Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการศึกษาดูงาน "จังหวัดสงขลา" นบส.ศธ.รุ่นที่ 11 กลุ่ม SV3/2

รายงานการศึกษาดูงาน "จังหวัดสงขลา" นบส.ศธ.รุ่นที่ 11 กลุ่ม SV3/2

Published by peo.nara96000, 2021-06-29 08:45:29

Description: รายงานการศึกษาดูงานในประเทศ "จังหวัดสงขลา"
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาหลักสูตรพัฒนานักบริหารระดับสูง
กระทรวงศึกษาธิการ (นบส.ศธ.) รุ่น 11 กลุ่ม SV3/2
สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรกรทางการศึกษา
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

Search

Read the Text Version

ข บทสรุปสำหรับผบู้ รหิ าร รายงานการศึกษาดูงานในประเทศ “จงั หวัดสงขลา” เพื่อการศึกษาเปรยี บเทยี บการบริหาร จดั การ องค์กรทั้งภาครัฐและภาคเอกชนที่มีประสิทธิภาพในการนำนโยบายสู่การปฏิบัติมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้าง ประสบการณ์จริงทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ชุมชนในการนำไปประยุกต์ใช้ในอนาคต และเพื่อเป็นการสะท้อน บทเรียนและประสบการณ์ตรงจากการศึกษาเปรียบเทียบจากหน่วยงานที่ศึกษาดูงาน ซึ่งได้สรุปประเด็นสำคัญ ๆ จากการศึกษาดูงานของจังหวัดสงขลาพบวา่ จังหวัดสงขลาได้กำหนดเปา้ หมายและทิศทางการพฒั นาจังหวดั โดยกำหนดวสิ ยั ทศั นข์ องจงั หวดั ดังน้ีคอื “สงขลา ศนู ย์กลางเศรษฐกิจภาคใต้ ประชาชนมคี ุณภาพ ส่งิ แวดล้อมย่ังยืน” และกำหนดพันธกิจ โดยการ พฒั นาเศรษฐกิจ การคา้ การท่องเทย่ี ว อตุ สาหกรรมเกษตร เพือ่ รองรบั การพัฒนาเขตพฒั นา เศรษฐกจิ พเิ ศษ และ เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจภาคใต้ พัฒนาสงขลาให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ประชาชนมีคุณภาพ จัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็นฐานการผลติ และการพัฒนาอย่างยั่งยืน พัฒนาสงขลาให้ประชาชนมี ความม่ันคง ปลอดภัย เป้าหมายการพัฒนา ในปี 2565 จังหวัดสงขลาได้ให้ความสำคัญในการพัฒนาเพื่อให้บรรลุผลใน 3 เรอ่ื ง ประกอบดว้ ย 1. สงขลาศูนย์กลางเศรษฐกิจภาคใต้ โดยการพัฒนาให้จงั หวัดสงขลามีขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่ท่สี ดุ และมีศกั ยภาพสงู สดุ ในภมู ภิ าคใต้ มรี ะบบเศรษฐกจิ ที่ม่ันคงทมี่ ีมูลคา่ การคา้ ขายแดนสงู สดุ ของประเทศ 2.ประชาชนจังหวัดสงขลามีคุณภาพ โดยการพัฒนาประชาชนในจังหวัดสงขลาจะต้องเป็นผู้ที่มี ความรู้ ความสามารถ ควบคู่กับคุณธรรมและจริยธรรม และมีความเป็นอยู่ทีด่ ีมคี ุณภาพ ชุมชนและเศรษฐกิจฐาน รากมีความเข้มแข็ง มีทัศนคติและพฤติกรรมตามบรรทัดฐานที่ดีของสังคม และต้องได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิต ทุกช่วงวัย ตามแผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของจังหวัด สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันทางศาสนา และชุมชน ได้รับการพัฒนาอย่างทั่วถึงเป็นธรรม ทุกคนเข้าถึงบริการและสวัสดิการภาครัฐ สามารถลด ความ เหลอื่ มล้ำ คนจนจะหมดไป และครอบครัวมีความสุข

ค 3. สงขลามีสิ่งแวดล้อมยั่งยืน โดยการให้ความสำคัญกับการแก้ไขปัญหาและอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การแก้ปญั หาขยะ ปญั หาน้ำเสีย การลดการใช้นำ้ มันเชื้อเพลิง และการใชพ้ ลังงานไฟฟ้า และการดำเนินโครงการนำร่อง Green City ภายใต้กรอบความร่วมมือสามเหลี่ยมเศรษฐกิจ (IMT-GT) และ นโยบายของรฐั บาล ปี 2565 จงั หวดั สงขลาต้องแก้ปญั หาขยะตกค้างให้หมดไป และมกี ารฝงั่ กลบทีถ่ ูกหลักวิชาการ มีการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งเพื่อลดปัญหาการกัดเซาะชายฝ่ัง ลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติและความสูญเสียในชีวิตและ ทรัพย์สินที่เกิดจากสาธารณภัย การเติบโตทางเศรษฐกิจต้องเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมใชท้ รัพยากรธรรมชาติอย่างมี คุณค่าและยงั่ ยืน มีพ้นื ท่ีป่าไมเ้ พ่ิมข้ึน และมกี ารใช้พลังงานท่ีมีประสทิ ธิภาพ ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาการศกึ ษาของจงั หวัดสงขลา ตามแผนพัฒนาการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2565) จังหวัด สงขลา ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ได้กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ และตัวชี้วัด เพื่อส่งเสริมยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดสงขลาคือ สังคมแห่งการเรียนรู้ คู่คุณธรรม นำ คุณภาพ ส่คู วามสขุ ท่ียัง่ ยนื จังหวัดสงขลาได้ดำเนินการตามมาตรการเร่งด่วนในการดำเนินการเฝา้ ระวงั ป้องกันและควบคุมโรค ตดิ เชื้อโคโรนา 2019 (COVID 19) ตามคำสั่งคณะกรรมการโรคติดต่อจงั หวัดสงขลา โดยบรู ณาการกับหัวหน้าส่วน ราชการทกุ หนว่ ย หวั หน้าหน่วยงานรัฐวสิ าหกิจทุกแห่ง ประธานสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวจงั หวดั สงขลาประธาน หอการค้าจังหวัดสงขลา ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดสงขลา เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบและดำเนินการตาม มาตรการ ดงั นี้ 1. ห้ามข้าราชการ พนักงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ เอกชน และพนักงานส่วนท้องถิ่น เดินทางไป ต่างประเทศ ยกเว้นมีเหตุจำเป็นสำคัญ และเตือนประชาชนให้งดเดินทางไปประเทศซึ่งเป็นพื้นที่เขตโรคติดต่อ อนั ตรายและพน้ื ท่ีระบาดตอ่ เนอ่ื ง หากฝ่าฝืนจะมีความผดิ มีโทษปรบั ไมเ่ กินสองหมนื่ บาท 2. ให้หลีกเลีย่ งหรือเล่อื นการจัดกิจกรรมทีม่ กี ารรวมตัวของประชาชนจำนวนมาก เชน่ การแขง่ กฬี า การจัดคอนเสิร์ต และการจัดมหรสพ หากฝ่าฝืนจะมีความผิดมีโทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 1 แสนบาทหรอื ท้งั จำทัง้ ปรบั 3. สถานที่ทำงาน ทั้งภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ เอกชนให้ลดความแออัด โดยเหลื่อมเวลาการทำงาน เหลื่อมเวลาพักรับประทานอาหาร จัดที่นั่งอย่างน้อยห่างกัน 1 เมตร ลดการรับบุคคลภายนอกและคัดกรอง บคุ คลภายนอกที่เขา้ มาในสถานทท่ี ำงานตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุขอย่างเคร่งครดั

ง 4. ให้หน่วยงานราชการทุกหน่วย เอกชนทำแผนการทำงานจากบ้านและรายงานผลการปฏิบัติต่อ ศูนย์บริหารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดโรคติดเชือ้ โคโรนา 2019 (COVID 19) โดยส่งเสริมให้ใชร้ ะบบอินเตอรเ์ น็ต เชน่ ประชมุ ทางไกลเพื่อให้บคุ ลากรทำงานทีบ่ ้านทดแทนภาวะปกติ ส่งเสรมิ ระบบธรุ กรรมอิเล็กทรอนิกส์ และการ ซอื้ ขายออนไลน์สำหรับประชาชนทว่ั ไป 5. หน่วยงานราชการ เอกชน ให้งดหรือเลื่อนการจัดกิจกรรมที่มีการรวมตัวของประชาชนจำนวน มาก เชน่ การแข่งขนั กีฬา การประชุมสัมมนา การจัดกจิ กรรมที่มผี ู้เข้าร่วมตง้ั แต่ 50 คนข้ึนไป รวมทั้งงานประเพณี 6. ขอความร่วมมือให้ประชาชนทุกคนใส่หน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยเมื่อเดินทางเข้าสถานท่ี ชุมนุมชน และจังหวัดสงขลา มีการร่วมมือของทุกภาคส่วนน้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ขององค์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 มาดำเนินการให้บังเกิดผลเป็นรูปธรรมโดยส่งเสริมให้ประชาชนนำ หลักการของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำรงชีวิต และเป็นเป้าหมายของการพัฒนาหมู่บ้า น เพื่อให้ ประชาชนในหมู่บ้านได้ใช้ความรู้ ความเข้าใจและประสบการณ์และแนวทางการปฏิบัติตามหลักการของปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการพัฒนาหมู่บ้าน เริ่มจากจุดเล็ก ๆ ตามหลักการทรงงาน “ระเบิดจากข้างใน” สร้าง ตวั อย่างการใชว้ ถิ ีชีวิตแบบพอเพียงในครัวเรือนตน้ แบบ ก่นขยายผลเปน็ “หมบู่ ้านเศรษฐกจิ พอเพยี งตน้ แบบ” และ ขยายผลสร้างศูนย์การเรียนรู้ทุกอำเภอในจังหวัดสงขลา และกำหนดเป็นแนวทางในการสร้างพลังการขับเคลื่อน กิจกรรมของหมู่บ้านด้วยโครงการ “เรารักสงขลา” ด้วยการสร้างจิตสำนึกในการรักแผ่นดินเกิด เทิดทูนคุณธรรม ร่วมกันรักษาสภาพบ้านเรือนให้สะอาดสวยงาม ให้ความสำคัญกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ต่อต้านยาเสพ ตดิ เพื่อใหก้ ้าวไปสู่การมคี ณุ ภาพชวี ติ ดี



ฉ คำนำ รายงานการศึกษาดูงานในประเทศ “จงั หวัดสงขลา” เพอ่ื การศกึ ษาเปรียบเทียบการบริหารจัดการ องค์กรทั้งภาครัฐและภาคเอกชนที่มีประสิทธิภาพในการนำนโยบาบสู่การปฏิบัติมี คณะผู้เข้ารับการพัฒนาจัดทำ ขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาและอบรมหลักสูตรนักบริหารระดับสูง กระทรวงศึกษาธิการ (นบส.ศธ.) รุ่นที่ 11 โดยการศกึ ษาเอกสาร การพดู คุยทางโทรศพั ท์ และการใชป้ ระสบการณ์ในฐานะที่คณะผู้ศกึ ษาดูงานบางท่านได้ ใช้ชีวิตในจังหวัดสงขลามา เนื่องจากขณะนี้ ผู้เข้ารับการพัฒนามีข้อจำกัดในการศึกษาดูงานในสถานที่จริงทีเกิด จากปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) คณะผู้เข้ารับการพัฒนาได้จัดทำ เอกสารรายงานการศกึ ษาดงู านในจงั หวัดสงขลา ประกอบดว้ ยข้อมูล 5 สว่ น ท่ีสำคัญ ๆ ดังน้ี ส่วนที่ 1 บริบทท่ัวไปของจงั หวัดท่ศี ึกษาดูงาน สว่ นที่ 2 สงิ่ ที่คาดหวัง และสาระสำคัญจากการศึกษาดูงาน แผนพัฒนาระดับจงั หวดั ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาการศกึ ษาในจังหวดั การบรู ณาการในการแกป้ ญั หาวกิ ฤต ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและความเข้มแขง็ ของชุมชน และภาพรวม ส่วนท่ี 3 สงิ่ ท่เี ปน็ ประโยชน์และสามารถนำมาใชใ้ นการปฏิบตั งิ านได้ ประโยชน์ตอ่ การพฒั นา ตนเองของผู้เข้ารับการพฒั นา ประโยชนต์ อ่ การพฒั นาหน่วยงาน และประโยชนต์ อ่ การ พัฒนาสงั คม ส่วนท่ี 4 ข้อเสนอแนะอืน่ ๆ การเตรยี มการศึกษาดงู านของกลุ่ม การสร้างความตระหนักและความ ร่วมมือในการจดั ทำรายงานการศึกษาดูงาน สว่ นท่ี 5 ภาพรวมของการศกึ ษาดงู าน ความเชื่อมโยงของสถานศึกษาดูงานในการขับเคลื่อนแผน ยทุ ธศาสตรข์ องจงั หวดั บทบาทของผูบ้ ริหารการศึกษาในการผลักดัน สง่ เสริม สนบั สนนุ การขับเคล่อื นแผน ยทุ ธศาสตร์ของจังหวดั บทบาทของผบู้ รหิ ารการศกึ ษาในการพฒั นา คนใหส้ อดคล้องกับทิศทางการพฒั นาจังหวัด คณะผู้เขา้ รับการพัฒนาต้องขอขอบคุณผูบ้ รหิ ารและหน่วยงานต่าง ๆ และผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกคน ที่ได้ให้ความอนุเคราะห์ด้านข้อมูล และการอำนวยความสะดวกด้านข้อมูลประกอบการจัดทำรายงานการศึกษาดู งาน โดยเฉพาะสำนกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัดสงขลา ศาลากลางจังหวดั สงขลา เปน็ ต้น จนทำใหร้ ายงานการศึกฉบับ นี้มีความสมบูรณ์

ช สารบญั หนา้ บทสรุปสำหรับผบู้ ริหาร ข คำนำ ฉ สารบัญ ช สว่ นที่ 1 บรบิ ทท่ัวไปของจังหวัดทศี่ กึ ษาดูงาน 1 ส่วนท่ี 2 สงิ่ ทค่ี าดหวัง และสาระสำคัญจากการศกึ ษาดูงาน 5 5 แผนพัฒนาระดับจงั หวดั 22 ยุทธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาในจงั หวัด 29 การบูรณาการในการแกป้ ัญหาวกิ ฤต 30 ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและความเขม้ แข็งของชุมชน 34 ภาพรวม 38 สว่ นท่ี 3 สิง่ ท่เี ป็นประโยชนแ์ ละสามารถนำมาใชใ้ นการปฏิบัติงานได้ 38 ประโยชนต์ อ่ การพฒั นาตนเองของผ้เู ข้ารบั การพฒั นา 39 ประโยชนต์ อ่ การพัฒนาหนว่ ยงาน 40 ประโยชน์ตอ่ การพัฒนาสังคม 41 ส่วนที่ 4 ข้อเสนอแนะอนื่ ๆ 41 การเตรียมการศึกษาดงู านของกล่มุ 42 การสรา้ งความตระหนักและความร่วมมือในการจัดทำรายงานการศึกษาดงู าน 44 สว่ นที่ 5 ภาพรวมของการศกึ ษาดูงาน 44 ความเชื่อมโยงของสถานศึกษาดูงานในการขับเคล่ือนแผน /ยุทธศาสตร์ของจังหวัด 46 บทบาทของผ้บู รหิ ารการศึกษาในการผลกั ดัน สง่ เสริม สนบั สนุนการขับเคลอ่ื นแผน / 47 ยุทธศาสตร์ของจงั หวัด บทบาทของผบู้ รหิ ารการศึกษาในการพฒั นาคนให้สอดคล้องกับทิศทาง 49 49 การพัฒนาจังหวดั ภาคผนวก คณะผู้จดั ทำรายงาน

1 ส่วนท่ี 1 บรบิ ททวั่ ไปของจงั หวัดท่ศี ึกษาดงู าน ขอ้ มูลสภาพทว่ั ไปของจงั หวดั สงขลา สงขลาเป็นเมอื งทา่ ทส่ี ำคญั เมืองหนง่ึ ต้งั อยฝู่ ่ังตะวนั ออกของภาคใต้ตอนลา่ งมาตง้ั แตส่ มยั โบราณมี ชุมนโบราณ เมืองเก่าแก่ โบราณสถาน โบราณวัตถุ ขนบธรรมเนียมประเพณี และการละเล่นพื้นเมือง ศิลปะ พ้ืนบา้ นอันเป็นมรดกทางวัฒนธรรมทสี่ ืบทอดกันมาช้านาน สงขลาเพิ่งปรากฏเป็นครั้งแรกในบันทึกของพ่อค้าและนักเดินเรือชาวอาหรับ – เปอร์เซีย ระหว่างปี พ.ศ. 1993 – 2093 ในนามของเมืองชิงกูร์ หรือชิงกอร่า แต่ในหนังสือประวัติศาสตร์ธรรมชาติและการเมืองแห่ง ราชอาณาจักรสยาม ของนายกิโลลาสแซรแ์ วส เรียกชือ่ เมืองสงขลาว่า “เมืองสิงขร” จึงมีการสันนษิ ฐานว่า คำว่า สงขลา เพี้ยนมาจากชือ่ “สิงหลา” (สิง-หะ-ลา) หรือสิงขร แปลว่า เมืองสิง เหตุผลที่สงขลามีช่ือว่าสิงหลาสืบเนื่อง มาจากพอ่ ค้าชาวเปอร์เซีย อนิ เดยี แลน่ เรอื มาค้าขาย ได้เห็นเกาะหนู เกาะแมว เมอื่ มองแต่ไกล จะเห็นเป็นรูปสิงห์ สองตวั หมอบเฝ้าปากเมืองทางเข้าเมืองสงขลา จึงเรยี กเมอื งนี้วา่ สงิ หลา สว่ นคนไทย เรียกว่า เมืองสทงิ เมื่อมาลายู เข้ามาติดต่อค้าขายกับเมืองสทิง ก็เรียกว่าเมืองสิงหลา แต่ออกเสียงเพี้ยนเป็น เซ็งคอรา เมื่อฝรั่งเข้ามาค้าขาย เรียกว่าเซ็งคอรา ตามมาลายูแต่เสียงเพี้ยนเป็นสำเนียงฝรั่งคือซิงกอร่า (Singora) ไทยเรียกตามเสียงมาลายูและ ฝรั่ง เสียงเพี้ยนเป็นสงขลา อีกเหตุผลหนึ่งอ้างว่า สงขลา เพี้ยนมาจาก “สิงขร” แปลว่า ภูเขา โดยอ้างว่าเมือง สงขลาตั้งอยู่บริเวณเชิงเขาแดง ต่อมาได้มีการพระราชทานนามเจ้าเมืองสงขลาว่า “วิเชียรคีรี” ซึ่งความหมาย สอดคลอ้ งกับลักษณะภมู ปิ ระเทศ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้มีพระบรมราชวินิจฉัยไว้ว่า “สงขลา” เดิมชื่อ สิงหนคร (สิง-หะ-นะ-คะ-ระ) เสียงสระอยู่ท้าย มาลายูไม่ชอบจึงเปลี่ยนเป็นอา และชาวมาลายูพูดลิ้นรัวเร็ว ตัดหะและนะ ออก คงเหลอื สิง-คะ-รา แตอ่ อกเสยี งเป็น ซงิ คะรา หรอื ซิงโครา จนมกี ารเรียกเป็น สงิ กอรา นอกจากนเ้ี มืองสงขลา เคยเป็นที่ประทับของสมเด็จพระบรมวงศเ์ ธอกรมหลวงลพบุรีราเมศวร์ เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งสมุหเทศาภิบาลและ อุปราชภาคใต้ จนสิ้นสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ครั้นถึงปี พ.ศ. 2475 ได้ยุบมณฑล และภาค เปล่ยี นเปน็ จงั หวัดสงขลา จงึ เป็นจังหวัดหน่ึงในภาคใตจ้ นถงึ ปจั จุบัน

2 ลักษณะทางกายภาพ 1. ทตี่ ง้ั และอาณาเขต จังหวัดสงขลาตั้งอยู่ฝั่งตะวันออกของภาคใต้ตอนล่าง ระหว่างละติจูดที่ 6 17' - 756' องศาเหนือ ลองจจิ ูด 10001' – 101 06' องศาตะวนั ออก สูงจากระดบั น้ำทะเลปานกลาง 4 เมตร อยหู่ า่ งจากกรุงเทพฯ ตาม เส้นทางรถไฟ 947 กิโลเมตร และทางหลวงแผ่นดิน 950 กิโลเมตร จังหวัดสงขลามีพื้นที่ 7,393.889 ตาราง กิโลเมตร หรอื ประมาณ 4,621,180 ไร่ มขี นาดเปน็ อันดบั 27 ของประเทศ และใหญ่เปน็ อันดับที่ 3 ของภาคใต้ มี อาณาเขตตดิ ต่อกับจงั หวัดใกล้เคยี ง ดังน้ี ทิศเหนือ ติดต่อกับจังหวดั นครศรธี รรมราชและจังหวดั พัทลุง ทศิ ตะวันออก ตดิ ต่อกับอ่าวไทย ทศิ ใต้ ตดิ ต่อกับจงั หวดั ยะลา จงั หวัดปัตตานี รฐั เคดารแ์ ละรฐั เปอรล์ ิสของมาเลเซยี ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กบั จงั หวดั พัทลุง และจงั หวัดสตลู รูปที่ 1 ทตี่ ัง้ และอาณาเขตของจงั หวดั สงขลา 2. ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ ทางตอนเหนือเป็นคาบสมุทรแคบและยาวยืน่ ลงมาทางใต้ เรียกว่า คาบสมุทรสทิงพระ กับส่วนที่ เป็นแผ่นดินรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าทางตอนใต้ แผ่นดินทั้งสองส่วนเชื่อมต่อกันโดยสะพานติณสูลานนท์ พื้นที่ทางทิศ เหนือส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม ทิศตะวันออกเป็นที่ราบริมทะเล ทิศใต้และทิศตะวันตกเป็นภูเขาและ ท่ีราบสงู ซง่ึ เปน็ แหล่งกำเนดิ ตน้ นำ้ ธารทีส่ ำคัญ 3. ลกั ษณะภมู ิอากาศ จังหวัดสงขลา ตั้งอยู่ในเขตอิทธิพลของลมมรสุมเมืองร้อน มีลมมรสุมพัดผ่านประจำทุกปี คือ ลมมรสุมตะวันออกเฉยี งใต้ เร่ิมตง้ั แต่กลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม และลมมรสมุ ตะวันตกเฉียงเหนือ เริ่มตั้งแต่กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ จากการพัดผ่านของลมมรสุมที่มีแหล่งกำเนิดจากบริเวณ แตกต่างกนั ทำใหจ้ งั หวดั สงขลามี 2 ฤดู คือ

3 - ฤดรู อ้ น เร่ิมตงั้ แต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดือนพฤษภาคม ระยะน้ีเป็นช่องว่างระหว่างฤดู มรสุม หลังจากสิ้นฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงเหนือหรือฤดูหนาวแล้ว อากาศจะเริ่มร้อน และมีอากาศร้อนจัดที่สุดใน เดือนเมษายน - ฤดฝู น แบ่งออกเป็น 2 ระยะ 1. ฤดูฝน จากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ กลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม ฝนเคลื่อนตัวมา จากด้านตะวันตก (ทะเลอันดามัน) ส่วนมากฝนตกในช่วงบ่ายถึงค่ำ ปริมาณและการกระจาย ของฝนจะนอ้ ยกวา่ ชว่ งมรสมุ ตะวนั ออกเฉียงเหนือ 2. ฤดูฝน จากมรสมุ ตะวันออกเฉยี งเหนือ กลางเดือนตุลาคมถงึ กลางเดือนกุมภาพนั ธ์ ฝนเคล่ือนตัว มาจากตะวันออก (อ่าวไทย) ฝนจะตกชกุ หนาแน่น ข้อมลู การปกครอง/ประชากร จงั หวัดสงขลา มีรปู แบบการปกครองและการบรหิ ารราชการแผ่นดิน 3 รูปแบบ คอื 1. การบริหารราชการสว่ นกลาง ประกอบด้วย ส่วนราชการสงั กัดสว่ นกลาง ซงึ่ มาตงั้ หน่วยงานใน พืน้ ทจ่ี งั หวดั จำนวน 221 สว่ นราชการ และหนว่ ยงานอสิ ระ จำนวน 5 ส่วนราชการ 2. การบรหิ ารราชการส่วนภมู ภิ าค จดั รปู แบบการปกครองและการบริหารราชการ ออกเปน็ 2 ระดับ คอื ➢ ระดบั จังหวดั ประกอบด้วย ส่วนราชการประจำจังหวัด จำนวน 36 ส่วนราชการ

4 ➢ ระดับอำเภอ ประกอบด้วย 16 อำเภอ 127 ตำบล 1,023 หม่บู ้าน 3. การบรหิ ารราชการสว่ นทอ้ งถ่นิ จำนวน 141 แหง่ ประกอบดว้ ย ➢ องค์การบรหิ ารส่วนจังหวัดสงขลา จำนวน 1 แห่ง ➢ เทศบาล จำนวน 48 แหง่ ➢ องคก์ ารบริหารสว่ นตำบล จำนวน 92 แหง่

5 ส่วนท่ี 2 สง่ิ ทีค่ าดหวงั และสาระสำคัญจากการศึกษาดงู าน แผนพฒั นาระดบั จังหวดั เปา้ หมายการพฒั นาจงั หวัด จากการวิเคราะห์ศักยภาพ โอกาส ข้อจำกัด (SWOT) สภาพปัญหา/ ความต้องการของ ประชาชน ในท้องถิ่นจังหวัด จังหวัดสงขลาจึงกำหนดเป้าหมายและทิศทางการพัฒนาจังหวัด โดยกำหนดวิสัยทัศน์จังหวัด สงขลา “สงขลา ศนู ย์กลางเศรษฐกจิ ภาคใต้ ประชาชนมคี ณุ ภาพ สงิ่ แวดลอ้ มย่งั ยนื ” พนั ธกิจ เป้าประสงคร์ วม ตวั ช้ีวัดและคา่ เปา้ หมาย ➢ พนั ธกจิ 1. พัฒนาเศรษฐกิจ การค้า การท่องเที่ยว อุตสาหกรรมเกษตร เพื่อรองรับการพัฒนาเขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษ และเปน็ ศนู ย์กลางเศรษฐกจิ ภาคใต้ 2. พัฒนาสงขลาใหเ้ ปน็ สงั คมแห่งการเรียนรตู้ ลอดชีวิต ประชาชนมคี ณุ ภาพ 3. จดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม เพ่ือเป็นฐานการผลิตและการพฒั นาอย่างย่งั ยนื 4. พัฒนาสงขลาใหป้ ระชาชนมีความม่ันคง ปลอดภัย เปา้ หมายการพัฒนาจงั หวดั สงขลา “สงขลา ศูนย์กลางเศรษฐกจิ ภาคใต้ ประชาชนมคี ณุ ภาพ สงิ่ แวดลอ้ มย่ังยืน” คำอธิบายเป้าหมายการพัฒนา เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนา ในปี 2565 จังหวัดสงขลาได้ให้ ความสำคัญในการพฒั นาเพ่อื ใหบ้ รรลผุ ลใน 3 เรอื่ ง ประกอบด้วย สงขลาศูนยก์ ลางเศรษฐกิจภาคใต้ ปัจจุบัน จังหวัดสงขลามีขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุด และมีศักยภาพสูงสุดในภูมิภาคใต้ ระบบ เศรษฐกจิ ทมี่ ัน่ คง โดยมคี ่า GPP เป็น รอ้ ยละ 20.45 ของภาคใต้ ขนาดเศรษฐกจิ 241,701.19 ล้านบาท คิดเป็น 1 ใน 5 ของภาค ที่มีมูลค่าการค้าขายแดนสูงสุดของประเทศ จากศักยภาพและความพร้อมด้านต่างๆ เมื่อส้ิน

6 แผนพัฒนาจงั หวัดในปี 2565 จังหวัดสงขลาจะต้องมีความพร้อมด้านโครงสรา้ งพื้นฐาน มีโครงข่ายระบบคมนาคม ขนสง่ เชือ่ มโยงทางบก (รถไฟ ถนน) ทางนำ้ (ท่าเรอื สงขลาแห่งท่ี 1) และทางอากาศ (สนามบนิ นานาชาตหิ าดใหญ่) นอกจากจะเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจภาคใต้แล้ว สงขลาจะเป็นศูนย์กลางการค้าการลงทุนของภาคใต้ โดยใช้ ศักยภาพของนิคมอุตสาหกรรมยางพารา และเขตเศรษฐกิจพิเศษสงขลาที่อำเภอสะเดา เชื่อมโยงเศรษฐกิจทาง ตอนบนของภาค ประเทศเพื่อนบ้านและนานาประเทศ โดยเฉพาะอาเซียน (ด่านชายแดน 3 แห่ง) และเป็น ศูนยก์ ลางการท่องเทย่ี วของภาคใต้ตอนล่าง โดยใชค้ วามโดดเด่นจากฐานเดิมที่เป็นเมืองชายแดน ความพร้อมและ ความสวยงามของทรพั ยากรทางทะเล เชน่ ทะเลสาบ 3 นำ้ (นำ้ เคม็ นำ้ จดื และน้ำกร่อย) แหง่ เดยี วในประเทศไทย และความหลากหลายทางวัฒนธรรม (อิสลาม จีน และไทย) รวมทั้ง เป็นเส้นทางสำคัญในการเชื่อมโยงการ ท่องเที่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวสำคัญของภูมิภาค ทั้งฝั่งทะเลอันดามันและอ่าวไทย นอกจากนี้ยังเป็นศูนย์กลาง การศึกษา (มีมหาวิทยาลยั 5 แหง่ ) และศนู ยก์ ลางการแพทย์ (โรงพยาบาลขนาดใหญ่ 10 แห่ง) ประชาชนมคี ุณภาพ จังหวัดสงขลา มีสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาทั้งรัฐและเอกชน จำนวน 5 แห่ง ปี 2565 มีนักศึกษารวม 47,884 คน ประชาชนในจังหวัดสงขลาจะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ควบคู่กับคุณธรรม และจริยธรรม และมีความเป็นอยู่ที่ดีมีคุณภาพ ชุมชนและเศรษฐกิจฐานรากมีความเข้มแข็ง มีทัศนคติและพฤติกรรมตามบรรทัดฐานที่ดีของสังคม และต้องได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิ ตทุกช่วงวัย ตามแผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของจังหวัด สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันทางศาสนาและชุมชน ได้รับการพัฒนาอย่างทั่วถึงเป็นธรรม ทุกคนเข้าถึงบริการและสวัสดิการภาครัฐ สามารถลด ความเหลือ่ มลำ้ คนจนจะหมดไป และครอบครัวมคี วามสขุ

7 สง่ิ แวดล้อมยงั่ ยนื การพัฒนาของจังหวัดที่ให้ความสำคัญกับการแก้ไขปัญหา และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม การแก้ปัญหาขยะ ปัญหาน้ำเสีย การลดการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง และการใช้พลังงานไฟฟ้า และการ ดำเนินโครงการนำร่อง Green City ภายใต้กรอบความร่วมมือสามเหลี่ยมเศรษฐกิจ (IMT-GT) และนโยบายของ รัฐบาล ปี 2565 จงั หวัดสงขลาตอ้ งแก้ปญั หาขยะตกค้างใหห้ มดไป และมีการฝ่งั กลบที่ถกู หลกั วชิ าการ มีการพฒั นา พื้นที่ชายฝั่งเพื่อลดปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง ลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติและความสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สินท่ี เกิดจากสาธารณภัย การเติบโตทางเศรษฐกิจต้องเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีคุณค่าและ ยงั่ ยืน มพี น้ื ท่ีปา่ ไมเ้ พิ่มขนึ้ และมกี ารใช้พลังงานท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ จากการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ด้านเศรษฐกจิ สังคม ความม่นั คง และทรัพยากรธรรมชาติ สามารถวเิ คราะหศ์ กั ยภาพของ จงั หวดั สงขลาได้ ดงั น้ี การวิเคราะหศ์ ักยภาพของจังหวัด (SWOT ANALYSIS) การวิเคราะหจ์ ุดแขง็ (S-STRENGTHS) ด้านภาคการเกษตร 1. สภาพภูมิประเทศมีความเหมาะสมต่อการทำการเกษตร ซึ่งมีพื้นที่การเกษตร 2.923 ล้านไร่ คิด เปน็ รอ้ ยละ 63.26 ของพน้ื ที่จังหวดั สงขลา โดนเฉพาะพน้ื ทปี่ ลูกยางพารามีพ้นื ทปี่ ลูก 1.972 ลา้ นไร่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 67.46 ของพื้นที่ทำการเกษตรในจังหวัดสงขลา และมีพื้นที่ปลูกมากเป็นอันดับที่ 2 ของประเทศ(13.584 ล้านไร)่ รองจากจังหวดั สุราษฎร์ธานี ผลผลิต 464,240 ตัน และมโี รงงานอุตสาหกรรมยางพารา จำนวน 157 แหง่ 2. มีการบรหิ ารจัดการน้ำใบระบบลุม่ น้ำภายใต้แผนการบริหารจัดการทรัพยากรนำ้ แบบบูรณาการ แหล่งน้ำอุดมสมบูรณ์ มีคลองทุกลุ่มน้ำย่อย คือ คลองรัตภูมิ คลองอู่ตะเภา คลองนาทวี คลองเทพา และมี ทะเลสาบเปน็ นำ้ จดื ของจังหวดั ทสี่ ำคัญ 3. มีตลาดกลางซื้อขายยางพาราท่ใี หญท่ ่สี ุดของภาคใต้ตอนล่าง 4. มีต้นแบบและภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านเศรษฐกิจพอเพียงที่หลากหลายในพื้นที่หมู่บ้านเศรษฐกิจ พอเพียงตน้ แบบ 5. มกี ารส่งเสรมิ เกษตรกรเป็นสมารท์ ฟาร์มเมอร์ (Smart Farmer) จำนวน 5,098 ราย

8 ด้านการทอ่ งเท่ียว 1. มีแหล่งท่องเที่ยวที่หลากหลายทั้งทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติ เช่น เมืองเก่าสงขลา สถาบันทักษิณคดศี ึกษา,เกาะนอ,น้ำตกโตนงาชา้ ง,หาดสมิหลา,แหลมสนอ่อน,ตลาดกิมหยงตลาดสันติสุข,ตลาดนำ้ คลองแดน,อุโมงค์เขาน้ำค้าง,วัดถ้ำตลอด,วัดเขารูปช้าง,วัดพะโคะ,วัดเขาเก้าแสน,สวนสาธารณะหาดใหญ่,พุทธ อุทยานเขาเล่,ด่านสะดาแห่งใหม่,ควนคันหลาว,สวนสัตว์สงขลา,สวนประวัติศาสตร์พลเอก เปรมติณสูลานนท์ จุด ชมวิวเขาคอหงส์ หาดแหลมโพธิ์ วดั มหัตมังคลาราม(วดั หาดใหญใ่ น) 2. มีกจิ กรรมการท่องเที่ยวทางประเพณี วัฒนธรรม และการกฬี า ตลอดปี เช่น (Night Paradise Hatyai Countdown) สงกรานต์ (Hatyai Midning Songkran) อาหารสองทะเล เทศกาลกินเจ วันสงขลา ลาก พระ แข่งขันเรือยาวบางกล่ำ ตรุษจีน ไหว้พระเก้าวัด ลอยกระทง สมิหลาไตรกีฬา วอลเลย์บอลชายชาด สงขลา มาราธอน หาดใหญม่ ไิ นทร์ นั ฯลฯ 3. มแี หล่งทอ่ งเท่ียวโดยชมุ ชน จำนวน 39 ชุมชน และแหลง่ อ่ งเที่ยวเมืองรอง 5 ชมุ ชน ไดแ้ ก่เกาะ ยอเขาจังโหลน รตั ภูมิ คลองรี และเกาะเลหนัง 4. มชี ุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ตน้ แบบ ตดิ 1 ใน 50 ท่ัวประเทศ 5. การท่องเที่ยวเป็นแหล่งรายได้สำคัญของจังหวัดโดยมีรายได้จาการท่องเที่ยวติดอันดับ 1 ใน 10 ของ ประเทศ ด้านเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน 1. ขนาดเศรษฐกจิ ใหญ่เป็นอันดับ 1 ของภาคใต้ (241,838 ล้านบาท) และมีรายได้ตอ่ หวั 156,245 บาท และมีดลุ ยภาพโดยมีสดั สว่ นรายได้จากสาขาอุตสาหกรรม เปน็ อันดบั 1 ของภาคใต้ รอ้ ยละ 20 2. เป็นแหล่งการค้าชายแดนที่มีมูลค่าการค้าขายชายแดนสูงที่สุดของประเทศ (52% ของมูลค่า การคา้ ชายแดนทั่วประเทศ)

9 3. ผลติ ภัณฑ์มวลรวมตอ่ หวั ของจังหวัดมีมลู ค่าสูงเป็นอันดับ 6 ของภาคใตแ้ ละเป็นอันดบั ที่ 3 ของ กลมุ่ ภาคใตฝ้ ง่ั อา่ วไทย 4. เป็นเมืองเศรษฐกิจที่สำคัญของภาคใต้ด้านการค้า การเงิน การลงทุน และการบริการ ที่สำคัญ ของภาคใต้ เช่น โรงงานอุตสาหกรรม ธนาคารแหง่ ประเทศไทย สำนกั งานภาคใต้ ตลาดหลกั ทรัพย์ เป็นตน้ 5. เป็นแหล่งผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารทะเลมากที่สุดของภาคใต้ มีโรงงานแปรรูป ผลิตภัณฑ์จากสัตว์น้ำ จำนวน 57 โรงงาน เงินทุน 7,150.26 ลา้ นบาท คนงาน 20,231 คน ดา้ นการคมนาคมขนสง่ 1. เป็นศูนยก์ ลางคมนาคมขนส่งทางบก ทางน้ำ ทางอากาศ เช่อื มโยงอาเซียนและนานานชาติ 2. การขนส่งทางอากาศ มีสนามบินนานาชาติหาดใหญ่ เป็น 1 ใน 6 ของสนามบินนานาชาติ สามารถรองรับการคมนาคมและขนสง่ ทางอากาศ มีเสน้ ทางการบนิ ในประเทศและตา่ งประเทศ สงิ คโปร์ มาเลเซีย ซาอดุ ิอาระเบีย และอน่ื ๆ 3. การขนส่งระบบรางเช่ือมโยงกับประเทศเพื่อนบา้ นที่สามารถสร้างความสะดวกในการเดินทาง และการขนส่งสินเชื่อมโยงระหว่างพื้นที่ภาคกลางของประเทศอาเซียนตอนล่างและนานาชาติ ชุมทางรถไฟ หาดใหญส่ ามารถเชือ่ มต่อไปยงั ปนี งั กวั ลาลมั เปอร์ประเทศมาเลเซยี และสิงคโปร์ 4. มีเส้นทางคมนาคมขนส่งทางบกที่เชื่อมโยงเส้นทางไปยังพืน้ ที่กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดนกลมุ่ จงั หวดั ภาคใต้อา่ วไทยอนั ดามนั และประเทศเพ่อื นบา้ น 5. เปน็ พนื้ ทีเ่ ศรษฐกิจท่เี ชอ่ื มโยงโครงข่ายการขนส่งทางทะเลระหว่างประเทศ

10 ดา้ นสังคม/การศกึ ษา/คุณภาพชีวติ 1. เป็นศูนย์กลางการศึกษาของภาคใต้ที่มีการจัดการศึกษาทุกระดับมีคุณภาพ เป็นที่ยอมรับทั้ง และต่างประเทศมีมหาวิทยาลัยในจังหวดั 5 แห่ง ประกอบดว้ ย มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ และวิทยาลัยชุมชน สงขลา 2. มีศูนย์การเรียนรู้ ของมหาวิทยาลัยจากภูมิภาคอื่นหลายแห่ง เช่น มหาวิทยาลัยรามคำแหง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์ (นิด้า) เป็นต้น ซึ่งทำการสอนในระดับ ปริญญาตรี โทและเอก ท้งั หลกั สตู รภาษาไทยและหลักสตู รนานาชาติ 3. มีทุนทางศึกษาที่เข้มแข็งและหลากหลาย ทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชน อาทิ มีครัวเรือน ในหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงที่ผ่านการพัฒนาตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทุกอำเภอ/มีองค์กรด้ านเด็ก และเยาวชนที่เข้มแข็ง เช่น สภาเด็กและเยาวชนจังหวัดสงขลา ศูนย์อำนวยการประสานงานป้องกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติดจังหวัดสงขลา ที่สามารถเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาคุณภาพชีวิตด้านเด็กและเยาวชน/มีสถาน บริการสาธารณสุขผ่านคุณภาพทุกแห่ง เช่น โรงพยาบาล ผ่านคุณภาพ HA และผ่านการรับรองซ้ำทุกแห่ง โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลผ่านการรับรองคุณภาพระดับ 5 ดาวทกุ แหง่ 4. มีคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่อำเภอดีเด่น (พชอ.) ดีเด่นระดับประเทศ จำนวน 3 แหง่ สามารถเป็นแหลง่ เรียนรไู้ ด้ท่ี อำเภอนาทวี อำเภอเทพา อำเภอสะเดา

11 5. มีกองทุนทุกชุมชน (กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต) ที่เข้มแข็งโดยมีการจดทะเบียนเป็นสถาบัน การเงินประชาชนตามพระราชบญั ญตั ิสถาบนั การเงินประชาชน พ.ศ.2562 ด้านทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม 1. มีทรพั ยากรธรรมชาติที่หลากหลาย เช่น ป่าต้นไม้ ชายฝั่งทะเล ป่าชายเลน ปา่ ชายหาด ป่าพรุ สตั ว์น้ำ นกนำ้ และแหลง่ แกส๊ ธรรมชาติ สัตว์ทะเลหายาก เชน่ โลมาอิรวดี 2. มแี ผนแม่บทการบรหิ ารจดั การขยะมูลฝอย ปี 2560-2564 3. สงขลาเป็น 1 ใน 15 ของจังหวัดในประเทศไทย ที่มีแผนแม่บทการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรม เชงิ นเิ วศจังหวัดสงขลา ปี พ.ศ. 2561-2564 4. จังหวัดสงขลาเป็นที่ตั้งของหน่วยงานด้านทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทั้งในระดับ ส่วนกลางและส่วนภูมภิ าค

12 ด้านความม่ันคงและความปลอดภยั ในชีวติ และทรัพย์สนิ 1. มีการสรา้ งภมู ิคุ้มกันตามแนวทางกองทุนแม่ของแผ่นดนิ 2. มีศนู ย์ปฏิบตั ิการอำเภอ 4 อำเภอความมั่นคง 3. จุดตรวจความมั่นคงในพื้นที่อำเภอเพื่อสรา้ งความสนใจในความปลอดภัยของประเทศ อำเภอ จะนะ (จุดตรวจบ้านควนมีด) อำเภอนาทวี (จุดตรวจบ้านโต้นนท์) อำเภอหาดใหญ่ (3 จุด คือ จุดตรวจบิ๊กซี จุด ตรวจธนาคารกรุงไทยและจุดตรวจเมโทรแคท), อำเภอเมือง (2 จุด คือ จุดตรวจชลาทัศน์และจุดตรวจ สวนสาธารณะ 72 พรรษา) อำเภอสะเดา จำนวน 2 จุด (จุดตรวจทับโกบและจุดตรวจหน้า ฉก.ร.5) อำเภอสะบ้า ย้อย และอำเภอเทพา จำนวน 5 จุด 4. จดุ ตรวจกองกำกบั กำลังภาคประชาชนในพืน้ ทอ่ี ำเภอหาดใหญ่ จำนวน 8 จุด 5. มีการเพิ่มภูมิคุ้มกันและปิดกั้นยาเสพตดิ หลายประการแก่กลุ่มผู้มีโอกาสเข้าไปเกีย่ วข้องกับยา เสพตดิ เพ่ือลดผู้เสพรายใหม/่ ผู้กระทำผดิ รายใหม่ การวเิ คราะหจ์ ดุ อ่อน (W – WEAKNESS) ด้านภาคการเกษตร 1. ผลติ ภาพการผลติ ทางการเกษตรตำ่ เนือ่ งจากราคาสินคา้ เกษตรหลักยางพาราลดอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เกษตรกรไมม่ ที ุน ในการบำรงุ ดแู ลรกั ษาและการจัดการทถี่ กู ตอ้ ง 2. สินค้าเกษตรผลิตอยู่ในพื้นที่เหมาะสมน้อยหรอื ไม่เหมาะสม หรือการปลูกพืชซ้ำซาก ส่งผลให้ ประสทิ ธิภาพการผลิตอยู่ในเกณฑต์ ่ำ ผลผลติ ขาดคณุ ภาพ ตน้ ทุนการผลิตสูง 3. การบริหารจัดการกลุ่มองค์กรการเกษตรไม่มีประสิทธิภาพ และขาดระบบการบริหารจัดการ การตลาด สนิ ค้าเกษตรแบบครบวงจร 4. ด้านการเกษตรขาดการบรู ณาการ นำองค์ความรู้ จากการศึกษาวิจัยมาใชป้ ระโยชนแ์ ละขยาย ผลเชงิ พาณชิ ย์ 5. เกษตรกรรายย่อยไมม่ ีความพร้อมในการผลิตสินค้าเกษตรทป่ี ลอดภัยและได้มาตรฐาน เชน่ มาตรฐาน GAP,COC เปน็ ตน้ ขาดตลาดในการขายสนิ ค้าเกษตรทม่ี ีคุณภาพท่มี ีคุณภาพ และโรงคัดแยกและบรรจุ ผลิตภณั ฑเ์ กษตรทีม่ คี ุณภาพ

13 ด้านเศรษฐกิจ การคา้ การลงทนุ 1. แรงงานยังคงขาดความรู้ ทักษะที่จำเป็นในการปฏบิ ตั ิงาน มีบางส่วนเลือกงานทำ และมีการทำงาน ต่ำกวา่ ระดบั การศึกษา 2. การขอรับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ เชน่ อย. มผช. ฮาลาล มอก. ยงั มจี ำนวนน้อย เนอ่ื งจากเกิดจาก ผู้ผลติ และระบบการรับรองมาตรฐาน สถานที่ดำเนินการกิจการต้องเป็นไปตามข้อกำหนดของมาตรฐาน 3. ผลิตภาพแรงงานของจงั หวดั ต่ำกวา่ ของประเทศ เนอ่ื งจากเศรษฐกิจสว่ นใหญพ่ ่งึ พาการเกษตร 4. อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ ของจังหวัดต่ำกว่าคา่ เฉลีย่ ของประเทศเนอ่ื งจากโครงสร้าง เศรษฐกิจของจังหวัดยังพึ่งพารายได้จากยางพาราและอุตสาหกรรมยางซึ่งในช่วงที่ผ่านมามีราคาลดลงตามภาวะ เศรษฐกจิ โลก 5. การผลติ ภาคอตุ สาหกรรมยงั เนน้ การแปรรปู ยางพาราเพอ่ื การสง่ ออกเปน็ วัตถดุ บิ ท่ีมีมูลค่าไม่ สูง และการแปรรูปอาหารทะเลทีต่ อ้ งพง่ึ พาวตั ถุดบิ จากภายนอกท่ีมตี ้นทนุ สงู 6. ไมม่ กี ารนำนวัตกรรมใหมๆ่ มาใชใ้ นการผลิต หรอื พัฒนาผลผลติ ทั้งต้นนำ้ กลางนำ้ และปลาย นำ้ ในระบบอตุ สาหกรรมและเกษตรกรรม

14 ดา้ นพลังงาน 1. อตุ สาหกรรมพลงั งาน ยังมีปัญหาการบริหารจัดการดา้ นผลกระทบตอ่ ส่งิ แวดลอ้ มและสังคม 2. ระบบโครงข่ายไฟฟ้าไม่มีความเสถยี ร เกิดไฟฟา้ ตก-ดบั บอ่ ยครั้ง ดา้ นการคมนาคมขนส่ง 1. มีปัญหาการจราจรหนาแนน่ ติดขัดในเมืองใหญ่และเมืองชายแดน จากสภาพถนนทม่ี ีความคับแคบ และการขาดวนิ ยั ทางจราจร โดยจอดรถบรเิ วณริมทางสาธารณะไม่เป็นระเบยี บ 2. การขนส่งโดยรถไฟใช้ระบบรางเดยี วทำใหเ้ กิดความลา่ ชา้ ไม่สะดวก และหวั รถจักรไม่เพียงพอใน การขนส่งสนิ ค้าทางราง 3. ขาดการวางโครงข่ายคมนาคมขนส่งเพ่ือการค้าการลงทนุ อย่างเปน็ ระบบ 4. การรองรบั ของท่าเรือสงขลาไมเ่ พียงพอต่อปรมิ าณการสง่ ออก และยังไม่มกี ารพฒั นาขดี ความสามารถและนวตั กรรม ดา้ นสังคม/การศึกษา/คณุ ภาพชีวิต 1. สถาบันครอบครวั อ่อนแอ ทำใหเ้ กดิ ปัญหาทางสังคม เน่ืองจากการถ่ายทอดวัฒนธรรมทางสังคม จากร่นุ สู่รุ่นยังมีน้อย 2. การเรียนรู้ให้ก้าวทันต่อการเปล่ียนแปลง ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม และการเป็นประชาคมอาเซียนท่ีส่งผลต่อการดำรงชีวิตยังมีน้อย 3. ทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ ในการส่ือสารยังมีน้อย 4. ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินลดลง มคี ดีอาญาเพม่ิ ขน้ึ 5. ขาดการเรยี นรู้สาระประวัตศิ าสตรท์ อ้ งถ่นิ 6. ผลการทดสอบทางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 มัธยมศึกษาปีท่ี 3 และ มัธยมศึกษาปที ี่ 6 7. จำนวนโรงเรยี นขนาดเล็กท่ีมีนกั เรยี นตำ่ กว่า 120 คน ลงมา มีแนวโนม้ เพ่ิมสงู ขนึ้ เนื่องจาก การเปล่ยี นแปลงโครงสร้างของประชากร และการคมนาคมทส่ี ะดวก 8. สถานศกึ ษาที่เปิดสอนระดับปฐมวัยขาดครูผสู้ อนที่จบตรงวิชาเอกและขาดทักษะการสอนเดก็ ปฐมวัย

15 ดา้ นทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม 1.แนวปะการงั เสื่อมโทรม แหลง่ หญา้ ทะเลเสื่อมโทรมหรอื ลดพื้นที่ และผลกระทบต่อสตั ว์ สาเหตุ จากการเปล่ยี นแปลงจองสภาพภูมอิ ากาศและการกระทำของมนุษย์ เชน่ การพฒั นาชายฝั่งและการดำเนนิ กจิ กรรม ต่างๆ (ท่าเทียบเรือ,การเดินเรือ) การลักลอบปล่อยน้ำเสียลงทะเลและน้ำจืดจากทะเลสอบสงขลา การเกิดรั่วไหล ของน้ำมันลงทะเล การท้งิ ขยะลงทะเล ทำให้ทะเลสาบตน้ื เขนิ จากการทับถมของตะกินและขยะในทะเล เครื่องมือ ประมง เป็นต้น 2. ขาดสถานทกี่ ำจดั ขยะติดเชอ้ื และขยะอนั ตรายชุมชนทถี่ ูกต้องตามหลกั วิชาการ 3.ระบบน้ำเสยี ชุมชนไม่ครอบคลุมทั้งจังหวัด น้ำเสียบางสว่ นไมไ่ ด้รบั การบำบดั กอ่ นระบายลงสู่ แหลง่ น้ำ 4. การสรา้ งจิตสำนกึ ในการอนรุ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ยังไม่มคี วามเขม้ แขง็ และ ขาดความตอ่ เนือ่ ง 5. การบรหิ ารจัดการทรัพยากรนำ้ ไม่ครอบคลุมและไมม่ ีประสทิ ธิภาพเพยี งพอ ด้านความมัน่ คงและความปลอดภัยในชีวิตและทรพั ย์สิน 1. มพี ้ืนทีเ่ พ็งเล็งซึ่งมีเหตกุ ารณ์กอ่ ความไม่สงบในห้วงปี 2562 ซงึ่ ยากจะลาดตระเวนเขา้ ถึงได้ สะดวก 2. สถานการณก์ ารกอ่ ความไมส่ งบในพื้นที่ 3 จงั หวัดชายแดนภาคใต้และจังหวดั ข้างเคยี ง ส่งผล กระทบตอ่ การดำเนินชีวิตของประชาชนในพื้นท่ี การค้า การลงทุน การศกึ ษาและการทอ่ งเทยี่ ว

16 3. ชุดเฝ้าระวังตามแนวชายแดน ไม่เพยี งพอในการปอ้ งกันตลอดแนวชายแดนไทย-มาเลเซยี 4. มีชอ่ งทางทีส่ ามารถขา้ มแดนระหว่างชายแดนไทย – มาเลเซียหลายชอ่ งทางท่ีไม่สามารถ ควบคุมได้อย่างเข้มงวด 5. เป็นพน้ื ทเ่ี สน้ ทางลักลอบนำเข้า แหลง่ พกั เพ่อื จำหน่ายและส่งต่อยาเสพติดไปประเทศเพื่อน บ้าน 6. มีผ้ปู ว่ ยจิตเวชจากการใชส้ ารเสพตดิ เพมิ่ ขน้ึ การวเิ คราะหโ์ อกาส (O - OPPORTUNITIES) ด้านการเกษตร 1.รฐั มนี โยบายใหก้ ารสนบั สนนุ การผลติ และการตลาดเช่น โซนน่งิ การเกษตร การเกษตรแปลง ใหญ่ นคิ มอุตสาหกรรมยางพารา (ฉลุง) เปน็ เมอื งยาง (Rubber City) 2.การเปดิ AEC และโครงการตามกรอบการพฒั นาตา่ งๆ เช่น Rubber and Oilpalm Corridor ภายใต้ กรอบ IMT-GT หรือ Economic Corridor 1 ซึ่งสร้างความเชื่อมโยงระหว่างประเทศ เป็นโอกาสทาง การตลาดของสินค้าเกษตร 3.รัฐบาลให้ความสำคัญกับการน้อมนำปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาเป็นแนวทางในการ พัฒนาทำให้ประชาชนและทุกภาคส่วนของการพัฒนาในพื้นที่ให้ความสำคัญในการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งมาใช้ในการพฒั นาในจงั หวัด 4. มีนวัตกรรมใหมด่ า้ นการเกษตร เช่น Vertical Farming ทีล่ ดพนื้ ที่การเกษตร แตเ่ พ่มิ ผลผลิต และนโยบายพชื อนิ ทรีย์ เพ่ือเพม่ิ มลู คา่ ผลผลติ 5. การเขา้ สู่สังคมสูงวัยทำให้มคี วามต้องการบริโภคสินคา้ เกษตรปลอดภยั ด้านการท่องเท่ยี ว 1. นโยบายการสง่ เสริมการท่องเที่ยวของรฐั บาล โดยการประชาสัมพันธ์ผา่ นสื่อ Social Network ทำให้มี นกั ทอ่ งเทย่ี วสนใจเดินทางเข้ามาท่องเทยี่ วในจังหวดั สงขลามากขึน้ สง่ เสริมการทอ่ งเที่ยวชุมชน 2. นโยบายการกระจายอำนาจสู่ทอ้ งถิ่นเออื้ ต่อการเสรมิ สรา้ งศักยภาพทางการท่องเท่ียวทั้งการ พฒั นา แหลง่ ท่องเที่ยวและการตลาด

17 3. โครงการดา้ นการทอ่ งเที่ยวภายใตแ้ ผนงาน IMT-GT (Indonesia – Malaysia – Thailand Growth Triangle) ซึ่งปรากฏโครงการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว เช่น ตามรอยหลวงปู่ทวด การพัฒนาเมืองเก่า และ Green City เปน็ ต้น 4. นโยบายของสายการบินตา่ งประเทศเพม่ิ เทย่ี วบนิ มายังสนามบนิ หาดใหญ่ เชน่ สายการบิน TIGER AIR, AIR ASIA เป็นตน้ 5. ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาภาคกำหนดใหพ้ ฒั นาเมืองเก่าสงขลา เปน็ แหลง่ ทอ่ งเที่ยวที่หลากหลาย เพื่อสรา้ ง มูลคา่ เพิม่ ให้กบั การท่องเท่ยี วสำคัญของภาค ดา้ นเศรษฐกจิ การค้า การลงทนุ 1. มีแผนงานการพัฒนาเขตพฒั นาเศรษฐกจิ 3 ฝ่าย อินโดนเี ซีย – มาเลเซีย – ไทย(Indonesia – Malaysia – Thailand Growth Triangle: IMT – GT) และกรอบความร่วมมือ เพื่อพัฒนาชายแดนไทย-มาเลเซีย (Joint Development Strategy for Border Areas : JDS) 2. แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12, นโยบายรฐั บาล, นโยบาย ศอ.บต.ให้การ สนับสนุน การเสริมสร้างรายได้ให้กับผู้มีรายได้น้อย ด้วยหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและให้ความสำคัญใน การพัฒนา คมุ้ ครองดแู ลแรงงาน เชน่ ขยายการค้มุ ครองสู่แรงงานนอกระบบ 3. การเขา้ สูป่ ระชาคมเศรษฐกจิ อาเซียนเป็นโอกาสทางการคา้ การลงทนุ 4. มเี ขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษ

18 5. นโยบาย Thailand 4.0 ซึ่งเน้น การพัฒนานวตั กรรม และการใช้เทคโนโลยีดจิ ติ อล เป็นปจั จยั ในการเอ้อื ตอ่ การพฒั นาเศรษฐกิจของจงั หวัด ดา้ นพลงั งาน 1. กระแสการต่ืนตวั ในการประหยัดพลังงาน การใชพ้ ลังงานทดแทน เพอ่ื แก้ปัญหาวิกฤติพลงั งาน 2. นโยบายรัฐบาลที่สง่ เสรมิ แผนบรู ณาการด้านพลงั งานระยะยาว (TIEB) ทำให้มคี วามมั่นคงดา้ น พลังงาน มากขึ้น 3. การสง่ เสริมการดำเนนิ green city ด้านการคมนาคมขนสง่ 1. นโยบายรัฐบาลสนับสนนุ ดา้ นโครงสรา้ งพนื้ ฐานเพือ่ รองรับเศรษฐกจิ ชายแดน เช่น รถไฟรางคู่ เส้นทาง หาดใหญ่-ปาดังเบซาร์ โครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองแนวใหม่ สาย อ.หาดใหญ่-ชายแดนไทย- มาเลเซีย ท่าเรือน้ำ 1 ทา่ เทียบเรือ 2 ด้านสงั คม/ด้านการศึกษา/คณุ ภาพชีวติ 1. มีระเบียบ ข้อกฎหมาย ทเ่ี อ้อื ให้มีการบูรณาการความร่วมมอื ในการดำเนนิ งานดา้ นคณุ ภาพ ชวี ติ ดา้ นสาธารณสขุ เช่น ระเบียบสำนกั นายก ว่าดว้ ย คณะกรรมการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ระดับพื้นที่อำเภอ (พชอ.) ปี 2561 พรบ.ควบคมุ โรคติดตอ่ ปี 2558 พรบ.สาธารณสุข ปี 2535 เปน็ ต้น 2. นโยบายหลักประกันสุขภาพสนบั สนนุ งบประมาณใหก้ ับทอ้ งถ่นิ เพอื่ สง่ เสรมิ ด้านสขุ ภาพระดับ พ้ืนที่ 3. เทคโนโลยกี ารสอ่ื สารทำให้เกิดการพฒั นาการเรียนร้ไู ด้อย่างรวดเรว็ และทั่วถึงเช่นระบบ3G 4G 4. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 ยุทธศาสตรท์ ี่ 9 การพฒั นาภูมภิ าค เมอื ง และพนื้ ท่ีเศรษฐกิจ เป็นฐานการสร้างรายไดท้ ่ีหลากหลาย สง่ ผลตอ่ การพฒั นาคุณภาพชีวิต ด้านทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม 1. นโยบายของรัฐ ในการสนับสนุนการสร้างเมืองสีเขียวในทุกจังหวัดทำให้เกิดกระแสการพัฒนาเมือ

19 สีเขียวมากขึ้นและร่วมดำเนินการขับเคล่ือนโครงการ Green City ภายใต้กรอบความร่วมมือ IMT-GT ส่งเสริมให้ จังหวัดสงขลา ดำเนินโครงการจัดตั้งเมืองสีเขียว Green City และแผนแม่บทการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิง นเิ วศ Eco Industrial Town จังหวดั สงขลา ปี พ.ศ. 2561 - 2564 2.นโยบายสง่ เสริมและสนบั สนนุ การใช้ผลิตภณั ฑท์ เี่ ปน็ มติ รกบั สิง่ แวดล้อม ทำใหป้ ระชาชนใน พน้ื ท่มี คี วามตระหนักและให้ความสำคญั ด้านสิ่งแวดล้อมมากขนึ้ 3.มีแผนยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมภาคใต้ พ.ศ. 2560-2564 ซงึ่ ครอบคลมุ การพัฒนาในพน้ื ท่จี ังหวัดสงขลา 4. นโยบายรัฐบาลในการเพมิ่ พนื้ ทปี่ ่าให้ได้ 40 % และนโยบายทวงคนื ผืนปา่ ของประเทศทำให้ หน่วยงาน ภาครฐั ในพน้ื ท่ใี หค้ วามสำคัญและสง่ เสรมิ การเพม่ิ พ้นื ทป่ี ่าอย่างตอ่ เน่ือง 5. นโยบายสง่ เสรมิ เครอื ขา่ ยอาสาสมัครพทิ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมหมูบ่ ้าน (ทสม.) ในการสนับสนุนดแู ลรักษา อนุรกั ษ์ ฟืน้ ฟู และตดิ ตามดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อมของจงั หวดั ดา้ นความมั่นคง 1. มีการพัฒนาแผนความมั่นคงในทางเศรษฐกิจในพ้ืนที่ความมน่ั คง 2. มพี รบ.รักษาผลประโยชน์ทางทะเล พ.ศ. 2562 3. การปรบั ลดมาตรการความม่นั คงในพื้นท่ี 4 อำเภอ ทำให้ภาพลักษณ์ของการเปน็ พนื้ ท่ที ีม่ ี เหตุการณป์ กติท่กี ่อให้เกดิ ความเชือ่ มั่นต่อการท่องเที่ยว การลงทนุ ในจังหวัดเพม่ิ ขึ้น การวเิ คราะห์อุปสรรค (T – THREATS) ด้านการเกษตร 1. ราคาสินคา้ เกษตรมีความผนั ผวนตามกลไกตลาด โดยเฉพาะพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวดั คอื ยางพาราซงึ่ มีสัดส่วนของผลผลิตยางพาราและอุตสาหกรรมต่อเน่ืองกวา่ ร้อยละ 64.56 ของ GPP แตม่ ีราคาตกต่ำ มาต้งั แต่ปี 2555 ส่งผลต่อภาคการเกษตรของจงั หวัด 2. เกษตรบางสว่ นไม่มีที่ดินทำกินเปน็ ของตนเอง (เอกสารสิทธิ)์ 3. เกิดภัยธรรมชาติรุนแรงและมคี วามถ่สี ูงขน้ึ 4. ปัญหาภยั ธรรมชาติ อทุ กภัย ภยั แล้ง และน้ำเคม็ 5. การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายมุ ผี ลตอ่ การใชเ้ ทคโนโลยที างการเกษตร

20 ดา้ นการท่องเทย่ี ว 1. การแขง่ ขนั ด้านการท่องเทีย่ วมีสงู ทำใหน้ กั ท่องเท่ยี วให้ความสนใจในพ้ืนท่ีอ่นื ๆ ท่ีมคี วาม น่าสนใจแทนหรือระยะเวลาพำนกั ในจังหวัดสงขลาลดลง 2. สถานการณค์ วามไมส่ งบในพื้นท่จี ังหวัดชายแดนภาคใต้ ทำใหภ้ าพลักษณค์ วามไมป่ ลอดภัย ของจังหวัดสงขลาซึ่งอยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน นักท่องเที่ยวจึงขาดความเชื่อมั่นต่อการเดินทางเข้ามา ทอ่ งเทย่ี วในพืน้ ที่ 3. ภยั ธรรมชาต/ิ การกดั เซาะ ที่มผี ลกระทบต่อการท่องเท่ยี ว 4. การบรหิ ารจดั การยังมีการบรู ณาการนอ้ ย งบประมาณ/โครงการ/บทบาท มีความทับซ้อนไม่ ชดั เจน กฎหมายระเบยี บไม่เออื้ และไมท่ ันสมัย 5. ภาครัฐให้ความสำคัญกับการพฒั นาพ้นื ทที่ ่เี ป็นแหลง่ ท่องเทยี่ วหลกั มากกวา่ แหล่งท่องเท่ยี ว 6. งบทไ่ี ดร้ บั การสนบั สนนุ จากรัฐบาลมจี ำกัดและไม่ต่อเนือ่ ง ด้านเศรษฐกจิ การค้า การลงทุน 1. ภาวะความผนั ผวนของระบบเศรษฐกจิ โลกสง่ ผลกระทบต่อการสง่ ออกสนิ คา้ กระทบตอ่ การสง่ ออกของสนิ คา้ ของจงั หวดั 2. มาตรการกีดกันทางการค้าของบ้างประเทศเปน็ อุปสรรคในการสง่ ออกสินคา้ ของจังหวดั 3. อุปสรรคในการส่งออก การทอ่ งเท่ยี ว และการบรกิ าร เช่น มาตรฐานฮาลาล ของไทยยงั ไม่ได้ รบั การรบั รองในบางประเทศ, การกำหนดมาตรการการใชม้ ัคคุเทศก์ท้องถ่ินของบางประเทศ 4. การฟ้นื ตัวของเศรษฐกิจโลกยังชะลอตัว เปน็ ผลใหก้ ารขยายตัวดา้ นการส่งออกลดลงและราคา สนิ ค้าเกษตรบางชนิดลดลง 5. กฎหมายผงั เมอื งไมเ่ อื้อตอ่ การขยายอุตสาหกรรมและการลงทุน ด้านการคมนาคมขนส่ง 1.การสง่ ออกสนิ คา้ ทางราง ผ่านสถานีรถไฟปาดังเบซาร์ (สถานรี ถไฟรว่ มไทย-มาเลเซยี ) ประเทศไทยต้องจา่ ยคา่ GST จำนวน 6 % เป็นการเพ่ิมภาระต้นทุนกบั ผสู้ ่งออกสนิ คา้ 2.นโยบายรัฐบายที่ไม่ตอ่ เนือ่ งตอ่ การสนบั สนนุ เศรษฐกจิ ด้านพลงั งาน 1. ความไม่เชือ่ มน่ั ตอ่ การใช้เทคโนโลยีพลังงานสะอาดในการผลติ ไฟฟา้ เพื่อเสริมความม่ันคงดา้ น พลังงานในพ้ืนที่ เช่น โรงไฟฟา้ ถ่านหนิ โรงไฟฟา้ ขยะ เปน็ ต้น ด้านสังคม/การศึกษา/คุณภาพชีวิต 1. ความเจริญด้านเทคโนโลยีทำให้เกิดการหลั่งไหลของวัฒนธรรมต่างชาติ ส่งผลให้เด็กและ เยาวชนเกิดค่านยิ มที่ไม่เหมาะสม เช่น การแต่งกาย การใชภ้ าษา การบรโิ ภค เป็นต้น 2. มาตรการบังคับใช้กฎหมายไมเ่ ครง่ ครัด

21 ด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม 1. มีการกดั เซาะชายฝัง่ อย่างรุนแรงจากลกั ษณะทางกายภาพ 2. เป็นพ้นื ทที่ ไ่ี ดร้ ับผลกระทบจากปัญหาหมอกควันข้ามแดนจากประเทศอนิ โดนีเซยี โดยเฉพาะ ในชว่ งฤดูลมมรสุมตะวันตกเฉยี งใต้ 3. การเปล่ยี นแปลงภมู ิอากาศจากภาวะโลกรอ้ น ทำใหเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ ทรพั ยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม 4. กระแสด้านเทคโนโลยที พ่ี ัฒนาขึน้ ทำใหม้ ีผลต่อทัศนคติของชมุ ชนในการอนุรักษ์ทรัพยากร

22 ด้านความม่นั คง 1 .มีการบิดเบือนข้อมูลประวัติศาสตร์เพื่อประโยชน์ในการโฆษณาชวนเชื่อ 2. ระบบเทคโนโลยแี ละความเติบโตทางเศรษฐกิจ มผี ลกระทบต่อการแก้ไขปัญหาด้านความ มัน่ คง เชน่ การโจรกรรมข้อมูล การปลอมแปลงเอกสารทางราชการต่าง ๆ เป็นต้ ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาการศกึ ษาในจังหวัด ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาการศึกษาของจังหวดั สงขลา ตามแผนพัฒนาการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2565) จังหวัด สงขลา ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ได้กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ประเดน็ ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยทุ ธ์ และตัวช้วี ดั เพอ่ื ส่งเสริมยทุ ธศาสตร์การพฒั นาจงั หวัดสงขลา ดงั น้ี วิสัยทศั น์ (Vision) สังคมแห่งการเรียนรู้ คู่คุณธรรม นำคุณภาพ สู่ความสุขที่ยั่งยืนโดยได้มีการกำหนดนิยามวิสัยทัศน์ ตามลำดับดังน้ี พนั ธกจิ (Mission) 1. สง่ เสรมิ สังคมแหง่ การเรยี นรูต้ ลอดชวี ติ รกั ษ์ส่ิงแวดลอ้ ม และพฒั นาอยา่ งยัง่ ยืน 2. พัฒนาผูเ้ รยี นให้มคี วามรู้ คคู่ ุณธรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเรยี นรู้ส่อู าชีพ ในภมู ภิ าคอาเซียน 3. ส่งเสริมโอกาสการเข้าถึงบริการการศึกษาของประชาชนอย่างทวั่ ถึงและเกิดการเรียนรู้ตลอดชวี ติ

23 4. ยกระดบั คุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาสู่สากล 5. พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการศกึ ษาตามหลกั ธรรมาภิบาล 6. พัฒนาระบบการบรหิ ารและการจัดการศึกษาทีต่ อบสนองความต้องการของบรบิ ทเชิงพ้นื ที่ สอดรบั กับเขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษสงขลา 7. พัฒนาระบบการบริหารและการจดั การศึกษาทตี่ อบสนองความต้องการของบริบทเชงิ พน้ื ที่ สอดรบั กบั เขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกิจจังหวดั ชายแดนภาคใต้ ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ (Strategy Issue) ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 พฒั นาการจัดการศกึ ษาเพือ่ ความม่นั คง ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 พฒั นากำลังคน การวจิ ยั เพือ่ สร้างความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 พฒั นาศกั ยภาพคนใหม้ คี ุณภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 4 สรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา ยุทธศาสตร์ท่ี 5 ส่งเสรมิ และจัดการศกึ ษาเพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวติ ทีเ่ ปน็ มติ รกับส่งิ แวดลอ้ ม ยุทธศาสตรท์ ี่ 6 พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการให้มีประสิทธิภาพ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 7 การจัดการศกึ ษาเพอื่ การพฒั นาชุมชนและสงั คมอยา่ งยง่ั ยนื ตามพระราโชบาย เป้าประสงค์ (Goals) 1. ประชาชนมีการเรียนรู้ตลอดชีวติ อนุรกั ษ์ภูมิปัญญาท้องถ่ิน รกั ษส์ งิ่ แวดล้อม และพัฒนาอยา่ งยั่งยืน 2. ผเู้ รียนมคี วามรู้ คู่คุณธรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และเรียนรูส้ ่อู าชพี ในภมู ภิ าคอาเซยี น 3. ประชาชนมีโอกาสการเขา้ ถงึ บริการการศกึ ษาอย่างทัว่ ถึง และเกดิ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต 4. หนว่ ยงานทางการศึกษายกระดบั คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาชาตสิ ู่สากล 5. หน่วยงานทางการศึกษามีระบบบริหารจัดการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลภายใต้หลักการมีส่วนร่วม และบูรณาการการทำงานเพือ่ ให้เกดิ ความคุ้มค่า 6. หน่วยงานทางการศึกษาจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะด้านวิชาชีพ พร้อมเข้าสู่ ตลาดแรงงานในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษสงขลา 7. หนว่ ยงานทางการศึกษาพฒั นารูปแบบการจัดการศึกษาท่เี หมาะสมกับบริบทเชงิ พื้นที่ 8. หน่วยงานทางการศึกษามีการบริหารและการจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับบริบทเชิงพื้นที่ในเขต พฒั นาพิเศษเฉพาะกิจจงั หวดั ชายแดนภาคใต้

24 ข้อมลู พ้ืนฐานดา้ นการศึกษาทุกประเภทและทุกระดบั ตารางที่ 1 จำนวนนักเรียน ห้องเรยี น/สาขาวชิ า ผู้สอน และสถานศึกษา จำแนกตามหน่วยงานทาง การศกึ ษาจังหวดั สงขลา หนว่ ยงาน นกั เรียน ห้องเรียน/ ผู้สอน สถาน สาขาวิชา ศกึ ษา 30 กระทรวงมหาดไทย 20,295 676 942 30 726 สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ จังหวัดสงขลา 20295 676 942 4 กระทรวงศกึ ษาธิการ 327,898 12,463 15,682 1 7 โรงเรยี นศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษและการศกึ ษาสงเคราะห์/ 1,665 102 231 172 462 โรงเรียนสาธิตมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสงขลา 664 19 29 41 16 สถาบนั อดุ มศึกษา 59,446 2,453 3,438 23 สำนักงานการศกึ ษาเอกชนจังหวัดสงขลา 97,577 3,560 3,853 5 5 สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1-3 86,223 4,761 4,590 10 10 สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 16 42,250 1,271 2,155 771 สำนักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศีกษาตาม 21,029 127 352 อธั ยาศัยจังหวดั สงขลา สำนกั งานอาชวี ศึกษาจงั หวัดสงขลา 19,044 170 1,034 สำนกั งานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ 303 24 37 สำนกั งานพระพุทธศาสนาจงั หวัดสงขลา 303 24 37 สำนักนายกรฐั มนตรี 1,737 79 129 กองกำกบั การตำรวจตระเวนชายแดนท่ี 43 1,737 79 129 รวมทั้งหมด 350,233 13,242 16,790

25 ตารางท่ี 2 จำนวนและสัดส่วนนักเรียนในระบบโรงเรยี น ในสถานศกึ ษาภาครฐั บาล และเอกชน จังหวัดสงขลา ระดับก่อนประถมศึกษา – มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ระดับ/ประเภทการศกึ ษา นักเรยี น สัดส่วนรัฐ : เอกชน ภาครัฐ ภาคเอกชน รวม ภาครัฐ ภาคเอกชน กอ่ นประถมศกึ ษา 24,236 24,542 48,778 50 50 ประถมศึกษา 76,205 45,068 121,273 63 37 มัธยมศึกษาตอนตน้ 34,124 20,149 54,273 63 37 มธั ยมศึกษาตอนปลาย 17,911 9,713 27,624 65 35 รวม 152,476 99,472 251,948 61 39 ตารางท่ี 3 จำนวนและสดั สว่ นนักเรียน/นักศกึ ษา ประเภทอาชวี ศึกษา ในสถานศึกษาภาครฐั บาล และเอกชน จังหวัดสงขลา ระดบั /ประเภทการศึกษา นักเรียน สัดส่วนรฐั : เอกชน ภาครฐั ภาคเอกชน รวม ภาครฐั ภาคเอกชน ประกาศนียบตั รวชิ าชพี (ปวช.) 9,759 4,817 14,576 67 33 ประกาศนียบัตรวชิ าชีพช้ันสงู (ปวส.) 5,012 3,743 8,755 57 43 ปรญิ ญาตรี 125 - 125 100 - รวม 14,896 8,560 23,456 64 36

26 ตารางที่ 4 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ น้ั พืน้ ฐาน (O-NET) ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 และ 6 ระดบั จงั หวดั และระดบั ประเทศ วิชา ปกี ารศกึ ษา 2558 ปกี ารศกึ ษา 2559 ปีการศกึ ษา 2560 ระดับจังหวัด ระดับประเทศ ระดับจงั หวัด ระดบั ประเทศ ระดับจงั หวดั ระดับประเทศ ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 6 ภาษาไทย 50.01 49.33 53.60 52.98 47.67 46.58 คณติ ศาสตร์ 43.79 43.47 42.49 40.47 38.40 37.12 วิทยาศาสตร์ 42.45 42.59 42.43 41.22 39.95 39.12 ภาษาอังกฤษ 37.42 40.31 35.62 34.59 37.35 36.34 สงั คมศกึ ษา 50.07 49.18 49.09 46.68 - - ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ภาษาไทย 43.21 42.64 48.03 46.36 50.20 48.29 คณิตศาสตร์ 34.32 32.40 31.18 29.31 28.57 26.30 วทิ ยาศาสตร์ 39.13 37.63 36.27 34.99 33.55 32.28 ภาษาอังกฤษ 39.13 30.62 32.74 31.80 31.13 30.45 สงั คมศึกษา 48.22 46.24 50.76 49.00 - - ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ภาษาไทย 52.00 49.36 56.10 52.29 52.41 49.25 คณติ ศาสตร์ 29.57 26.59 27.73 24.88 28.0 24.53 วทิ ยาศาสตร์ 34.59 33.40 32.80 31.62 31.30 29.37 ภาษาองั กฤษ 26.58 24.98 29.51 27.76 30.39 28.31 สงั คมศกึ ษา 41.35 39.71 37.79 35.89 36.79 34.70 สถานการณ์และแนวโน้มการจดั การศกึ ษาในจงั หวัดสงขลา จังหวัดสงขลาเป็นศูนย์กลางการคมนาคมขนส่ง ศูนย์กลางการศึกษาของภาคใต้ ประชาชนใน จังหวัดสงขลาส่วนใหญ่นิยมส่งบุตรหลานเข้ารับการศึกษา เนื่องจากจังหวัดสงขลามีความพร้อมท้ัง สถาบันการศกึ ษา สถานท่พี ักอาศัย ความปลอดภยั ในชวี ิตและทรพั ย์สิน มชี ายแดนตดิ ต่อกบั ประเทศมาเลเซยี การ ติดต่อกับต่างประเทศทำได้สะดวก กระทรวงศึกษาธิการกำลังดำเนินการปฏิรูปการศึกษา เพื่อต้องการให้การจัด การศึกษาทุกระดับมีความสอดคล้อง ผู้เรียนมีคุณภาพ จบออกไปแล้วสามารถประกอบอาชีพได้ สำหรับด้าน อาชีวศึกษามนี โยบายเพ่ิมสดั สว่ นนักเรียนประเภทอาชวี ศึกษาให้เพมิ่ มากข้นึ เพอ่ื ต้องการผลิตกำลังคนท่ีมีคุณภาพ ให้เปน็ กำลังสำคัญ เพื่อรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจประเทศ

27 รัฐบาลได้กำหนดให้จังหวัดสงขลาเป็นเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษในพื้นที่อำเภอสะเดาในท้องที่ ตำบลสะเดา ตำบลสำนักขาม ตำบลสำนักแต้ว และตำบลปาดังเบซาร์ การจัดการศึกษาในพื้นที่ดังกล่าว ต้องจัดให้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจ ซึ่งมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดแนวทาง การจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจนถึงอุดมศึกษาจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชน ปญั หาการจัดการศกึ ษาของจังหวดั สงขลา 1. คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาส่วนใหญ่มีมาตรฐานคุณภาพที่แตกต่างกันระหว่าง สถานศึกษาทีม่ ีชอื่ เสียงกับสถานศกึ ษาทวั่ ไป 2. หน่วยงานทางการศึกษาในจังหวัด ขาดการบูรณาการการจัดการศึกษาร่วมกัน ขาดความ เชื่อมโยงชว่ ยเหลอื ซ่ึงกนั และกนั 3. การจดั การเรยี นการสอน ขาดการกำกบั นิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลอย่างเข้มข้นและต่อเน่ือง ในทุกระดับ 4. ความรว่ มมือระหวา่ งสถาบนั การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษามีน้อย 5. ประชาชนขาดความตน่ื ตัวในการเรยี นรใู้ หก้ ้าวทันความเปล่ยี นแปลงด้านเทคโนโลยี สังคม และ ความเปน็ ประชาคมอาเซยี น 6. ขาดรวบรวมองค์ความรู้ที่เปน็ ระบบ การบรหิ ารจัดการองค์ความรู้ การเผยแพรป่ ระชาสัมพันธ์ องคค์ วามรู้ สู่สาธารณะค่อนข้างน้อย 7. ขาดการบูรณาการแหล่งเรียนรู้ของหน่วยงานต่างๆในชุมชน ให้เอื้อต่อการจัดการการเรียน การสอน 8. การมสี ว่ นร่วมในการจัดการศึกษาของภาคสว่ นอ่ืนมีน้อย 9. ขาดแคลนแรงงานระดบั กลางท่ีมคี ุณภาพ เน่ืองจากนักศึกษาท่ีจบระดับอาชีวศึกษา และ ปวส. นยิ มเขา้ ศกึ ษาต่อในระดับปรญิ ญาตรี 10. ผจู้ บการศกึ ษาแต่ละระดับ ไมส่ อดคล้องและไมส่ นองความต้องการของตลาดแรงงาน

28 แนวทางแก้ไขปญั หาดา้ นการศกึ ษา 1. รัฐส่งเสริมสนบั สนนุ การจดั การศึกษาตามนโยบายเรียนฟรี 15 ปี อย่างมีคณุ ภาพให้กับนักเรียน ตั้งแต่ระดับปฐมวัยจนถึงการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกคน (มัธยมศึกษาตอนปลายทั้งประเภทสามัญศึกษาและ อาชีวศกึ ษา) ส่งผลใหน้ กั เรียนอยู่ในระบบการศึกษามากขนึ้ นกั เรยี นออกกลางคันลดลง 2. หน่วยงานต่างๆ ดำเนินงานการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาของนักเรียนให้มี มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ โดยในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานงบประมาณที่ได้รับ เพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สว่ นใหญเ่ นน้ เพอ่ื การยกระดบั คณุ ภาพผ้เู รียน 3. กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายในการปฏิรูประบบพัฒนาครู เพื่อตอบสนองต่อการพัฒนา ทรัพยากรบุคคลอย่างมีระบบและมีประสิทธิภาพสูงสุดให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) มีนโยบายให้การพัฒนาครูเชื่อมโยงกับวิทยฐานะ โดยจัดสรรงบประมาณการพัฒนาตนเองให้ ข้าราชการครูหลักสตู รละ 10,000 บาท คน/ปี ดำเนินการพัฒนาครูตามโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร ของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อให้ครูได้พัฒนาคนเองตรงตามศักยภาพ สามารถนำความรู้มา ประยุกตใ์ ชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน และไดพ้ ัฒนาตนเองอย่างสมำ่ เสมอ 4. ดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงศึกษาธิการ เพอื่ ต้องการพฒั นาคุณภาพของนักเรียน และสร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน ตลอดจนภาคส่วนต่างๆให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา มากขึ้น เช่น โครงการลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนประชารัฐ STEM ศึกษา อาชีวศึกษาเป็นเลิศ ทวิภาค/ทวิ ศึกษา มหาวิทยาลยั พี่เลีย้ ง เปน็ ต้น 5. พัฒนาใหค้ รูมีวทิ ยฐานะสงู ข้ึนเพ่ือสร้างขวัญและกำลงั ใจแกผ่ ้บู รหิ าร และครูผสู้ อน 6. การจัดการศึกษาเรียนร่วม ระหว่างนักเรียนปกติและนักเรียนพิการ/พิเศษ เพื่อเพิ่มโอกาส ทางการศึกษาให้กับนักเรียนผู้พิการ/พิเศษ ได้เข้าเรียนมากขึ้น รวมทั้งมีการพัฒนาครูผู้สอน สนับสนุน สื่ออุปกรณก์ ารเรียนการสอน 7. สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดการเรียนด้วยระบบสื่ออิเล็กทรอนิคมากขึ้น เช่น การเรียนการสอน ด้วยระบบทางไกลจากโรงเรียนวังไกลกังวลไปยังโรงเรียนขนาดเล็ก และ ( DLTV : Distance Learning Television) และการพัฒนาคุณภาพการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยี (DLIT : Distance Learning Information

29 Technology) ให้กับโรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่ ตลอดจนสนับสนุนสื่อ เทคโนโลยี ให้สถานศึกษา ให้ สอดคลอ้ งกบั พัฒนาประเทศไทยตามยุทธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี การบรู ณาการในการแก้ปัญหาวิกฤต จังหวดั สงขลาไดด้ ำเนินการตามมาตรการเร่งด่วนในการดำเนินการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุม โรคติดเชือ้ โคโรนา 2019 (COVID 19) ตามคำสั่งคณะกรรมการโรคติดตอ่ จังหวดั สงขลา โดยบูรณาการกบั หัวหน้า สว่ นราชการทกุ หน่วย หวั หน้าหนว่ ยงานรัฐวิสาหกิจทุกแห่ง ประธานสภาอตุ สาหกรรมท่องเท่ียวจังหวัดสงขลา ประธานหอการคา้ จังหวัดสงขลา ประธานสภาอุตสาหกรรมจงั หวดั สงขลา เป็นหนว่ ยงานที่รบั ผดิ ชอบและ ดำเนนิ การตามมาตรการ ดงั น้ี มาตรการ 1. ห้ามข้าราชการ พนักงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ เอกชน และพนักงานส่วนท้องถิ่น เดินทางไป ต่างประเทศ ยกเว้นมีเหตุจำเป็นสำคัญ และเตือนประชาชนให้งดเดินทางไปประเทศซึ่งเป็นพื้นที่เขตโรคติดต่อ อันตรายและพืน้ ท่รี ะบาดต่อเนอ่ื ง หากฝา่ ฝืนจะมีความผิดมีโทษปรบั ไม่เกินสองหมื่นบาท 2. ให้หลีกเลี่ยงหรือเลื่อนการจัดกิจกรรมที่มีการรวมตัวของประชาชนจำนวนมาก เช่น การแข่ง กฬี า การจัดคอนเสริ ต์ และการจดั มหรสพ หากฝา่ ฝืนจะมีความผิดมโี ทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกนิ 1 แสนบาท หรือทง้ั จำทงั้ ปรบั

30 3. สถานที่ทำงาน ทั้งภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ เอกชนให้ลดความแออัด โดยเหลื่อมเวลาการทำงาน เหลื่อมเวลาพักรับประทานอาหาร จัดที่น่ังอย่างน้อยห่างกัน 1 เมตร ลดการรับบุคคลภายนอกและคัดกรอง บคุ คลภายนอกท่เี ขา้ มาในสถานทีท่ ำงานตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสขุ อย่างเคร่งครดั 4. ให้หน่วยงานราชการทุกหน่วย เอกชนทำแผนการทำงานจากบ้านและรายงานผลการปฏิบัติ ต่อศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อโคโรนา 2019 (COVID 19) โดยส่งเสริมให้ใช้ระบบ อินเตอร์เน็ต เช่น ประชุมทางไกลเพื่อให้บุคลากรทำงานที่บ้านทดแทนภาวะปกติ ส่งเสริมระบบธุรกรรม อเิ ลก็ ทรอนิกส์ และการซื้อขายออนไลดส์ ำหรับประชาชนท่วั ไป 5. หนว่ ยงานราชการ เอกชน ให้งดหรือเลื่อนการจัดกิจกรรมที่มีการรวมตวั ของประชาชนจำนวน มาก เช่น การแข่งขนั กีฬา การประชมุ สัมมนา การจดั กจิ กรรมทีม่ ีผเู้ ขา้ ร่วมตัง้ แต่ 50 คนขน้ึ ไป รวมทงั้ งานประเพณี 6. ขอความร่วมมอื ใหป้ ระชาชนทกุ คนใสห่ นา้ กากผ้าหรือหนา้ กากอนามัยเมือ่ เดินทางเข้าสถานท่ี ชมุ นมุ ชน ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและความเขม้ แขง็ ของชุมชน จังหวัดสงขลา มีการร่วมมือของทุกภาคส่วนน้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ขององค์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ มาดำเนินการให้บังเกิดผลเป็นรูปธรรมโดยส่งเสริมให้ประชาชนนำหลักการของ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำรงชีวิต และเป็นเป้าหมายของการพัฒนาหมู่บ้าน เพื่อให้ประชาชนใน หมู่บ้านได้ใช้ความรู้ ความเข้าใจและประสบการณ์และแนวทางการปฏิบัติตามหลักการของปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงมาใช้ในการพัฒนาหมบู่ ้าน เร่มิ จากจดุ เล็ก ๆ ตามหลักการทรงงาน “ระเบดิ จากขา้ งใน” สรา้ งตัวอย่างการ ใช้วิถีชีวิตแบบพอเพียงในครัวเรือนต้นแบบ ก่อนขยายผลเป็น “หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ” และขยายผล สร้างศูนย์การเรียนรู้ทุกอำเภอในจังหวัดสงขลา และกำหนดเป็นแนวทางในการสร้างพลังการขับเคลื่อนกิจกรรม ของหมู่บ้านด้วยโครงการ “เรารักสงขลา” ด้วยการสร้างจิตสำนึกในการรักแผ่นดินเกิด เทิดทูนคุณธรรม ร่วมกัน รักษาสภาพบ้านเรือนให้สะอาดสวยงาม ให้ความสำคัญกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ต่อต้านยาเสพติด เพอื่ ใหก้ ้าวไปสู่การมีคุณภาพชีวติ ดี มคี วามสขุ ในท่สี ุดความสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล/คสช./มท.รัฐบาลได้แถลง นโยบายของรัฐบาลต่อสภานติ ิบัญญัติแห่งชาติ เมื่อวันที่ 12 ก.ย. 2557 เน้นยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศโดยใช้

31 หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ขององค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ด้วยการบูรณาการการดำเนนิ งานของทุก ภาคส่วน โดยใชว้ ธิ กี ารทเี่ หมาะสม ในทีน่ ข้ี อยกตวั อยา่ งศนู ย์การเรียนรเู้ ศรษฐกจิ พอเพยี งมาเพยี งบางส่วน เชน่ ศูนย์สาธิตฝึกอาชีพเศรษฐกิจพอเพียง หมู่ 14 ตำบลท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา ซึ่ง จังหวัดสงขลาได้สนับสนุนงบประมาณในการบริหารจัดการและรวบรวมเกษตรกรปราชญ์ชาวบ้านที่มีความ เชยี่ วชาญในการปลูกพชื แต่ละชนิดมารวบรวมเป็นศูนย์ตน้ แบบการฝกึ อาชีพเศรษฐกิจพอเพียงครบวงจร ที่สามารถ รองรบั ผู้สนใจ ท่จี ะมาศึกษาดูงานภายในศูนยฯ์ ได้เปน็ จำนวนมาก มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพอ่ื ชว่ ยเหลือและใหค้ วามรูเ้ พ่ิมเตมิ แกเ่ ยาวชนและประชาชนทัว่ ไป ท่ีสนใจในการพฒั นา อาชพี และการใช้เทคนิคใหมๆ่ ในการประกอบอาชีพเพอื่ เพิม่ รายได้และลดรายจา่ ย 2. เพื่อให้เยาวชนและประชาชนทั่วไป มีความเข้าใจและถือปฏิบัติในหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพยี งตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว 3. เพื่อสร้างเครือข่ายและบูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ชุมชน และ เอกชน ใหม้ สี ่วนร่วมประสานงาน และช่วยเหลือซ่ึงกนั และกันในการพฒั นาอาชีพตามหลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง 4. เพื่อเป็นตัวอย่างในการใช้พื้นที่ของครอบครัวที่มีจำนวนจำกัดให้เป็นประโยชน์ตลอดทั้งปีตาม หลกั การของการเกษตรแบบเศรษฐกจิ พอเพียง การดำเนนิ งานของศนู ยฯ์ จดั ทำในลักษณะของการประสานความร่วมมือเปน็ หลัก โดยศนู ยฯ์ มี หน้าที่สาธิตและแนะแนวทางในการใช้ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง และรับผิดชอบในการติดต่อประสานงานให้มี การฝกึ อบรมอาชพี ดา้ นต่างๆ ซ่งึ เปน็ ที่นยิ มและเป็นความต้องการของตลาด ประสานความร่วมมอื กับวิทยากรผู้มี ความรู้ความชำนาญ รวมทั้งปราชญ์ชาวบ้าน เพื่อให้มีการถ่ายทอดความรู้ความชำนาญแก่ผู้เข้ารับการ ฝึกอบรม เป็นการเสริมทักษะในการประกอบอาชีพเดิม หรือฝึกอบรมความรู้ในการพัฒนางานทางเกษตรกรรม ใหมๆ่ โดยใชส้ ถานที่ของศูนย์ฯ เป็นศูนย์กลางในการจัดทำโครงการฝึกอบรมและสาธติ ต่างๆ อยา่ งต่อเน่ือง โดยมี ฐานการฝึกอบรม ฐานการเรียนรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อาทิ ฐานการพัฒนาจิต ,ฐานความรู้หลักปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพียง ,ฐานการฝึกทักษะวิถีชีวติ เศรษฐกิจพอเพียง ,ฐานการติดตามผลการนำหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจไป ใช้ในชีวิตประจำวัน และฐานการประยุกต์หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งในแต่ละฐานความรู้จังหวัดสงขลาได้

32 รวบรวมวิทยากรภาครัฐและเกษตรกรดีเด่น พร้อมปราชญ์ชาวบ้านเป็นวิทยากรให้ความรู้กับกลุ่มเป้าหมาย อาทิ วิทยากรจากสำนกั งานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง อำเภอรัตภูมิ วิทยากรจากมหาวิทยาลัยราชมงคลศรวี ชิ ยั วทิ ยาลยั รัตภูมิ และสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สงขลา อบต. กำนัน ผู้ใหญ่บา้ น และชาวบา้ นในพน้ื ท่ี ศูนย์เรียนรู้คู่คุณธรรมเพื่อเศรษฐกิจพอเพียงบางกล่ำ ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 77 หมู่ที่ 1 ต.บ้านหาร อ.บาง กล่ำ จ. สงขลา มีศูนย์การเรียนรู้ที่มีความชำนาญด้าน การปลูกผักอินทรีย์ ปลอดสารพิษ จำหน่ายให้แกก่ ลุ่ม ผู้รกั สุขภาพ โดยเฉพาะขายให้กบั โรงพยาบาลหาดใหญน่ อกจากน้ยี ังมฐี านให้ความรู้อีกหลายฐานความรู้ ไดแ้ ก่ การเผา ถ่าน ได้น้ำส้มควันไม้ การทำแชมพู ภายใต้ ทำปุ๋ยอินทรียช์ วี ภาพ เพาะถั่วงอก ทำน้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น น้ำหมกั ชีวภาพ นำ้ ยาเอนกประสงค์ เปน็ ต้น ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงโคกพยอม เทพา ตั้งอยู่ท่ี บ้านโคกพยอม ต. เกาะสะบ้า อ. เทพา จ. สงขลา ลักษณะของศูนย์เรียนรู้ท่ีทำได้เด่นชัด ได้แก่ การปลูกพืชผักสวนครัว พัฒนาปรบั ปรุงดิน การปลูกผักไร้ ดินหรือไฮโดรโฟนิกส์ มีฐานการเรยี นร้ใู ห้ผู้สนใจเข้าศกึ ษาทง้ั หมด 8 ฐาน ประกอบด้วย ฐานที่ 1 การเลย้ี งไกไ่ ขแ่ บบปล่อยลาน ฐานที่ 2 การปลูกมะนาวในบอ่ ซเี มนต์ ฐานที่ 3 การทำปุ๋ยหมักชีวภาพจากสารเร่ง พด.1 ผสมกับแกลบ มูลสัตว์ ขี้ค้างคาว รำข้าวละเอียด แกลบดำ กากนำ้ ตาล และน้ำ ฐานที่ 4 การปลูกผักแบบสวนกระแส เป็นการปลูกผัก เช่น ตะไคร้ ผักหวาน ข่า โดยการตัดบริเวณ ลำต้นให้สั้นประมาณ 2 นิ้ว ปลูกแค่ต้นเดียว สามารถแตกกิ่งได้ 50 ต้น ซึ่งแตกต่างและดีกว่าการปลูกทั้งต้น ส่วน การปลูกผักหวานให้ปักตน้ ตามแนวนอนมันจะแตกแขนงไปได้ทุกขอ้ ดีกวา่ ปลูกแบบยนื ฐานที่ 5 การปลูกผักแบบเอื้ออารีอยู่ที่สูง เป็นการนำวัสดุเหลอื ใช้อย่างจานพัดลมเก่า ๆ มาเป็นวัสดุ ปลกู ผกั ได้หลากหลายชนิด

33 ฐานที่ 6 การปลกู ผกั แบบไฮโดรโปนกิ ส์ เปน็ การปลกู ผักโดยไม่ต้องใช้ดนิ ฐานที่ 7 การปลกู ผักแบบไฮโซ โผลห่ วั เอาตัวรอด เป็นการปลูกผกั แบบกลับหัว ซึง่ ต้องเลือกพันธ์ุผักท่ี มีต้นยาวประมาณหนึ่งศอก เช่น พริก มะเขือ เอาพันธุ์ผักห้อยหัวลงแล้วเอาส่วนรากยัดใส่ก้นกระถาง ใส่ขุย มะพร้าวทบั ลงไปในกระถาง สว่ นดา้ นบนกส็ ามารถปลกู ผกั อกี ชนิดไดด้ ้วย ทำใหไ้ ดผ้ ัก 2 ชนดิ ในกระถางเดยี ว ฐานที่ 8 เป็นการปลูกผักแบบสายใยรกั ปลูกถั่วพูต้นเดียวได้ 500 ฝัก คือปลูกถั่วพูต้นเดยี วพอโตเร่ิม มีเถาเลื้อยใหท้ ำซุ้มโดยเอาไม้เสาหลักปักไวใ้ กล้ ๆ ต้นถั่วพู 1 เสา ผูกเชือกจากเสาเป็นสายใยหลาย ๆ สาย เพื่อให้ เถา ถ่วั พูเลื้อยไปตามเชอื ก ขอ้ ดคี ือสายใยจะทำ ให้ถว่ั พูออกฝักดกี วา่ ไม่ทำสายใย ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตำบลบ้านขาว ตั้งอยู่ท่ี 30 หมู่ 1 บ้านหัวป่า ตำบลบ้านขาว อำเภอระโนด จังหวัดสงขลาความชานาญพิเศษ / จุดเดน่ ของศูนย์ ฯ - การปลกู ขา้ วอนิ ทรยี ท์ ่ีลดการใชส้ ารเคมี - การแบ่งพื้นที่เพาะปลูกในรูปแบบไร่นาสวนผสม เช่น ปลูกพริกร่วมกับ ข้าวโพด, ขนุน, มะม่วง แบ่งพ้นื ทีเ่ ลย้ี งไก่ไขโ่ ดยให้อาหารเป็นผลผลติ ทเ่ี หลือจากการขายและบริโภค ขุดบอ่ น้ำเป็นแหลง่ น้ำสำรองพร้อมท้ัง เล้ยี งปลาเพือ่ บริโภคและขาย - การทำปุ๋ยและยากำจดั ศัตรพู ชื ใช้เอง ตามการใช้งานแต่ละประเภท เช่น น้ำหมกั ชวี ภาพจากวัสดุใน ทอ้ งถิน่ และผลผลิตท่เี หลือจากการบรโิ ภค ซึง่ ได้ผลเทียบเทา่ ปุ๋ยเคมี, น้ำส้มควันไม้ ใช้เศษก่งิ ไม้จากการตัดแต่งสวน มาผ่านกระบวนการเผากลัน่ ใช้ไล่แมลงศัตรูพืช ทำให้ส่งผลกระทบตอ่ สุขภาพนอ้ ยกวา่ ปุ๋ยเคมีและยากำจัดศัตรูพชื ท่วั ไป ผลการดำเนินงานถึงปัจจุบันจังหวัดสงขลา มีหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ มีความเข้มแข็ง มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน และเศรษฐกิจฐานรากมั่นคง ด้วยหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 132 หม่บู า้ น

34 ภาพรวม จังหวัดสงขลา ได้กำหนดเป้าหมายและทศิ ทางการพฒั นาจงั หวดั โดยกำหนดวสิ ัยทัศนข์ องจงั หวดั ดงั นค้ี อื “สงขลา ศูนย์กลางเศรษฐกจิ ภาคใต้ ประชาชนมคี ุณภาพ สง่ิ แวดลอ้ มย่ังยืน” และกำหนดพนั ธกิจ โดยการ พัฒนาเศรษฐกิจ การค้า การทอ่ งเทย่ี ว อุตสาหกรรมเกษตร เพอ่ื รองรับการพัฒนาเขตพัฒนา เศรษฐกจิ พเิ ศษ และ เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจภาคใต้ พัฒนาสงขลาให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชวี ิต ประชาชนมีคุณภาพ จัดการ ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เพ่อื เป็นฐานการผลิตและการพัฒนาอย่างย่ังยืน พัฒนาสงขลาให้ประชาชนมี ความมน่ั คง ปลอดภยั เป้าหมายการพฒั นา ในปี 2565 จังหวดั สงขลาได้ให้ความสำคัญในการพัฒนาเพ่ือใหบ้ รรลุผลใน 3 เรอ่ื ง ประกอบดว้ ย

35 1. สงขลาศูนย์กลางเศรษฐกิจภาคใต้ โดยการพัฒนาให้จังหวัดสงขลามีขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุด และมศี กั ยภาพสงู สุดในภมู ิภาคใต้ มรี ะบบเศรษฐกิจท่ีมนั่ คงท่ีมีมลู คา่ การคา้ ขายแดนสงู สุดของประเทศ 2.ประชาชนจังหวัดสงขลามีคุณภาพ โดยการพัฒนาประชาชนในจังหวัดสงขลาจะต้องเป็นผู้ที่มี ความรู้ ความสามารถ ควบคู่กับคุณธรรมและจริยธรรม และมีความเป็นอยู่ที่ดีมคี ุณภาพ ชุมชนและเศรษฐกิจฐาน รากมีความเข้มแข็ง มีทัศนคติและพฤติกรรมตามบรรทัดฐานที่ดีของสังคม และต้องได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิต ทุกช่วงวัย ตามแผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของจังหวัด สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันทางศาสนา และชุมชน ได้รับการพัฒนาอย่างทั่วถึงเป็นธรรม ทุกคนเข้าถึงบริการและสวัสดิการภาครัฐ สามารถลด ความ เหลอ่ื มล้ำ คนจนจะหมดไป และครอบครัวมีความสขุ 3. สงขลามีสิ่งแวดล้อมยั่งยืน โดยการให้ความสำคัญกับการแก้ไขปัญหาและอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม การแก้ปัญหาขยะ ปญั หานำ้ เสีย การลดการใชน้ ้ำมันเชื้อเพลิง และการใช้พลังงานไฟฟ้า และการดำเนินโครงการนำร่อง Green City ภายใต้กรอบความร่วมมือสามเหลี่ยมเศรษฐกิจ (IMT-GT) และ นโยบายของรฐั บาล ปี 2565 จังหวดั สงขลาต้องแก้ปัญหาขยะตกค้างใหห้ มดไป และมกี ารฝงั่ กลบทีถ่ ูกหลกั วิชาการ มีการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งเพื่อลดปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง ลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติและความสูญเสียในชีวิตและ ทรัพย์สินที่เกิดจากสาธารณภยั การเติบโตทางเศรษฐกิจตอ้ งเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมี คุณคา่ และยั่งยนื มพี นื้ ทป่ี ่าไมเ้ พมิ่ ขึน้ และมกี ารใช้พลังงานทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ ยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาของจังหวัดสงขลา ตามแผนพัฒนาการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2565) จังหวัดสงขลา ฉบับทบทวนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ได้กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ และตัวชี้วัด เพื่อส่งเสริมยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดสงขลา คือ สังคมแห่งการเรียนรู้ คู่ คณุ ธรรม นำคณุ ภาพ สคู่ วามสุขท่ียัง่ ยืน จังหวัดสงขลาได้ดำเนินการตามมาตรการเร่งด่วนในการดำเนินการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุม โรคติดเชื้อโคโรนา 2019 (COVID 19) ตามคำสั่งคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดสงขลา โดยบูรณาการกับหัวหน้า ส่วนราชการทุกหน่วย หัวหน้าหน่วยงานรัฐวิสาหกิจทุกแห่ง ประธานสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวจังหวัดสงขลา

36 ประธานหอการค้าจังหวัดสงขลา ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดสงขลา เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบและ ดำเนนิ การตามมาตรการ ดงั นี้ 1. ห้ามข้าราชการ พนักงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ เอกชน และพนักงานส่วนท้องถิ่น เดินทางไป ต่างประเทศ ยกเว้นมีเหตุจำเป็นสำคัญ และเตือนประชาชนให้งดเดินทางไปประเทศซึ่งเป็นพื้นที่เขตโรคติดต่อ อันตรายและพ้นื ทรี่ ะบาดตอ่ เน่ือง หากฝา่ ฝืนจะมคี วามผดิ มีโทษปรบั ไมเ่ กนิ สองหม่ืนบาท 2. ใหห้ ลกี เลย่ี งหรอื เลื่อนการจัดกิจกรรมทมี่ ีการรวมตัวของประชาชนจำนวนมาก เช่น การแขง่ กฬี า การจัดคอนเสิร์ต และการจัดมหรสพ หากฝ่าฝืนจะมีความผิดมีโทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 1 แสนบาทหรือ ทง้ั จำทัง้ ปรบั 3. สถานที่ทำงาน ทั้งภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ เอกชนให้ลดความแออัด โดยเหลื่อมเวลาการทำงาน เหลื่อมเวลาพักรับประทานอาหาร จัดที่นั่งอย่างน้อยห่างกัน 1 เมตร ลดการรับบุคคลภายนอกและคัดกรอง บุคคลภายนอกทีเ่ ขา้ มาในสถานท่ีทำงานตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุขอย่างเคร่งครดั 4. ให้หน่วยงานราชการทุกหน่วย เอกชนทำแผนการทำงานจากบ้านและรายงานผลการปฏิบัติต่อ ศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อโคโรนา 2019 (COVID 19) โดยส่งเสริมให้ใช้ระบบอินเตอรเ์ นต็ เชน่ ประชมุ ทางไกลเพ่ือให้บคุ ลากรทำงานท่บี ้านทดแทนภาวะปกติ ส่งเสริมระบบธรุ กรรมอเิ ล็กทรอนิกส์ และการ ซอื้ ขายออนไลน์สำหรับประชาชนท่วั ไป 5. หน่วยงานราชการ เอกชน ให้งดหรือเลื่อนการจัดกิจกรรมที่มีการรวมตัวของประชาชนจำนวน มาก เช่น การแขง่ ขนั กีฬา การประชมุ สัมมนา การจดั กจิ กรรมทม่ี ีผูเ้ ขา้ รว่ มตัง้ แต่ 50 คนขึน้ ไป รวมทงั้ งานประเพณี 6. ขอความร่วมมือให้ประชาชนทุกคนใส่หน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยเมื่อเดินทางเข้าสถานท่ี ชุมนมุ ชน

37 จังหวัดสงขลา มีการร่วมมือของทุกภาคส่วนน้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ขององค์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 มาดำเนินการให้บังเกิดผลเป็นรูปธรรมโดยส่งเสริมให้ประชาชนนำ หลักการของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำรงชีวิต และเป็นเป้าหมายของการพัฒนาหมู่บ้าน เพื่อให้ ประชาชนในหมู่บ้านได้ใช้ความรู้ ความเข้าใจและประสบการณ์และแนวทางการปฏิบัติตามหลักการของปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการพัฒนาหมู่บ้าน เริ่มจากจุดเล็ก ๆ ตามหลักการทรงงาน “ระเบิดจากข้างใน” สร้าง ตัวอย่างการใช้วิถีชีวิตแบบพอเพียงในครัวเรือนต้นแบบ ก่อนขยายผลเป็น “หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ” และขยายผลสร้างศูนย์การเรียนรู้ทุกอำเภอในจังหวัดสงขลา และกำหนดเป็นแนวทางในการสร้างพลังการ ขับเคลื่อนกิจกรรมของหมูบ่ ้านด้วยโครงการ “เรารักสงขลา” ด้วยการสรา้ งจิตสำนึกในการรักแผ่นดินเกิด เทิดทนู คุณธรรม ร่วมกันรักษาสภาพบ้านเรือนให้สะอาดสวยงาม ให้ความสำคัญกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ตอ่ ต้านยาเสพตดิ เพื่อใหก้ า้ วไปสกู่ ารมีคุณภาพชวี ติ ดี

38 ส่วนท่ี 3 สงิ่ ท่ีเปน็ ประโยชนแ์ ละสามารถนำมาใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ านได้ ประโยชนต์ อ่ การพฒั นาตนเองของผเู้ ขา้ รับการพฒั นา “การศึกษาดูงาน” เป็นการศึกษานอกสถานที่เพื่อเรียนรู้และแสวงหาประสบการณ์ใหม่ ๆ ที่ คาดหวังว่าจะสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในหน่วยงานหรืองานในหน้าที่ของแต่ละบุคคลได้ ทั้งยังเป็นการเปลี่ยน บรรยากาศของงานประจำที่ทำอยู่ไปสู่การพบเห็นสิ่งใหม่ สามารถสร้างเสริมแนวคิดใหม่และนำไปสู่การ เปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น การศึกษาดูงานที่ได้ผลคุ้มค่าและนำไปสู่การพัฒนาอย่างแท้จริง คงขึ้นอยู่กับปัจจัยหลาย ประการ เช่น ต้องมีเป้าหมายที่แน่นอน มีการติดต่อประสานงานล่วงหน้าอย่างรัดกุม และมั่นใจว่าจะได้รับความ ร่วมมือและอำนวยความสะดวกจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง มีการวางแผนและศึกษารายละเอียดต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง วางแผนเวลาให้เหมาะสมและเพยี งพอที่จะช่วยให้ได้รบั ประสบการณ์ที่เป็นไปตามวัตถปุ ระสงค์ และที่สำคัญย่ิงอีก อยา่ งหนึ่งก็คือประโยชนท์ ีจ่ ะได้รบั การศึกษาดูงานจังหวัดสงขลาของนักบริหารระดับสูง กระทรวงศึกษาธิการ เป็นการเรียนรู้เชิง ประจักษ์ เป็นการให้โอกาสผู้บริหารท่ีเข้ารบั การพัฒนาในหลักสูตรนักบริหารระดบั สงู กระทรวงศกึ ษาธิการ (นบส. ศธ.)รุ่นท่ี11 ได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ๆ ในเรื่องจริง ที่มีการปฏิบัติและดำเนินการอยู่ในพื้นที่ต่างๆ ความ หลากหลายและความแตกต่างของสถานทีท่ ี่ไปศึกษาดูงาน ได้ช่วยเสริมความรู้ ความเข้าใจ และกระบวนทัศน์ของ นักบริหารแตล่ ะคนซง่ึ เป็นประโยชนใ์ นการพัฒนาตนเองดังนี้ 1. เป็นการเปิดโลกทัศน์ที่เป็นประสบการณ์ตรงจากการได้ไปสัมผัสจริงจากการศึกษาดูงาน จงั หวัดสงขลา 2. ได้รับความรู้และประสบการณ์ใหม่ๆ เช่น การบริหารงานในสถานการณ์วิกฤตโควิด-19 สามารถนำมาปรบั ใช้ในการบริหารจดั การหน่วยงานหรือองคก์ รได้ 3. สามารถใช้เป็นแนวทางการพัฒนาส่งเสริม การสร้างเครือข่ายของหน่วยงานทั้งภาครัฐและ เอกชนในการบรู ณาการจัดการศกึ ษาร่วมกัน 4. สร้างแรงจูงใจและได้แนวปฏิบัติที่ดีในกระบวนการปฏิบัติงาน เพื่อนนำมาปรับปรุงพัฒนา หนว่ ยงานต่อไป 5. เสริมสร้างประสบการณ์จริงให้แก่นักบริหารที่เข้ารับการพัฒนาให้พร้อมสำหรับนำไป ประยุกตใ์ ชใ้ นอนาคต 6. สามารถเปรียบเทียบเพื่อเลือกสรรข้อดีข้อได้เปรียบต่างๆ นำมาวิเคราะห์ และทำความเข้าใจ ให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้นได้ โดยการศึกษาเปรียบเทียบการบริหารจัดการองค์กรที่ดีเลิศ (Best Practices)รวมทั้งเทคโนโลยี ทนั สมัยทชี่ ่วยในการบรหิ ารจัดการองค์กร ทงั้ ภาครฐั และภาคเอกชน

39 ประโยชนต์ อ่ การพฒั นาหนว่ ยงาน 1. การพัฒนาการบริหารแบบบูรณาการ อาศัยความร่วมมือทุกภาคส่วน เชื่อมโยงข้อมูล ทีห่ ลากหลาย แลกเปลี่ยนทรัพยากร รจู้ กั ใช้ทรัพยากรใหเ้ กิดประโยชน์สงู สดุ 2. นำแนวทางการสร้างเครอื ขา่ ย การบูรณาการรว่ มกันจากทุกภาคส่วนในหน่วยงานการศึกษา เชน่ ทอ้ งถน่ิ ปราชญ์ แหล่งเรียนรู้ทางวชิ าการ และแหล่งเรยี นรู้ตา่ งๆ ในพื้นท่ี สร้างองคก์ รเอกลักษณ์ “เรารกั ท้องถนิ่ ” 3. หน่วยงานการศึกษา เป็นแหล่งเรียนรู้ต้นแบบ สามารถนำไปประยุกต์ในองค์กรอื่น เพื่อให้เป็น ตวั อย่างกับหน่วยงานและสถานศกึ ษาในพนื้ ทไ่ี ด้มาศึกษาต่อไปได้ 4. สง่ เสริมสนบั สนุนใหผ้ เู้ รียนท่ีมีความสามารถพเิ ศษ ในด้านตา่ งๆ ได้มโี อกาสเรยี นรฝู้ ึกทักษะ ตามความถนัด ความสนใจ เพอ่ื การพัฒนาเต็มศักยภาพของตนเอง เช่น ผเู้ รียนทีม่ ีจดุ เดน่ ด้านการกีฬา ดนตรี และ ความสามารถเฉพาะทาง หรอื การประกอบอาชีพเกดิ การเรยี นรู้อย่างต่อเน่ือง Re-Skill Up-Skill และ New-Skill 5. ส่งเสริมสนับสนุนบุคลากรในการพัฒนาทักษะด้านการนำเทคโนโลยีเข้ามาจัดการเรียนรู้ เช่น การจัดการสอนแบบออนไลน์ ในรูปแบบต่างๆ ผ่านระบบ Microsoft Teams, Zoom Meeting, Google Classroom, Application Facebook และ Line 6. พฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ให้มคี วามสามารถด้านการผลิตสื่อ นวัตกรรม ท่ีหลากหลาย ตลอดจนให้มีกระบวนการวิจยั เพอ่ื นำไปสูก่ ารพฒั นาผเู้ รยี นให้มสี มรรถนะและคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์

40 ประโยชน์ต่อการพัฒนาสังคม การศกึ ษาดงู านจังหวัดสงขลาในครงั้ นี้ ทำใหไ้ ด้เรยี นร้แู ละประสบการณท์ ง้ั ส่ิงทค่ี าดหวงั สาระสำคญั ท่ีเป็นประโยชน์และสามารถนำมาใช้ในการปฏบิ ัตงิ านใหเ้ ปน็ ประโยชน์ตอ่ การพัฒนาสังคม ดงั ต่อไปน้ี 1. ทำให้สามารถพัฒนาการบริหารจัดการที่ส่งเสริมการพัฒนาประเทศชาติให้มีความมั่นคงและ ประชาชนมีความสุข 2. ทำให้สามารถพัฒนาการบริหารจัดการที่ส่งเสริมการยกระดับศักยภาพคนในหลากหลายมิติเพ่ือ การพัฒนาเศรษฐกิจอยา่ งตอ่ เนือ่ ง 3. ทำให้สามารถพัฒนาการบริหารจัดการที่ส่งเสริมการพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็น คนดี คนเก่งและมคี ุณภาพ 4. ทำให้สามารถพัฒนาการบริหารจัดการที่ส่งเสริมการเสริมสร้างโอกาสและความเสมอภาคใน สงั คม 5. ทำให้สามารถพัฒนาการบริหารจัดการที่ส่งเสริมการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตมี่เป็นมิตร กบั สงิ่ แวดล้อม 6. ทำให้สามารถพัฒนาการบริหารจัดการที่ส่งเสริมองค์กรให้เป็นภาครัฐของประชาชนเพื่อ ประชาชนและประโยชนส์ ่วนรวม

41 ส่วนที่ 4 ขอ้ เสนอแนะอื่น ๆ การเตรยี มการศกึ ษาดูงานของกล่มุ ที่ หน่วยงาน วัน เดอื น ปี เร่ืองหรอื ประเด็น ผูป้ ระสานงาน ที่ศกึ ษาดงู าน 10 พ.ค. 2564 ท่ตี ้องการศกึ ษา (13.00 –16.30) ประชุมวางแผน ศกึ ษาข้อมูล นายกิตติภ์ มู ิ คงศรี 1. โรงแรมสมหิ ลาบีช เอกสารแผนพฒั นาจงั หวัด ผ้อู ำนวยการโรงเรียน อำเภอเมือง 11 พ.ค. 2564 และแผนพัฒนาการศึกษา รตั ภูมวิ ทิ ยา จงั หวัดสงขลา (09.00 – 16.30) จงั หวัดและวางแผนการจัดทำ โทร.064 9955498 รายงานการศึกษาดูงาน 2. สมาคมโรงแรม 12 พ.ค. 2564 แนวทางการบรหิ ารจดั การ นายกติ ต์ภิ ูมิ คงศรี หาดใหญ่ (09.00 – 12.00) ธรุ กิจโรงแรมในชว่ งวิกฤตการ ผอู้ ำนวยการโรงเรียน สงขลา แพร่ระบาดของโรคติดต่อเชอ้ื รัตภูมิวิทยา 12 พ.ค. 2564 ไวรสั โคโรนา 2019(COVID - โทร.064 9955498 3. ศาลากลาง (13.00 –16.30) 19) ทงั้ ในปัจจบุ ันและ จงั หวัดสงขลา อนาคต นายวัชรศักดิ์ สงค์ปาน อำเภอเมือง จงั หวัด บทบาทของผู้ว่าราชการ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น สงขลา 90000 จังหวดั และหวั หน้าสว่ น ภเู กต็ วทิ ยาลยั ราชการทกุ ภาคส่วนร่วม โทร. 093 6263854 4. สำนกั งานศกึ ษาธิการ บูรณาการในการแก้ปัญหา จังหวัดสงขลา 173 วกิ ฤตการแพร่ระบาดของ นายชารร์ ฟี ท์ สือนิ หมู่ท่ี 4 ถ.สงขลา-นา โรคติดตอ่ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา ศึกษาธิการจังหวัด ทวี อ.เมอื งสงขลา 2019(COVID -19) และการ นราธิวาส จ.สงขลา 90000 เสริมสรา้ งธรรมาภิบาล โทร. 089 8772872 ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนา การศกึ ษาในจังหวัดสงขลา

42 ท่ี หนว่ ยงาน วัน เดือน ปี เรื่องหรอื ประเด็น ผูป้ ระสานงาน ที่ศกึ ษาดูงาน ทต่ี ้องการศึกษา 5. โรงเรียนหาดใหญร่ ฐั 13 พ.ค. 2564 การจัดการศกึ ษาในช่วงวิกฤต นายกติ ติภ์ ูมิ คงศรี ประชาสรรค์ (09.00 น. - 12.00) การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ ต่อ ผู้อำนวยการโรงเรียน ต.ควนลัง เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 รัตภมู วิ ิทยาโทร.064 อ.หาดใหญ่ จ. สงขลา (COVID -19) 9955498 90110 6. ศูนยก์ ารเรียนรู้ทงุ่ หวั 13 พ.ค. 2564 การนำหลักปรชั ญาของ นายกิตตภิ์ ูมิ คงศรี เมอื งฟารม์ (13.00 น. - 16.30) เศรษฐกิจพอเพยี งสร้างความ ผอู้ ำนวยการโรงเรียน 97 หมู่ 4 ต.ท่าประดู่ เข้มแข็งของชมุ ชน ในช่วงการ รัตภูมิวิทยา โทร.064 อ.นาทวี แพร่ระบาดของโรคติดต่อเชอ้ื 9955498 จ.สงขลา ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) 7. โรงแรมเจบี อำเภอ 14 พ.ค. 2564 ถอดบทเรยี นและจดั ทำ นายกติ ตภ์ิ ูมิ คงศรี หาดใหญ่ จงั หวัด (09.00 น. - 16.30) รายงานสรุปฉบบั สมบูรณ์ ผูอ้ ำนวยการโรงเรียน สงขลา รตั ภูมวิ ิทยา โทร.064 9955498 หมายเหตุ กำหนดการสามารถเปลยี่ นแปลงได้ตามความเหมาะสม การสรา้ งความตระหนกั และความรว่ มมอื ในการจดั ทำรายงานการศึกษาดงู าน การสร้างความตระหนักและความร่วมมือในการจัดทำรายงานการศึกษาดูงานจังหวัดสงขลา โดยทางกลุ่มได้ร่วมกนั คิด ร่วมกันวางแผน ร่วมตัดสินใจ ร่วมดำเนินการ ร่วมกันจัดทำรายงาน และการสรา้ งการร รับรู้ตอ่ ไป และท่ีสำคัญในการดำเนินการจดั ทำรายงานในการศึกษาดงู านในกลุ่มไดด้ ำเนนิ การปรึกษาหารือกันเป็น ประจำโดยผ่านช่องทางการ Zoom โดยมีวิทยากรที่ปรึกษาคอยให้คำแนะนำ เสนอแนะเป็นระยะๆ และได้มีการ แบง่ งานความรับผิดชอบดังน้ี ขนั้ ตอนการ ภารกจิ ผรู้ ับผดิ ชอบ ดำเนินการ สมาชิกในกลุ่มทกุ คน 1. รว่ มกันคิด ร่วมกัน การแบง่ ภารกจิ ความรับผิดชอบในการจดั ทำรายงาน วางแผน การศกึ ษาดงู านและการการมอบหมายผ้รู บั ผดิ ชอบใน นายชาร์รฟี ท์ สอื นิ การตดิ ต่อประสานงานกับผใู้ ห้ข้อมลู ในแตล่ ะเรื่อง 2. รว่ มตัดสินใจ รว่ ม 1. บริบททั่วไปของจงั หวดั ท่ีศึกษาดูงาน ดำเนนิ การ

43 ขั้นตอนการ ภารกจิ ผรู้ บั ผิดชอบ ดำเนนิ การ นายชารร์ ฟี ท์ สือนิ นายชารร์ ีฟท์ สือนิ 2. ส่งิ ท่คี าดหวัง และสาระสำคัญจากการศึกษาดูงาน นายวชั รศักดิ์ นายกติ ตภ์ิ ูมิ (แตล่ ะแห่ง/แต่ละประเด็น) นายศกั ด์ิจิต มาศจิตต์ 2.1 แผนพฒั นาระดับจังหวัด นายมนัส นางนภา 2.2 ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาในจังหวดั นายศกั ดจิ ติ มาศจติ ต์ นายชาร์รฟี ท์ สือนิ 2.3 การบรู ณาการในการแกป้ ัญหาวิกฤต นายวชั รศักดิ์ นายกิตตภ์ิ ูมิ 2.4 ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและความเข้มแข็ง นางนภา ของชุมชน นายมนัส 2.5 ภาพรวม (โดยสรุป) สมาชกิ ในกลุ่มทกุ คน 3. สิง่ ที่เป็นประโยชน์และสามารถนำมาใชใ้ นการ ปฏบิ ตั งิ านได้ (ตอบเป็นข้อ ๆ) 3.1 ประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองของผู้เข้ารับการ พฒั นา 3.2 ประโยชนต์ อ่ การพัฒนาหนว่ ยงาน 3.3 ประโยชน์ตอ่ การพฒั นาสังคม 4. ขอ้ เสนอแนะอนื่ ๆ 4.1 การเตรยี มการศึกษาดูงานของกลมุ่ 4.2 การสร้างความตระหนักและความร่วมมือในการ จัดทำรายงานการศึกษาดงู าน 5. ภาพรวมของการศึกษาดูงาน 5.1 ความเชอื่ มโยงของสถานศกึ ษาดงู านในการ ขบั เคลื่อนแผน /ยทุ ธศาสตรข์ องจงั หวัด 5.2 บทบาทของผบู้ ริหารการศกึ ษาในการผลกั ดนั ส่งเสรมิ สนบั สนุนการขับเคล่ือนแผน /ยทุ ธศาสตร์ของ จังหวัด 5.3 บทบาทของผู้บริหารการศกึ ษาในการพัฒนาคน ใหส้ อดคล้องกบั ทศิ ทางการพัฒนาจงั หวัด ร่วมกนั จัดทำรายงาน จัดทำรายงาน และการสรา้ งการรรบั รู้