Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย-๒๕๖๐-โรงเรียนบ้านอูบมุงแก้งเกลี้ยง

หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย-๒๕๖๐-โรงเรียนบ้านอูบมุงแก้งเกลี้ยง

Published by patcharee ree, 2018-07-20 02:23:57

Description: หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย-๒๕๖๐-โรงเรียนบ้านอูบมุงแก้งเกลี้ยง

Search

Read the Text Version

หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ โรงเรียนบ้านอูบมุงแก้งเกลยี้ งสานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาอบุ ลราชธานี เขต ๒ สานักงานคณะกรรมการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

คานา หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ จดั ทาข้ึนเพ่ือให้โรงเรียนบา้ นอูบมุงแกง้ เกล้ียง ซ่ึงจดัการศึกษาระดบั ปฐมวยั ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ โดยปรับปรุงให้เหมาะสมกบั เดก็ และสภาพทอ้ งถ่ิน เพือ่ ที่กาหนดเป้ าหมายในการพฒั นาเด็กปฐมวยั ให้มีพฒั นาการดา้ นร่างกาย อารมณ์ จิตใจสังคม และสติปัญญา เป็ นคนดี มีวินยั สานึกความเป็ นไทย และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชนสังคม และประเทศไทยในอนาคต อยา่ งมีประสิทธิภาพและไดม้ าตรฐานตามจุดหมายหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยัพุทธศกั ราช ๒๕๖๐ โรงเรียนบา้ นอูบมุงแก้งเกล้ียง สังกดั สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต ๒ขอขอบคุณผทู้ ่ีมีส่วนเกี่ยวขอ้ งทุกท่าน ร่วมท้งั คณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นอูบมุงแกง้ เกล้ียง ท่ีมีส่วนร่วมในการพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ ให้มีความเหมาะสมต่อการนาไปใชจ้ ดั การศึกษาระดบั ปฐมวยั ของโรงเรียนต่อไป คณะผ้จู ัดทา

สารบญั เร่ือง หน้าคานา ๑ ๒ความนา ๒ ๓ปรัชญาการศึกษาปฐมวยั ๔ ๗วสิ ัยทศั น์ ๙ ๑๐หลกั การ ๒๒ ๒๓แนวคิดการจดั การศึกษาปฐมวยั ๒๙ ๔๒ปรัชญาการศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบา้ นอูบมุงแกง้ เกล้ียง ๖๖ ๖๙พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั ๗๐ ๗๒มาตรฐานคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ ตวั บ่งช้ี และสภาพที่พงึ ประสงค์การจดั เวลาเรียนสาระการเรียนรู้รายปีการจดั ประสบการณ์การประเมินพฒั นาการการบริหารจดั การหลกั สูตรการจดั การศึกษาปฐมวยั (เด็กอาย๓ุ -๕ปี )สาหรับกลุ่มเป้ าหมายเฉพาะการเช่ือมตอ่ ของการศึกษาระดบั ปฐมวยั กบั ระดบั ประถมศึกษาปี ท่ี ๑การกากบั ติดตาม ประเมินและรายงาน



ความนา สภาพการเปลี่ยนแปลงดา้ นเศรษฐกิจ สังคม และความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศประกอบกบัรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ รวมท้งั กรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙) แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๕๒-๒๕๖๑) แผนยุทธศาสตร์ชาติด้านเด็กปฐมวยั (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔)นาไปสู่การกาหนดทกั ษะสาคญัสาหรับเดก็ ในศตวรรษที่ ๒๑ ท่ีมีความสาคญั ในการกาหนดเป้ าหมายในการพฒั นาเด็กปฐมวยั ใหม้ ีความสอดคลอ้ งและทนั ตอ่ การเปลี่ยนแปลงทุกดา้ น กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายให้มีการพฒั นาการศึกษาปฐมวยั อย่างจริงจงั และต่อเน่ืองโดยไดแ้ ต่งต้งัคณะทางานพิจารณาหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั เพ่ือปรับปรุงให้สอดคล้องกบั สภาพการเปล่ียนแปลงดังกล่าวหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ เป็นหลกั สูตรสถานศึกษา สถาบนั พฒั นาเด็กปฐมวยั และหน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ ง นาไมใชเ้ ป็นกรอบและทิศทางในการพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษาอยา่ งมีประสิทธิภาพและไดม้ าตรฐานตามจุดหมายหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ที่กาหนดเป้ าหมายในการพฒั นาเด็กปฐมวยั ให้มีพฒั นาการดา้ นร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม และสติปัญญา ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติในอนาคต

ปรัชญาการศึกษาปฐมวยั การศึกษาปฐมวัยเป็ นการพัฒนาเด็กต้ังแต่แรกเกิดถึง ๖ ปี บริบูรณ์ อย่างเป็ นองค์รวม บนพนื้ ฐานการอบรมเลยี้ งดู และส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ท่ีสนองต่อธรรมชาติและพฒั นาการตามวัยของเด็กแต่ละคนให้เต็มตามศักยภาพภายใต้บริบทสังคมและวัฒนธรรมท่ีเด็กอาศัยอยู่ ด้วยความรักความเออื้ อาทร และความเข้าใจของทุกคน เพอ่ื สร้างรากฐานคุณภาพชีวติ ให้เด็กพฒั นาไปสู่ความเป็ นมนุษย์ทสี่ มบูรณ์เกดิ คุณค่าต่อตนเอง ครอบครัว สังคม และประเทศชาติวสิ ัยทศั น์ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยมุ่งพัฒนาเด็กทุกคนให้ได้รับการพฒั นาด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจสังคม และสติปัญญาอย่างมคี ุณภาพและต่อเนื่อง ได้รับการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้อย่างมคี วามสุขและเหมาะสมตามวยั มีทกั ษะชีวติ และปฏิบัติตนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เป็ นคนดี มีวนิ ัย และสานึกความเป็ นไทย โดยความร่วมมือระหว่างสถานศึกษา พ่อแม่ ครอบครัว ชุมชน และทุกฝ่ ายทเี่ กยี่ วข้องกบั การพฒั นาเดก็

หลกั การ เด็กทุกคนมีสิทธ์ิที่จะไดร้ ับการอบรมเล้ียงดูและส่งเสริมพฒั นาการตามอนุสัญญาวา่ ดว้ ยสิทธิเดก็ ตลอดจนไดรับการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้อยา่ งเหมาะสม ดว้ ยปฏิสัมพนั ธ์ท่ีดีระหวา่ งเดก็ กบัพ่อแม่ เดก็ กบั ผสู้ อน เดก็ กบั ผเู้ ล้ียงดูหรือผทู้ ่ีเกี่ยวขอ้ งในการอบรมเล้ียงดู การพฒั นา และใหก้ ารศึกษาแก่เด็กปฐมวยั เพื่อใหเ้ ด็กมีโอกาสพฒั นาตนเองตามลาดบั ข้นั ของพฒั นาการทุกดา้ น อยา่ งเป็นองค์รวม มีคุณภาพ และเตม็ ตามศกั ยภาพโดยมีหลกั การดงั น้ี ๑. ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และพฒั นาการท่ีครอบคลุมเดก็ ปฐมวยั ทุกคน ๒. ยึดหลกั การอบรมเล้ียงดูและใหก้ ารศึกษาท่ีเนน้ เด็กเป็ นสาคญั โดยคานึงถึงความแตกต่างระหวา่ งบุคคลและวถิ ีชีวติ ของเดก็ ตามบริบทของชุมชน สังคม และวฒั นธรรมไทย ๓. ยดึ พฒั นาการและการพฒั นาเดก็ โดยองคร์ วมผา่ นการเล่นอยา่ งมีความหมายและมีกิจกรรมที่หลากหลาย ไดล้ งมือกระทาในสภาพแวดลอ้ มท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ เหมาะสมกบั วยั และมีการพกั ผอ่ นที่เพียงพอ ๔. จดั ประสบการณ์การเรียนรู้ใหเ้ ดก็ มีทกั ษะชีวติ และสามารถปฏิบตั ิตนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เป็นคนดี มีวนิ ยั และมีความสุข ๕. สร้างความรู้ ความเขา้ ใจและประสานความร่วมมือในการพฒั นาเดก็ ระหว่างสถานศึกษากบั พอ่ แม่ ครอบครัว ชุมชน และทุกฝ่ ายที่เกี่ยวขอ้ งกบั การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั

แนวคดิ การจัดการศึกษาปฐมวยั หลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช๒๕๖๐ พฒั นาข้ึนบนแนวคิดหลักสาคญั เก่ียวกับพฒั นาการเด็กปฐมวยั โดยถือว่าการเล่นของเด็กเป็นหัวใจสาคญั ของการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ภายใตก้ ารจดั สภาพแวดลอ้ มท่ีเอ้ือต่อการทางานของสมอง ผ่านส่ือท่ีตอ้ งเอ้ือใหเ้ ด็กไดเ้ รียนรู้ผ่านการเล่นประสาทสัมผสั ท้งั ห้า โดยครูจาเป็ นตอ้ งเขา้ ใจและยอมรับว่าสังคมและวฒั นธรรมที่แวดลอ้ มตวัเด็กมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้และการพฒั นาศกั ยภาพและพฒั นาการของเด็กแต่ละคน ท้งั น้ี หลกั สูตรฉบบั น้ีมีแนวคิดในการจดั การศึกษาปฐมวยั ดงั น้ี ๑. แนวคดิ เกยี่ วกบั พฒั นาการเด็ก พฒั นาการของมนุษยเ์ ป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนต่อเน่ืองในตวั มนุษยเ์ ร่ิมต้งั แต่ปฏิสนธิไปจนตลอดชีวติ พฒั นาการของเด็กแต่ละคนจะมีลาดบั ข้นั ตอนลกั ษณะเดียวกนั แต่อตั ราและระยะเวลาในการผ่านข้นั ตอนต่างๆอาจแตกต่างกนั ไดข้ ้นั ตอนแรกๆจะเป็นพ้นื ฐานสาหรับพฒั นาการข้นั ต่อไป พฒั นาการดา้ นร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา แต่ละส่วนส่งผลกระทบซ่ึงกนั และกนั เมื่อดา้ นหน่ึงกา้ วหนา้ อีกดา้ นหน่ึงจะกา้ วหนา้ ตามดว้ ยในทานองเดียวกนั ถา้ ดา้ นหน่ึงดา้ นใดผดิ ปกติจะทาใหด้ า้ นอื่นๆผดิ ปกติตามดว้ ย แนวคิดเกี่ยวกบั ทฤษฎีพฒั นาการดา้ นร่างกายอธิบายว่าการเจริญเติบโตและพฒั นาการของเด็กมีลกั ษณะต่อเน่ืองเป็ นลาดบั ช้นั เด็กจะพฒั นาถึงข้นั ใดจะตอ้ งเกิดวุฒิภาวะของความสามารถดา้ นน้นั ก่อน สาหรับทฤษฎีดา้ นอารมณ์ จิตใจและสงั คมอธิบายวา่ การอบรมเล้ียงดูในวยั เดก็ ส่งผลต่อบุคลิกภาพของเด็ก เมื่อเติบโตเป็นผใู้ หญ่ ความรักและความอบอุ่นเป็ นพ้ืนฐานของความเช่ือมน่ั ในตนเอง เด็กที่ไดร้ ับความรักและความอบอุ่นจะมีความไวว้ างใจในผอู้ ื่น เห็นคุณค่าของตนเอง จะมีความเช่ือมนั่ ในความสามารถของตน ทางานร่วมกบัผอู้ ่ืนไดด้ ี ซ่ึงเป็นพ้ืนฐานสาคญั ของความเป็ นประชาธิปไตยและความคิดริเร่ิมสร้างสรรคแ์ ละทฤษฎีพฒั นาการดา้ นสติปัญญาอธิบายว่า เด็กเกิดมาพร้อมวุฒิภาวะ ซ่ึงจะพฒั นาข้ึนตามอายุ ประสบการณ์รวมท้งั ค่านิยมทางสงั คมและสิ่งแวดลอ้ มที่เดก็ ไดร้ ับ ๒. แนวคิดเก่ียวกับการเล่นของเด็ก การเล่นเป็ นหัวใจสาคญั ของการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ การเล่นอย่างมีจุดมุ่งหมายเป็ นเคร่ืองมือการเรียนรู้ข้นั พ้ืนฐานท่ีถือเป็นองคป์ ระกอบสาคญั ใน

กระบวนการเรียนรู้ของเด็ก ขณะที่เด็กเล่นจะเกิดการเรียนรู้ไปพร้อมๆกนั ดว้ ย จากการเล่นเด็กจะมีโอกาสเคล่ือนไหวส่วนต่างๆของร่างกาย ไดใ้ ชป้ ระสาทสัมผสั และการรับรู้ผ่อนคลายอารมณ์ และแสดงออกของตนเอง เรียนรู้ความรู้สึกของผอู้ ื่น เดก็ จะรู้สึกสนุกสนาน เพลิดเพลิน ไดส้ ังเกต มีโอกาสทาการทดลอง คิดสร้างสรรค์ คิดแกป้ ัญหาและคน้ พบดว้ ยตนเอง การเล่นช่วยใหเ้ ด็กเรียนรู้ส่ิงแวดลอ้ มและช่วยให้เด็กมีพฒั นาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา ดงั น้ันเด็กควรมีโอกาสเล่น ปฏิสัมพนั ธ์กบั บุคคล สิ่งแวดลอ้ มรอบตวั และเลือกกิจกรรมการเล่นดว้ ยตนเอง ๓. แนวคดิ เกยี่ วกบั การทางานของสมอง สมองเป็นอวยั วะท่ีมีความสาคญั ที่สุดในร่างกายของคนเรา เพราะการท่ีมนุษยส์ ามารถเรียนรู้ส่ิงต่างๆไดน้ ้นั ตอ้ งอาศยั สมองและระบบประสาทเป็นพ้ืนฐานการรับรู้ รับความรู้สึกจากประสาทสัมผสั ท้งั หา้ การเชื่อมโยงต่อกนั ของเซลลส์ มองส่วนมากเกิดข้ึนก่อนอายุ ๕ ปี และปฏิสมั พนั ธ์แรกเริ่มระหว่างเดก็ กบั ผใู้ หญ่ มีผลโดยตรงต่อการสร้างเซลลส์ มองและจุดเชื่อมต่อ โดยในช่วง ๓ ปี แรกของชีวิต สมองเจริญเติบโตอยา่ งรวดเร็วมาก มีการสร้างเซลลส์ มองและจุดเช่ือมต่อข้ึนมามากมาย มีการสร้างไขมนั หรือมนั สมองหุ้มลอ้ มรอบเส้นใยสมองดว้ ย พอเด็กอายุ ๓ ปี สมองจะมีขนาดประมาณ ๘๐ % ของสมองผูใ้ หญ่ มีเซลล์สมองนบั หมื่นลา้ นเซลล์ เซลล์สมองและจุดเช่ือมต่อเหล่าน้ียง่ิ ไดร้ ับการกระตุน้ มากเท่าใด การเชื่อมต่อกนั ระหว่างเซลลส์ มองยง่ิ มีมากข้ึนและความสามารถทางการคิดย่ิงมีมากข้ึนเท่าน้นั ถา้ หากเด็กขาดการกระตุน้ หรือส่งเสริมจากส่ิงแวดลอ้ มที่เหมาะสม เซลลส์ มองและจุดเช่ือมต่อที่สร้างข้ึนมากจ็ ะหายไป เดก็ ที่ไดร้ ับความเครียดอยู่ตลอดเวลาจะทาใหข้ าดความสามารถท่ีจะเรียนรู้ อยา่ งไรก็ตาม ส่วนต่างๆของสมองเจริญเติบโตและเร่ิมมีความสามารถในการทาหนา้ ที่ในช่วงเวลาต่างกนั จึงอธิบายไดว้ ่าการเรียนรู้ทกั ษะบางอย่างจะเกิดข้ึนไดด้ ีท่ีสุดเฉพาะในช่วงเวลาหน่ึงท่ีเรียกวา่ ”หนา้ ต่างของโอกาสการเรียนรู้” ซ่ึงเป็ นช่วงท่ีพ่อแม่ผเู้ ล้ียงดูและครูสามารถช่วยใหเ้ ด็กเรียนรู้และพฒั นาสิ่งน้นั ๆไดด้ ีท่ีสุด เมื่อพน้ ช่วงน้ีไปแลว้ โอกาสน้นัจะฝึ กยากหรือเด็กอาจทาไม่ไดเ้ ลย เช่น การเชื่อมโยงวงจรประสาทของการมองเห็นและรับรู้ภาพจะตอ้ งไดร้ ับการกระตุน้ ทางานต้งั แต่ ๓ หรือ ๔ เดือนแรกของชีวติ จึงจะมีพฒั นาการตามปกติ ช่วงเวลาของการเรียนภาษาคือ อายุ ๓ – ๕ ปี แรกของชีวติ เดก็ จะพดู ไดช้ ดั คล่องและถูกตอ้ ง โดยการพฒั นาจากการพดู เป็นคาๆมาเป็นประโยคและเล่าเรื่องได้ เป็นตน้

๔. แนวคิดเกยี่ วกบั ส่ือการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ทาใหเ้ ดก็ เกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงคท์ ่ีวางไว้ ทาให้ส่ิงท่ีเป็ นนามธรรมเข้าใจยากกลายเป็ นรูปธรรมท่ีเด็กเข้าใจและเรียนรู้ได้ง่าย รวดเร็วเพลิดเพลิน เกิดการเรียนรู้และคน้ พบดว้ ยตนเอง การใช้ส่ือการเรียนรู้ตอ้ งปลอดภยั ต่อตวั เด็กและเหมาะสมกบั วยั วุฒิภาวะ ความแตกต่างระหว่างบุคคล ความสนใจ และความต้องการของเด็กท่ีหลากหลาย สื่อประกอบการจดั กิจกรรมเพื่อพฒั นาเด็กปฐมวยั ควรมีส่ือท้งั ท่ีเป็ นประเภท ๒ มิติและ/หรือ ๓ มิติ ที่เป็ นส่ือของจริง ส่ือธรรมชาติ ส่ือที่อยใู่ กลต้ วั เด็ก ส่ือสะทอ้ งวฒั นธรรม ส่ือภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น ส่ือเพื่อพฒั นาเด็กในดา้ นต่างๆให้ครบทุกดา้ น ท้งั น้ี ส่ือตอ้ งเอ้ือให้เด็กเรียนรู้ผ่านประสาทสัมผสั ท้งั หา้ โดยการจดั การใชส้ ่ือสาหรับเด็กปฐมวยั ตอ้ งเร่ิมตน้ จากสื่อของจริง ของจาลอง ภาพถ่ายภาพโครงร่างและสญั ลกั ษณ์ตามลาดบั ๕. แนวคิดเก่ียวกับสังคมและวัฒนธรรม เด็กเม่ือเกิดมาจะเป็ นส่วนหน่ึงของสังคมและวฒั นธรรม ซ่ึงไม่เพียงแต่จะไดร้ ับอิทธิพลจากการปฏิบตั ิแบบด้งั เดิมตามประเพณี มรดก และความรู้ของบรรพบุรุษ แต่ยงั ไดร้ ับอิทธิพลจากประสบการณ์ ค่านิยมและความเช่ือของบุคคลในครอบครัวและชุมชนของแต่ละท่ีดว้ ย บริบทของสังคมและวฒั นธรรมที่เด็กอาศยั อยหู่ รือแวดลอ้ มตวั เด็กทาให้เดก็ แต่ละคนแตกต่างกนั ไป ครูจาเป็นตอ้ งเขา้ ใจและยอมรับวา่ สังคมและวฒั นธรรมที่แวดลอ้ มตวั เด็กมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ การพฒั นาศกั ยภาพและพฒั นาการของเด็กแต่ละคน ครูควรตอ้ งเรียนรู้บริบททางสังคมและวฒั นธรรมของเด็กท่ีตนรับผิดชอบ เพื่อช่วยใหเ้ ด็กไดร้ ับการพฒั นา เกิดการเรียนรู้และอยใู่ นกลุ่มคนที่มาจากพ้นื ฐานเหมือนหรือต่างจากตนไดอ้ ยา่ งราบรานมีความสุข เป็นการเตรียมเดก็ ไปสู้สังคมในอนาคตกบั การอย่รู ่วมกบั ผูอ้ ื่น การทางานร่วมกบั ผูอ้ ื่นท่ีมีความหลากหลายทางความคิดความเช่ือและวฒั นธรรมเช่น ความคลา้ ยคลึงและความแตกต่างระหว่างวฒั นธรรมไทยกบั ประเทศเพื่อนบา้ นเร่ืองศาสนา ประเทศ พม่า ลาว กมั พูชากจ็ ะคลา้ ยคลึงกบั คนไทยในการทาบุญตกั บาตร การสวดมนตไ์ หวพ้ ระ การให้ความเคารพพระสงฆ์ การทาบุญเล้ียงพระ การเวียนเทียนเน่ืองในวนั สาคญัทางศาสนา ประเพณีเขา้ พรรษา สาหรับประเทศมาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย ประชากรส่วนใหญ่นบั ถือศาสนาอิสลามจึงมีวฒั นธรรมแบบอิสลาม ประเทศฟิ ลิปปิ นส์ไดร้ ับอิทธิพลจากคริสตศ์ าสนา ประเทศสิงคโปร์และเวยี ดนามนบั ถือหลายศาสนา โดยนบั ถือลทั ธิธรรมเนียมแบบจีนเป็นหลกั เป็นตน้

ปรัชญาการศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบ้านอบู มุงแก้งเกลยี้ ง โรงเรียนจดั การพฒั นาเด็กอายุ ๔-๕ ปี บนพ้ืนฐานการอบรมเล้ียงดูและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่สอดคลอ้ งกบั การพฒั นาการทางสมองของเด็กแต่ละคนใหเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพ ผ่านการเล่น การช่วยเหลือตนเอง มีทกั ษะในการดารงชีวติ ประจาวนั ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดว้ ยความรัก ความเขา้ ใจของทุกคน เพ่ือสร้างรากฐานคุณภาพชีวติ และพฒั นาเดก็ มีพฒั นาการท้งั ดา้ นร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม และสติปัญญาวสิ ัยทศั น์ ภายในปี พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ โรงเรียน มุ่งเนน้ พฒั นาเด็กอายุ ๔-๕ ปี ใหม้ ีพฒั นาการทางดา้ นร่างกาย อารมณ์- จิตใจ สังคม และสติปัญญาเหมาะสมกบั วยั เนน้ ใหเ้ ด็กเรียนรู้ผา่ นการเล่น ช่วยเหลือตนเอง ดารงชีวติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และปลูกฝังใหเ้ ดก็ มีนิสัยการประหยดั อดออมโดยการมีส่วนร่วมของผปู้ กครอง ชุมชนและทุกฝ่ ายท่ีเกี่ยวขอ้ งภารกจิ หรือพนั ธกจิ ๑. พฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษาที่มุ่งเนน้ พฒั นาการเด็กปฐมวยั ท้งั ๔ ดา้ น อยา่ งสมดุลและเต็ม ศกั ยภาพ ๒. พฒั นาครูและบุคลากรด้านการจดั ประสบการณ์ท่ีส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านการเล่นที่มี จุดหมายอยา่ งต่อเน่ือง ๓. ส่งเสริมสนบั สนุนการจดั สภาพแวดลอ้ ม สื่อ เทคโนโลยแี ละแหล่งเรียนรู้ในการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ๔. จดั ประสบการณ์การเรียนรู้ที่หลากหลายซ่ึงสอดคลอ้ งกบั พฒั นาการทางสมองของเดก็ โดย นาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น มาใชเ้ สริมสร้าง พฒั นาการและการเรียนรู้ของเดก็ ๕. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผปู้ กครองและชุมชนในการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั

เป้ าหมาย ๑. เดก็ ปฐมวยั ทุกคนไดร้ ับการพฒั นาดา้ นร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญาเป็นองค์ รวมอยา่ งสมดุลและมีความสุข ๒. ครูมีความรู้ ความเขา้ ใจ และสามารถจดั ประสบการณ์ท่ีส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านการเล่นโดย ใชก้ ระบวนการวางแผน การปฏิบตั ิ และการทบทวน ๓. มีสภาพแวดลอ้ ม ส่ือ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ที่เอ้ือต่อการส่งเสริมพฒั นาการเด็ก ปฐมวยั อยา่ งพอเพียง ๔. ผปู้ กครอง ชุมชน และหน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ งมีส่วนร่วมในการพฒั นาเดก็ ปฐมวยัจุดหมาย หลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั มุ่งให้เด็กมีพฒั นาการตามวยั เต็มตามศกั ยภาพ และเม่ือมีความพร้อมในการเรียนรู้ต่อไป จึงกาหนดจุดหมายเพอื่ ใหเ้ กิดกบั เดก็ เม่ือเดก็ จบการศึกษาระดบั ปฐมวยั ดงั น้ี ๑. มีร่างกายเจริญเติบโตตามวยั แขง็ แรง และมีสุขนิสยั ที่ดี ๒. มีสุขภาพจิตดี มีสุนทรียภาพ มีคุณธรรม จริยธรรมและจิตใจท่ีดีงาม ๓. มีทกั ษะชีวิตและปฏิบตั ิตนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีวินัย และอย่รู ่วมกบั ผอู้ ื่นไดอ้ ยา่ งมีความสุข ๔. มีทกั ษะการคิด การใชภ้ าษาส่ือสาร และการแสวงหาความรู้ไดเ้ หมาะสมกบั วยั

พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั พฒั นาการของเด็กปฐมวยั ด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และสติปัญญาแสดงให้เห็นถึงการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนตามวฒุ ิภาวะและสภาพแวดลอ้ มที่เด็กไดร้ ับ พฒั นาการเดก็ ในแต่ละช่วงวยั อาจเร็วหรือชา้ แตกตา่ งกนั ไปในเดก็ แตล่ ะคน มีรายละเอียด ดงั น้ี ๑. พฒั นาการด้านร่างกาย เป็นพฒั นาการท่ีเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีข้ึนของร่างกายในดา้ นโครงสร้างของร่างกาย ดา้ นความสามารถในการเคล่ือนไหว และดา้ นการมีสุขภาพอนามยั ที่ดี รวมถึงการใชส้ ัมผสัรับรู้ การใชต้ าและมือประสานกนั ในการทากิจกรรมตา่ งๆ เด็กอายุ ๓-๕ ปี มีการเจริญเติบโตรวดเร็วโดยเฉพาะในเรื่องน้าหนกั และส่วนสูง กลา้ มเน้ือใหญ่จะมีความกา้ วหนา้ มากกวา่ กลา้ มเน้ือเล็ก สามารถบงั คบั การเคลื่อนไหวของร่างกายไดด้ ี มีความคล่องแคล่ววอ่ งไวในการเดิน สามารถวงิ่ กระโดด ควบคุมและบงั คบั การทรงตวั ไดด้ ีจึงชอบเคล่ือนไหว ไม่หยุดน่ิง พร้อมที่จะออกกาลังและเคลื่อนไหวในลกั ษณะต่างๆส่วนกล้ามเน้ือเล็กและความสัมพนั ธ์ระหว่างตาและมือยงั ไม่สมบูรณ์ การสัมผสั หรือการใช้มือมีความละเอียดข้ึน ใชม้ ือหยิบจบั สิ่งของต่างๆไดม้ ากข้ึน ถา้ เดก็ ไมเ่ ครียดหรือกงั วลจะสามารถทากิจกรรมที่พฒั นากลา้ มเน้ือเล็กไดด้ ีและนานข้ึน ๒. พฒั นาการด้านอารมณ์ จิตใจ เป็นความสามารถในการรู้สึกและแสดงความรู้สึกของเดก็ เช่นพอใจไม่พอใจ รัก ชอบ สนใจ เกียด โดยที่เด็กรู้จกั ควบคุมการแสดงออกอยา่ งเหมาะสมกบั วยั และสถานการณ์ เผชิญกบัเหตุการณ์ต่างๆ ตลอดจนการสร้างความรู้สึกที่ดีและการนบั ถือตนเอง เดก็ อายุ ๓-๕ ปี จะแสดงความรู้สึกอยา่ งเต็มที่ไม่ปิ ดบงั ช่อนเร้น เช่น ดีใจ เสียใจ โกรธแต่จะเกิดเพียงชวั่ ครู่แลว้ หายไปการท่ีเด็กเปลี่ยนแปลงอารมณ์ง่ายเพราะมีช่วงความสนใจระยะส้ัน เม่ือมีส่ิงใดน่าสนใจก็จะเปล่ียนความสนใจไปตามส่ิงน้นั เด็กวนั น้ีมกั หวาดกลวั สิ่งต่างๆเช่น ความมืด หรือสัตวต์ ่างๆ ความกลวั ของเด็กเกิดจากจินตนาการ ซ่ึงเด็กว่าเป็ นเร่ืองจริงสาหรับตน เพราะยงัสับสนระหวา่ งเร่ืองปรุงแต่งและเรื่องจริง ความสามารถแสดงอารมณ์ไดส้ อดคลอ้ งกบั สถานการณ์อยา่ งเหมาะสมกบั วยั รวมถึงช่ืนชมความสามารถและผลงานของตนเองและผอู้ ่ืน เพราะยดึ ตวั เองเป็นศูนยก์ ลางนอ้ ยลงและตอ้ งการความสนใจจากผอู้ ่ืนมากข้ึน ๓. พฒั นาการด้านสังคม เป็นความสามารถในการสร้างความสัมพนั ธ์ทางสังคมคร้ังแรกในครอบครัว โดยมีปฏิสมั พนั ธ์กบั พอ่ แมแ่ ละพีน่ อ้ ง เม่ือโตข้ึนตอ้ งไปสถานศึกษา เด็กเร่ิมเรียนรู้การติดต่อและการมีสมั พนั ธ์กบั บุคคลนอกครอบครัว โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ เด็กในวยั เดียวกนั เด็กไดเ้ รียนรู้การปรับตวั ให้เขา้ สังคมกบั เด็กอ่ืนพร้อมๆกบั รู้จกัร่วมมือในการเล่นกบั กลุ่มเพ่ือน เจตคติและพฤติกรรมทางสังคมของเด็กจะก่อข้ึนในวยั น้ีและจะแฝงแน่นยากที่จะ

เปลี่ยนแปลงในวยั ต่อมา ดงั น้นั จึงอาจกล่าวไดว้ า่ พฤติกรรมทางสังคมของเด็กวยั น้ี มี ๒ ลกั ษณะ คือลกั ษณะแรกน้นั เป็นความสัมพนั ธ์กบั ผใู้ หญ่และลกั ษณะท่ีสองเป็นความสัมพนั ธ์กบั เด็กในวยั ใกลเ้ คียงกนั ๔. ด้านสติปัญญา ความคิดของเด็กวยั น้ีมีลกั ษณะยึดตนเองเป็ นศูนยก์ ลาง ยงั ไม่สามารถเขา้ ใจความรู้สึกของคนอื่น เด็กมีความคิดเพียงแต่ว่าทุกคนมองส่ิงต่างๆรอบตวั และรู้สึกต่อส่ิงต่างๆ เหมือนตนเอง ความคิดของตนเองเป็นใหญ่ที่สุด เม่ืออายุ ๔-๕ ปี เด็กสามารถโตต้ อบหรือมีปฏิสัมพนั ธ์กบั วตั ถุสิ่งของท่ีอยรู่ อบตวั ได้ สามารถจาสิ่งต่างๆ ที่ไดก้ ระทาซ้ากนั บ่อยๆ ไดด้ ี เรียนรู้ส่ิงต่างๆ ไดด้ ีข้ึน แต่ยงั อาศยั การรับรู้เป็ นส่วนใหญ่ แกป้ ัญหาการลองผดิ ลองถูกจากการรับรู้มากกวา่ การใชเ้ หตุผลความคิดรวบยอดเก่ียวกบั ส่ิงต่างๆ ท่ีอยรู่ อบตวั พฒั นาอยา่ งรวดเร็วตามอายุท่ีเพ่ิมข้ึน ในส่วนของพฒั นาการทางภาษา เด็กวยั น้ีเป็ นระยะเวลาของการพฒั นาภาษาอยา่ งรวดเร็ว โดยมีการฝึ กฝนการใชภ้ าษาจากการทากิจกรรมต่าง ๆ ในรูปของการพูดคุย การตอบคาถาม การเล่าเรื่อง การเล่านิทานและการทากิจกรรมต่าง ๆ ท เก่ียวขอ้ งกบั การใชภ้ าษาในสถานศึกษา เดก็ ปฐมวยั สามารถ ใชภ้ าษาแทนความคิดของตนและใชภ้ าษาในการติดต่อสัมพนั ธ์กบั คนอื่นไดค้ าพูดของเด็กวยั น้ี อาจจะทาให้ผใู้ หญ่บางคนเขา้ ใจวา่ เด็กรู้มากแลว้ แต่ท่ีจริงเดก็ ยงั ไมเ่ ขา้ ใจความหมายของคาและเรื่องราวลึกซ้ึงนกัมาตรฐานคุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ หลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั กาหนดมาตรฐานคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงคจ์ านวน ๑๒ มาตรฐาน ประกอบดว้ ย ๑.พฒั นาการด้านร่างกาย ประกอบด้วย ๒ มาตรฐานคือ มาตรฐานที่ ๑ ร่างกายเจริญเติบโตตามวยั และมีสุขนิสัยที่ดี มาตรฐานที่ ๒ กลา้ มเน้ือใหญแ่ ละกลา้ มเน้ือเล็กแขง็ แรงใชไ้ ดอ้ ยา่ งคล่องแคล่วและประสาน สมั พนั ธ์กนั ๒.พฒั นาการด้านอารมณ์ จิตใจ ประกอบด้วย ๓ มาตรฐานคือ มาตรฐานท่ี ๓ มีสุขภาพจิตดีและมีความสุข มาตรฐานท่ี ๔ ช่ืนชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคล่ือนไหว มาตรฐานท่ี ๕ มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจที่ดีงาม ๓.พฒั นาการด้านสังคม ประกอบด้วย ๓ มาตรฐานคอื มาตรฐานที่ ๖ มีทกั ษะชีวติ และปฏิบตั ิตนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มาตรฐานท่ี ๗ รักธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ ม วฒั นธรรม และความเป็นไทย มาตรฐานท่ี ๘ อยรู่ ่วมกบั ผอู้ ่ืนไดอ้ ยา่ งมีความสุขและปฏิบตั ิตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมใน ระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข

๔.พฒั นาการด้านสติปัญญา ประกอบด้วย ๔ มาตรฐานคือ มาตรฐานท่ี ๙ ใชภ้ าษาส่ือสารไดเ้ หมาะสมกบั วยั มาตรฐานท่ี ๑๐ มีความสามารถในการคิดที่เป็นพ้ืนฐานการเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๑๑ มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ มาตรฐานที่ ๑๒ มีเจตคติที่ดีตอ่ การเรียนรู้และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ได้ เหมาะสมกบั วยัตวั บ่งชี้ ตวั บ่งช้ีเป็นเป้ าหมายในการพฒั นาเดก็ ท่ีมีความสัมพนั ธ์สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์สภาพที่พงึ ประสงค์ สภาพท่ีพึงประสงค์เป็ นพฤติกรรมหรือความสามารถตามวยั ท่ีคาดหวงั ให้เด็กเกิด บนพ้ืนฐานพฒั นาการตามวยั หรือความสามารถตามธรรมชาติในแต่ละระดบั อายุเพ่ือนาไปใช้ในการกาหนดสาระเรียนรู้ใน การจดัประสบการณ์ กิจกรรมและประเมินพฒั นาการเด็ก โดยมีรายละเอียดของมาตรฐาน มาตรฐานคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ ตวั บง่ ช้ี และสภาพที่พึงประสงค์ ดงั น้ีมาตรฐานท่ี ๑ ร่างกายเจริญเติบโตตามวยั เดก็ มสี ุขนิสัยทดี่ ีตวั บ่งชี้ท่ี ๑.๑ มนี า้ หนักและส่วนสูงตามเกณฑ์สภาพทพี่ งึ ประสงค์อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี-น้ าหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ -น้ าหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ -น้ าหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ของกรมอนามยั ของกรมอนามยั ของกรมอนามยัตัวบ่งชี้ที่ ๑.๒ มสี ุขภาพอนามัย สุขนิสัยทด่ี ีสภาพทพ่ี งึ ประสงค์อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี-ย อ ม รั บ ป ร ะ ท า น อ า ห า ร ที่ มี -รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ -รับประทานอาหารท่ีมีประโยชน์ประโยชนแ์ ละด่ืมน้าท่ีสะอาดเมื่อมี และดื่มน้าสะอาดดว้ ยตนเอง ไดห้ ลายชนิดและดื่มน้าสะอาดได้ผชู้ ้ีแนะ ดว้ ยตนเอง

-ล้างมือก่อนรับประทานอาหาร -ล้างมือก่อนรับประทานอาหาร -ล้างมือก่อนรับประทานอาหารและหลังจากใช้ห้องน้าห้องส้วม และหลังจากใช้ห้องน้าห้องส้วม และหลังจากใช้ห้องน้าห้องส้วมเมื่อมีผชู้ ้ีแนะ ดว้ ยตนเอง ดว้ ยตนเอง-นอนพกั ผอ่ นเป็นเวลา -นอนพกั ผอ่ นเป็นเวลา -นอนพกั ผอ่ นเป็นเวลา-ออกกาลงั กายเป็นเวลา -ออกกาลงั กายเป็นเวลา -ออกกาลงั กายเป็นเวลาตัวบ่งชี้ที่ ๑.๓ รักษาความปลอดภยั ของตนเองและผู้อนื่สภาพทพ่ี งึ ประสงค์อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี-เล่นและทากิจกรรมอยา่ งปลอดภยั -เล่นและทากิจกรรมอยา่ งปลอดภยั -เล่นและทากิจกรรมและปฏิบตั ิต่อเม่ือมีผชู้ ้ีแนะ ดว้ ยตนเอง ผอู้ ่ืนอยา่ งปลอดภยัมาตรฐานที่ ๒ กล้ามเนือ้ ใหญ่และกล้ามเนือ้ เลก็ แขง็ แรงใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและประสาน สัมพนั ธ์กนัตัวบ่งชี้ที่ ๒.๑ เคลอื่ นไหวร่างกายอย่างคล่องแคล่วประสานสัมพนั ธ์และทรงตวั ได้สภาพทพ่ี งึ ประสงค์อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี-เดินตามแนวท่ีกาหนดได้ -เ ดิ น ต่ อ เ ท้า ไ ป ข้า ง ห น้ า เ ป็ น -เดินต่อเทา้ ถอยหลังเป็ นเส้นตรงได้ เส้นตรงไดโ้ ดยไมต่ อ้ งกางแขน โดยไมต่ อ้ งกางเกง-กระโดดสองขา ข้ึนลงอยกู่ บั ท่ีได้ -กระโดดขาเดียวอยกู่ บั ท่ีไดโ้ ดยไม่ -กระโดดขาเดียว ไปขา้ งหนา้ ไดอ้ ยา่ ง เสียการทรงตวั ตอ่ เน่ืองโดยไม่เสียการทรงตวั-วง่ิ แลว้ หยดุ ได้ -วง่ิ หลบหลีกสิ่งกีดขวางได้ -วิ่งหลบหลีกสิ่ งกีดขวางได้อย่าง คล่องแคล่ว

-รับลูกบอลโดยใชม้ ือและลาตวั ช่วย -รับลูกบอลไดด้ ว้ ยมือท้งั สองขา้ ง -รับลูกบอลท่ีกระดอนข้ึนจากพ้ืนได้ตัวบ่งชี้ท่ี ๒.๓ ใช้มอื -ตาประสานสัมพนั ธ์กนัสภาพทพ่ี งึ ประสงค์อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี-ใช้กรรไกรตดั กระดาขาดจากกนั -ใช้กรรไกรตดั กระดาษตามแนว -ใช้กรรไกรตดั กระดาษตามแนวเส้นไดโ้ ดยใชม้ ือเดียว เส้นตรงได้ โคง้ ได้-เขียนรูปวงกลมตามแบบได้ -เขียนรูปส่ีเหล่ียมตามแบบไดอ้ ยา่ ง -เขียนรูปสามเหลี่ยมตามแบบไดอ้ ย่าง มีมุมชดั เจน มีมุมชดั เจน-ร้ อย วัส ดุ ท่ี มี รู ขนาด เส้ นผ่าน -ร้อยวสั ดุที่มีรูจนาดเส้นผ่านศูนย์ -ร้อยวสั ดุท่ีมีรูขนาดเส้นผา่ นศูนยก์ ลางศนู ยก์ ลาง ๑ ซม.ได้ ๐.๕ ซม.ได้ ๐.๒๕ ซม.ได้๒.พฒั นาการด้านอารมณ์ จิตใจ มาตรฐานที่ ๓ มสี ุขภาพจิตดีและมคี วามสุข ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๑ แสดงออกทางอารมณ์อย่างเหมาะสมสภาพทพ่ี งึ ประสงค์อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี-แส ดง อา รม ณ์ คว าม รู้ สึ กไ ด้ -แ ส ด ง อ า ร ม ณ์ ค ว า ม รู้ สึ ก ไ ด้ต า ม -แสดงอารมณ์ ความรู้สึกไดส้ อดคลอ้ งเหมาะสมกบั บางสถานการณ์ สถานการณ์ กบั สถานการณ์อยา่ งเหมาะสม ตวั บ่งชี้ที่ ๓.๒ มคี วามรู้สึกทดี่ ีต่อตนเองและผู้อนื่สภาพทพี่ งึ ประสงค์อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี-กลา้ พดู กลา้ แสดงออก -กลา้ พดู กลา้ แสดงออกอยา่ งเหมาะสม -กลา้ พูดกลา้ แสดงออกอยา่ งเหมาะสมตาม

บางสถานการณ์ สถานการณ์-แสดงความพอใจในผล งาน -แสดงความพอใจในผลงานและ -แ ส ด ง ค ว า ม พ อ ใ จ ใ น ผ ล ง า น แ ล ะตนเอง ความสามารถของตนเอง ความสามารถของตนเองและผอู้ ่ืน มาตรฐานที่ ๔ ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลอ่ื นไหว ตัวบ่งชี้ท่ี ๔.๑ สนใจและมีความสุขและแสดงออกผ่านงานศิลปะ ดนตรีและการเคลอื่ นไหวสภาพทพี่ งึ ประสงค์อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี-สนใจและมีความสุขและแสดงออกผา่ น -สนใจและมีความสุขและแสดงออก -สนใจและมีความสุขและแสดงออกงานศิลปะ ผา่ นงานศิลปะ ผา่ นงานศิลปะ-สนใจ มีความสุขและแสดงออกผ่าน -สนใจ มีความสุขและแสดงออก -สนใจ มีความสุขและแสดงออกผ่านเสียงเพลง ดนตรี ผา่ นเสียงเพลง ดนตรี เสียงเพลง ดนตรี-สนใจ มีความสุ ขและแสดงท่าทาง/ -สนใจ มีความสุขและแสดงท่าทาง/ -สนใจ มีความสุขและแสดงท่าทาง/เคลื่อนไหวประกอบเพลง จังหวะและ เคลื่อนไหวประกอบเพลง จังหวะ เคลื่อนไหวประกอบเพลง จงั หวะและดนตรี และ ดนตรี ดนตรี มาตรฐานท่ี ๕ มคี ุณธรรม จริยธรรมและมจี ิตใจทดี่ ีงาม ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๑ ซื่อสัตย์ สุจริตสภาพทพี่ งึ ประสงค์อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี-บอกหรือช้ีได้ว่าสิ่งใดเป็ นของตนเอง - ขออนุญาตหรือรอคอยเม่ือตอ้ งการ - ขออนุญาตหรือรอคอยเม่ือตอ้ งการและสิ่งใดเป็นของผอู้ ื่น ส่ิงของของผอู้ ่ืนเมื่อมีผชู้ ้ีแนะ ส่ิงของของผอู้ ่ืนดว้ ยตนเอง

ตวั บ่งชี้ที่ ๕.๒ มีความเมตตา กรุณา มีนา้ ใจและช่วยเหลอื แบ่งปันสภาพทพี่ งึ ประสงค์อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี-แสดงความรักเพ่ือนและมีเมตตาสัตว์ -แสดงความรักเพ่ือนและมีเมตตา -แสดงความรักเพ่ือนและมีเมตตาสัตว์เล้ียง สตั วเ์ ล้ียง เล้ียงสภาพทพี่ งึ ประสงค์อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี-แบง่ ปันสิ่งของใหผ้ อู้ ื่นไดเ้ ม่ือมีผชู้ ้ีแนะ -ช่วยเหลือและแบ่งปันผอู้ ื่นไดเ้ ม่ือมี -ช่วยเหลือและแบ่งปันผูอ้ ่ืนได้ด้วย ผชู้ ้ีแนะ ตนเอง ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๓ มีความเห็นอกเห็นใจผอู้ ่ืนสภาพทพ่ี งึ ประสงค์อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี-แสดงสีหน้าหรือท่าทางรับรู้ความรู้สึก -แ ส ด ง สี ห น้า ห รื อ ท่ า ท า ง รั บ รู้ -แ ส ด ง สี ห น้ า ห รื อ ท่ า ท า ง รั บ รู้ผอู้ ื่น ความรู้สึกผอู้ ่ืน ค ว า ม รู้ สึ ก ผู้อ่ื น อ ย่า ง ส อ ด ค ล้อ ง ก บ สถานการณ์ ตัวบ่งชี้ท่ี ๕.๔มีความรับผดิ ชอบสภาพทพี่ งึ ประสงค์อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี-ทางานที่ไดร้ ับมอบหมายจนสาเร็จเม่ือมี -ทางานที่ไดร้ ับมอบหมายจนสาเร็จ -ทางานที่ได้รับมอบหมายจนสาเร็จผชู้ ่วยเหลือ เมื่อมีผชู้ ้ีแนะ ดว้ ยตนเอง

๓.พฒั นาการด้านสังคม มาตรฐานท่ี ๖ มที กั ษะชีวติ และปฏบิ ัตติ นตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ตวั บ่งชี้ที่ ๖.๑ ช่วยเหลอื ตนเองในการปฏิบัตกิ จิ วตั รประจาวนัสภาพทพี่ งึ ประสงค์อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี- แต่งตวั โดยมีผชู้ ่วยเหลือ - แต่งตวั ดว้ ยตนเอง - แ ต่ ง ตั ว ด้ ว ย ต น เ อ ง ไ ด้ อ ย่ า ง คล่องแคล่วสภาพทพี่ งึ ประสงค์ อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปีอายุ ๓ ปี -รับประทานอาหารดว้ ยตนเอง- รับประทานอาหารดว้ ยตนเอง - รับประทานอาหารดว้ ยตนเองอย่าง ถูกวธิ ี-ใชห้ อ้ งน้าหอ้ งส้วมโดยมีผชู้ ่วยเหลือ -ใชห้ อ้ งน้าหอ้ งส้วมดว้ ยตนเอง -ใชแ้ ละทาความสะอาดหลงั ใชห้ อ้ งน้า หอ้ งส้วมดว้ ยตนเอง ตวั บ่งชี้ที่ ๖.๒ มวี นิ ัยในตนองสภาพทพี่ งึ ประสงค์อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี-เกบ็ ของเล่นของใชเ้ ขา้ ท่ีเม่ือมีผชู้ ้ีแนะ -เก็บของเล่นของใชเ้ ขา้ ที่ดว้ ยตนเอง -เก็ บ ขอ ง เ ล่ น ข อง ใ ช้เข้า ที่ อ ย่า ง เรียบร้อยดว้ ยตนเอง-เข้าแถวตาลาดับก่อนหลังได้เม่ือมีผู้ -เข้าแถวตาลาดับก่อนหลังได้ด้วย -เข้าแถวตาลาดับก่อนหลังได้ด้วยช้ีแนะ ตนเอง ตนเอง

ตวั บ่งชี้ท่ี ๖.๓ ประหยดั และพอเพยี งสภาพทพ่ี งึ ประสงค์อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี-ใช้สิ่งของเครื่องใช้อย่างประหยดั และ -ใช้ส่ิงของเคร่ืองใช้อย่างประหยดั -ใชส้ ่ิงของเคร่ืองใชอ้ ยา่ งประหยดั และพอเพียงเม่ือมีผชู้ ้ีแนะ และพอเพียงเมื่อมีผชู้ ้ีแนะ พอเพยี งดว้ ยตนเอง มาตรฐานที่ ๗ รักธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม วฒั นธรรม และความเป็ นไทย ตวั บ่งชี้ที่ ๗.๑ ดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสภาพทพี่ งึ ประสงค์อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี-มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาธรรมชาติ -มีส่ วนร่ วมใ นการดูแล รักษ า -มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มเม่ือมีผชู้ ้ีแนะ ธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มเม่ือมีผู้ และส่ิงแวดลอ้ มดว้ ยตนเอง ช้ีแนะ-ทิ้งขยะไดถ้ ูกที่ -ทิ้งขยะไดถ้ ูกท่ี -ทิง้ ขยะไดถ้ ูกที่ ตัวบ่งชี้ที่ ๗.๒ มีมารยาทตามวฒั นธรรมไทยและรักความเป็ นไทยสภาพทพ่ี งึ ประสงค์อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปีปฏิบัติตนตามมารยาทไทยได้ เมื่อมีผู้ -ปฏิบตั ิตนตามมารยาทไทยไดด้ ว้ ย -ปฏิบัติตนตามมารยาทไทยได้ ตามช้ีแนะ ตนเอง กาลเทศะ-กล่าวคาขอบคุณและขอโทษเมื่อมีผู้ -กล่าวคาขอบคุณและขอโทษดว้ ย -กล่าวคาขอบคุณและขอโทษดว้ ยตนเองช้ีแนะ ตนเอง-หยุดเม่ือได้ยินเพลงชาติไทยและเพลง -หยุดเม่ือไดย้ ินเพลงชาติไทยและ -ยืนตรงและร่วมร้องเพลงชาติไทยและสรรเสริญพระบารมี เพลงสรรเสริญพระบารมี เพลงสรรเสริญพระมารมี

มาตรฐานท่ี ๘ อยู่ร่วมกบั ผู้อน่ื ได้อย่างมคี วามสุขและปฏบิ ัตติ นเป็ นสมาชิกทด่ี ีของสังคมใน ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั ริย์ทรงเป็ นประมขุ ตวั บ่งชี้ท่ี ๘.๑ ยอมรับความเหมือนและความแตกต่างระหว่างบุคคลสภาพทพี่ งึ ประสงค์อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี-เล่ นแล ะ ทากิ จก รรม ร่ วมกับเด็ก ท่ี -เล่นและทากิจกรรมร่วมกบั กลุ่มเด็ก -เล่นและทากิจกรรมร่ วมกับเด็กท่ีแตกตา่ งไปจากตน ท่ีแตกต่างไปจากตน แตกตา่ งไปจากตน ตวั บ่งชี้ที่ ๘.๒ มปี ฏิสัมพนั ธ์ทดี่ ีกบั ผู้อน่ืสภาพทพ่ี งึ ประสงค์อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี-เล่นร่วมกบั เพอื่ น -เล่นหรือทางานร่วมกบั เพ่ือนเป็ น -เล่นหรือทางานร่วมกับเพื่อนอย่างมี กลุ่ม เป้ าหมาย-ยมิ้ หรือทกั ทายผใู้ หญ่และบุคคลที่คุน้ เคย -ยมิ้ หรือทกั ทายหรือพดู คุยกบั ผใู้ หญ่ -ยิ้มหรือทักทายหรือพูดคุยกับผู้ใหญ่เม่ือมีผชู้ ้ีแนะ และบุคคลที่คุน้ เคยไดด้ ว้ ยตนเอง และบุคคลที่คุ้นเคยได้เหมาะสมกับ สถานการณ์ ตวั บ่งชี้ท่ี ๘.๓ ปฏิบตั ิตนเบอื้ งต้นในการเป็ นสมาชิกทด่ี ีของสังคมสภาพทพ่ี งึ ประสงค์อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี-ปฏิบตั ิตามขอ้ ตกลงเม่ือมีผชู้ ้ีแนะ -มีส่ วนร่ วมสร้ างข้อตกลงและ -มีส่วนร่วมสร้างข้อตกลงและปฏิบัติ ปฏิบตั ิตามขอ้ ตกลงเม่ือมีผชู้ ้ีแนะ ตามขอ้ ตกลงดว้ ยตนเอง-ปฏิบัติตนเป็ นผู้นาและผู้ตามเมื่อมีผู้ -ปฏิบตั ิตนเป็ นผนู้ าและผตู้ ามท่ีดีได้ -ปฏิ บัติ ตน เป็ นผู้น าแ ล ะ ผู้ต าม ไ ด้ช้ีแนะ ดว้ ยตนเอง เหมาะสมกบั สถานการณ์

-ยอมรับการประนีประนอมแก้ไขปัญหา -ประนีประนอมแก้ไขปัญหาโดย -ประ นี ประนอมแก้ไขปั ญหาโดยเมื่อมีผชู้ ้ีแนะ ปราศจากการใชค้ วามรุนแรงเม่ือมีผู้ ปราศจากการใชค้ วามรุนแรงดว้ ยตนเอง ช้ีแนะ ๕. ด้านสตปิ ัญญา มาตรฐานท่ี ๙ ใช้ภาษาส่ือสารได้เหมาะสมกบั วยั ตัวบ่งชี้ที่ ๙.๑ สนทนาโต้ตอบและเล่าเร่ืองให้ผ้อู น่ื เข้าใจสภาพทพ่ี งึ ประสงค์อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี-ฟังผูอ้ ่ืนพูดจนจบและโต้ตอบเกี่ยวกับ -ฟั งผู้อื่นพูดจนจบและสนทนา -ฟังผูอ้ ื่นพูดจนจบและสนทนาโตต้ อบเรื่องท่ีฟัง โตต้ อบสอดคลอ้ งกบั เรื่องท่ีฟัง อยา่ งต่อเนื่องเชื่อมโยงกบั เรื่องท่ีฟัง-เล่า เร่ืองดว้ ยประโยคส้ันๆ -เล่าเร่ืองเป็นประโยคอยา่ งตอ่ เนื่อง -เล่าเป็นเรื่องราวตอ่ เน่ืองได้ ตวั บ่งชี้ที่ ๙.๒ อ่าน เขียนภาพ และสัญลกั ษณ์ได้สภาพทพี่ งึ ประสงค์อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี-อา่ นภาพ และพดู ขอ้ ความดว้ ยภาษา -อา่ นภาพ สัญลกั ษณ์ คา พร้อมท้งั ช้ี -อ่านภาพ สัญลักษณ์ คา ด้วยการช้ีของตน หรื อกวาดตามองข้อความตาม หรือกวาดตามองจุดเริ่มต้นและจุดจบ บรรทดั ของขอ้ ความ-เขียนขีด เข่ีย อยา่ งมีทิศทาง -เขียนคลา้ ยตวั อกั ษร -เขียนชื่อของตนเอง ตามแบบ เขียนขอ้ ความดว้ ยวธิ ีท่ีคิดข้ึนเอง

มาตรฐานท่ี ๑๐ มคี วามสามารถในการคดิ ทเ่ี ป็ นพนื้ ฐานในการเรียนรู้ ตวั บ่งชี้ท่ี ๑๐.๑ มีความสามารถในการคิดรวบยอดสภาพทพ่ี งึ ประสงค์อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี-บอกลักษณะของสิ่งของต่างๆจากการ -บอกลกั ษณะและส่วนประกอบของ -บอกลักษณะ ส่ วนประกอบ การสงั เกตโดยใชป้ ระสาทสัมผสั สิ่งของต่างๆจากการสังเกตโดยใช้ เปล่ียนแปลง หรือความสัมพนั ธ์ของ ประสาทสมั ผสั สิ่ งของต่างๆจากการสังเกตโดยใช้ ประสาทสมั ผสั-จับคู่หรือเปรียบเทียบสิ่งต่างๆโดยใช้ -จบั คู่และเปรียบเทียบความแตกต่าง -จบั คู่และเปรียบเทียบความแตกต่างลกั ษณะหรือหน้าท่ีการงานเพียงลกั ษณะ หรือความเหมือนของสิ่งต่างๆโดย หรือความเหมือนของสิ่งต่างๆโดยใช้เดียว ใชล้ กั ษณะท่ีสังเกตพบเพียงลกั ษณะ ลกั ษณะที่สังเกตพบสองลกั ษณะข้ึนไป เดียว-คดั แยกสิ่งต่างๆตามลกั ษณะหรือหน้าที่ -จาแนกและจดั กลุ่มส่ิงต่างๆโดยใช้ -จาแนกและจัดกลุ่มสิ่ งต่างๆโดยใช้การใชง้ าน อยา่ งนอ้ ยหน่ึงลกั ษณะเป็นเกณฑ์ ต้งั แต่สองลกั ษณะข้ึนไปเป็นเกณฑ์-เรียงลาดับสิ่งของหรือเหตุการณ์อย่าง -เรียงลาดับส่ิงของหรือเหตุการณ์ -เรียงลาดบั ส่ิงของหรือเหตุการณ์อย่างนอ้ ย ๓ ลาดบั อยา่ งนอ้ ย ๔ ลาดบั นอ้ ย ๕ ลาดบั ตัวบ่งชี้ท่ี ๑๐.๒ มคี วามสามารถในการคิดเชิงเหตุผลสภาพทพ่ี งึ ประสงค์อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี-ระบุผลที่เกิดข้ึนในเหตุการณ์หรือการ -ระบุสาเหตุหรื อผลท่ีเกิดข้ึนใน -อธิ บายเชื่ อมโยงสาเหตุและผลที่กระทาเม่ือมีผชู้ ้ีแนะ เหตุการณ์หรือ การกระทาเมื่อมีผู้ เกิดข้ึนในเหตุการณ์หรือการกระทาดว้ ย ช้ีแนะ ตนเอง-คาดเดา หรือ คาดคะเนสิ่งที่อาจเกิดข้ึน -คาดเดา หรือคาดคะเนสิ่งท่ีอาจจะ -คาดคะเนส่ิงที่อาจจะเกิดข้ึน และมี เกิดข้ึน หรื อมีส่วนร่วมในการลง ส่วนร่วมในการลงความเห็นจากขอ้ มูล

ความเห็นจากขอ้ มูล อยา่ งมีเหตุผล ตวั บ่งชี้ท่ี ๑๐.๓ มีความสามารถในการคิดแก้ปัญหาและตดั สินใจสภาพทพี่ งึ ประสงค์อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี-ตดั สินใจในเร่ืองง่ายๆ -ตัดสิ นใจในเร่ื องง่ายๆและเริ่ ม -ตดั สินใจในเรื่องง่ายๆและยอมรับผลท่ี เรียนรู้ผลที่เกิดข้ึน เกิดข้ึน-แกป้ ัญหาโดยลองผดิ ลองถูก -ระบุปัญหา และแกป้ ัญหาโดยลอง -ระบุปัญหาสร้างทางเลือกและเลือกวิธี ผดิ ลองถูก แกป้ ัญหา มาตรฐานท่ี ๑๑ มจี ินตนาการและความคดิ สร้างสรรค์ ตวั บ่งชี้ที่ ๑๑.๑ เล่น/ทางานศิลปะตามจินตนาการและความคดิ สร้างสรรค์สภาพทพี่ งึ ประสงค์อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี-สร้างผลงานศิลปะเพ่ือสื่อสารความคิด -สร้างผลงานศิลปะเพ่ือสื่อสารความคิด -สร้างผลงานศิลปะเพ่ือสื่อสารความคิดความรู้สึกของตนเอง ความรู้สึกของตนเองโดยมีการดดั แปลง ความรู้สึกของตนเองโดยมีการดดั แปลง แ ล ะ แ ป ล ก ใ ห ม่ จ า ก เ ดิ ม ห รื อ มี และแปลกใหม่จากเดิมและ รายละเอียดเพิม่ ข้ึน มีรายละเอียดเพม่ิ ข้ึน ตวั บ่งชี้ที่ ๑๑.๒ แสดงท่าทาง/เคลอ่ื นไหวตามจินตนาการอย่างสร้างสรรค์สภาพทพ่ี งึ ประสงค์อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี-เคลื่อนไหวท่าทางเพื่อสื่อสารความคิด -เคลื่อนไหวท่าทางเพ่ือสื่ อสาร -เคล่ือนไหวท่าทางเพื่อส่ือสารความคิดความรู้สึกของตนเอง ความคิด ความรู้สึกของตนเอง ความรู้สึกของตนเอง

อยา่ งหลากหลายหรือแปลกใหม่ อยา่ งหลากหลายและแปลกใหม่ มาตรฐานที่ ๑๒ มเี จตคตทิ ดี่ ตี ่อการเรียนรู้ และมคี วามสามารถในการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสม กบั วยั ตวั บ่งชี้ท่ี ๑๒.๑ มเี จตคตทิ ดี่ ีต่อการเรียนรู้สภาพทพ่ี งึ ประสงค์อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี-สนใจฟังหรืออ่านหนงั สือดว้ ยตนเอง -สนใจซักถามเกี่ยวกับสัญลักษณ์ -หยิบหนงั สือมาอ่านและเขียนส่ือความคิด หรือตวั หนงั สือท่ีพบเห็น ดว้ ยตนเองเป็นประจาอยา่ งต่อเน่ือง-กระตือรือร้นในการเขา้ ร่วมกิจกรรม -ก ร ะ ตื อ รื อ ร้ น ใ น ก า ร เ ข้า ร่ ว ม -กระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรมต้งั แต่ตน้ กิจกรรม จนจบ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๒.๒ มีความสามารถในการแสวงหาความรู้สภาพทพ่ี งึ ประสงค์อายุ ๓ ปี อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี-คน้ หาคาตอบของขอ้ สงสัยต่างๆ ตาม -คน้ หาคาตอบของขอ้ สงสัยต่างๆ ตาม -ค้นหาคาตอบของข้อสงสัยต่างๆ ตามวธิ ีการท่ีมีผชู้ ้ีแนะ วธิ ีการของตนเอง วธิ ีการที่หลากหลายดว้ ยตนเอง-เช่ือมโยงคาถา “อะไร” ในการค้นหา -ใช้ประโย คคาถามว่า “ท่ีไหน” -ใช้ประโยคคาถามวา่ “เมื่อไร” อยา่ งไร”คาตอบ “ทาไม” ในการคน้ หาคาตอบ ในการคน้ หาคาตอบ

การจดั เวลาเรียน หลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั กาหนดกรอบโครงสร้างเวลาในการจดั ประสบการณ์ให้กบั เด็ก ๑-๓ ปี การศึกษาโดยประมาณ ท้งั น้ี ข้ึนอยกู่ บั อายุของเด็กท่ีเร่ิมเขา้ สถานศึกษาหรือสถาบนั พฒั นาเด็กปฐมวยั เวลาเรียนสาหรับเด็กปฐมวยั ข้ึนอยู่กบั สถานศึกษาแต่ละแห่ง โดยมีเวลาเรียนไม่นอ้ ยกว่า ๑๘๐ วนั ต่อ ๑ ปี การศึกษา ในแต่ละวนั จะใช้เวลาไม่นอ้ ยกวา่ ๕ ชว่ั โมง โดยสามารถปรับเปล่ียนให้เหมาะสมตามบริบทของสถานศึกษาและสถาบนั พฒั นาเด็กปฐมวยั สาระการเรียนรู้รายปี สาระการเรียนรู้ใชเ้ ป็ นสื่อกลางในการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ให้กบั เด็กเพื่อส่งเสริมพฒั นาการทุกดา้ น ใหเ้ ป็นไปตามจุดหมายของหลกั สูตรที่กาหนด ประกอบดว้ ย ประสบการณ์สาคญั และสาระท่ีควรเรียนรู้ ดงั น้ี ๑. ประสบการณ์สาคญั ประสบการณ์สาคญั เป็ นแนวทางสาหรับผูส้ อนไปใช้ในการออกแบบการจดั ประสบการณ์ ให้เด็กปฐมวยั เรียนรู้ ลงมือปฏิบตั ิ และไดร้ ับการส่งเสริมพฒั นาการครอบคลุมทุกดา้ น ดงั น้ี ๑.๑ ประสบการณ์สาคัญที่ส่ งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย เป็ นการสนับสนุนให้เด็กได้มีโอกาสพฒั นาการใชก้ ลา้ มเน้ือใหญ่ กลา้ มเน้ือเล็ก และการประสานสัมพนั ธ์ระหวา่ งกลา้ มเน้ือและระบบประสาท ในการทากิจวตั รประจาวนั หรือทากิจกรรมต่างๆและสนบั สนุนให้เด็กมีโอกาสดูแลสุขภาพและสุขอนามยั และการรักษาความปลอดภยั ดงั น้ี ๑.๑.๑ การใช้กล้ามเนือ้ ใหญ่ ๑.๑.๑.๑ การเคล่ือนไหวอยกู่ บั ที่ ๑.๑.๑.๒ การเคล่ือนไหวเคลื่อนท่ี ๑.๑.๑.๓ การเคลื่อนไหวพร้อมวสั ดุอุปกรณ์ ๑.๑.๑.๔ การเคล่ือนไหวท่ีใชก้ ารประสานสมั พนั ธ์ของการใชก้ ลา้ มเน้ือมดั ใหญ่ในการขวา้ ง การจบั การโยน การเตะ ๑.๑.๑.๕ การเล่นเคร่ืองเล่นสนามอยา่ งอิสระ ๑.๑.๒ การใช้กล้ามเนือ้ เลก็ ๑.๑.๒.๑ การเล่นเคร่ืองเล่นสมั ผสั และการสร้างจากแท่งไม้ บล็อก ๑.๑.๒.๒ การเขียนภาพและการเล่นกบั สี ๑.๑.๒.๓ การป้ัน

๑.๑.๒.๔ การประดิษฐส์ ิ่งตา่ งๆดว้ ย เศษวสั ดุ ๑.๑.๒.๕ การหยบิ จบั การใชก้ รรไกร การฉีก การตดั การปะ และการร้อยวสั ดุ ๑.๑.๓ การรักษาสุขภาพอนามยั ส่วนตัว ๑.๑.๓.๑ การปฏิบตั ิตนตามสุขอนามยั สุขนิสัยที่ดีในกิจวตั รประจาวนั ๑.๑.๔ การรักษาความปลอดภัย ๑.๑.๔.๑ การปฏิบตั ิตนใหป้ ลอดภยั ในกิจวตั รประจาวนั ๑.๑.๔.๒ การฟังนิทาน เร่ืองราว เหตุการณ์ เก่ียวกบั การป้ องกนั และรักษาความปลอดภยั ๑.๑.๔.๓ การเล่นเคร่ืองเล่นอยา่ งปลอดภยั ๑.๑.๔.๔ การเล่นบทบาทสมมติเหตุการณ์ต่างๆ ๑.๑.๕ การตระหนักรู้เกย่ี วกบั ร่างกายตนเอง ๑.๑.๕.๑ การเคลื่อนไหวเพื่อควบคุมตนเองไปในทิศทาง ระดบั และพ้ืนที่ ๑.๑.๕.๒ การเคลื่อนไหวขา้ มสิ่งกีดขวาง ๑.๒ ประสบการณ์สาคัญท่ีส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจเป็ นการสนบั สนุนให้เด็กได้แสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกของตนเองที่เหมาะสมกบั วยั ตระหนกั ถึงลกั ษณะพิเศษเฉพาะท่ีเป็ นอตั ลกั ษณ์ความเป็ นตวั ของตวั เอง มีความสุข ร่าเริงแจ่มใส การเห็นอกเห็นใจผอู้ ่ืนไดพ้ ฒั นาคุณธรรม จริยธรรม สุนทรียภาพความรู้สึกที่ดีตอ่ ตนเอง และความเชื่อมน่ั ในตนเองขณะปฏิบตั ิกิจกรรมต่างๆ ดงั น้ี ๑.๒.๑ สุนทรียภาพ ดนตรี ๑.๒.๑.๑ การฟังเพลง การร้องเพลง และการแสดงปฏิกิริยาโตต้ อบเสียงดนตรี ๑.๒.๑.๒ การเคล่ือนไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี ๑.๒.๑.๓ การเล่นบทบาทสมมติ ๑.๒.๑.๔ การทากิจกรรมศิลปะต่างๆ ๑.๒.๑.๕ การสร้างสรรคส์ ิ่งสวยงาม ๑.๒.๒ การเล่น ๑.๒.๒.๑ การเล่นอิสระ ๑.๒.๒.๒ การเล่นรายบุคคล กลุ่มยอ่ ย กลุ่มใหญ่ ๑.๒.๒.๓ การเล่นตามมุมประสบการณ์ ๑.๒.๒.๔ การเล่นนอกหอ้ งเรียน ๑.๒.๓ คุณธรรม จริยธรรม ๑.๒.๓.๑ การปฏิบตั ิตนตามหลกั ศาสนาที่นบั ถือ

๑.๒.๓.๒ การฟังนิทานเกี่ยวกบั คุณธรรม จริยธรรม ๑.๒.๓.๓ การร่วมสนทนาแลกเปล่ียนความคิดเห็นเชิงจริยธรรม ๑.๒.๔ การแสดงออกทางอารมณ์ ๑.๒.๔.๑ การสะทอ้ นความรู้สึกของตนเองและผอู้ ื่น ๑.๒.๔.๒ การเล่นบทบาทสมมติ ๑.๒.๔.๓ การเคลื่อนไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี ๑.๒.๔.๔การร้องเพลง ๑.๒.๔.๕ การทางานศิลปะ ๑.๒.๕ การมีอตั ลกั ษณ์เฉพาะตนและเชื่อว่าตนเองมคี วามสามารถ ๑.๒.๕.๑ การปฏิบตั ิกิจกรรมตา่ งๆตามความสามารถของตนเอง ๑.๒.๖ การเห็นอกเห็นใจผู้อน่ื ๑.๒.๖.๑ การแสดงความยนิ ดีเม่ือผอู้ ่ืนมีความสุข เห็นอกเห็นใจเม่ือผอู้ ่ืนเศร้าหรือเสียใจ และการ ช่วยเหลือปลอบโยนเม่ือผอู้ ื่นไดร้ ับบาดเจบ็ ๑.๓ ประสบการณ์สาคัญท่ีส่ งเสริมพัฒนาการด้านสังคม เป็ นการสนับสนุนให้เด็กไดม้ ีโอกาสปฏิสัมพนั ธ์กบั บุคลและสิ่งแวดลอ้ มต่างๆรอบตวั จากการปฏิบตั ิกิจกรรมต่างๆ ผ่านการเรียนรู้ทางสังคม เช่น การเล่น การทางานกบั ผอู้ ่ืน การปฏิบตั ิกิจวตั รประจาวนั การแกป้ ัญหาขอ้ ขดั แยง้ ตา่ งๆ ๑.๓.๑ การปฏิบตั กิ จิ วตั รประจาวนั ๑.๓.๑.๑ การช่วยเหลือตนเองในกิจวตั รประจาวนั ๑.๓.๑.๒การปฏิบตั ิตนตามแนวทางหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๑.๓.๒ การดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๑.๓.๒.๑ การมีส่วนร่วมรับผดิ ชอบดูแลรักษาสิ่งแวดลอ้ มท้งั ภายในและภายนอกหอ้ งเรียน ๑.๓.๒.๒ การทางานศิลปะที่ใช้วสั ดุหรือสิ่งของท่ีใช้แลว้ มาใช้ซ้าหรือแปรรูปแล้วนากลับมา ใชใ้ หม่ ๑.๓.๒.๓ การเพาะปลูกและดูแลตน้ ไม้ ๑.๓.๒.๔ การเล้ียงสัตว์ ๑.๓.๒.๕ การสนทนาขา่ วและเหตุการณ์ท่ีเก่ียวกบั ธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มในชีวติ ประจาวนั ๑.๓.๓ การปฏบิ ัตติ ามวฒั นธรรมท้องถิ่นทอ่ี าศัยและความเป็ นไทย ๑.๓.๓.๑ การเล่นบทบาทสมมุติการปฏิบตั ิตนในความเป็นคนไทย ๑.๓.๓.๒ การปฏิบตั ิตนตามวฒั นธรรมทอ้ งถ่ินท่ีอาศยั และประเพณีไทย

๑.๓.๓.๓ การประกอบอาหารไทย ๑.๓.๓.๔ การศึกษานอกสถานที่ ๑.๓.๓.๕ การละเล่นพ้ืนบา้ นของไทย ๑.๓.๔ การมปี ฏสิ ัมพนั ธ์ มวี นิ ัย มีสวนร่วม และบทบาทสมาชิกของสังคม ๑.๓.๔.๑ การร่วมกาหนดขอ้ ตกลงของหอ้ งเรียน ๑.๓.๔.๒ การปฏิบตั ิตนเป็นสมาชิที่ดีของหอ้ งเรียน ๑.๓.๔.๓ การใหค้ วามร่วมมือในการปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ๑.๓.๔.๔ การดูแลหอ้ งเรียนร่วมกนั ๑.๓.๔.๕ การร่วมกิจกรรมวนั สาคญั ๑.๓.๕ การเล่นแบบร่วมมือร่วมใจ ๑.๓.๕.๑ การร่วมสนทนาและแลกเปล่ียนความคิดเห็น ๑.๓.๕.๒ การเล่นและทางานร่วมกบั ผอู้ ่ืน ๑.๓.๕.๓ การทาศิลปะแบบร่วมมือ ๑.๓.๖ การแก้ปัญหาความขัดแย้ง ๑.๓.๖.๑ การมีส่วนร่วมในการเลือกวธิ ีการแกป้ ัญหา ๑.๓.๖.๒ การมีส่วนร่วมในการแกป้ ัญหาความขดั แยง้ ๑.๓.๗ การยอมรับในความเหมือนและความแตกต่างระหว่างบุคคล ๑.๓.๗.๑ การเล่นหรือ ทากิจกรรมร่วมกบั กลุ่มเพอ่ื น๑.๔ ประสบการณ์สาคัญท่ีส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา เป็ นการสนับสนุนให้เด็กได้รับรู้ เรียนรู้สิ่งต่างๆรอบตวั ผา่ นการมีปฏิสัมพนั ธ์กบั สิ่งแวดล้อม บุคคลและส่ือต่างๆ ดว้ ยกระบวนการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย เพ่ือเปิ ดโอกาสให้เด็กพฒั นาการใชภ้ าษา จินตนาการความคิดสร้างสรรค์ การแกป้ ัญหา การคิดเชิงเหตุผล และการคิดรวบยอดเกี่ยวกบั สิ่งต่างๆ รอบตวั และมีความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ท่ีเป็ นพ้ืนฐานของการเรียนรู้ในระดบั ท่ีสูงข้ึนต่อไป ๑.๔.๑ การใช้ภาษา ๑.๔.๑.๑ การฟังเสียงตา่ งๆ ในสิ่งแวดลอ้ ม ๑.๔.๑.๒ การฟังและปฏิบตั ิตามคาแนะนา ๑.๔.๑.๓ การฟังเพลง นิทาน คาคลอ้ งจอง บทร้อยกรงหรือเรื่องราวตา่ งๆ ๑.๔.๑.๔ การแสดงความคิด ความรู้สึก และความตอ้ งการ ๑.๔.๑.๕ การพดู กบั ผอู้ ่ืนเกี่ยวกบั ประสบการณ์ของตนเอง หรือพดู เล่าเรื่องราวเก่ียวกบั ตนเอง

๑.๔.๑.๖ การพดู อธิบายเกี่ยวกบั ส่ิงของ เหตุการณ์ และความสมั พนั ธ์ของส่ิงตา่ งๆ ๑.๔.๑.๗ การพดู อยา่ งสร้างสรรคใ์ นการเล่น และการกระทาตา่ งๆ ๑.๔.๑.๘ การรอจงั หวะที่เหมาะสมในการพดู ๑.๔.๑.๙ การพดู เรียงลาดบั เพ่อื ใชใ้ นการส่ือสาร ๑.๔.๑.๑๐ การอา่ นหนงั สือภาพ นิทาน หลากหลายประเภท/รูปแบบ ๑.๔.๑.๑๑ การอ่านอิสระตามลาพงั การอ่านร่วมกนั การอา่ นโดยมีผชู้ ้ีแนะ ๑.๔.๑.๑๒ การเห็นแบบอยา่ งของการอ่านที่ถูกตอ้ ง ๑.๔.๑.๑๓ การสังเกตทิศทางการอา่ นตวั อกั ษร คา และขอ้ ความ ๑.๔.๑.๑๔ การอ่านและช้ีขอ้ ความ โดยกวาดสายตาตามบรรทดั จากซา้ ยไปขวา จากบนลงล่าง ๑.๔.๑.๑๕ การสังเกตตวั อกั ษรในช่ือของตน หรือคาคุน้ เคย ๑.๔.๑.๑๖ การสงั เกตตวั อกั ษรท่ีประกอบเป็นคาผา่ นการอา่ นหรือเขียนของผใู้ หญ่ ๑.๔.๑.๑๗ การคาดเดาคา วลี หรือประโยค ท่ีมีโครงสร้างซ้าๆกนั จากนิทาน เพลง คาคลอ้ งจอง ๑.๔.๑.๑๘ การเล่นเกมทางภาษา ๑.๔.๑.๑๙ การเห็นแบบอยา่ งของการเขียนท่ีถูกตอ้ ง ๑.๔.๑.๒๐ การเขียนร่วมกนั ตามโอกาส และการเขียนอิสระ ๑.๔.๑.๒๑ การเขียนคาท่ีมีความหมายกบั ตวั เด็ก/คาคุน้ เคย ๑.๔.๑.๒๒ การคิดสะกดคาและเขียนเพ่ือส่ือความหมายดว้ ยตนเองอยา่ งอิสระ ๑.๔.๒ การคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตุผล การตดั สินใจและแก้ปัญหา ๑.๔.๒.๑ การสังเกตลกั ษณะ ส่วนประกอบ การเปล่ียนแปลง และความสัมพนั ธ์ของส่ิงต่างๆ โดยใชป้ ระสาทสัมผสั อยา่ งเหมาะสม ๑.๔.๒.๒ การสังเกตสิ่งตา่ งๆ และสถานท่ีจากมุมมองท่ีต่างกนั ๑.๔.๒.๓ การบอกและแสดงตาแหน่ง ทิศทาง และระยะทางของส่ิงต่างๆดว้ ยการกระทา ภาพวาดภาพถ่าย และรูปภาพ ๑.๔.๒.๔ การเล่นกบั สื่อตา่ งๆท่ีเป็นทรงกลม ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกระบอก กรวย ๑.๔.๒.๕ การคดั แยก การจดั กลุ่ม และการจาแนกสิ่งตา่ งๆตามลกั ษณะและรูปร่าง รูปทรง ๑.๔.๒.๖ การตอ่ ของชิ้นเล็กเติมในชิ้นใหญ่ใหส้ มบูรณ์ และการแยกชิ้นส่วน ๑.๔.๒.๗ การทาซ้า การตอ่ เติม และการสร้างแบบรูป ๑.๔.๒.๘ การนบั และแสดงจานวนของสิ่งต่างๆในชีวติ ประจาวนั ๑.๔.๒.๙ การเปรียบเทียบและเรียงลาดบั จานวนของสิ่งต่างๆ

๑.๔.๒.๑๐ การรวมและการแยกส่ิงตา่ งๆ ๑.๔.๒.๑๑ การบอกและแสดงอนั ดบั ที่ของส่ิงตา่ งๆ ๑.๔.๒.๑๒ การชงั่ ตวง วดั สิ่งต่างๆโดยใชเ้ ครื่องมือและหน่วยท่ีไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน ๑.๔.๒.๑๓ การจบั คู่ การเปรียบเทียบ และการเรียงลาดบั ส่ิงต่างๆ ตามลกั ษณะความยาว/ความสูงน้าหนกั ปริมาตร ๑.๔.๒.๑๔ การบอกและเรียงลาดบั กิจกรรมหรือเหตกู ารณ์ตามช่วงเวลา ๑.๔.๒.๑๕ การใชภ้ าษาทางคณิตศาสตร์กบั เหตุการณ์ในชีวติ ประจาวนั ๑.๔.๒.๑๖ การอธิบายเชื่อมโยงสาเหตุและผลท่ีเกิดข้ึนในเหตุการณ์หรือการกระทา ๑.๔.๒.๑๗ การคาดเดาหรือการคาดคะเนสิ่งท่ีอาจเกิดข้ึนอยา่ งมีเหตุผล ๑.๔.๒.๑๘ การมีส่วนร่วมในการลงความเห็นจากขอ้ มลู อยา่ งมีเหตุผล ๑.๔.๒.๑๙ การตดั สินใจและมีส่วนร่วมในกระบวนการแกป้ ัญหา ๑.๔.๓ จินตนาการและความคดิ สร้างสรรค์ ๑.๔.๓.๑ การรับรู้ และแสดงความคิดความรู้สึกผา่ นส่ือ วสั ดุ ของเล่น และชิ้นงาน ๑.๔.๓.๒ การแสดงความคิดสร้างสรรคผ์ า่ นภาษา ทา่ ทาง การเคลื่อนไหว และศิลปะ ๑.๔.๓.๓ การสร้างสรรคช์ ิ้นงานโดยใชร้ ูปร่างรูปทรงจากวสั ดุท่ีหลากหลาย ๑.๔.๔ เจตคติทด่ี ีต่อการเรียนรู้และการแสวงหาความรู้ ๑.๔.๔.๑ การสารวจส่ิงต่างๆ และแหล่งเรียนรู้รอบตวั ๑.๔.๔.๒ การต้งั คาถามในเรื่องท่ีสนใจ ๑.๔.๔.๓ การสืบเสาะหาความรู้เพ่อื คน้ หาคาตอบของขอ้ สงสัยต่างๆ ๑.๔.๔.๔ การมีส่วนร่วมในการรวบรวมขอ้ มูลและนาเสนอขอ้ มูลจากการสืบเสาะหาความรู้ในรูปแบบตา่ งๆและแผนภมู ิอยา่ งง่าย สาระทค่ี วรเรียนรู้ สาระที่ควรเรียนรู้ เป็ นเร่ืองราวรอบตวั เด็กที่นามาเป็ นส่ือกลางในการจดั กิจกรรมให้เด็กเกิดแนวคิดหลงั จากนาสาระการเรียนรู้น้ัน ๆ มาจดั ประสบการณ์ให้เด็ก เพ่ือให้บรรลุจดั หมายที่กาหนดไวท้ ้งั น้ี ไม่เนน้ การท่องจาเน้ือหา ครูสามารถกาหนดรายละเอียดข้ึนเองใหส้ อดคลอ้ งกบั วยั ความตอ้ งการ และความสนใจของเด็ก โดยใหเ้ ด็กไดเ้ รียนรู้ผา่ นประสบการณ์สาคญั ท้งั น้ี อาจยืดหยนุ่ เน้ือหาไดโ้ ดยคานึงถึงประสบการณ์และสิ่งแวดลอ้ มในชีวติ จริงของเด็ก ดงั น้ี

๒.๑ เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก เด็กควรรู้จกั ชื่อ นามสกุล รูปร่างหน้าตา รู้จกั อวยั วะต่างๆ วิธีระวงั รักษาร่างกายให้สะอาดและมีสุขภาพอนามยั ท่ีดี การรับประทานอาหารท่ีเป็ นประโยชน์ การระมดั ระวงั ความปลอดภยัของตนเองจากผูอ้ ่ืนและภยั ใกลต้ วั รวมท้งั การปฏิบตั ิต่อผูอ้ ื่นอยา่ งปลอดภยั การรู้จกั ความเป็ นมาของตนเองและครอบครัว การปฏิบตั ิตนเป็ นสมาชิกที่ดีของครอบครัวและโรงเรียน การเคารพสิทธิของตนเองและผอู้ ่ืน การรู้จกัแสดงความคิดเห็นของตนเองและรับฟังความคิดเห็นของผอู้ ื่น การกากบั ตนเอง การเล่นและทาส่ิงต่างๆดว้ ยตนเองตามลาพงั หรือกบั ผูอ้ ื่น การตระหนกั รู้เกี่ยวกบั ตนเอง ความภาคภูมิใจในตนเอง การสะทอ้ นการรับรู้อารมณ์และความรู้สึกของตนเองและผอู้ ่ืน การแสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกอยา่ งเหมาะสม การแสดงมารยาทที่ดี การมีคุณธรรมจริยธรรม ๒.๒ เรื่องราวเกยี่ วกบั บุคคลและสถานท่ีแวดล้อมเด็ก เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกบั ครอบครัว สถานศึกษา ชุมชนและบุคคลตา่ งๆ ท่ีเด็กตอ้ งเก่ียวขอ้ งหรือใกลช้ ิดและมีปฏิสัมพนั ธ์ในชีวิตประจาวนั สถานที่สาคญั วนั สาคญั อาชีพของคนในชุมชน ศาสนา แหล่งวฒั นาธรรมในชุมชน สัญลกั ษณ์สาคญั ของชาติไทยและการปฏิบตั ิตามวฒั นธรรมทอ้ งถิ่นและความเป็นไทย หรือแหล่งเรียนรู้จากภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นอื่นๆ ๒.๓ ธรรมชาติรอบตัว เด็กควรเรี ยนรู้เก่ียวกับชื่อ ลักษณะ ส่วนประกอบ การเปล่ียนแปลงและความสัมพนั ธ์ของมนุษย์ สัตว์ พืช ตลอดจนการรู้จกั เก่ียวกบั ดิน น้า ทอ้ งฟ้ า สภาพอากาศ ภยั ธรรมชาติ แรง และพลงั งานในชีวติ ประจาวนั ที่แวดลอ้ มเดก็ รวมท้งั การอนุรักษส์ ่ิงแวดลอ้ มและการรักษาสาธารณสมบตั ิ ๒.๔ สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกบั การใชภ้ าษาเพ่ือสื่อความหมายในชีวติ ประจาวนั ความรู้พ้ืนฐานเก่ียวกบั การใชห้ นงั สือและตวั หนงั สือ รู้จกั ชื่อ ลกั ษณะ สี ผิวสัมผสั ขนาด รูปร่าง รูปทรง ปริมาตร น้าหนกัจานวน ส่วนประกอบ การเปลี่ยนแปลงและความสมั พนั ธ์ของสิ่งตา่ งๆรอบตวั เวลา เงิน ประโยชน์ การใชง้ าน และการเลือกใช้ส่ิงของเครื่องใช้ ยานพาหนะ การคมนาคม เทคโนโลยีและการสื่อสารต่างๆ ที่ใช้อยใู่ นชีวติ ประจาวนัอยา่ งประหยดั ปลอดภยั และรักษาส่ิงแวดลอ้ มการจดั ประสบการณ์ การจดั ประสบการณ์สาหรับเดก็ ปฐมวยั อายุ ๓ – ๖ ปี เป็นการจดั กิจกรรมในลกั ษณะบูรณาการผา่ นการเล่น การลงมือกระทาจากประสบการณ์ตรงอยา่ งหลากหลาย เกิดความรู้ ทกั ษะ คุณธรรม จริยธรรม รวมท้งั เกิดการพฒั นาท้งั ดา้ นร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ไม่จดั เป็ นรายวิชาโดยมีหลกั การ และแนวทางการจดัประสบการณ์ ดงั น้ี

๑. หลกั การจัดประสบการณ์ ๑.๑ จดั ประสบการณ์การเล่นและการเรียนรู้หลากหลาย เพอ่ื พฒั นาเด็กโดยองคร์ วมอยา่ งสมดุลและ ต่อเนื่อง ๑.๒ เนน้ เด็กเป็ นสาคญั สนองความตอ้ งการ ความสนใจ ความแตกต่างระหวา่ งบุคคลและบริบท ของสังคมท่ีเด็กอาศยั อยู่ ๑.๓ จดั ใหเ้ ดก็ ไดร้ ับการพฒั นา โดยใหค้ วามสาคญั กบั กระบวนการเรียนรู้และพฒั นาการของเด็ก ๑.๔ จดั การประเมินพฒั นาการให้เป็ นกระบวนการอย่างต่อเน่ือง และเป็ นส่วนหน่ึงของการจดั ประสบการณ์ พร้อมท้งั นาผลการประเมินมาพฒั นาเดก็ อยา่ งตอ่ เน่ือง ๑.๕ ใหพ้ อ่ แม่ ครอบครัว ชุมชน และทุกฝ่ ายที่เกี่ยวขอ้ งมีส่วนร่วมในการพฒั นาเด็ก ๒. แนวทางการจัดประสบการณ์ ๒.๑ จดั ประสบการณ์ใหส้ อดคลอ้ งกบั จิตวทิ ยาพฒั นาการและการทางานของสมองที่เหมาะสมกบั อายุ วฒุ ิภาวะและระดบั พฒั นาการ เพอ่ื ใหเ้ ดก็ ทุกคนไดพ้ ฒั นาเตม็ ตามศกั ยภาพ ๒.๒ จดั ประสบการณ์ให้สอดคลอ้ งกบั แบบการเรียนรู้ของเด็ก เด็กไดล้ งมือกระทาเรียนรู้ผ่าน ประสาสมั ผสั ท้งั หา้ ไดเ้ คล่ือนไหว สารวจ เล่น สังเกต สืบคน้ ทดลอง และคิดแกป้ ัญหาดว้ ยตนเอง ๒.๓ จดั ประสบการณ์แบบบรู ณาการ โดยบรู ณาการท้งั กิจกรรม ทกั ษะ และสาระการเรียนรู้ ๒.๔ จดั ประสบการณ์ใหเ้ ด็กไดร้ ิเริ่มคิด วางแผน ตดั สินใจลงมือกระทาและนาเสนอความคิดโดย ครูหรือผจู้ ดั ประสบการณ์เป็นผสู้ นบั สนุนอานวยความสะดวก และเรียนรู้ร่วมกบั เดก็ ๒.๕ จดั ประสบการณ์ใหเ้ ด็กมีปฏิสัมพนั ธ์กบั เด็กอ่ืนกบั ผใู้ หญ่ ภายใตส้ ภาพแวดลอ้ มท่ีเอ้ือต่อการ เรียนรู้ ในบรรยากาศที่อบอุ่นมีความสุข และเรียนรู้การทากิจกรรมแบบร่วมมือในลกั ษณะต่างๆกนั ๒.๖ จดั ประสบการณ์ใหเ้ ดก็ มีปฏิสมั พนั ธ์กบั ส่ือและแหล่งการเรียนรี่หลากหลายและอยใู่ นวถิ ีชีวิต ของเด็ก ๒.๗ จัดประสบการณ์ท่ีส่งเสริมลักษณะนิสัยที่ดีและทักษะการใช้ชีวิตประจาวนั ตลอดจน สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมใหเ้ ป็นส่วนหน่ึงของการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้อยา่ งต่อเน่ือง ๒.๘ จดั ประสบการณ์ท้งั ในลกั ษณะท่ีดีการวางแผนไวล้ ่วงหนา้ และแผนที่เกิดข้ึนในสภาพจริงโดย ไมไ่ ดค้ าดการณ์ไว้ ๒.๙ จดั ทาสารนิทศั น์ด้วยการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพฒั นาการและการเรียนรู้ของเด็กเป็ น รายบุคคล นามาไตร่ตรองและใชใ้ หเ้ ป็นประโยชน์ต่อการพฒั นาเด็ก และการวจิ ยั ในช้นั เรียน ๒.๑๐ จัดประสบการณ์โดยให้พ่อแม่ ครอบครัว และชุมชนมีส่วนร่วมท้งั การวางแผน การ สนบั สนุนส่ือแหล่งเรียนรู้ การเขา้ ร่วมกิจกรรม และการประเมินพฒั นาการ

๓. การจัดกจิ กรรมประจาวนั กิจกรรมสาหรับเดก็ อายุ ๓ – ๖ ปี บริบรู ณ์ สามารถนามาจดั เป็ นกิจกรรมประจาวนั ไดห้ ลายรูปแบบเป็ นการช่วยให้ครูผูส้ อนหรือผูจ้ ดั ประสบการณ์ทราบว่าแต่ละวนั จะทากิจกรรมอะไร เม่ือใด และอย่างไร ท้งั น้ี การจดักิจกรรมประจาวนั สามารถจดั ไดห้ ลายรูปแบบ ข้ึนอยกู่ บั ความเหมาะสมในการนาไปใชข้ องแต่ละหน่วยงานและสภาพชุมชน ท่ีสาคญั ครูผูส้ อนต้องคานึงถึงการจดั กิจกรรมให้ครอบคลุมพฒั นาการทุกด้านการจดั กิจกรรมประจาวนั มีหลกั การจดั และขอบข่ายกิจกรรมประจาวนั ดงั น้ี ๓.๑ หลกั การจัดกจิ กรรมประจาวนั ๑. กาหนดระยะเวลาในการจดั กิจกรรมแต่ละกิจกรรมให้เหมาะสมกบั วยั ของเด็กในแต่ละวนั แต่ยดื หยนุ่ ไดต้ ามความตอ้ งการและความสนใจของเด็ก เช่น วยั ๓-๔ ปี มีความสนใจช่วงส้นั ประมาณ ๘-๑๒ นาที วยั ๔ – ๕ ปี มีความสนใจอยไู่ ดป้ ระมาณ ๑๒-๑๕ นาที วยั ๕-๖ ปี มีความสนใจอยไู่ ดป้ ระมาณ ๑๕- ๒๐ นาที ๒. กิจกรรมท่ีตอ้ งใชค้ วามคิดท้งั ในกลุ่มเล็กและกลุ่มใหญ่ ไม่ควรใชเ้ วลาตอ่ เน่ืองนานเกินกวา่๒๐ นาที ๓. กิจกรรมท่ีเด็กมีอิสระเลือกเล่นเสรี เพ่ือช่วยให้เด็กรู้จักเลือกตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา คิดสร้างสรรค์ เช่น การเล่นตามมุม การเล่นกลางแจง้ ฯลฯ ใชเ้ วลาประมาณ ๔๐-๖๐ นาที ๔. กิจกรรมควรมีความสมดุลระหวา่ งกิจกรรมในห้องและนอกห้อง กิจกรรมที่ใชก้ ลา้ มเน้ือใหญ่และกลา้ มเน้ือเล็ก กิจกรรมที่เป็นรายบุคคล กลุ่มยอ่ ยและกลุ่มใหญ่ กิจกรรมท่ีเด็กเป็ นผรู้ ิเริ่มและครูผสู้ อนหรือผจู้ ดัประสบการณ์เป็ นผรู้ ิเริ่ม และกิจกรรมที่ใชก้ าลงั และไม่ใช้กาลงั จดั ให้ครบทุกประเภท ท้งั น้ี กิจกรรมท่ีตอ้ งออกกาลงั กายควรจดั สลบั กบั กิจกรรมที่ไม่ตอ้ งออกกาลงั มากนกั เพื่อเด็กจะไดไ้ มเ่ หนื่อยเกินไป ๓.๒ ขอบข่ายของกจิ กรรมประจาวนั การเลือกกิจกรรมที่จะนามาจดั ในแต่ละวนั สามารถจดั ไดห้ ลายรูปแบบ ท้งั น้ี ข้ึนอยกู่ บั ความเหมาะสมในการนาไปใช้ของแต่ละหน่วยงานและสภาพชุมชน ที่สาคญั ครูผูส้ อนตอ้ งคานึกถึงการจดั กิจกรรมให้ครอบคลุมพฒั นาการทุกดา้ น ดงั ตอ่ ไปน้ี ๓.๒.๑ การพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่ เป็ นการพฒั นาความแขง็ แรง การทรงตวั ความยืดหยนุ่ ความคล่องแคล่วในการใช้อวยั วะต่าง ๆ และจงั หวะการเคลื่อนไหวในการใชก้ ลา้ มเน้ือใหญ่ โดยจดั กิจกรรมให้เด็กได้เล่นอิสระกลางแจง้ เล่นเคร่ืองเล่นสนาม ปี นป่ ายเล่นอิสระ เคล่ือนไหวร่างกายตามจงั หวะดนตรี ๓.๒.๒ การพัฒนาการกล้ามเนื้อเล็ก เป็ นการพฒั นาความแข็งแรงของกลา้ มเน้ือเล็ก กลา้ มเน้ือมือ-นิ้วมือการประสานสัมพนั ธ์ระหวา่ งกลา้ มเน้ือมือและระบบประสาทตามือไดอ้ ยา่ งคล่องแคล่วและประสานสัมพนั ธ์ โดย

จดั กิจกรรมใหเ้ ด็กไดเ้ ล่นเคร่ืองสมั ผสั เล่นเกมการศึกษา ฝึ กช่วยเหลือตนเองในการแต่งกาย หยิบจบั ชอ้ นส้อม และใชอ้ ุปกรณ์ศิลปะ เช่น สีเทียน กรรไกร พกู่ นั ดินเหนียว ฯลฯ ๓.๒.๓ การพฒั นาการอารมณ์ จิตใจ และปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม เป็นการปลูกฝังให้เด็กมีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผอู้ ื่น มีความเช่ือมน่ั กลา้ แสดงออก มีวนิ ยั รับผดิ ชอบ ซื่อสตั ย์ ประหยดั เมตตากรุณา เอ้ือเฟ้ื อ แบ่งปันมีมารยาทและปฏิบตั ิตนตามวฒั นธรรมไทยและศาสนาท่ีนบั ถือโดยจดั กิจกรรมต่างๆ ผ่านการเล่นให้เด็กได้มีโอกาสตดั สินใจเลือก ไดร้ ับการตอบสนองตาความตอ้ งการไดฝ้ ึ กปฏิบตั ิโดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมอย่างตอ่ เน่ือง ๓.๒.๔ การพัฒนาสังคมนิสัย เป็ นการพฒั นาให้เด็กมีลกั ษณะนิสัยท่ีดี แสดงออกอยา่ งเหมาะสมและอยู่ร่วมกบั ผอู้ ่ืนไดอ้ ยา่ งมีความสุข ช่วยเหลือตนเองในการทากิจวตั รประจาวนั มีนิสัยรักการทางาน ระมดั ระวงั ความปลอดภยั ของตนเองและผอู้ ื่น โดยรวมท้งั ระมดั ระวงั อนั ตรายจากคนแปลกหนา้ ให้เด็กไดป้ ฏิบตั ิกิจวตั รประจาวนัอยา่ งสม่าเสมอ เช่น รับประทานอาหาร พกั ผอ่ นนอนหลบั ขบั ถ่าย ทาความสะอาดร่างกาย เล่นและทางานร่วมกบัผอู้ ่ืน ปฏิบตั ิตามกฎกติกาขอ้ ตกลงของร่วมรวม เก็บของเขา้ ท่ีเม่ือเล่นหรือทางานเสร็จ ๓.๒.๕ การพฒั นาการคิด เป็ นการพฒั นาใหเ้ ด็กมีความสามารถในการคิดแกป้ ัญหาความ คิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ และคิดเชิงเหตุผลทางคณิตศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์โดยจดั กิจกรรมให้เด็กไดส้ นทนา อภิปรายและเปลี่ยนความคิดเห็น เชิญวิทยากรมาพูดคุยกบั เด็ก ศึกษานอกสถานที่ เล่นเกมการศึกษา ฝึ กการแกป้ ัญหาในชีวติ ประจาวนั ฝึกออกแบบและสร้างชิ้นงาน และทากิจกรรมท้งั เป็นกลุ่มยอ่ ย กลุ่มใหญ่และรายบุคคล ๓.๒.๖ การพัฒนาภาษา เป็ นการพฒั นาให้เด็กใช้ภาษาสื่อสารถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด ความรู้ความเขา้ ใจในสิ่งต่างๆ ที่เด็กมีประสบการณ์โดยสามารถต้งั คาถามในสิ่งท่ีสงสัยใคร่รู้ จดั กิจกรรมทางภาษาให้มีความหลากหลายในสภาพแวดลอ้ มท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ มุ่งปลูกฝังใหเ้ ด็กไดก้ ลา้ แสดงออกในการฟัง พดู อ่าน เขียนมีนิสัยรักการอ่าน และบุคคลแวดลอ้ มตอ้ งเป็ นแบบอยา่ งที่ดีในการใชภ้ าษา ท้งั น้ีตอ้ งคานึกถึงหลกั การจดั กิจกรรมทางภาษาท่ีเหมาะสมกบั เดก็ เป็นสาคญั ๓.๒.๗ การส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ เป็ นการส่งเสริมให้เด็กมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ ไดถ้ ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกและเห็นความสวยงามของสิ่งต่างๆ โดยจดั กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ดนตรี การเคลื่อนไหวและจงั หวะตามจินตนาการ ประดิษฐ์ส่ิงต่างๆ อยา่ งอิสระ เล่นบทบาทสมมุติ เล่นน้า เล่นทราย เล่นบล็อก และเล่นก่อสร้าง

การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ การจดั สภาพแวดลอ้ มในสถานศึกษา มีความสาคญั ต่อเด็กเนื่องจากธรรมชาติของเด็กในวยั น้ีสนใจที่จะเรียนรู้คน้ ควา้ ทดลอง และตอ้ งการสัมผสั กบั ส่ิงแวดลอ้ มรอบๆตวั ดงั น้นั การจดั เตรียมสิ่งแวดลอ้ มอยา่ งเหมาะสมตามความตอ้ งการของเด็ก จึงมีความสาคญั ที่เกี่ยวขอ้ งกบั พฤติกรรมและการเรียนรู้ของเด็ก เด็กสามารถเรียนรู้จากการเล่นที่เป็น ประสบการณ์ตรงที่เกิดจากการรับรู้ดว้ ยประสาทสัมผสั ท้งั ห้าจึงจาเป็ นตอ้ งจดั ส่ิงแวดลอ้ มในสถานศึกษาใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพ และความตอ้ งการของหลกั สูตร เพอื่ ส่งผลใหบ้ รรลุจุดหมายในการพฒั นาเด็ก การจดั สภาพแวดลอ้ มคานึงถึงส่ิงตอ่ ไปน้ี ๑.ความสะอาด ความปลอดภยั ๒.ความมีอิสระอยา่ งมีขอบเขตในการเล่น ๓.ความสะดวกในการทากิจกรรม ๔.ความพร้อมของอาคารสถานท่ี เช่น หอ้ งเรียน หอ้ งน้าหอ้ งส้วม สนามเดก็ เล่น ฯลฯ ๕.ความเพยี งพอเหมาะสมในเร่ืองขนาด น้าหนกั จานวน สีของสื่อและเครื่องเล่น ๖.บรรยากาศในการเรียนรู้ การจดั ที่เล่นและมุมประสบการณ์ตา่ ง ๆ สภาพแวดล้อมภายในห้องเรียน หลกั สาคญั ในการจดั ตอ้ งคานึงถึงความปลอดภยั ความสะอาด เป้ าหมายการพฒั นาเด็ก ความเป็ นระเบียบความเป็นตวั ของเด็กเอง ใหเ้ ด็กเกิดความรู้สึกอบอุ่น มนั่ ใจ และมีความสุข ซ่ึงอาจจดั แบ่งพ้ืนท่ีใหเ้ หมาะสมกบั การประกอบกิจกรรมตามหลกั สูตร ดงั น้ี ๑. พนื้ ทอี่ านวยความสะดวกเพอ่ื เดก็ และผ้สู อน ๑.๑ ท่ีแสดงผลงานของเดก็ อาจจดั เป็นแผน่ ป้ าย หรือที่แขวนผลงาน ๑.๒ ท่ีเกบ็ แฟ้ มผลงานของเดก็ อาจจดั ทาเป็นกล่องหรือจดั ใส่แฟ้ มรายบุคคล ๑.๓ ท่ีเก็บเคร่ืองใชส้ ่วนตวั ของเด็ก อาจทาเป็นช่องตามจานวนเดก็ ๑.๔ ท่ีเกบ็ เคร่ืองใชข้ องผสู้ อน เช่น อุปกรณ์การสอน ของส่วนตวั ผสู้ อน ฯลฯ ๑.๕ ป้ ายนิเทศตามหน่วยการสอนหรือส่ิงท่ีเดก็ สนใจ ๒. พืน้ ท่ีปฏิบัติกิจกรรมและการเคล่ือนไหว ตอ้ งกาหนดให้ชดั เจน ควรมีพ้ืนท่ีที่เด็กสามารถจะทางานได้ดว้ ยตนเอง และทากิจกรรมดว้ ยกนั ในกลุ่มเล็ก หรือกลุ่มใหญ่ เด็กสามารถเคล่ือนไหวไดอ้ ยา่ งอิสระจากกิจกรรมหน่ึงไปยงั กิจกรรมหน่ึงโดยไมร่ บกวนผอู้ ื่น ๓. พืน้ ท่ีจัดมุมเล่นหรือมุมประสบการณ์ สามารถจดั ได้ตามความเหมาะสมข้ึนอยู่กบั สภาพของห้องเรียนจดั แยกส่วนท่ีใชเ้ สียงดงั และเงียบออกจากกนั เช่น มุมบล็อกอยหู่ ่างจากมุมหนงั สือมุมบทบาทสมมติอยตู่ ิดกบั มุมบล็อก มุมวทิ ยาศาสตร์อยใู่ กลม้ ุมศิลปะฯ ลฯ ท่ีสาคญั จะตอ้ งมีของเล่น วสั ดุอุปกรณ์ในมุมอย่างเพียงพอต่อการเรียนรู้ของเด็ก การเล่นในมุมเล่นอย่างเสรี มกั ถูกกาหนดไวใ้ นตารางกิจกรรมประจาวนัเพื่อใหโ้ อกาสเด็กไดเ้ ล่นอยา่ งเสรีประมาณวนั ละ ๖๐ นาทีการจดั มุมเล่นตา่ งๆ ผสู้ อนควรคานึงถึงส่ิงต่อไปน้ี ๓.๑ ในหอ้ งเรียนควรมีมุมเล่นอยา่ งนอ้ ย ๓-๕ มุม ท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั พ้ืนท่ีของหอ้ ง ๓.๒ ควรไดม้ ีการผลดั เปล่ียนสื่อของเล่นตามมุมบา้ ง ตามความสนใจของเด็ก

๓.๓ ควรจดั ให้มีประสบการณ์ท่ีเด็กไดเ้ รียนรู้ไปแลว้ ปรากฏอยูใ่ นมุมเล่น เช่น เด็กเรียนรู้เรื่องผเี ส้ือผสู้ อนอาจจดั ใหม้ ีการจาลองการเกิดผเี ส้ือล่องไวใ้ ห้เดก็ ดูในมุมธรรมชาติศึกษาหรือมุมวทิ ยาศาสตร์ ฯลฯ ๓.๔ ควรเปิ ดโอกาสให้เด็กมีส่วนร่วมในการจดั มุมเล่น ท้งั น้ีเพ่ือจูงใจใหเ้ ด็กรู้สึกเป็ นเจา้ ของ อยากเรียนรู้ อยากเขา้ เล่น ๓.๕ ควรเสริมสร้างวินยั ให้กบั เด็ก โดยมีขอ้ ตกลงร่วมกนั วา่ เมื่อเล่นเสร็จแลว้ จะตอ้ งจดั เก็บอุปกรณ์ทุกอย่างเขา้ ที่ให้เรียบร้อยสภาพแวดล้อมนอกห้องเรียน คือ การจดั สภาพแวดล้อมภายในอาณาบริเวณรอบ ๆสถานศึกษา รวมท้งั จดั สนามเด็กเล่น พร้อมเคร่ืองเล่นสนาม จดั ระวงั รักษาความปลอดภยั ภายในบริเวณสถานศึกษาและบริเวณรอบนอกสถานศึกษา ดูแลรักษาความสะอาด ปลูกตน้ ไมใ้ ห้ความร่มรื่นรอบๆบริเวณสถานศึกษา ส่ิงต่างๆเหล่าน้ีเป็นส่วนหน่ึงที่ส่งผลต่อการเรียนรู้และพฒั นาการของเด็กบริเวณสนามเดก็ เล่น ตอ้ งจดั ใหส้ อดคลอ้ งกบั หลกั สูตร ดงั น้ี สนามเดก็ เล่น มีพ้ืนผวิ หลายประเภท เช่น ดิน ทราย หญา้ พ้ืนที่สาหรับเล่นของเล่นท่ีมีลอ้ รวมท้งัที่ร่ม ท่ีโล่งแจง้ พ้ืนดินสาหรับขดุ ที่เล่นน้า บ่อทราย พร้อมอุปกรณ์ประกอบการเล่น เครื่องเล่นสนามสาหรับปี นป่ าย ทรงตวั ฯลฯ ท้งั น้ีตอ้ งไม่ติดกบั บริเวณที่มีอนั ตราย ตอ้ งหมนั่ ตรวจตราเครื่องเล่นให้อยู่ในสภาพแข็งแรงปลอดภยั อยเู่ สมอ และหมนั่ ดูแลเรื่องความสะอาด ทนี่ ั่งเล่นพกั ผ่อน จดั ท่ีนงั่ ไวใ้ ตต้ น้ ไมม้ ีร่มเงา อาจใชก้ ิจกรรมกลุ่มย่อย ๆ หรือกิจกรรมที่ตอ้ งการความสงบ หรืออาจจดั เป็ นลานนิทรรศการให้ความรู้แก่เด็กและผูป้ กครองบริเวณธรรมชาติ ปลูกไมด้ อก ไม้ประดบั พืชผกั สวนครัว หากบริเวณสถานศึกษา มีไมม่ ากนกั อาจปลูกพชื ในกระบะหรือกระถางส่ือและแหล่งเรียนรู้ ส่ือประกอบการจดั กิจกรรมเพื่อพฒั นาเด็กปฐมวยั ท้งั ทางดา้ นร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาควรมีส่ือท้งั ที่เป็นประเภท ๒ มิติ และ/หรือ ๓ มิติ ที่เป็นส่ือของจริง สื่อธรรมชาติ ส่ือท่ีอยใู่ กลต้ วั เด็ก ส่ือสะทอ้ นวฒั นธรรม สื่อท่ีปลอดภยั ต่อตวั เด็ก ส่ือเพื่อพฒั นาเด็กในด้านต่างๆให้ครบทุกด้านส่ือท่ีเอ้ือให้เด็กเรียนรู้ผ่านประสาทสัมผสั ท้งั ห้า โดยการจดั การใชส้ ื่อเริ่มตน้ จาก สื่อของจริง ภาพถ่าย ภาพโครงร่าง และ สัญลักษณ์ ท้งั น้ีการใช้สื่อตอ้ งเหมาะสมกบั วยั วุฒิภาวะ ความแตกต่างระหว่างบุคคล ความสนใจและความตอ้ งการของเด็กท่ีหลากหลาย ตวั อยา่ งส่ือประกอบการจดั กิจกรรม มีดงั น้ีกจิ กรรมเสรี /การเล่นตามมุม ๑. มุมบทบาทสมมติ อาจจดั เป็นมุมเล่น ดงั น้ี ๑.๑ มุมบ้าน  ของเล่นเคร่ืองใชใ้ นครัวขนาดเลก็ หรือของจาลอง เช่น เตา กระทะ ครก กาน้า เขียง มีดพลาสติก หมอ้ จาน ชอ้ น ถว้ ยชาม กะละมงั ฯลฯ  เคร่ืองเล่นตุก๊ ตา เส้ือผา้ ตุก๊ ตา เตียง เปลเด็ก ตุก๊ ตา

 เคร่ืองแต่งบา้ นจาลอง เช่น ชุดรับแขก โตะ๊ เคร่ืองแป้ ง หมอนอิง กระจกขนาดเห็นเตม็ ตวั หวี ตลบั แป้ ง ฯลฯ  เครื่องแตง่ กายบุคคลอาชีพตา่ ง ๆ ท่ีใชแ้ ลว้ เช่น ชุดเครื่องแบบทหาร ตารวจ ชุดเส้ือผา้ ผใู้ หญช่ ายและหญิง รองเทา้ กระเป๋ าถือที่ไมใ่ ชแ้ ลว้ ฯลฯ  โทรศพั ท์ เตารีดจาลอง ที่รีดผา้ จาลอง  ภาพถ่ายและรายการอาหาร ๑.๒ มมุ หมอ - เคร่ืองเล่นจาลองแบบเครื่องมือแพทยแ์ ละอุปกรณ์การรักษาผปู้ ่ วย เช่น หูฟัง เส้ือคลุมหมอ ฯลฯ  อุปกรณ์สาหรับเลียนแบบการบนั ทึกขอ้ มลู ผปู้ ่ วย เช่น กระดาษ ดินสอ ฯลฯ ๑.๓ มมุ ร้านค้า  กล่องและขวดผลิตภณั ฑต์ ่างๆที่ใชแ้ ลว้  อุปกรณ์ประกอบการเล่น เช่น เครื่องคิดเลข ลูกคิด ธนบตั รจาลอง ฯลฯ๒. มุมบลอ็ ก  ไมบ้ ล็อกหรือแท่งไมท้ ี่มีขนาดและรูปทรงต่างๆกนั จานวนต้งั แต่ ๕๐ ชิ้นข้ึนไป  ของเล่นจาลอง เช่น รถยนต์ เครื่องบิน รถไฟ คน สตั ว์ ตน้ ไม้ ฯลฯ  ภาพถ่ายตา่ งๆ - ที่จดั เก็บไมบ้ ล็อกหรือแทง่ ไมอ้ าจเป็นช้นั ลงั ไมห้ รือพลาสติก แยกตามรูปทรง ขนาด๓. มุมหนังสือ  หนงั สือภาพนิทาน สมุดภาพ หนงั สือภาพท่ีมีคาและประโยคส้นั ๆพร้อมภาพ  ช้นั หรือที่วางหนงั สือ  อุปกรณ์ตา่ ง ๆ ที่ใชใ้ นการสร้างบรรยากาศการอา่ น เช่น เสื่อ พรม หมอน ฯลฯ  สมุดเซ็นยมื หนงั สือกลบั บา้ น  อุปกรณ์สาหรับการเขียน  อุปกรณ์เสริม เช่น เครื่องเล่นเทป ตลบั เทปนิทานพร้อมหนงั สือนิทาน หูฟัง ฯลฯ ๔. มุมวทิ ยาศาสตร์ หรือมุมธรรมชาติศึกษา  วสั ดุตา่ ง ๆ จากธรรมชาติ เช่น เมล็ดพชื ต่าง ๆ เปลือกหอย ดิน หิน แร่ ฯลฯ  เคร่ืองมือเครื่องใชใ้ นการสารวจ สังเกต ทดลอง เช่น แวน่ ขยาย แมเ่ หล็ก เขม็ ทิศ เคร่ืองชงั่ ฯลฯ ๕.มุมอาเซียน  ธงของแตล่ ะประเทศในกลุ่มประเทศอาเซียน  คากล่าวทกั ทายของแต่ละประเทศ

 ภาพการแต่งกายประจาชาติในกลุ่มประเทศอาเซียน กจิ กรรมสร้างสรรค์ ควรมีวสั ดุ อุปกรณ์ ดงั น้ี ๑. การวาดภาพและระบายสี - สีเทียนแท่งใหญ่ สีไม้ สีชอลก์ สีน้า - พกู่ นั ขนาดใหญ่ (ประมาณเบอร์ ๑๒ ) - กระดาษ - เส้ือคลุม หรือผา้ กนั เป้ื อน ๒. การเล่นกบั สี  การเป่ าสี มี กระดาษ หลอดกาแฟ สีน้า  การหยดสี มี กระดาษ หลอดกาแฟ พกู่ นั สีน้า  การพบั สี มี กระดาษ สีน้า พกู่ นั  การเทสี มี กระดาษ สีน้า  การละเลงสี มี กระดาษ สีน้า แป้ งเปี ยก ๓. การพมิ พ์ภาพ  แม่พิมพต์ า่ ง ๆ จากของจริง เช่น นิ้วมือ ใบไม้ กา้ นกลว้ ย ฯลฯ  แมพ่ ิมพจ์ ากวสั ดุอ่ืน ๆ เช่น เชือก เส้นดา้ ย ตรายาง ฯลฯ  กระดาษ ผา้ เช็ดมือ สีโปสเตอร์ (สีน้า สีฝ่ นุ ฯลฯ) ๔.การป้ัน เช่น ดินน้ามนั ดินเหนียว แป้ งโดว์ แผน่ รองป้ัน แม่พิมพร์ ูปตา่ ง ๆ ไมน้ วดแป้ ง ฯลฯ ๕.การพบั ฉีก ตัดปะ เช่น กระดาษ หรือวสั ดุอ่ืนๆท่ีจะใชพ้ บั ฉีก ตดั ปะ กรรไกรขนาดเล็กปลายมน กาวน้าหรือแป้ งเปี ยก ผา้ เช็ดมือ ฯลฯ ๖. การประดษิ ฐ์เศษวัสดุ เช่น เศษวสั ดุต่าง ๆ มีกล่องกระดาษ แกนกระดาษ เศษผา้ เศษไหม กาว กรรไกรสี ผา้ เช็ดมือ ฯลฯ ๗. การร้อย เช่น ลูกปัด หลอดกาแฟ หลอดดา้ ย ฯลฯ ๘.การสาน เช่น กระดาษ ใบตอง ใบมะพร้าว ฯลฯ ๙. การเล่นพลาสติกสร้างสรรค์ พลาสติกชิ้นเล็ก ๆ รูปทรงต่าง ๆ ผเู้ ล่นสามารถนามาต่อเป็ นรูปแบบต่างๆ ตามความตอ้ งการ ๑๐.การสร้างรูป เช่น จากกระดานปักหมุด จากแป้ นตะปูท่ีใชห้ นงั ยางหรือเชือก ผูกดึงให้เป็ นรูปร่างต่าง ๆเกมการศึกษา ตวั อยา่ งสื่อประเภทเกมการศึกษามีดงั น้ี ๑. เกมจับคู่  จบั คู่รูปร่างที่เหมือนกนั  จบั คู่ภาพเงา  จบั คู่ภาพท่ีซ่อนอยใู่ นภาพหลกั

 จบั คู่สิ่งที่มีความสัมพนั ธ์กนั ส่ิงท่ีใชค้ ูก่ นั  จบั คู่ภาพส่วนเตม็ กบั ส่วนยอ่ ย  จบั คูภ่ าพกบั โครงร่าง  จบั คูภ่ าพชิ้นส่วนท่ีหายไป  จบั คูภ่ าพท่ีเป็นประเภทเดียวกนั  จบั คูภ่ าพที่ซ่อนกนั  จบั คู่ภาพสมั พนั ธ์แบบตรงกนั ขา้ ม  จบั คูภ่ าพท่ีสมมาตรกนั  จบั คู่แบบอุปมาอุปไมย  จบั คู่แบบอนุกรม ๒. เกมภาพตัดต่อ  ภาพตดั ตอ่ ท่ีสัมพนั ธ์กบั หน่วยการเรียนต่าง ๆ เช่น ผลไม้ ผกั ฯลฯ ๓. เกมจัดหมวดหมู่  ภาพสิ่งต่าง ๆ ที่นามาจดั เป็นพวก ๆ  ภาพเก่ียวกบั ประเภทของใชใ้ นชีวติ ประจาวนั  ภาพจดั หมวดหมู่ตามรูปร่าง สี ขนาด รูปทรงเรขาคณิต ๔. เกมวางภาพต่อปลาย (โดมโิ น)  โดมิโนภาพเหมือน  โดมิโนภาพสัมพนั ธ์ ๕. เกมเรียงลาดับ  เรียงลาดบั ภาพเหตุการณ์ตอ่ เนื่อง  เรียงลาดบั ขนาด ๖. เกมศึกษารายละเอยี ดของภาพ (ล็อตโต้) ๗. เกมจับคู่แบบตารางสัมพนั ธ์ (เมตริกเกม) ๘. เกมพนื้ ฐานการบวกกจิ กรรมเสริมประสบการณ์ /กจิ กรรมในวงกลม ตวั อยา่ งส่ือมีดงั น้ี ๑.สื่อของจริงที่อยใู่ กลต้ วั และส่ือจากธรรมชาติหรือวสั ดุทอ้ งถ่ิน เช่น ตน้ ไม้ ใบไม้ เปลือกหอย เส้ือผา้ ฯลฯ ๒. สื่อท่ีจาลองข้ึน เช่น ลูกโลก ตุก๊ ตาสตั ว์ ฯลฯ ๓. ส่ือประเภทภาพ เช่น ภาพพลิก ภาพโปสเตอร์ หนงั สือภาพ ฯลฯ ๔. ส่ือเทคโนโลยี เช่น วทิ ยุ เครื่องบนั ทึกเสียง เครื่องขยายเสียง โทรศพั ท์กจิ กรรมกลางแจ้ง ตวั อยา่ งส่ือมีดงั น้ี ๑. เครื่องเล่นสนาม เช่น เคร่ืองเล่นสาหรับปี นป่ าย เครื่องเล่นประเภทลอ้ เลื่อน ฯลฯ ๒. ท่ีเล่นทราย มีทรายละเอียด เครื่องเล่นทราย เครื่องตวง ฯลฯ

๓. ท่ีเล่นน้า มีภาชนะใส่น้าหรืออ่างน้าวางบนขาต้งั ท่ีมนั่ คง ความสูงพอที่เด็กจะยนื ไดพ้ อดี เส้ือคลุมหรือผา้ กนั เป้ื อนพลาสติก อุปกรณ์เล่นน้า เช่น ถว้ ยตวง ขวดตา่ งๆ สายยาง กรวยกรอกน้า ตุก๊ ตายาง ฯลฯกิจกรรมเคล่ือนไหวและจงั หวะ ตวั อยา่ งส่ือมีดงั น้ี ๑. เครื่องเคาะจังหวะ เช่น ฉ่ิง เหล็กสามเหล่ียม กรับ รามะนา กลอง ฯลฯอุปกรณ์ประกอบการเคล่ือนไหว เช่น หนงั สือพิมพ์ ริบบิ้น แถบผา้ ห่วง ๒. หวาย ถุงทราย ฯลฯการเลอื กส่ือ มีวธิ ีการเลือกสื่อ ดงั น้ี ๑. เลือกใหต้ รงกบั จุดมุง่ หมายและเร่ืองที่สอน ๒. เลือกใหเ้ หมาะสมกบั วยั และความสามารถของเด็ก ๓. เลือกใหเ้ หมาะสมกบั สภาพแวดลอ้ มของทอ้ งถิ่นที่เด็กอยหู่ รือสถานภาพของสถานศึกษา ๔. มีวธิ ีการใชง้ ่าย และนาไปใชไ้ ดห้ ลายกิจกรรม ๕. มีความถูกตอ้ งตามเน้ือหาและทนั สมยั ๖. มีคุณภาพดี เช่น ภาพชดั เจน ขนาดเหมาะสม ไม่ใชส้ ีสะทอ้ นแสง ๗. เลือกส่ือที่เดก็ เขา้ ใจง่ายในเวลาส้นั ๆ ไมซ่ บั ซอ้ น ๘. เลือกส่ือที่สามารถสัมผสั ได้ ๙. เลือกสื่อเพอ่ื ใชฝ้ ึก และส่งเสริมการคิดเป็น ทาเป็น และกลา้ แสดงความคิดเห็นดว้ ยความมนั่ ใจการจัดหาสื่อ สามารถจดั หาไดห้ ลายวธิ ี คือ ๑. จดั หาโดยการขอยืมจากแหล่งต่างๆ เช่น ศูนยส์ ่ือของสถานศึกษาของรัฐบาล หรือ สถานศึกษาเอกชน ฯลฯ ๒.จดั ซ้ือส่ือและเคร่ืองเล่นโดยวางแผนการจดั ซ้ือตามลาดบั ความจาเป็ น เพื่อใหส้ อดคลอ้ งกบั งบประมาณที่ทางสถานศึกษาสามารถจดั สรรใหแ้ ละสอดคลอ้ งกบั แผนการจดั ประสบการณ์ ๓.ผลิตสื่อและเคร่ืองเล่นข้ึนใชเ้ องโดยใชว้ สั ดุท่ีปลอดภยั และหาง่ายเป็นเศษวสั ดุเหลือใช้ที่มีอยใู่ นทอ้ งถ่ินน้นั ๆ เช่น กระดาษแขง็ จากลงั กระดาษ รูปภาพจากแผน่ ป้ ายโฆษณารูปภาพจากหนงั สือนิตยสารต่าง ๆ เป็นตน้ข้นั ตอนการดาเนินการผลติ ส่ือสาหรับเด็ก มีดงั น้ี ๑. สารวจความตอ้ งการของการใชส้ ื่อใหต้ รงกบั จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้และกิจกรรมที่จดั ๒. วางแผนการผลิต โดยกาหนดจุดมุง่ หมายและรูปแบบของส่ือใหเ้ หมาะสมกบั วยั และความสามารถของเด็ก สื่อน้นั จะตอ้ งมีความคงทนแขง็ แรง ประณีตและสะดวกตอ่ การใช้ ๓. ผลิตส่ือตามรูปแบบท่ีเตรียมไว้ ๔. นาสื่อไปทดลองใชห้ ลาย ๆ คร้ังเพ่อื หาขอ้ ดี ขอ้ เสียจะไดป้ รับปรุงแกไ้ ขใหด้ ียงิ่ ข้ึน ๕. นาส่ือที่ปรับปรุงแกไ้ ขแลว้ ไปใชจ้ ริงการใช้ส่ือ ดาเนินการดงั น้ี ๑.การเตรียมพร้อมก่อนใช้ส่ือ มีข้นั ตอน คือ

๑.๑ เตรียมตัวผ้สู อน  ผสู้ อนจะตอ้ งศึกษาจุดมุง่ หมายและวางแผนวา่ จะจดั กิจกรรมอะไรบา้ ง  เตรียมจดั หาสื่อและศึกษาวธิ ีการใชส้ ื่อ  จดั เตรียมสื่อและวสั ดุอื่น ๆ ท่ีจะตอ้ งใชร้ ่วมกนั  ทดลองใชส้ ่ือก่อนนาไปใชจ้ ริง ๑.๒ เตรียมตัวเดก็  ศึกษาความรู้พ้นื ฐานเดิมของเด็กใหส้ ัมพนั ธ์กบั เรื่องท่ีจะสอน  เร้าความสนใจเด็กโดยใชส้ ื่อประกอบการเรียนการสอน  ใหเ้ ดก็ มีความรับผดิ ชอบ รู้จกั ใชส้ ่ืออยา่ งสร้างสรรค์ ไม่ใช่ทาลาย เล่นแลว้ เกบ็ ใหถ้ ูกท่ี ๑.๓ เตรียมสื่อให้พร้อมก่อนนาไปใช้  จดั ลาดบั การใชส้ ื่อวา่ จะใชอ้ ะไรก่อนหรือหลงั เพอ่ื ความสะดวกในการสอน  ตรวจสอบและเตรียมเครื่องมือใหพ้ ร้อมที่จะใชไ้ ดท้ นั ที  เตรียมวสั ดุอุปกรณ์ท่ีใชร้ ่วมกบั ส่ือ ๒.การนาเสนอสื่อ เพ่ือให้บรรลุผลโดยเฉพาะใน กิจกรรมเสริมประสบการณ์ / กิจกรรมวงกลม /กิจกรรมกลุ่มยอ่ ย ควรปฏิบตั ิ ดงั น้ี ๒.๑ สร้างความพร้อมและเร้าความสนใจใหเ้ ดก็ ก่อนจดั กิจกรรมทุกคร้ัง ๒.๒ ใชส้ ื่อตามลาดบั ข้นั ของแผนการจดั กิจกรรมที่กาหนดไว้ ๒.๓ ไม่ควรใหเ้ ด็กเห็นสื่อหลายๆชนิดพร้อมๆกนั เพราะจะทาใหเ้ดก็ ไมส่ นใจ กิจกรรมท่ีสอน ๒.๔ ผสู้ อนควรยืนอยู่ด้านข้างหรือดา้ นหลงั ของส่ือที่ใชก้ บั เด็ก ผสู้ อนไม่ควรยนื หนั หลงั ใหเ้ ด็ก จะตอ้ งพดู คุยกบั เดก็ และสังเกตความสนใจ ของเดก็ พร้อมท้งั สารวจขอ้ บกพร่องของสื่อที่ใช้ เพื่อนาไปปรับปรุงแกไ้ ขใหด้ ีข้ึน ๒.๕เปิ ดโอกาสใหเ้ ดก็ ไดร้ ่วมใชส้ ่ือข้อควรระวงั ในการใช้ส่ือการเรียนการสอน การใช้ส่ือในระดับปฐมวยั ควรระวงั ในเรื่องต่อไปนี้ ๑.วสั ดุทใ่ี ช้ ตอ้ งไม่มีพษิ ไม่หกั และแตกง่าย มีพ้นื ผวิ เรียบ ไมเ่ ป็นเส้ียน ๒.ขนาด ไม่ควรมีขนาดใหญ่เกินไป เพราะยากตอ่ การหยบิ ยก อาจจะตกลงมาเสียหาย แตก เป็นอนั ตรายต่อเด็กหรือใชไ้ ม่สะดวก เช่น กรรไกรขนาดใหญ่ โตะ๊ เกา้ อ้ีท่ีใหญ่และสูงเกินไป และไม่ควรมีขนาดเล็กเกินไป เด็กอาจจะนาไปอมหรือกลืนทาใหต้ ิดคอหรือไหลลงทอ้ งได้เช่น ลูกปัดเล็ก ลูกแกว้ เล็ก ฯลฯ ๓. รูปทรง ไม่เป็นรูปทรงแหลม รูปทรงเหลี่ยม เป็นสัน ๔. นา้ หนัก ไมค่ วรมีน้าหนกั มาก เพราะเด็กยกหรือหยบิ ไมไ่ หว อาจจะตกลงมาเป็ นอนั ตรายต่อตวั เด็ก

๕. ส่ือหลีกเล่ียงส่ือที่เป็นอนั ตรายต่อตวั เด็ก เช่น สารเคมี วตั ถุไวไฟ ฯลฯ ๖. สี หลีกเล่ียงสีที่เป็นอนั ตรายต่อสายตา เช่น สีสะทอ้ นแสง ฯลฯการประเมินการใช้สื่อ ควรพิจารณาจากองค์ประกอบ 3 ประการ คือ ผูส้ อน เด็ก และสื่อ เพื่อจะไดท้ ราบว่าส่ือน้นั ช่วยให้เด็กเรียนรู้ไดม้ ากนอ้ ยเพยี งใด จะไดน้ ามาปรับปรุงการผลิตและการใชส้ ่ือใหด้ ียง่ิ ข้ึน โดยใชว้ ธิ ีสงั เกต ดงั น้ี ๑. สื่อน้นั ช่วยใหเ้ ด็กเกิดการเรียนรู้เพยี งใด ๒. เดก็ ชอบส่ือน้นั เพียงใด ๓. สื่อน้นั ช่วยใหก้ ารสอนตรงกบั จุดประสงคห์ รือไม่ ถูกตอ้ งตามสาระการเรียนรู้และทนั สมยั หรือไม่ ๔. ส่ือน้นั ช่วยใหเ้ ด็กสนใจมากนอ้ ยเพยี งใด เพราะเหตุใดการเกบ็ รักษา และซ่อมแซมส่ือ การจดั เก็บสื่อเป็ นการส่งเสริมให้เด็กฝึ กการสังเกต การเปรียบเทียบ การจดั กลุ่ม ส่งเสริมความรับผิดชอบความมีน้าใจ ช่วยเหลือ ผสู้ อนไม่ควรใชก้ ารเกบ็ สื่อเป็นการลงโทษเดก็ โดยดาเนินการดงั น้ี ๑. เกบ็ ส่ือใหเ้ ป็นระเบียบและเป็นหมวดหมตู่ ามลกั ษณะประเภทของสื่อ สื่อท่ีเหมือนกนั จดั เก็บหรือจดั วางไว้ดว้ ยกนั ๒. วางสื่อในระดบั สายตาของเด็ก เพ่ือใหเ้ ดก็ หยบิ ใช้ จดั เก็บไดด้ ว้ ยตนเอง ๓. ภาชนะท่ีจดั เก็บสื่อควรโปร่งใส เพื่อให้เด็กมองเห็นส่ิงที่อยภู่ ายในไดง้ ่ายและควรมีมือจบั เพ่ือใหส้ ะดวกในการขนยา้ ย ๔. ฝึกใหเ้ ด็กรู้ความหมายของรูปภาพหรือสีท่ีเป็ นสัญลกั ษณ์แทนหมวดหมู่ ประเภทส่ือ เพ่ือเด็กจะไดเ้ ก็บเขา้ ท่ีไดถ้ ูกตอ้ ง การใชส้ ญั ลกั ษณ์ควรมีความหมายต่อการเรียนรู้ของเดก็ สญั ลกั ษณ์ควรใชส้ ่ือของจริง ภาพถ่ายหรือสาเนา ภาพวาด ภาพโครงร่างหรือภาพประจุด หรือบตั รคาติดคู่กบั สญั ลกั ษณ์อยา่ งใดอยา่ งหน่ึง ๕.ตรวจสอบสื่อหลงั จากที่ใชแ้ ลว้ ทุกคร้ังวา่ มีสภาพสมบรู ณ์ จานวนครบถว้ นหรือไม่ ๖. ซ่อมแซมสื่อชารุด และทาเติมส่วนท่ีขาดหายไปใหค้ รบชุดการพฒั นาสื่อ การพฒั นาสื่อเพื่อใชป้ ระกอบการจดั กิจกรรมในระดบั ปฐมวยั น้นั ก่อนอื่นควรไดส้ ารวจขอ้ มูล สภาพปัญหาต่างๆของสื่อทุกประเภทท่ีใชอ้ ยวู่ า่ มีอะไรบา้ งท่ีจะตอ้ งปรับปรุงแกไ้ ข เพ่ือจะไดป้ รับเปลี่ยนให้เหมาะสมกบั ความตอ้ งการ แนวทางการพฒั นาสื่อ ควรมีลกั ษณะเฉพาะ ดงั น้ี ๑. ปรับปรุงสื่อใหท้ นั สมยั เขา้ กบั เหตุการณ์ ใชไ้ ดส้ ะดวก ไมซ่ บั ซอ้ นเกินไป เหมาะสมกบั วยัของเดก็ ๒. รักษาความสะอาดของส่ือ ถา้ เป็ นวสั ดุท่ีลา้ งน้าได้ เมื่อใชแ้ ลว้ ควรไดล้ า้ งเช็ด หรือ ปัดฝ่ ุนให้สะอาดเก็บไวเ้ ป็นหมวดหมู่ วางเป็นระเบียบหยบิ ใชง้ ่าย

๓. ถา้ เป็นส่ือที่ผสู้ อนผลิตข้ึนมาใชเ้ องและผา่ นการทดลองใชม้ าแลว้ ควรเขียนคู่มือประกอบการใชส้ ื่อน้นัโดยบอกชื่อส่ือ ประโยชน์และวิธีใชส้ ื่อ รวมท้งั จานวนชิ้นส่วนของส่ือในชุดน้นั และเก็บคู่มือไวใ้ นซองหรือถุงพร้อมสื่อท่ีผลิต ๔. พฒั นาสื่อที่สร้างสรรค์ ใชไ้ ดเ้ อนกประสงค์ คือ เป็นไดท้ ้งั ส่ือเสริมพฒั นาการและเป็ นของเล่นสนุกสนานเพลิดเพลินแหล่งการเรียนรู้ โรงเรียนบา้ นอูบมุงแกง้ เกล้ียงไดแ้ บ่งประเภทของแหล่งเรียนรู้ ไดด้ งั น้ี ๑. แหล่งเรียนรู้ประเภทบุคคล ไดแ้ ก่ วทิ ยากรหรือผเู้ ชียวชาญเฉพาะดา้ น ที่จดั หามาเพือ่ ใหค้ วามรู้ความเขา้ ใจอยา่ งกระจา่ งแก่เดก็ โดยสอดคลอ้ งกบั เน้ือหาสาระการเรียนรู้ต่างๆ ไดแ้ ก่ - ผใู้ หญ่บา้ นบา้ นอูบมุงและบา้ นแกง้ เกล้ียง - เจา้ หนา้ ที่ใน อบต. - เจา้ หนา้ ที่สาธารณสุข - พระสงฆ์ - พอ่ คา้ – แมค่ า้ - เจา้ หนา้ ที่ตารวจ - ผปู้ กครอง - ช่างตดั ผม / ช่างเสริมสวย - ครู - ภารโรง - ฯลฯ ๒. แหล่งเรียนรู้ภายในชุมชน ไดแ้ ก่ แหล่งขอ้ มลู หรือแหล่งวทิ ยาการตา่ งๆ ท่ีอยใู่ นชุมชนมีความสัมพนั ธ์กบั เอกลกั ษณ์ทางวฒั นธรรมและประเพณีช่วยใหเ้ ด็กสามารถเช่ือมโยงโลกภายในและโลกภายนอก(inner world & outer world) ได้ และสอดคลอ้ งกบั วถิ ีการดาเนินชีวติ ของเด็กปฐมวยั ไดแ้ ก่ - หอ้ งสมุดโรงเรียนบา้ นอูบมุงแกง้ เกล้ียง - บา้ นอบู มุงแกง้ เกล้ียง -วดั อบู มุง - วดั แกง้ เกล้ียง - สถานีตารวจ - เทศบาลเทพวงศา - สวนสาธารณะดอนป่ ตู า - โรงพยาบาลเขมราฐ - สวนผกั ริมฝั่งโขง

- โรงงานก่อสร้างภายในหมบู่ า้ น - ร้านคา้ ในหมบู่ า้ น - ร้านตดั ผมชาย-หญิง - ที่พกั ตากอากาศ ๓. สถานท่ีสาคญั ต่างๆ ไดแ้ ก่ แหล่งความรู้สาคญั ตา่ งๆ ท่ีเด็กใหค้ วามสนใจ ไดแ้ ก่ - สวนสัตวอ์ ุบลราชธานี - วดั ถ้าแสงเพชร - เข่ือนสิริธร - อุทยานแห่งชาติผาแตม้ - ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์ จงั หวดั อุบลราชธานี - น้าตกสร้อยสวรรค์ - อนุสาวรียท์ า้ วคาผง ผกู้ ่อต้งั จงั หวดั อุบลราชธานี - ฯลฯการประเมินพฒั นาการ การประเมินพฒั นาการเด็กอายุ ๓ – ๖ ปี เป็นการประเมินพฒั นาการทางดา้ นร่างกาย อารมณ์ จิตใจสังคม และสติปัญญาของเด็ก โดยถือเป็นกระบวนการตอ่ ตนเอง และเป็น ส่วนหน่ึงของกิจกรรมปกติที่จดั ใหเ้ ด็กในแต่ละวนั ผลที่ไดจ้ ากการสังเกตพฒั นาการเด็กตอ้ งนามาจดั ทาสารนิทศั น์หรือจดั ทาขอ้ มูลหลกั ฐานหรือเอกสารอยา่ งเป็ นระบบ ดว้ ยการวบรวมผลงานสาหรับเด็กเป็ นรายบุคคลที่สามารถบอกเร่ืองราวหรือประสบการณ์ท่ีเด็กไดร้ ับวา่ เด็กเกิดการเรียนรู้และมีความกา้ วหนา้ เพียงใด ท้งั น้ี ให้นาขอ้ มูลผลการประเมินพฒั นาการเด็กมาพิจารณาปรับปรุงวางแผล การจดั กิจกรรม และส่งเสริมให้เด็กแต่ละคนไดร้ ับการพฒั นาตามจุดหมายของหลกั สูตรอย่างตอ่ เนื่อง การประเมินพฒั นาการควรยดึ หลกั ดงั น้ี ๑. วางแผนการประเมินพฒั นาการอยา่ งเป็นระบบ ๒. ประเมินพฒั นาการเดก็ ครบทุกดา้ น ๓. ประเมินพฒั นาการเด็กเป็นรายบุคคลอยา่ งสม่าเสมอตอ่ เนื่องตลอดปี ๔. ประเมินพฒั นาการตามสภาพจริงจากกิจกรรมประจาวนั ดว้ ยเครื่องมือและวธิ ีการที่หลากหลาย ไม่ควร ใชแ้ บบทดสอบ ๕. สรุปผลการประเมิน จดั ทาขอ้ มลู และนาผลการประเมินไปใชพ้ ฒั นาเด็ก สาหรับวธิ ีการประเมินท่ีเหมาะสมและควรใชก้ บั เด็กอายุ ๓ – ๖ ปี ไดแ้ ก่ การสังเกต การบนั ทึกพฤติกรรมการสนทนากบั เดก็ การสมั ภาษณ์ การวเิ คราะห์ขอ้ มลู จากผลงานเด็กที่เก็บอยา่ งมีระบบ

ประเภทของการประเมนิ พฒั นาการ การพฒั นาคุณภาพการเรียนรู้ของเด็ก ประกอบด้วย ๑) วตั ถุประสงค์ (Obejetive) ซ่ึงตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช....หมายถึง จุดหมายซ่ึงเป็ นมาตรฐานคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ ตวั บ่งช้ีและสภาพที่พึงประสงค์ ๒) การจดั ประสบการณการเรียนรู้ (Leanning) ซ่ึงเป็ นกระบวนการไดม้ าของความรู้หรือทกั ษะผา่ นการกระทาสิ่งต่างๆท่ีสาคญั ตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั กาหนดใหห้ รือท่ีเรียกวา่ ประสบการณ์สาคญั ในการช่วยอธิบายใหค้ รูเขา้ ใจถึงประสบการณ์ที่เด็กปฐมวยั ตอ้ งทาเพ่ือเรียนรู้ส่ิงตา่ งๆรอบตวั และช่วยแนะผสู้ อนในการสังเกตสนบั สนุน และวางแผนการจดั กิจกรรมให้เด็กและ ๓) การประเมินผล(Evaluation) เพ่ือตรวจสอบพฤติกรรมหรือความสามารถตามวยั ที่คาดหวงั ใหเ้ ด็กเกิดข้ึนบนพ้ืนฐานพฒั นาการตามวยั หรือความสามารถตามธรรมชาติในแต่ละระดับอายุ เรียกว่า สภาพท่ีพึงประสงค์ ที่ใช้เป็ นเกณฑ์สาคัญสาหรับการประเมินพฒั นาการเด็ก เป็ นเป้ าหมายและกรอบทิศทางในการพฒั นาคุณภาพเดก็ ท้งั น้ีประเภทของการประเมินพฒั นาการ อาจแบ่งไดเ้ ป็น ๒ ลกั ษณะ คือ ๑) แบ่งตามวตั ถุประสงค์ของการประเมนิ การแบง่ ตามวตั ถุประสงคข์ องการประเมิน แบง่ ได้ ๒ ประเภท ดงั น้ี ๑.๑) การประเมินความกา้ วหน้าของเด็ก (Formative Evaluation) หรือการประเมินเพ่ือพฒั นา (FormativeAssessment) หรือการประเมินเพ่ือเรียน (Assessment for Learning) เป็ นการประเมินระหว่างการจดั ระสบการณ์โดยเก็บรวบรวมขอ้ มูลเก่ียวกับผลพฒั นาการและการเรียนรู้ของเด็กในระหว่างทากิจกรรมประจาวนั /กิจวตั รประจาวนั ปกติอยา่ งต่อเนื่อง บนั ทึก วเิ คราะห์ แปลความหมายขอ้ มูลแลว้ นามาใชใ้ นการส่งเสริมหรือปรับปรุงแกไ้ ขการเรียนรู้ของเด็ก และการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ของผสู้ อน การประเมินพฒั นาการกบั การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ของผูส้ อนจึงเป็ นเร่ืองท่ีสัมพนั ธ์กันหากขาดส่ิงหน่ึงส่ิงใดการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ก็ขาดประสิทธิภาพ เป็ นการประเมินผลเพื่อให้รู้จุดเด่น จุดที่ควรส่งเสริม ผูส้ อนตอ้ งใช้วิธีการและเคร่ืองมือประเมินพฒั นาการท่ีหลากหลาย เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ การรวบรวมผลงานท่ีแสดงออกถึงความกา้ วหนา้ แต่ละดา้ นของเด็กเป็ นรายบุคคล การใช้แฟ้ มสะสมงาน เพ่ือให้ได้ขอ้ สรุปของประเด็นที่กาหยด สิ่งท่ีสาคญั ท่ีสุดในการประเมินความก้าวหน้าคือ การจัดประสบการณ์ให้กับเด็กในลักษณะการเช่ือมโยงประสบการณ์เดิมกับประสบการณ์ใหม่ทาให้การเรียนรู้ของเด็กเพ่ิมพนู ปรับเปล่ียนความคิด ความเขา้ ใจเดิมที่ไม่ถูกตอ้ ง ตลอดจนการใหเ้ ดก็ สามารถพฒั นาการเรียนรู้ของตนเองได้ ๑.๒) การประเมินผลสรุป (Summatie Evaluation) หรือ การประเมินเพื่อตดั สินผลพฒั นาการ (SummatieAssessment) หรือการประเมินสรุปผลของการเรียนรู้ (Assessment of Learning) เป็ นการประเมินสรุปพฒั นาการเพ่อื ตดั สินพฒั นาการของเด็กวา่ มีความพร้อมตามมาตรฐานคุณลกั ษณะที่พึงประสงคข์ องหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยัหรือไม่ เพ่อื เป็นการเช่ือมตอ่ ของการศึกษาระดบั ปฐมวยั กบั ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ ๑ ดงั น้นั ผสู้ อนจึงควรใหค้ วามสาคญั กบั การประเมินความกา้ วหนา้ ของเด็กในระดบั ห้องเรียนมากกวา่ การประเมินเพอื่ ตดั สินผลพฒั นาการของเดก็ เมื่อสิ้นภาคเรียนหรือสิ้นปี การศึกษา

๒) แบ่งตามระดับของการประเมนิ การแบ่งตามระดบั ของการประเมิน แบง่ ไดเ้ ป็น ๒ ประเภท ๒.๑) การประเมินพัฒนาการระดับช้ันเรียน เป็ นการประเมินพัฒนาการท่ีอยู่ในกระบวนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ผูส้ อนดาเนินการเพื่อพฒั นาเด็กและตดั สินผลการพฒั นาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจสังคม และสติปัญญา จากกิจกรรมหลัก/หน่วยการเรียนรู้(Unit) ท่ีผูส้ อนจดั ประสบการณ์ให้กับเด็ก ผูส้ อนประเมินผลพฒั นาการตามสภาพท่ีพึงประสงคแ์ ละตวั บง่ ช้ีท่ีกาหนดเป็นเป้ าหมายในแต่ละแผนการจดั ประสบการณ์ของหน่วยการเรียนรู้ดว้ ยวิธีต่างๆ เช่น การสังเกต การสนทนา การสัมภาษณ์ การรวบรวมผลงานท่ีแสดงออกถึงความกา้ วหนา้ แต่ละดา้ นของเด็กเป็ นรายบุคคล การแสดงกริยาอาการต่างๆของเด็กตลอดเวลาที่จดั ประสบการณ์เรียนรู้ เพื่อตรวจสอบและประเมินวา่ เด็กบรรลุตามสภาพที่พึงประสงคล์ ะตวั บ่งช้ี หรือมีแนวโนม้ วา่ จะบรรลุสภาพท่ีพึงประสงค์และตวั บ่งช้ีเพียงใด แล้วแก้ไขขอ้ บกพร่องเป็ นระยะๆอย่างต่อเน่ือง ท้งั น้ี ผูส้ อนควรสรุปผลการประเมินพฒั นาการว่า เด็กมีผลอนั เกิดจากการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้หรือไม่ และมากน้อยเพียงใด โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พื่อรวบรวมหรือสะสมผลการประเมินพฒั นาการในกิจกรรมประจาวนั /กิจวตั รประจาวนั /หน่วยการเรียนรู้ หรืผลตามรูปแบบการประเมินพฒั นาการท่ีสถานศึกษากาหนด เพื่อนามาเป็ นข้อมูลใช้ปรังปรุงการจดัประสบการณ์การเรียนรู้ และเป็นขอ้ มูลในการสรุปผลการประเมินพฒั นาในระดบั สถานศึกษาต่อไปอีกดว้ ย ๒.๒) การประเมินพัฒนาการระดับสถานศึกษา เป็ นการตรวจสอบผลการประเมินพฒั นาการของเด็กเป็ นรายบุคคลเป็ นรายภาค/รายปี เพ่ือให้ไดข้ อ้ มูลเก่ียวกบั การจดั การศึกษาของเด็กในระดบั ปฐมวยั ของสถานศึกษาว่าส่งผลตาการเรียนรู้ของเด็กตามเป้ าหมายหรือไม่ เด็กมีสิ่งท่ีตอ้ งการไดร้ ับการพฒั นาในดา้ นใด รวมท้งั สามารถนาผลการประเมินพฒั นาการของเด็กในระดับสถานศึกษาไปเป็ นข้อมูลและสารสนเทศในการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวยั โครงการหรือวธิ ีการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ ตลอดจนการจดั แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาปฐมวยั ของสถานศึกษาตามแผนการประกันคุณภาพการศึกษาและการรายงานผลการพฒั นาคุณภาพเด็กต่อผูป้ กครอง นาเสนอคณะกรรมการถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานรับทราบ ตลอดจนเผยแพร่ต่อสาธรณชน ชุมชน หรือหน่วยงานตน้ สังกดั หรือหน่วยงานตน้ สังกดั หน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้ งต่อไป อน่ึง สาหรับการประเมินพฒั นาการเด็กปฐมวยั ในระดบั เขตพ้ืนที่การศึกษาหรือระดบั ประเทศน้นั หากเขตพ้ืนท่ีการศึกษาใดมีความพร้อม อาจมีการดาเนินงานในลกั ษณะของการสุ่มกลุ่มตวั อย่างเด็กปฐมวยั เขา้ รับการประเมินก็ได้ ท้งั น้ี การประเมินพฒั นาการเด็กปฐมวยั ขอให้ถือปฏิบตั ิตามหลกั การการประเมินพฒั นาการตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐

บทบาทหน้าท่ีของผ้เู กยี่ วข้องในการดาเนินงานประเมนิ พฒั นาการ การดาเนินงานประเมินพฒั นาการของสถานศึกษาน้นั ตอ้ งเปิ ดโอกาสใหผ้ เู้ ก่ียวขอ้ งเขา้ มามีส่วนร่วมในการประเมินพฒั นาการและร่วมรับผดิ ชอบอยา่ งเหมาะสมตามบริบทของสถานศึกษาแต่ละขนาด ดงั น้ีผปู้ ฏิบตั ิ บทบาทหนา้ ที่ในการประเมินพฒั นาการผสู้ อน ๑. ศึกษาหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั และแนวการปฏิบตั ิการประเมินพฒั นาการตาม หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั ๒. วิเคราะห์และวางแผนการประเมินพฒั นาการท่ีสอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้/ กิจกรรมประจาวนั /กิจวตั รประจาวนั ๓. จัดประสบการณ์ตามหน่วยการเรียนรู้ ประเมินพัฒนาการ และบันทึกผลการ ประจาวนั /กิจวตั รประจาวนั ๔. รวบรวมผลการประเมินพฒั นาการ แปลผลและสรุปผลการประเมินเม่ือสิ้นภาคเรียน และสิ้นปี การศึกษา ๕. สรุปผลการประเมินพฒั นาการระดับช้ันเรียนลงในสมุดบันทึกผลการประเมิน พฒั นาการประจาช้นั ๖. จดั ทาสมุดรายงานประจาตวั นกั เรียน ๗. เสนอผลการประเมินพฒั นาการต่อผบู้ ริหารสถานศึกษาลงนามอนุมตั ิผบู้ ริหารสถานศึกษา ๑.กาหนดผรู้ ับผิดชอบงานประเมินพฒั นาการตามหลกั สูตร และวางแนวทางปฏิบตั ิการ ประเมินพฒั นาการเดก็ ปฐมวยั ตามหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั ๒. นิเทศ กากบั ติดตามใหก้ ารดาเนินการประเมินพฒั นาการใหบ้ รรลุเป้ าหมาย ๓. นาผลการประเมินพฒั นาการไปจดั ทารายงานผลการดาเนินงานกาหนดนโยบายและ วางแผนพฒั นาการจดั การศึกษาปฐมวยัพอ่ แม่ ผปู้ กครอง ๑. ใหค้ วามร่วมมือกบั ผสู้ อนในการประเมินพฤติกรรมของเด็กท่ีสังเกตไดจ้ ากที่บา้ นเพื่อ เป็นขอ้ มลู ประกอบการแปลผลท่ีเท่ียงตรงของผสู้ อน ๒. รับทราบผลการประเมินของเด็กและสะทอ้ นให้ขอ้ มูลยอ้ นกลบั ที่เป็ นประโยชน์ใน การส่งเสริมและพฒั นาเด็กในปกครองของตนเอง ๓. ร่วมกบั ผสู้ อนในการจดั ประสบการณ์หรือเป็นวทิ ยากรทอ้ งถิ่นค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ๑. ใหค้ วามเห็นชอบและประกาศใชห้ ลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั และแนวปฏิบตั ิในการส ถ า น ศึ ก ษ า ข้ั น ประเมินพฒั นาการตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยัพ้นื ฐาน ๒. รับทราบผลการประเมินพฒั นาการของเดก็ เพอื่ การประกนั คุณภาพภายใน

ผปู้ ฏิบตั ิ บทบาทหนา้ ท่ีในการประเมินพฒั นาการสานักงานเขตพ้ืนท่ี ๑. ส่งเสริมการจดั ทาเอกสารหลกั ฐานวา่ ดว้ ยการประเมินพฒั นาการของเด็กปฐมวยั ของการศึกษา สถานศึกษา ๒. ส่งเสริมให้ผูส้ อนในสถานศึกษามีความรู้ ความเขา้ ใจในแนวปฏิบตั ิการประเมิน พฒั นาการตามมาตรฐานคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ตามหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั ตลอดจนความเขา้ ใจในเทคนิควิธีการประเมินพฒั นาการในรูปแบบต่างๆโดยเน้นการ ประเมินตามสภาพจริง ๓. ส่งเสริ ม สนับสนุนให้สถานศึกษาพัฒนาเครื่ องมือพัฒนาการตามมาตรฐาน คุณลกั ษณะที่พงึ ประสงคต์ ามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั และการจดั เก็บเอกสารหลกั ฐาน การศึกษาอยา่ งเป็นระบบ ๔. ใหค้ าปรึกษา แนะนาเกี่ยวกบั การประเมินพฒั นาการและการจดั ทาเอกสารหลกั ฐาน ๕. จดั ใหม้ ีการประเมินพฒั นาการเด็กท่ีดาเนินการโดยเขตพ้ืนที่การศึกษาหรือหน่วยงาน ตน้ สงั กดั และใหค้ วามร่วมมือในการประเมินพฒั นาการระดบั ประเทศแนวปฏบิ ตั กิ ารประเมินพฒั นาการ การประเมินพฒั นาการเด็กปฐมวยั เป็ นกิจกรรมท่ีสอดแทรกอยใู่ นการจดั ประสบการณ์ทุกข้นั ตอนโดยเร่ิมต้งั แต่การประเมินพฤติกรรมของเด็กก่อนการจดั ประสบการณ์ การประเมินพฤติกรรมเด็กขณะปฏิบตั ิกิจรรม และการประเมินพฤติกรรมเด็กเม่ือสิ้นสุดการปฏิบตั ิกิจกรรม ท้งั น้ี พฤติกรรมการเรียนรู้และพฒั นาการดา้ นต่างๆ ของเด็กที่ไดร้ ับการประเมินน้นั ตอ้ งเป็ นไปตามมาตรฐานคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ ตวั บ่งช้ี และสภาพท่ีพึงประสงค์ของหลกั สูตรสถานศึกษาระดบั ปฐมวยั ท่ีผสู้ อนวางแผนและออกแบบไว้ การประเมินพฒั นาการจึงเป็ นเครื่องมือสาคัญท่ีจะช่วยให้การเรียนรู้ของเด็กบรรลุตามเป้ าหมายเพื่อนาผลการประเมินไปปรับปรุง พฒั นาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และใชเ้ ป็ นขอ้ มูลสาหรับการพฒั นาเด็กต่อไป สถานศึกษาควรมีกระบวนการประเมินพฒั นาการและการจดั การอยา่ งเป็นระบบสรุปผลการประเมินพฒั นาการท่ีตรงตามความรู้ ความสามารถ ทกั ษะและพฤติกรรมที่แทจ้ ริงของเด็กสอดคลอ้ งตามหลกั การประเมินพฒั นาการ รวมท้งั สะทอ้ นการดาเนินงานการประกนัคุณภาพภายในของสถานศึกษาอย่างเป็ นระบบและต่อเน่ือง แนวปฏิบตั ิการประเมินพฒั นาการเด็กปฐมวยั ของสถานศึกษา มีดงั น้ี๑. หลกั การสาคญั ของการดาเนินการประเมนิ พฒั นาการตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยัพทุ ธศักราช ๒๕๖๐ สถานศึกษาที่จดั การศึกษาปฐมวยั ควรคานึงถึงหลกั สาคญั ของการดาเนินงานการประเมินพฒั นาการตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั สาหรับเด็กปฐมวยั อายุ ๓-๖ ปี ดงั น้ี ๑.๑ ผสู้ อนเป็นผรู้ ับผดิ ชอบการประเมินพฒั นาการเด็กปฐมวยั โดยเปิ ดโอกาสใหผ้ ทู้ ี่เก่ียวขอ้ งมีส่วนร่วม