จงั หวัดจดั ตง้ั ศนู ยบริการภาครฐั แบบเบ็ดเสร็จ ในพน้ื ทีศ่ ูนยก ารคา ฯโดยไมเสียคาใชจายเร่ือง 97 พื้นท่ี และยกเวนคาสาธารณูปโภคภายใน ศูนยฯ เปน เวลา 3 ป รวมทั้ง ภาคเอกชนราย ภาพที่ 3 ศนู ยผ บรลกิ างรภาานกคาทรรัฐีโ่ แบดบรดบิหเเบาดด็ รเ่นจสรัดจจ็ กาจกงัาหรกวนัดา้ำนรอนขทยบ่ับาุรงเี คยั่งลย่ือืนนอคเจ่ืรนอตาุภหางๆัณนมคฑาไโดคท์กคสี่รอาถนงมรือกับพเ าปสิวรนนเตกุนอ“าครรครใเลุนภพอักิ่มณงาปฑบรรปสะาําฏสงนติิทบักลธัตงิภาิงาาดานนพสแขกวลอายะรง บริการของภาคคลรอัฐงทบี่มาีคงวตาลมาคดรใสอบ3คอลปุมทเ.พรื่อ่วตมอใจบสปนรอะงชตาอราคษวฎามร์สตาอมงัคกคาีร”ขโอดงยปพร้ืนะทช่ีราิมชคนลแอลงะบเอางกตชลนาดที่ ดคลองกบั ประเมดีบ็น้าจนงั หเรวอื ดั นสตะง้ั ดอวยกู่อตยา่ามงแหนนวาคแิดนน่นนททั้งบชุรุมี ช4น.0ดั้งเดิมและหมู่บ้านจัดสรร เนอื่ งจากไดร้ บั อทิ ธิพล งานท่โี ดดเดทจา้ันงกปจกัญาาหรกาขกนยา้ำาเรยสขตียัวับจขาเอกคชงลกุมือ่รชุงนนเททอ่ีขพงามคดหกกาาานรรมคีสร่วนทรำ่วใมหข้มอีผงู้คชนุมอชานศัยทอำยใหู่อ้คยล่าองหงบนาางแตนล่นาดกกล่อาใยหเ้เปก็นิด การบริหแาหรลจ่งัดรับกนาร้ำเนสํ้าียอจยากางคยรั่วงเยรืนอนตแาลมะ งการ “คลองบชุมางชตนลปาัญดหสาวขยยคะลในองคบลาองงตลปาัญดหใสา ภาภพาทพ่ี ท4ี่ 4กากราบรรบิหริหารารจจัดัดกกาารรแแกกไ้ ขปัญญหหาาคคลลอองบงบางาตงลตาลดา ด มหควบคะธอชอผจ็นเลวิพชนาปนรงูบาัอดแายอลือทบกดรงชลนาจนนช.ิ้ัหบงานะศนา้ําุแมเราางรกัยทดทไวลงรชตับอกมิี่อตมจมบะนลคยาทลาังแใชุรทรูอาวหศจาัีนุลมขี่ขาดยเดัยวะชทยมปสนไโสกแชชสจแาามัดกอทดหนาคดศึหงมุิ่่เวำามนรงลงบีจยลํสร้ายหนรนกปชะมแบลรทรไะึางูบัไ่ีใยารตนชนาักง่จูวมดญบงไดนาบหระคงยัวเดราาังงลดก้รพัรเรบุารบจหนวขสมรแเารรหัักนีบล่นาาาาาวปองือ้ํ่นคาวีาาสนแวยะษ้มคคกอผรจขงนมมษททนววนัดลนเเล์รกวคกมัชชยดกตนดฎวารกะแำน้นใาารอ้ืละจกัลบสั้งัพอืรไหมเมัรมบหุงรนนทโมออใัองวดรสอปรป้ยขเเเนเททศ่ลทยอทหงมใปครรสดงาาัรงรหคบบนูอัอ้บคงบพขม่ีงวกะืนอยชะเลเยารนากัอชุุรดรัครมคดุกแนผมงทลัทอางบีีจาาธง์หนิดคหรบจู้่ืกำอชนงแตชงรชเราานอใทีา”หรทานลงนคลาบนกลรหุมนนหปิน้ํั้างกจงนศรมทะกรทารน้ชปาคเญจเนปโาสกบาิเหดชลบพอำี่บ้นรสดทรญาแกางทน่ิาาานหซาาจุราียรกยกศนผตไลศรรหวทเึ่่ทังงีาะิทพเหหกดจบสนินหแมเยแลัเกกาเําําปป้ืนลมบรชวาอลาลทนาขวคใใรใาัิ่็ห็บน็้ืนนทหหนนอุลกดดั็ยะะัร้ํรรรั้งางีู่่ี รปากเกร็ด ปโคระรชงกาชานรใชนลพปื้นรทะ่ีไทดา้รน่วมนลนงทนบาุมรี นกั งานทรัพยากบรันธทรรึกมขช้อาตตกิแลลงะคสวิ่งาแมวรด่วลมอมมือจังห(MวัดOนUน)ทบในุรีกแาลระพชัฒมรนมารแักลษะคบลรอิหงาบราจงัดตกลาดรคซ่ึงลเอปงนบปารงะตชลาาชดน พ้ืนที่ไดรวมลงนเพาม่ือบันูรณทึกาขกอาตรภกลารงคกวิจารม่วรมวกมันมพือัฒ(MนาOแUล)ะบใรนิหกาารรจพัดัฒกนาารแคละอบงรบิหาางรตจลัดากดาใรหค้เกลิดองคบวางมตเลปา็นด เอกภาพ ลดความซ้ำซ้อน และขับเคล่ือนแผนแม่บทพัฒนาคลองบางตลาดให้เกิดเป็น รูปธรรมก่อให้เกิดเป็นความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในจังหวัดเพื่อร่วมกันขับเคลื่อน การพัฒนาคลองบางตลาดโดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดทำหน้าที่เป็นข้อกลางประสาน การทำงานของหน่วยงานต่างๆ ในพ้ืนท่ี ร่วมกันทำงานและแก้ไขปัญหาโดยมุ่งให้เกิด ประโยชน์สุขแก่ชุมชนและสังคมโดยรวม ซึ่งผลจากการพัฒนาสามารถช่วยแก้ไขปัญหา น้ำเสียท่ีเกิดจากชุมชนริมคลองคลองบางตลาดสามารถเป็นแหล่งรับน้ำจากเขตเทศบาล นครนนทบุรีและเทศบาลนครปากเกร็ด เพื่อระบายลงสู่แม่น้ำเจ้าพระยาได้ดีมากขึ้น 40
98 การกำหนดมาตรการรองรับในการแก้ไขปัญหาท่ีจอดรถในอาคารสาธารณะหรือ คอนโดมเิ นยี ม โดยใช้แนวทาง “ประชารัฐ” ซ่ึงผู้แทนจังหวัดนนทบุรี องค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่ิน และผู้ประกอบการคอนโดมิเนียม ร่วมกันแสดงความคิดเห็นในการจัดทำ ร่างขอ้ บญั ญตั ทิ อ้ งถนิ่ เรอ่ื งกำหนดจำนวนทจ่ี อดรถของอาคารคอนโดมเิ นยี ม ซง่ึ จงั หวดั นนทบุรี ได้จัดทำข้อกำหนดไปในแนวทางเดียวกับข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2544 โดยไดร้ ว่ มกันกำหนดให้คอนโดมิเนยี มจะตอ้ งมีทีจ่ อดรถยนต์ไมน่ อ้ ยกว่า 1 คัน ต่อ 1 ห้องชุด สำหรับอาคารชุดที่มีพ้ืนท่ีห้องชุดตั้งแต่ 60 ตารางเมตรข้ึนไป ซ่ึงเป็นการ ออกกฎหมายที่บังคับใช้เฉพาะพ้ืนท่ีที่มีความเข้มงวดมากกว่าที่กฎหมายกำหนดเดิม เน่ืองจากการขยายตัวของเมืองนนทบุรี มีความใกล้เคียงกับกรุงเทพมหานครมากขึ้น จากข้อมูลปี 2559 - 2560 พบว่า จำนวนบ้านจัดสรรในจังหวัดนนทบุรี เพิ่มขึ้นเฉล่ีย เดือนละ 608 หลัง หรือปีละกว่า 7,300 หลังโดยประมาณ และมีอาคารคอนโดมีเนียม เพ่ิมข้ึนเฉล่ียเดือนละ 390 ห้อง หรือปีละ 4,600 ห้องโดยประมาณ ส่งผลให้การบังคับใช้ กฎหมายที่เป็นลักษณะท่ัวไปอาจจะไม่เหมาะสมกับพื้นที่ แต่การออกกฎหมายเฉพาะเพื่อ บังคับใช้ก็ไม่ใช่เร่ืองท่ีง่าย ผู้บริหารจังหวัดนนทบุรีได้เล็งเห็นความยากในการบังคับใช้ กฎหมาย จึงได้ขอความร่วมมือ และสร้างความเข้าใจระหว่างภาคส่วนต่างๆ เพื่อร่วมกัน จัดทำข้อบัญญัติเรื่องที่จอดรถในอาคารชุดที่มีความเหมาะสมกับพ้ืนที่ขึ้นมาบังคับใช้เพื่อ รักษาสมดุลให้คุณภาพชีวิตของประชาชนในจังหวัดท่ีเป็นสังคมเมืองมีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน ตามวิสัยทัศน์ของจังหวดั นนทบรุ ี “จังหวัดนนทบุรีเป็นเมอื งท่อี ยอู่ าศัยชนั้ ดขี องคนทุกระดับ โดยมีคุณภาพชีวิตที่ดีเย่ียม” ซ่ึงในปัจจุบันได้มีการประกาศใช้ข้อบัญญัติเรื่องที่จอดรถ ในอาคารชุดแล้ว 2 พื้นท่ี ได้แก่ เทศบาลเมืองบางกรวย และเทศบาลนครปากเกร็ด และอยรู่ ะหวา่ งทจ่ี งั หวดั จดั สง่ รา่ งขอ้ บญั ญตั ฯิ ให้ท้องถิ่นเพอ่ื ลงประกาศในราชกิจจานเุ บกษา ได้แก่ เทศบาลนครนนทบุรี เทศบาลตำบลไทรม้า และ อบต.บางรักน้อย ซ่ึงการสร้าง แนวทางการแก้ไขปัญหาในพ้ืนท่ีด้วยแนวทางประชารัฐน้ีทำให้ทุกคนได้แสดงความคิดเห็น สะท้อนความต้องการ และความคาดหวังในมุมมองของแต่ละคน โดยผู้ว่าราชการจังหวัด ต้องมีบทบาทในการผสมผสานความต้องการของทุกฝ่ายเข้าด้วยกัน ก่อให้เกิดเป็น ความยั่งยืนในวิธีการจัดการปัญหาท่ีเกิดข้ึนในพื้นที่ 41
99 การท่ีผู้บริหารของจังหวัดนนทบุรีมีการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับทั้งหน่วยงาน ในกำกับ หน่วยงานเอกชน หน่วยงานท้องถิ่น และประชาชนส่งผลให้การทำงาน ของผู้บริหารได้รับการสนับสนุนอย่างเต็มที่ สามารถขับเคล่ือนโครงการต่างๆ ได้ตาม นโยบายและมีประสิทธิภาพ ซ่ึงเกิดจากระบบการนำของจังหวัดท่ีกำหนดแนวทาง การดำเนินงานชัดเจน มีตัวชี้วัดกำกับกิจกรรม รวมทั้ง มีระบบการติดตามและรับฟัง ความคิดเห็นจากท้ังผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทำให้ผู้บริหารทราบถึง ความก้าวหน้าของกิจกรรมตา่ งๆ และผู้ปฏิบัติงานก็สามารถเข้าใจถึงการปฏิบัติงาน ได้ชัดเจนย่ิงข้ึน อีกท้ังยังใช้ประโยชน์จากส่ือสังคมเพ่ือประชาสัมพันธ์ และเป็น ช่องทางในการรบั ขอ้ รอ้ งเรยี น ข้อเสนอแนะ และปัญหาต่างๆ ซง่ึ ชว่ ยเพม่ิ ประสิทธิภาพ ของจังหวัดให้มีผลการดำเนินงานท่ีดีข้ึน 42
100 จงั หวัดอทุ ยั ธานี หมวด 1 ดา้ นการนำองค์การและความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม การกำหนดวิสัยทัศน์และค่านิยมจังหวัด วสิ ัยทศั น : เน้นการมีส่วนร่วม แสดงถึงความเข้มแข็งของ “เมืองท่องเท่ียวเชิงนิเวศ ความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ภายใต้แนวคิด เกษตรปลอดภัย สังคมอุทัย “อทุ ยั ธานกี า้ วไปดว้ ยกนั Uthaithani go Together” ผาสกุ ” โดยมีการนำนโยบายรัฐบาล ความท้าทาย ความได้เปรยี บของจงั หวัด และความตอ้ งการของ พนั ธกิจ : ผ้รู ับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี มาร่วมกำหนด 1. ส่ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ นา ทำให้แนวทางการดำเนินงานของจังหวัดมีความ การทอ่ งเทย่ี วดว้ ยการบรหิ าร ชัดเจน มแี ผนงานโครงการรองรับอยา่ งเปน็ รปู ธรรม จัดการและสร้างเครือข่าย และมคี วามสอดคลอ้ งกบั นโยบายรฐั บาล ความตอ้ งการ อยา่ งเปน็ ระบบ ของประชาชนในพ้ืนที่ และบริบทของจังหวัด 2. ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ นา รวมทงั้ การถา่ ยทอดระบบนำองคก์ ารสง่ ตอ่ ไปยงั ผนู้ ำ ก า ร เ ก ษ ต ร แ ล ะ อ า ห า ร ท่ี ใน ทุ ก ร ะ ดั บ ท้ั ง ใ น ร ะ ดั บ จั ง ห วั ด อ ำ เ ภ อ ปลอดภยั ได้มาตรฐาน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทำให้เกิดการรับรู้ 3. ส่งเสริมให้ประชาชนมี เข้าใ จ ร่ ว ม กั น เ ก่ี ย ว กั บ เ ป้ า ห ม า ย ข อ ง จั ง ห วั ด คุณภาพชีวิตท่ีดี มีความ และร่วมกันขบั เคลอ่ื นจนประสบความสำเร็จ มน่ั คงในการดำรงชพี 4 . บ ริหารจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ให้สมดุลและยงั่ ยืน คา่ นิยม : “มุ่ ง เ น้ น ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ ผ ล ง า น บรกิ ารดว้ ยใจ” 43
101 ทศิ ทางการขับเคล่ือนจังหวัดทีช่ ัดเจน เพอื่ การพัฒนาประเทศและ ความต้องของพื้นท่ี จงั หวดั อทุ ัยธานีเมืองพระชนกจักรี เมืองแห่งความมุ่งมั่นของผู้บริหารจังหวดั ทจี่ ะ ดำเนินงานตามรอยผู้บรหิ ารตำนานเก่าในสมัยสุโขทัยอันเจรญิ รุ่งเรือง เป็นแบบอย่างของ ผบู้ รหิ ารในปจั จบุ นั เดนิ รอยตามและมงุ่ มนั่ ทจี่ ะนำพาและพฒั นาจังหวดั อยา่ งตอ่ เนอื่ ง เพอื่ ไปสู่ ความอดุ มสมบรู ณ์ ความกลมเกลยี ว ความรกั ความสามคั คี ของทกุ คน ทกุ หนว่ ยงาน ทกุ ภาคสว่ น ในจงั หวดั โดยยึดม่ันและบริหารแบบมีเอกภาพและบูรณาการ เพื่อสร้างสังคมอุทัยผาสกุ นำพาพร้อมพัฒนาจังหวัดอุทัยธานีไปสู่ความเจรญิ รงุ่ เรอื ง ตามเอกลกั ษณแ์ หง่ ความเปน็ เมอื ง พทุ ธภูมิ มีกลิ่นอายของวิถีไทยชนบทด้ังเดิม ตามสไตล์ วิถีไทย วิถีพุทธ ของชาวลุ่มแม่น้ำ สะแกกรัง จากบทบาทภารกิจและหน้าท่ีตามกฎหมาย ในการบำบัดทุกข์ และบำรุงสุขใหก้ บั ประชาชนในพนื้ ทอ่ี ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ ของจงั หวดั อทุ ยั ธานี และความมงุ่ มนั่ ของผบู้ รหิ าร จากรนุ่ สรู่ นุ่ ทจ่ี ะพฒั นาจงั หวดั อทุ ยั ธานี เพอื่ ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายวสิ ยั ทศั นข์ องจังหวดั ในการเปน็ “เมอื งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เกษตรปลอดภัย สังคมอุทัยผาสุก” ซึ่งได้กำหนดเป้าหมายไว้ 5 เรื่อง ได้แก่ 1) การเติบโตทางเศรษฐกิจ ภาคเกษตร และท่องเท่ียวเพิ่มขึ้น 2) แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วเชงิ นเิ วศไดร้ บั การพฒั นาไดม้ าตรฐาน และมคี วามปลอดภยั 3) ผลผลิตเกษตร มีคณุ ภาพ ปลอดภยั มลู คา่ ผลผลติ เพม่ิ ขน้ึ 4) ประชาชนมคี ณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ี มคี วามมน่ั คง และ ปลอดภยั ในการดำรงชวี ติ และ 5) การอนุรักษ์ฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติ และป้องกันแก้ไข ปญั หาสงิ่ แวดลอ้ มทม่ี ผี ลกระทบต่อชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชนอย่างย่ังยืน นำมาสู่ การกำหนดยุทธศาสตร์ แผนงานโครงการรองรบั อยา่ งชดั เจนและเปน็ รปู ธรรม ทมี่ าจากการมี สว่ นรว่ มของภาคสว่ นตา่ งๆ ในการกำหนดและคดั เลอื กโครงการ โดยไดน้ ำสารสนเทศทสี่ ำคญั มาประกอบการวิเคราะห์ โดยแผนงาน/โครงการท่ีดำเนินการมุ่งเน้นการตอบโจทย์นโยบาย สำคญั ของรฐั บาล ในด้านความม่ันคง การแก้ปัญหาความเดือดร้อนและความเหลื่อมล้ำ ทางสงั คม การเพมิ่ ศกั ยภาพทางเศรษฐกิจ และด้านสิ่งแวดล้อม และความสะอาดเรยี บรอ้ ย ของบา้ นเมอื ง และนโยบายดา้ นอนื่ ๆ การนำจดุ แขง็ ทม่ี อี ยคู่ อื “การใชท้ นุ ทางสงั คมเดมิ เชน่ วถิ ชี วี ติ รมิ แม่น้ำเจา้ พระยาและแม่น้ำสะแกกรังเป็นจุดขาย สร้างมูลคา่ เพิม่ ในการทอ่ งเทยี่ ว เชงิ นเิ วศหรือเชงิ อนุรักษแ์ ละยงั เปน็ การเพมิ่ คณุ คา่ ของชมุ ชน ในขณะทร่ี ายไดจ้ ากการเกษตร ยงั เปน็ รายไดห้ ลกั ” มาสกู่ ารกำหนดแนวทางการขับเคลื่อนจังหวัด (ภาพท่ี 1) ซง่ึ แผนงาน โครงการทกี่ ำหนดมีความเช่ือมโยงที่ชัดเจนกับนโยบายรัฐบาล โครงการ และยุทธศาสตร์ ของจงั หวดั (ภาพที่ 2) 44
102 ภราปู พภทา่ี พ1แแสนดวงทแานงวกทาารงขกับารเคขับลื่เอคนลภ่อื านรภกาิจรขกิจอขงอจงังจหงั วหัดวอดั ุทอัุทยธยั าธานน ี ี ผูบริหารมุงเนนใหบุคลากรประพฤติ ปฏิบัติโดยใชคานิยมขององคกร “มุงเนนประสิทธิภาพ รับผิดชอบตอผลงาน บริการดวยใจ” เปนตัวแบบในการหลอหลอมความคิดของบุคลากรใหเปนไปในทิศทาง เดียวกัน การปฏิบัติตนของผูบริหารของจังหวัดท่ีแสดงถึงความมุงม่ันตอคานิยมของสวนราชการ โดยมุงเนน ประสิทธิภาพ : การปฏิบัติงานตองมีการใชทรัพยากรอยางประหยัด เกิดความคุมคา และบังเกิดประโยชน สูงสุดตอสวนรวม รับผิดชอบตอผลงาน : ความมุงม่ัน ต้ังใจปฏิบัติหนาท่ีใหบรรลุผลสําเร็จ ตามความมุงหมาย ยอมรับผลการกระทําและพยายามปรับปรุงการปฏบิ ัติหนา ท่ีใหด ียงิ่ ข้ึน และบริการดวยใจ : ปฏิบัติหนาที่ และ ใหบ ริการท่ีดี รวดเร็ว ดวยความเตม็ ใจ เออื้ เฟอ เผื่อแผ และมุงผลสาํ เรจ็ ตอ ผรู ับบริการ (2) การสงเสรมิ การประพฤติปฏบิ ตั ิตามหลักนิตธิ รรม ความโปรง ใส และความมีจริยธรรม การปฏิบัติตนของผูบริหารของจังหวัดที่แสดงถึงการใหความสําคัญการสงเสริมการประพฤติปฏิบัติ ตามหลักนติ ธิ รรม ความโปรงใส และความมจี รยิ ธรรม ประกอบดว ย 1) การกําหนด “ การสง เสรมิ การบริหารกจิ การทีด่ ี ตามหลักธรรมาภบิ าล” เปนวาระสําคัญของ หนวยงาน” และเปนตัวชี้วัด การประเมินการปฏิบัติราชการฯ ของผูบริหารของจังหวัดอุทัยธานี 2) การสงเสริมการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดีตามหลักธรรมาภิบาลในเชิงปฏิบัติ การปอง กัน ปราบปรามการทุจริตอยางเขมขน เชน ขับเคล่ือนโครงการเฝาระวังการทุจริต โครงการปองกันและแกไข ปอําญ เภหาอกใสาภรสาทพะุจอทรา่ี ติ2ดปต/รัวะทอพยอฤ่างงตถคิมิ่นวชิ ใาอสมบสเชะ/่ืออกมาาโดรยปงรรระะวหกมวาท่าศ้ังงนกนโาโยยรบบสาารยยากรง ัฐคาบรวกาาลาํมกโโบัปคอรรงงงกใคสากรโาดรแยทลก่ีดะายี ร(ุทOเธปGศด)าเสโผคตยรรขง์จกอังาหมรวูลจัดเงักอหี่ยุทววัยดั กธใาับสนโส ีคะรองากดาร/ จดั ซื้อ/จัดจาง ตอสาธารณะ หนา 3045
103 อทุ ยั ธานีกา้ วไปดว้ ยกนั ในการขบั เคลอ่ื นจงั หวัดอุทัยธานีไปส่เู ป้าหมายความสำเร็จท่ีสำคญั จดุ เดน่ ในการนำ องคก์ ารของจงั หวดั อทุ ยั ธานี คอื การถา่ ยทอดระบบนำองคก์ าร สง่ ตอ่ ไปยงั ผนู้ ำ จากรนุ่ สรู่ นุ่ จากทุกระดับ จนเป็นวัฒนธรรมความเป็นอันหน่ึงอันเดียวกัน “อุทัยธานีก้าวไปด้วยกัน: Uthaithani go together” ทง้ั ในระดบั จงั หวดั อำเภอ และ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทำใหเ้ กดิ การรบั รู้ เขา้ ใจรว่ มกนั เกี่ยวกับเป้าหมายของจังหวัด แ ล ะ ร่ ว ม กั น ขั บ เ ค ลื่ อ น จ น ประสบความสำเรจ็ กระบวนการนำองคก์ าร ของผบู้ รหิ ารเนน้ การมสี ว่ นรว่ ม ของภาคสว่ นตา่ งๆ โดยไดจ้ ดั ทำ MOU ซง่ึ เป็นขอ้ กำหนดสำคญั ในการปฏิบัติงานร่วมกันโดยมี ภาพที่ 3 อุทัยธานีโมเดล เป้าหมายเพื่อความสำเร็จของจังหวัดอุทัยธานี ส่งผลให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมท่ี ปรากฏผลอย่างชัดเจน ภาคส่วนต่างๆ เข้ามาร่วมกันออกแบบ วางแผนการพัฒนา ร่วมดำเนินการ มีการส่งต่อข้อมูลจากระดับพื้นท่ี โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ เขา้ มา ร่วมกนั พัฒนากับจงั หวดั อย่างจริงจัง ต้ังแต่กระบวนการค้นหาความต้องการของประชาชน ในพ้ืนที่ ส่งต่อขอ้ มูลความต้องการ ความคาดหวังของประชาชนไปยังจงั หวัด ร่วมคิดพฒั นา โครงการ รว่ มดำเนินการ จนเกิดเปน็ ผลลัพธท์ ่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ และประสิทธผิ ล นอกจากน้ี เพ่ือให้การพัฒนาจังหวัดเกิดความย่ังยืน จังหวัดอุทัยธานี ได้กำหนดค่านิยมองค์การ “มุ่งเนน้ ประสทิ ธิภาพ รบั ผิดชอบตอ่ ผลงาน บริการด้วยใจ” เปน็ หลกั การและพฤติกรรม ชน้ี ำให้บุคลากรของท้ัง 33 สว่ นราชการประจำจงั หวัดไดป้ ระพฤตปิ ฏิบัติ 46
104 ความสำเร็จของการพฒั นาจังหวดั อุทัยธานี จากความมุง่ มัน่ ของจังหวัดอุทยั ธานไี ปสู่การพัฒนาจงั หวดั โดยมงุ่ เนน้ กระบวนการ มสี ว่ นรว่ มของภาคสว่ นตา่ งๆ อยา่ งจรงิ จงั โดยมเี ปา้ หมายเดยี วกนั คอื การสรา้ งความผาสกุ ใหก้ บั ชมุ ชน สงั คม มคี วามสำเรจ็ ทโ่ี ดดเดน่ ดงั นี ้ โครงการพื้นที่ต้นแบบบูรณาการการแก้ไขปัญหาและพัฒนาพ้ืนที่แก่นมะกรูด อำเภอบา้ นไร่ จงั หวดั อทุ ยั ธานี จงั หวัดอุทัยธานีคำนึงถึงความผาสุก และประโยชน์สุขของสังคมเป็นส่วนหนงึ่ ในยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด และตัวอย่างการทำงานของจังหวัดอุทัยธานีที่ได้มีส่วน ในการสรา้ งความสมบรู ณใ์ หก้ บั ระบบสงิ่ แวดลอ้ ม สงั คม และเศรษฐกจิ ไดแ้ ก่ โครงการพนื้ ทตี่ น้ แบบ บรู ณาการแก้ไขปัญหาและพัฒนาพื้นท่ี ตำบลแก่นมะกรูด อำเภอบ้านไร่ จังหวัดอทุ ยั ธานี ตามแนวพระราชดำริ เปน็ การบรู ณาการทำงานรว่ มกันท้ังในส่วนกลาง จงั หวัด และองคก์ ร ปกครองสว่ นท้องถ่นิ ในจังหวดั โดยนำแนวพระราชดำริและองคค์ วามรู้ดา้ นการพัฒนา 6 มติ ิ ไดแ้ ก่ นำ้ ดนิ เกษตร ปา่ ไม้ พลังงานทดแทน และส่ิงแวดล้อม มาเป็นแนวทางในการพฒั นา ทยี่ ดึ พนื้ ทเ่ี ปน็ หลกั (Area Based Approach) ยดึ ความตอ้ งการและศกั ยภาพของประชาชน ในพนื้ ทเ่ี ปน็ ทตี่ งั้ ใหป้ ระชาชนมสี ว่ นรว่ มคดิ ร่วมวางแผน รว่ มทำ และร่วมรบั ผดิ ชอบแก้ไข ปญั หาเชอ่ื มโยงในทกุ มติ อิ ยา่ งครบวงจร เพอ่ื ให้ชมุ ชนสามารถพึ่งตนเองได้ เพือ่ สร้างงานและ อาชพี ใหก้ บั ประชาชน ร่วมฟ้ืนฟูและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เพื่อลด การบกุ รกุ ปา่ ในพน้ื ท่ี ซงึ่ ถอื เปน็ ครงั้ แรกในการบรู ณาการรว่ มกนั ระหวา่ งหนว่ ยงานราชการในจงั หวดั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ และสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลงั พระสบื สาน แนวพระราชดำริ ในการขับเคลอื่ นการทำงานร่วมกัน โดยไดร้ ับการบรรจุเปน็ พ้ืนที่เปา้ หมาย ตามแผนพฒั นาชนบทเชงิ พน้ื ทปี่ ระยกุ ตต์ ามพระราชดำริ การดำเนนิ โครงการให้ความสำคัญกบั 4 เรือ่ ง ได้แก่ ด้านการกำหนดแนวเขตทดี่ นิ ดา้ นบรหิ ารจดั การนำ้ ดา้ นการเกษตรและส่งเสริมอาชีพ และดา้ นการทอ่ งเที่ยว เพ่ือให้ การทำงานประสบความสำเรจ็ ไดจ้ ดั ตง้ั คณะทำงานดแู ลขบั เคลอ่ื นในแตล่ ะดา้ น และเพอื่ ใหเ้ กดิ ผล สมั ฤทธแ์ิ ละบรู ณาการโครงการใหเ้ ปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกนั ไดจ้ ดั ตง้ั คณะทำงานในการบรู ณาการ แผนงานโครงการ โดยผลการดำเนินการที่ผ่านมานับว่าประสบความสำเร็จตามเป้าหมายใน แตล่ ะดา้ น (ภาพท่ี 4) 47
105 ภาพท่ี 4 ผลงานโครงการพัฒนาพื้นที่แก่นมะกรูด อำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธาน ี โครงการจดั ทดี่ นิ ทำกนิ ให้ชมุ ชนตามนโยบายรฐั บาล จากนโยบายรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาการบุกรุกพื้นท่ีสงวนหวงห้ามของรัฐ การไม่มีท่ีดนิ ทำกินและที่อยู่อาศัยของเกษตรกรผู้มีรายได้น้อย เพ่ือลดความเหลื่อมล้ำและ แก้ไขปัญหาการไร้ที่ดินทำกินของเกษตรกรและผู้ที่ยากจน จังหวัดอุทัยธานีจึงได้ดำเนิน โครงการจัดที่ดินทำกนิ ใหช้ ุมชนตามนโยบายรัฐบาล และจัดที่ดินให้แก่ผู้ยากไร้ที่ไม่มีที่ดิน ทำกินในลกั ษณะแปลงรวมโดยไม่ให้กรรมสิทธ์ิ ซึ่งเป็นการบูรณาการการทำงานร่วมกัน ระหว่างจงั หวัดอุทัยธานี กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ตลอดจนภาคสว่ นตา่ งๆ ซึง่ สามารถจดั ทดี่ นิ ใหแ้ กผ่ ้ไู รท้ ด่ี นิ ทำกินและทอี่ ยู่อาศยั ตามนโยบาย รฐั บาล เนือ้ ท่รี วมประมาณ 3,239 ไร่ 2 งาน 39 ตารางวา รองรบั เกษตรกรไดป้ ระมาณ 486 ราย ณ ป่าห้วยระบำ ตำบลระบำ อำเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี ซึ่งสามารถ คดั กรองเกษตรกรตามประเภทและคุณสมบัติเข้าร่วมโครงการได้ จำนวน 332 ราย และนอกจากจะจดั สรรทด่ี นิ ทำกนิ แลว้ ในการดำเนนิ โครงการยงั ไดม้ กี ารพฒั นาโครงสร้างพื้นฐาน ด้านสาธารณปู โภค ไฟฟา้ ประปา แหลง่ นำ้ เพอื่ การอปุ โภค การจดั ทำแผนสง่ เสรมิ การเกษตร รวมทัง้ พัฒนาอาชพี เชน่ การปลูกหม่อนเลีย้ งไหม การสง่ เสรมิ การเกษตรแบบผสมผสาน การเลี้ยงโคตน้ น้ำและปลกู หญา้ เนเปยี ร์ เปน็ ตน้ เพอ่ื ให้เกษตรกรมีอาชพี และรายไดท้ ่มี ัน่ คง 48
106 ภาพท่ี 5 โครงการจัดท่ีดินให้แก่ผู้ไร้ท่ีดินทำกินและท่ีอยู่อาศัย (คทช.) 49
107 โครงการประชารว่ มใจ คลองสวยนำ้ ใส ไรผ้ กั ตบชวา ดว้ ยรัฐบาลได้เร่งรัดการแก้ไขปัญหาผักตบชวา ท่ีเป็นปัญหาใหญ่ในช่วงฤดูฝน ของประเทศไทย เนื่องจากผักตบชวาเป็นวัชพืชที่มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ก่อใหเ้ กดิ ปญั หาการระบายน้ำ เเละเป็นสาเหตุให้น้ำในแหล่งน้ำต่างๆ เน่าเสยี ระบบนเิ วศเสยี หาย จังหวัดอุทัยธานีเป็นอีกจังหวัดหน่ึงที่ประสบปัญหาเร่ืองผักตบชวาท่ีต้องแก้ไขอย่างเร่งด่วน เน่ืองจากมีแม่น้ำสะแกกรังเป็นแม่น้ำสายหลัก ที่มีต้นกำเนิดอยู่ในเขตเทือกเขาโมโกจู ในเขตจังหวัดกำแพงเพชร ไหลไปบรรจบกับแม่น้ำเจ้าพระยาท่ีบ้านท่าซุง ตำบลท่าซุง อำเภอเมอื ง จงั หวัดอุทัยธานี ส่งผลให้ในช่วงหน้าฝนของทุกปีมีผักตบชวาเป็นจำนวนมาก ไหลมารวมกนั จนเตม็ พน้ื ทขี่ องแมน่ ำ้ สะแกกรงั กอ่ ใหเ้ กดิ ปญั หากบั จงั หวดั อทุ ยั ธาน ี ในการแกไ้ ขปญั หาดงั กลา่ วจงั หวดั อทุ ยั ธานจี งึ จดั ทำโครงการประชารว่ มใจ คลองสวย นำ้ ใส ไรผ้ กั ตบชวา คนไทยมคี วามสขุ เพอื่ ใหม้ พี นื้ ทร่ี องรบั นำ้ มากขน้ึ และทำใหก้ ระแสนำ้ ไหล เวยี นเร็วขึ้น อีกทั้งยังช่วยเพิ่มออกซิเจนให้แก่น้ำไม่ให้น้ำเน่าเสีย เพ่ือสามารถนำน้ำมาใช้ อปุ โภคบรโิ ภคได้ รวมถงึ การสัญจรทางน้ำได้สะดวกย่ิงขึ้น และยังช่วยสร้างทัศนียภาพตาม ริมแม่น้ำสะแกกรังเพือ่ ส่งเสรมิ การทอ่ งเที่ยวอีกทางหนงึ่ ด้วย ซึ่งการดำเนินการแก้ไขปัญหา ดงั กลา่ ว ไดร้ บั ความรว่ มมอื ของทกุ ภาคสว่ น เนน้ การมสี ว่ นรว่ มและจติ อาสาจาก “เซลลเ์ ลก็ ๆ” ทอี่ ยใู่ นพื้นท่ี เข้ามาช่วยกันกำจัดผักตบชวาในพื้นที่ของตนเอง โดยหน้าบ้านใครคนน้ัน เปน็ ผรู้ ับผิดชอบ เกิดเป็นกลไกในพื้นที่ คือ จังหวัด อำเภอ ท้องถ่ินบูรณาการร่วมกับ ทุกภาคส่วน โดยมีภาครัฐทำหน้าท่ีให้การสนับสนุนเสริมศักยภาพและความพร้อม ในการดำเนนิ การ เชน่ การจดั สรรเรอื ทอ้ งแบนตดิ เครอื่ งยนตใ์ หก้ บั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ท่ีมีแหลง่ นำ้ ในพนื้ ที่อย่างเพียงพอ และการดำเนินการไม่เพียงแค่ภารกิจจบเท่าน้ัน แต่ได้มี การตดิ ตามแกไ้ ขอย่างต่อเน่ืองด้วย เพ่ือให้เกิดความย่ังยืน โดยมีการพัฒนาส่งเสริมอาชีพ และการใช้ประโยชน์จากผักตบชวาให้กับประชาชนในพื้นท่ีได้มรี ายได้ เพม่ิ คณุ ภาพชีวติ ทดี่ ี ใหก้ บั ประชาชนชาวอทุ ยั ธานี (ภาพที่ 6) 50
108 ภาพที่ 6 โครงการประชาร่วมใจ คลองสวยน้ำใส ไร้ผักตบชวา คนไทยมีความสุข จากความมุง่ ม่นั ของผู้บริหารสู่ความสำเร็จในวันนี้ของจังหวัดอุทัยธานี มาจาก กระบวนการมสี ว่ นร่วมเพ่ือกำหนดทิศทางการพัฒนาจังหวัดรว่ มกนั ใหส้ อดคลอ้ งไปกบั ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาประเทศ คณะผู้บริหารร่วมกันรับผิดชอบ มีระบบการถ่ายทอด การนำองค์การที่มีความชัดเจนส่งต่อไปยังผู้นำในทุกระดับ ท้ังในระดับจงั หวัด ระดบั อำเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทำให้มีเป้าหมายการพัฒนาร่วมกันท่ีจะสร้าง ประโยชน์สขุ ใหป้ ระชาชนในพนื้ ที่ มีโครงการท่ีตอบโจทยย์ ทุ ธศาสตรท์ กุ ดา้ น ไม่เพยี งแต่ ให้งานประสบความสำเร็จ แต่หวังจะให้ประชาชนได้มีความมั่นคง มั่นค่ัง ยั่งยืน ช่วยเหลือตนเองและครอบครัวไดอ้ ยา่ งแทจ้ ริง 51
109
110
111 181 หมวด 2 ด้านการวางแผนยุทธศาสตร์และการสอื่ สารเพอื่ นำ�ไปสูก่ ารปฏบิ ตั ิ จงั หวดั ชัยนาท หมวด 2 ดา้ นการวางแผนยทุ ธศาสตร์และการสื่อสารเพ่ือนำ� ไปสู่การปฏิบัติ วิสัยทัศน์ เมอื งเกษตรมาตรฐาน ยา่ นทอ่ งเท่ียวเพอ่ื การเรยี นรู้ ม่งุ สสู่ งิ่ แวดลอ้ มสมดลุ และสงั คมเปน็ สขุ พั นธกิจ 1. พฒั นาการผลติ สนิ คา้ เกษตรใหม้ คี ณุ ภาพไดม้ าตรฐานสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของตลาด 2. เพมิ่ มลู คา่ สนิ คา้ เกษตร พร้อมทงั้ พฒั นาการตลาดและระบบ Logistics 3. เพมิ่ ศกั ยภาพดา้ นการทอ่ งเท่ียวเพอ่ื การเรยี นรูแ้ ละวถิ ชี มุ ชน 4. บรหิ ารจดั การทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มอย่างสมดลุ และย่ังยนื 5. พฒั นาคนใหม้ คี ณุ ภาพ มที กั ษะการประกอบอาชพี มคี วามรูค้ คู่ ณุ ธรรม และมสี ขุ ภาวะทด่ี ี 6. สร้างความมนั่ คงและปลอดภัยทางสงั คม 7. นอ้ มนำ� หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาเปน็ กรอบในการพฒั นาในทกุ มติ ิ ค่านิยม คา่ นิยม ขา้ ราชการยคุ ใหม่ ใฝ่ใจประชาชน
112 หมวด 2 ดา้ นการวางแผนยทุ ธศาสตร์และการสื่อสารเพือ่ น�ำ ไปสู่การปฏิบัติ 182 จงั หวดั ชยั นาท ตงั้ อยใู่ นพนื้ ทรี่ าบลมุ่ เจา้ พระยา อยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน ด้วยสภาพ ภูมิประเทศเหมาะสม มีทรัพยากรดินและน้�ำสมบูรณ์ แ ละมีแ ม่น�้ำท่ีส�ำคัญ 3 สาย ไหลผ่านจังห วัด ได้แก่ แม่น�้ำเจา้ พระยา แม่น�้ำน้อย และแม่น�้ำท่าจีน ท�ำให้จังหวัดชัยนาทจึงมีศักยภาพด้านการเกษตรสูง โดยมีพื้นที่เกษตรกรรมมากถึงร้อยละ 80 ของพ้ืนที่ จังหวัดท้ังหมด ประกอบกับมีหน่วยงานวชิ าการ ดา้ นการเกษตรเป็นจำ� นวนมากที่สนับสนุนองค์ความรู้ ด�ำเนินการวจิ ัยและพัฒนาผลผลิตทางการเกษตร ที่ ส� ำ คั ญ ใ ห้ แ ก่ เ ก ษ ต ร ก ร ท� ำ ใ ห้ ภ า ค เ ก ษ ต ร ก ร ร ม จึงเป็นรายไดห้ ลกั ของจังหวดั รวมถึงไดม้ ีการตอ่ ยอด น�ำศักยภาพด้านการเกษตรท่ีมีอยู่ ไปขยายผลสู่ ด้านการท่องเที่ยว ในการพัฒนาให้ชัยนาทเป็น แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว เ พื่ อ ก า ร เ รีย น รู้ เ ชิ ง เ ก ษ ต ร ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม ไปจนถงึ ประวตั ศิ าสตร์ ศาสนา วัฒนธรรมและวถิ ีชีวติ ชุมชน ซ่ึงชาวชัยนาท ยงั คงรกั ษาประเพณวี ฒั นธรรม มกี ารดำ� รงชวี ติ เรยี บงา่ ย จึ ง ไ ด้ น� ำ ค ว า ม ไ ด้ เป รีย บ เ ชิ ง ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ จ า ก สภาพภมู ปิ ระเทศทมี่ ที รัพยากรดนิ และน้�ำอดุ มสมบรู ณ์ ประชาชนมีวถิ ีชีวติ แบบด้ังเดิม มาก�ำหนดเป็นจุดยืน ทางยทุ ธศาสตร์ในการสง่ เสรมิ ศกั ยภาพดา้ นการเกษตร ทอ่ งเทย่ี ว สงั คม และสง่ิ แวดลอ้ ม และมกี ารถา่ ยทอดแผน สู่ทุ กระดับ จน มี ผ ลลัพ ธ์ เ ชิง ประจักษ์ ที่ สร้ า ง ชื่อ เ สี ย ง ให้จังห วัด ดังวสิ ัยทัศน์เ มืองเกษตรมาตรฐาน ย่านท่องเท่ียวเพ่ือการเรยี นรู้ มุ่งสู่สิ่งแวดล้อมสมดุล และสงั คมเป็นสขุ
113 183 หมวด 2 ด้านการวางแผนยทุ ธศาสตร์และการสื่อสารเพ่อื นำ�ไปสู่การปฏบิ ตั ิ “ยทุ ธศาสตรจ์ งั หวดั แบบมงุ่ ผลสมั ฤทธ”ิ์ ดา้ นสงั คมและคณุ ภาพชวี ติ รวมถงึ การกำ� หนดตวั ชวี้ ดั จากศักยภาพท่ีมี จังหวัดชัยนาทได้จัดท�ำ แผนพัฒนาจังหวัดที่มีความชัดเจน วัดผลได้ ยทุ ธศาสตร์จงั หวดั แบบมงุ่ ผลสมั ฤทธค์ิ รบวงจร มกี ารรวบรวมฐานขอ้ มลู ยอ้ นหลงั ทส่ี ามารถนำ� มาใช้ ต า ม ห ลั ก B a l a n c e S c o r e c a r d ใ น ก า ร ค า ด ก า ร ณ์ เ ป้ า ห ม า ย ใ น อ น า ค ต และวงจร PDCA ท่ีไม่ได้ให้ความส�ำคัญ แ ล ะ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ตั ว ช้ี วั ด ข อ ง ก ร ะ ท ร ว ง เพียงการวางแผนเทา่ นนั้ หากแตเ่ นน้ การนำ� ไป กรม ทำ� ใหส้ ามารถบรู ณาการงานและงบประมาณ ใช้ให้เป็นไปอย่างมีระบบ มีเป้าหมายให้เกิด กับทุกภาคส่วนในจังหวัด มีการวเิ คราะห์ การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยให้ความส�ำคัญ เป้าหมายการพัฒนาโดยก�ำหนดความท้าทาย กับกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เชงิ ยทุ ธศาสตร์ (Strategic Challenge: SC) ในจังหวัดในทุกข้ันตอน โดยเฉพาะอย่างย่ิง ใ น แ ต่ ล ะ ป ร ะ เ ด็ น ก า ร พั ฒ น า ที่ ส อ ด ค ล้ อ ง การมีส่วนร่ วมของประชาชนที่ได้สะท้อน กับความได้เปรยี บเชงิ ยุทธศาสตร์ (Strategic ปญั หา/ความตอ้ งการของพนื้ ทม่ี าสกู่ ารกำ� หนด Advantage :SA) เพื่อน�ำไปสู่การบรรลุ ทศิ ทางและเปา้ หมายการพฒั นา การสร้างโอกาส เป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ข อ ง จั ง ห วั ด ท้ั ง ใ น ด้ า น และเปิดเวทีแสดงความคิดเห็นของประชาชน สง่ เสรมิ การเกษตรใหไ้ ดม้ าตรฐาน เพม่ิ ศกั ยภาพ นอกจากน้ี ยั งมี การใช้ข้อมูลทุกด้านเพื่อ ด้านการ ท่องเท่ียว บริห าร จัดการการใช้ ก า ร ว า ง แ ผ น เ ช่ น ข้ อ มู ล ก า ร เ ติ บ โ ต ทรั พยากรธรรมชาติอย่างสมดุลและย่ังยืน ทางเศรษฐกจิ ของจงั หวดั ขอ้ มลู ดา้ นการเกษตร รวมถงึ พฒั นาคณุ ภาพคนและสร้างสงั คมใหเ้ ปน็ สขุ ทอ่ งเทยี่ ว ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม ภาพที่ 1 การวเิ คราะห์ประเดน็ การพฒั นาจากความท้าทายและความได้เปรยี บเชงิ ยุทธศาสตร์
114 หมวด 2 ดา้ นการวางแผนยุทธศาสตร์และการสื่อสารเพ่อื น�ำ ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ 184 “การน�ำแผนยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติอย่างสัมฤทธิ์ผล” จังหวัดชัยนาทได้แปลง ยทุ ธศาสตรส์ กู่ ารปฏบิ ตั โิ ดยการกำ� หนดแนวทางการพฒั นาทเี่ ชอื่ มโยงไปสกู่ ารกำ� หนดแผนงาน/โครงการ (Project Brief) ที่ส�ำคัญ สอดคล้องกับเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ และตัวช้ีวัด และเพ่ือให้สามารถขับเคลอ่ื นแผนพัฒนาจังหวัด แผนปฏิบัตริ าชการประจำ� ปีลงไปสู่การปฏิบัติ ทงั้ ในระดบั อำ� เภอ ทอ้ งถนิ่ ชมุ ชนตามเป้าหมายทกี่ ำ� หนด จงั หวดั ไดใ้ หส้ ว่ นราชการประจำ� จงั หวดั อำ� เภอ และองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ นำ� ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาจงั หวดั และแผนปฏบิ ตั ริ าชการ ประจำ� ปขี องจงั หวดั ไปเปน็ กรอบในการจดั ทำ� แผนหมบู่ า้ น แผนชมุ ชนระดบั ตำ� บล แผนพฒั นาทอ้ งถนิ่ และแผนพัฒนาอ�ำเภอ ในลักษณะ One Plan ซ่ึงนอกจากจะท�ำให้สามารถเช่ือมโยงแผน ในทุกระดับสอดคล้องและมีเอกภาพแล้ว ยังท�ำให้การน�ำยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติเป็นไป อยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ล จนสามารถพฒั นาไดต้ ามเป้าหมายในเชงิ ประจกั ษ์ อนั ไดแ้ ก่ เมล็ดข้าวพนั ธดุ์ ที ่ี 1 เมอื งไทย จงั หวดั ชยั นาท มีชื่อเสียงในการผลิตเมล็ดพันธ์ข้าวมาอย่างยาวนาน แตต่ ง้ั แตป่ ี 2561 เปน็ ตน้ มา จงั หวดั ชยั นาทมไิ ดม้ งุ่ เนน้ การเพม่ิ ปรมิ าณการผลติ เมลด็ พนั ธขุ์ า้ วใหม้ ปี รมิ าณมาก แต่ได้ปรับกลยุทธ์ในการให้ความส�ำคัญกับการผลิต ใ น ป ริม า ณ ที่ มี อ ยู่ ใ ห้ มี คุ ณ ภ า พ ไ ด้ ม า ต ร ฐ า น เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์การเพาะปลูกข้าว ในปจั จบุ นั ทมี่ แี นวโนม้ การปลกู ลดลง โดยการจดั ทำ� แปลง เพอื่ สาธติ การผลติ เมล็ดพนั ธข์ุ ้าวทีถ่ กู ตอ้ งเป็นตัวอย่าง ให้กับเกษตรกร และใช้เป็นแหล่งกระจายเมล็ดพันธ์ุดี ส�ำหรั บจัดท�ำแปลงผลิตเมล็ดพันธุ์ ในฤดูถัดไป พร้อมทั้งถ่ายทอดองค์ความรู้ต่าง ๆ ในการผลิต การตรวจรั บรองแปลงเมล็ดพันธุ์ข้าวตามระบบ GAP – Seed การสง่ เสรมิ การตลาด และไดน้ ำ� ตน้ แบบ ของกลุ่มต�ำบลนางลือ-ท่าชัย มาขยายผลพัฒนา กลุ่มต�ำบลแพรกศรรี าชาให้เป็นศูนย์กลางการผลิต และจำ� หนา่ ยเมลด็ พนั ธขุ์ า้ วของจงั หวดั ตอ่ ไปไดซ้ ง่ึ ทำ� ให้ เ ม ล็ ด พั น ธุ์ ข้ า ว ขอ ง จั ง ห วั ด ชั ย น า ทไ ด้รั บ การรั บร อ ง มาตรฐานจากกรมการขา้ ว และมชี อ่ื เสยี งระดบั ประเทศ
115 185 หมวด 2 ด้านการวางแผนยทุ ธศาสตร์และการสอ่ื สารเพื่อน�ำ ไปสู่การปฏบิ ตั ิ สม้ โอขาวแตงกวาของดเี มอื งชัยนาท ด้ว ยร ะบ บควบคุม ก า ร ใ ห้ น้� ำ อั จ ฉ ริย ะ ส้ มโ อ ข า ว แ ต ง ก ว า เป็ น ผ ลไ ม้ (Irrigation Smart Farming) ทส่ี ามารถ ที่สร้างชื่อเสียงและรายไดใ้ ห้แก่เกษตรกร เปิด-ปิด จ่ายน้�ำตามค่าความชื้นของดิน จังหวัดชัยนาท เน่ืองจากมีรสชาติอร่อย และเหมาะสมกบั ความตอ้ งการน้�ำของสม้ โอ กุ้งโต เนื้อแห้งกรอบ รสหวานอมเปร้ยี ว ซ่ึงสามารถลดต้นทุนการผลิต เพิ่มรายได้ โ ด ย ส้ ม โ อ ข า ว แ ต ง ก ว า ท่ี ป ลู ก ใ น พ้ื น ที่ ใหแ้ กเ่ กษตรกร จังห วัดชัยนาทจะมีรสชาติอร่ อยกว่า ปลกู ถน่ิ อนื่ ซง่ึ จากการทสี่ ม้ โอขาวแตงกวา ได้รับข้ึนทะเบียนส่ิงบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ทำ� ใหเ้ ปน็ ทเี่ ชอื่ มนั่ และไดร้ ับการยอมรับ ในคุณภาพจากผู้บรโิ ภคอย่างแพร่หลาย และไมเ่ พยี งพอกบั ความตอ้ งการของตลาด ดงั นนั้ จงั หวดั จงึ มนี โยบายขยายพนื้ ทป่ี ลกู โดยมุ่งเน้นผลผลิตที่มีคุณภาพปลอดภัย ไดม้ าตรฐานและรกั ษารสชาติ พรอ้ มกบั การ ลดตน้ ทนุ การผลติ โดยมกี ารพฒั นาระบบใหน้ ำ�้ ภาพท่ี 2 ระบบการให้น�้ำอจั ฉรยิ ะ
116 หมวด 2 ดา้ นการวางแผนยทุ ธศาสตร์และการส่ือสารเพอื่ นำ�ไปสูก่ ารปฏบิ ัติ 186 เทยี่ ววถิ ชี มุ ชน คนสาปยา จงั หวดั ชยั นาทใหค้ วามสำ� คญั กบั การพฒั นาดา้ นทอ่ งเทย่ี ว โดยมเี ป้าหมายให้การทอ่ งเท่ียวเตบิ โตขน้ึ นอกเหนอื จากภาคการเกษตรทเ่ี ป็นรายไดห้ ลกั ของจงั หวดั ชมุ ชนสาปยาเปน็ ชมุ ชนทมี่ คี วามเขม้ แขง็ มตี น้ ทนุ ทางวฒั นธรรม มอี าคารโรงพกั เกา่ สร้างในสมัยรัชกาลท่ี 5 (ร.ศ.120) ยังมีตลาดเก่าสรรพยาที่ยังคงวถิ ีชีวติ ด้ังเดิม ถอื ไดว้ า่ เปน็ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วพร้อมทจี่ ะพฒั นาแบบมสี ว่ นร่วมโดยชมุ ชน ดงั นน้ั จงั หวดั ชยั นาท โดยความร่วมมือของคนในชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชน ดำ� เนนิ การพฒั นาแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วเมอื งสาปยา โดยบรู ณะอาคารโรงพกั เกา่ เพอื่ ใชเ้ ปน็ อาคาร พพิ ธิ ภณั ฑ์ จดั แสดงประวตั ศิ าสตร์ทอ้ งถน่ิ สรรพยา เพอื่ ใหเ้ ปน็ แหลง่ เรยี นรูส้ ำ� หรับคนในชมุ ชน และนักท่องเที่ยวจนได้รับรางวัล “อนุรักษ์ศิลปะสถาปัตยกรรมดีเด่น” ประเภทอาคาร จากสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ รวมถึงรางวัล “วัฒนคุณาธร” จากกระทรวงวัฒนธรรม และรางวัลชนะเลิศ “การแข่งขันจัดท�ำข้อมูล Digital” ดา้ นการทอ่ งเทย่ี วทม่ี คี ณุ ภาพระดบั ประเทศจากกระทรวงการทอ่ งเที่ยวและกฬี า ภาพที่ 3 สถานีต�ำรวจภูธรอำ� เภออำ� เภอสรรพยา
117 187 หมวด 2 ดา้ นการวางแผนยทุ ธศาสตร์และการส่อื สารเพ่อื น�ำ ไปส่กู ารปฏบิ ตั ิ “ระบบการติดตาม เพ่ือบรหิ ารจัดการการ ดำ� เนนิ งาน และเพอื่ การประเมนิ ผล” จังหวัดชัยนาทได้กำ� หนดแนวทางการติดตาม การดำ� เนนิ งานตามแผน และการประเมนิ ผลแผนพฒั นา จงั หวดั และแผนปฏบิ ตั ริ าชการประจำ� ปี ดงั นี้ 1) ติดตามความก้าวหน้าของโครงการ (Project monitoring phase) โดยผบู้ รหิ าร และคณะทำ� งาน ตรวจตดิ ตามทกุ เดอื น ประกอบดว้ ย 4 คณะ มหี ัวหนา้ ส�ำนักงานจังหวัด ปลัดจังหวัด พัฒนาการจังหวัด และคลังจังหวัดเป็นหัวหน้าคณะท�ำงานแต่ละคณะ ภายใต้การก�ำกับดูแลของรองผู้ว่าราชการจังหวัด ต ร ว จ ติ ด ต า ม ใ น พ้ื น ท่ี สั ม ภ า ษ ณ์ ป ร ะ ช า ช น ผมู้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสียของโครงการ พร้อมท้ังการติดตาม ผา่ นระบบ PADME 2) การประเมนิ ผลสมั ฤทธข์ิ อง โครงการ (Project evaluation and utilization) จั ง ห วั ด ชั ย น า ท โ ด ย ส� ำ นั ก ง า น ส ถิ ติ จั ง ห วั ด ส�ำรวจความคิดเห็นของประชาชน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เกย่ี วกบั ผลการดำ� เนนิ โครงการตามแผนปฏบิ ตั ริ าชการ ประจำ� ปี (งบพฒั นาจังหวดั ) เพอ่ื ให้ทราบผลสมั ฤทธ์ิ ของการด�ำเนินงาน ตลอดจนน�ำข้อเสนอแนะที่ได้ มาวางแผน ทบทวน ปรับปรุง และพฒั นากระบวนการ พั ฒ น า จั ง ห วั ดใ ห้ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ยิ่ ง ข้ึ น แ ล ะ 3) การประเมินผลการด�ำเนินงานตามตัวช้ีวัดแผน พัฒนาจังหวัด พร้อมทั้งปัจจัยสนับสนุน และ/หรอื ปญั หาอปุ สรรคในการดำ� เนนิ งาน ขอ้ เสนอในการพฒั นา เพ่ื อ น� ำ ม า ก� ำ ห น ด ทิ ศ ท า ง ก า ร พั ฒ น า ข อ ง จั ง ห วั ด และการก�ำหนดค่าเป้าหมายของตัวช้ีวัดในระยะต่อไป โดย ณ ส้ินปีงบประมาณจะประเมินผลส�ำเร็ จ ตามค่าเป้าหมายตัวชี้วัดที่ก�ำหนดไว้ในระยะ 1 ปี และเมอื่ สน้ิ รอบแผนฯ จะประเมนิ ผลสำ� เร็จตามคา่ เป้า หมายทก่ี ำ� หนดไวใ้ นระยะ 4 – 5 ปี
118 หมวด 2 ดา้ นการวางแผนยุทธศาสตร์และการสอ่ื สารเพื่อน�ำ ไปส่กู ารปฏิบัติ 188 ภาพที่ 4 การประเมินผลสมั ฤทธิ์ของโครงการโดยการส�ำรวจความ คิดเห็นของประชาชน ผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสีย จากความไดเ้ ปรยี บเชงิ ยทุ ธศาสตรท์ มี่ สี ภาพภมู ปิ ระเทศ ทรพั ยากรดนิ นำ้� อดุ มสมบรู ณ์ ประชาชนมีวถิ ีชีวติ แบบด้ังเดมิ น�ำมาก�ำหนดเป็นจุดยืนทางยุทธศาสตร์ในการส่งเสรมิ ศกั ยภาพดา้ นการเกษตร ทอ่ งเที่ยว สังคม และสง่ิ แวดลอ้ ม นำ� มาวางแผนยทุ ธศาสตร์ บนฐานขอ้ มลู และน�ำไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิผ่านกลไกการมสี ว่ นร่วมของสว่ นราชการและชมุ ชน ในพ้ืนท่ีจนมีผลลัพธ์เชิงประจักษ์ที่สร้างช่ือเสียงให้จังหวัด สร้างรายได้ และความสุข ให้ประชาชน ดังจะเห็นไดจ้ าก ปี 2561 จังหวัดชัยนาทได้อันดับที่ 13 ของประเทศ ในการจดั อนั ดบั ความสขุ ของคนไทย
119 189 หมวด 2 ดา้ นการวางแผนยุทธศาสตรแ์ ละการส่อื สารเพ่ือน�ำ ไปส่กู ารปฏบิ ัติ จงั หวดั หนองคาย หมวด 2 ดา้ นการวางแผนยุทธศาสตรแ์ ละการสื่อสารเพ่ือน�ำไปสู่การปฏิบตั ิ วิสัยทศั น์ เกษตรอตุ สาหกรรมวฒั นธรรมรุง่ เรอื ง เมอื งทอ่ งเท่ียวลมุ่ นำ้� โขง พั นธกจิ 1. สร้างมูลคา่ เพิ่มให้กบั ผลผลิตทางการเกษตรเชอ่ื มโยงกบั ระบบอุตสาหกรรมและการคา้ (เกษตร 3 แหล่ง) 2. การน�ำนวัตกรรมเทคโนโลยีการผลิตมาใช้ในภาคเกษตร อุตสาหกรรม และท่องเที่ยว (เกษตร 3 แหลง่ ) 3. พฒั นาแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วใหไ้ ดม้ าตรฐานและเชอื่ มโยงกบั การเกษตรและวฒั นธรรมลมุ่ นำ้� โขง (เมอื ง 3 ธรรม) ค่านิยม หนองคายเมอื งสะดวกสะอาดปลอดภัยมนั่ ใจนา่ อยู่
120 หมวด 2 ด้านการวางแผนยทุ ธศาสตร์และการส่อื สารเพื่อน�ำ ไปสู่การปฏิบตั ิ 190 จั ง ห วั ด ห น อ ง คา ย เป็ น จั ง ห วั ด ช า ย แ ด น ท่ี ตั้ ง อ ยู่ ท า ง ภา ค ต ะวั น ออ ก เฉี ย ง เห นื อ ต อ น บ น พื้นท่ีทางกายภาพมีลักษณะพิเศษคอื แคบแต่ทอดยาว ขนานกบั ลำ� แมน่ ำ้� โขงซงึ่ เปน็ เสน้ กน้ั เขตแดนกบั ประเทศลาว และยังเป็นท่ีตั้งของสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งแรก ซงึ่ ถอื เปน็ จดุ ยทุ ธศาสตร์สำ� คญั ทำ� ใหจ้ งั หวดั หนองคาย มศี กั ยภาพในหลายดา้ นทง้ั ดา้ นเศรษฐกจิ ทเ่ี ปน็ จดุ เชอ่ื มโยง ระหวา่ งประเทศไทย ลาว เชอื่ มตอ่ ไปสู่เวยี ดนาม จนี รองรับการขยายตวั ทง้ั การคา้ การลงทนุ และการขนสง่ ด้านการเกษตร มีอาณาเขตทอดยาวตามล�ำน�้ำโขง จงึ มรี ะบบชลประทานสามารถทำ� การเกษตรไดห้ ลากหลาย ด้านการท่องเท่ียว มีวัฒนธรรมประเพณีเก่าแก่ อย่างเทศกาลออกพรรษาบ้ังไฟพญานาคที่ดึงดูด นั ก ท่ อ ง เ ท่ี ย ว ใ ห้ ม า เ ย่ี ย ม ช ม เป็ น ป ร ะ จ� ำ ทุ ก ปี จากศักยภาพของจังหวัด ในการเป็นเมือง 3 ธรรม (ธรรมะ ธรรมชาติ วัฒนธรรม) เกษตร 3 แหล่ง (พืชเศรษฐกิจ สัตว์เศรษฐกิจ สัตว์น้�ำเศรษฐกิจ) ท� ำ ใ ห้ จั ง ห วั ด ห น อ ง ค า ย มี แน ว ท า ง ใ น ก า ร พั ฒ น า จั ง ห วั ดไป สู่ กา ร เป็ น เ มื อ ง เ ก ษ ต ร อุ ต ส า ห ก ร ร ม วฒั นธรรมรุง่ เรอื ง เมอื งทอ่ งเท่ียวลมุ่ นำ�้ โขง
121 191 หมวด 2 ดา้ นการวางแผนยุทธศาสตรแ์ ละการสอื่ สารเพ่อื น�ำ ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ “จากขอ้ มลู สู่การวางแผนยทุ ธศาสตร์” จังหวัดได้ให้ความส�ำคัญกับการรวบรวมและ จงั หวดั หนองคายใหค้ วามสำ� คญั กบั การมสี ว่ นร่วม วเิคราะหข์ อ้ มลู ปญั หาความตอ้ งการยอ้ นหลงั 3 ปี ของประชาชนในพนื้ ทใี่ นการวางแผนยทุ ธศาสตร์ จาก 1) แผนหมู่บ้าน/แผนชุมชนที่ผ่านการ ของจงั หวดั เนอ่ื งจากประชาชนมคี วามพยายาม ประชาคมของประชาชน 2) แผนพัฒนาต�ำบล ทจ่ี ะแกไ้ ขปญั หาของตนเอง ซงึ่ เปรยี บเสมอื นกบั /อำ� เภอ/องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ 3) การลงพนื้ ท่ี การช้ีเป้ าให้กับภาคร าชการได้เข้าไปช่วย ของผู้ว่าราชการจังหวัด และ 4) ข้อมูลของ ส นั บ ส นุ น ด้ า น ว ิช า ก า ร อ ง ค์ ค ว า ม รู้ ส่วนราชการในจังหวัด น�ำมาจัดท�ำฐานข้อมูล และงบประมาณ ประกอบกบั ประชาชนมเี ครอื ขา่ ย ทง้ั ในลกั ษณะ Bottom up สอดรับกบั นโยบาย เข้มแข็ง ท�ำงานเป็นทีม จึงเป็นการร่วมกัน รัฐบาลและแผนพัฒนาต่าง ๆ ที่เป็นลักษณะ วางแผนยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาจงั หวดั บนพนื้ ฐาน Top down ทำ� ให้จงั หวดั มจี ดุ เดน่ คอื การมขี อ้ มลู ของข้อมูลและความต้องการของประชาชน สำ� หรับเปน็ ปจั จยั นำ� เขา้ สกู่ ารวางแผนยทุ ธศาสตร์ โดยใช้จุดเด่นของการเป็นเมือง 3 ธรรม ท่ีครบถ้วนและครอบคลุม น�ำไปสู่การก�ำหนด เกษตร 3 แหลง่ และลกั ษณะทางกายภาพของพน้ื ที่ จดุ ยนื ทางยทุ ธศาสตร์ (Positioning) 3 ดา้ น มี ลั ก ษ ณ ะ พิ เ ศ ษ ท อ ด ย า ว ต า ม ล� ำ น้� ำ โ ข ง ในการสง่ เสรมิ “การเกษตรยงั่ ยนื ” ภายใตเ้ กษตร ท�ำให้ภาคราชการสามารถน�ำจุดเด่นมากำ� หนด 3 แหล่ง สู่เกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรยี ์ ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ เพ่ื อ แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า แ ล ะ พั ฒ น า “การทอ่ งเที่ยว” 3 ธรรม คอื ธรรมะ ธรรมชาติ พ้ื น ท่ี ไ ด้ ต รง กั บ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง พื้ น ที่ วฒั นธรรม และ “การคา้ การลงทนุ ” เชอ่ื มโยง อย่างแท้จรงิ โดยในการวางแผนยุทธศาสตร์ ภายในประเทศและตา่ งประเทศ ภาพท่ี 1 กรอบแนวคิดการวางแผนยุทธศาสตร ภาพท่ี 1 กรอบแนวคิดการวางแผนยุทธศาสตร์
122 หมวด 2 ดา้ นการวางแผนยทุ ธศาสตร์และการส่ือสารเพ่อื น�ำ ไปสูก่ ารปฏบิ ตั ิ 192 “จากแผนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ” เปน็ สอื่ กลางทส่ี นั้ กระชบั ชดั เจน งา่ ยตอ่ การจดจำ� จั ง ห วั ด ห น อ ง ค า ย ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ จ า ก ในการสร้างการรับรู้ตัวตนที่แท้จรงิ ของจังหวัด แผนทที่ างยทุ ธศาสตร์ (Strategy Map) ส่ ง ผ ล ใ ห้ ทุ ก ภ า ค ส่ ว น รู้ สึ ก ถึ ง ค ว า ม เป็ น ในการเป็ นเคร่ ืองชี้น�ำการส่ือสาร ทิศทาง เจ้ า ข อ ง ยุ ท ธ ศา ส ต ร์ ม อ ง เห็ น เป้ า ห ม า ย ยทุ ธศาสตร์ของจงั หวดั ไปสหู่ นว่ ยงานตา่ ง ๆ รวม ที่ชัดเจนตรงกัน แ ละตระห นักในภารกิจ ถึ ง บุ คลา กร ขอ ง จั ง ห วั ด เพ่ื อช่ ว ย ทุ ก คน ที่ มี ส่ ว น รั บ ผิ ด ช อ บ มุ่ ง มั่ น น� ำ ไป ป ฏิ บั ติ เกดิ ความเขา้ ใจในกลยทุ ธท์ จี่ ดั ทำ� ขนึ้ โดยเชอื่ มโยง โ ด ย ไ ม่ มี ข้ อ จ� ำ กั ด ด้ า น เว ล า แ ล ะ ง บ ป ร ะ ม า ณ การด�ำเนินงานเข้ากับยุทธศาสตร์ของจังหวัด แม้จะมีการเปลี่ยนผู้บรหิ าร/ผู้น�ำ หรอื จะไดร้ ับ รวมท้ังมีระบบการน�ำองค์การของผู้บรหิ าร หรอื ไม่ได้รับงบประมาณ ก็สามารถขับเคลื่อน ในการถา่ ยทอดคา่ นยิ มร่วมของจงั หวหั นองคาย ยทุ ธศาสตรไ์ ดใ้ นทกุ ระดบั ทำ� ใหย้ ทุ ธศาสตรจ์ งั หวดั เปน็ เมอื ง “สะดวก สะอาด ปลอดภยั มนั่ ใจ นา่ อย”ู่ มีพลังและมีความยั่งยืน จึงม่ันใจได้ว่าการน�ำ ใ ห้ กั บ ข้ า ร า ช ก า ร ร ะ ดั บ จั ง ห วั ด อ� ำ เ ภ อ ยทุ ธศาสตรไ์ ปสกู่ ารปฏบิ ตั จิ ะเปน็ ไปอยา่ งตอ่ เนอื่ ง อ ง ค์ ก ร ป ก ค ร อ ง ส่ ว น ท้ อ ง ถ่ิ น แ ล ะ ป ร ะ ช า ช น ที่ทุกคนสามารถด�ำเนินการใด ๆ เวลาใดก็ได้ เ พ่ื อ ใ ห้ ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ แ ล ะ สาม ารถขับ เ คลื่อน ง านบ า งนโ ยบ า ย เป็นไปในทิศทางเดียวกนั มีการใช้ Wording โดยไมใ่ ชง้ บประมาณกไ็ ด้ เชน่ ครัวเรอื นเกษตร ตำ� แหนง่ การพฒั นา “เมอื ง 3 ธรรม เกษตร 3 แหลง่ ” ปลอดภยั หนา้ บา้ นนา่ มอง ภาครฐั โปรง่ ใส เปน็ ตน้
123 193 หมวด 2 ด้านการวางแผนยุทธศาสตร์และการสื่อสารเพอ่ื น�ำ ไปสูก่ ารปฏิบตั ิ “ ร ะ บ บ ก า ร ติ ด ต า ม ก า ร ด� ำ เ นิ น ง า น และการประเมนิ ผล” จงั หวดั หนองคาย มกี ระบวนการ ก� ำ กั บ ติ ด ต า ม ผ ล ก า ร ด� ำ เนิ น ง า น ใ ห้ เป็ น ไป ต า ม แ ผ น ยุทธศาสตร์ คือกระบวนการทางเอกสาร เปน็ การรายงานสรปุ ผลการดำ� เนนิ งานของสว่ นทรี่ บั ผดิ ชอบ ประจำ� ปี ซงึ่ เป็นการรวบรวมผลการดำ� เนนิ งานตาม ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ต ล อ ด ท้ั ง ปี แ ล ะ มี ก า ร เ ผ ย แพ ร่ ใหส้ าธารณะไดร้ ับทราบ โดยเอกสารรายงานประจำ� ปี ดังกล่าวได้น�ำมาเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการ ทบทวนแผนยทุ ธศาสตรจ์ งั หวดั ในแตล่ ะรอบปดี ว้ ยการ รายงานโดยใช้ระบบ PADME เป็นการก�ำกับ ติ ด ต า ม ผ ล ก า ร ด� ำ เนิ น ง า น ด้ า น ป ฏิ บั ติ ก า ร และงบประมาณ โดยเป็นการรายงานความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค ทกุ วนั ท่ี 20 ของเดอื น ซง่ึ ผบู้ รหิ าร ส า ม า ร ถ ติ ด ต า ม ใ น ร ะ บ บ ไ ด้ ด้ ว ย ต น เ อ ง จงึ สามารถวนิ จิ ฉยั สงั่ การในกรณตี า่ ง ๆ ไดท้ นั เวลา การประชมุ ติดตามการดำ� เนนิ งานและเรง่ รดั การใช้ จ่ายงบประมาณ ทุกสัปดาห์ โดยมีคณะท�ำงาน ติดตาม ช่วยเหลือ สนับสนุนการด�ำเนินงานตาม แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจำ� ปี จำ� นวน 3 ชดุ โดยมี รองผู้วา่ ราชการจังหวัดท้ัง 3 ท่าน ท�ำหน้าท่ีเป็น หัวหนา้ คณะในการตดิ ตาม ใหค้ ำ� ปรกึ ษา แนะนำ� และ ลงตรวจพน้ื ทด่ี ำ� เนนิ งาน โดยผรู้ ับผิดชอบโครงการ จะรายงานความก้าวหน้า ความเสี่ยงท่ีส�ำคัญ ในการประชุมแต่ละครง้ั เพื่อให้มั่นใจว่าจะสามารถ ด�ำเนินงานได้บรรลุเป้าหมาย หากพบปัญหา จะสามารถแกไ้ ขไดท้ นั ทว่ งที ซง่ึ ทำ� ใหจ้ งั หวดั หนองคาย ประสบความสำ� เรจ็ ดา้ นการเบกิ จา่ ยงบประมาณรายจา่ ย ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 เป็นล�ำดับที่ 7 ของประเทศ
124 หมวด 2 ด้านการวางแผนยทุ ธศาสตร์และการสื่อสารเพ่อื นำ�ไปสกู่ ารปฏิบัติ 194 ภาพที่ 2 การบรหิ ารจัดการน�้ำโดยหินโงมโมเดล “จากยุทธศาสตร์สู่ความส�ำเร็จที่ภาคภูมิ” ด้วยจุดยืนทางยุทธศาสตร์ ท่ีชัดเจน ในการสง่ เสรมิ การเกษตรยง่ั ยนื การทอ่ งเทีย่ ว และการคา้ การลงทนุ โดยใชป้ ระโยชนจ์ ากศกั ยภาพ ของจังหวดั ในการเป็นเมอื ง 3 ธรรม เกษตร 3 ผ่านกระบวนการถา่ ยทอดโดยใชร้ ะบบนำ� องคก์ าร ส่งต่อผู้บรหิ ารทุกระดบั ตามทิศทางของแผนที่ทางยุทธศาสตร์ ท�ำให้จังหวัดหนองคายมีผลลพั ธ์ ทส่ี ง่ ผลอย่างเป็นรูปธรรม ดงั นี้ นวตั กรรมหินโงมโมเดล (ส่งเสรมิ การเกษตรย่งั ยนื ) เป็นโมเดล ในการบรหิ ารจัดการน�้ำเพื่อการเกษตร ในการแกไ้ ขปัญหาเกษตรกรไม่สามารถน�ำน�้ำต้นทุนจาก แมน่ ำ้� โขงมาใชป้ ระโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งเตม็ ศกั ยภาพ จงึ ไดร้ ว่ มกนั พฒั นาโดยผนั นำ�้ จากแมน่ ำ�้ โขงดว้ ยเครอ่ ื งสบู นำ�้ ดว้ ยไฟฟ้า ณ ตำ� หินโงม สง่ ไปตามคลองลำ� นำ้� เชอื่ มตอ่ คลองดนิ เกบ็ รักษาไวใ้ นทแี่ หลง่ นำ�้ ธรรมชาติ และพฒั นาระบบชลประทานในไร่นา โดยกอ่ สร้างคสู ง่ น้ำ� ครู ะบายนำ�้ ทางลำ� เลยี งในไร่นา ในพนื้ ท่ี การเกษตรท่ีห่างไกลแหล่งน�้ำชลประทาน ท�ำให้เกษตรกรน้�ำที่เพียงพอและครอบคลุมพ้ืนท่ี ท�ำการเกษตร โดยมีพ้ืนท่ีรับประโยชน์เพ่ิมข้ึน 22,482 ไร่ สามารถลดต้นทุน เพ่ิมผลผลิต และขยายพ้ืนท่ีเพาะปลูกได้มากขึ้น และยังได้มีการน�ำไปปรับใช้บรหิ ารจัดการน้�ำในพื้นท่ี ทไ่ี มต่ ดิ แมน่ ำ�้ โขงอนื่ ๆ ดว้ ย
125 195 หมวด 2 ดา้ นการวางแผนยุทธศาสตรแ์ ละการสอ่ื สารเพื่อน�ำ ไปสู่การปฏบิ ตั ิ ภาพที่ 3 การบรหิ ารจัดการน�้ำโดยหินโงมโมเดล นวตั กรรมการเลยี้ งปลานลิ ในกระชงั แมน่ ำ�้ โขง (ยกระดบั มาตรฐานการผลติ ) จากความไดเ้ ปรยี บ ของจังหวัดที่มีพื้นที่ติดแม่น้�ำโขง จึงได้ส่งเสรมิ การเล้ียงปลานิลในกระชังบรเิ วณรมิ ฝ่ ังแม่น�้ำโขง หรอื กระชงั นำ�้ แรก (จงั หวดั แรกของประเทศไทยทแ่ี มน่ ำ้� โขงไหลผา่ น) โดยมกี ารแลกเปลยี่ นความรู้ ระหว่างชาวประมงพื้นบ้านกับเจ้าหน้าที่รัฐ โดยค้นพบว่าความโดดเด่นของปลานิลที่เลี้ยง ในกระชงั แมน่ ำ้� โขงจะไมม่ กี ลน่ิ โคลน เหมอื นบอ่ เลยี้ งทวั่ ไป ไมค่ าว เนอ้ื แนน่ เพราะปลาไดอ้ อกกำ� ลงั กาย เนื่องจากว่ายในบรเิ วณท่ีแม่น�้ำโขงไหลผ่าน นับเป็นจุดขายท่ีประสบความส�ำเร็จ ติดตลาด มีผลผลิตมากกวา่ 18,000 ตนั ตอ่ ปี นอกจากนี้มีการตอ่ ยอดโดยการเพาะพันธ์ุ และการแปรรูป เชน่ ปลานลิ แดดเดยี ว ปลาเชยี ง ไสก้ รอกปลา เป็นสนิ คา้ OTOP
126 หมวด 2 ดา้ นการวางแผนยทุ ธศาสตรแ์ ละการสอ่ื สารเพอ่ื น�ำ ไปส่กู ารปฏบิ ัติ 196 ภาพที่ 4 ระบบกลอ้ งวงจรปิด จ.หนองคาย ระบบกลอ้ งวงจรปดิ เฝา้ ระวงั และรกั ษาความปลอดภยั (เสรมิ สรา้ งความมน่ั คงเพอื่ สงั คมสงบสขุ ) เพอ่ื สนบั สนนุ การเป็นเมอื ง “สะดวก สะอาด ปลอดภยั มนั่ ใจ นา่ อย”ู่ จึงไดด้ ำ� เนนิ การเชอื่ มโยง กลอ้ งวงจรปิด (CCTV) ทม่ี กี ารตดิ ต้ังในพนื้ ทจ่ี ังหวดั หนองคาย (ของสว่ นราชการ เอกชน อปท.) ในพ้ืนที่สาธารณะ ส่วนราชการ โรงเรยี น โรงแรม สถานประกอบการ ทุกอ�ำเภอ จำ� นวน 3,307 เคร่อื ง โดยเชอื่ มโยงไปยังศนู ยค์ วบคมุ และบญั ชาการเหตกุ ารณ์ ณ ตำ� รวจภธู ร จังหวัด และเชื่อมต่อไปยังศาลากลางจังหวัด ซึ่งเป็นศูนย์กลางในการบรหิ ารราชการ เพอ่ื อำ� นวยความสะดวก เฝา้ ระวงั และรกั ษาความปลอดภยั แกป่ ระชาชนและนกั ทอ่ งเทยี่ ว ตลอด 24 ชวั่ โมง จากการวางแผนยทุ ธศาสตร์ทมี่ าจากฐานขอ้ มลู ทค่ี รอบคลมุ มกี ารใชป้ ระโยชนจ์ ากขอ้ ไดเ้ ปรยี บ ทางยทุ ธศาสตรป์ ระกอบกบั ศกั ยภาพของจงั หวดั ในการเปน็ เมอื ง 3 ธรรม (ธรรมะ ธรรมชาติ วฒั นธรรม) เกษตร 3 แหลง่ (พชื เศรษฐกจิ สตั วเ์ ศรษฐกจิ สตั วน์ ำ้� เศรษฐกจิ ) จงึ นำ� ไปสกู่ ารกำ� หนดจดุ ยนื ทางยทุ ธศาสตร์ ในการสง่ เสรมิ การเกษตรยง่ั ยนื การทอ่ งเทยี่ ว และ การคา้ การลงทนุ ทำ� ใหจ้ งั หวดั หนองคาย มที ศิ ทางทชี่ ดั เจนในการพฒั นาไปสกู่ ารเปน็ เมอื งเกษตรอตุ สาหกรรมวฒั นธรรมรงุ่ เรอื ง เมอื งทอ่ งเทย่ี วลมุ่ นำ�้ โขง เพอื่ สร้างรายไดแ้ ละยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ขี นึ้ ใหก้ บั ประชาชนชาวหนองคาย
113127 หมวด 2 ด้านการวางแผนยทุ ธศาสตรแ์ ละการส่อื สารไปสกู่ ารปฏบิ ัติ จังหวัดขอนแก่น หมวด 2 ดา้ นการวางแผนยทุ ธศาสตรแ์ ละการส่อื สารเพือ่ นำ�ไปสูก่ ารปฏบิ ัติ การสรา้ งโอกาสจากสมรรถนะหลกั การวางจดุ ยนื ทางยทุ ธศาสตร์ และพฒั นา ใหเ้ กดิ ความไดเ้ ปรยี บ มกี ารจดั ทำ�แผนใหส้ อดคลอ้ งกนั มกี ารเชอ่ื มโยงกนั ระหวา่ งแผนในการพฒั นาตา่ ง ๆ โดยอาศยั ความรว่ มมอื จากทกุ ภาคสว่ น อยา่ งบรู ณาการ และความเขม้ แขง็ ของภาคใี นการพฒั นาจงั หวดั เพอ่ื ใหเ้ ปน็ เมอื ง Smart City ดว้ ยหลกั การประชารฐั วิสัยทัศน์ “ขอนแกน่ เมอื งนา่ อยู่ ศนู ยก์ ลางเชอ่ื มโยงการคา้ การลงทนุ และการบรกิ ารของกลมุ่ ประเทศ อนุภมู ิภาคล่มุ น้�ำ โขง” พันธกจิ 1. เสริมสรา้ งชุมชนให้เขม้ แข็ง คนในชุมชนมีความเป็นอย่ดู ้วยความผาสุก 2. พฒั นาใหเ้ ป็นเมอื งน่าอยู่อย่างยงั่ ยนื 3. พัฒนาขีดความสามารถสินค้าและบริการเพื่อยกระดับมาตรฐานสินค้าและบริการ ให้ตรงกับความต้องการของตลาด 4. พัฒนาศักยภาพจังหวัดให้เป็นศูนย์กลางของกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มน้ำ�โขง ค่านิยม PEACE “ยดึ มน่ั ในอดุ มการณ์ มงุ่ มน่ั ท�ำ งาน สมานสามคั คี มวี ถิ ชี วี ติ พอเพยี ง” (ยดึ มน่ั ในอดุ มการณ์ หมายถึง ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐ จังหวัดขอนแก่นจะต้องมีความมุงมั่น ทุ่มเท เสียสละ สมานสามคั คี บนพ้นื ฐานของความพอเพยี ง การปฏบิ ัติงาน ใชห้ ลักธรรมาภิบาล เพ่อื สรา้ งความ พึงพอใจให้กบั ผ้รู ับบรกิ ารและผูม้ สี ่วนได้สว่ นเสยี )
114128 หมวด 2 ด้านการวางแผนยุทธศาสตรแ์ ละการสือ่ สารไปสู่การปฏบิ ัติ จังหวดั ขอนแก่นเป็นจังหวัดขนาดใหญ่ แผนการพฒั นาจงั หวดั ขอนแกน่ ทค่ี รอบคลมุ ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ทจ่ี ดั วา่ เปน็ ศนู ยก์ ลาง ใน 6 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการค้า การลงทุน เช่ือมโยงสู่กลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มนำ้�โขง และบริการ 2) ด้านการคมนาคมขนส่ง และ แ ล ะ เ ชื่ อ ม โ ย ง สู่ ป ร ะ เ ท ศ ใ น ก ลุ่ ม ป ร ะ ช า ค ม โลจิสติกส์ 3) ด้านการแพทย์และสาธารณสุข อาเซียน หรือเป็นประตูเปิดสู่อินโดจีนและจีน 4) ด้านการศึกษา 5) ด้านการประชุมและ ตอนใต้ตามโครงการพัฒนาแนวพื้นที่เศรษฐกิจ การท่องเทีย่ ว และ 6) ด้านอุตสาหกรรมสีเขยี ว ตะวนั ออกตะวนั ตก (East – West Economic และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนที่เข้มแข็ง Corridor) อกี ทง้ั ยงั ถอื ไดว้ า่ เปน็ อกี หนง่ึ ศนู ยก์ ลาง นน่ั เอง ท�ำ ใหจ้ งั หวดั ขอนแกน่ มผี ลติ ภณั ฑม์ วลรวม เศรษฐกิจ ที่มีความเข้มแข็งและมีการเติบโต ของจังหวัดเป็นลำ�ดับที่ 1 ของภาคตะวันออก อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และยงั มคี วามพรอ้ มตอ่ การพฒั นา เฉยี งเหนือ และก้าวเข้าสคู่ วามเปน็ “ขอนแกน่ ทง้ั ทางดา้ นการศกึ ษา การทอ่ งเทย่ี ว การแพทย์ Smart City” อยา่ งเตม็ รปู แบบ โดยไดด้ �ำ เนนิ การ และระบบโลจสิ ตกิ ส์ ท้ังในระดบั ภาคและระดับ ตามยทุ ธศาสตรห์ ลกั 6 ยทุ ธศาสตร์ ประกอบดว้ ย ประเทศ บวกกับความพรอ้ มของทรัพยากรคน 1. การยกระดับการพัฒนาเศรษฐกิจและเพิ่ม เทคโนโลยี และการผลกั ดนั จากภาครัฐ ซง่ึ เปน็ ขดี ความสามารถทางการแขง่ ขนั 2. การพฒั นา ส่วนหนึ่งที่ขับเคลื่อนให้เมืองขอนแก่นก้าวไป คนและสังคมท่มี คี ณุ ภาพ 3. การบริหารจดั การ ข้างหน้า ท�ำ ให้นโยบายและยทุ ธศาสตรใ์ นการ ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมเพื่อ ขบั เคลอ่ื นจงั หวดั ขอนแกน่ ในยคุ Thailand 4.0 การพัฒนาย่ังยืน 4. การเสริมสร้างความม่ันคง มีความโดดเด่นและนา่ จับตามองเป็นอย่างย่ิง และความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน จากความท้าทายและความได้เปรียบ 5. การเพิ่มศักยภาพของจงั หวัดเพอ่ื เชือ่ มโยง ทางภูมิศาสตร์และความเข้มแข็งภายในและ โอกาสจากกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มน้ำ�โขง ความพร้อมของภาคส่วนต่าง ๆ ในการเข้ามา และ 6. การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร มีส่วนร่วมในการพัฒนา การสนับสนุนจาก จัดการภาครัฐ รัฐบาลในการขับเคลอื่ น ประกอบกับการรบั ฟัง ความคดิ เหน็ จากทกุ ภาค ทง้ั ภาคเอกชน สถาบนั อุดมศึกษา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การวิเคราะห์ศักยภาพของพื้นที่เพื่อกำ�หนด จุดยืนทางยุทธศาสตร์ที่ชัดเจน ก่อให้เกิด
115129 หมวด 2 ดา้ นการวางแผนยุทธศาสตร์และการส่ือสารไปสกู่ ารปฏิบัติ ศูนยก์ ลางแห่งอนุภมู ิภาคล่มุ นำ้ �โขง จังหวัดขอนแก่นใช้ประโยชน์จากความ การทอ่ งเทย่ี ว และเตรยี มความพรอ้ มในการพฒั นา ได้เปรียบทางภูมิศาสตร์มากำ�หนดจุดยืนทาง และยกระดับบุคลากรเพื่อสนับสนุนภารกิ จ ยทุ ธศาสตร์ (Positioning) ในการเป็น“เมอื ง ที่เกยี่ วข้องกับอตุ สาหกรรม MICE โดยจงั หวัด แหง่ ศนู ยก์ ลางเศรษฐกจิ และสงั คม ในกลมุ่ ประเทศ ขอนแก่นได้รับคัดเลือกให้เป็น MICE CITY อนุภูมิภาคลุ่มน้ำ�โขง” ที่ก่อให้เกิดการพัฒนา 1 ใน 5 แห่งของประเทศไทย พร้อมรับการเป็น ในหลากหลายมิติ โดยเร่ิมจากจดุ เดน่ ที่มีพฒั นา ศูนย์กลางการจัดประชุมและงานแสดงสินค้า จนกลายเป็นจุดแข็ง และจุดขายจนนำ�มาเป็น ระดับสากลรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ตวั ก�ำ หนดยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาจงั หวดั ทส่ี �ำ คญั ข อ ง อ า เ ซี ย น ซ่ึ ง ก า ร กำ � ห น ด จุ ด ยื น ท า ง ทง้ั ทางดา้ นการคมนาคมขนสง่ ทเ่ี ชอ่ื มโยงเพอ่ื การ ยุทธศาสตร์ท่ีนำ�มาพัฒนาต่อยอดตลอดวงจร เป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ การสร้างความเขม้ แข็ง ดังกลา่ ว จะชว่ ยตอบโจทยท์ ศิ ทางในการพัฒนา ของสถาบนั การศกึ ษา การพฒั นาทางดา้ นการแพทย์ และการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ตลอดจนด้านอุตสาหกรรม การท่องเที่ยว ของประเทศได้เป็นอย่างดี และยังพัฒนาภาค และการเกษตร ซง่ึ จากการพฒั นาเชงิ ยทุ ธศาสตร์ การเกษตรซึ่งเป็นพ้ืนฐานที่สำ�คัญเพื่อให้เกิด ที่กล่าวมาข้างต้นสามารถสอดรับการเติบโต การพฒั นาไปพรอ้ มกันอย่างม่นั คง ของกันและกันได้เป็นอย่างดี และถือเป็นการ ขยายโอกาสท่ีหลากหลายใหก้ ับภาคสว่ นตา่ ง ๆ และเป็นการสนบั สนุนการลงทุนที่สำ�คัญ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 จังหวดั ขอนแก่นมุ่งเน้นการพัฒนาในด้านเศรษฐกิจ ภาคการเกษตรและชนบทเป็นสำ�คัญ โดยให้ ความสำ�คัญกับการพัฒนาตามแนวทางปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง เนน้ การมสี ่วนร่วมจาก ทุกภาคส่วนในรูปแบบ “ประชารัฐ” มุ่งเน้นการ พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ใ น ร ะ ดั บ ฐานรากใหเ้ กดิ ความเขม้ แขง็ เพอ่ื ใหเ้ กดิ การพฒั นา ที่ “ยั่งยืน” และให้ความสำ�คัญในการพัฒนา ด้านการส่งเสริมด้านการค้าการลงทุน และ
116130 หมวด 2 ดา้ นการวางแผนยุทธศาสตรแ์ ละการส่อื สารไปสูก่ ารปฏิบัติ ขอนแกน่ Smart City จากการมสี ว่ นรว่ มของทกุ ภาคสว่ นทเ่ี ขม้ แขง็ มาสกู่ ารวเิ คราะหข์ อ้ มลู เพอ่ื ก�ำ หนดเปน็ วสิ ยั ทศั น์ ของจงั หวัดที่ว่า “ขอนแกน่ เมอื งนา่ อยู่ ศนู ยก์ ลางเชื่อมโยงการคา้ การลงทนุ และการบรกิ าร ของกลมุ่ ประเทศอนภุ มู ภิ าคลมุ่ น�ำ้ โขง” โดยมเี ปา้ หมายทช่ี ดั เจนในการพฒั นาจงั หวดั ขอนแกน่ ไปสู่ ขอนแก่น Smart City ซ่งึ ด�ำ เนินการครอบคลุมใน 6 มิติ คือ Smart People, Smart Living, Smart Economy, Smart Citizen, Smart Governance, Smart Mobility และ Smart Environment ขบั เคล่ือนการพัฒนาจังหวัดด้วยการบรู ณาการการทำ�งานรว่ มกนั ในรูปแบบ ประชารฐั มีกระบวนการวางแผนยทุ ธศาสตร์และกำ�หนดเป้าหมายอยา่ งชัดเจน เชือ่ มโยงวิสยั ทศั น์ และทิศทางของจังหวัดที่ส�ำ คญั ๆ 3 ระบบ คอื ระบบการบริหารจดั การองค์การ ระบบการให้บรกิ าร แก่ประชาชน ระบบการปรับปรุงผลการดำ�เนินงาน และมีสมรรถนะหลักในเรื่องการบูรณาการ การมสี ว่ นรว่ มกบั ทกุ ภาคสว่ นทง้ั ภายในและภายนอก และความเขม้ แขง็ ของภาคเี ครอื ขา่ ย ทง้ั สถาบนั การศึกษา องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น และมีภาคเอกชนมารว่ มลงทุนและขบั เคลอ่ื นการด�ำ เนินการ ในโครงการสำ�คัญ เช่น การจดั ใหม้ ีศนู ย์ KHONKAEN DIGITAL INFORMATION CENTER เพอ่ื บรหิ ารขอ้ มลู ขา่ วสารเพอ่ื การประชาสมั พนั ธด์ ว้ ยระบบ DIGITAL เพอ่ื สง่ เสรมิ ใหข้ อนแกน่ เปน็ เมอื ง MICE CITY และ SMART CITY โดยไดม้ กี ารสอ่ื สารผา่ นระบบออนแอร์ ออนไลน์ และออนกราวน์ เชน่ วทิ ยุ Application ทง้ั Facebook YouTube Twitter Line และ Line@ และจดั ท�ำ คลปิ สน้ั รวมทง้ั ภาพนง่ิ บรหิ ารประเดน็ ใหน้ า่ สนใจ สง่ ใหส้ อ่ื มวลชน ทง้ั วทิ ยุ โทรทศั น์ สอ่ื สง่ิ พมิ พน์ �ำ ไปเผยแพร่ อย่างกว้างขวางเพื่อให้ประชาชนหรือบุคคลท่ัวไปสามารถเข้าถึงข้อมูลและการดำ�เนินงานของ จงั หวัดไดอ้ ย่างใกล้ชดิ
111317 หมวด 2 ดา้ นการวางแผนยุทธศาสตร์และการสื่อสารไปสู่การปฏิบัติ ความสำ�เรจ็ แหง่ เมอื งอัจฉรยิ ะ จากการถ่ายทอดแผนพัฒนาจังหวัดและแผน ปฏบิ ตั ริ าชการประจ�ำ ปลี งสรู่ ะดบั หนว่ ยงาน โดยจดั ท�ำ ระบบ ถ่ายทอดเป้าหมายระดับจังหวัดสู่ระดับหน่วยงานและ ระดับบุคคล มกี ารติดตามและทบทวนผลการด�ำ เนนิ งาน ในด้านต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ โดยมีเป้าประสงค์เพื่อ ยกระดบั จงั หวดั ไปสกู่ ารเปน็ “มหานครขอนแกน่ ” ขบั เคลอ่ื น การดำ�เนินงานด้วยกลไกการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ในสังคม ท้งั ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสงั คม ในรูปแบบ “ประชารัฐ” โดยเป้าหมายสูงสุดในการ ดำ�เนินงาน คือการทำ�ให้ประชาชนชาวจังหวัดขอนแก่น มคี วาม “มน่ั คง” ปลอดภยั ในการด�ำ เนนิ ชวี ติ เศรษฐกจิ มกี าร เจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง ประชาชนมีรายได้เพิ่มขึ้น จากการประกอบอาชีพท่ีมาจากความรู้ และภูมปิ ัญญา รวมท้ังการใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมสร้างความ “มง่ั คง่ั ” ใหก้ บั ระบบเศรษฐกจิ ฐานรากโดยนอ้ มน�ำ แนวทาง ก ารพัฒ นาตาม หลักป ร ัชญาเศร ษฐกิ จพอเพียง เป็นกรอบแนวทางในการดำ�เนินงาน โดยการพัฒนา ในทุก ๆ ด้าน อยู่บนพื้นฐานของข้อมูลที่ผ่านการจัดทำ� อย่างเป็นระบบ การวเิ คราะหข์ อ้ มูลอย่างถกู ต้อง และ ผ่านการตัดสินใจอยา่ งมีส่วนรว่ ม เพื่อใหก้ ารพัฒนาเปน็ ไปอย่าง “ยั่งยืน” และในการพฒั นาก้าวตอ่ ไป จังหวัด ขอนแก่นมุ่งเน้นการนำ�นวัตกรรมและเทคโนโลยีเข้ามา เป็นแรงขับเคลื่อนการพัฒนา เพื่อให้ขอนแก่นเติบโต อยา่ งก้าวกระโดด เท่าทันต่อสถานการณท์ เ่ี ปล่ยี นแปลง ตลอดเวลา เพือ่ ก้าวสูก่ ารเปน็ “มหานครขอนแกน่ เมอื ง อจั ฉริยะ เพ่อื ความสขุ ของคนทัง้ มวล”
118132 หมวด 2 ดา้ นการวางแผนยทุ ธศาสตร์และการสื่อสารไปสกู่ ารปฏบิ ัติ และจากแผนพัฒนาจังหวัดและเป้าประสงค์ที่ชัดเจน พร้อมทั้งได้รับความร่วมมือจาก ทุกภาคส่วนนั้น การพัฒนาอย่างต่อเนื่องของจังหวัดขอนแก่นสะท้อนออกมาเป็นโครงการต่าง ๆ ตามแผนยุทธศาสตร์ใน 6 ด้านหลัก ได้แก่ โครงการก่อสร้างศูนย์แสดงและจำ�หน่ายสินค้า ขนาดใหญ่ โครงการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนอัจฉริยะ (City Bus) โครงการก่อสร้างระบบ ขนสง่ มวลชนรางเบา นวตั กรรมดา้ นสขุ ภาพ อาทิ ต�ำ บลจดั การสขุ ภาพ การพฒั นาเครอื ขา่ ยสขุ ภาพ อ�ำ เภอ (District Health system : DHS) โครงการสอดแทรกเนื้อหา MICE ในหลักสตู รของ มหาวิทยาลัยและวิทยาลัย ให้เป็นโรงเรียนไมซ์ในพื้นที่ (Mekong MICE Academy) โครงการเตรยี มพรอ้ มเยาวชนขอนแกน่ ไมซซ์ ติ แ้ี อมบาสเดอร์ โครงการเพม่ิ ศกั ยภาพดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว ของจงั หวดั ขอนแกน่ เพอ่ื ยกระดบั สเู่ มอื งทอ่ งเทย่ี วหลกั โครงการยกระดบั ผา้ ไหม ผลติ ภณั ฑจ์ ากไหม และ OTOP สสู่ ากล โครงการสง่ เสริมและพัฒนาอาชีพตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง โครงการ พัฒนาศักยภาพขา้ วครบวงจร โครงการพฒั นาศกั ยภาพอตุ สาหกรรมพชื อาหารและพชื พลงั งาน ทดแทน ปี 2560 ฯลฯ โดยเปา้ หมายส�ำ คญั สงู สดุ ในการพฒั นาจงั หวดั ขอนแกน่ เพอ่ื ชว่ ยขบั เคลอ่ื น การพัฒนาประเทศตอ่ ไปนนั่ เอง
133
134
135 213 หมวด 3 ด้านการมงุ่ เนน้ ผู้รบั บริการและผูม้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสีย จงั หวัดสกลนคร หมวด 3 ดา้ นการมงุ่ เน้นผู้รบั บรกิ ารและผู้มสี ่วนไดส้ ่วนเสีย วสิ ัยทัศน์ เปน็ แหลง่ เกษตรปลอดภยั กา้ วไกลการคา้ การลงทนุ พฒั นาการทอ่ งเทย่ี ว สอู่ นภุ มู ภิ าค ลมุ่ แมน่ ำ้� โขง พั นธกจิ 1. บริห าร ยุท ธศาส ตร์ จั งห วัดสกลน คร สู่การ พัฒน าอ ย่ า ง ย่ั ง ยืน ต ามปรั ชญ า ของเศรษฐกจิ พอเพียง 2. ประสานงาน ส่งเสรมิ สนับสนุน และเสรมิ สร้ างความร่ วมมือทุกภาคส่วน ในจงั หวดั สกลนคร อยา่ งบรู ณาการสกู่ ารพฒั นาอย่างย่งั ยนื 3. กำ� กับตรวจสอบและควบคมุ การบรหิ ารราชการจังหวัดสกลนครตามหลักการบรหิ าร กจิ การบา้ นเมอื งทด่ี ี ค่านิยม อยสู่ กล รักสกล ทำ� เพอ่ื สกลนคร
136 หมวด 3 ดา้ นการมุง่ เน้นผ้รู บั บริการและผู้มสี ่วนได้สว่ นเสีย 214 จั งห วัดสกลนครให้ความส�ำคัญ ท่ีเป็นเลิศครบวงจร และสร้างความเชื่อม่ัน กบั ผรู้ ับบรกิ ารและผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ในปจั จบุ นั ในการบรกิ าร รวมท้ังการเพิ่มประสิทธิภาพ และอนาคต ครอบคลมุ ทกุ กลมุ่ ยดึ ประชาชน และประสิทธิผล ของระบบการปฏิบัติการ เป็นศนู ยก์ ลางของการพฒั นาอย่างมสี ว่ นร่วม เ พื่ อ ส่ ง ม อ บ ผ ล ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร บ ริก า ร โดยมกี ารวางแผน กำ� หนดกลยทุ ธ์ ในการใหบ้ รกิ าร ทสี่ รา้ งคณุ คา่ แกผ่ รู้ บั บรกิ ารและผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ประชาชน เพอื่ สรา้ งความผกู พนั และสรา้ งความสมั พนั ธ์ ตอบสนองและสร้างความพงึ พอใจอยา่ งยง่ั ยนื กบั ผรู้ ับบรกิ ารและผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ดว้ ยการ นำ� ไปสกู่ ารสง่ เสรมิ สนบั สนนุ และกำ� หนดยทุ ธศาสตร์ รับฟงั และเรยี นรูค้ วามตอ้ งการ ความคาดหวงั การพฒั นาของจงั หวดั สกลนคร เพอื่ บรรลวุ สิ ยั ทศั น์ ของผรู้ ับบรกิ ารและผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ใชร้ ะบบ ของจังหวัด “เป็นแหล่งเกษตรปลอดภัย สารสนเทศ กลไกการสอื่ สารตา่ ง ๆ ในการรวบรวม กา้ วไกลการคา้ การลงทนุ พฒั นาการทอ่ งเทย่ี ว แ ล ะน� ำสาร สน เทศขอ งผู้รั บบริการแ ล ะ สู่อนุภูมิภาคลุ่มแม่น�้ำโขง” ภายใต้ค่านิยม ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียไปสู่การพัฒนาปรับปรุง “อยสู่ กล รักสกล ทำ� เพอ่ื สกลนคร” เพอ่ื มงุ่ เนน้ ผลผลิตบรกิ าร และคน้ หาโอกาสในการสร้าง ป ร ะโ ย ช น์ สุ ข ใ ห้ เ กิ ด ขึ้ น กั บ ค น ส ก ล น ค ร นวตั กรรมการบรกิ าร เพอื่ ทจี่ ะสรา้ งระบบบรกิ าร (The happiness of Sakonnakhon)
137 215 หมวด 3 ดา้ นการมุง่ เนน้ ผู้รบั บรกิ ารและผ้มู สี ่วนไดส้ ่วนเสีย From Best Process to best service ด้วยกระบวนการท�ำงานอันโดดเด่นของจังหวัดสกลนคร น�ำไปสู่การออกแบบ ผลผลิตบรกิ าร ส่งมอบแก่ผู้รั บบรกิ ารและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ครอบคลุมทุกกลุ่ม ด้วยการออกแบบ จัดการ และการปรับปรุงผลผลิต การบรกิ ารและกระบวนการท�ำงาน ปรั บปรุงประสิทธิผลของระบบปฏิบัติการ รวมถึงการวเิ คราะห์ผลการด�ำเนินการ และการจัดการเรยี นรู้อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สอดรับต่อการเปล่ียนแปลง มุ่งสู่การขับเคล่ือน ด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม ภายใต้กลไกประชารัฐจังหวัดสกลนคร โดยมเี ปา้ หมายเพอ่ื ตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการ ความคาดหวงั ของผรู้ บั บรกิ ารและผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี สร้างและส่งมอบคุณค่าของผลผลิตและบรกิ ารท่ีดีแก่ผู้รับบรกิ ารและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย อย่างมีประสทิ ธิภาพ โดยมีผลผลิตและบรกิ ารทโ่ี ดดเดน่ ได้แก่ โครงการบรู ณาการป้องกนั และลดอุบัติเหตุทางถนน, การบรหิ ารจัดการน�้ำแบบมีส่วนร่วมและการป้องกันแก้ไข ปัญหาอทุ กภยั การปอ้ งกนั แกไ้ ขปัญหาภยั แลง้ , โครงการเมอื งสมนุ ไพร “สกลนครมหานคร แห่งพฤกษเวช” บนฐานรากประชารัฐ และ โครงการสกลนครเมืองแห่งครามธรรมชาติ ระบบการก�ำกับดูแลองค์การที่ดี สผ.
138 หมวด 3 ด้านการมุ่งเนน้ ผรู้ ับบรกิ ารและผู้มีสว่ นได้ส่วนเสีย 216 “เขา้ ใจ เขา้ ถึง ผูร้ ับบรกิ ารและผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสีย สู่การพัฒนาเพื่อยกระดบั การใหบ้ ริการอยา่ งยงั่ ยนื ” Sakonnakhon Sensor Model ก า รค้ น ห า แ ล ะ ก า ร ใ ช้ ป ร ะโ ย ช น์ การกำ� หนดกลมุ่ ผรู้ บั บรกิ ารและผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี จากสารสนเทศของผรู้ บั บรกิ ารและผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี พัฒนาช่องทางการส่ือสาร การด�ำเนินการ ของ จงั หวดั สกลนคร ดำ� เนนิ การกำ� หนดวธิ กี าร สร้างความผูกพัน ติดตามและประเมินผล ในการรบั ฟงั และเรยี นรู้ ความตอ้ งการ ความคาดหวงั การดำ� เนนิ การ เพอ่ื ยกระดบั การใหบ้ รกิ ารการพฒั นา ขอ ง ผู้รั บบริการแ ล ะผู้มี ส่วนไ ด้ส่วน เ สี ย การบรกิ ารทต่ี อบสนองความตอ้ งการ ความคาดหวงั มีช่องทางการติดต่อส่ือสารกับผู้รับบรกิ าร ขอ ง ผู้รั บบริการแ ล ะผู้มี ส่วนไ ด้ส่วน เ สี ย และผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ผา่ นวธิ กี ารทห่ี ลากหลาย ทงั้ ในปจั จบุ นั และในอนาคต โดยมกี ารใชข้ อ้ มลู ในการคน้ หาและรวบรวมขอ้ มลู และสารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ในรูปแบบต่าง ๆ ผรู้ ับบรกิ ารและผมู้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสีย น�ำมาเป็น ทงั้ การดำ� เนนิ การเชงิ รุก และเชงิ รับ ฐานข้อมูลสู่การวางแผน ก�ำหนดกลยุทธ์
139 217 หมวด 3 ด้านการมุง่ เน้นผรู้ ับบริการและผมู้ ีส่วนได้สว่ นเสีย การใช้ประโยชน์สารสนเทศของ หรอื การแจง้ ความตอ้ งการในการแกไ้ ขปญั หา ผู้ รั บ บ ริก า ร แ ล ะ ผู้ มี ส่ ว น ไ ด้ ส่ ว น เ สี ย ความเดอื ดร้อน ดา้ นอำ� นวย ความปลอดภยั ของจังห วัดสกลนคร น�ำไปสู่การสร้ าง และจราจร หรอื ความเสี่ยงด้านต่าง ๆ น วั ต ก ร ร ม บ ริก า ร ที่ มี ค ว า ม โ ด ด เ ด่ น จนพัฒนาสู่ นวัตกรรม “Sakonnakhon เป็นนวัตกรรมต้นแบบ จากการด�ำเนินการ Sensor Model” ซง่ึ มีหลักปฏบิ ัติที่ส�ำคัญ “โครงการบรู ณาการป้องกนั และลดอบุ ตั เิ หตุ คอื ใหอ้ าสาสมคั รประจำ� หมบู่ า้ น (อสม.) สำ� รวจ ทางถนน” ของศนู ยอ์ ำ� นวยการความปลอดภยั ความเสยี่ งอบุ ตั เิ หตทุ างถนน ไดแ้ ก่ คนเสยี่ ง ทางถนนจังหวัดสกลนคร ได้ใช้ประโยชน์ รถเสย่ี ง ถนนหรอื สง่ิ แวดลอ้ มเสย่ี ง แบง่ ระดบั จากสารสนเทศ เพอื่ สอ่ื สารขอ้ มลู คนื กลบั ขอ้ มลู ความรุนแรง ความเสี่ยงและรายงานข้อมูล แ ก่ ผู้ รั บ บ ริก า ร แ ล ะ ผู้ มี ส่ ว น ไ ด้ ส่ ว น เ สี ย ต่ อ ผู้ รั บ ผิ ด ช อ บ ผ่ า น ร ะ บ บ ส า ร ส น เท ศ โดยการ รายงานสถานการณ์ แจ้งจุดเสี่ยง ร่ ว ม กั บ ภ า คี เ ค รื อ ข่ า ย ทุ ก ภ า ค ส่ ว น การเกดิ อบุ ตเิ หตุ สญั ญาณจราจร แจง้ อบุ ตั เิ หตุ ซง่ึ จากการดำ� เนนิ งานโดยใช้ Sakonnakhon นโยบายผบู้ รหิ าร สรู่ ะดบั อำ� เภอ ทอ้ งถนิ่ ชมุ ชน Sensor Model มาใช้ในพื้นที่ ท�ำให้สถิติ ภาคเี ครอื ขา่ ย มลู นธิ ิ กภู้ ยั กชู้ พี โดยใช้ ชอ่ งทาง ผู้ เ สี ย ชี ว ิต จ า ก อุ บั ติ เห ตุ ท า ง ถ น น ล ด ล ง Line Facebook VDO conference รวมทง้ั ทำ� ใหน้ ำ� ไปสกู่ ารขยายผลในระดบั ประเทศตอ่ ไป รับทราบปัญหา ข้อร้องเรยี นขอประชาชน
140 หมวด 3 ด้านการมุง่ เน้นผู้รบั บรกิ ารและผูม้ สี ่วนไดส้ ว่ นเสีย 218 “สืบสาน รกั ษา ต่อยอด ผลผลติ และบรกิ าร ท่มี ุ่งเนน้ ผลสัมฤทธ์ิ จากการมงุ่ ม่นั พัฒนาอยา่ งต่อเน่อื ง” โครงการสกลนครเมืองแห่งครามธรรมชาติ จงั หวดั สกลนครไดม้ กี ารใชภ้ มู ปิ ญั ญาชาวบา้ นแปรเปลย่ี นเป็นขมุ ทรัพยท์ างธรรมชาติ ใหเ้ ปน็ ผลติ ภณั ฑท์ ม่ี อี ตั ลกั ษณเ์ ฉพาะตวั จนไดร้ ับการรับรองใหเ้ ป็นสนิ คา้ GI (Geographical Indication) โดยหน่ึงในการพัฒนาผลผลิตและการให้บรกิ ารที่ตอบสนองความต้องการ ทำ� ใหเ้ หนอื ความคาดหวงั ทงั้ ในปัจจบุ นั และอนาคตทมี่ คี วามโดดเดน่ ไดแ้ ก่ โครงการสกลนคร เมืองแห่งครามธรรมชาติ การขับเคลื่อนกิจกรรมการส่งเ สริมแ ละพัฒนาสินค้า ผา้ ครามยอ้ มสธี รรมชาตจิ งั หวดั สกลนคร โดยใชแ้ นวทาง “สานพลงั ประชารฐั ” เปน็ ตวั การขบั เคลอื่ น ให้การด�ำเนินงานบรรลุเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้ังการมีส่วนร่วม ของทกุ ภาคสว่ น ทง้ั ภาครฐั ภาคเอกชน ภาคประชาชน สถาบนั การศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ในเขตพนื้ ท่ี ท่ีเก่ียวข้องในจังหวัดสกลนคร โดยได้ด�ำเนินการพัฒนาองค์ความรู้ด้านการตลาด เนน้ นวตั กรรม (Innovation) เป็นตวั ขบั เคลอ่ื นเพอ่ื ใหส้ ามารถปรับเปลยี่ นและพฒั นาสนิ คา้ ใหท้ นั กบั การเปลย่ี นแปลงรสนยิ ม (Trend) ของผบู้ รโิ ภคในยคุ ปจั จบุ นั ทเ่ี ปลย่ี นไปอยา่ งรวดเร็ว
141 219 หมวด 3 ดา้ นการมงุ่ เน้นผรู้ ับบรกิ ารและผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสีย การเพม่ิ ขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของผปู้ ระกอบการ Start Up ผผู้ ลติ ผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน เพอื่ เพม่ิ ความได้เปรยี บดา้ นการแข่งขัน (Comparative Advantage) การพัฒนาสนิ คา้ และนวตั กรรม เพอ่ื เพม่ิ มลู คา่ สนิ คา้ สร้างภมู ปิ ัญญาและแนวคดิ สร้างสรรค์ ใหค้ วามสำ� คญั ดา้ นทรัพยส์ นิ ทางปญั ญา การสร้าง Digital Marketing และการใชส้ อื่ การตลาดออนไลน์ เพื่อให้สอดรับกับนโยบายรัฐบาล พัฒนารู ปแบบดีไซน์สินค้าให้มีความหลากหลาย และเป็นท่ีต้องการของตลาด และการพัฒนาส่งเสรมิ ด้านการตลาด ด�ำเนินธุรกิจ มีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วและต่อเน่ือง การเปล่ียนช่องทางการค้าจากหน้าร้าน มาเปน็ E-commerce สามารถเพม่ิ ชอ่ งทางตลาดทงั้ ในและตา่ งประเทศไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ เพ่ิมการค้าการลงทุนในจังหวัด ท�ำให้จังหวัดสกลนคร ได้รั บการประกาศให้เป็น “เมอื งแหง่ ผา้ ยอ้ มครามและสธี รรมชาต”ิ ของสภาหตั ถกรรมโลกภาคพน้ื แปซฟิ ิก WCC PAR (World Craft Council Pacific Region) “WCC Indigo Natural Dye City” ซึ่งเป็นจังหวัดแรกของประเทศไทย และเป็นหนึ่งในประเทศภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ทไี่ ดร้ ับการรับรองเสมอื น “แบรนด“์ ทไี่ ดก้ ารรับรองในระดบั โลก เมอื่ วนั ที่ 27 ธนั วาคม 2560
142 หมวด 3 ดา้ นการมุ่งเน้นผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 220 “ร้จู ัก มกั คุน้ อุ่นใจ ไปด้วยกนั เครอื ขา่ ยความร่วมมอื พั ฒนาสู่ความผูกพั น” ด้วยแนวทาง “สานพลังประชารัฐ” ในพ้ืนที่ 18 อ�ำเภอ ของจังหวัดสกลนคร เป็นตัวการขับเคล่ือน น�ำไปสู่นวัตกรรม จำ� นวน 112 ฝาย สามารถกกั เกบ็ นำ�้ ไวใ้ ชใ้ นฤดแู ลง้ ทโี่ ดดเดน่ ทส่ี นบั สนนุ สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การรวมกลมุ่ โดยฝายมีชีวติ เป็นกระบวนการสร้างการรับรู้ สร้างกลไกในองคก์ ร เพอ่ื รองรับการขบั เคลอ่ื น ของคนในชมุ ชนใหล้ กุ ขน้ึ มาเรยี นรขู้ อ้ มลู นำ�้ ของชมุ ชน ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ข อ ง ภ า ค ป ร ะ ช า ช น โดยชมุ ชนมสี ว่ นรว่ มในการใหข้ อ้ มลู ตดั สนิ ใจ วางแผน ไปสู่การปฏิบัติ โดยการให้ทุกภาคส่วน และลงมอื ปฏบิ ตั ิ ทำ� ให้เกดิ การร่วมแรงร่วมใจ ทุ ก ห น่ ว ย ง า น ทุ ก อ ง ค์ ก ร ที่ เ ก่ี ย ว ข้ อ ง ของคนในชมุ ชนทม่ี ารว่ มกนั สรา้ งฝาย เกดิ ความรกั มกี ารคน้ หาพฒั นา Best practice ใหเ้ปน็ ตน้ แบบ ความสามคั คี ชมุ ชนสามารถบรหิ ารจดั การนำ�้ ไดเ้ อง และเป็นหัวหอกเครอื ข่าย ภายใต้แนวคิด อกี ทง้ั มแี ผนการจดั การอยา่ งเปน็ ระบบอยา่ งยงั่ ยนื “รู้จกั มกั คนุ้ อนุ่ ใจ ไปดว้ ยกนั ” ผา่ นการจดั การ ด้วยการเชื่อมโยงสร้างเครอื ข่ายฝายมีชีวติ ค ว า ม สั ม พั น ธ์ เพ่ื อ ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม ผู ก พั น แตล่ ะพ้ืนท่ี กบั สว่ นราชการ เพื่อแลกเปลี่ยน ขอ ง ผู้รั บบริการแ ล ะผู้มี ส่วนไ ด้ส่วน เ สี ย ข้อมูลปรึกษาปัญห า โดยผ่านช่องทาง จังหวัดสกลนคร ที่มีความโดดเด่น ได้แก่ ของระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ นบั เปน็ การบรู ณาการ โครงการ “ฝายมชี วี ติ ตามรอยบาทศาสตรพ์ ระราชา ความร่วมมือกัน จนท�ำให้เกิดผลส�ำเร็จอย่าง จังหวัดสกลนคร ด�ำเนินการสร้างฝายมีชีวติ เป็นรูปธรรมอยา่ งแทจ้ รงิ โครงการสกลนครเมืองแห่งครามธรรมชาติ
143 221 หมวด 3 ดา้ นการมงุ่ เน้นผ้รู บั บริการและผ้มู สี ่วนไดส้ ่วนเสยี “ส่งมอบความเชือ่ มั่น เสรมิ สรา้ งความพึงพอใจ ส่งตอ่ ความสุขใจ” โครงการเมืองสมุนไพร “สกลนครมหานครแห่งพฤกษเวช” โครงการเมืองสมุนไพร “สกลนคร ซึ่งจากการด�ำเนินการท�ำให้เกิดนวัตกรรม มหานครแหง่ พฤกษเวช” บนฐานรากประชารฐั บรกิ ารทีโ่ ดดเด่นและส่งมอบให้ผู้รับบรกิ าร จงั หวดั สกลนคร “สง่ เสรมิ ใหค้ นสกลนครมี ใช้ และผลลพั ธท์ โ่ี ดดเดน่ เชน่ การจดั ทำ� เวบ็ ไซด์ และจ�ำหน่ายสมุนไพรในการดูแลสุขภาพ” เมอื งสมนุ ไพร สามารถดแู ปลงปลกู สมนุ ไพร ส ร้ า ง แน ว คิ ด เ มื อ ง ส มุ น ไพ ร ส ก ล น ค ร ด้วยระบบ AR VR ได้ 360 องศา โดยการใชส้ มนุ ไพรเปน็ ปจั จยั 4 ในการดำ� เนนิ ชวี ติ จดั ทำ� แอพพลเิ คชนั่ ทสี่ ามารถซอ้ื ขายสมนุ ไพร จนกอ่ เกดิ เป็นรายได้ และปลกู ฝังองคค์ วามรู้ ออนไลน์ การจัดท�ำหลักสูตร E-BOOK และพัฒนาอย่างย่ังยืน มีการขับเคล่ือน ส มุ น ไ พ ร ใ น โ ร ง เ รีย น ถ่ า ย ท อ ด ใ ห้ ค รู แบบครบวงจร ตอบสนองตอ่ กลมุ่ ผรู้ ับบรกิ าร และเยาวชนมคี วามรู้ เขา้ ใจ เกีย่ วกบั สมนุ ไพร แ ล ะ ผู้ มี ส่ ว น ไ ด้ ส่ ว น เ สี ย ค ร อ บ ค ลุ ม ต้ั ง แ ต่ ในโรงเรยี นนำ� ร่อง มแี พทยแ์ ผนไทยครอบคลมุ ตน้ ทาง คอื ผปู้ ลกู สมนุ ไพร ไดแ้ ก่ กลมุ่ เกษตรกร หนว่ ยสถานบรกิ ารสาธารณสขุ มาก มสี ถานท่ี กลางทาง คอื ผผู้ ลติ สมนุ ไพร ไดแ้ ก่ ผปู้ ระกอบการ และระบบในการจดั จำ� หนา่ ยยาและผลติ ภณั ฑ์ กลมุ่ ผผู้ ลติ และแปรรูปสมนุ ไพร และปลายทาง สมุนไพร เกิดพ้ืนท่ีต้นแบบสถานบรกิ าร คอื ผใู้ ชส้ มนุ ไพร ไดแ้ ก่ ผปู้ ่วยและประชาชน สาธารณสขุ ตน้ แบบระดบั ประเทศ และทำ� ให้ ทกุ กลมุ่ วยั (นกั เรยี น วยั แรงงาน ผสู้ งู อาย)ุ ป ร ะ ช า ช น เ ข้ า ถึ ง บ ริก า ร ย า ส มุ น ไ พ ร ทำ� ใหเ้ กดิ การพฒั นาดา้ นตา่ ง ๆ ในสถานบรกิ ารภาครัฐ เป็นตน้
144 หมวด 3 ด้านการมุ่งเน้นผ้รู บั บรกิ ารและผูม้ ีสว่ นได้สว่ นเสยี 222 “สรา้ งความเปลี่ยนแปลง ขบั เคลอ่ื นสกลนครสู่อนาคต” การคาดการณ์ถึงความต้องการ ผปู้ ่วยทตี่ อ้ งการรับการรักษาดว้ ยพชื สมนุ ไพร และความคาดหวังของกลุ่มผู้รั บบรกิ าร จังหวัดสกลนครด�ำเนินการ “โครงการวจิ ัย แ ล ะ ผู้ มี ส่ ว น ไ ด้ ส่ ว น เ สี ย ใ น อ น า ค ต การใชก้ ญั ชาทางการแพทย์ จงั หวดั สกลนคร” จั ง ห วั ด ส กล น ครไ ด้ เ ตรียม คว าม พร้ อม เพื่ อก้า วไปสู่ “ส กลน ครเ มื อ ง สมุ นไพร ในการให้บรกิ ารที่สอดรับกับผู้รับบรกิ าร เมืองแห่งกัญชาทางการแพทย์แผนไทย” แ ล ะ ผู้ มี ส่ ว น ไ ด้ ส่ ว น เ สี ย ใ น อ น า ค ต จังหวัดสกลนคร ด�ำเนินการปลูกกัญชา ทง้ั ในประเทศและภมู ภิ าคอาเซยี น ทจี่ ะเข้ามา สายพนั ธพุ์ นื้ เมอื งปลกู กญั ชา เพอื่ ใหไ้ ดว้ ตั ถดุ บิ ใชบ้ รกิ ารเพม่ิ เตมิ ไดแ้ ก่ นกั ทอ่ งเทยี่ วทจี่ ะเขา้ มา คุ ณ ภ า พ ดี ส� ำ ห รั บ ใ ช้ ท� ำ ย า ส มุ น ไ พ ร บุ ค ล า ก ร ด้ า น ก า ร แ พ ท ย์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะถู ก ต้ อ ง ต าม ห ลั ก ส า ก ล เพ่ื อส่ งใ ห้ ผปู้ ่วยทต่ี อ้ งการรับการรักษาดว้ ยพชื สมนุ ไพร ห้องปฏิบัติการ เพ่ือการตรวจวเิ คราะห์ ผู้ ผ ลิ ต ผู้ ใ ช้ ใ น ต ล า ด สิ น ค้ า G I คุณภาพกัญชา ปฏิบัติการวจิ ัยต�ำรับยา ของจังหวัดสกลนคร ผู้ค้า ผู้ประกอบการ สมุนไพรที่มีส่วนผสมกัญชา และดำ� เนินการ นักลงทุนที่จะเข้ามาในอนาคต โดยเฉพาะ ผลติ ยาแผนไทยทม่ี กี ญั ชาปรุงผสม 16 ตำ� รับ ก ลุ่ ม ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ด้ า น ก า ร แ พ ท ย์ ส่งให้กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ และสาธารณสขุ บคุ ลากรดา้ นการแพทยแ์ ผนไทย ทางเลอื ก กระจายไปใหโ้ รงพยาบาลทวั่ ประเทศ
145 223 หมวด 3 ดา้ นการมุง่ เนน้ ผ้รู ับบริการและผมู้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี การขบั เคลือ่ นดา้ นการพัฒนาสินคา้ และนวตั กรรม การขับเคลื่อนด้านการพัฒนาสินค้าและนวัตกรรม KRAM Walking Street App เพ่ือเพิ่มมูลค่าสินค้าการสร้างความเชื่อม่ันและความพึงพอใจให้แก่ผู้รับบรกิ าร และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในอนาคต ไม่ว่าจะเป็นการยกระดับมาตรฐานผ้าไหมย้อมคราม โดยการทำ� QR Code ผา้ ไหมยอ้ มคราม เพอื่ สร้างความเชอื่ มน่ั ใหก้ บั ผบู้ รโิ ภคและเปน็ มาตรฐาน ให้แกผ่ ปู้ ระกอบการ รวมทงั้ การจดลขิ สทิ ธลิ์ ายผ้าไหมยอ้ มคราม 26 ลาย และประชาสมั พนั ธ์ ผา่ น Applications : KramSakonNakhon , GI SakonNakhon การสง่ เสรมิ กระบวนการผลติ ให้เป็นไปตามหลกั เกณฑค์ มู่ อื การขออนญุ าตใชต้ ราสญั ลกั ษณเ์ คร่อื งสง่ิ บง่ ชท้ี างภมู ศิ าสตร์ (GI) ตามมาตรฐานรับรองท่ีก�ำหนด รวมท้ัง มีการผลิตงานวจิ ัยเก่ียวกับผ้าคราม และได้จัดท�ำ สอ่ื ประชาสมั พนั ธ์ ผา่ นสอ่ื ประเภทตา่ ง ๆ เชน่ วทิ ยุ โทรทศั น์ แผน่ ป้าย แผน่ พบั ประชาสมั พนั ธ์ สอ่ื ออนไลน์ เพอื่ สร้างการรับรู้ และความมน่ั ใจตอ่ ผบู้ รโิ ภคและผรู้ ับบรกิ ารทงั้ ทางตรงและโดยออ้ ม
146 หมวด 3 ด้านการมุ่งเนน้ ผู้รบั บริการและผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสยี 224 ด้วยกระบวนการท�ำงานอันโดดเด่นของจังหวัดสกลนคร น�ำไปสู่การการออกแบบ จัดการและการปรับปรุงผลผลิต การบรกิ ารและกระบวนการท�ำงาน ปรับปรุงประสิทธิผล ของระบบปฏบิ ตั กิ าร รวมทง้ั การวเิ คราะหผ์ ลการดำ� เนนิ การ และการจดั การเรยี นรู้อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ให้สอดรับต่อการเปล่ียนแปลงมุ่งสู่การขับเคล่ือนด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม ภายใต้กลไกประชารัฐจังหวัดสกลนคร เพ่ือส่งมอบผลผลิตและบรกิ าร แก่ผู้รับบรกิ ารและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท่ีครอบคลุมทุกกลุ่มมุ่งเน้นประโยชน์สุขให้เกิดข้ึน กบั คนสกลนคร (The happiness of Sakonnakhon)
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169