Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 2 สารอาหาร

บทที่ 2 สารอาหาร

Published by Chanchira Chatrawanit, 2021-06-30 03:36:58

Description: บทที่ 2 สารอาหาร

Search

Read the Text Version

วิชา 2312101 การจดั การโภชนาการเพื่อ ธรุ กจิ อาหาร บทท่ี 2 สารอาหาร 1

เนื้อหาในบทเรียน 1. ประเภทของสารอาหาร 2. สารอาหารคาร์โบไฮเดรต 3. สารอาหารโปรตีน 4. สารอาหารไขมัน 6/30/2021 FB 60101 บทท่ี 2 2

อาหาร : สง่ิ ท่ีรบั เขา้ สรู่ ่างกาย (Food) * ดม่ื * กนิ ใหป้ ระโยชน์ * ฉดี แกร่ ่างกาย สารอาหาร อาหาร : สิง่ ท่เี ขา้ สู่ร่างกาย และรา่ งกายสามารถนาไปใชเ้ ป็น ประโยชน์ในดา้ นการเจริญเติบโต การคา้ จนุ และการซอ่ มแซม ส่วนต่างๆของร่างกาย 6/30/2021 FB 60101 บทที่ 2 3

สารอาหาร อาหารประกอบด้วย\"สารอาหาร“ 6 ประเภท โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมนั วติ ามิน เกลอื แร่ นา้ 6/30/2021 FB 60101 บทที่ 2 4

ประเภทของสารอาหาร 1. กลมุ่ สารอาหารท่ีใหพ้ ลังงาน คารโ์ บไฮเดรต ไขมนั และโปรตนี สารอาหารทง้ั หมดในกลุม่ นี้จดั เปน็ สารอาหารหลักทจ่ี าเป็นต่อรา่ งกาย และขาดไมไ่ ด้ 2. กลุม่ สารอาหารที่ไมใ่ หพ้ ลงั งาน วิตามนิ , เกลือแร่ และน้า สารอาหารกลุ่มนจ้ี าเป็นต่อรา่ งกาย และ ขาดไมไ่ ด้ 6/30/2021 FB 60101 บทที่ 2 5

พลงั งาน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน พลงั งาน Kilocalories ( Cal) (Kcal) , Kilojoules 1 Kcal = 4.18 Kj การใชพ้ ลงั งานในร่างกาย - Basal metabolism :Basal Metabolism Rate (BMR) - การเจรญิ เติบโต - ประกอบกจิ กรรม - การยอ่ ย , ดูดซึม & สะสมอาหาร (10 %) 6/30/2021 FB 60101 บทที่ 2 6

สารอาหารคาร์โบไฮเดรต Carbohydrate (CHO) สารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต เป็นสารอาหารทีม่ ี ส่วนประกอบ ของ คารบ์ อน ไฮโดรเจน และออกซิเจน แหล่งพลงั งาน หาง่าย ราคาถูก เก็บรกั ษางา่ ย 6/30/2021 FB 60101 บทท่ี 2 7

ประเภทของ คารโ์ บไฮเดรต 6/30/2021 FB 60101 บทท่ี 2 8

การย่อย & การดูดซึม ไมม่ กี ารยอ่ ย คาร์โบไฮเดรต 6/30/2021 FB 60101 บทที่ 2 กระแส เลือด 9

glucose เส้นเลอื ดดา ตับ Galactose Fructose 10 การเผาผลาญ ของ CHO  Liver  Fat tissue  Muscle  Renal 6/30/2021 FB 60101 บทท่ี 2

แหล่ง Glucose ในกระแสเลอื ด 70 - 100 mg / 100 ml. I. CHO - อาหาร** - Glycogen ทต่ี ับ -Intermediate CHO II. Non-CHO - Protein - Fat - FA , Glycerol 6/30/2021 FB 60101 บทที่ 2 11

Glucose Glu Glycogen •Energy - ตบั •Glycogen - กลา้ มเน้ือ •สารอาหารอยา่ งอนื่ Glu Fat เนอ้ื เยื่อไขมนั ไขมนั สะสม 6/30/2021 FB 60101 บทท่ี 2 12

หน้าทข่ี องคารโ์ บไฮเดรต  ใหพ้ ลงั งาน CHO 1 gm 4 กิโลแคลอรี่  ช่วยประหยดั การใช้ โปรตนี  ชว่ ยให้ไขมันเผาไหม้สมบรู ณ์  ชว่ ยการทางานของลาไส้  ส่วนประกอบของสารเคมีในร่างกาย  ช่วยทาลายสารพิษ  CHO ไขมนั / amino acid 6/30/2021 FB 60101 บทที่ 2 13

แหลง่ ที่ให้สารอาหาร คาร์โบไฮเดรต แหล่งของอาหารทีม่ คี ารโ์ บไฮเดรตสูง : พชื หัว เชน่ เผอื ก มนั เทศ มันฝรัง่ มนั ชนิดต่างๆ ธัญพชื ตา่ งๆ ถว่ั ตา่ งๆ ผกั และผลไม้บางชนดิ ผลไมบ้ างชนิดมคี ารโ์ บไฮเดรตอยูใ่ นรปู สตารช์ บางชนดิ อย่ใู นรปู ของนา้ ตาล โดยเฉพาะผลไม้ ที่มีรสหวาน เช่น ละมดุ ลาไย ขนนุ และ อินทผลมั 6/30/2021 FB 60101 บทท่ี 2 14

สารอาหารโปรตนี Protein สารอาหารโปรตนี เป็นสารอาหารทมี่ ีสว่ นประกอบ ของ คารบ์ อน ไฮโดรเจน ออกซิเจนไนโตรเจน ฟอสฟอรสั และ ซลั เฟอร์ ( C, H, O, N, P, S) สารอาหารโปรตีนทมี่ ีโมเลกุลขนาดใหญ่ ประกอบดว้ ยหนว่ ยที่เลก็ ที่สดุ เรยี กวา่ กรดอะมโิ น ในร่างกาย มี โปรตีน 15 - 25 % (กลา้ มเน้อื , เลอื ด, กระดกู และ เอ็นไซด์) 6/30/2021 FB 60101 บทที่ 2 15

ประเภทของ โปรตนี 6/30/2021 FB 60101 บทท่ี 2 16

การย่อย & การดูดซมึ ไม่มีการย่อย โปรตีน กระแส เลอื ด 6/30/2021 FB 60101 บทท่ี 2 17

 Essential Amino acids  Non - essential สังเคราะหไ์ มไ่ ด้ สงั เคราะหไ์ ด้ - Isoleucine - Glycine - Leucine - Arginine - Lysine - Glutamic acid - Methionine - Serine - Phenylanine - Threonine E amino acids - Tryptophane CHO - Valine FAT - Histidine 6/30/2021 FB 60101 บทท่ี 2 18

คุณค่าของโปรตีน โปรตีนทมี่ คี ณุ ภาพ หมายถึง โปรตีนทปี่ ระกอบดว้ ยกรดอะมิ โนท่ีจาเปน็ พรอ้ มทง้ั ชนดิ และจานวนทต่ี ้องการและมคี วามสมดุลกนั ดว้ ย คุณคา่ ของโปรตีนจะขึ้นกับประเภทของโปรตนี และ ความสามารถใน การย่อยของแต่ละคน โปรตีนเกือบทกุ ชนดิ ถูกเปลี่ยนแปลงสภาพจากเดมิ ได้ โดย เปลีย่ นไปท้ังคุณสมบัตทิ างเคมีและกายภาพตลอดจนทางชวี วทิ ยา ซึง่ เกิดจากการท่ีโปรตนี ไดร้ บั ผลกระทบจาก ความร้อน กรด ด่าง ระหวา่ งการแปรูป 6/30/2021 FB 60101 บทที่ 2 19

หนา้ ที่ของโปรตนี  ให้พลังงาน 1 กรัมให้ 4 กิโลแคลอร่ี  สรา้ ง & ซอ่ มแซมส่วนต่าง ๆ  รักษาสภาพสมดลุ ของนา้ ใน cell / หลอดเลอื ด  สร้าง Enz. hormone , antibodies (สร้าง Protein)  สรา้ ง CHO , Fat , Vit.  รกั ษาสมดุล กรด - ด่าง ในรา่ งกาย 6/30/2021 FB 60101 บทท่ี 2 20

แหลง่ ทีใ่ ห้สารอาหาร โปรตีน อาหารหลักหมทู่ ี่ 1 คอื อาหารประเภทเนื้อสตั ว์ นม ไขแ่ ละถั่วเมล็ดแหง้ อาหารจาพวกเนื้อสตั ว์ หมายถึง เมอื้ สัตวท์ ุกชนิดรวมทง้ั สัตว์บกและ สตั วน์ ้า เชน่ เน้อื หมู ไก่ เป็ด ปลา ปู หอย ก้งุ กบ เป็นต้น อาหารจาพวกนม รวมทง้ั นา้ นมจากสัตว์ทุกชนิดทีเ่ ราใชเ้ ปน็ อาหาร ไม่ว่าจะเป็นรปู นมสด นมผงหรือผลติ ภณั ฑ์ตา่ งๆจากนม อาหารจาพวกไข่ เชน่ ไขเ่ ปด็ ไข่ไก่ ไขจ่ าระเม็ด ไข่นกกระทา ไข่ นกพริ าบ อาหารจาพวกถ่ัวต่างๆและผลติ ผลจากถวั่ ไดแ้ ก่ ถวั่ เหลอื ง ถ่วั เขียว ถั่วแระ ถวั่ ดา ถว่ั ลิสง ผลิตผลทไี่ ด้จากถั่ว เชน่ เตา้ หู้ นมถั่วเหลอื ง 6/30/2021 FB 60101 บทท่ี 2 21

สารอาหารไขมนั Fat สารอาหารไขมนั เป็นสารอาหารทม่ี ีส่วนประกอบ ของ คารบ์ อน ไฮโดรเจน ออกซิเจน ( C, H, O) ไขมันเปน็ สารอาหารทีไ่ มส่ ามารถละลายในนา้ ได้ ไขมันถ้าอย่ใู นของแข็งจะ เรียกว่า ไข หรือไขมัน ถา้ อย่ใู นสภาพของเหลวเรยี กว่า นา้ มัน กรดไขมัน เปน็ สว่ นประกอบทีส่ าคญั ของไขมัน และมคี วามสาคัญต่อรา่ งกาย กรดไขมนั อมิ่ ตัวพบมากในไขมันสัตว์ และกรดไขมนั ไมอ่ ่ิมตวั พบน้ามันพืช เช่น น้ามนั ถั่วเหลือง ไขมนั เปน็ อาหารทีใ่ หพ้ ลงั งานสงู รา่ งกายสามารถสะสมไขมนั ได้ โดยมีการ จากัดปรมิ าณ นอกจากนยี้ งั สามารถเปลีย่ น คาร์โบไฮเดรตหรอื โปรตีนให้เปน็ ไขมันได้ด้วย 6/30/2021 FB 60101 บทท่ี 2 22

ประเภทของ ไขมัน 6/30/2021 FB 60101 บทท่ี 2 23

กรดไขมนั กรดไขมนั ที่จาเป็นมี 3 ชนิด คอื กรดลโิ นเลอกิ กรดลโิ นเลนิก และกรดอะ ราชิโดนกิ พบมากในน้ามันถวั่ เหลอื ง น้ามันขา้ วโพด นา้ มันฝ้าย น้ามันถั่ว ลิสง กรดไขมนั เหล่านีร้ า่ งกายไม่สามารถสงั เคราะหไ์ ด้ หรอื สังเคราะหไ์ ด้ แต่ ไม่พอเพยี ง กรดไขมนั ท่ไี ม่จาเป็น เป็นกรดไขมันท่ีรา่ งกายสงั เคราะห์ไดพ้ อเพียงกับความ ตอ้ งการ กรดไขมันมอี ยหู่ ลายชนิด กรดไขมนั ท่จี าเป็นชว่ ยในการยดื หยนุ่ ของเส้นเลอื ดฝอย & ผนงั Cell ชว่ ยลด Cholesterol ในกระแสเลือด 6/30/2021 FB 60101 บทที่ 2 24

การยอ่ ย & ไม่มกี าร การดูดซึม ย่อย 6/30/2021 ไขมัน กระแส 25 เลอื ด FB 60101 บทท่ี 2

การดูดซมึ /ขนส่ง ไขมนั FA , Glycerol เยื่อบผุ นงั ลาไสเ้ ลก็ Mono , di-glyceride Cholesterol Phospholipid ไขมนั + Protein Lipoproteins กระแสเลือด 6/30/2021 FB 60101 บทท่ี 2 26

* FA Shot chain , Glycerol เสน้ เลอื ดดา ตับ * FA long chain , Glycerol Triglycerides Mono-di-glycerides Triglycerides + Protein Lipoprotein ระบบน้าเหลือง เส้นเลือดดา หัวใจ cell ตา่ ง ๆ 6/30/2021 FB 60101 บทท่ี 2 27

หนา้ ที่ของ ไขมนั  ใหพ้ ลังงาน ไขมัน 1 กรัม ให้พลังงาน 9 kcal  ปอ้ งกนั การกระทบกระเทอื นของอวยั วะภายใน  ป้องกนั การเสียความรอ้ น  ชว่ ยพยุงใหอ้ วัยวะทรงรูป  เปลย่ี นเปน็ CHO , amino acids  เปลีย่ นเปน็ Vit.D - Cholesterol 28

สารอาหารท่ไี มใ่ ห้พลงั งาน 6/30/2021 FB 60101 บทที่ 3 29

กลมุ่ สารอาหารท่ีไม่ใหพ้ ลงั งาน วติ ามนิ , เกลือแร่ และน้า วติ ามิน หมายถงึ สารอินทรีย์ท่ีจาเปน็ ตอ่ ร่างกาย รา่ งกายจะตอ้ งการในปริมาณที่น้อย แต่รา่ งกาย จะขาดไมไ่ ด้ ถ้าขาดจะทาให้รา่ งกายมีความ ผิดปกตเิ กดิ อาการต่างๆ เกลือแรเ่ ป็นสารอาหารทร่ี า่ งกายตอ้ งการ และขาดไมไ่ ดเ้ พราะ เป็นสว่ นประกอบของอวยั วะและเนอ้ื เยื้อบางอย่างเชน่ กระดกู และฟัน เลอื ด บางชนิดเปน็ ส่วนประกอบของสารต่างๆ ที่ เกย่ี วข้องกบั กระบวน การเจริญเตบิ โตภายในรา่ งกายและยัง ช่วยในการควบคมุ การทางานอวยั วะต่างๆของร่างกายใหป้ กติ 6/30/2021 FB 60101 บทที่ 3 30

วิตามิน-Vitamin วติ ามนิ ทล่ี ะลายในไขมนั วติ ามิน เอ ดี อี เค วิตามินที่ละลายในไขมันไมไ่ ด้ (ละลายในนา้ ) วติ ามิน บี ซี 6/30/2021 FB 60101 บทท่ี 3 31

วติ ามนิ A - retinol - สัตว์ Vitamin A - C20 H27 OH - Carotene - พืช * หนว่ ยในการวัด Vitamin A Retinol Equivalent = RE 1 RE = 1 mgretinol = 6 mg beta -carotene = 12 mg carotene อ่นื ๆ 6/30/2021 FB 60101 บทท่ี 3 32

วติ ามิน A แหลง่ อาหาร หนา้ ท่ี โรค/เม่ือขาดอาหาร ตับ นา้ มันตับปลา ไข่ •ชว่ ยในการเจรญิ เตบิ โต •เดก็ ไม่เจรญิ เติบโต แดง เนย นม ผักสี ของกระดูก •มองไมเ่ หน็ ในสลัว เหลอื ง สเี ขยี ว ผลไม้บาง •ชว่ ยบารงุ สายตา •นยั ตาแหง้ หรอื ในตาอกั เสบ ชนิด •รกั ษาสขุ ภาพของผวิ หนัง •ผวิ แห้งและหยาบ 6/30/2021 FB 60101 บทท่ี 3 33

วติ ามิน D หน่วยในการวดั 400 IU = 10 mg Vit. D 1 IU Vit. D = 0.025 mg Vit.D การดดู ซึม Vit.D .ในอาหาร ท่อนา้ เหลอื ง ตบั Vit.D ผิวหนัง กระแสเลอื ด ตับ 6/30/2021 FB 60101 บทท่ี 3 34

วิตามนิ D แหล่งอาหาร หน้าท่ี โรค/เมอื่ ขาดอาหาร เนย นม ไขแ่ ดง ตบั ปลา ชว่ ยใหร้ า่ งกายดูด เป็นโรคกระดูกออ่ น ทู ปลาซาดีน ซึมธาตแุ คลเซยี ม เกิดรอยแตกในกระดกู และ แสงแดด และฟอสฟอรสั ท่ี กระดูกผดิ รปู ร่าง ลาไสเ้ ล็กเพอ่ื ให้ กระดกู และฟนั 6/30/2021 FB 60101 บทท่ี 3 35

วิตามิน E หน่วยในการวัด 1 IU = 1 mg a - tocopheryl acetate 1 mg alpha -tocopherol = 1.49 IU การดูดซึม Vit.D .ในอาหาร ทอ่ น้าเหลอื ง ตบั Vit.D ผิวหนงั กระแสเลือด ตบั 6/30/2021 FB 60101 บทที่ 3 36

วิตามนิ E แหล่งอาหาร หนา้ ที่ โรค/เมอื่ ขาดอาหาร ผักใบสีเขียว และเนอื้ สตั ว์ ทาใหเ้ มด็ เลือด เกิดโรคโลหติ จางในเด็กชาย แขง็ แรง อายุ 6 เดือน ถึง 2 ขวบ ช่วยป้องกันการ เป็นหมนั อาจทาใหแ้ ท้งได้ เป็นหมันหรือการ แทง้ 6/30/2021 FB 60101 บทท่ี 3 37

วติ ามิน K Vit.K1 - (phylloquinone) - ผกั สเี ขียว Vit.K2 - (menaquinone) การดดู ซมึ - สังเคราะห์โดย bacteriaท่ีลาไส้ Vit.K ผนงั ลาไสเ้ ล็ก ระบบนา้ เหลือง ตับ 6/30/2021 FB 60101 บทที่ 3 38

วิตามนิ K แหลง่ อาหาร หน้าท่ี โรค/เมอื่ ขาดอาหาร ผกั ใบสเี ขยี ว และ เนือ้ สตั ว์ ชว่ ยให้เลือดเปน็ ลม่ิ เลอื ดแข็งตัวเร็วกวา่ ปกติ หรอื แข็งตวั ในเดก็ แรกเกิดถึง 2 เดือน (Vit.K ชว่ ยในการ จะมีเลือดออกทัว่ ไป ตาม สร้าง prothrombin ผิวหนัง ซึง่ ช่วยให้เลือด แขง็ ตัว) 6/30/2021 FB 60101 บทท่ี 3 39

วติ ามนิ ที่ละลายในน้า B1- thiamin Biotin B2- riboflavin Choline B3 - niacin Myoinositol B6- pyridoxine Carnitine B9 - Folacin pantothenic acid B12- Cyanocobalamin 6/30/2021 FB 60101 บทที่ 3 40

วติ ามิน B1- thiamin Thiamin - HCl - ผลกึ สีขาว - กลนิ่ คล้าย yeast - ละลายน้า , ไมท่ นความรอ้ น หนา้ ทเ่ี ป็นโคเอน็ ไซดใ์ นการเผาผลาญพลงั งาน - Thiamin pyrophosphate (TPP) - Thiamin triphosphate (TTP) 6/30/2021 FB 60101 บทท่ี 3 41

วติ ามนิ B1 แหล่งอาหาร หน้าที่ โรค/เมอ่ื ขาดอาหาร ออ่ นเพลีย เบ่ืออาหาร ข้าวซอ่ มมือ เครือ่ งในสตั ว์ ชว่ ยบารุงประสาทและ การเจริญเติบโต หยดุ ชะงกั เป็นโรคเหน็บชา ตบั ถว่ั ไข่แดง มันเทศ การทางานของหัวใจ ยสี ต์ ชว่ ยในการทางานของ ทางเดินอาหาร การ ขบั ถ่าย ละระบบ กลา้ มเนอื้ 6/30/2021 FB 60101 บทที่ 3 42

วิตามนิ B2- Riboflavin ผลึกสีส้มเหลอื ง ละลายนา้ ได้ ทนความร้อน สลายตัวเมอ่ื ถกู แสง หนา้ ทเ่ี ปน็ โคเอน็ ไซด์ในการเผาผลาญพลังงาน - flavin mononucleotide (FMN) - flavin adenine danucleotide (FAD) 6/30/2021 FB 60101 บทท่ี 3 43

วติ ามิน B2 แหลง่ อาหาร หนา้ ท่ี โรค/เม่ือขาดอาหาร ไข่ นม ถ่วั เนอื้ หมู ปลา ผักสเี ขียว ช่วยในการจริญเติบโต ผวิ หนังแห้งแตก ผลไม้เปล่ือกแขง็ อย่างเป็นปกติ ลิน้ อกั เสบ ทาใหผ้ วิ หนงั ลน้ิ ตา มี เปน็ โรคเหนบ็ ชา สุขภาพท่ดี ี แข็งแรง 6/30/2021 FB 60101 บทที่ 3 44

วิตามนิ B3- Niacin - Nicotinic acid - Nicotinamide ละลายนา้ , Stable , ผลึกไม่มสี ี , รสขม หน้าท่ีเปน็ โคเอ็นไซดใ์ นการเผาผลาญพลังงาน nicotinamide adenine , dinucleotide (NAD) dinucleotide Phosphate (NADP) 6/30/2021 FB 60101 บทท่ี 3 45

วิตามนิ B3 แหลง่ อาหาร หนา้ ท่ี โรค/เมอ่ื ขาดอาหาร เน้ือสัตว์ และเคร่อื ง •หนา้ ที่เกี่ยวกับ Pellagra : ผิวหนังอักเสบ ในสัตว์ ปฏิกิริยาการเผา บริเวณทถี่ ูกแดด ท้องเดิน ผลาญทาให้เกิด ประสาทเส่ือม และความจา พลังงาน เลอะเลือน •การสร้างไขมนั ใน รา่ งกาย 6/30/2021 FB 60101 บทที่ 3 46

วิตามิน B6- Pyridoxine แหล่งอาหาร หนา้ ท่ี โรค/เม่อื ขาดอาหาร ตบั เนอื้ นม ถั่งลสิ ง ช่วยสงั เคราะห์กรด ซีด-โลหิตจางชนิด ถวั่ เหลือง เนอ้ื ปลา อะมโิ น ประสาทเส่ือม-อาการชา ข้าวกล้อง ชว่ ยในระบบยอ่ ย คันตามผวิ หนัง ผมรว่ ง อาหาร ระบบ ประสาท บารุงผวิ หนงั 6/30/2021 FB 60101 บทที่ 3 47

วิตามิน B9- Folic Acid แหลง่ อาหาร หน้าท่ี โรค/เมื่อขาดอาหาร ตับ ผักใบเขยี ว ถว่ั เมลด็ แหง้ การสงั เคราะห์ DNA ทอ้ งเสยี เสยี ดทอ้ งหรอื ท้องผูก การเจรญิ เติบโตของเซลล์ อาการเหน่ือยเพลยี และการสรา้ งเซลล์เม็ดเลือด เปน็ สวิ ฝาดลิ้น เป็นแผลทีม่ ุมปาก แดง เกิดภาวะโลหิตจาง ช่วยในเร่อื งการย่อยอาหาร ช่วยในเรอื่ งจติ ใจและ อารมณ์ ชว่ ยในระบบประสาท การพฒั นาระบบประสาท ของทารกในครรภ์ 6/30/2021 FB 60101 บทท่ี 3 48

วติ ามิน B12 – CYANO COBALAMIN แหลง่ อาหาร หนา้ ที่ โรค/เม่ือขาดอาหาร ตบั ไข่ เนอ้ื ปลา นม ชว่ ยในการสรา้ งเม็ด โรคโลหติ จาง เลือดแดง ช่วยในการ เจบ็ ลน้ิ เจบ็ ปาก สงั เคราะห์ DNA เส้นประสาทไขสนั หลงั เสื่อมสภาพ ช่วยในการ เจริญเตบิ โตของเดก็ 6/30/2021 FB 60101 บทที่ 3 49

วติ ามนิ B5 (Pantothenic Acid) เปน็ วิตามนิ ใน การสรา้ งความเจรญิ เตบิ โตของร่างกาย ช่วยสรา้ ง เซลล์ใหม่ และช่วยบารงุ ระบบประสาท รา่ งกาย คนเราต้องการวติ ามนิ B5 อย่างน้อย 200 มลิ ลิกรัม วิตามนิ B7 (Biotin) มหี น้าท่ชี ่วยในกระบวนการ เมตาบอลิซมึ ของกรดไขมัน และกรดอะมิโน ช่วย ถนอมผิวพรรณให้ปกติ รกั ษาโรคทางระบบประสาท พบได้ใน ตับ ถวั่ ต่างๆ ผลไม้ ยสี ต์ มะเขือเทศ ไขแ่ ดง การขาด Biotin จะทาใหผ้ วิ หนังเกดิ ผดผืน่ ขนรว่ ง อ่อนเพลยี คลื่นไส้ อาเจียน 6/30/2021 FB 60101 บทที่ 3 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook