Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภูมิปัญญาท้องถิ่น ม.658

ภูมิปัญญาท้องถิ่น ม.658

Published by kingmanee2614, 2021-01-25 07:44:58

Description: ภูมิปัญญาท้องถิ่น ม.658

Search

Read the Text Version

วิชาภมู ิปญ ญาทอ งถิน่ ส33202

หน่วยท่ี 1 ความหมายและขอบข่าย ภมู ิปัญญาไทย

ความหมายของภมู ิปัญญา 1.พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ 2525 ใหค้ วามหมาย ภมู ิปัญญา คอื พ้นื เพความรู้ ความสามารถ 2. สาํ นกั งานวฒั นธรรมแห่งชาติ ใหค้ วามหมายไว้ 2 ลกั ษณะ

1.ความหมายทวั่ ไป ภมู ปิ ัญญา หมายถงึ พ้ืนเพ รากฐาน ความรอบรูข้ องชาวบา้ นทเ่ี รยี นรูแ้ ละมปี ระสบการณท์ งั้ ทางตรงและทางออ้ มสบื ตอ่ กนั มา 2.ความหมายเฉพาะ ภมู ิปัญญา คอื องคค์ วามรูห้ รอื สตปิ ัญญาสงั่ สมทเี่ กิดจากความคดิ รเิ รมิ่ และหรอื ประยุกตค์ วามรูอ้ ยา่ งชาญฉลาดไดป้ ฏิบตั จิ นเป็นทยี่ อมรบั และเป็นประโยชนต์ อ่ การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ

3.โครงการกิตเิ มธี สาขาศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช ไดใ้ หค้ วามหมาย ภูมปิ ัญญา หมายถงึ ความรู้ ความคดิ ความเชอื่ ความสามารถ ความจดั เจนทก่ี ลุม่ ชนไดจ้ ากประสบการณท์ ส่ี ง่ั สมไวใ้ น การปรบั ตวั และดาํ รงชวี ติ ในระบบนิเวศหรอื สภาพ แวดลอ้ มทางธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มทางสงั คม- วฒั นธรรมทไี่ ดม้ กี ารพฒั นาสบื สานกนั มา

4.สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาติ สาํ นกั นายกรฐั มนตรี ใหค้ วามหมายภมู ปิ ัญญาไทย ภมู ิปัญญาไทย หมายถึงองคค์ วามรู้ ความ สามารถ และทกั ษะของคนไทยอนั เกิดจาการสงั่ สมประสบการณ์ ทผี่ า่ นกระบวนการเรยี นรู้ เลือกสรร ปรุงแตง่ พฒั นา และถา่ ยทอดสบื ตอ่ กนั มาเพื่อใชแ้ กป้ ัญหาและพฒั นาวถิ ี ชวี ติ ของคนไทยใหส้ มดุลกบั สภาพแวดลอ้ มและเหมาะสม กบั ยคุ สมยั

ขอบข่ายภมู ิปัญญาไทย 1.วิชติ นนั ทสวุ รรณ นกั วชิ าการ ดา้ นภมู ปิ ัญญา ไทยจาํ แนกภูมปิ ัญญาออกเป็ น 3 ลกั ษณะ 1.1 ภมู ปิ ัญญาจากการใชช้ วี ติ ในธรรมชาติ 1.2 ภมู ปิ ัญญาจากประสบการณก์ ารอยรู่ ว่ มกนั 1.3 ภูมปิ ัญญาเฉพาะดา้ น

2.ดร. เสรี พงศพ์ ศิ ประธานมลู นิธหิ มบู า้ น กาํ หนดประเภทภมู ปิ ัญญาออกเป็ น 2 ประเภท 2.1 ภมู ปิ ัญญาระดบั ชาติ 2.2 ภมู ปิ ัญญาระดบั ทอ้ งถน่ิ หรอื ภูมปิ ัญญา ชาวบา้ น

3. สาํ นกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแห่งชาติ กระทรวงวฒั นธรรม กาํ หนดขอบขา่ ยภมู ปิ ัญญาไว้ 5 ดา้ น 3.1 ภมู ิปัญญาดา้ นการเกษตร หมายถงึ การ ผสมผสานการเกษตรและเทคโนโลยี โดยพฒั นาบน พ้ืนฐานคณุ คา่ ดงั่ เดมิ ซงึ่ คนสามารถพึ่งตนเองใน ภาวะการณต์ า่ งๆ

3.2 ภมู ปิ ัญญาดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม หมายถงึ การ อนุรกั ษท์ ง้ั ดา้ นธรรมชาตแิ ละศิลปวฒั นธรรม การ อนุรกั ษป์ ่ าไม้ ตน้ นาํ้ ลาํ ธาร การรกั ษาและถา่ ยทอด ความรูด้ ง้ั เดมิ เพื่อการอนุรกั ษ์ เชน่ การเคารพแมน่ าํ้ แผน่ ดนิ พืชพนั ธุธ์ ญั ญาหารและโบราณสถาน โบราณวตั ถุ ฯลฯ

3.3 ภมู ิปัญญาดา้ นการจดั การ สวสั ดกิ าร และธรุ กจิ ชมุ ชน เชน่ -กองทนุ ตา่ งๆในชุมชน เชน่ สหบาลขา้ ว (ธนาคารขา้ ว) สหกรณร์ า้ นคา้ กลุม่ สจั จะออมทรพั ย์ และการจดั การผลิต ฯลฯ -กลุม่ แมบ่ า้ น กลุม่ เยาวชน ฯลฯ

3.4 ภมู ิปัญญาดา้ นการรกั ษาโรค โดยการสบื ทอด ความรูด้ ง้ั เดมิ และรูจ้ กั ประยกุ ตค์ วามเชอ่ื ของทอ้ งถิ่นเชน่ หมอธรรม ( ไดแ้ ก่ หมอพ้ืนบา้ นทรี่ กั ษาคนไขด้ ว้ ย สมุนไพรผสมพิธกี รรมการเสก การเป่ า 3.5 ภูมิปัญญาดา้ นการผลติ และการบรโิ ภค คอื การ รูจ้ กั ประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี มยั ใหมใ่ นการแปรรูป ผลผลิตเพ่ือชะลอการนาํ เขา้ ตลาดเชน่ การใชเ้ ครอ่ื งสี ขา้ วและครกตาํ ขา้ ว

4.ศาสตราจารย์ ดร.เอกวิทย์ ณ ถลาง ไดก้ าํ หนดกรอบภมู ปิ ัญญาไว้ 4 ลกั ษณะ 4.1 ความเชอื่ -โลกทศั น์ ทบี่ ง่ บอกลกั ษณะ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งมนุษยก์ บั สงิ่ แวดลอ้ มใน ธรรมชาติ เหนือธรรมชาตแิ ละระหวา่ งมนุษยด์ ว้ ยกนั 4.2 วิถกี ารดาํ รงชวี ิต การแกป้ ัญหา การปรบั ตวั กบั สง่ิ แวดลอ้ มและกระแสความเปลีย่ นแปลงทาง เศรษฐกิจและสงั คม

4.3 ศลิ ปหตั ถกรรม ประดษิ ฐก์ รรมในรูปเครอื่ งมอื ของใชศ้ ิลปวตั ถุทมี่ แี รงบนั ดาลใจจากสง่ิ แวดลอ้ มและ วฒั นธรรมตามพ้ืนภูมทิ หี่ ลากหลายระหวา่ งภมู ภิ าค 4.4 กระบวนการและพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ การ ถา่ ยทอดภูมปิ ัญญา ประสบการณก์ ารใหก้ ารศกึ ษา อบรมและการแกป้ ัญหาตามพ้ืนฐานวฒั นธรรมและ ปรชี าญาณของชาวบา้ น

5. คณะกรรมการการศกึ ษาแห่งชาติ ไดก้ าํ หนด ขอบขา่ ยของครูภมู ปิ ัญญาไว้ 9 ดา้ น 5.1 ดา้ นเกษตรกรรม ไดแ้ กค่ วามสามารถในการ ผสมผสานองคค์ วามรู้ ทกั ษะเทคนิคดา้ นการเกษตรกบั เทคโนโลยี 5.2 ดา้ นอตุ สาหกรรมและหตั ถกรรม ไดแ้ ก่ การรู้ จกั ประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี มยั ใหมใ่ นการแปรรูปผลผลติ เพื่อการบรโิ ภคอยา่ งปลอดภยั ประหยดั และเป็นธรรม

5.3 ดา้ นการแพทยแ์ ผนไทย ไดแ้ ก่ ความสามารถ ในการจดั การป้ องกนั และรกั ษาสุขภาพของคนในชมุ ชน เชน่ ยาสมุนไพร การนวดแผนโบราณ การดแู ลและ รกั ษาสุขภาพแบบพ้ืนบา้ น 5.4 ดา้ นการจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ สงิ่ แวดลอ้ ม ไดแ้ ก่ ความสามารถเกีย่ วกบั การจดั การ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มทงั้ การอนุรกั ษ์ การพฒั นาเชน่ การบวชป่ า การสบื ชะตาแมน่ าํ้ และป่ า ชมุ ชน

5.5 ดา้ นกองทุนและธรุ กจิ ชมุ ชน ไดแ้ ก่ ความ สามารถในดา้ นการสะสมและบรหิ ารกองทนุ และ สวสั ดกิ ารชุมชน 5.6 ดา้ นศลิ ปกรรม ไดแ้ ก่ ความสามารถในการ สรา้ งสรรค์ ผลงานทางดา้ นศลิ ปะสาขาตา่ งๆเชน่ จติ รกรรม ประตมิ ากรรม นาฏศิลป์ ดนตรี ทศั นศลิ ป์ การละเลน่ พ้ืนบา้ นและนนั ทนาการ

5.7 ดา้ นภาษาและวรรณกรรม ไดแ้ ก่ ความสามารถ ในการอนุรกั ษแ์ ละสรา้ งสรรคผ์ ลงานดา้ นภาษาคอื ภาษาถิน่ ภาษาไทยในภูมภิ าคตา่ งๆ 5.8 ดา้ นปรชั ญา ศาสนาและประเพณี ไดแ้ ก่ ความสามารถประยุกตแ์ ละปรบั ใชห้ ลกั ธรรมคาํ สอน ทางศาสนา ปรชั ญาความเชอื่ และประเพณีเชน่ การ ถา่ ยทอดวรรณกรรม คาํ สอน การบวชป่ า การประยกุ ต์ การทาํ บุญประทายขา้ ว

5.9 ดา้ นโภชนาการ ไดแ้ ก่ ความสามารถในการ เลือกสรร ประดษิ ฐแ์ ละปรุงแตง่ อาหารและยา

สรปุ ภูมิปัญญาไทย หมายถงึ องคค์ วามรู้ ความสามารถ และทกั ษะของคนไทยอนั เกิดจากการสงั่ สมประสบการณท์ ี่ ผา่ นกระบวนการเรยี นรู้ เลือกสรร ปรุงแตง่ พฒั นา และ ถา่ ยทอดสบื ตอ่ กนั มา เพื่อใชแ้ กป้ ัญหาและพฒั นาวถิ ชี วี ติ ของคนไทยใหส้ มดุลกบั สภาพแวดลอ้ มและเหมาะสมกบั ยคุ สมยั

หน่วยท่ี 2 ระบบเครอื ข่าย ความสมั พนั ธ์ของภมู ิปัญญาไทย

ความสาํ คญั ของการจดั ระบบเครอื ข่าย ความสมั พนั ธ์ของภมู ิปัญญาไทย 1.ภมู ิปัญญาการจดั ระบบเครอื ข่ายความ สมั พนั ธ์ระหว่างมนษุ ยก์ บั มนุษย์ หมายถึง การที่ มนุษยต์ ดิ ตอ่ สอื่ สารและปฏิบตั ติ อ่ กนั โดยมีความ เห็นใจ เขา้ ใจและพรอ้ มทจี่ ะชว่ ยเหลือเก้ือกูลกนั

การจดั ระบบเครอื ข่าย คณุ ประโยชนข์ องการจดั ระบบเครอื ข่าย ความสมั พนั ธ์-การพง่ึ พา ความสมั พนั ธ์ ความสมั พนั ธ์ระหว่าง -กฎเกณฑข์ องการอยูร่ ่วมกนั อยา่ งสนั ติ มนษุ ยก์ บั มนษุ ย์ -วฒั นธรรมการสอื่ สาร -ภาษา -การแลกเปลยี่ นเรียนรู้ -การสรา้ งสรรคภ์ มู ิปัญญาใหม่ -เกดิ ระบบเครอื ญาติ -ความรกั ความผูกพนั ในถนิ่ กาํ เนดิ -เกดิ ความเห็นใจเขา้ ใจซงึ่ กนั และกนั -ช่วยเหลอื เก้อื กูลกนั -พทิ กั ษ์ ปกป้ อง คุม้ ครองภยนั ตรายใหก้ นั และกนั

2.ภมู ิปัญญาการจดั ระบบเครอื ข่ายความ สมั พนั ธ์ระหว่างมนุษยก์ บั สงั คม หมายถึงการ ทมี่ นุษยด์ าํ เนินกจิ กรรมตา่ งๆตามกตกิ าอนั เป็นทย่ี อมรบั รว่ มกนั เพ่ือความมน่ั คงปลอดภยั ในชวี ติ และทรพั ยส์ นิ โดยมีความสาํ นึกในหนา้ ท่ี ความรบั ผดิ ชอบตอ่ ประโยชนส์ ุขของสว่ นรวม

การจดั ระบบ คณุ ประโยชนข์ องการจดั ระบบเครอื ข่าย เครอื ข่าย ความสมั พนั ธ์-การพง่ึ พา ความสมั พนั ธ์ กฎหมาย ระเบยี บ คาํ สง่ั เศรษฐกจิ ความสมั พนั ธ์ การเมือง การปกครอง อาชพี ภาษา ระหว่างมนษุ ยก์ บั จารตี ประเพณี ขนบธรรมเนยี ม ศลิ ปะ สงั คม วฒั นธรรมกจิ กรรม นนั ทนาการ และ ภมู ิปัญญา 9 ดา้ น ฯลฯ

3.ภมู ิปัญญาการจดั ระบบเครอื ข่ายความ สมั พนั ธ์ระหว่างมนุษยก์ บั ธรรมชาตแิ ละ สงิ่ แวดลอ้ ม หมายถึงการทม่ี นุษยใ์ ชป้ ระโยชน์ จากธรรมชาตเิ พ่ือการดาํ รงชวี ติ ของตนโดยมี ความเอ้อื อาทรตอ่ การดาํ รงอยดู่ ว้ ยดรี ะหวา่ ง มนุษยก์ บั ธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม

การจดั ระบบเครอื ข่าย คณุ ประโยชนข์ องการจดั ระบบเครอื ข่าย ความสมั พนั ธ์-การพงึ่ พา ความสมั พนั ธ์ ความสมั พนั ธ์ระหว่าง - อาชพี จากการอยูร่ ่วมกนั กบั ธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม มนุษยก์ บั ธรรมชาตแิ ละ เช่น พรานป่ า หาของป่ า เกษตรกรรม และผลติ ภณั ฑจ์ ากป่ า สงิ่ แวดลอ้ ม เป็ นตน้ - สมุนไพร - การแปรรปู ผลติ ภณั ฑจ์ ากป่ า เช่น @ การนาํ ไมไ้ ปปลูกสรา้ งบา้ นเรอื น @ การนาํ ไมไ้ ปทาํ เครอื่ งตกแต่งบา้ น @ การทอผา้ จากเสน้ ใยพชื /สตั ว์ - ตน้ นาํ้ ลาํ ธาร - การเกิดพนั ธุ์พชื อย่างหลากหลาย - การเพาะพนั ธุ์สตั ว์ป่ าธรรมชาติ เป็ นตน้

4.ภูมปิ ัญญาการจดั ระบบเครอื ข่ายความสมั พนั ธ์ ระหว่างมนุษยก์ บั สงิ่ เหนอื ธรรมชาติ -ความเชอ่ื เกยี่ วกบั บาป-บญุ เชน่ หา้ มผูห้ ญงิ มคี รรภต์ ก ปลาเพราะเชอ่ื ว่า จะทาํ ใหค้ ลอดลูกยากเหมือนปลาตดิ เบ็ดด้นิ ไมห่ ลุด แต่เจตนาที่แทจ้ รงิ คอื ไมต่ อ้ งการใหผ้ ูห้ ญงิ มคี รรภท์ าํ บาปเพ่ือใหล้ กู เกิดมามีจติ ใจดแี ละตอ้ งการใหพ้ กั ผอ่ น -ความเชอ่ื เกยี่ วกบั วิถชี วี ิตเชน่ หา้ มไถนาในวนั พระ เพราะ เชอ่ื ว่าจะทาํ นาไมไ่ ดผ้ ล แต่เจตนาที่แทจ้ รงิ คอื ตอ้ งการใหช้ าวไร่ ชาวนาไดห้ ยดุ พกั ผอ่ นไปทาํ บุญในวนั พระ

การจดั ระบบเครอื ข่าย คณุ ประโยชนข์ องการจดั ระบบเครอื ข่าย ความสมั พนั ธ์-การพงึ่ พา ความสมั พนั ธ์ ความสมั พนั ธ์ระหว่าง -อาชพี เกยี่ วกบั สง่ิ ทอ่ี ยูเ่ หนอื ธรรมชาติเช่น มนษุ ยก์ บั สง่ิ เหนอื @ อาชพี โหร ธรรมชาติ @ อาชพี หมอดู @ อาชพี การทรงเจา้ เขา้ ทรงเพอื่ ติดต่อกบั สง่ิ ศกั ดส์ิ ทิ ธิ์ ทอ่ี ยู่เหนอื ธรรมชาติ @ ศาสนา @ พธิ ีกรรมทางดา้ นจติ ใจ @ ความเกรงกลวั ต่อบาปหรือการกระทาํ ความผดิ @ ความสขุ ทางดา้ นจติ ใจ

การเกิดระบบความเชื่อในสังคมไทย ความเชอื่ เกดิ มาจากสาเหตุต่างๆแต่ส่วนมากมาจากความกลวั เป็นหลกั เช่นกลวั ตาย กลวั ความทุกข์ กลวั ภยั พบิ ตั แิ ละกลวั สง่ิ ทมี่ อง ไมเ่ หน็ อาทิ กลวั ฟ้ าพโิรธ กลวั ภูตผี ความกลวั อนั เกดิ จากความไม่รู้หรอื ทเ่ีรยี กว่าอวชิ ชาทาํ ใหเ้ กดิ ความเชอื่ ในเรอ่ื งต่างๆซง่ึ ความเชอื่ มอี ทิ ธพิ ลต่อวถิ ชี วี ติ คนไทยมา ตง้ั แต่สมยั สุโขทยั มาจนถงึ ปจั จุบนั ได้แก่เชอ่ื เรอื่ งนรกสวรรค์ตาม แนวคดิ พุทธศาสนาทาํ ใหค้ นไทยเชอื่ นรกสวรรค์เช่นหนงั สอื ไตรภมู ิ พระร่วง พระราชนพิ นธ์พระยาลไิท

สรปุ การจดั ระบบเครอื ขา่ ยความสมั พนั ธ์ของมนุษย์กบั มนุษย์ มนุษย์กบั สงั คม มนุษย์กบั ธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม มนุษย์กบั สง่ิ เหนอื ธรรมชาติ นน้ั เป็นความชาญฉลาดอนั เกดิ จาก ภูมปิ ญั ญาของมนุษย์ทจ่ี ะทาํ ใหท้ ุกคนทเ่ีกดิ มาสามารถดาํ รงชวี ติ อยู่ ไดอ้ ย่างมคี วามสุขสงั คมมคี วามสงบสุข มกี ฎ ระเบยี บทง้ั เป็นรูปธรรมเช่น การมสี มั มาคารวะ การเคารพผูใ้ หญ่และทเี่ป็นนามธรรมเช่นความเชอื่ เรอื่ งนรก สวรรค์ ความสมั พนั ธ์ใน 4 ประเดน็ หลกั ได้แก่

1.ระบบความสัมพนั ธ์ระหว่างมนษุ ย์กับมนษุ ย์ สามารถตดิ ต่อ สอื่ สาร ปฏบิ ตั ติ ่อกนั ด้วยความเหน็ ใจเขา้ ใจกนั 2.ระบบความสัมพนั ธ์ระหว่างมนษุ ย์กับสังคม สามารถดาํ เนนิ กจิ กรรมต่างๆ ตามกตกิ าอนั เป็นทย่ี อมรบั ร่วมกนั เพอ่ื ความปลอดภยั ในชวี ติ และทรพั ย์สนิ 3.ระบบความสัมพนั ธ์ระหว่างมนษุ ย์กับธรรมชาติและสิ่งแวด ล้อม มนุษย์ใชป้ ระโยชนจ์ ากธรรมชาตดิ ้วยความระมดั ระวงั ไมเ่ ป็นไปในลกั ษณะ ของการทาํ ลายลา้ งใหพ้ นิ าศ 4.ระบบความสัมพนั ธ์ระหว่างมนษุ ย์กับสิงเหนือธรรมชาติ ทาํ ให้ มนุษย์มเีครอื่ งกาํ กบั จติ ใจมใิหค้ ดิ กระทาํ ในสงิ่ ทเี่ป็นภยั แก่ตนเองแก่สงั คมและ มนุษย์ด้วยกนั รู้จกั การสร้างความสมดุลของชวี ติ ใหด้ าํ รงอยู่

-มีเครือ่ งมอื กาํ กับจิตใจ มนษุ ย์ มนษุ ย์กับ -การติดต่อสื่อสาร -ร้จู ักสรา้ งสมดุลของชีวิต กับส่ิง มนษุ ย์ -ปฏิบัติต่อด้วยกัน ให้มคี วามสุข เหนอื ความเห็นใจและเข้าใจ ธรรมชาติ มนษุ ย์ มนษุ ย์กับ มนษุ ย์กับ -ปฏิบัติตนตาม -ใช้ประโยชนจ์ าก ธรรมชาติและ มนษุ ย์ กติกาของสังคม ธรรมชาติด้วยความ สิ่งแวดล้อม ร่วมกัน ระมัดระวัง

หน่วยท่ี 3 ภมู ิปัญญาไทยในการจดั ระบบ เครอื ข่ายการพงึ่ พา

บ่อเกิดภมู ิปั ญญาไทยในการจัดระบบเครือข่าย การพงึ่ พา แบ่งออกได้ 4 ดา้ นได้แก่ 1.มนุษย์กบั มนุษย์ 2.มนุษย์กบั สงั คม 3.มนุษย์กบั ธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม 4.มนุษย์กบั สงิ่ เหนอื ธรรมชาติ ซงึ่ ความสมั พนั ธ์ทง้ั 4 ด้านใหเ้ กดิ การพงึ่ พาตามในหลากลกั ษณะ สัมพนั ธ์ คอื ความผูกพนั เกย่ี วขอ้ งกนั พงึ่ พา คอื การอาศยั พกั พงิ ผูอ้ น่ื หรอื การใหผ้ ูอ้ นื่ เป็นผูน้ าํ หรอื นาํ ไป

ความสัมพนั ธ์ ก่อให้เกิด ความผูกพนั ความเก่ียวข้องกัน ก่อให้เกิด การอาศัย ก่อให้เกิด การพกั พงิ ผูน้ าํ ผูต้ าม

1.การพงึ่ พาระหว่างมนษุ ย์กับมนษุ ย์ ในสมยั สุโขทยั เป็ นราชธานีจนถึงปัจจบุ นั เป็นสงั คมท่ี พระมหากษตั รยิ เ์ ป็ นผูป้ กครองเป็นทเี่ คารพสงู สุดประชาชนเป็น ผถู้ กู ปกครองหรอื อยภู่ ายใตร้ ม่ พระบรมโพธิสมภารอนั รม่ เย็น สถานภาพของพระมหากษตั รยิ จ์ งึ เป็นเสมือนทพ่ี ่ึงพาสงู สดุ มา แตโ่ บราณกาล ในสมยั สุโขทยั มกี ารปกครองแบบพ่อปกครองลกู ทาํ ให้ เกิดความชว่ ยเหลือเก้ือกลู ยอมรบั ความเป็ นผูน้ าํ และผูต้ ามซงึ่ นบั เป็นจดุ แข็งของสงั คมไทยมาแตโ่ บราณกาล

ด้วยเหตุผลดงั กลา่ วระบบการพงึ่ พาจงึ เกดิ ขน้ึ โดยพระมหากษตั รยิ จ์ ะทรงเป็นผูน้ าํ ในการทาํ นุบาํ รุง บา้ นเมอื งและไพร่ฟ้ าใหอ้ ยู่เยน็ เป็นสุขภายใต้ พระบารมขี องพระองค์เมอ่ื เกดิ ศกึ สงครามพระมหา กษตั รยิ ์ทรงเป็นผูน้ าํ ในการรบไพร่ฟ้ ากถ็ อื เป็นหนา้ ทใี่น การเป็นทหารร่วมออกรบเพอ่ื ปกป้องแผน่ ดนิ มใิหใ้ ครมา รุกรานได้และยงั ส่งเสรมิ สนบั สนุนใหป้ ระชาชนได้มกี าร ประกอบอาชพี

พฒั นาการของการจัดระบบเครือข่ายการพงึ่ พา ความสมั พนั ธ์ระหว่างมนุษย์กบั มนุษย์ได้ปรบั เปลยี่ นพฒั นามา ตามลาํ ดบั โดยเฉพาะในสมยั อยุธยาซงึ่ เป็นอาณาจกั รใหญ่และรุ่งเรอื ง มากการปกครองด้วยภูมปิ ญั ญาแบบพอ่ ปก ครองลูกกลายเป็นความ ลา้ หลงั ทาํ ใหเ้ กดิ ภูมปิ ญั ญาการปกครองดว้ ยการจดั ระบบการพงึ่ พา ใหม่เกดิ ขน้ึ คอื ระบบขุนนาง ระบบขุนนางเกดิ ขน้ึ เป็นระบบในสมยั อยุธยาโดยพระราช ทาน บรรดาศกั ด์ิ ราชทนิ นาม ตาํ แหน่งและศกั ดนิ าใหแ้ ก่บุคคลทท่ี รงโปรด

ขุนนางในสมยั กรุงศรอี ยุธยามอี าํ นาจ 4 ประการได้แก่ 1.ควบคุมดูแลไพร่พลในกรมกองทตี่ นเองเป็นผูบ้ งั คบั บญั ชาและควบคุมดูแลไพร่พลในหวั เมอื งชน้ั ในซง่ึ ถูกแบ่งใหส้ งั กดั กรม กองในเมอื งหลวงแทนพระมหากษตั รยิ ์ 2.เกบ็ ภาษอี ากร 3.เป็นผูพ้ พิ ากษาอรรถคดตี ่างๆทอี่ ยู่ในอาํ นาจของกรมกองที่ ตนบงั คบั บญั ชา 4.รายงานการเคลอื่ นไหวทเ่ีป็นผลร้ายแก่พระมหากษตั รยิ ์เช่น ขา่ วการกบฏ การยกั ยอกพระราชทรพั ย์ การลกั ลอบตดิ ต่อพระ สนม กาํ นลั

ในปจั จุบนั ภูมปิ ญั ญาในการจดั ระบบเครอื ขา่ ยการพง่ึ พาเป็นการ ผสมผสานระหว่างภูมปิ ญั ญาไทยกบั ภูมปิ ญั ญาสากลโดยจดั เป็นระเบยี บ บรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ใน 3 ส่วน ได้แก่ 1.การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง ประกอบด้วย กระทรวง ทบวง กรมต่างๆรบั ผดิ ชอบบรหิ ารตามอาํ นาจหนา้ ทท่ี กี่ าํ หนดไว้ ตามกฎหมาย 2.การจัดระเบยี บบริหารราชการส่วนภมู ภิ าค ประกอบด้วย -จังหวัด มผี ูว้ ่าราชการจงั หวดั เป็นผูร้ บั นโยบายและคาํ สงั่ จาก นายก,รฐั มนตรี กระทรวง ทบวง กรม -อาํ เภอ มนี ายอาํ เภอเป็นหวั หนา้ ปกครอง

3.การจัดระเบยี บบริหารราชการส่วนท้องถิ่น เป็นการจดั ใหร้ าษฎรมสี ่วนในการปกครองทอ้ งถน่ิ ไดแ้ ก่ องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วน ตาํ บล การจดั ระเบยี บบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ในปจั จุบนั ทาํ ใหร้ ะบบการ พงึ พาเปลย่ี นจากเดมิ ไปค่อนขา้ งมากทง้ั นเ้ีพราะภูมปิ ญั ญาสากลจะ มุ่งเนน้ ไปในเรอื่ งกฎ ระเบยี บ ขอ้ หา้ ม บทลง โทษชดั เจนทาํ ใหค้ วาม ผูกพนั ทเ่ีกยี่ วกบั จติ ใจจางหายไประบบพง่ึ พาพฒั นามาเป็น ระบบ อุปถัมภ์

2.การพงึ พาระหว่างมนษุ ย์กับธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อม มนุษย์กบั ธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มมกี ารพงึ พากนั มาแต่ดกึ ดาํ บรรพโ์ ดยมนุษย์ต้องพงึ พาแหลง่ อาหารประเภทเนอ้ื สตั ว์และพชื ผกั จากธรรมชาตเิพอื่ นาํ มาประกอบอาหารสาํ หรบั ยงั ชพี โดยมนุษย์ต้อง พงึ่ พาธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มในเรอื่ งต่างๆดงั น้ี 1.อาหาร ในอดตี มนุษย์ได้เนอ้ื สตั ว์บกมาประกอบอาหารโดย การลา่ สตั ว์ป่าเช่น กระต่าย หมูป่า เกง้ กวาง นกเป็นต้นส่วนสตั ว์น้าํ เช่น กุง้ หอย ปู ปลา เพอ่ื บรโิ ภคโดยคดิ ค้นเครอ่ื ง มอื จบั สตั ว์น้าํ เช่น เบด็ ฉมวก แห ลอบ ไซ ต้ม โพงพาง ยอ

2.ท่ีอยู่อาศัย ในประเทศไทยมกี ารขุดค้นทาง โบราณคดพี บว่ามนุษย์ได้พงึ่ พงิ ธรรมชาตใินเรอ่ื งทอ่ี ยู่ อาศยั ด้วยการอาศยั เพงิ ผาและถ้าํ เป็นทอี่ ยู่อาศยั มา ก่อนทจี่ ะสงั่ สมภูมปิ ญั ญาในการดดั แปลงทอ่ี ยู่อาศยั ให้ กลมกลนื กบั ธรรมชาติ มคี วามคงทน แขง็ แรง ปลอดภยั และมคี วามสวยงามในทางสถาปตั ยกรรมให้ สอดคลอ้ งกบั ยุคสมยั ในเวลาต่อมา

3.เครื่องน่งุ ห่ม เครอื่ งนุ่งห่มของมนุษย์ลว้ นแต่ได้มาจากเสน้ ใยตาม ธรรมชาตคิ นไทยรู้จกั นาํ เสน้ ใยธรรมชาตจิ ากพชื เช่น ป่านกญั ชา ฝ้ ายมาทอเป็นผนื ผา้ แลว้ แปรเป็นเครอื่ งนุง่ ห่ม หลากหลายเพอื่ ความอบอุ่นใหแ้ ก่ร่างกาย นอกจากนย้ี งั รู้จกั นาํ เสน้ ใยจากสตั ว์มาทาํ เป็นเครอ่ื งนุง่ ห่มเช่นไหมมาทอเป็นพน้ื ผา้ สาํ หรบั นุ่งห่มมาแต่โบราณ

4.ยารักษาโรค การสงั เกต ศกึ ษา ค้นคว้าของ มนุษย์ทาํ ใหค้ ้นพบว่าในยามทร่ี ่างกายเจบ็ ป่วย ยารกั ษา โรคนน้ั มอี ยู่ในธรรมชาติ ทาํ ใหม้ กี ารจดบนั ทกึ ถงึ สรรพคุณพชื สมุนไพรทใี่ชใ้ นการรกั ษาโรคไว้ จนกลายเป็นตาํ รายาทใ่ีชร้ กั ษายารกั ษาโรคในปจั จุบนั

ตัวอย่างพชื สมนุ ไพรท่ีใช้ในการรักษาโรคของคนไทยมดี ังน้ี 1.กระเทียม ส่วนทใ่ีช้ หวั สดแกห้ รอื บาํ บดั ท้องข้ึน ท้องอืดเฟ้ อขับ ลม 2.ขิง ส่วนทใี่ช้ เหงา้ อ่อน เหงา้ แก่แก้หรอื บาํ บดั ท้องข้ึน ท้องอืดเฟ้ อ ขับลม 3.ชา ส่วนทใ่ีช้ ใบตากแหง้ แก้หรอื บาํ บดั ท้องร่วง ท้องเดิน(ท่ีไมบ่ ิด หรืออหิวาตกโรค) 4.ทับทิม ส่วนทใ่ีช้ เปลอื กผลทบั ทมิ แกห้ รอื บาํ บดั ท้องร่วง ท้องเดิน (ที่ไมบ่ ดิ หรืออหิวาตกโรค) 5.มะละกอ ส่วนทใ่ีช้ เนอ้ื มะละกอดบิ ยางจากผลหรอื กา้ นจากใบ

6.แคบ้าน ส่วนทใี่ช้ ยอดอ่อนแกห้ รอื บาํ บดั แก้ไข้ ลดความรอ้ นแก้ไข้หัวลม(ช่วงเปลี่ยนอากาศ) 7.แค ส่วนทใ่ีช้ ดอกสขี าว แกห้ รอื บาํ บดั แก้ปวด ศีรษะข้างเดียว 8.บัวบก ส่วนทใ่ีช้ ทงั้ ต้นสด แกห้ รอื บาํ บดั แก้เจ็บคอ 9.กระชาย ส่วนทใ่ีช้ เหงา้ หรอื รากแหง้ แกห้ รอื บาํ บดั บาํ รงุ หัวใจ

3.การพงึ่ พาระหว่างมนษุ ย์กับสิ่งเหนือ ธรรมชาติ ความสมั พนั ธ์ระหว่างมนุษย์กบั สงิ่ เหนอื ธรรมชาตสิ ่งผลใหเ้ กดิ ระบบ การพงึ พาระหว่างมนุษย์กบั สงิ่ เหนอื ธรรมชาตติ ามมา ปรากฎการณ์ทางธรรมชาตเิช่น ฟ้ าร้อง ฟ้ าผา่ วาตภยั อุทกภยั โรคระบาดซง่ึ แต่เดมิ คนเราหาคาํ อธบิ ายเชงิ วทิ ยาศาสตร์ไม่ได้ทาํ ใหเ้ กดิ ความเชอื่ ในเรอื่ งอทิ ธฤิ ทธแ์ิ ละปาฏหิ ารย์ซงึ่ อยู่เหนอื ธรรมชาตทิ ี่ เกดิ ปรากฎการณ์เป็นครงั้ คราวทาํ ใหม้ นุษย์จดั ระบบความสมั พนั ธ์เช่นการ เซ่นไหว้ การทาํ พธิ กี รรม การทรงเจา้ เขา้ ผี ความเชอ่ื ของแต่ละคนและ ชุมชนซง่ึ มผี ลทางด้านขวญั และกาํ ลงั ใจเป็นสาํ คญั

4.การพงึ่ พาระหว่างมนษุ ย์กับสังคม สังคม หมายถงึ คนจาํ นวนหนง่ึ ทม่ี คี วามสมั พนั ธ์ต่อเนอื่ ง กนั ตาม ระเบยี บกฎเกณฑ์โดยมวี ตั ถุประสงค์ร่วมกนั เช่นสงั คมหมูบ่ า้ น ตาํ บล อาํ เภอ จงั หวดั ประเทศจนถงึ สงั คมโลกซง่ึ เป็นสงั คมทใี่หญ่ทสี่ ุดในปจั จุบนั ส่วนสงั คม ย่อยเช่นสงั คมในกลุม่ เพอ่ื น สงั คมในชน้ั เรยี น สงั คมในโรงเรยี น สงั คมใน มหาวทิ ยาลยั เป็นต้น การพงึ่ พามคี วามละเอยี ดอ่อนลกึ ซง่ึ กว่าความสมั พนั ธ์ซงึ่ อาศยั ระเบยี บกฎเกณฑ์เพอ่ื อยู่ร่วมกนั อย่างสนั ตติ ามแบบอย่างของผูม้ วี ฒั นธรรม อนั ดงี าม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook