47 หมวด 1 ด้านการน�ำ องคก์ ารและความรับผิดชอบต่อสงั คม 154 “นวตั กรรม เพ่ืออำ� นาจเจรญิ ยง่ั ยืน” จากแนวคิดของผู้บริหารจังหวัดและประชาชนที่มุ่งสร้ างให้เกิดความยั่งยืน ไดก้ ำ� หนดแนวทาง “การพัฒนาการเรยี นรู้ และสง่ เสรมิ การเกดิ นวตั กรรม” ทง้ั ในระดบั บคุ คล และในระดบั หนว่ ยงาน ดว้ ยการมสี ว่ นรว่ มเจา้ หนา้ ทรี่ ฐั บรษิ ทั ประชารฐั และชมุ ชน โดยผา่ นกจิ กรรม การแลกเปล่ียนองค์ความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง จนเกิดเป็นผลลัพธ์ ของโครงการสำ� คญั ทหี่ ลากหลาย เชน่ 1) ไถกลบตอซงั เป็นคลงั ป๋ยุ อนิ ทรยี ์ ผลผลติ คณุ ภาพดี สู่เมืองเกษตรอินทรยี ์อย่างยั่งยืน ซ่ึงเป็นนวัตกรรมที่ช่วยลดต้นทุนการผลิตให้แก่เกษตรกร ไดถ้ งึ 300 บาทตอ่ ไร่ 2) การสง่ เสรมิ วสิ าหกจิ ชมุ ชนผผู้ ลติ ผ้าขาวมา้ เพอื่ ยกระดบั การผลติ การแปรรูปสนิ คา้ ตลอดจนเพมิ่ ชอ่ งทางการตลาด ท�ำให้สมาชกิ มอี าชพี และรายไดท้ ่ีเพมิ่ ขนึ้ 3) โครงการอำ� นาจเจรญิ “3 ด:ี คนดี สขุ ภาพดี รายไดด้ ี 3 ปลอด: ปลอดขยะ ปลอดเหลา้ ปลอดภยั ” เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวติ สร้างความผาสุกให้ประชาชน และ 4) การพัฒนาช่องทาง การตลาดดจิ ทิ ลั (Digital Marketing) โดยดำ� เนนิ การแลกเปลยี่ นแนวคดิ กบั เกษตรกรผผู้ ลติ ขา้ ว และมีภาคเอกชนช่วยสนับสนุนการด�ำเนินงาน เพ่ือสร้างอัตลักษณ์ (Brand Identity) ของจงั หวดั อำ� นาจเจรญิ จนไดเ้ ป็นสญั ลกั ษณ์ “Love Farmer” และจดั ทำ� ชอ่ งทางการตลาด ทง้ั ออฟไลนแ์ ละออนไลน์ เชน่ ศนู ยแ์ สดงและจำ� หนา่ ยสนิ คา้ Love Farmer Center & Biz Shop Amnatcharoen และแอพลเิ คชน่ั Love Farmer เป็นตน้
48 155 หมวด 1 ดา้ นการน�ำ องคก์ ารและความรับผิดชอบตอ่ สงั คม
49 หมวด 1 ด้านการน�ำ องค์การและความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม 156 “ชุมชนเกษตรอนิ ทรยี ์ ” จากปัญหาของเกษตรกร ซึ่งเป็นกลุ่มประชาชนหลักของจังหวัดอ�ำนาจเจรญิ ในเรอ่ ื งตน้ ทนุ การผลติ สงู คณุ ภาพดนิ เสอื่ ม ผลผลติ นอ้ ย และไมไ่ ดม้ าตรฐาน จงั หวดั อำ� นาจเจรญิ บรู ณาการการทำ� งานร่วมกบั หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง ในการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ คดิ คน้ ทดลอง นำ� เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมมาวเิคราะหค์ ณุ สมบตั ขิ องชดุ ดนิ เพอ่ื หาความเหมาะสมกบั การปลกู พชื แตล่ ะชนดิ การปรับปรุงบำ� รุงดนิ ผลติ ปยุ๋ อนิ ทรยี ช์ วี ภาพทมี่ คี ณุ ภาพสงู สง่ ผลใหช้ มุ ชน สามารถแกไ้ ขปญั หา ใหเ้ หมาะสมกบั สภาพของทอ้ งถนิ่ และชมุ ชน ผลติ และแปรรูปสนิ คา้ เกษตรอนิ ทรยี ท์ ั้งข้าวหอมมะลิ และพืชอินทรยี ์หลังนาชนิดอื่น และที่ส�ำคัญชุมชนผลิตปุ๋ยอินทรยี ์ใช้เองอย่างต่อเนื่อง จนทำ� เปน็ วฒั นธรรมของชมุ ชน ไดร้ ับรางวลั ดเี ดน่ ดา้ นการผลติ ปยุ๋ อนิ ทรยี ์ ซงึ่ ผลจากการขบั เคลอ่ื น ทำ� ผลผลติ ทางการเกษตรไดม้ าตรฐาน เกษตรกรสามารถลดตน้ ทนุ การผลติ ได้ 300 บาท/ไร่ และเกษตรกรมรี ายไดเ้ พมิ่ ขนึ้ จากการขายขา้ วอนิ ทรยี ก์ โิ ลกรมั ละ 3 บาท ทำ� ใหช้ มุ ชนมเี งนิ ทนุ หมนุ เวยี น ในการขับเคลื่อนชุมชน จากความส�ำเร็จดังกล่าว จังหวัดได้ก�ำหนดแนวทางในการส่งเสรมิ ให้เกิดความย่ังยืน จากชุมชนต้นแบบขยายผลสู่ชุมชนใกล้เคียง สร้างเครอื ข่ายศูนย์เรยี นรู้ การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการผลติ สนิ คา้ เกษตร และศนู ยจ์ ดั การดนิ ป๋ยุ ชมุ ชนใหค้ รอบคลมุ ทกุ พนื้ ที่ เพื่อขับเคล่ือนจังหวัดอ�ำนาจเจรญิ สู่เมืองเกษตรอินทรยี ์อย่างยั่งยืน อันจะส่งผลต่อเนื่อง ใหภ้ าคการเกษตรมคี วามมน่ั คง มงั่ คง่ั และยงั่ ยนื
50 157 หมวด 1 ดา้ นการน�ำ องคก์ ารและความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม “อำ� นาจเจรญิ – เมือง 3 ดี 3 ปลอด” จากความมงุ่ มน่ั และความรว่ มมอื โดยมเี ปา้ หมายสำ� คญั คอื เมอื งปลอดขยะ ระหว่างผู้บรหิ ารจังหวัดและประชาชน : ก�ำจั ด แ ล ะแ ย ก ข ย ะใ น ครั ว เรือน ในพื้นท่ี ในการก้าวไปสู่เป้าหมาย ปรับปรุงสิ่งแวดลอ้ มในหมบู่ ้าน ชมุ ชน อ� ำ น า จ เ จ ริญ เ มื อ ง แห่ ง ค ว า ม สุ ข ท้องถนนให้สะอาดเรยี บร้อยสวยงาม (Amnatcharoen Happiness เมืองปลอดเหล้า : งานศพ งานบุญ Model) จงั หวดั อำ� นาจเจรญิ ไดก้ ำ� หนด งานบวช งานกฐิน ต้องปลอดเหล้า เป็นแนวทางในการขับเคลื่อนแนวทาง และการพนนั เมอื งปลอดภยั : ปอ้ งกนั ประชารัฐ เพ่ือร่วมกันแก้ไขปัญหา แ ละแก้ไขปัญห าจากการ บาดเจ็บ ในพน้ื ทที่ งั้ ในระดบั อำ� เภอ และระดบั ตำ� บล แ ล ะ เ สี ย ชี ว ิต จ า ก อุ บั ติ เห ตุ จ ร า จ ร ผ่านกิจกรรมต่าง ๆ ภายใตโ้ ครงการ ทางถนน ปลอดภยั ในชวี ติ และทรัพยส์ นิ “3 ดี: คนดี สุขภาพดี รายได้ดี” ปลอดภยั จากยาเสพตดิ และอาชญากรรม เม่ือปี พ.ศ. 2560 และขยายผลเพื่อ ทุกรูปแบบ ซ่ึงจากผลการด�ำเนินงาน ยกระดับคุณภาพชีวติ และความม่ันคง สาม ารถสร้ า งใ ห้ เ กิ ดห มู่ บ้ าน ต้ น แบ บ ในพื้นที่ ในโครงการ “3 ปลอด 3 ดี 3 ปลอด จำ� นวน 112 หมบู่ า้ น : ปลอดขยะ ปลอดเหล้า ปลอดภัย” จากจ�ำนวนหมู่บ้านท้ังหมด 607 ห มู่ บ้ า น ห รือ คิ ด เป็ น ร้ อ ย ล ะ 18
51 หมวด 1 ด้านการน�ำ องคก์ ารและความรับผิดชอบต่อสงั คม 158 “จงั หวดั อำ� นาจเจรญิ ขบั เคลอ่ื นและพฒั นาจงั หวดั ไปสกู่ ารเปน็ เมอื งธรรมเกษตร เขตพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง เส้นทางการค้าสู่อาเซียน ตามแนวพระราชด�ำริ ของการพฒั นาอยา่ ง “เขา้ ใจ เขา้ ถงึ พฒั นา” นำ� มาสกู่ ารคดิ หาแนวทางการแกไ้ ขปญั หา และพัฒนาร่วมกัน นอกจากนี้ การเห็นความส�ำคัญของการสร้างนวัตกรรม และประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยี เพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการ สร้างความเขม้ แขง็ และคณุ ภาพ ชีวติ ที่ดีข้ึนของประชาชน ชุมชน และจังหวัดอย่างย่ังยืน โดยมีผลลัพธ์ท่ีส�ำคัญ เชน่ เมอื ง 3 ดี 3 ปลอด วสิ าหกจิ ชมุ ชนผผู้ ลติ ผา้ ขาวมา้ และ Love Farmer”
4352 หมวด 1 ด้านการนำ�องค์การและความรับผิดชอบต่อสังคม จังหวัดยะลา หมวด 1 ดา้ นการนำ�องค์การและความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม การบริหารจัดการจังหวัดยะลาไดส้ ะทอ้ นให้เห็นถงึ ความร่วมแรงรว่ มใจ ของทุกภาคสว่ น ท่ีจะเปล่ยี นวกิ ฤตเปน็ โอกาสใชพ้ ลังดา้ นบวก ขับเคลอื่ นการพัฒนาโดยม่งุ สู่เป้าหมาย “Yala City of Happiness” และ “Yala Smart City” เปน็ การสรา้ งการรับรู้ การเข้าถงึ และความเชอื่ มัน่ กับประชาชน ภายใต้หลักการ 4 On วิสัยทัศน์ เกษตรทอ่ งเที่ยว ม่ังคง่ั ยั่งยืน คุณภาพชีวิตม่นั คง พันธกิจ 1) ส่งเสรมิ ให้ประชาชนมคี วามมน่ั คง ปลอดภยั ในชวี ติ และทรพั ยส์ นิ 2) เสรมิ สรา้ งการพฒั นาเศรษฐกจิ ฐานรากตามแนวทางปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งเพอ่ื ให้ ประชาชนมอี าชพี และรายไดม้ น่ั คง 3) เสริมสร้างการอำ�นวยความเป็นธรรม และส่งเสริมคุณธรรมของสังคม ตลอดจน การพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตประชาชน ดา้ นสุขภาพและสร้างภูมิคุ้มกันทางสงั คม 4) ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้มีความเข้มแข็ง 5) ประสาน สนบั สนนุ และเสรมิ สร้างความร่วมมือในการบรหิ ารจังหวัด การจัดจังหวดั แบบบรู ณาการกับทกุ ภาคสว่ น คา่ นยิ ม PEACE P : People การยดึ ประชาชนเปน็ ศนู ยก์ ลางในการปฏบิ ตั งิ าน E : Empathy การเหน็ อกเหน็ ใจเอ้อื อาทรต่อประชาชนและเพือ่ นร่วมงาน A : Acceptance การยอมรบั ในความหลากหลายและสามารถอยรู่ ว่ มกนั ไดอ้ ยา่ งสนั ติ C : Clean & Clear สะอาดและโปรง่ ใสทง้ั รา่ งกายและจติ ใจ เมอื งสะอาดสวยงาม ตลอดจนการปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความซ่ือสัตย์ สจุ รติ และตรวจสอบได้ E : Excellence การมุ่งสู่ความเป็นเลิศเน้นผลทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ
4453 หมวด 1 ดา้ นการนำ�องคก์ ารและความรับผิดชอบต่อสังคม จังหวัดยะลา เป็นจังหวัดที่อยู่ใต้สุด เหมาะสมแกก่ ารท�ำ การเกษตร มสี ถานทท่ี อ่ งเทย่ี ว ของประเทศไทย ภมู ปิ ระเทศโดยทว่ั ไปมลี กั ษณะ ที่มีความเป็นธรรมชาติ และความเข้มแข็ง เปน็ ภเู ขา เนนิ เขาและหบุ เขา มจี �ำ นวนประชากร ของหน่วยงานประจำ�จังหวัด องค์กรปกครอง ทั้งสิ้น 492,557 คน ตั้งแต่ปี 2547 จนถึง ส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชนและประชาชนที่มี ปัจจุบัน จังหวัดยะลาประสบกับเหตุการณ์ ความมุ่งม่ันและมีเป้าหมายเดียวกันท่ีต้องการ ความรนุ แรงมาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง สรา้ งความสญู เสยี เห็นคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของประชาชน ในชวี ติ ทรพั ยส์ นิ และสง่ ผลกระทบตอ่ จติ ใจของ ชาวจังหวัดยะลา ประชาชนและเจ้าหน้าท่ีของรัฐเป็นอย่างมาก เหตกุ ารณค์ วามรนุ แรงไดน้ �ำ ไปสรู่ ะดบั ความทกุ ข์ และความผาสุกของประชาชน ในทุกมิติ ได้แก่ คุณภาพการศึกษา สุขอนามัย ความยากจน การวา่ งงาน ผลผลติ และราคาสนิ คา้ ทางการเกษตร กลุ่มผู้ด้อยโอกาส ปัญหาด้านความมั่นคง ทเ่ี ปน็ ภยั คกุ คามตอ่ ชวี ติ และทรพั ยส์ นิ สง่ ผลกระทบ ต่อสภาพความเป็นอยู่และการดำ�เนินชีวิต ประจำ�วันของพี่น้องประชาชนจังหวัดยะลา อยา่ งทส่ี ดุ อยา่ งไรกต็ าม จงั หวดั ยะลายงั มโี อกาส ภายใตอ้ ปุ สรรคทเ่ี ผชญิ อยู่ ไดแ้ ก่ การเปน็ จงั หวดั ที่มีทรัพยากรธรรมชาติที่มีความอุดมสมบูรณ์
4554 หมวด 1 ดา้ นการนำ�องคก์ ารและความรับผิดชอบตอ่ สังคม 10 วาระสำ�คัญ พัฒนายะลาสเู่ มอื งแหง่ ความสุข จากสภาพปัญหาความไม่สงบของ บูรณาการการดำ�เนินงานของหน่วยงานภาครัฐ จังหวัดยะลา เป็นความท้าทายที่ทุกภาคส่วน องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เอกชน ประชาชน ทเ่ี กย่ี วขอ้ งของจงั หวดั ยะลา จะตอ้ งรว่ มมอื กนั เพอ่ื และพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการของ ก้าวผ่านความสูญเสียที่เกิดขึ้น จึงเป็นที่มาของ หน่วยงานภาครัฐ แปลงมาสู่ยุทธศาสตร์ การก�ำ หนดทศิ ทางการพัฒนาจงั หวดั เพ่ือจะคืน การพฒั นาจงั หวดั ภายใตว้ สิ ยั ทศั น์ “คณุ ภาพชวี ติ ความสขุ ใหก้ บั ประชาชนในพน้ื ท่ี สรา้ งความเชอ่ื มน่ั มั่นคง เกษตรมั่งคั่ง ท่องเที่ยวยั่งยืน” โดยได้ และศรัทธากลับคืนมา โดยภาคส่วนต่าง ๆ ปรับเปลี่ยน วิสัยทัศน์จากเดิม “ยะลาน่าอยู่ รว่ มกนั วเิ คราะหแ์ ละทบทวนแผนการพฒั นาจงั หวดั เชิดชูสันติสุข รุกทันอาเซียน” เป็น “เกษตร เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกบั สถานการณท์ เ่ี ปลย่ี นแปลงไป ท่องเที่ยว มั่งคั่งยั่งยืน คุณภาพชีวิตมั่นคง” ทางด้านสังคม เศรษฐกิจ เทคโนโลยี น้อมน�ำ และเพื่อให้การขับเคล่อื นการดำ�เนินงานเป็นไป ศาสตร์พระราชาและยุทธศาสตร์พระราชทาน ตามวิสัยทัศน์ดังกล่าวจังหวัดยะลาได้กำ�หนด “เขา้ ใจ เขา้ ถงึ พฒั นา” หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ วาระการพฒั นาจงั หวดั เปน็ 10 วาระ โดยมเี ปา้ หมาย พอเพียง แนวทางตามโครงการพระราชดำ�ริ เพื่อให้คนยะลามีอาชีพมั่นคง รายได้เพิ่มขึ้น แผนยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี แผนพฒั นาเศรษฐกจิ มสี ขุ ภาพท่ีดี มีความปลอดภัย มนี วัตกรรม และ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 นโยบายความมน่ั คง สามารถพัฒนายะลาเ ป ็ น เ ม ื อ ง แ ห ่ ง ค ว า ม ส ุ ข แห่งชาติ นโยบายที่สำ�คัญของรัฐบาล นโยบาย “Yala City of Happiness” และ “Yala ไทยนยิ มย่ังยนื การพฒั นาประเทศตามแนวทาง SMART CITY” ตอ่ ไปในอนาคต โดย 10 วาระ Thailand 4.0 และแผนแม่บทอื่น ๆ รวมทั้ง สำ�คญั ของจังหวัดยะลา มีรายละเอยี ด ดังภาพ นำ�หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และ เนน้ การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน การท�ำ งานเชงิ รกุ 10 วาระสำ�คญั ของจงั หวดั ยะลา
4655 หมวด 1 ดา้ นการนำ�องคก์ ารและความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม ส่ือสารมีคณุ ภาพ ผ่านช่องทางท่ีมปี ระสทิ ธิผล เพอ่ื ใหจ้ งั หวดั ยะลาไดเ้ ขา้ ถงึ ความตอ้ งการของประชาชนผรู้ บั บรกิ าร รวมทง้ั เปน็ การสอ่ื สาร การด�ำ เนนิ งานเพอ่ื ใหเ้ กดิ การรบั รู้ เขา้ ใจในทศิ ทางการพฒั นาจงั หวดั อยา่ งครอบคลมุ และเปน็ การสรา้ ง ความผกู พนั จงั หวดั ยะลาไดพ้ ฒั นา 4 ชอ่ งทางหลกั ในการสอ่ื สาร ไปยงั ผรู้ บั บรกิ ารผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี บุคลากร และเครอื ข่ายทส่ี �ำ คญั ได้แก่ On Air Online On Ground และ On Stage กลา่ วคอื On Air: รายการวทิ ยผุ วู้ า่ พบประชาชน อปมช. คยุ ขา่ ว ทกุ วนั ศกุ ร์ เวลา 09.05 -10.00 น. Online: การสื่อสารผ่านเว็ปไซต์ของจังหวัด (www.yala.go.th) มีสมาชิกจำ�นวน 117,964 คน การส่อื สารผ่าน Facebook มีสมาชกิ จ�ำ นวน 2,034 คน และ Line ผูบ้ รหิ าร จังหวดั ยะลา ซ่ึงปัจจบุ ันมี สมาชกิ 103 คน On Ground: การออกตรวจเยย่ี มและมอบนโยบายใหก้ บั อ�ำ เภอทกุ อ�ำ เภอ เพอ่ื ใหท้ ราบถงึ การตดั สินใจทีส่ ำ�คัญ และผลการด�ำ เนินงานของจังหวดั ในการขบั เคลื่อนนโยบาย กิจกรรมพบปะ ยามเชา้ ระหว่างผวู้ า่ ราชการจงั หวัดและผู้บริหารของหน่วยงานประจำ�จงั หวดั On Stage: การประชุมกรมการจงั หวัด การประชมุ ความมน่ั คง การประชมุ กำ�นนั และ ผู้ใหญ่บ้าน เป็นตน้ นอกจากน้ี ยงั จดั ท�ำ วารสารยะลาสนั ตสิ ขุ การจัดทำ�เอกสารข่าวของส่วนราชการ เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลงานของ จงั หวดั ยะลา รวมทง้ั ยงั จดั ใหม้ ชี อ่ งทางการรบั ฟงั ค ว ามคิด เห็นแ ล ะ ข้ อ ร้ อ ง เ รี ย น ผ่ า น ช่ อ ง ท า ง ศูนย์ดำ�รงธรรมจังหวัดยะลา ศูนย์อำ�นวย ความเป็นธรรมอ�ำ เภอ และหน่วยบริการจงั หวัด เคล่อื นทท่ี กุ เดือน ชอ่ งทางหลกั ในการสอ่ื สารของผบู้ รหิ าร
4756 หมวด 1 ด้านการนำ�องค์การและความรับผิดชอบตอ่ สังคม พลังประชารัฐพัฒนายะลาสู่เมอื งแหง่ ความสขุ การพฒั นาจงั หวดั ยะลาไปสคู่ วามส�ำ เรจ็ จดุ เดน่ ทส่ี �ำ คญั คอื การท�ำ งานรว่ มกนั ของภาคสว่ นตา่ ง ๆ อย่างจริงจัง ตั้งแต่การช่วยกันคิด ช่วยกันออกแบบ และผลักดันการดำ�เนินงานไปสู่ความสำ�เร็จ โดยจังหวัดยะลาได้ออกแบบการทำ�งานแบบมีส่วนร่วมกับภาคส่วนต่าง ๆ เปิดโอกาสให้องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน ภาคประชาชน เข้ามามีส่วนร่วมในการดำ�เนินงาน โดยมีผลงาน ที่มีความโดดเด่น เช่น City Street Art Yala เปน็ ตวั อยา่ ง ที่มีศิลปินชื่อดังแต่งแต้มสีสันและถ่ายทอด งานศิลปะบนฝาผนังตามอาคารบ้านเรือนให้ ของความรว่ มมอื ของภาคสว่ นตา่ ง ๆ ทจ่ี ะพลกิ ฟน้ื กลับมามีชวี ติ ชวี าอีกครงั้ ซง่ึ เปน็ ภาพสญั ลกั ษณ์ ยะลาสูเ่ มืองแหง่ ความสุข โดยเรมิ่ จากแนวคดิ ของจังหวัดและเรื่องราวความรักที่อบอุ่น จะท�ำ อยา่ งไรให้เมอื งยะลา ทเี่ งยี บเหงา ซึ่งเกิด ความหลากหลายทางวัฒนธรรม รวมถึง จากปัญหาความไม่สงบได้กลับมาคึกคักดังเดิม สญั ลกั ษณต์ า่ ง ๆ ทเ่ี กย่ี วกบั จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ จงึ ไดร้ ว่ มกนั สรา้ ง City Street Art Yala ภายใต้ ในรูปแบบ “YALA Bird City Street Art” แนวคดิ เสพศิลป์ ถน่ิ บนิ หลา เพอ่ื เปิดช่องทาง นบั วา่ เปน็ ภาพทสี่ รา้ งสีสนั ลดภาพความรุนแรง การตลาด กระตนุ้ เศรษฐกิจการค้า สรา้ งความ สร้างแลนดม์ ารค์ ใหมใ่ หก้ บั เมอื งยะลา สามารถ แขง็ แกร่ง ให้แกเ่ ศรษฐกิจในพืน้ ทีจ่ งั หวดั ยะลา ดึงดูดใจนักท่องเที่ยวได้เป็นอย่างดี และ ให้ได้รับการพัฒนาด้านการค้าอย่างเหมาะสม ก ล า ย เ ป ็ น กิ จ ก ร ร ม ส ำ � ค ั ญ ป ร ะ จ ำ � ป ี ข อ ง กับสภาพพื้นที่ และสอดคล้องกับอัตลักษณ์ จงั หวดั ยะลาในการสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วอกี ดว้ ย ของท้องถิ่น โดยมีหน่วยงานหลัก เจ้าภาพ ด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ สำ�นักงานพาณิชย์จังหวัด City Street Art Yala เทศบาลนครยะลา ภาคเอกชน กลมุ่ นกั ธุรกิจ Biz Club Yala กลุ่มนักธุรกิจรุ่นใหม่ หัวคิด กา้ วไกล Yes Tree รวมทง้ั ผนู้ �ำ ชมุ ชนและสมาชกิ ชุมชนถนนนวลสกุล ร่วมดำ�เนินการวางแผน และพัฒนาเมืองให้คึกคัก เจริญรุ่งเรืองอย่าง สร้างสรรค์และยั่งยืน ในการดำ�เนินการครั้งนี้ ได้รับความร่วมมือ จากกราฟฟิตี้ที่มีชื่อเสียง ระดบั โลก เชน่ นายพัชรพล แตงร่นื หรอื Alex face (BKK) ร่วมกับศิลปินอื่น ๆ มาเนรมิต ถนนนวลสกลุ ใหเ้ ปน็ ถนนศลิ ปะหรอื Street Art
4857 หมวด 1 ดา้ นการนำ�องคก์ ารและความรับผิดชอบต่อสังคม สรา้ งเมอื งยะลาสอู่ นาคตอยา่ งยง่ั ยนื การสรา้ งเมอื งยะลาเปน็ เมอื งอจั ฉรยิ ะ (Smart City) เปน็ แนวทางส�ำ คญั ทจ่ี ะพฒั นาจงั หวดั ยะลาตอ่ ไปในอนาคต ซง่ึ เปน็ แนวคดิ หนง่ึ ทพ่ี ยายาม “สรา้ ง” โอกาส ใหเ้ มอื ง และชว่ ย “แกไ้ ข” ปญั หาของจงั หวดั ยะลาภายใตค้ วามเชอ่ื วา่ ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยนี น้ั เป็นปัจจัยสำ�คัญที่จะนำ�จังหวัดไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน ซึ่งการพัฒนาสู่เมืองอัจฉริยะในครั้งนี้ เป็นการดำ�เนินการร่วมกันกับเทศบาลนครยะลา ซึ่งเปรียบเสมือนเจ้าของพื้นที่มาร่วมดำ�เนินการ อยา่ งจรงิ จงั โดยจงั หวดั ยะลาไดม้ อบนโยบายใหก้ บั เทศบาลนครในการทจ่ี ะพฒั นาเปน็ เมอื งอจั ฉรยิ ะ ในดา้ นพลงั งาน ความปลอดภัย การขนส่ง อาคารทอี่ ย่อู าศัย การเงนิ สาธารณปู โภค การสาธารณสุข และการศึกษา และใหเ้ ทศบาลนครเปน็ ผู้ก�ำ หนดแนวทางการพัฒนาในแต่ละเร่อื งตามความต้องการ ของพื้นที่ และจังหวัดยะลาเป็นพี่เลี้ยงในการให้คำ�ปรึกษาและสนับสนุนการดำ�เนินการ นอกจากนี้ยังมีภาคเอกชน ภาคประชาชน และสถาบันอุดมศึกษาเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา โดยมคี วามก้าวหน้าการด�ำ เนินการในแตล่ ะเรือ่ ง ดงั นี้ เทศบาลนครได้จัดทำ�บันทึกข้อตกลง เพอ่ื บนั ทกึ ประวตั กิ ารรกั ษาของบคุ คล ในขณะเดยี วกนั ความร่วมมือทางวชิ าการ (MOU) กับศูนย์วจิ ยั ยังเป็นเครื่องมือในการประมวลผลในเรื่อง นครอจั ฉรยิ ะ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้า การบรโิ ภค การออกกำ�ลังกาย และการใช้ชวี ติ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง จัดทำ�แผนแม่บท ประจ�ำ วัน เพ่ือใชเ้ ปน็ ข้อมลู สำ�หรบั การรณรงค์ ใ น ก า ร ศึ ก ษ า เ มื อ ง อั จ ฉ ริ ย ะ ท้ั ง ร ะ บ บ ใ น เ ข ต ดูแลรักษาสุขภาพได้อย่างถูกสาเหตุ เช่น เทศบาลนครยะลาในทกุ มติ ิ โดยการศกึ ษาเพอ่ื จดั ท�ำ โรคเบาหวาน โรคความดนั และโรคหวั ใจ เปน็ ตน้ Platform ในการรองรบั Application ทีจ่ ะ ซึ่งข้อมูลต่าง ๆ ในระบบจะถูกเชื่อมต่อเข้ากับ เข้ามาเชื่อมตอ่ ในอนาคต และเพือ่ แก้ไขปัญหา ข้อมูลของจงั หวัดยะลาเป็น Big Data เพื่อให้ เรื่องความไม่สงบได้ให้ประชาชนมีส่วนร่วม จงั หวดั เป็นหนว่ ยงานกลางรวบรวมขอ้ มูล และ ในการดูแลความปลอดภัยของจังหวัดยะลา น�ำ มาใช้ในการวางแผนและบรหิ ารจัดการ ท้ังน้ี โดยจัดทำ�โครงการ I-witness ให้ประชาชน ในการดำ�เนินการจังหวัดยะลาได้ร่วมมือกับ มาลงทะเบยี น และน�ำ กลอ้ งจาก Smart Phone บริษัท กสท โทรคมนาคม จำ�กัด (มหาชน) เป็น มาเช่ือมต่อกบั Application จงึ เปรยี บเสมือน ทป่ี รกึ ษาในการเชอ่ื มระบบของจงั หวดั ยะลา และ มกี ลอ้ งวงจรปดิ อยทู่ กุ ทท่ี กุ เวลา ตอ่ ไปจะสามารถ ให้การอบรมแก่เจ้าหน้าท่ีและประชาชนในพ้ืนท่ี ต่อยอดไปสู่ Smart Governance และ แทนการใหเ้ อกชนมาดำ�เนนิ การเองทัง้ หมด ให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้ตลอดเวลา สามารถแสดงความคิดเห็น ตลอดจนสามารถ การทำ�งานรว่ มกนั ระหวา่ งเทศบาล โหวตการลงประชามติในเรื่องราวต่าง ๆ ของ และจงั หวดั ในการพฒั นาเปน็ Yala SMART CITY เทศบาลนครยะลาได้ นอกจากนย้ี งั มกี ารออกแบบ และพฒั นา Application รว่ มกบั คณะแพทยศ์ าสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง ในการนำ�ข้อมูลทางการแพทย์ ส่วนบคุ คลเช่ือมตอ่ กับโรงพยาบาล และคลินิก
4958 หมวด 1 ด้านการนำ�องคก์ ารและความรับผดิ ชอบต่อสังคม คนยะลาไมท่ ง้ิ กนั จากปญั หาความไมส่ งบในพน้ื ทจ่ี งั หวดั ยะลา มีประชาชนชาวยะลาที่ได้รับผลกระทบกลายเป็นคนพิการเพ่ิมข้ึน ผู้พิการหลายรายยังไม่มีขาเทียมและต้องเดินทางไปรับบริการที่ โรงพยาบาลศนู ยย์ ะลา ผพู้ กิ ารขาขาดตอ้ งรอควิ นาน และเสยี คา่ ใชจ้ า่ ย ในการเดนิ ทาง นอกจากนเ้ี ดก็ พกิ ารบางคน ไมไ่ ดไ้ ปโรงเรยี น เสยี โอกาส ในการศึกษา จังหวัดยะลาจึงได้ร่วมกับโรงพยาบาลรามันจัดตั้ง โรงงานขาเทียมเพื่อบริการผู้พิการขาขาดให้สามารถเข้าถึง การบรกิ ารท�ำ ขาเทยี มไดอ้ ยา่ งสะดวก โดยใหบ้ รกิ ารแกผ่ พู้ กิ ารขาขาด ในพ้นื ท่ีอำ�เภอรามนั และพื้นทีใ่ กลเ้ คยี ง ปัจจุบัน มผี ู้พกิ ารขาขาด เข้ารับบรกิ ารแลว้ จ�ำ นวน 83 ราย ซึ่งท�ำ ให้ผพู้ กิ ารขาขาดสามารถ ดำ�รงชีวิตได้อย่างปกติ ประกอบอาชีพและมีรายได้ ส่งผลให้มี คณุ ภาพชวี ติ ดขี น้ึ และไดจ้ ดั ท�ำ โครงการชว่ ยนอ้ งพกิ าร จากบนั ไดบา้ น สู่ศูนย์การเรียนรู้ เพื่อหางบประมาณสนับสนุน จัดซื้อครุภัณฑ์ ยานพาหนะรถยนต์ จ�ำ นวน 8 คนั เพอ่ื อำ�นวยความสะดวก ในการ รับ–ส่ง เด็กพิการ จากบันไดบ้านสู่ศูนย์การเรียนรู้ประจำ�อำ�เภอ เป็นการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาแก่เด็กคนพิการให้ได้รับ การพัฒนาศักยภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพทั่วถึง อีกทั้งเป็น การแบง่ เบาภาระของผู้ปกครอง ทำ�ให้มีเวลาประกอบอาชีพได้ อย่างเต็มที่ โรงงานขาเทยี มพระราชทาน โรงพยาบาลรามนั
5059 หมวด 1 ดา้ นการนำ�องค์การและความรับผิดชอบต่อสังคม ความสำ�เร็จของการขับเคล่อื นจังหวัดยะลา ผลจากการขบั เคลอ่ื นองคก์ ารดว้ ยความมงุ่ มน่ั ตง้ั ใจของผบู้ รหิ ารจงั หวดั ยะลา และความรว่ มมอื ของทกุ ภาคสว่ น ท�ำ ใหผ้ ลการด�ำ เนนิ การของจงั หวดั ยะลาดขี น้ึ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดยในปี 2560 มมี ลู คา่ สินค้าเกษตรเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.25 ซึ่งเกิดจากการพัฒนาคุณภาพทุเรียนเป็นตลาดพรีเมี่ยม เพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกร การส่งเสริมการปลูกพืชร่วมในสวนยางพารา เป็นต้น รายได้จากการ ท่องเทย่ี วเพม่ิ ข้นึ รอ้ ยละ 25.58 จากการพฒั นาแหล่งทอ่ งเที่ยวท่มี ีศักยภาพ เช่น Amazing Batong City Street Art Yala เปน็ ตน้ และสถติ กิ ารก่อเหตุรา้ ยลดลงร้อยละ 25.58 และ ประชาชนชาวจังหวัดยะลา มีความสุขมวลรวม เท่ากบั 8.20 คะแนน (ผลการสำ�รวจจากข้อมลู จปฐ. คะแนนเต็ม 10) บรรลุตามเป้าหมาย “ประชาชนชาวยะลา อยดู่ ีมสี ขุ ”
5160 หมวด 1 ด้านการนำ�องคก์ ารและความรับผดิ ชอบต่อสังคม จังหวัดระนอง หมวด 1 ด้านการนำ�องค์การและความรับผดิ ชอบต่อสังคม การขบั เคลอ่ื นจงั หวดั ระนองไปสคู่ วามสำ�เรจ็ ตามเปา้ หมายและการวางภาพฉาย การพฒั นาจงั หวดั สอู่ นาคต เกดิ ขน้ึ จากการประสานความรว่ มมอื กนั ทกุ ภาคสว่ น ภายใตแ้ นวคดิ ทมี ระนอง ( Ranong Team ) ผนู้ ำ�การขบั เคลอ่ื นมวี สิ ยั ทศั น์ บรหิ ารงาน ยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล มกี ารประพฤตปิ ฏบิ ตั ทิ เ่ีปน็ ตวั อยา่ ง ภายใตก้ ารบรหิ ารงานแบบ 5 ต เปน็ กลไกสำ�คญั ในการผลกั ดนั ในการพฒั นาจงั หวดั ระนองไปสู่ “เมอื งทอ่ งเทย่ี วเชงิ สขุ ภาพ เมอื งนำ้ �แรต่ น้ แบบ” วสิ ัยทัศน์ เมืองท่องเที่ยวเชิงสุขภาพชั้นนำ� การเกษตรสร้างสรรค์ เมืองน่าอยู่ที่ประชาชน มีสุขภาวะที่ดี และประตูการค้าผ่านแดนฝั่งอันดามัน พันธกิจ มงุ่ เนน้ ในการพฒั นาสงั คมใหน้ า่ อยู่ เศรษฐกจิ เจรญิ เตบิ โตและกระจายรายไดท้ เ่ี ปน็ ธรรม โดยใช้ยุทธศาสตร์การพัฒนาการขนส่งสินค้าทางทะเลและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพเป็น ตัวขบั เคลือ่ นวสิ ัยทศั นข์ องจงั หวดั คา่ นิยม PEACE เมอื งคณุ ธรรม นอ้ มน�ำ ความพอเพยี งตามวถิ ปี ระชารฐั
5261 หมวด 1 ด้านการนำ�องค์การและความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม ระนอง จงั หวดั ชายแดนขนาดเลก็ ตง้ั อยู่ และทำ�ลายทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม ทางภาคใต้ตอนบนของประเทศไทย ลักษณะ ร ว ม ท้ั ง ก า ร เ ต รี ย ม ร อ ง รั บ ภั ย พิ บั ติ ท่ี เ กิ ด จ า ก ภูมิประเทศมีภูเขาโอบล้อมทางทิศตะวันออก ธรรมชาติ ซึ่งทั้งหมดถือเป็นความท้าทายใน ทิศตะวันตกติดกับทะเลอันดามันและสาธาณรัฐ การพัฒนาของจังหวัดระนอง ในทางกลับกัน แห่งสหภาพเมียนมาร์ ด้วยลักษณะทาง จังหวัดระนองเป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพและ ภูมศิ าสตรด์ ังกลา่ ว จงั หวัดระนองจงึ เป็นจังหวัด มีความพร้อมในการพัฒนา กล่าวคือ การมี ทเ่ี ดนิ ทางเขา้ ถงึ ไดย้ าก หรอื กลา่ วไดว้ า่ เปน็ จงั หวดั ทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์ โดดเด่นทั้ง ที่ต้องต้ังใจมา เสน้ ทางคมนาคมขนสง่ สายหลัก ธารน้ำ�แร่ธรรมชาติ พื้นที่ป่าอนุรักษ์ พื้นที่ และสายรองไดร้ บั การพฒั นาไม่มากนัก การเป็น ป่าชายเลน ซึ่งเป็นพื้นที่สงวนชีวมณฑลของโลก จงั หวดั ชายแดนทม่ี แี นวพรมแดนตดิ กบั สาธาณรฐั พื้นที่ชุ่มน้ำ�แรมซาร์ไซต์ (RAMSAR SITE) แห่งสหภาพเมียนมาร์ ทง้ั ทางทะเลและทางบก นอกจากน้ี จงั หวดั ระนองมจี ดุ ผา่ นแดนทง้ั ทางบก ทำ�ให้ต้องบริหารจัดการต่อแรงงานต่างด้าว และทางน้ำ�ติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน จึงเป็น หลบหนีเข้าเมือง ผลกระทบจากสภาพสังคม โอกาสในการพัฒนาเศรษฐกิจการค้าชายแดน และสง่ิ แวดลอ้ มทเ่ี ปลย่ี นแปลงไป ท�ำ ใหจ้ งั หวดั ระนอง อีกทั้งภูมิศาสตร์ทางทะเลยังสามารถเช่อื มโยง มีประเด็นที่ต้องให้ความสำ�คัญในการพัฒนา เศรษฐกิจ การค้าไปยังกลุ่มประเทศเอเชียใต้ อาทิ การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวหลักที่เริ่ม ที่สำ�คัญ คือ ความร่วมมือของทุกภาคส่วน เสอ่ื มโทรม การคน้ หาและสรา้ งแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วใหม่ ในจังหวัด ที่มีเป้าหมายเดียวกันในการพัฒนา การแก้ไขราคาผลผลิตทางการเกษตรตกต่ำ� จังหวัดระนองไปสู่ “เมืองท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การเตรียมรองรับการเปลี่ยนโครงสร้างสังคม เมืองน�ำ้ แรต่ ้นแบบ” ทก่ี �ำ ลงั เขา้ สสู่ งั คมผสู้ งู อายุ การเฝา้ ระวงั การบกุ รกุ ปา่
5362 หมวด 1 ดา้ นการนำ�องคก์ ารและความรับผิดชอบต่อสังคม สเู่ ปา้ หมายด้วยทีมระนอง (Ranong Team) โครงสร้างการบริหารงานของจังหวัด ศักยภาพหลักจากทุกภาคส่วนก้าวสู่วิสัยทัศน์ ภายใต้การบริหารจัดการและการกำ�กับดูแล และเปา้ หมายเดยี วกนั ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั และคณะ ของผู้วา่ ราชการจังหวัด ท้ังการบริหารจดั การ เป็นแกนกลางในการส่ือสารถ่ายทอดทิศทาง ราชการสว่ นภมู ภิ าค ราชการสว่ นกลางในภมู ภิ าค การพัฒนาจังหวัดไปยังทุกภาคสว่ นทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ราชการส่วนท้องถิ่น รวมถึงการสร้าง ขณะเดยี วกนั ภาคสว่ นตา่ ง ๆ สามารถสอ่ื สารขอ้ มลู ความรว่ มมอื กับภาคสว่ นอ่ืน ความแตกต่างใน ย้อนกลับสู่ผู้นำ�ได้อย่างเปิดกว้างในหลาย ภารกิจหนา้ ท่ี และเป้าหมายหลกั ของภาคสว่ น ช่องทาง เพื่อเสนอความต้องการ ข้อเสนอแนะ ตา่ ง ๆ ท�ำ ใหย้ ากตอ่ การก�ำ กบั ดูแลและบริหาร ในการพฒั นา รวมถงึ เขา้ มามีส่วนร่วมในการ จดั การเพอ่ื ขบั เคลอ่ื นไปสวู่ สิ ยั ทศั น์ และการพฒั นา ตรวจสอบ และพัฒนาจังหวัด นอกจากนี้ บนเปา้ หมายเดยี วกนั อยา่ งไรกต็ าม จงั หวดั ระนอง การที่ผู้นำ�ได้ยึดหลักธรรมภิบาลท้ังในการ สามารถขับเคลื่อนจังหวัดภายใต้การน�ำ องคก์ าร บริหารและการปฏิบัติ ให้ความสำ�คัญ อยา่ งเปน็ ระบบ เลง็ เหน็ โอกาสในการบรหิ ารงาน ต่ อ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร แ ล ะ ค ว า ม เ ดื อ น ร้ อ น ข อ ง และความศักยภาพที่หลากหลายของ ประชาชน ใหค้ วามส�ำ คญั ในการเขา้ ถงึ ประชาชน ทุกภาคส่วนในพื้นที่ ทั้งหน่วยงานราชการ ด้วยการลงพื้นที่ เพื่อรับทราบปัญหา องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ เอกชน สถาบนั วชิ าการ ความเดอื ดรอ้ น ความตอ้ งการ รบั ฟงั เสยี งสะทอ้ น ในพน้ื ท่ี และประชาชน ใช้จุดเด่นทางภูมิศาสตร์ ของประชาชนในพ้ืนที่ เพ่ือน�ำ ไปปรบั ปรงุ แกไ้ ข เศรษฐกจิ การคา้ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ และความพรอ้ ม ปญั หาอปุ สรรค น�ำ สกู่ ารพฒั นาและการยกระดบั ปรับเปลี่ยนเพื่อรองรับการพัฒนา ร่วมกัน การพฒั นาทง้ั ทางดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม สง่ิ แวดลอ้ ม กำ�หนดเป็นวิสัยทศั นข์ องจงั หวัด มกี ารสอ่ื สาร ไดอ้ ยา่ งเป็นระบบ ทำ�ความเข้าใจร่วมกันในการพัฒนาจังหวัด และประสานพลงั การขบั เคลอ่ื นโดยการมสี ว่ นรว่ ม ในการท�ำ งาน ภายใต้ “ทมี ระนอง (Ranong Team)” การให้ความสำ�คัญกับการทำ�งานเป็นทีม สร้างการมีส่วนร่วมกับเครือข่ายการพัฒนา ในพื้นที่ ขับเคลื่อนดำ�เนินการโดยผสาน
5463 หมวด 1 ดา้ นการนำ�องคก์ ารและความรับผิดชอบต่อสังคม โมเดลในการนำ�จงั หวดั ระนองภายใต้ “ทมี ระนอง”
5564 หมวด 1 ด้านการนำ�องคก์ ารและความรับผิดชอบต่อสังคม การลงพน้ื ทข่ี องผวู้ า่ ราชการจงั หวดั และคณะ ภายใตก้ ารบรหิ ารงานแบบ 5 ต “ทีมระนอง” สานพลังท่เี ข้มแข็ง รปู แบบของการขบั เคลอ่ื น “ทมี ระนอง” การขับเคลื่อนของรุ่นปู่ยายตายาย พ่อแม่ ซ่ึงเป็นปัจจัยแห่งความสำ�เร็จในการขับเคล่ือน สู่เยาวชนรุ่นต่อ ๆ อันจะทำ�ให้เกิดการสานต่อ การพัฒนา ประกอบดว้ ย การสร้างความเปน็ พฒั นาจังหวัดใหเ้ กิดความย่ังยนื ความสามัคคี ผู้นำ�ของทีมงาน สร้างจากรุ่นสู่รุ่น กล่าวคือ ของทมี ระนอง และการมสี ว่ นรว่ มของทกุ ภาคสว่ น การผลักดันเป้าหมายของจังหวัดระนองไปสู่ ใหค้ วามส�ำ คญั กบั ทมี งาน และผมู้ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ ง การเปน็ “เมอื งทอ่ งเทย่ี วเชงิ สขุ ภาพ เมอื งน�ำ้ แร่ ในทุกมิติ ทุกระดับ สานพลังภาคีเครือข่าย ตน้ แบบ” นน้ั ไมส่ ามารถด�ำ เนนิ การใหส้ �ำ เรจ็ ลลุ ว่ ง จากทุกภาคส่วนในการขับเคลื่อนงาน ได้ด้วยคนหนึ่งคนใด หากแต่ผู้ว่าราชการ ดึงศักยภาพที่โดดเด่นของสมาชิกทีมระนอง จังหวัดระนอง ได้ให้ความสำ�คัญกับการ เป็นจุดแข็ง/องค์ประกอบสำ�คัญที่นำ�สู่ สร้างความเข้มแข็งในการพัฒนาที่ยั่งยืน ความสำ�เร็จ ลดการสั่งการ มุ่งเน้นการสร้าง ผ่านการถ่ายทอดและแลกเปลย่ี นประสบการณ์ ความเข้าใจ แรงบันดาลใจ ส่งเสริมการ จากรนุ่ สรู่ นุ่ เพอ่ื ใหเ้ กดิ การสง่ ตอ่ การด�ำ เนนิ งาน ร่วมแรงร่วมใจในการปฏิบัติในลักษณะ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดยผวู้ า่ ราชการจงั หวดั และทมี งาน แนวระนาบ สอ่ื วสิ ยั ทศั นแ์ ละเปา้ หมายการพฒั นา ได้ร่วมกันสื่อสารถ่ายทอดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ทั้งทางตัดขวางไปยังเครือข่ายทั้งภาครัฐ คา่ นยิ ม เปา้ หมายในการพฒั นาไปยงั ทกุ ภาคสว่ น ส่วนท้องถิ่น ชุมชน เครือข่าย ภาคเอกชน ในทุกระดับ รวมถึงการลงพื้นที่พบปะ ประชาชน ผ้มู ีส่วนได้สว่ นเสยี และสื่อสารจาก ประชาชน สอดแทรกแนวคดิ ปลูกฝังคา่ นิยมที่ดี บนลงล่าง ไปถึงผ้ปู ฏบิ ตั ิงานอย่างสมำ่�เสมอ ต่อการรู้รักษาพื้นที่ วางการพัฒนาพื้นที่จาก
5665 หมวด 1 ดา้ นการนำ�องคก์ ารและความรับผดิ ชอบต่อสังคม นอกจากนี้ การรับฟังการเสียงสะท้อน ปฏบิ ตั งิ าน และภายใต้การบรหิ ารงานแบบ 5 ต จากผู้ปฏิบัติงาน ประชาชน จากล่างขึ้นบน ของผวู้ ่าราชการจงั หวดั และคณะ ได้แก่ ติดดิน ทำ�ให้เกิดความเข้าใจและขับเคล่ือนงานอย่าง เข้าถึงประชาชน ติดตา ใส่ใจในการปฏิบัติ มีเอกภาพ ความเป็นแบบอย่างของผู้บริหาร ใหเ้ กิดผล ตดิ ใจ ทกุ ภาคใหค้ วามรว่ มมอื และ โดยผู้นำ�มีการประพฤติปฏิบัติดี เป็นตัวอย่าง พร้อมสนับสนุน ติดตาม ร่วมแก้ไขปัญหา ในการปฏิบัติ เป็นปัจจัยสำ�คัญในการสร้าง การด�ำ เนนิ การ ตชิ ม เพอ่ื ปรบั ใชใ้ นการบรหิ ารงาน ความเชื่อมั่นและสานความร่วมมือของ ทำ�ให้คนในจังหวัดเชื่อมั่น พร้อมให้ร่วมมือ ทีมระนอง ความเป็นมืออาชีพในการบริหาร ในการปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมาย และ มอบหมายงานทถ่ี กู ตอ้ ง ชดั เจน ลดความซ�ำ้ ซอ้ น เกิดผลสำ�เร็จอย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งถือเป็น ของการปฏิบัติงานและการบริหารงบประมาณ ความส�ำ เรจ็ ของทมี ระนอง สร้างความสามัคคีและระดมสรรพกำ�ลังในการ การลงพน้ื ทข่ี องผวู้ า่ ราชการจงั หวดั และคณะ ภายใตก้ ารบรหิ ารงานแบบ 5 ต
5766 หมวด 1 ด้านการนำ�องคก์ ารและความรับผิดชอบตอ่ สังคม เมอื งนำ้ �แร่ตน้ แบบ ตัวอยา่ งความสำ�เรจ็ ทโ่ี ดดเดน่ จดุ เดน่ ทส่ี �ำ คญั ในการพฒั นาจงั หวดั ระนองไปสคู่ วามส�ำ เรจ็ และการก�ำ หนดทศิ ทางการพฒั นา ในอนาคต เกิดจากพลังความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ภายใต้ “ทีมระนอง ( Ranong Team )” การทำ�งานร่วมกนั เปน็ ทีม การเขา้ มามีสว่ นรว่ มของเครอื ขา่ ยการพฒั นาทกุ ภาคสว่ นในขับเคลื่อน ภายใต้วิสัยทัศน์ และเป้าหมายเดียวกัน จึงสามารถผลักดันการดำ�เนินงานไปสู่ความสำ�เร็จ อย่างเปน็ รปู ธรรม โดยมผี ลงานทม่ี คี วามโดดเดน่ อาทิ เมืองทอ่ งเที่ยวเชงิ สุขภาพ เมืองนำ้ �แร่ตน้ แบบ สอดคลอ้ งตามศกั ยภาพในพน้ื ท่ี ความตอ้ งการของประชาชน และเปา้ หมายการพฒั นาพน้ื ท่ี ไดพ้ ฒั นาเมอื งระนองสเู่ มอื งทอ่ งเทย่ี ว เชงิ สขุ ภาพเพอ่ื รองรบั ความตอ้ งการของนกั ทอ่ งเทย่ี ว มกี ารบรู ณาการการท�ำ งานรว่ มกนั ของเอกชน ชมุ ชน เทศบาล และหนว่ ยงานเจา้ ของพน้ื ท่ี ในการพฒั นาแหลง่ พน้ื ทแ่ี ละมกี ารออกแบบอยา่ งเหมาะสม กลา่ วคอื โยธาธกิ ารและผงั เมอื งจงั หวดั เทศบาล และสถาบนั การศกึ ษารว่ มกนั ส�ำ รวจ วจิ ยั ทางกายภาพ ของสายน้ำ�แร่/บ่อน้ำ�แร่ และคุณภาพของน้ำ�แร่ การประสานพลังกับสาธารณสุขในการวิจัยและ น�ำ นวตั กรรมน�ำ้ แรเ่ พอ่ื เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการแพทยท์ างเลอื ก สามารถสรา้ งมลู คา่ เพม่ิ ทางดา้ นอาหาร ผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภาพและเครอ่ื งส�ำ อาง อกี ทง้ั สง่ เสรมิ และพฒั นาบคุ ลากรผใู้ หบ้ รกิ ารแพทยแ์ ผนทางเลอื ก ทั้งด้านธาราบำ�บัด ฝังเข็ม นวดปรับสมดุล สมุนไพร ฯลฯ เพื่อเพิ่มคุณภาพของการรักษาและ การให้บริการ นอกจากนี้ ส่งเสริมการบริหารจัดการความรู้สู่บุคลากรและเจ้าของพื้นที่ผ่าน ความรว่ มมอื ของสถานศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทาและมหาวทิ ยาลยั ธรุ กจิ บณั ฑติ อกี ทง้ั ริเร่มิ การขยายความร่วมมือเพ่ือร่วมกันส่งเสริมและการพัฒนานำ�้ แร่ร้อนระหว่างประเทศไทยกับ ญป่ี นุ่ อกี ดว้ ย ภาพแสดงการขบั เคลอ่ื นจงั หวดั ระนองสเู่ มอื งนำ้ �แรต่ น้ แบบ
5867 หมวด 1 ดา้ นการนำ�องค์การและความรับผดิ ชอบต่อสังคม การป้องกันและปราบปรามการ ภาพแสดงหลกั การ 5P คา้ มนุษยอ์ ย่างครบวงจร โดยหน่วยงาน พฒั นาสงั คมและความมัน่ คงมนุษยจ์ ังหวดั และ ทมี สหวชิ าชีพ ด้วยหลกั การ 5P ได้แก่ Policy ดา้ นนโยบาย เปน็ การบรู ณาการหนว่ ยงานภาครฐั และเอกชนในการขับเคล่ือนงานป้องกันและ ปราบปรามการค้ามนุษย์ Protection ด้านการคุ้มครอง โดยทีมสหวิชาชีพคัดแยกและ พบผเู้ สยี หาย สง่ ตวั ผเู้ สยี หายฯ เขา้ สถานคมุ้ ครอง สวสั ดภิ าพผเู้ สยี หายจากการคา้ มนษุ ย์ พฒั นาสงั คม และความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดจัดสวัสดิภาพ ภายในสถานคุ้มครองฯ Prosecution ดา้ นการด�ำ เนนิ คดี โดยเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการตรวจ และการบังคับใช้กฎหมาย Prevention ด้านการป้องกัน โดยการจัดชุดลาดตระเวน ปอ้ งกนั ตามแนวชายแดน ฝา่ ยปกครองรว่ มเฝา้ ระวงั เหตุในพื้นที่ การส่งเสรมิ และสรา้ งความตระหนัก ให้แรงงานเขา้ ถึงสิทธิตา่ ง ๆ ตามกฎหมาย การดำ�เนนิ การคมุ้ ครองสวสั ดภิ าพ การจัดระเบียบแรงงานต่างด้าว ภายในสถานคมุ้ ครองฯ รณรงค์สร้างจิตสำ�นึก ตระหนัก สร้างการรับรู้ ใหก้ บั แรงงานหรอื สถานประกอบการ ประชาสมั พนั ธ์ การจัดระเบียบแรงงานต่างด้าวผ่าน ช่องทาง สื่อท้องถิ่นผู้นำ�ชุมชน และ Partnership ด้านความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย โดย การร่วมบูรณาการการตรวจสอบเรือประมง โรงงานแปรรูปสัตว์น้ำ� สถานประกอบกิจการ และความรว่ มมอื ระหวา่ งศนู ยป์ ระสานงานชายแดน เพอ่ื ตอ่ ตา้ นการคา้ มนษุ ย์ BCATIP ไทย – เมยี นมา (ระนอง – เกาะสอง)
5968 หมวด 1 ดา้ นการนำ�องคก์ ารและความรับผดิ ชอบต่อสังคม การดแู ลทรพั ยากรธรรมชาตเิ พอ่ื เปน็ บนั ไดสมู่ รดกโลก ซง่ึ จงั หวดั ระนองมพี น้ื ท่ี สงวนชีวมณฑลระนอง ในปี พ.ศ.2540 ได้รับการประกาศจาก UNESCO เป็นระบบนิเวศ ปา่ ชายเลนแหง่ แรกของโลกทไ่ี ดร้ บั การขน้ึ ทะเบยี นใหเ้ ปน็ พน้ื ท่ี สงวนชวี มณฑลเนอ้ื ท่ี 189,431 ไร่ และพื้นที่ชุ่มน้ำ�อุทยานแห่งชาติแหลมสนปากแม่น้ำ�กระบุรี-ปากคลองกะเปอร์ เป็นแรมซาร์ไซต์ (RAMSAR SITE) พน้ื ทช่ี มุ่ น�ำ้ ทม่ี คี วามส�ำ คญั ระหวา่ งประเทศ เนอ้ื ท่ี 677,625 ไร่ โดยใชเ้ ครอื ขา่ ย ความร่วมมือและการมีส่วนร่วมที่เข้มแข็งและการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ให้มีความสมดุล เพือ่ ประชาชนอย่ดู ี มสี ุข แผนภาพแนวทางการจดั การพน้ื ทป่ี า่ ไมท้ ถ่ี กู บกุ รกุ
6069 หมวด 1 ด้านการนำ�องคก์ ารและความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม การพัฒนาจังหวัดระนองสอู่ นาคตอยา่ งยั่งยนื เพอ่ื ใหจ้ งั หวดั ระนองสามารถพฒั นาสอู่ นาคตอยา่ งยง่ั ยนื และ บรรลวุ สิ ยั ทศั น์ “เมอื งทอ่ งเทย่ี ว เชิงสุขภาพชั้นนำ� การเกษตรสร้างสรรค์ เมืองน่าอยู่ ที่ประชาชนมีสุขภาวะที่ดีประตูการค้า ผา่ นแดนฝง่ั อนั ดามัน” ทำ�ให้ต้องมกี ารพฒั นาอยา่ งต่อเนื่อง น�ำ ไปส่แู ผนงานเชงิ รุก เพอื่ ขบั เคลื่อน จงั หวัดระนอง ไดแ้ ก่ ภาพรวมทศิ ทางการพฒั นาจงั หวดั ระนอง
6170 หมวด 1 ด้านการนำ�องคก์ ารและความรับผิดชอบตอ่ สังคม การพัฒนาเมืองระนองไปสู่ Smart City และ Green City ด้วยแนวคดิ การนำ�เทคโนโลยีมาใช้สนับสนุนการท่องเที่ยวเพื่อให้นักท่องเที่ยวเกิดความสะดวก สบาย เข้าถึง ได้ง่าย เช่น การจัดทำ�โครงการระนอง Smart city 2020 ซึ่งเป็นแอพพิเคชั่นเกี่ยวกับข้อมูล การทอ่ งเทย่ี วในจงั หวดั ระนอง และนอกเหนอื จากการพฒั นาไปสคู่ วามเปน็ Smart City แลว้ เปา้ หมาย อีกประการคือการทำ�ให้จังหวัดระนอง กลายเปน็ Green City ซ่ึงไมเ่ ฉพาะ การอนรุ กั ษด์ แู ลธรรมชาตใิ นพน้ื ทป่ี า่ เทา่ นน้ั แต่ความเป็นเมืองสีเขียวเพื่อ คณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ขี องคนระนอง จงึ น�ำ ไปสู่ แนวคิดการดำ�เนินการสวนรุกขชาติ รักษะวาริน ป่ากลางเมือง ของคนระนอง การพัฒนาสู่ Wellness City มกี ารส่งเสรมิ การน�ำ น�้ำ แร่ร้อนมาใช้ประโยชน์ในเชิง การท่องเทีย่ วและดแู ลสุขภาพมากขึน้ การใช้นำ�้ แร่ในการบ�ำ บัดโรค การใช้นำ�้ แรใ่ นการผ่อนคลาย เช่น สปาน้ำ�แร่ นำ�น้ำ�แร่มาใช้ในการผลิตสินค้าเกี่ยวกับความงาม อาทิ สเปย์น้ำ�แร่ สบู่น้ำ�แร่ ครีมบำ�รุงผิว และส่งเสริมการพัฒนาสุขภาพอย่างยั่งยืน โดยอบรมนักปรับดุลยภาพร่างกาย พฒั นาในรปู แบบของ ครู ก. และขยายผลไปตามพน้ื ทต่ี า่ ง ๆ ทง้ั โรงพยาบาลอ�ำ เภอ รพ.สต. จนถงึ อสม.
6271 หมวด 1 ดา้ นการนำ�องคก์ ารและความรับผิดชอบตอ่ สังคม การพัฒนาไปสู่ ประตกู ารคา้ ชายแดนและการท่องเที่ยว ด้วยการพยายาม ผลกั ดนั ใหเ้ กดิ การขบั เคลอ่ื นการด�ำ เนนิ โครงการตา่ งๆ ไดแ้ ก่ เสน้ ทางรถไฟชมุ พร – ทา่ เรอื น�ำ้ ลกึ ระนอง โครงข่ายคมนาคมทางบก ชุมพร-ระนอง,ระนอง-พงั งา การเพิ่มศกั ยภาพท่าเรอื ระนอง ดว้ ยการ ขุดลอกร่องน้ำ�ทางเดินเรือจังหวัดระนอง จากความลึก 8 เมตรเป็น 18 เมตร เพื่อเพิ่มศักยภาพ ในการรองรับเรือบรรทุกสินค้าและเรือสำ�ราญ และการพัฒนาท่าอากาศยานระนองในอนาคต ใหเ้ ป็น Tourist Airport ประตูสูเ่ มืองระนอง ส�ำ หรบั ความตอ่ เนอ่ื งและยง่ั ยนื ตามแผนยทุ ธศาสตรข์ องจงั หวดั ระนอง ไดม้ กี ารลงนาม MOU รว่ มกนั ระหวา่ งผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ประธานสภาหอการคา้ จงั หวดั ประธานสภาอตุ สาหกรรมจงั หวดั และภาคประชาชนเพื่อร่วมกับดำ�เนินงาน ผลักดันการพัฒนาของจังหวัดระนองไปในทิศทางและ เปา้ หมายร่วมกนั ผลความสำ�เรจ็ ของการขับเคลื่อนจังหวัดระนอง ผลจากการทำ�งานของผู้บริหารจังหวัดระนอง และทีมระนอง ด้วยความมุ่งมั่นตั้งใจ จากความรว่ มมอื ของทกุ ภาคสว่ น ท�ำ ใหก้ ารด�ำ เนนิ การในประเดน็ ตา่ ง ๆ เกดิ ผลส�ำ เรจ็ เปน็ รปู ธรรม โดยในปี 2560 พบวา่ จากการด�ำ เนนิ การสง่ เสรมิ และพฒั นาบคุ ลากรผใู้ หบ้ รกิ ารแพทยแ์ ผนทางเลอื ก ส่งผลให้จำ�นวนผู้มารับบริการแพทย์แผนไทยจังหวัดระนองและมูลค่าการใช้ยาสมุนไพร จังหวัดระนองเพิ่มมากขึ้น การดำ�เนินการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ในปี 2560 ไม่พบตัวเลขการดำ�เนินคดีในประเด็นดังกล่าว การดูแลรักษา ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม สง่ ผลใหพ้ น้ื ทป่ี า่ ชายเลนเพม่ิ มากขน้ึ นอกจากการเพม่ิ พน้ื ทป่ี า่ เพื่อรักษาระบบนิเวศแล้ว ยังส่งผลต่อการท่องเที่ยววิถีชุมชน เกิดรายได้จากการท่องเที่ยว ประชาชนมคี วามสขุ สามารถใชท้ รพั ยากรธรรมชาตใิ นพน้ื ทเ่ี พอ่ื พง่ึ พาตนเองบนพน้ื ฐานวถิ ชี วี ติ พอเพยี ง อนั สะท้อนผลสำ�เร็จในการกา้ วสู่วสิ ัยทศั นข์ องจังหวดั ระนอง ท่ีว่า “เมืองท่องเที่ยวเชิงสขุ ภาพชน้ั น�ำ การเกษตรสร้างสรรค์ เมืองน่าอยู่ ที่ประชาชนมีสุขภาวะที่ดี ประตกู ารค้า ผา่ นแดนฝงั่ อนั ดามนั ”
6372 หมวด 1 ดา้ นการนำ�องคก์ ารและความรับผิดชอบต่อสังคม จังหวัดศรสี ะเกษ หมวด 1 ด้านการนำ�องค์การและความรับผิดชอบต่อสังคม จงั หวดั ศรสี ะเกษขบั เคลอ่ื นการพฒั นาจงั หวดั ผา่ นระบบการนำ�องคก์ ารของผบู้ รหิ ารทกุ ระดบั ในการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การบรู ณาการความรว่ มมอื กนั ทง้ั การดำ�เนนิ การ การแลกเปลย่ี นขอ้ มลู และสมรรถนะของภาคเี ครอื ขา่ ยทเ่ีขม้ แขง็ ในรปู แบบ “กลไกประชารฐั ”ผา่ นวฒั นธรรมองคก์ าร “ทํางานแบบบรู ณาการรว่ มกบั สว่ นราชการอน่ื และภาคเอกชนไดอ้ ยา่ งมเี อกภาพ” จนเกดิ เปน็ ผลลพั ธท์ ช่ี ดั เจน เชน่ โครงการนาแปลงใหญ่ โครงการทเุ รยี นภเู ขาไฟ ศรสี ะเกษโมเดลสยบยาเสพตดิ เปน็ ตน้ วสิ ัยทัศน์ ประตูการค้าและการท่องเที่ยวสู่อารยธรรมขอมโบราณ ดินแดนเกษตรปลอดภัย ไดม้ าตรฐาน” พันธกิจ 1) สง่ เสรมิ การคา้ การลงทนุ และการทอ่ งเทีย่ วกบั กลุ่มประเทศอาเซียน 2) เสรมิ สรา้ งสนิ ค้าเกษตรปลอดภยั และได้มาตรฐาน รวมถึงการเพม่ิ มลู ค่าอตุ สาหกรรม แปรรูปสนิ คา้ เกษตร 3) สร้างความมั่นคง ความเปน็ ระเบียบ และความสงบเรียบร้อยของบ้านเมอื ง 4) ส่งเสรมิ สุขภาวะ การศกึ ษา การกีฬาและเพ่ิมความรม่ รนื่ ของพ้นื ทีส่ ีเขยี ว 5) บูรณาการการทำ�งานของทุกภาคส่วน เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์จังหวัดให้บรรลุ ผลสมั ฤทธิ์ ค่านยิ ม มองการณไ์ กล ใสใ่ จบริการ ท�ำ งานมงุ่ ผลสัมฤทธิ์ จติ มีคุณธรรม นอ้ มน�ำ ความพอเพียง
6473 หมวด 1 ดา้ นการนำ�องคก์ ารและความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม จังหวัดศรีสะเกษ มีพื้นที่ทั้งหมด สําหรับสวนไม้ผลซึ่งคิดเป็นพื้นทางการเกษตร 5,524,987.5 ไร่ และมีประชากรทั้งสิ้น ทั้งสิ้น 3,506,418 ไร่ ทำ�ให้โครงสร้างทาง 1,472,031 คน ซึ่งจังหวัดศรีสะเกษได้รับ เศรษฐกิ จของจังหวัดศรีสะเกษขึ้นอยู่กับ การขนานนามว่าเป็น ดินแดนมหัศจรรย์เพราะ ภาคเกษตร ภาคการขายสง่ ขายปลีก เปน็ สำ�คญั นอกจากเป็นแหล่งผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพ อีกทั้งจังหวัดศรีสะเกษยังมีอาณาเขตติดต่อกับ มาตรฐานหอม-กระเทียมพันธ์ุดีท่ีให้ผลผลิต ประเทศกมั พชู าและมจี ดุ ผา่ นแดนถาวรชอ่ งสะง�ำ มากที่สุดของประเทศไทยแล้ว ยังเปน็ จังหวดั ที่ ซึ่งเป็นจุดผ่านแดนถาวรที่เป็นเส้นทางสำ�คัญ รวมผลไม้คุณภาพแทบทุกชนิดจากทุกภาค ในการทอ่ งเทย่ี ว การคา้ การลงทนุ ท�ำ ใหศ้ รสี ะเกษ ของไทยจึงทำ�ให้อาชีพหลักของประชาชนกว่า มศี กั ยภาพในการเปน็ “เมอื งเศรษฐกจิ ชายแดน” รอ้ ยละ 70 ประกอบอาชพี เกษตรกรรม เนอ่ื งจาก สามารถเชื่อมโยงการค้า การท่องเที่ยวและ มีพื้นดินอุดมสมบูรณ์ท่ีได้รับความเย็นชุ่มช้ืน การลงทนุ กับกัมพูชา จากแนวปา่ บนเทอื กเขาพนมดงรกั เหมาะอยา่ งยง่ิ
6574 หมวด 1 ด้านการนำ�องคก์ ารและความรับผดิ ชอบต่อสังคม การนำ�องค์การสู่การบรู ณาการที่เขม้ แข็ง บทบาทของผู้บริหารในการกำ�หนด 1) ดินแดนเกษตรปลอดภัย 2) การพัฒนาตาม ทิศทางผ่านระบบการนำ�องค์การ โดยอาศัย แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และ 3) การพัฒนา ฐานข้อมูลสำ�คัญจากการระดมความคิดเห็น คุณภาพชีวิตเพ่ือนำ�ไปสู่การบรรลุความสำ�เร็จ และแลกเปลย่ี นขอ้ มลู จากทกุ ภาคสว่ นทง้ั ภาครฐั ตามวิสัยทัศน์ “ประตูการค้าและการท่องเที่ยว ภาคเอกชน ภาคประชาชน รวมทง้ั สถาบนั การศกึ ษา สอู่ ารยธรรมขอมโบราณ ดนิ แดนเกษตรปลอดภยั ผ่านการประชุมเชิงปฏิบัติการ “ส่องซอด ได้มาตรฐาน” รวมทั้งการให้ความสำ�คัญของ ศรีสะเกษ” และโครงการ “เยี่ยมยามยามแลง” การริเร่ิมน�ำ เทคโนโลยี นวัตกรรมใหม่ ๆ เขา้ มา เพ่ือสร้างเวทีประชารัฐในการวิเคราะห์ข้อมูล สนับสนุนการดำ�เนินการต่อยอดพัฒนาอย่าง ศกั ยภาพ ปญั หาและแนวทางแกป้ ญั หาในชมุ ชน ต่อเนื่อง เพื่อนำ�นโยบายของรัฐบาลและ จนน�ำ ไปส่กู ารก�ำ หนดเป้าหมาย วิสยั ทัศน์ และ ความต้องการของคนในพื้นที่ไปสู่การปฏิบัติ แผนการพัฒนาจังหวัดศรีสะเกษ ผ่านทิศทาง ให้มีประสิทธิภาพ เกิ ดความคุ้มค่า และ การขับเคลื่อนจังหวัดศรีสะเกษ 3 ด้าน คือ เกิดประโยชน์สูงสดุ ต่อการพัฒนาพน้ื ที่ กระบวนการนำ�องคก์ าร จงั หวดั ศรสี ะเกษ
6675 หมวด 1 ด้านการนำ�องค์การและความรับผิดชอบต่อสังคม นอกจากน้ี เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจในทศิ ทาง การพัฒนา และขับเคลื่อนจังหวัดศรีสะเกษ ไปสคู่ วามส�ำ เรจ็ รว่ มกนั ผบู้ รหิ ารของจงั หวดั ศรสี ะเกษ ไดส้ รา้ งระบบและก�ำ หนดวธิ กี าร และชอ่ งทางการสอ่ื สาร ที่หลากหลาย และเหมาะสมในแต่ละกลุ่มทั้ง บคุ ลากร ภาคเี ครอื ขา่ ย และประชาชน เชน่ การประชมุ ผ่านคณะกรรมการจังหวัดและคณะกรรมการ บริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (กบจ.) และ รายการวทิ ยุ “ผวู้ า่ ฯ ธวชั มาแลว้ ” ทม่ี จี �ำ นวนผตู้ ดิ ตาม ทั้งสิ้นกว่า 1,191,243 คน ครอบคลุมทั่วทั้ง จังหวัดศรีสะเกษ รวมถึงจังหวัดข้างเคียง ไดแ้ ก่ จงั หวดั สรุ นิ ทร์ จงั หวัดอบุ ลราชธานี จังหวัดยโสธร ซึ่งมีการสำ�รวจผลความพึงพอใจและการรับรู้จาก รายการดงั กลา่ ว ร้อยละ 87 พลังประชารัฐเข็มแข็ง จังหวัดศรีสะเกษถูกจัดให้เป็นจังหวัด ม ุ ่ ง ผ ล ส ั ม ฤ ท ธ ิ ์ จ ิ ต ม ี ค ุ ณ ธ ร ร ม น ้ อ ม น ํา ที่มีความยากจนที่สุด ซึ่งจากจุดเริ่มต้นนี้ทำ�ให้ ความพอเพียง” ด�ำ เนนิ การผ่านการตรวจเยีย่ ม ทกุ ภาคสว่ นตระหนกั ถงึ ปญั หา และมจี ดุ มงุ่ หมาย ชุมชน (โครงการเยี่ยมยามยามแลง) เพื่อ เดียวกัน คือ การพัฒนาจังหวัดศรีสะเกษ เข้าข้อมูล ศักยภาพ และปัญหาในชุมชน ใหห้ ลดุ พน้ จากจงั หวดั ทม่ี คี วามยากจนทส่ี ดุ ไมเ่ พยี ง การสื่อสารสร้างความเข้าใจ และเปิดโอกาส เพราะสร้างผลงานให้กับผู้ใดผู้หนึ่ง แต่เป็นการ ในการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการ ม่งุ สู่ “ความผาสกุ ของประชาชนชาวศรีสะเกษ” ระดมความคดิ เหน็ ข้อมูล และแนวทางในการ ร่วมกัน เกิดเป็นพลังของเครือข่ายและชุมชน พัฒนาร่วมกัน ทำ�ให้ทุกภาคส่วนรู้สึกถึง ทเ่ี ขม้ แขง็ ทง้ั ภาคเอกชน ภาคสงั คม ภาคประชาชน ความเป็นเจ้าของและหน้าที่ของตนเองท่ีจะ และสถาบนั การศกึ ษาทเ่ี ขา้ มารว่ มสนบั สนนุ สง่ เสรมิ ปฏิบัตไิ ปสคู่ วามสำ�เร็จ และในปี 2560 ผลการ และขับเคล่ือนการพัฒนาร่วมกันอย่างยั่งยืน จัดอันดับจงั หวดั ยากจน พบว่า จังหวดั ศรสี ะเกษ จนเกิดเป็นผลสำ�เร็จมากมาย โดยมีศนู ยก์ ลาง ส า ม า ร ถ ห ล ุ ด พ ้ น จ า ก ก า ร จัดอันดับดังกล่าว ความร่วมมือคือการนำ�องค์การของผู้บริหาร มาได้ และบงั เกดิ เปน็ โครงการส�ำ คญั ๆ หลากหลาย ในทุกระดับของจังหวัด ผ่านค่านิยมที่ชัดเจน โครงการ ที่ว่า “มองการณ์ไกลใส่ใจบริการ ทํางาน
6776 หมวด 1 ด้านการนำ�องคก์ ารและความรับผดิ ชอบต่อสังคม โครงการนาแปลงใหญ่ประชารัฐเกษตรสมัยใหม่ – ผักไหมโมเดล “ผกั ไหมโมเดล” เปน็ โครงการนาแปลงใหญ่ โดยภาคเอกชน 2) ปรับปรุงบำ�รุงดินให้มี ตน้ แบบ (ข้าวหอมมะลิ) ทต่ี ้องการสนับสนุนให้ ความอุดมสมบูรณ์โดยปลูกพืชปุ๋ยสด เกิดพัฒนาการดำ�เนินการภาคเกษตรกรรมจาก 3) การพัฒนาคุณภาพผลผลิตให้ได้มาตรฐาน แบบดงั้ เดิมสกู่ ารเกษตรสมัยใหม่ ทม่ี ุ่งเน้นให้ GAP และอินทรีย์ 4) พัฒนาด้านการตลาด เกษตรกรรายย่อยร่วมกันผลิตสินค้าทาง โดยท�ำ สญั ญาซอ้ื ขายลว่ งหนา้ กบั สหกรณเ์ กษตร การเกษตร โดยการบริหารจดั การรว่ มกนั ตง้ั แต่ และ 5) การบริหารความเสี่ยงโดยการส่งเสริม การรวมกันผลิตตั้งแต่ต้นน้ำ�ถึงปลายน้ำ� ให้ อาชีพรายได้โดยมีหน่วยงานภาครัฐ เกษตรกรสามารถลดต้นทุน เพิ่มผลผลิตที่มี ทำ�หน้าที่ในการส่งเสริมและให้ความรู้ คณุ ภาพ สามารถแขง่ ขนั ในตลาดได้ และน�ำ ไปสู่ แกเ่ กษตกรทง้ั ในเรอ่ื งการเตรยี มพน้ื ท่ี การแจกจา่ ย กลุ่มเกษตรกรที่ความเข้มแข็งท่ีมีพลังอำ�นาจใน เมล็ดพันธุ์คุณภาพ การดูแลผลผลิตตลอดทั้ง การต่อรอง สามารถพึ่งตนเองได้ ภายใต้ ห่วงโซ่การผลิต และเป็นผู้ประสานเชื่อมโยง การสนับสนุนและบูรณาการของหน่วยงาน ทุกภาคส่วนในการดำ�เนินการจนเกิดผลสำ�เร็จ ภาครัฐ ภาคเอกชน เกษตรกร และหน่วยงาน ที่ชัดเจน เห็นได้จำ�นวนนาแปลงใหญ่ที่เพิ่มขึ้น ท่ีเก่ียวข้องในการพัฒนาการผลิตอย่างย่ังยืน จาก 22 แปลง ในปี พ.ศ. 2558 เป็น 85 แปลง ตามหลักการบริหารตามแนวประชารัฐ ซึ่งมี ในปี พ.ศ. 2560 ซง่ึ ผลจากการท�ำ นาแปลงใหญ่ รูป แบ บ ก า ร ด ำ � เน ิ น ก าร 5 กิ จ ก รรม ค ือ ประชารัฐช่วยให้เกษตรกรสามารถลดต้นทุน 1) ปรบั เปลย่ี นวิธีการปลกู ขา้ วจากวธิ หี วา่ น มาใช้ การผลติ ลงไดร้ อ้ ยละ 24 หรอื 950 บาทตอ่ แปลง การปลกู โดยระบบดำ�นา และนาหยอด โดยมกี าร และสามารถลดต้นทุนในการใช้สารเคมีได้ถึง บริหารเครื่องจักรในรูปแบบกลุ่มที่สนับสนุน 162 ลา้ นบาท
6877 หมวด 1 ดา้ นการนำ�องค์การและความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม โครงการนาแปลงใหญ่ – ผกั ไหมโมเดล
6978 หมวด 1 ดา้ นการนำ�องคก์ ารและความรับผดิ ชอบต่อสังคม ทเุ รยี นภเู ขาไฟศรสี ะเกษ นอกจากขา้ วหอมมะลแิ ลว้ ทเุ รยี นภเู ขาไฟ อย่างมีมาตรฐาน และเพื่อรักษาเสถียรภาพ ศรสี ะเกษ ยงั เปน็ อีกหน่งึ ผลผลิตทางการเกษตร ของราคาทเุ รยี นศรสี ะเกษ และเปน็ การสนบั สนนุ ทไี่ ด้รบั ความนิยม และเปน็ ที่ตอ้ งการของตลาด เ ก ษ ต ร ก ร ใ น ก า ร ร ว ม ก ลุ่ ม ผ ลิ ต ใ ห้ ส า ม า ร ถ ทง้ั ในและนอกประเทศ จึงนำ�มาสกู่ ารสนบั สนนุ ดำ�เนนิ ธุรกิจไดด้ ว้ ยตวั เอง ผา่ นช่องทางการขาย เกษตรกรผู้ผลิตทุเรียนให้เกิดการรวมกลุ่มใน แบบออนไลน์และเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตผล รูปแบบเกษตรสมยั ใหม่ (แปลงใหญ่) ซึง่ มีผเู้ ขา้ โดยการสนับสนุน ประสานงานร่วมกับบริษัท รว่ มโครงการแลว้ กวา่ 535 ราย เปน็ พน้ื ทท่ี ง้ั สน้ิ ประชารัฐรักสามัคคีศรีสะเกษ (วิสาหกิ จ 6,000 ไร่ และจะเพิ่มขึ้นให้ถึง 10,000 ไร่ เพื่อสังคม) จำ�กัด จนได้รับการประกาศเป็น ในปี พ.ศ. 2561 โดยการดำ�เนินการเริ่มต้นจาก ทุเรียน GI ภายใต้ “ทุเรียนภูเขาไฟ” ที่มี ก า ร กำ � ห น ด พื้ น ท่ี ที่ มี ขี ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ห รื อ อัตลักษณ์เฉพาะตัว นอกจากนี้ จังหวัดได้มี ศักยภาพในการส่งเสริมและพัฒนาการผลิต การติดตามการดำ�เนินการด้านคุณภาพผ่าน ทเุ รยี น โดยอาศยั กระบวนการตง้ั แตเ่ กบ็ รวบรวม “ตำ�รวจทุเรียน” ในการตรวจมาตรฐานทุเรียน ข้อมูลในพื้นที่ร่วมกับเกษตรอำ�เภอในการหา เ พื่ อ พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ใ ห้ สู ง ขึ้ น แ ล ะ ก า ร นำ � ข้ อ มู ล เ ก ษ ต ร ก ร ใ น พื้ น ที่ เ พื่ อ ทำ � ก า ร พั ฒ น า เทคโนโลยีสารสนเทศในรูปแบบ QR Code กระบวนการเรอ่ื งการสง่ เสรมิ พฒั นาปลกู พชื สวน ที่จะติดอยู่ใน Tag ที่ติดอยู่ในลูกทุเรียน เพื่อ ทุเรียนเพื่อเป็นฐานข้อมูลที่จะวิเคราะห์พัฒนา เขา้ สู่ศนู ยร์ บั เรือ่ งร้องเรยี นเพ่อื พฒั นา ปรับปรุง พืชสวนและความม่ันคงทางอาชีพทำ�ให้เกิด สรา้ งสรรคพ์ ฒั นาผลงานสนิ คา้ นวตั กรรมใหด้ ขี น้ึ อำ�นาจในการต่อรองและกำ�หนดราคา ผลผลิตได้เอง จากเดิมมีราคา 70 – 90 บาท เป็น 150 บาท ต่อกิ โลกรัม อย่างไรก็ตาม จังหวัดเห็นถึงการเพิ่มคุณค่าในห่วงโซ่การผลิต ท่ีต้องการให้กลุ่มเกษตรกรสามารถจำ�หน่าย สนิ คา้ ไดโ้ ดยตรงกบั ผู้บรโิ ภค ผ่านการโครงการ ร่ ว ม ใ จ ป ร ะ ช า รั ฐ จ า ก ฟ า ร์ ม ถึ ง โ ต๊ ะ อ า ห า ร (From Farm To Table) เพ่อื ใหเ้ กษตรกรได้ ขายทุเรียนที่มีคุณภาพกับผู้บริโภคได้ ลกั ษณะบรรจภุ ณั ฑ์
7079 หมวด 1 ดา้ นการนำ�องคก์ ารและความรับผดิ ชอบต่อสังคม การปอ้ งกนั การลอกเลยี นแบบ มใี บแทกตดิ ทก่ี า้ นทเุ รยี น และมี QR-Code ระบเุ กษตรกรเจา้ ของทเุ รยี น
7180 หมวด 1 ด้านการนำ�องคก์ ารและความรับผิดชอบตอ่ สังคม ศรสี ะเกษ สยบยาเสพติด จากขอ้ มลู สถิตทิ ่ีพบว่า ปญั หาเยาวชน บรู ณาการรว่ มกบั ระบบสารสนเทศทางภมู ศิ าสตร์ ตดิ ยาเสพตดิ ท�ำ ใหผ้ บู้ รหิ ารเรง่ เหน็ ถงึ ความส�ำ คญั (GIS) โปรแกรม Google street view และ ของข้อมูลที่ถูกต้อง แม่นยำ� และทันเวลา GPS ในการติดตามตัวกลุ่มบุคคลต้องสงสัย จะนำ�ไปสู่การป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าว ส่งผลให้ผลการดำ�เนินงานการจับกุมคดี ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และมปี ระสทิ ธภิ าพ จงึ ไดพ้ ฒั นา ยาเสพติดในพื้นที่หมู่บ้านชุมชน ที่ดำ�เนินการ เครอ่ื งมอื เทคโนโลยสี ารสนเทศ ทเ่ี รยี กวา่ ระบบ เพ่ิมมากข้ึนถงึ ร้อยละ 49.42 และเจ้าหนา้ ท่มี ี “โมเดล ศรสี ะเกษ สยบยาเสพตดิ ”ในการรวบรวม ความปลอดภัย ลดระยะเวลาการลงพื้นจริง ข้อมูลของบคุ คลที่เกย่ี วข้องกับยาเสพติด ได้แก่ โดยสามารถใช้ข้อมูลจากการรายงานใน ผเู้ สพ ผู้ค้า ผผู้ ่านการบ�ำ บัด ผู้ต้องขังพน้ โทษ Application ประกอบการตัดสินใจปฏิบัติการ และผถู้ กู จบั กุม ผู้ตอ้ งขังพน้ โทษ จากสถติ ขิ อง ได้เลย ผู้ต้องขังพ้นโทษทม่ี ีคดียาเสพตดิ ท�ำ การจัดเกบ็ และรวบรวมขอ้ มลู ของบคุ คลเหลา่ น้ี ซง่ึ น�ำ ขอ้ มลู มาวิเคราะห์ปัญหาและสถานการณ์ยาเสพติด ในพน้ื ทจ่ี งั หวดั ศรสี ะเกษ โดยจะมกี ารจบั พกิ ดั GPS ของที่อยู่อาศัยของบุคคลเหล่านี้ไว้ในฐานข้อมูล เพื่อจัดเก็บและรวบรวมข้อมูลสารสนเทศ ที่เกี่ยวข้องกับการเฝ้าระวังปัญหายาเสพติด
7281 หมวด 1 ด้านการนำ�องคก์ ารและความรับผิดชอบตอ่ สังคม ระบบโมเดล ศรสี ะเกษ สยบยาเสพตดิ
7382 หมวด 1 ด้านการนำ�องคก์ ารและความรับผดิ ชอบต่อสังคม จังหวัดหนองคาย หมวด 1 ด้านการนำ�องคก์ ารและความรับผิดชอบตอ่ สังคม “การกำ�หนดทศิ ทางขององคก์ าร และเปา้ หมายทช่ี ดั เจนของจงั หวดั หนองคาย ในการพฒั นาจงั หวดั ไปสกู่ ารเปน็ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทไ่ี ดม้ าตรฐาน สรา้ งมลู คา่ เพม่ิ ใหผ้ ลผลติ ทางการเกษตรเชอ่ื มโยงกบั ระบบอตุ สาหกรรมและการคา้ นำ�เทคโนโลยมี าใชก้ บั ภาคเกษตร อตุ สาหกรรม และการทอ่ งเทย่ี ว ผา่ นการสอ่ื สารไปสทู่ มี งานทเ่ีขม้ แขง็ ทง้ั ผบู้ รหิ ารทกุ ระดบั และผปู้ ฏบิ ตั ทิ ว่ั ทง้ั องคก์ ารในรปู แบบ “โมเดลเรอื ใบ” ทม่ี กี ารประสานพลงั ชว่ ยกนั ขบั เคลอ่ื นไปตามทศิ ทางการนำ�ของผบู้ รหิ ารทม่ี งุ่ ไปสเู่ปา้ หมายเดยี วกนั คอื การเปน็ เมอื งเกษตรอตุ สาหกรรม วฒั นธรรมรงุ่ เรอื ง เมอื งทอ่ งเทย่ี วลมุ่ นำ้ �โขง” วสิ ัยทัศน์ เกษตรอุตสาหกรรม วัฒนธรรมรุ่งเรือง เมืองท่องเที่ยวลุ่มน้ำ�โขง พันธกิจ ดา้ นสงั คม : พฒั นาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วใหไ้ ดม้ าตรฐาน และเชอ่ื มโยงกบั การเกษตรและ วฒั นธรรมลมุ่ น�ำ้ โขง ด้านเศรษฐกิจ : สร้างมูลค่าเพิ่มให้กบั ผลผลติ ทางการเกษตร โดยใหม้ ีความเช่ือมโยง กบั ระบบอตุ สาหกรรม และการค้า ดา้ นการบริหารจดั การ : ส่งเสริม สนบั สนุนการน�ำ นวัตกรรม เทคโนโลยีการผลิต มาใช้ ในภาคเกษตร อุตสาหกรรม และทอ่ งเทย่ี ว คา่ นยิ ม หนองคายเมืองสะดวก สะอาด ปลอดภยั มัน่ ใจนา่ อยู่
7483 หมวด 1 ดา้ นการนำ�องคก์ ารและความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม จังหวดั หนองคาย เปน็ จังหวดั ชายแดน ชลประทานสามารถท�ำ การเกษตรไดห้ ลากหลาย ที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ด้านการทอ่ งเทย่ี ว มีวัฒนธรรมประเพณเี กา่ แก่ มีขนาดเล็กที่สุดของภาคอีสาน พื้นที่ส่วนใหญ่ อย่างเทศกาลออกพรรษาบั้งไฟพญานาค มลี กั ษณะแคบแตท่ อดยาวขนานไปตามล�ำ แมน่ �ำ้ โขง ท่ีดึงดูดนักท่องเท่ียวให้มาเย่ียมชมเป็นประจำ� ซง่ึ เปน็ เสน้ กน้ั เขตแดน กบั ประเทศลาว เปน็ ทต่ี ง้ั ทกุ ปี จากศกั ยภาพของจงั หวดั ท�ำ ใหท้ มี ผบู้ รหิ าร ของสะพานมติ รภาพไทย-ลาวแหง่ แรกทเ่ี ชอ่ื มโยง ของจังหวัดหนองคายมุ่งมนั่ ต้งั ใจ ในการพฒั นา ประเทศไทย-ลาว เข้าด้วยกันซึ่งเป็นจุด จังหวัดให้ไปสู่การเป็นแหล่งท่องเที่ยวท่ีได้ ยุทธศาสตร์สำ�คัญทำ�ให้จังหวัดหนองคาย มาตรฐาน มุ่งเน้นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ มศี ักยภาพในหลายดา้ น ทง้ั ด้านเศรษฐกิจท่ีเปน็ ผลผลติ ทางการเกษตร มีการเชอื่ มโยงกับระบบ จุดเช่ือมโยงระหว่างประเทศไทย ลาว เช่ือมตอ่ อุตสาหกรรม และการค้า นำ�เทคโนโลยีมาใช้ ไปสเู่ วยี ดนาม จนี รองรบั การขยายตวั ทง้ั การคา้ กับภาคเกษตร อุตสาหกรรม และการทอ่ งเทย่ี ว การลงทุน และการขนส่ง ด้านการเกษตร ที่มี เพอ่ื สรา้ งรายได้ และยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ขี น้ึ อาณาเขตทอดยาวตามลำ�นำ้�โขงจึงมีระบบ ให้กับประชาชนชาวหนองคาย
7584 หมวด 1 ด้านการนำ�องค์การและความรับผิดชอบตอ่ สังคม ระบบการนำ�องค์การท่ีขับเคลือ่ นตามทิศทางของ “โมเดลเรอื ใบ” การบรหิ ารราชการของจงั หวดั หนองคาย มฐี านของเรือครอบคลุมในเรื่องต่าง ๆ เช่น น�ำ โดยผวู้ า่ ราชการจงั หวดั รว่ มกบั รองผวู้ า่ ราชการ การทำ�งานเป็นทีม การมีคุณธรรมจริยธรรม จังหวัด หัวหน้าส่วนราชการ หัวหน้างาน ภาคี การส่งเสริมนวัตกรรมองค์การ การสื่อสาร เครือข่ายทุกภาคส่วน ร่วมกันกำ�หนดทิศทาง สองทิศทาง ความพึงพอใจของผู้รับบริการ การขับเคลื่อนองค์การ กำ�กับดูแล ประเมินผล มีเสากระโดงเรือ ซึ่งเป็นส่วนยอดสูงสุด ตรวจสอบอย่างสมดุล และโปร่งใส ถ่ายทอด เปรียบเสมือนเป็น (1) วิสัยทัศน์ขององค์การ สื่อสารแนวทางการขับเคลื่อนองค์การไปยัง ทถ่ี กู ก�ำ หนดมาจากการมสี ว่ นรว่ มของทกุ ภาคสว่ น ทมี งานทเี่ ขม้ แขง็ มีลกู ทีมคือหน่วยงานราชการ ผา่ นการน�ำ องค์ความรู้ตา่ ง ๆ ทง้ั สถานการณ์ ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค องค์กรปกครอง เศรษฐกจิ สงั คม การเมอื ง เทคโนโลยี นวตั กรรม สว่ นทอ้ งถน่ิ ภาคเอกชน ชมุ ชน และภาคเี ครอื ขา่ ย นโยบายของรัฐบาล นโยบายของจังหวัด โดยมรี ะบบการน�ำ องคก์ ารของจงั หวดั หนองคาย สถานการณ์ต่างประเทศ ผลการดำ�เนินงาน ในรปู แบบ “โมเดลเรอื ใบ” ทม่ี หี วั เรอื คอื เรอ่ื งของ ในปีที่ผ่านมา กฎหมาย กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง การมสี ว่ นรว่ มและการสอ่ื สารองคก์ ารอยา่ งทว่ั ถงึ มาวเิ คราะห์สถานการณ์ ศักยภาพ และกำ�หนด แ ส ด ง ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง ก า ร ใ ห้ ค ว า ม สำ � คั ญ กั บ ก า ร ออกมาเปน็ วิสัยทศั น์ของจงั หวดั มีใบเรอื ทเ่ี ป็น ทำ�งานเป็นทีม และกระตุ้นให้เกิดการทำ�งาน แรงสนบั สนนุ ใหเ้ กดิ การขบั เคลอ่ื นในดา้ นตา่ ง ๆ แบบมีส่วนร่วมกับทุกภาคส่วนท้ังหน่วยงาน ไดแ้ ก่ (2) การน�ำ วสิ ยั ทศั นข์ องจังหวัดมาก�ำ หนด ภาครฐั รัฐวสิ าหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ทศิ ทางยทุ ธศาสตรข์ ององคก์ าร และถา่ ยทอดไปสู่ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ผ่านกลไก การปฏบิ ตั ใิ หแ้ กท่ กุ ฝา่ ยทเ่ี กย่ี วขอ้ งรบั ทราบรว่ มกนั ประชารัฐให้ร่วมกันกำ�หนดวิสัยทัศน์ของจังหวัด
7685 หมวด 1 ด้านการนำ�องค์การและความรับผิดชอบต่อสังคม ระบบการนำ�องคก์ ารของจงั หวดั หนองคาย (3) การจดั องคก์ าร วางแผนพฒั นาจงั หวดั ถา่ ยทอด ตัดสินใจในการปรับกลยุทธ์การทำ�งานเม่ือพบ สอ่ื สารไปสหู่ นว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบเพอ่ื ปฏบิ ตั งิ าน ปัญหาอุปสรรค เพื่อให้การแก้ไขปัญหามี ตามพันธกิจได้อย่างมีประสิทธิผลผ่านช่องทาง ความรวดเรว็ มีการดำ�เนนิ งานท่มี ีประสทิ ธิภาพ ที่หลากหลายท้ังในรูปแบบท่ีเป็นทางการและ เกิดความยั่งยืน (6) มีระบบประเมินผลการ ไม่เป็นทางการ เช่น การลงพื้นที่ สื่อวิทยุ ปฏิบัติงานและให้รางวัลแก่ทีมปฏิบัติงาน หอกระจายขา่ ว กลมุ่ ไลน์ โซเชยี ลเนต็ เวริ ค์ ตา่ ง ๆ เพอ่ื สรา้ งขวญั ก�ำ ลงั ใจ ท�ำ ใหเ้ กดิ ความรกั ความผกู พนั โครงการผวู้ า่ ฯ พาไปยาม เปน็ ตน้ (4) การก�ำ หนด องค์การ (7) ร่วมกันขับเคลื่อนการปฏิบัติงาน ระบบ/แนวทางในการกำ�กับ ดูแล ติดตาม ตามวสิ ยั ทศั น์ และพนั ธกจิ ของจงั หวดั อยา่ งเขม้ แขง็ การดำ�เนินงานให้เป็นไปตามแผนงาน ตัวชี้วัด ทำ�ให้บรรลุประสิทธิผลอย่างมีประสทิ ธภิ าพ อยา่ งสม�ำ่ เสมอ และตอ่ เนอ่ื ง (5) การวดั วเิ คราะห์ ก่อให้เกิดการพฒั นาท่ยี ง่ั ยืนตอ่ ไป และทบทวนผลการดำ�เนินงานเพื่อประกอบการ
7786 หมวด 1 ด้านการนำ�องคก์ ารและความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม องค์การคุณภาพที่ยัง่ ยืนคือเป้าหมายของความสำ�เร็จที่แทจ้ รงิ ผู้ว่าราชการจังหวัดหนองคายได้ให้ความสำ�คัญในการกำ�หนดแนวทางการสร้างองค์การ คณุ ภาพทย่ี ง่ั ยนื สรา้ งทมี งานเพอ่ื ด�ำ เนนิ การขบั เคลอ่ื นงานดา้ นการพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การ ภาครัฐเพื่อนำ�หนองคายสู่องค์การที่มีการพัฒนาอย่างจริงจัง โดยมีการกำ�หนดแนวทางปฏิบัติ ในการสร้างองค์การคณุ ภาพท่ยี ง่ั ยืนในเรือ่ งตา่ ง ๆ ให้เปน็ รูปธรรม ได้แก่ การสรา้ งสภาพแวดลอ้ ม เพอ่ื การบรรลพุ นั ธกจิ ทเ่ี รม่ิ ตง้ั แตก่ ารก�ำ หนดหนดแผนงาน แนวทางการด�ำ เนนิ งานรว่ มกนั เพอ่ื สรา้ ง สภาพแวดลอ้ มให้เกิดพลงั ในการขับเคลอ่ื นการทำ�งาน มีการถ่ายทอดแผนงาน แนวทาง นโยบาย เป้าหมาย มาตรการดำ�เนินงานต่าง ๆ ของจังหวัด ให้แก่ทุกส่วนราชการในจังหวัดรับทราบ โดยพร้อมเพรียงกัน โดยจัดทำ�เป็นหนังสือและบัญชีมอบหมายผู้รับผิดชอบให้ดำ�เนินการ มีการประชุมต่าง ๆ เพื่อเน้นย้ำ�ถึงความสำ�คัญ รวมถึงการซักซ้อมความเข้าใจเพื่อให้มั่นใจว่า ทุกส่วนราชการมีทิศทางการทำ�งานที่มุ่งไปสู่เป้าหมายเดียวกัน การติดตาม ปรับปรุง ผลการด�ำ เนนิ งาน โดยก�ำ หนดใหม้ กี ารรายงานผลการด�ำ เนนิ งาน ตดิ ตามความกา้ วหนา้ ปญั หา อปุ สรรค ในทุก ๆ เดือน มีการนำ�ผลประเมินความพึงพอใจในการรับบริการของผู้รับบริการและ ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี เพอ่ี น�ำ ผลมาปรบั ปรงุ กระบวนงาน และเมอ่ื ใดกต็ ามทพ่ี บปญั หาทม่ี คี วามส�ำ คญั เรง่ ดว่ น กระทบกบั ประชาชน ทมี ผบู้ รหิ ารจะลงพน้ื ทต่ี รวจสอบ และแกไ้ ขปญั หาดว้ ยตนเองเพอ่ื รบั ฟงั ปัญหา ความเดือดร้อน ความต้องการของประชาชน และนำ�มาแก้ไขโดยเร็วผ่านการประสานงาน ไปยังทุกหน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งเพอ่ื ใหค้ วามชว่ ยเหลอื การเรยี นรรู้ ะดบั องคก์ าร/ระดบั บคุ คล และ การสร้างสภาพแวดล้อมเพื่อการสร้างนวัตกรรม มีการทบทวนผลการดำ�เนินงานในปีที่ผ่านมา ทั้งในกรณีที่ผลงานประสบผลสำ�เร็จได้ตามเป้าหมายหรือเกินเป้าหมายให้นำ�มาเป็นตัวอย่าง การด�ำ เนนิ งานทด่ี ี (Best Practices) และกรณที ผ่ี ลงานไมเ่ ปน็ ไปตามเปา้ หมายใหน้ �ำ มาแลกเปลย่ี น เรยี นรรู้ ว่ มกนั ในองคก์ ารเพ่อื หาแนวทางการปรบั ปรุงแกไ้ ขร่วมกันบนพืน้ ฐานของขอ้ มูล เพื่อพฒั นา วิธีการทำ�งานในปตี อ่ ไปให้มีประสทิ ธภิ าพมากยิ่งขน้ึ ขน้ั ตอนการสอ่ื สารถา่ ยทอดแผนงาน แนวทางตา่ งๆ และการตดิ ตามผลการดำ�เนนิ งาน
7887 หมวด 1 ด้านการนำ�องค์การและความรับผดิ ชอบต่อสังคม นอกจากน้ีผู้นำ�ยังได้สร้างบรรยากาศ ให้ผู้ใหญ่บ้านหรือเจ้าหน้าท่ีส่งเสริมการเกษตร ก ร ะ ตุ้ น ใ ห้ เ กิ ด ก า ร แ ล ก เ ป ลี่ ย น เ รี ย น รู้ ร่ ว ม กั น ระดบั อ�ำ เภอ (เกษตรต�ำ บล) รบั ทราบผา่ นชอ่ งทาง ภายในองคก์ าร โดยจดั กจิ กรรมแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ เอกสารและไลน์ ซึ่งเกษตรตำ�บลจะลงพื้นที่ กลุ่มย่อยตามประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัด และ ตรวจสอบสถานการณ์ และรายงานผลพร้อม ขยายผลไปสกู่ ารเรยี นรรู้ ว่ มกนั ภายในสว่ นราชการ ดว้ ยภาพถา่ ยใหเ้ กษตรจงั หวดั รบั ทราบผา่ นทางระบบ ทำ�ให้เกิ ดวัฒนธรรมการเรียนรู้และพัฒนา ข้อมูลเพื่อการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย ให้เปน็ องคก์ ารแหง่ การเรียนรู้ และมีการต่อยอด ซึ่งเป็นระบบออนไลน์ และรายงานให้ องค์ความรู้ไปสู่การสร้างนวัตกรรม โดยให้ ผู้ว่าราชการจังหวัดทราบเพื่อประชุมผู้ที่ ทุกส่วนราชการคัดเลือกกระบวนการทำ�งาน มีส่วนเก่ียวข้องและระดมความคิดในการค้นหา การแก้ไขปัญหา การให้บริการที่สำ�คัญ นำ�เสนอ แนวทางการแก้ไขเพื่อยับยั้งการระบาด โดยใช้ ตอ่ ทป่ี ระชมุ เพอ่ื ตอ่ ยอดพฒั นากระบวนการท�ำ งาน องค์ความรู้และแนวทางการแก้ไขปัญหา มีการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีและนวัตกรรม ในปีที่ผ่านมาและหานวัตกรรมใหม่ เช่น เพื่อให้สามารถส่งมอบบริการได้อย่าง น�ำ สารชวี ภณั ฑ์ มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการก�ำ จดั ศตั รพู ชื มีประสิทธิภาพ เช่น กรณีเกิดการระบาดของ จนสามารถชว่ ยเหลอื เกษตรกรได้โดยเร็ว ทำ�ให้ โรคแมลงศตั รพู ชื ในไรน่ า เกษตรกรจะแจง้ อาสาสมคั ร เกษตรผผู้ ลติ รวมถงึ ผบู้ รโิ ภค ปลอดภยั จากสารพษิ เกษตรกรหมู่บ้าน (อกม.) ซึ่งเป็นสมาชิกศูนย์ และลดต้นทุนการผลิตให้แกเ่ กษตรกร จดั การศตั รพู ชื ชมุ ชน (ศจช.) แจง้ ขอ้ มลู การระบาด
7988 หมวด 1 ด้านการนำ�องค์การและความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม การสรา้ งขวญั ก�ำ ลงั ใจใหบ้ คุ ลากรในจงั หวดั หนองคาย นอกจากการพจิ ารณาการเลอ่ื นเงนิ เดอื น ตามโควตาปกติของส่วนราชการแล้ว ผู้บริหารของจังหวัดยังมีบทบาทสำ�คัญในสร้างแรงจูงใจ ในการทำ�งานเพื่อจังหวัดหนองคาย เช่น การมอบเกียรติบัตรเพื่อยกย่องชมเชยให้กับส่วนราชการ และบุคลากร ในกรณีที่มีบุคคลประพฤติปฏิบัติดีในทุกปี ผู้ว่าราชการจังหวัดได้จัดพิธีมอบรางวัล คนดีศรีหนองคาย รวมถึงการคัดเลือกข้าราชการพลเรือนดีเด่นเพื่อรับรางวัลระดับประเทศและ ระดับจังหวัด เปน็ การประกาศคณุ ความดี ใหเ้ ปน็ ท่ีประจักษแ์ กบ่ ุคลากรชาวหนองคายเพอ่ื ส่งเสริม สนับสนุน ให้ทุกคนมีกำ�ลังใจในการทำ�ความดี รวมถึงการให้โควตาพิเศษสำ�หรับเลื่อนเงินเดือน ใหแ้ กบ่ คุ ลากรทม่ี ผี ลการปฏบิ ตั งิ านดเี ดน่ เปน็ ตน้ การแกป้ ญั หาเศรษฐกจิ สงั คม ทต่ี รงกบั ความตอ้ งการ ของพื้นที่ ผู้ว่าราชการจังหวัด และผู้บริหารส่วนราชการนำ�ทีมบุคลากรลงพื้นที่ประชาคม โดยบรู ณาการความร่วมมอื เพือ่ รับฟังปญั หา และความตอ้ งการของประชาชน ในระดบั พืน้ ท่ี และ นำ�ผลการรับฟังความคิดเห็นมาปรับแผนการปฏิบัติงานประจำ�ปีของจังหวัดให้สอดรับกับ ความต้องการ ทำ�ให้สามารถแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนได้อย่างความรวดเร็ว เชน่ การลงพืน้ ที่หมบู่ า้ นศรีชมช่นื เนื่องจากประชาชนมีปัญหาเรื่องน�ำ้ ที่ใช้ในการเกษตรไม่เพียงพอ จงั หวดั จงึ แกไ้ ขปญั หาโดยจดั ท�ำ โครงการขดุ สระน�ำ้ เพอ่ื การเกษตรบา้ นศรชี มชน่ื โดยใชง้ บเงนิ เหลอื จา่ ย (งบพฒั นาจังหวดั ) เปน็ ตน้ แนวทางการสรา้ งองคก์ ารคณุ ภาพทย่ี ง่ั ยนื
8089 หมวด 1 ด้านการนำ�องคก์ ารและความรับผิดชอบตอ่ สังคม เปา้ หมายของการพัฒนาเพื่อความผาสกุ ของชาวหนองคาย จากความมุ่งมั่นของจังหวัดหนองคาย Nongkhaibest และเพิ่มช่องทางการตลาด ไปสกู่ ารพฒั นาจงั หวดั มงุ่ เนน้ การท�ำ งานเปน็ ทมี เช่น ส่งเสริมการขายสินค้าออนไลน์ จัดหา ทม่ี าจากกระบวนการมสี ว่ นรว่ มของภาคสว่ นตา่ งๆ ตลาดจำ�หน่ายสินค้าเกษตรทง้ั ในและตา่ งประเทศ อยา่ งจรงิ จงั น�ำ ไปสเู่ ปา้ หมายเดยี วกนั คอื การสรา้ ง รวมถงึ การเสรมิ สรา้ งกลุ่มผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ ความผาสุกให้กับชุมชน สังคมโดยรวมทั้ง ใหม้ ขี ดี ความสามารถในการแข่งขนั เปน็ ตน้ การสนบั สนนุ ชมุ ชนและสงั คม โดยใชข้ อ้ มลู พน้ื ฐาน ซง่ึ ผลส�ำ เรจ็ จากการสง่ เสรมิ ดา้ นการเกษตร ของชุมชน มาวางแผนพฒั นา เชน่ การรวมกลมุ่ อย่างครบวงจรคือปี พ.ศ.2560 ประชาชน ปัญหาที่สำ�คัญ อาชีพ ความต้องการ พื้นฐาน ในจงั หวดั หนองคาย มรี ายไดเ้ ฉลย่ี 217,355 บาท/ ความรู้ เพื่อให้การพัฒนาตรงกับศักยภาพ ครวั เรอื น/ปี หรอื 75,031 บาท/คน/ปี เพม่ิ ขน้ึ ทีแ่ ทจ้ ริงของแต่ละพน้ื ท่ี และด�ำ เนินการสง่ เสริม 137 บาท/คน/ปี นอกจากนี้ยงั มีการสนบั สนนุ สนับสนุนให้ชุมชน/หมู่บ้าน สังคม มีอาชีพ ชุมชนด้านอืน่ ๆ เช่นการนำ�จดุ เดน่ ของหม่บู ้าน ทส่ี ามารถสรา้ งรายไดใ้ หก้ บั ตนเอง และครอบครวั มาพฒั นาใหเ้ ปน็ หมบู่ า้ น OTOP เพอ่ื การทอ่ งเทย่ี ว มคี วามเข้มแข็ง สามารถพึ่งพาตนเองได้ เช่น โดยพัฒนาผลิตภัณฑ์ พัฒนาศักยภาพแกนนำ� การส่งเสริมด้านการเกษตรอย่างครบวงจร พัฒนาภูมิทัศน์ของหมู่บ้าน และพัฒนาให้เป็น ตั้งแต่ ต้นน้ำ�โดยการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน จดุ แลนดม์ ารค์ เพอ่ื การทอ่ งเทย่ี ว การจดั กจิ กรรม ทางการเกษตร (บรหิ ารจดั การน�ำ้ เพอ่ื การเกษตร) การเดินแบบผ้าไทยเพื่อการกุศล ซึ่งเป็นการ และการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ การผลติ สนิ คา้ เกษตร สนับสนุนผ้าไทยของชุมชนให้เป็นท่ีรู้จักท่ัวไป ไปสูก่ ลางนำ�้ คอื การเพม่ิ มูลคา่ สนิ คา้ เกษตรจาก สร้างรายได้ให้ผู้ผลิตเพิ่มขึ้น การให้ชุมชน การแปรรูปโดยใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านมาพัฒนา ที่อยู่ใกล้พื้นที่อนุรักษ์ป่าไม้ มีส่วนร่วมใน เปน็ องคค์ วามรู้ และใชป้ ระโยชน์จากเทคโนโลยี การปลูก ดูแล รักษา ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ ในการต่อยอดเพื่อการพัฒนา เช่น ปลานิล เพื่อสร้างความผูกพันให้ชุมชนเกิดความรักและ แดดเดยี ว ขา้ วกลอ้ งบรรจถุ งุ สญุ ญากาศ กลว้ ยตาก หวงแหนในป่าไม้ เป็นต้น กล้วยทอด สบู่กล้วยหอม สับปะรดกวน มะเขือเทศเชื่อม ฯลฯ และส่งเสริมให้เข้า รับการรับรองมาตรฐานการผลิต GAP และ ป ล า ย นำ้ � ใ น ก า ร พั ฒ น า เ ก ษ ต ร ก ร สู่ ก า ร เ ป็ น Smart farmer และYong smart farmer การส่งเสริมการตลาด/สร้างแบรนด์ เช่น
8190 หมวด 1 ด้านการนำ�องค์การและความรับผิดชอบต่อสังคม สำ�หรับเรื่อง ความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม การทห่ี นว่ ยงานของรฐั อนญุ าตใหผ้ ปู้ ระกอบการ จังหวัดหนองคายได้มีการคำ�นึงถึงผลกระทบ ประกอบกิจการดูดทรายในแม่น้ำ�โขง ส่งผลให้ เชิงลบ ที่อาจเกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานของ หน่วยงาน โดยผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้บริหาร ประชาชน นักท่องเที่ยวได้รับผลกระทบ เช่น สว่ นราชการ บคุ ลากร และผทู้ ม่ี สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งรว่ มกนั กำ�หนดมาตรการ/แนวทางจัดการกับผลกระทบ มีฝุ่นละออง ถนนชำ�รุด มีเศษวัสดุหล่นบนถนน ทางลบที่อาจเกิดขึ้น และมีผลกระทบต่อชุมชน สังคม ดังเช่น การแก้ไขปัญหาผลกระทบจาก ท ำ � ใ ห ้ เ กิ ด อ ุ บ ั ต ิ เ ห ต ุ ท า ง ถ น น ห ล า ย ค ร ั ้ ง การอนญุ าตใหด้ ดู ทรายในแมน่ �ำ้ โขง เนอ่ื งมาจาก ตลิ่งแม่น้ำ�โขงบางแห่งมีการพังทลาย จังหวัด หนองคายไดม้ แี นวทางการแกไ้ ขปญั หาดงั กลา่ ว โดยมีการวิเคราะห์ตั้งแต่ต้นน้ำ� กลางน้ำ� และ ปลายน้ำ� ดงั ภาพที่ 4 ตวั อยา่ งกระบวนการจดั การผลกระทบเชงิ ลบ (กรณแี กไ้ ขปญั หาการดดู ทรายจากแมน่ ำ้ �โขง)
8291 หมวด 1 ด้านการนำ�องค์การและความรับผดิ ชอบต่อสังคม นอกจากนี้ในการแก้ปัญหาและสร้าง ทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ จนถึงพื้นที่ตอนใน ความผาสุกให้แก่ชุมชน ทีมผู้บริหารจังหวัด ทไ่ี มต่ ดิ กบั แมน่ �ำ้ โขง ชว่ ยให้สามารถแกไ้ ขปัญหา หนองคาย ได้ก�ำ กับดูแล ตดิ ตามการด�ำ เนนิ งาน ใหแ้ กเ่ กษตรกรให้สามารถมีน�้ำ ใช้ไดอ้ ยา่ งทวั่ ถึง อย่างเข้มข้นผ่านโครงการผู้ว่าพาไปยาม ตลอดทั้งปี ได้ผลผลิตดี และสร้างรายได้ โดยผวู้ า่ ราชการจงั หวดั น�ำ ทมี หวั หนา้ สว่ นราชการ มาสู่ครอบครัวซึ่งผลสำ�เร็จจากโครงการหินโงม บคุ ลากร สอ่ื มวลชน ลงพน้ื ทพ่ี ดู คยุ สรา้ งการรบั รู้ โมเดล คือ เกษตรกรปลูกข้าวเพิ่มขึ้นจาก ส่อื สารแนวทางส�ำ คญั ใหก้ ับทกุ ภาคสว่ นรวมถงึ 516 ครวั เรอื น เปน็ 802 ครัวเรอื น เพ่มิ ขนึ้ ทั้งเกษตรกรและประชาชน รวมถึงสอบถาม รอ้ ยละ 55.43 เนอ่ื งจากมีนำ้�เพยี งพอในการ ปัญหาความต้องการของประชาชนในพน้ื ที่ เช่น ปลูกข้าวซึ่งเป็นโครงการท่ีเกษตรกรในพื้นท่ีได้ กรณีที่ประชาชนได้รับความเดือนร้อนจาก รบั ประโยชนอ์ ยา่ งสงู สดุ จากการด�ำ เนนิ งานตา่ ง ๆ ปัญหาภัยแล้ง และในฤดูฝนน้ำ�จะท่วมพื้นที่ เหล่านี้ ทำ�ให้ประชาชนชาวหนองคายมี ทางการเกษตร พืชผลทางการเกษตรได้รับ ค ว า ม ม่ั น ใ จ แ ล ะ ไ ว้ ว า ง ใ จ ไ ด้ ว่ า ที ม ผู้ บ ริ ห า ร ความเสียหายจำ�นวนมาก เกษตรกรมีรายได้ ของจังหวัดจะสามารถนำ�พาความสุขพร้อม ไม่เพียงพอในการดำ�รงชีพ ผู้ว่าราชการจังหวัด ส ร้ า ง ค ว า ม ผ า สุ ก ใ ห้ เ กิ ด ข้ึ น ภ า ย ใ น สั ง ค ม ร่ ว ม กั บ ส่ ว น ร า ช ก า ร ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง ไ ด้ วิ เ ค ร า ะ ห์ จังหวัดหนองคายได้ตามค่านิยมของจังหวัด สาเหตุของปญั หาพบวา่ เกดิ จากการใชป้ ระโยชน์ “หนองคายเมืองสะดวก สะอาด ปลอดภัย จากแม่น้ำ�โขงที่ไม่เต็มศักยภาพ จึงมีแนวคิด ม่นั ใจ นา่ อย”ู่ แก้ไขปัญหาภัยแล้งของจังหวัดหนองคาย อยา่ งย่ังยืน ภายใตช้ อ่ื “โครงการหินโงมโมเดล” เ ป ็ น ก า ร บ ร ิ ห า ร จัดการน้ำ�โดยการสูบนำ้�โขง เข้ามาสู่คลองส่งนำ้�และเก็บกักน้ำ�ตามหนองน้ำ�
92 จงั หวดั นนทบุรี หมวด 1 ดา้ นการนำองคก์ ารและความรับผิดชอบต่อสังคม การกำหนดวิสัยทัศน์และเป้าหมาย วิสัยทัศน : ในการบรรลุความสำเร็จที่ชัดเจน ในการบรหิ าร เ มื อ ง ที่ อ ยู่ อ า ศั ย ชั้ น ดี ข อ ง ค น ทุ ก ร ะ ดั บ การพัฒนาในเชิงพ้ืนท่ี เพื่อแก้ไขปัญห า โดยมีคุณภาพชีวิตที่ดีเย่ียม และเปน็ เมือง ค วามเดือดร้อนของประชาชนในจังหวัด เศรษ ฐ กิ จ ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ที่ มี คุ ณ ภ า พ แ ล ะ และการมุ่งเน้นความเป็นเมืองนนทบุรี ที่ต้องมี ได้มาตรฐาน ความสะอาด สะดวก สบาย และปลอดภยั มกี าร พนั ธกจิ : บริหารเชิงยุทธศาสตร์ที่ทำให้ดำเนินการสำเร็จ 1. พัฒนาและบริหารจัดการจังหวัดนนทบรุ ี ตามเปา้ หมายของผบู้ รหิ ารโดยมผี วู้ า่ ราชการจงั หวดั ให้เป็นเมืองท่ีมีสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสม เปน็ ผนู้ ำ ทไ่ี มเ่ พยี งแตม่ องเหน็ วกิ ฤติ และไมไ่ ดม้ อง แก่การเป็นที่อยู่อาศัยชั้นดีเพื่อประชาชน ทกุ อยา่ งเปน็ ปญั หา แตจ่ ะพจิ ารณาวา่ ทำแบบไหน มีคุณภาพชีวิตที่มีสุข แลว้ ถงึ ไดผ้ ล และมแี นวทางแกไ้ ขปญั หาประกอบ 2. เสริมสร้างและพัฒนาจังหวัดนนทบุรี กนั ดว้ ย รวมท้ัง มีมุมมองในภาพกว้างในการ ให้กลายเป็นเมืองแห่งเศรษฐกิจสร้างสรรค์ จัดการเชิงยุทธศาสตร์และสามารถเลือกคนท่ี เพ่ือเพ่ิมมูลค่าเพ่ิมให้กับสินค้าและบริการ เหมาะสมหรือผู้ที่รับผิดชอบในงานน้ันเพื่อให้ ให้มีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล เขา้ ไปจดั การกบั ปญั หาได้ เปน็ การสรา้ งภาวะผนู้ ำ 3. พัฒนาจังหวัดนนทบุรีให้เป็นศูนย์กลาง แกบ่ คุ ลากรในทกุ ระดบั ทสี่ ามารถคดิ รเิ รม่ิ งานต่างๆ แห่งการค้านานาชาติ ในหนา้ ทขี่ องตน ผู้ว่าราชการจังหวัดมีบทบาท 4. สร้างเสริมสังคมนนทบุรีให้มีคุณธรรม เป็น “ครูใหญ่” ที่คอยติดตาม และชแี้ นะเมอ่ื เกดิ นำความรู้ สู่การดำรงชีวิตตามแนวปรัชญา ขอ้ ขัดข้อง นอกจากน้ัน ส่ิงสำคัญคือการสร้าง ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และบริหารราชการ การมสี ว่ นรว่ มของภาคเอกชนและภาคประชาชน ตามหลักธรรมาภิบาล ในพื้นท่ี ตามหลักการประชารฐั ซง่ึ มภี าครฐั 5. เตรยี มความพร้อมของจังหวัดรองรับ รเิ รมิ่ และภาคเอกชนหนนุ เสรมิ เพอ่ื บรู ณาการ การเขา้ สปู่ ระชาคมอาเซยี นของประเทศไทย ความร่วมมือการบริหารราชการของจังหวัด ในปี 2558 มคี วามสำคญั เชิงเปรยี บเทียบ ให้สามารถบริหารงานแก้ไขปัญหาและพัฒนา ของพันธกิจหรือหน้าท่ีต่อความสำเร็จของ พนื้ ที่ในจังหวัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ ส่วนราชการ บงั เกดิ ผลอยา่ งเปน็ รปู ธรรมได ้ ค่านิยม : D-TRACT Discovery ใฝ่หาความรู้ Teamwork ทำงานเป็นทีม Relevancy ทนั โลก ทนั เหตกุ ารณ์ เรยี นรู้ ปรับตัวอย่างต่อเน่ือง Activeness ขยนั ตง้ั ใจทำงานและทำงาน เชงิ รกุ Competency ความสามารถในการใหบ้ รกิ าร Transparency โปร่งใส 35
93 จงั หวัดนนทบุรี เป็นเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร มีความหนาแน่นของ ประชากรมากเปน็ อนั ดบั 2 ของประเทศรองจากกรุงเทพมหานคร ชาวจงั หวดั นนทบรุ จี งึ มี วิถีชีวิตท่ีผสมผสานระหว่างความเป็นสังคมเกษตรกรรมแบบดั้งเดิมกับสังคมเมืองแบบ พาณชิ ยกรรม ซง่ึ เป็นความท้าทายของการบริหารจดั การจงั หวัดนนทบุรที ีจ่ ะต้องสร้างสมดลุ ระหว่างการรักษาอัตลักษณ์วิถีชีวิตแบบด้ังเดิมของชุมชนให้สามารถสอดประสานเข้ากับ ความก้าวหน้าทางวิทยาการและความเป็นเมืองที่คุกคามวิถีชีวิตของชมุ ชนเดมิ สง่ ผลให้ นนทบรุ ตี อ้ งมแี นวทางการบรหิ ารจดั การจงั หวดั ทเี่ ปน็ ระบบเพอ่ื สรา้ งสรรคค์ ณุ ภาพชวี ติ ทด่ี เี ยยี่ ม ใหแ้ กช่ าวนนทบรุ ี นนทบรุ ี 4.0 นโยบายสำคญั ในการขบั เคลอื่ นจงั หวดั อยา่ งมวี สิ ยั ทศั น ์ คณะผบู้ รหิ ารของจงั หวัดนนทบุรี โดยผู้วา่ ราชการจงั หวดั รองผู้ว่าราชการจงั หวดั ดา้ นเศรษฐกิจและความม่ันคง รองผู้ว่าราชการจังหวัดด้านการบริหารจัดการและสังคม คณะกรรมการจงั หวดั และคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (กบจ.) ไดว้ าง นโยบายและวาระการพัฒนาจังหวัดให้สอดคล้องกับนโยบายชาติ โดยยึดเอาแนวทางของ ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี ภายใตว้ สิ ยั ทศั น์ “ประเทศทมี่ นั่ คง ประชาชนมง่ั คง่ั อยา่ งยง่ั ยนื ” และ ประเทศไทย 4.0 (THAILAND 4.0) รวมถงึ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาตฉิ บบั ท่ี 12 เปน็ กรอบในการกำหนดยุทธศาสตร์ของจงั หวัดโดยใช้เครอ่ื งมือ SWOT Analysis วเิ คราะห์ จดุ แขง็ จดุ ออ่ น ภยั คกุ คาม และโอกาสในการพัฒนาที่มีอยู่ในปัจจุบันและที่กำลังจะเกดิ ขนึ้ ในอนาคตของจังหวดั เพ่ือกำหนดประเดน็ การพัฒนาจงั หวดั ทเี่ หมาะสม โดยผา่ นกระบวนการ จดั ประชมุ เวทปี ระชาคมเพอ่ื รับฟังปัญหาความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี เพอื่ ใหท้ กุ ภาคส่วนมีส่วนร่วมในการกำหนดทิศทางของจังหวัดร่วมกัน เกิดเป็นวิสัยทศั น์ ทตี่ อ้ งการใหบ้ รรลเุ ปา้ ประสงค์ คอื จงั หวดั นนทบรุ ี เปน็ เมอื งทอี่ ยอู่ าศยั คณุ ภาพดแี ละมเี ศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ โดยมีเป้าหมายใหจ้ งั หวดั เปน็ เมอื งทอ่ี ยอู่ าศยั ชนั้ ดขี องคนทกุ ระดับ มีคุณภาพชีวิต ที่ดเี ยยี่ ม และเป็นเมืองเศรษฐกิจสร้างสรรค์ที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน โดยกำหนดเปน็ นโยบายวาระภายใตแ้ นวคดิ “นนทบรุ ี 4.0 : คณุ ภาพ มาตรฐาน นวตั กรรม และยงั่ ยนื ” 36
คณะผูบริหารของจังหวัดนนทบุรี โดยผูวาราชการจังหวัด รองผูวาราชการจังหวัดดานเศรษฐกิจและ 94 ความม่ันคง รองผูวาราชการจังหวัดดานการบริหารจัดการและสังคม คณะกรมการจังหวัด และคณะ กรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (กบจ.) ไดวางนโยบายและวาระการพัฒนาจังหวัดใหสอดคลองกับ นโยบายชาติ โดยยึดเอาแนวทางของยุทธศาสตรช าติ 20 ป ภายใตว ิสัยทัศน “ประเทศที่ม่ันคง ประชาชนม่ังค อยางย่ังยืน” และประเทศไทย 4.0 (THAILAND 4.0) รวมถึ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหง ชาติฉบับท่ี 12 เปนกรอบใน ก า ร กํ า ห น ด ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ข อ จังหวัดโดยใชเคร่ืองมือ SWOT Analysis วิเคราะหจุดแข็ จุดออน ภัยคุกคาม และโอกาส ในการพัฒนาที่มีอยูในปจจุบัน และที่กําลังจะเกิดขึ้นในอนาคต ของจังหวัดเพ่ือกําหนดประเด็น การพัฒนาจังหวัดที่เหมาะสม โดยผานกระบวนการจัดประชุม เวทีประชาคมเพื่อรับฟงปญหา ค ว า ม ต อ ง ก า ร ข อ ง ข อ ผูรับบริการและผูมีสวนไดสวน เสีย เพื่อใหทุกภาคสวนมีสวน รวมในการกําหนดทิศทางขอ จงั หวดั รวมกัน เกิดเปนวิสัยทัศน ที่ตองการใหบรรลุเปาประสงค คือ จังหวัดนนทบุรี เปนเมืองท อ ยู อ า ศั ย คุ ณ ภ า พ ดี แ ล ะ ม ภาพภทาี่ พ1ทกี่ 1ารกกาำรหกํานหดนแดนแวนควิดคิด“น“นนททบบุรรุี ี44..00”” เศรษฐกิจสรางสรรค โดยม เปาหมายใหจังหวัดเปนเมืองท แนวคอดิ ยนูอนาทศัยบชรุ ้ันี ด4ีข.0องคมนเี ปทุกา้ รหะมดาับยเมพีคอืุ่ณใภหาจ้ พงั ชหีววิตดัทน่ีดนีเยท่ียบมรุ แมี ลคีะวเปานมเสมะือดงเวศกรษสฐกะิจอสารดางสรบราคยท่ีมีคุณภาพและได สแลาธะปารลณอดะภบยั รปกิยมราัง่าะยรตกืนเรชอฐ”งิาบรนดกุ โดว้ ดยว้ ยยกน1ําห)วตนั จดกงั เรหปรนวมนดั โเสพยะบมิ่ ดามวยากวตารร:ะฐภาเพานยเิ่มใมตคอื แุณงนวภค2าิด)พจ“กงันหานรวจดัทรสบาะุรจอี 4รา.0ดส่ง::เคสลุณดริมปภารกพมิาารมณขาตนขรยสฐะ่างน นวัตกรรม และ ถกู สขุ อนามยั จดั การป้ายเถ่ือน บริหารจัดการน้ำ 3) จังหวัดสบาย : สร้างชุมชนสีเขยี ว เศรษฐกจิ ฐานรากแขง็ แกรง่ เพมิ่ คณุ ภาพชวี ติ ประชาชนเมอื ง ยดึ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง และ 4) จังหวัดปลอดภัย : บริหารจดั การสาธารณภยั อาชญากรรม ยาเสพตดิ แรงงานตา่ งดา้ ว นำ้ ทว่ มถนน นอกจากนี้ จงั หวดั นนทบรุ ยี งั มรี ะบบการบรหิ ารงานเชงิ ยทุ ธศาสตรเ์ พอื่ ผลกั ดัน ให้จังหวดั นนทบุรีไปสู่ Smart City ด้วยการออกแบบแนวคิดอารยสถาปัตย์ (Universal Design) และการใช้มาตรการผังเมืองเพื่อเพิ่มพื้นท่ีสีเขียวและบริหารการขยายตวั ของเมอื ง อยา่ งมแี บบแผน จดุ เดน่ ของการกำหนดนโยบายนนทบรุ ี 4.0 คอื การวางนโยบาย โดยระบตุ วั ช้ีวัด กำกับกิจกรรมการดำเนินงานต่างๆ ซ่ึงต้องปฏิบัติและกำหนดผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน เพอื่ สนบั สนนุ ใหย้ ทุ ธศาสตรจ์ งั หวดั บรรลผุ ลไดอ้ ยา่ งเปน็ รปู ธรรม 37
มีตัวช9ี้ว5ัดกํากับมาตรการกิจกรรมตาง ๆ และผูรับผิดชอบแตละประเด็นอยาง รลตุ ามวตั ถุประสงคตามเปา หมาย รวมทัง้ ระบหุ นว ยงานผรู ับผิดชอบในแตละ หงนวน2ัดท)สจะบดงัุรหวี 4กว ขส.ัด0ับ:รสเเคา้มะพงลีเอ่ื่ิมอภปานใคาานดรวุณหกะ:ะาบมผภลรบปาดานู้บยฏพปำริบเแิกหรพัตกาาิมงิ่ือรบร่าาจในจคณุัดหขรลกอจขาางาจังยรจกหจรังะรหังสวหวทถงัดดัวเกูุกนัดนสรสนั้รนุะขอิมทดผยอกูว้บบั่านา่างรุรรรไาารีมปูขมชกีคแนกัย็ตบาวสารมาจบจงมัดงัสขหผสอากวู้วธะางัด่าาดรจรรระปาวะณเชบกปาก็นะยบาสฟเรกบถะจันาังื่อรเอรฟหิกนานือวาดงัดำรทบทเเพสส่ี รชด่ีำียบิหิคง ีงารัญาคยุกรนในเดกียาวร งชุมชนสเี ขียอวาจเศไมร่สษามฐากริจถทฐำาในห้เรปา้ากหแมาขย็งขแอกงจรังงหเวพัด่ิมปรคะุณสบภคาวพามชสีวำเิตร็จปไรด้ะชจาังหชวนัดเนมนือทงบุรยีกึด็เช่นกัน yก4จ) าดกวจนยังี้กหจาวังรหัดออกใเจวหปายอ้าัด้แร่าลหกทกงนนอหแ่ผ่ีจน้านู้ดบับงททหึ่งรภบี่แคิหวบตัยือแัาด่ลุรร:นจะทียกะควุกังาบนครบรมระทมิดรีรรดี่รีรลอะิหับับะุแบาบภผานริดบาบรวยยชกจกคใอาสนัดิดารบถจนรนกใังนาำบนาหทปงทรรวา่ีแตัดิหนบสขยุร็งาาสีแสรธำ4กา(หงาUมร.าร0ร่งาัnบนรณไคถiเแvดวชรภล้eนาิเิงระัยมั้นr่ิมยมsสโีผุทaอำคปู้วเlารธรัจ่าง็จชรศจกDขาัยญาาชอeแรสกงาตหsจตาก่าi่งังรgงรหครจๆnเังววรพ)หัดามด่ืวมอน้วัดแนสผยยเลำทตปลาเบะน็นรักเุร็เจกแสอดีนขบาพงั้นันอบรตงใอแใเจหกิลยดชังิด่าะ หงตจทวา้อัี่ดดกงี ขียวและบรปหิ ฏาิบรัตกิงาานรเขอยง าโยดตยผวั ู้วข่าอรางชเมกาือรงจอังหยวา ัดงจมะเีแปบรียบบแเสผมนือน “ครูใหญ่” มีบทบาทเป็นผู้คอย รทกุ ระดับจตะิดรตตปูิดามตแงาามบนกาบรแทขลำะองใาหงน้ครผำ่ปาะนรบึกรษะบบาใกบนตยาัวารมชน้ีทวัด่ีผําทู้ปท่ีสฏถิบ่ีดิตัตีิจิเกังิดหปวัญัดไหดา้เเกท็บ่านข้ั้อนมูลซม่ึงผาู้วเพ่าร่ือาเชปก็นาตรัวจกังหำกวับัด การทำงาน จงึ ไดก้ อ่ ให้เกดิ การสรา้ งภาวะผนู้ ำใหเ้ กิดแกผ่ ู้ปฏบิ ตั ใิ นทกุ ระดบั ในการริเร่ิมและ งหวัดน้ัน ผตูวัดาสรินาใชจใกนาภรารจะังคหววามัดรจับะผิดเปชอนบฟขอนงเตฟนอซึ่งงจทะ่ีสช่วํายคสัญร้าใงนควกาามรยข่ังยับืนเใคนลระื่อบนบรกาะรบนบำให้แก่ าม ผวู าราชจกังาหรวัดจ ังหวัดเพยี งคนเดยี วอาจไมส ามารถทาํ ใหเปาหมายของจังหวัด นทบุรีก็เชน กัน การที่จังหวัดจะบรรลุแนวคิดนนทบุรี 4.0 ไดนั้น ปจจัยแหง น่ึงคือ การมี ผูวาราชการ ผูบริหารทุก มสําเร็จของ หนาที่แตละ เร่ิมโครงการ ฏิบัติงานเอง รียบเสมือน ติดตามงาน ติเกิดปญหา ะติดตามการ ภาพภทาี่พ2ท่ี ก2 ากรารกกําำกกับบั ดูแดลแู กลารกปาฏิบรัตปิงฏานบิ ตั ิงาน จังหวัดไดเก็บขอมูลมาเพื่อเปนตัวกํากับการทํางาน จึงไดกอใหเกิดการสราง กระดบั ในการรเิ ริม่ และตัดสินใจในภาระความรบั ผดิ ชอบของตนซึ่งจะชวยสราง จงั หวดั 38
96 เอกชนหนุนเสริม แตง่ เติมความสำเรจ็ ให้จังหวดั ผู้บริหารสร้างความเช่ือมั่นในการกำหนดทิศทางและวิสัยทัศน์ของจังหวัด ที่สามารถปฏบิ ตั ใิ หบ้ รรลผุ ลไดจ้ รงิ ทำใหภ้ าคเอกชนในจงั หวดั มองเหน็ ศกั ยภาพของผู้บริหาร จนเกิดความเชื่อม่ันและพร้อมสร้างความร่วมมือ เกิดข้ึนเป็นการทำงานร่วมกันระหว่าง ภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ภาคประชาสังคม และภาคประชาชน ในพื้นที่จังหวดั นนทบรุ ี กอ่ ใหเ้ กดิ การมสี ว่ นรว่ มและสนบั สนนุ การปฏิบัติงาน จนเกิดเป็น เครือข่ายการทำงาน ทำให้ผู้บริหารและบุคลากรของจังหวัดนนทบุรีสามารถปฏิบัติงาน ได้ตามแผนงานหรอื นโยบายตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ขน้ึ ดงั จะเหน็ ไดจ้ าก ตัวอย่าง ของการจัดตั้งศูนย์บริการภาครัฐแบบเบ็ดเสร็จ (Government Center) จังหวัดนนทบุรี ซึ่งต้งั อยใู่ นพน้ื ท่ีของเอกชนเพอ่ื ใหบ้ ริการประชาชนในงานบรกิ ารภาครัฐจำนวน 6 กระทรวง 14 หน่วยงาน ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา เวสท์เกต โดยมีผู้ใช้บริการเฉลี่ยวันละ 1,500 ราย ในกรณีน้ี ภาคเอกชนได้เห็นถึงประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับจากการเข้าถึง การให้บริการของหน่วยงานภาครัฐได้อย่างสะดวกมากขึ้น จึงได้อนุญาตให้จังหวัดจัดตั้ง ศูนย์บริการภาครัฐแบบเบ็ดเสร็จในพื้นที่ศูนย์การค้าฯ โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายเรื่องพื้นท่ี และ ยกเว้นค่าสาธารณูปโภคภายในศูนย์ฯ เป็นเวลา 3 ปี รวมท้ัง ภาคเอกชนรายอ่ืนๆ ได้ สนับสนุนครุภัณฑ์สำนักงานและครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ถือเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการของภาครัฐที่มีความครอบคลุม เพื่อตอบสนอง ต่อความต้องการของประชาชนและเอกชน ท่ีสอดคล้องกับประเด็นจังหวัดสะดวก ต ามแนวคิดนนทนบโุรยีบ4า.ย0ต างๆไดอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นดังจะเห็นไดจากตเนัวบนอ็ดยทเสาบงรุรข็จี อซ(งึ่Gงกตoา้ังvรอeจยrัดnูใตmนั้งพศeื้นูนnยทt บ่ีขCรอิกeงาnเอรteภกrาช)คนรจเัฐพัง บรกิ ารประชาชนในงานบริการภาครัฐจํา 6 กระทรวง 14 หนวยงาน ณ ศูนยกา เซ็นทรัลพลาซา เวสทเกต โดยมีผูใชบร เฉล่ยี วันละ 1,500 ราย ในกรณนี ้ี ภาคเอ ไดเห็นถึงประโยชนที่ประชาชนจะไดรับ การเขา ถงึ การใหบรกิ ารของหนวยงานภา ไดอยางสะดวกมากขึ้น จึงไดอนุญา จังหวดั จดั ตั้งศนู ยบริการภาครฐั แบบเบ็ด ในพ้นื ทศ่ี นู ยการคา ฯโดยไมเสียคาใชจาย พ้ืนที่ และยกเวนคาสาธารณูปโภคภา ศูนยฯ เปนเวลา 3 ป รวมท้ัง ภาคเอกชน อื่น ๆ ไดสนับสนุนครุภัณฑสํานักงาน ภาพภทาพ่ี 3ท่ีศ3ูนศยูน์บยรบ ิกรากิ ราภราภคาครัฐรฐัแแบบบบเเบบ็ดด็ เสร็จจงั หหววัดัดนนนนททบบรุ ุีร ี ครุภัณฑคอมพิวเตอรในการปฏิบัติงาน เจาหนาที่ ถือเปนการเพิ่มประสิทธิภาพ ใหบริการของภาครัฐท่ีมีความครอบคลุม เพ่ือตอบสนองตอความตองการของประชาชนและเอกช สอดคลองกบั ประเด็นจงั หวัดสะดวกตามแนวคดิ นนทบรุ ี 4.0 39 ผลงานท่ีโดดเดนจากการขบั เคล่ือนองคการ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169