นา มฝี นตกในฤดูร้อน ฤดูหนาว แหง้ แลง้ ปรมิ าณน้าํ ฝนนอ้ ยพชื พรรณธรรมชาตเิป็นทุ่งหญา้ สลบั ป่า



ทรัพยากรธรรมชาติ มปี ่าไมค้ ่อนขา้ งมากและมแี ร่ธรรมชาติ ทสี่ าํ คญั ๆได้แก่ แร่ดบี ุก ตะกว่ั และ ฟลูออไรด์ ภมู ิปั ญญาด้านศิลปกรรม(การละเล่นพ้นื บ้าน) ภาคตะวนั ตกมกี ารละเลน่ พน้ื บา้ นคอื เพลงเหย่อย ซง่ึ เป็น เพลงทถี่ อื กาํ เนดิ ทอ่ี าํ เภอพนมทวน จงั หวดั กาญจนบุรี เพลงเหย่อย จดั อยู่ในประเภทเพลงปฏพิ ากย์ ได้แก่เพลงทชี่ าย หญงิ ร้องโต้ตอบกนั ด้วยปฏภิ าณไหวพรบิ ด้วยสาํ นวนโวหารทไ่ีพเราะกนิ ใจ จะร้องกนั ในงานวนั นกั ขตั ฤกษ์ วนั ตรุษและวนั สงกรานต์ และบทเพลงเหย่อยจะมี 2 วรรควรรคหนา้ ใชค้ าํ 4-5 คาํ วรรคหลงั จะมี 6-8 คาํ จดุ เด่น ลงทา้ ยทุกคาํ ด้วยคาํ ว่า เหย่อย เพยี นมาจาก เอย

บอ่ เกิดภมู ปิั ญญาภาคใต้

ภาคใต้ มพี น้ื ท่ี 70,715 ตารางกโิลเมตร ประกอบด้วย จงั หวดั ต่างๆ 14 จงั หวดั ได้แก่ จงั หวดั ชุมพร ระนอง พงั งา สุราษฎร์ธานี กระบี่ นครศรธี รรมราช ตรงั ภูเกต็ สงขลา สตูล พทั ลุง ปตั ตานี ยะลา และนราธวิ าส ภมู ิประเทศ เป็นคาบสมุทร มเีทอื กเขาทอดยาว ขนาบด้วยที่ ราบชายฝ่ังทะเล ภมู ิอากาศ มลี กั ษณะภูมอิ ากาศมรสุมเขตร้อน ฝนตกชุก ทรัพยากรธรรมชาติ ไดแ้ ก่ ป่าดงดบิ ป่าชายเลน และ แร่ธาตุ อุดมสมบูรณ์

ภมู ปิั ญญาด้านการแพทย์แผนไทย การบาํ บดั รักษาของแพทย์แผนไทยภาคใต้ 1.การใช้ศาสตร์ หมายถงึ การใชค้ วามรู้ทห่ี มอกลางบา้ นได้ สบื ทอดต่อๆกนั มา 2.การใช้ศิลป์ หมายถงึ วธิ กี ารรกั ษาอกี รูปแบบหนง่ึ ของ หมอกลางบา้ นทใี่ชอ้ ุบายในการบาํ บดั รกั ษาโรคใหแ้ ก่คนไข้ 3.การใช้มายิกขาว คอื การใชม้ นต์มายา ซงึ่ เป็นวธิ กี าร ทางไสยศาสตร์ในการบาํ บดั รกั ษา เพอ่ื ปดั เป่าเสนยี ดจญั ไร ขบั ไลผ่ ี ร้ายใหอ้ อกจากผูป้ ่วย

ตัวยากลางบ้านของภาคใต้ 1.ตัวยากลางบา้ นของพชื ไดแ้ ก่ พรรณไม้ หญา้ เครอื เถา ซง่ึ อาจได้จากเกสร ดอก ผล เมลด็ เปลอื ก กระพ้ี ยาง แก่น ราก ใบ เนอ้ื ไม้ เป็นต้น 2.สัตว์ เป็นอวยั วะของสตั ว์ เช่น หวั ขน หนงั เขา นอ งา เขย้ี ว ฟัน กราม กบี กระดูก ดี เนอ้ื ตบั น้าํ นม น้าํ ผง้ึ เป็นต้น 3.ธาตุวัตถุ เป็นแร่ธาตุ เช่น การบูร ดนิ ประสวิ กาํ มะถนั จุนสี เป็นต้น

รสชาติของยากลางบา้ น 1.รสฝาด มสี รรพคุณทางสมาน 2.รสหวาน มสี รรพคุณทางใหซ้ มึ ซาบไปตามกลา้ มเนอ้ื 3.รสเบือ่ เมา มสี รรพคุณทางแกพ้ ษิ 4.รสขม มสี รรพคุณทางแกโ้ ลหติ และน้าํ ดี 5.รสเผด็ ร้อน มสี รรพคุณทางแกล้ ม 6.รสมัน มสี รรพคุณทางแกเ้ สน้ เอน็ 7.รสหอมเย็น มสี รรพคุณทางบาํ รุงดวงจติ ใหส้ ดชน่ื 8.รสเค็ม มสี รรพคุณใหซ้ มึ ซาบตามผวิ หนงั

9.รสเปร้ยี ว มสี รรพคุณทางแกเ้ สมหะ 10.รสจืด มสี รรพคุณทางแกเ้ สมหะ น้าํ หนักตาํ รายาโบราณของภาคใต้ 1 ชง่ั เท่ากบั 1,200 กรมั 1 ตาํ ลงึ เท่ากบั 60 กรมั 1 บาท เท่ากบั 15 กรมั 1 สลงึ เท่ากบั 4 กรมั 1 เฟ้ือง เท่ากบั 2 กรมั

ประเภทยากลางบา้ น 1.ยาลกู กลอน คอื ยาทบ่ี ดหรอื ตาํ ผงผสมดว้ ยน้าํ เชอ่ื มหรอื น้าํ ผง้ึ แลว้ ปน้ั คลงึ เป็นกอ้ นสาํ หรบั กลนื กนิ 2.ยาผง คอื ยาทบ่ี ดหรอื ตาํ ละเอยี ด ใชล้ ะลายน้าํ กนิ ทา ป้าย โรย นตั ถุ์ แลว้ แต่ชนดิ 3.ยาต้ม คอื ยาทนี่ าํ เครอ่ื งยามาตดั เป็นท่อนเป็นช้นิ แลว้ นาํ มา ต้มโดยต้มในภาชนะดนิ เผาใส่น้าํ ใหท้ ่วมตวั ยาเคยี วตามทตี่ ้องการ 4.ยาดอง คอื ยาทใ่ีชเ้ ครอื่ งยาแช่ดว้ ยน้าํ ขา่ หรอื สุราแลว้ เอา เฉพาะส่วนทเ่ีป็นน้าํ กนิ

5.ยาต้ัง คอื ยาทท่ี าํ เป็นแท่งใชว้ างทาตรงปากบาดแผลเพอื่ ให้ ดูดพษิ ร้ายออก 6.ยาเหน็บ คอื ยาทที่ าํ เป็นกอ้ นหรอื เป็นแท่งใชเ้ หนบ็ รกั ษาแผลใน ช่องทวารหนกั มกั ใชก้ ารรกั ษาโรครดิ ดวงงอกเพอื่ ใหย้ ุบหรอื หดตวั 7.ยาอม คอื ยาทท่ี าํ เป็นมดเมอ่ื อมแลว้ จะค่อยละลายมกั เป็นยาท่ี มรี สหวาน 8.ยาชง คอื ยาทต่ี ้องการชงด้วยน้าํ ร้อน โดยมากใชด้ ม่ื เพอื่ บาํ รุง 9.ยาทา คอื ยาน้าํ หรอื ยาผงทใ่ีชท้ าภายนอก

10.ยาดม คอื ยาทม่ี กี ลนิ่ ระเหยอาจใชผ้ า้ ห่อหรอื ปลอ่ ยใหร้ ะเหย แลว้ ดมกลน่ิ 11.ยารม คอื ยาทตี่ ้องเผาไฟใหเ้ กดิ ควนั แลว้ ใชไ้ อรม 12.ยาอาบ คอื ยาทต่ี ้มเอาน้าํ อาบ 13.ยาแช่ คอื ยาทผี่ สมดว้ ยน้าํ แลว้ ลงแช่ 14.ยาเป่ า คอื ยาทผี่ สมแลว้ ทาํ ใหเ้ ป็นผงใชก้ ลอ้ งเป่า 15.ยามวน คอื ยาทที่ าํ เป็นมวนแลว้ สูบเอาควนั 16.ยาบ้วน คอื ยาน้าํ ทใ่ีชอ้ มแลว้ บว้ นทง้ิ 17.ยาประคบ คอื ยาทท่ี าํ เป็นรูปประคบ

18.ยาสกัด คอื ยาทตี่ ้มกบั พวกพฤษชาตเิอาน้าํ เคย่ี วจน น้าํ ยางวดเป็นแท่ง 19.ยาน้าํ ส้ม คอื ยาทส่ี กดั ในน้าํ สม้ 20.ยาน้าํ กระสาย คอื ยาทผ่ี สมกบั น้าํ มนั ของหอม 21.ยาสมุ คอื ยาทล่ี ะลายดว้ ยน้าํ แลว้ ชุบผา้ หรอื สาํ ลใีหช้ ุ่มแลว้ นาํ มาพอกหรอื ปิดทบั ไว้เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความชุมเยน็ หรอื เปียกชุ่ม

ภมู ปิั ญญาในการแพทย์แผนไทย 1.รู้ทเ่ีกดิ ของโรค โดยรู้สาเหตุของโรคจากปจั จยั ต่างๆ 2.รู้จกั โรคโดยทราบอาการของโรคและชอ่ื สมมุตขิ องโรค ตามอาการ 3.รู้จกั ยารกั ษาโรคโดยทราบถงึ สรรพคุณและวธิ ปี รุงยา 4.รู้จกั รกั ษาโรค โดยทราบว่าโรคชนดิ ใดควรรกั ษายา และวธิ กี ารอย่างไร

การบาํ บดั และการรกั ษาโรคแผนไทย 1.การใช้สมนุ ไพร 2.การนวดและการบริหารรา่ งกาย 3.การใช้พธิ ีกรรมและความเช่ือ ประกอบในการรักษาโรค

สรปุ 1.การแก้ไขปั ญหาในการ ดาํ รงชีวิต 2.การพฒั นาวิถีชีวิตให้ ดีกว่าเดิม

หน่วยท่ี 5 การดาํ รงรักษา ภมู ปิั ญญาไทย

การดาํ รงรักษาภมู ปิั ญญาไทย 1.การวิจัยภมู ิปั ญญาไทย หมายถงึ ระบบการศกึ ษาทงั้ 3 รูปแบบไดแ้ ก่ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ การศึกษาตามอัธยาศัย แนวทางการทาํ วิจัยภมู ปิั ญญาไทย มดี ังน้ี 1.กจิ กรรมการสาํ รวจขอ้ มูลเบอ้ื งต้น 2.กจิ กรรมการนาํ ขอ้ มูลมาเลอื กสรร กาํ หนดหวั ขอ้ ใน การศกึ ษา สงั เคราะห์และวเิคราะห์ภูมปิ ญั ญาในแต่ละด้าน

3.กจิ กรรมสรุปองค์ความรู้ภูมปิ ญั ญาไทยของทอ้ งถนิ่ เพอื่ เป็น กรณศี กึ ษา โดยกาํ หนดหวั ขอ้ องค์ความรู้ในเรอ่ื งต่างๆ ได้แก่ 3.1 การเกดิ ภูมปิ ญั ญาด้านต่างๆ 3.2 ปจั จยั ทก่ี ่อใหเ้ กดิ ภูมปิ ญั ญาในแต่ละด้าน 3.3 คุณประโยชนข์ องภูมปิ ญั ญาทคี่ ดิ ค้นขน้ึ 3.4 การพฒั นาภูมปิ ญั ญาทมี่ กี ารคดิ ค้น 4.สรุปผลการวจิ ยั 5.กจิ กรรมการนาํ ภูมปิ ญั ญาดงั กลา่ วเขา้ สู่กระบวนการเรยี นรู้ ในระบบการศกึ ษา 3 รูปแบบ

6.กจิ กรรมการเผยแพร่ประชาสมั พนั ธ์ใหผ้ ูอ้ นื่ รบั รู้ 2.การอนรุ ักษ์ภมู ิปั ญญาไทย หมายถงึ การพทิ กั ษ์ รกั ษาภูมปิ ญั ญาไทยทมี่ มี าแต่เดมิ ใหค้ งดาํ รงอยู่ในสงั คมไทย การดาํ รงอยู่ในสังคมไทยมีความหมาย 2 ประการ 1.การพทิ ักษ์รักษาภมู ิปั ญญา ใหม้ กี ารใชใ้ นวถิ ชี วี ติ ประจาํ วนั กนั อย่างกว้างขวางเหมาะสมกบั สภาพปจั จุบนั 2.การดาํ รงอยู่ในสังคม หมายถงึ การดาํ รงอยู่ด้วย การรบั รู้ว่า


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook