- คำ�แปลอย่างไม่เปน็ ทางการ - ขอ้ 4.5: ความโปรง่ ใส 1. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องเผยแพร่ข้อมูลดังต่อไปนี้โดยพลัน บนอินเทอร์เน็ตเท่าที่จะทาได้ ในลักษณะที่ไม่เป็นการเลือกปฏิบัติ และเข้าถึงได้โดยง่าย เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐ ผู้ค้า และผสู้ นใจอื่น ๆ สามารถทาความคุ้นเคยกบั ขอ้ มูล: (เอ) พิธีการนาเข้า ส่งออก และผ่านแดน (รวมท้ัง พิธีการท่ีท่าเรือ ท่าอากาศยาน และ พิธกี าร ณ จุดนาเขา้ อืน่ ๆ) และแบบฟอร์ม และเอกสารตา่ ง ๆ ท่ีหนว่ ยงานกาหนด (บี) อัตราอากรและภาษไี มว่ า่ ประเภทใด ๆ ท่ีเรียกเก็บกับหรือที่เก่ียวข้องกับการนาเข้า หรอื ส่งออก (ซี) ค่าธรรมเนียมและค่าภาระท่ีเก็บโดย หรือเพ่ือหน่วยงานรัฐ กับหรือท่ีเก่ียวข้องกับ การนาเขา้ การสง่ ออก หรอื การผา่ นแดน (ดี) กฎสาหรับการจาแนกหรือการประเมินราคาของสินค้าเพ่ือประโยชน์แก่การศลุ กากร (อี) กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ และคาวินิจฉัยทางการบริหารที่ใช้บังคับเป็นการท่ัวไป ในสว่ นท่ีเกีย่ วข้องกับกฎว่าด้วยถน่ิ กาเนิดสินคา้ (เอฟ) ข้อจากัดหรือข้อห้ามสาหรบั การนาเขา้ ส่งออก หรอื ผา่ นแดน (จี) บทลงโทษสาหรับการกระทาผดิ พธิ กี ารนาเขา้ ส่งออก หรือผ่านแดน (เอช) กระบวนการสาหรบั การอุทธรณ์ หรอื การทบทวน (ไอ) คว าม ตก ลง ขอ งภ าคี หรื อบ าง ส่ ว นข อง คว าม ตก ลง กั บป ระ เท ศห รื อ กลุ่มประเทศอืน่ ๆ ในสว่ นทเ่ี กีย่ วข้องกบั การนาเข้า การสง่ ออก หรอื การผา่ นแดน และ (เจ) พิธีการต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกบั การบริหารโควตาภาษี 2. โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ภาคีแต่ละฝ่ายต้องจัดทาข้อมูลต่อไปนี้ และปรับข้อมูลให้ทันสมัย เทา่ ทจ่ี ะทาได้ และตามความเหมาะสม เผยแพร่ทางอินเทอรเ์ นต็ (เอ) รายละเอียด1 พิธีการนาเข้า ส่งออก และผ่านแดน รวมทั้งกระบวนการเกี่ยวกับ การอุทธรณ์หรือการทบทวน ให้รัฐบาล ผู้ค้า และผู้ท่ีเก่ียวข้องอ่ืน ๆ ทราบถึง ขั้นตอนกระบวนการท่จี าเป็นสาหรบั การนาเขา้ การสง่ ออก และการผา่ นแดน 1 ภาคแี ต่ละฝ่ายมดี ลุ ยพนิ จิ ที่จะระบถุ งึ ขอ้ จากัดทางกฎหมายสาหรบั รายละเอียดทล่ี งในเว็บไซต์ 4-3
- ค�ำ แปลอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ - (บี) แบบฟอรม์ และเอกสารทตี่ ้องใช้สาหรบั การนาเข้ามายงั การส่งออกจาก หรือการผ่านแดน ผ่านอาณาเขตของภาคนี ั้น (ซี) ข้อมูลรายละเอียดของจุดตอบข้อซักถาม รวมท้ังข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการสอบถาม เกีย่ วกับเร่ืองทางศุลกากรตามท่กี าหนดไวใ้ นขอ้ 4.6 (จดุ ตอบขอ้ ซักถาม) 3. เม่ือมีการปรับปรุงหรือแก้ไขกฎหมายและระเบียบข้อบังคับทางศุลกากรที่มีอยู่เดิม ภาคีแต่ละฝ่ายต้องเผยแพร่เท่าที่เป็นไปได้ หรือจัดทาข้ึนโดยเร็วหรือพร้อมที่จะเสนอ กฎหมายและระเบียบข้อบังคับทางศุลกากรใหม่ที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม โดยเปิดโอกาส ใหแ้ ก่ผูม้ สี ว่ นไดเ้ สียในการแสดงความคิดเหน็ เก่ยี วกบั กฎหมายและระเบียบข้อบงั คับดังกล่าว เวน้ แตไ่ ด้แจ้งลว่ งหน้าไวแ้ ลว้ 4. เท่าที่นาไปปฏิบัติได้และในลักษณะท่ีสอดคล้องกับกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ และระบบ กฎหมาย ภาคีแต่ละฝ่ายต้องทาให้แน่ใจว่า กฎหมายและระเบียบข้อบังคับใหม่หรือท่ีแก้ไข ท่ีมีการบังคับใช้ท่ัวไปในเรื่องท่ีเก่ียวข้องกับการเคลื่อนย้าย การตรวจปล่อยสินค้า รวมทั้ง สินค้าผ่านแดนจะถูกเผยแพร่หรือจัดทาเป็นข้อมูลให้มีไว้แก่สาธารณะล่วงหน้ามากที่สุด เท่าที่จะเป็นไปได้ก่อนวันท่ีมีการใช้บังคับ เพ่ือให้ผู้ค้าและผู้สนใจอ่ืน ๆ สามารถทา ความคุน้ เคยกบั ขอ้ มลู 5. ไม่มีความใดในข้อน้ีท่ีจะถูกพิจารณาว่าให้ต้องเผยแพร่หรือจัดทาข้อมูลนอกเหนือจาก ภาษาของภาคี ข้อ 4.6: จุดตอบข้อซักถาม ภาคีแต่ละฝ่ายต้องกาหนดให้มีจุดตอบข้อซักถามหน่ึง (1) จุดหรือมากกว่า เพื่อตอบคาถามที่มีเหตุมีผล จากบุคคลทสี่ นใจเกีย่ วกับศลุ กากร และเพ่ืออานวยความสะดวกในการเข้าถึงแบบฟอร์มและเอกสาร ทจี่ าเป็นสาหรบั การนาเขา้ การสง่ ออก และการผ่านแดน ขอ้ 4.7: พิธีการศลุ กากร 1. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องทาให้ม่ันใจว่าพิธีการศุลกากรและการปฏิบัติทางศุลกากรของตน คาดการณ์ได้ มีความสม่าเสมอและโปร่งใส และอานวยความสะดวกทางการค้า รวมท้ัง มคี วามรวดเรว็ ในการตรวจปล่อยสินค้า 2. ภาคีแตล่ ะฝา่ ยตอ้ งทาให้มนั่ ใจวา่ พธิ ีการศุลกากรของตนสอดคล้องกับมาตรฐานและแนวทาง ปฏิบัติขององค์การศุลกากรโลก เท่าท่ีจะเป็นไปได้และเท่าท่ีกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ ทางศุลกากรของตนอนญุ าต 4-4
- ค�ำ แปลอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ - 3. หน่วยงานศุลกากรของภาคีแต่ละฝ่ายต้องทบทวนพิธีการศุลกากรของตนที่มีความมุ่งหมาย ใหม้ คี วามเรยี บง่ายเพื่ออานวยความสะดวกทางการค้า ขอ้ 4.8: การตรวจสอบกอ่ นสง่ ออก 1. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องไม่กาหนดให้มีการตรวจสอบก่อนส่งออก ในเรื่องที่เกี่ยวกับการจาแนก พิกดั ศลุ กากร และการกาหนดราคาศุลกากร 2. โดยไม่ส่งผลต่อสทิ ธิของภาคใี นการใช้การตรวจสอบก่อนส่งออกรูปแบบอื่น ซึ่งไม่ครอบคลุม โดยวรรค 1 ส่งเสริมให้ภาคีแต่ละฝ่ายไม่ริเริ่มหรือใช้มาตรการใหม่อ่ืนใด ท่ีเกี่ยวกับ การตรวจสอบก่อนส่งออก 3. วรรค 2 อ้างถึงการตรวจสอบก่อนส่งออกท่ีครอบคลุมโดยความตกลงการตรวจสอบ ก่อนส่งออก และไม่กีดกันการตรวจสอบก่อนส่งออกเพ่ือวัตถุประสงค์ทางสุขอนามัย และสขุ อนามยั พชื ขอ้ 4.9: กระบวนการกอ่ นการมาถงึ ของสนิ ค้า 1. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องนามาใช้หรือคงไว้ซ่ึงพิธีการที่ให้มีการส่งเอกสารหรือข้อมูลอื่น ๆ ที่ต้องการสาหรับการนาเข้า เพ่ือเร่ิมต้นกระบวนการก่อนการมาถึงของสินค้า โดยมเี ป้าหมายให้มีความรวดเร็วในการตรวจปล่อยสนิ ค้าเมอื่ สินค้ามาถงึ 2. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องจัดให้มีระบบส่งเอกสารล่วงหน้าตามที่ระบุไว้ในวรรค 1 ในรูปแบบ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สาหรับกระบวนการดาเนนิ การลว่ งหน้ากอ่ นสนิ ค้าถึงปลายทางตามความเหมาะสม ข้อ 4.10: การวนิ จิ ฉัยลว่ งหนา้ 1. ก่อนท่ีสินค้าจากภาคีหนึ่งจะเข้ามายังอาณาเขตของอีกภาคีหน่ึงน้ัน ภาคีแต่ละฝ่าย ต้องจัดทาคาวินิจฉัยล่วงหน้าเป็นลายลักษณ์อักษรให้กับผู้นาเข้า ผู้ส่งออก หรือบุคคลใด ๆ ที่มีเหตุอันควร หรือผู้แทน ที่ได้ย่ืนคาร้องขอเป็นลายลักษณ์อักษรซึ่งประกอบด้วยข้อมูล ที่จาเป็นท้ังหมด ในเรอ่ื งท่ีเก่ยี วกบั (เอ) พกิ ัดอัตราศุลกากร (บี) ถนิ่ กาเนดิ สินคา้ ตามบทที่ 3 (กฎถิน่ กาเนิดสนิ ค้า) หรอื ไม่ (ซ)ี วิธีการหรือหลักเกณฑ์ท่ีเหมาะสม และการนามาใช้ในการกาหนดราคาศุลกากร ภายใตข้ ้อเท็จจรงิ ท่ีเก่ียวข้องตามความตกลงการประเมินราคาศลุ กากร และ 4-5
- ค�ำ แปลอย่างไมเ่ ป็นทางการ - (ด)ี เรอื่ งอน่ื ๆ ที่ภาคพี ิจารณาอาจตกลงกนั 2. ภาคีอาจกาหนดให้ผู้ยื่นคาร้องขอต้องมีตัวแทนตามกฎหมายหรือต้องจดทะเบียนในภาคีนั้น และเท่าทีจ่ ะเปน็ ไปได้ ข้อกาหนดเหล่านั้นจะตอ้ งไม่จากัดกลุ่มบุคคลท่ีจะมีสิทธิย่ืนคาร้องขอ คาวินิจฉัยล่วงหน้า โดยเฉพาะเม่ือพิจารณาถึงความต้องการของผู้ประกอบการขนาดกลาง และขนาดย่อม ข้อกาหนดเหล่าน้ีต้องชัดเจนและโปร่งใส และไม่ก่อให้เกิดการกีดกัน ทางการค้าโดยไม่จาเปน็ หรือตามอาเภอใจ2, 3 3. ภาคีแตล่ ะฝา่ ยต้องนามาใช้หรือคงไว้ซึ่งพิธีการในการออกคาวินิจฉัยลว่ งหน้าซ่งึ (เอ) ระบุขอ้ มูลท่ีจาเปน็ ในการย่นื คารอ้ งขอคาวินจิ ฉัยล่วงหน้า (บี) ระบุว่าภาคีแต่ละฝ่ายอาจขอให้ผู้ย่ืนคาร้องขอจัดหาข้อมูลเพิ่มเติมซึ่งอาจรวมถึง ตัวอย่างสินค้าท่ีจาเป็นในการประเมินคาร้อง ได้ตลอดเวลาในระหว่าง การประเมนิ ผลการยน่ื คารอ้ งขอใหม้ ีการวนิ ิจฉัยล่วงหน้า (ซี) ตรวจสอบให้แน่ใจว่าคาวินิจฉัยล่วงหน้าข้ึนอยู่กับข้อเท็จจริงและสถานการณ์ ที่นาเสนอโดยผู้ย่ืนคาขอและข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องอื่น ๆ ท่ีอยู่ในความครอบครอง ของผู้มอี านาจตัดสนิ ใจ และ (ดี) ตรวจสอบให้แน่ใจว่าคาวินิจฉัยล่วงหน้านั้นประกอบไปด้วยข้อเท็จจริงท่ีเก่ียวข้อง และพื้นฐานในผลคาตดั สนิ 4. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องออกคาวินิจฉัยล่วงหน้าในภาษาราชการของภาคีนั้นหรือในภาษาท่ีตน ตดั สนิ ใจ คาวนิ ิจฉัยล่วงหนา้ จะต้องออกให้แก่ผู้ยื่นคาร้องขอเม่ือได้รับข้อมูลที่จาเป็นท้ังหมด ในลักษณะที่สมเหตุสมผล ภายในระยะเวลาที่กาหนดและในขอบเขตท่ีเป็นไปได้ ภายใน 90 วัน ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องระบุและเผยแพร่ต่อสาธารณะเก่ียวกับระยะเวลา การออกคาวินิจฉัยล่วงหน้าก่อนท่ีจะมีการใช้บังคับ หากหน่วยงานศุลกากรมีเหตุอันสมควร ท่ีจะออกคาวินิจฉัยล่วงหน้าล่าช้ากว่าระยะเวลาที่ระบุไว้หลังจากที่ได้รับคาขอจะต้องแจ้ง ใหผ้ ยู้ ื่นคาร้องขอทราบถึงสาเหตขุ องความลา่ ชา้ ดงั กล่าวกอ่ นสิน้ ระยะเวลาท่ีกาหนด 2 ตามคาขอของภาคี กล่มุ ภาคีอาจทบทวนขอ้ กาหนดของวรรคน้ใี นแง่ของการมีสว่ นร่วมในการอานวยความสะดวก ทางการคา้ ผ่านคณะกรรมการดา้ นสินค้า 3 ภาคีต้องทาให้มั่นใจว่าขั้นตอนการลงทะเบียนมีความโปร่งใสและจะได้รับการพิจารณาในเวลาที่เหมาะสม และการตดั สนิ ใจเก่ียวกบั คารอ้ งและเหตผุ ลของคาตัดสนิ ดังกลา่ วจะได้รับการยืนยันเปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษรโดยพลนั 4-6
- ค�ำ แปลอยา่ งไมเ่ ป็นทางการ - 5. ภาคีอาจปฏิเสธท่ีจะออกคาวินิจฉัยล่วงหน้า หากข้อเท็จจริงและสภาวการณ์ที่ก่อให้เกิด พื้นฐานสาหรับคาตัดสินล่วงหน้าอยู่ระหว่างการทบทวนของฝ่ายบริหารหรือฝ่ายตุลาการ ภาคีที่ปฏิเสธการออกคาวินิจฉัยล่วงหน้าจะต้องแจ้งให้ผู้ยื่นคาร้องขอทราบเป็นลายลักษณ์ อักษรโดยพลัน โดยระบุข้อเท็จจริงและพ้ืนฐานในการตัดสินใจที่จะปฏิเสธการออกคาวินิจฉัย ล่วงหนา้ น้ัน 6. ภาคีอาจปฏิเสธคาร้องขอให้มีการออกคาวินิจฉัยล่วงหน้าได้ หากไม่ได้รับข้อมูลเพิ่มเติม ท่รี ้องขอเป็นลายลักษณ์อักษรตามอนุวรรค 3 (บี) ภายในระยะเวลาที่เหมาะสมและกาหนด ไว้ในขณะที่มีการร้องขอข้อมูลเพ่ิมเติม และภาคีได้ขอข้อมูลเพิ่มเติมจากผู้ยื่นคาร้องขอ เป็นลายลักษณ์อกั ษร 7. ภาคแี ต่ละฝา่ ยตอ้ งใหค้ าวนิ จิ ฉัยลว่ งหนา้ ดังกล่าวมีผลตั้งแตว่ นั ท่ีออกคาวินิจฉัยนั้นหรือวันอ่ืน ท่ีระบุไว้ในคาวินิจฉัย โดยมีเง่ือนไขว่ากฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ และกฎระเบียบ การบริหารและข้อเท็จจริง และสภาวการณ์ไม่มีการเปล่ียนแปลง โดยตามวรรค 8 คาวนิ ิจฉยั ล่วงหน้าน้นั จะมีผลใชบ้ งั คับอย่างน้อยสาม (3) ปี 8. ในกรณีที่ภาคียกเลิก แก้ไข หรือทาให้สิ้นผลซึ่งคาวินิจฉัยล่วงหน้า จะต้องแจ้งเป็นลายลักษณ์ อักษรแก่ผู้ย่ืนคาร้องขอโดยพลัน โดยระบุข้อเท็จจริงท่ีเกี่ยวข้องและเป็นพื้นฐานสาหรับ การตดั สนิ ใจของภาคเี ม่ือ (เอ) มีการเปล่ียนแปลงกฎหมาย ระเบยี บข้อบงั คบั หรือกฎระเบียบการบรหิ าร (บ)ี มกี ารแจ้งข้อมลู ทไ่ี มถ่ กู ต้องหรือข้อมูลทเ่ี ก่ยี วข้องถูกระงบั ไว้ (ซี) มกี ารเปล่ยี นแปลงข้อเท็จจริงหรือสภาวการณ์ท่ีถูกใช้เป็นพื้นฐานในการออกคาวินิจฉัย ลว่ งหนา้ หรอื (ด)ี มกี ารวินจิ ฉยั ลว่ งหน้าผิดพลาด 9. การยกเลกิ แกไ้ ข หรอื ทาใหส้ ้ินผลซึ่งคาวินจิ ฉัยล่วงหน้าโดยภาคใี หม้ ผี ลย้อนหลงั จะสามารถ กระทาได้เมื่อคาวินิจฉัยนั้นตั้งอยู่บนพ้ืนฐานของความไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง เป็นเท็จ หรือ ทาให้เข้าใจขอ้ มลู ผดิ พลาด 10. คาวนิ จิ ฉัยล่วงหนา้ ทีอ่ อกโดยภาคจี ะมีผลผูกพนั ตอ่ ภาคนี ัน้ ในสว่ นทีเ่ ก่ยี วกบั ผูย้ ื่นคาร้องขอ 11. อย่างน้อยท่สี ุด ภาคีแตล่ ะฝ่ายต้องเผยแพร่ 4-7
- คำ�แปลอย่างไม่เป็นทางการ - (เอ) ข้อกาหนดสาหรับการย่ืนคาร้องขอคาวินิจฉัยล่วงหน้า รวมท้ังเร่ืองข้อมูลที่ต้องย่ืน และรูปแบบ (บ)ี ระยะเวลาทใี่ ชใ้ นการพิจารณาออกคาวินิจฉยั ลว่ งหนา้ และ (ซี) ระยะเวลาทค่ี าวนิ จิ ฉัยลว่ งหนา้ มผี ลผกู พัน 12. ภาคีแต่ละฝ่ายอาจจัดให้มีข้อมูลใด ๆ เก่ียวกับคาวินิจฉัยล่วงหน้าให้แก่สาธารณะ ซ่ึงภาคี ได้พิจารณาแล้วเห็นว่าจะเป็นประโยชน์อย่างมีนัยสาคัญต่อผู้ท่ีเกี่ยวข้องอ่ืน ๆ โดยคานึงถึง ความจาเปน็ ในการปกป้องความลบั ทางการคา้ ขอ้ 4.11: การตรวจปลอ่ ยสินค้า 1. ภาคแี ตล่ ะฝ่ายจะตอ้ งนามาใช้หรอื คงไว้ซึ่งพิธกี ารศลุ กากรท่ีเรียบง่ายสาหรับการตรวจปล่อย สินค้าที่มีประสิทธิภาพเพ่ืออานวยความสะดวกทางการค้าในกลุ่มภาคี เพ่ือความชัดเจน ยงิ่ ขึ้น ความในวรรคน้ีไม่กาหนดให้ภาคีต้องตรวจปล่อยสินค้าหากเงื่อนไขสาหรับการปล่อย สนิ ค้านั้น ๆ ไมค่ รบถว้ น 2. ตามวรรค 1 ภาคีแต่ละฝ่ายต้องนามาใช้หรือคงไว้ซ่ึงพิธีการเพื่อให้สินค้าได้รับการผ่านพิธีการ ศุลกากรภายในระยะเวลาไม่เกินกว่าที่ต้องการเพ่ือให้สอดคล้องกับกฎหมาย และระเบียบ ข้อบังคับทางศุลกากรของตน และเท่าที่จะเป็นไปได้ภายใน 48 ช่ัวโมงหลังจากสินค้ามาถึง และการเก็บรักษาข้อมลู ทจี่ าเปน็ ทัง้ หมดสาหรบั ดาเนนิ พิธกี ารทางศุลกากร 3. หากสินค้าใดถูกเลือกเพื่อการตรวจสอบต่อไป การตรวจสอบดังกล่าวจะถูกจากัด ใหเ้ หมาะสมกบั ความจาเป็นและดาเนนิ การให้เสร็จส้ินโดยไม่ลา่ ช้าเกนิ ควร 4. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องนามาใช้หรือคงไว้ซึ่งพิธีการท่ีให้มีการตรวจปล่อยสินค้าก่อนท่ีจะทราบ ผลสรุปสุดท้ายในการพิจารณาอากร ภาษี ค่าธรรมเนียมและค่าภาระ ถ้าการพิจารณา ดังกล่าวไมส่ ามารถกระทาให้แล้วเสร็จก่อนหรือ ณ เวลามาถึง หรือให้เร็วเท่าท่ีจะกระทาได้ ภายหลังจากการมาถึง หากข้อกาหนดอื่น ๆ ทั้งหมดได้รับการปฏิบัติแล้วตามเงื่อนไข ของการตรวจปล่อยดังกล่าว ภาคีอาจต้องการให้มีการค้าประกันตามกฎหมายและระเบียบ ข้อบังคับท่ีไม่มากไปกว่าจานวนซ่ึงภาคีต้องการ เพ่ือให้แน่ใจว่าจะครอบคลุมสาหรับ การชาระอากร ภาษี ค่าธรรมเนยี มและคา่ ภาระโดยประกนั นน้ั 5. ไม่มีข้อความใดในข้อน้ีมีผลกระทบต่อสิทธิของภาคีในการตรวจสอบ กักสินค้า ยึดหรือริบ หรือจัดการเก่ียวกับสินค้าในลักษณะใด ๆ ท่ีสอดคล้องกับกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ ของตน 4-8
- ค�ำ แปลอยา่ งไม่เป็นทางการ - 6. โดยมุ่งหมายที่จะป้องกันความสูญเสียท่ีสามารถหลีกเล่ียงได้ หรือความเส่ือมสภาพ ของสินค้าเน่าเสียง่าย และหากได้ปฏิบัติเป็นไปตามข้อบังคับทั้งหมด ภาคีแต่ละฝ่ายต้องจัดให้ มกี ารตรวจปล่อยสินค้าเนา่ เสยี ง่ายออกจากการควบคมุ ทางศลุ กากร (เอ) ภายใต้สถานการณ์ปกติในเวลาท่ีส้ันที่สุดและเท่าท่ีเป็นไปได้ภายในหก (6) ช่ัวโมง หลังจากสนิ คา้ มาถงึ และการย่ืนขอ้ มูลท่จี าเปน็ สาหรับการตรวจปล่อย และ (บี) ในสภาวการณ์พิเศษและเหมาะสมท่ีจะทาเช่นน้ัน นอกเวลาทาการของหน่วยงาน ศุลกากร 7. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องให้ความสาคัญลาดับต้นตามความเหมาะสมให้กับสินค้าเน่าเสียง่าย ในการจดั ตารางการตรวจสอบทจี่ าเปน็ ต้องดาเนนิ การ 8. ภาคแี ตล่ ะฝ่ายตอ้ งดาเนนิ การ หรอื ยอมให้ผู้นาเข้าดาเนินการ เพ่ือการเก็บรักษาที่เหมาะสม สาหรับสินค้าเน่าเสียง่ายที่อยู่ระหว่างการรอตรวจปล่อย ภาคีแต่ละฝ่ายอาจกาหนดให้ สถานที่จัดเก็บสินค้าท่ีดาเนินการโดยผู้นาเข้าต้องได้รับการรับรองหรือได้รับการกาหนด โดยหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง การเคลื่อนย้ายสินค้าไปยังสถานท่ีจัดเก็บสินค้าเหล่านั้น รวมท้ัง การมอบหมายผู้ทาการเคล่ือนย้ายสินค้าอาจจะต้องได้รับความเห็น ชอบจากหน่วยงาน ท่ีเก่ียวข้อง หากสามารถปฏิบัติได้และสอดคล้องกับกฎหมายภายในประเทศ และเม่ือผู้นาเข้า ร้องขอ ภาคีแต่ละฝ่ายต้องจัดให้มีพิธีการที่จาเป็นต่อการตรวจปล่อย ณ สถานท่ีจัดเก็บ สินคา้ เหล่านนั้ ข้อ 4.12: การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ 1. เท่าที่จะเป็นไปได้ ภาคีแต่ละฝ่ายต้องใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการดาเนินงาน ศุลกากรตามมาตรฐานท่ีได้รับการยอมรับระหว่างระเทศเพื่อการผ่านพิธีการศุลกากรและ การตรวจปลอ่ ยสนิ คา้ ได้อย่างรวดเรว็ 2. เท่าที่จะเป็นไปได้ ภาคีแต่ละฝ่ายต้องใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเร่งรัดกระบวนการ ทางศุลกากรสาหรับการตรวจปล่อยสินค้า รวมถึงการส่งข้อมูลก่อนที่สินค้าจะมาถึง และใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์หรือระบบอัตโนมัติสาหรับการกาหนดเป้าหมายในการจัดการ ความเส่ยี งเท่าที่จะเปน็ ไปได้ 3. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องพยายามจัดทาเอกสารการบริหารงานด้านการค้าให้แก่สาธารณะ ในรปู แบบอิเล็กทรอนกิ ส์ 4. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องพยายามยอมรับเอกสารการบริหารการค้าที่ส่งมาทางอิเล็กทรอนิกส์ ให้เป็นเอกสารท่ีมีความเท่าเทยี มกนั ทางกฎหมายกับเอกสารในรปู แบบกระดาษ 4-9
- คำ�แปลอย่างไมเ่ ปน็ ทางการ - 5. ในการพัฒนาความคิดริเริ่มท่ีมีการใช้การบริหารการค้าแบบไร้กระดาษ ภาคีแต่ละฝ่าย จะได้รับการส่งเสริมให้คานึงถึงมาตรฐานระหว่างประเทศหรือวิธีการที่ดาเนินการภายใต้ องคก์ ารระหวา่ งประเทศ 6. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องรว่ มมอื กับภาคอี ่นื และในเวทีระหว่างประเทศเพื่อเพิ่มการยอมรับเอกสาร การบรหิ ารการคา้ ทส่ี ่งมาทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ขอ้ 4.13: มาตรการอานวยความสะดวกทางการค้าสาหรบั ผปู้ ระกอบการรับอนุญาต 1. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องจัดให้มีมาตรการเพ่ิมเติมด้านการอานวยความสะดวกทางการค้า ท่ีเกี่ยวข้องกับการนาเข้า ส่งออก หรือผ่านแดน ภายใต้วรรค 3 ให้กับผู้ประกอบการ ท่ีมีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ท่ีกาหนด (ต่อไปในที่น้ีจะเรียกว่า “ผู้ประกอบการรับอนุญาต” ในบทนี้) หรืออีกทางเลือกหน่ึง ภาคีอาจให้การอานวยความสะดวกด้านการค้าดังกล่าว กบั ผ้ปู ระกอบการท้งั หมด โดยไม่ตอ้ งจัดทาโครงการแยกต่างหาก 2. หลักเกณฑ์ท่ีกาหนดเพ่อื ใหไ้ ดเ้ ป็นผปู้ ระกอบการรบั อนุญาต ต้องเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตาม หรือความเสี่ยงท่ีเกิดจากการไม่ปฏิบัติตามข้อกาหนดต่าง ๆ ซ่ึงระบุไว้ในกฎหมาย ระเบียบ ขอ้ บังคบั หรือพธิ กี ารของภาคี (เอ) หลกั เกณฑท์ ีต่ อ้ งมกี ารเผยแพร่ให้ทราบนั้น อาจรวมถงึ เร่อื ง (หนงึ่ ) ประวัติที่ดีในการปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับของศุลกากร และอ่ืน ๆ ท่เี กี่ยวขอ้ ง (สอง) ระบบในการจัดการบันทกึ เพ่อื การควบคุมภายในท่จี าเป็น (สาม) ความมั่นคงทางการเงิน รวมท้ังการให้มีหลักประกันหรือการค้าประกัน ทีเ่ พียงพอตามความเหมาะสม และ (ส่ี) ความปลอดภัยในหว่ งโซ่อุปทาน (บี) หลักเกณฑท์ ่กี าหนด ต้องไม่ (หนึง่ ) ถูกออกแบบให้มหี รือนามาใชใ้ นลกั ษณะที่ไม่มีกฎเกณฑ์ หรือเป็นการเลือก ปฏิบัตริ ะหวา่ งผู้ประกอบการอย่างไมเ่ ปน็ ธรรม และ (สอง) จากัดการเข้าร่วมของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมเทา่ ทจี่ ะเปน็ ไปได้ 4-10
- ค�ำ แปลอย่างไม่เปน็ ทางการ - 3. มาตรการอานวยความสะดวกทางการค้าที่กาหนดตามวรรค 1 ต้องมีอย่างน้อยสาม (3) มาตรการในบรรดามาตรการต่อไปนี้4 (เอ) การใหใ้ ช้ขอ้ มลู หรือเอกสารน้อยลงตามความเหมาะสม (บี) การตรวจสินค้าทางกายภาพในระดบั ตา่ ตามความเหมาะสม (ซ)ี การตรวจปล่อยสินคา้ อยา่ งรวดเร็วตามความเหมาะสม (ด)ี การชะลอการชาระอากร ภาษี คา่ ธรรมเนยี ม และค่าภาระ (อี) การให้ใช้หลักประกันท่ีครอบคลุมหลายรปู แบบ หรือการลดวงเงินค้าประกัน (เอฟ) การใช้ใบขนสินค้าฉบับเดียวสาหรับการนาเข้าหรือการส่งออกทั้งหมด ในช่วง ระยะเวลาทก่ี าหนด และ (จ)ี การตรวจปล่อยสินค้า ณ สถานท่ีทาการของผู้ประกอบการรับอนุญาต หรือสถานท่ี อน่ื ซง่ึ หนว่ ยงานศลุ กากรอนุญาต 4. ส่งเสริมให้ภาคีแต่ละฝ่ายจัดทาโครงการผู้ประกอบการรับอนุญาต ซ่ึงอยู่บนพ้ืนฐาน ตามมาตรฐานระหว่างประเทศ ซ่ึงมีมาตรฐานเหล่าน้ันอยู่แล้ว เว้นแต่มาตรฐานเหล่านั้น ไม่เหมาะสมหรือไม่มปี ระสทิ ธภิ าพทีจ่ ะบรรลวุ ัตถุประสงค์ตามกฎหมาย 5. เพ่ือที่จะยกระดับมาตรการอานวยความสะดวกทางการค้าให้กับผู้ประกอบการ ภาคีแต่ละฝ่าย ต้องพิจารณาความเป็นไปได้ในการเจรจาทาความตกลงการยอมรับร่วมกันกับภาคีอื่น ๆ ในเรื่องโครงการผปู้ ระกอบการรับอนุญาต 6. ส่งเสริมให้ภาคีร่วมมือในการพัฒนาแผนการดาเนินงานโครงการผู้ประกอบการ ท่ีได้รบั อนุญาตตามความเหมาสม โดยใช้ผู้ประสานงานที่กาหนดตามข้อ 4.20 (การปรึกษาหารือและจดุ ติดต่อ) และคณะกรรมการด้านสนิ ค้า ดังต่อไปน้ี (เอ) การแลกเปล่ียนข้อมูลเกยี่ วกับแผนการดงั กล่าวและการรเิ ริ่มในการเสนอโครงการใหม่ (บ)ี การแบง่ ปนั มมุ มองและประสบการณ์ทางธุรกิจและแนวทางปฏิบัติที่เป็นเลิศในการ เข้าถงึ ธรุ กิจ 4 มาตรการตามท่ีระบุในอนุวรรค (เอ) ถึง (จี) วรรค 3 ของข้อน้ี ต้องถือว่ากาหนดให้กับผู้ประกอบการรับอนุญาต หากมาตรการดงั กลา่ วใชก้ บั ผปู้ ระกอบการทุกคน 4-11
- คำ�แปลอย่างไมเ่ ปน็ ทางการ - (ซ)ี การแบ่งปนั ขอ้ มลู เกย่ี วกบั แนวทางการยอมรับรว่ มกนั ของแผนการดังกลา่ ว และ (ด)ี พิจารณาแนวทางในการเพิ่มผลประโยชน์ของแผนการดังกล่าวเพื่อส่งเสริมการค้า แ ล ะ ก า ห น ด ใ ห้ เ จ้ า ห น้ า ท่ี ศุ ล ก า ก ร เ ป็ น ผู้ ป ร ะ ส า น ง า น กั บ ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ท่ีได้รบั อนุญาตเพื่อแก้ไขปญั หาด้านศุลกากรเป็นอย่างแรก ขอ้ 4.14: การบรหิ ารความเส่ียง 1. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องนามาใช้หรือคงไว้ซ่ึงระบบบริหารความเส่ียง สาหรับการควบคุม ทางศลุ กากร 2. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องออกแบบและใช้ระบบบริหารความเสยี่ งในลกั ษณะทห่ี ลีกเลย่ี งการเลอื กปฏิบัติ อย่างไมเ่ ป็นธรรมหรอื ไม่มกี ฎเกณฑ์หรอื มีการแอบแฝงข้อจากดั ต่อการค้าระหวา่ งประเทศ 3. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องให้ความสาคัญกับการควบคุมทางศุลกากร และการควบคุมพรมแดน อ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวข้องเท่าที่จะเป็นไปได้ สาหรับสินค้าท่ีมีความเส่ียงสูง และเร่งรัดการตรวจ ปล่อยสินค้าที่มีความเส่ียงต่า ภาคีแต่ละฝ่ายอาจคัดเลือกตรวจสินค้าโดยวิธีการสุ่มตรวจ เปน็ สว่ นหน่ึงของการบริหารความเสยี่ งด้วย 4. ภาคแี ตล่ ะฝ่ายตอ้ งกาหนดใหก้ ารบรหิ ารความเสยี่ งอยบู่ นพ้ืนฐานของการประเมินความเสี่ยง โดยผ่านเกณฑ์การคัดเลือกที่เหมาะสม ซ่ึงเกณฑ์เหล่าน้ันอาจรวมถึง พิกัดศุลกากรในระบบ ฮาร์โมไนซ์ ธรรมชาติและรายละเอียดของสินค้า ถ่ินกาเนิดสินค้า ประเทศต้นทางสินค้า มลู ค่าของสินค้า ประวตั กิ ารปฏบิ ัตติ ามกฎหมายของผคู้ ้า และรูปแบบการขนส่ง ขอ้ 4.15: ของเร่งด่วน 1. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องนามาใช้หรือคงไว้ซึ่งพิธีการศุลกากรสาหรับการออกของอย่างเร่งด่วน โดยอย่างน้อยท่ีสุดสาหรับสินค้าที่นาเข้ามาทางอากาศยาน ขณะที่คงไว้ซ่ึงการควบคุม ทางศุลกากร5 และการเลือกโดย (เอ) จดั ใหม้ ีกระบวนการจัดการข้อมลู กอ่ นการมาถึงของสนิ คา้ ทเ่ี กี่ยวกบั ของเร่งด่วน (บี) อนุญาตให้ส่งข้อมูลเพียงครั้งเดียวที่ครอบคลุมทุกสินค้าที่เป็นของเร่งด่วน เทา่ ที่จะเปน็ ไปไดผ้ า่ นทางอเิ ล็กทรอนิกส์ 5 ในกรณีที่ภาคีมีพิธีการปัจจุบันท่ีดาเนินการภายใต้ข้อน้ีอยู่แล้ว บทบัญญัติน้ีไม่ได้เรียกร้องให้ภาคีต้องจัดพิธีการ สาหรบั ปลอ่ ยของเร่งด่วนแยกตา่ งหากอกี 4-12
- ค�ำ แปลอย่างไม่เปน็ ทางการ - (ซ)ี ลดข้อกาหนดด้านการใช้เอกสารใหน้ อ้ ยทส่ี ุดสาหรับการตรวจปลอ่ ยของเร่งดว่ น (ดี) ตรวจปล่อยของเร่งด่วนภายใต้สภาพแวดล้อมตามปกติให้เร็วท่ีสุดเท่าท่ีจะเป็นไปได้ และ ภายในหก (6) ช่ัวโมง หากเป็นไปได้ หลังจากที่สินค้ามาถึง และมีการส่งข้อมูล ท่ีศลุ กากรต้องการสาหรบั การตรวจปลอ่ ยเรียบร้อยแลว้ (อี) พยายามท่จี ะนาพิธกี ารตามอนุวรรค (เอ) ถึง (ดี) มาใช้กับสินค้าท่ีไม่ว่าจะมีน้าหนัก หรือราคาเท่าใดก็ตาม ทั้งนี้ อนุญาตให้ภาคีกาหนดพิธีการนาเข้าเพิ่มเติมได้ ซ่งึ รวมถงึ ใบขนสินค้าและเอกสารประกอบ และการชาระอากรและภาษี และจากัด พธิ ีการนาเขา้ เพ่มิ เติมตามประเภทของสินค้า หากว่าพิธีการนั้นไม่ได้จากัดเฉพาะสินค้า ท่มี ีมลู คา่ ต่า เช่น เอกสาร และ (เอฟ) เทา่ ทีจ่ ะเป็นไปได้ ให้มีการกาหนดมูลค่าสินค้าหรือมูลค่าที่นามาคานวณภาษีขั้นต่า ท่ีไม่มีการเรียกเก็บอากรและภาษี นอกเหนือจากสินค้าที่ระบุเกณฑ์เป็นการเฉพาะ อยู่แล้ว ส่วนภาษีภายใน เช่น ภาษีมูลค่าเพ่ิมและภาษีสรรพสามิต ท่ีจัดเก็บ กับการนาเข้าจะตอ้ งเป็นไปโดยสอดคล้องกบั ข้อ 3 ของแกตต์ 1994 ไม่อยู่ในบังคับ ของบทบญั ญัตนิ ้ี 2. ไม่มีความใดในวรรค 1 จะมีผลกระทบต่อสิทธิของภาคีในการตรวจสอบ กัก ยึด ริบ หรือ ไม่ให้มีการนาเข้าสินค้า หรือดาเนินการตรวจสอบหลังการตรวจปล่อย รวมท้ังในส่วนท่ี เกี่ยวกับการใช้ระบบบริหารความเส่ียง ย่ิงกว่านั้น ไม่มีความใดในวรรค 1 ห้ามภาคี เรียกข้อมูลท่ีเป็นเง่ือนไขในการตรวจปล่อยเพิ่มเติมและดาเนินการเกี่ยวกับการออกใบอนุญาต ที่ไม่เปน็ ไปโดยอัตโนมตั ิ ขอ้ 4.16: การตรวจสอบหลงั การตรวจปล่อย 1. โดยมุ่งหมายที่จะเร่งรัดการตรวจปล่อยสินค้า ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องนามาใช้หรือคงไว้ ซึ่งการตรวจสอบหลังการตรวจปล่อย เพื่อทาให้ม่ันใจว่าได้มีการปฏิบัติตามกฎหมาย และระเบยี บขอ้ บังคับศลุ กากรอื่น ๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง 2. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องเลือกบุคคลหรือสินค้าโดยพิจารณาจากพื้นฐานความเสี่ยงเพื่อการ ตรวจสอบหลังการตรวจปลอ่ ย ซง่ึ อาจรวมถงึ การใชห้ ลักเกณฑเ์ รื่องการเลือกสรรท่ีเหมาะสม ภาคีแตล่ ะฝ่ายต้องดาเนินการตรวจสอบหลังการตรวจปล่อยในลักษณะโปร่งใส หากมีบุคคล เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบและมีผลการตรวจสอบแล้ว ภาคีต้องแจ้งโดยไม่ล่าช้าให้บุคคล ผู้น้ันทราบถึงผลการตรวจสอบ และแจ้งสิทธิและข้อผูกพัน รวมท้ังเหตุผลสาหรับ ผลการตรวจสอบดงั กลา่ ว )เอ) ผลลัพธ์ 4-13
- คำ�แปลอย่างไม่เปน็ ทางการ - (บี) เหตุผลของผลลัพธ์ และ (ซ)ี สทิ ธแิ ละหนา้ ทขี่ องบคุ คล 3. ภาคีรับทราบว่าข้อมูลที่ได้มาจากการตรวจสอบหลังการตรวจปล่อยอาจถูกใช้ ในกระบวนการทางปกครองหรือตุลาการ 4. ในสว่ นท่สี ามารถนาไปปฏิบัตไิ ด้ ภาคีแต่ละฝ่ายต้องนาผลของการตรวจสอบหลังการตรวจปล่อย มาใชใ้ นระบบบริหารความเสีย่ ง ขอ้ 4.17: การศึกษาระยะเวลาท่ใี ชใ้ นการตรวจปลอ่ ยสินคา้ 1. ส่งเสริมให้ภาคีแต่ละฝ่ายวัดระยะเวลาที่ใช้ในการตรวจปล่อยสินค้าโดยหน่วยงานศุลกากร ของภาคีน้ันเป็นระยะ ๆ และดาเนินการในลักษณะท่ีสม่าเสมอ และเผยแพร่ผลการศึกษา ดังกล่าว โดยใช้เคร่ืองมือ เช่น คู่มือการวัดระยะเวลาทีใช้ในการตรวจปล่อยสินค้า โดยองคก์ ารศลุ กากรโลก เพอ่ื (เอ) ประเมนิ มาตรการในการอานวยความสะดวกทางการคา้ และ (บี) พิจารณาโอกาสในการปรบั ปรงุ ระยะเวลาทใ่ี ช้ในการตรวจปลอ่ ยสินคา้ ต่อไป 2. ส่งเสริมให้ภาคีแต่ละฝ่ายแลกเปล่ียนประสบการณ์กับภาคีอ่ืน ๆ ในการศึกษาระยะเวลา ที่ใช้ในการตรวจปลอ่ ยสนิ คา้ ตามวรรค 1 รวมท้งั วิธกี ารทใ่ี ชแ้ ละการชจี้ ุดที่เป็นปญั หาหรือคอขวด ขอ้ 4.18: การทบทวนและการอุทธรณ์ 1. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องเปิดโอกาสให้บุคคลใด ๆ ก็ตามท่ีอยู่ในอาณาเขตซึ่งหน่วยงานศุลกากร ของภาคีน้ันไดม้ ีคาตัดสินทางการบรหิ าร6 ไปยังบคุ คลเหล่านนั้ มีสทิ ธิ (เอ) อุทธรณ์ทางปกครอง หรือขอให้ทบทวน โดยหน่วยงานทางปกครองท่ีสูงกว่าหรือ เปน็ อสิ ระจากเจ้าหน้าทีห่ รือหนว่ ยงานทีอ่ อกคาวนิ ิจฉยั นั้น และ 6 เพื่อความมุ่งประสงค์ของข้อน้ี “คาตัดสินทางการบริหาร” หมายถึงคาตัดสินท่ีมีผลกระทบทางกฎหมายต่อสิทธิ และพันธกรณีของเฉพาะบุคคลในแต่ละคดี เป็นที่เข้าใจว่า คาตัดสินทางการบริหาร ท่ีกล่าวถึงในข้อน้ีครอบคลุม การดาเนินทางการบริหารภายในความหมายข้อ 10 ของแกตต์ 1994 หรือความล้มเหลวที่จะดาเนินการทางการบริหาร หรือคาตัดสินตามท่ีกาหนดในกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ และระบบกฎหมายของภาคี เพื่อแก้ไขความล้มเหลว เหลา่ น้ัน ภาคีอาจจะคงไว้ซงึ่ ทางเลือกสาหรับกลไกทางการบริหาร หรือการอาศัยทางศาลที่จะส่ังการให้หน่วยงาน ทางศุลกากรท่ีจะออกคาตัดสินทางการบรหิ ารโดยพลนั แทนสทิ ธิในการอทุ ธรณ์หรือทบทวนภายใตอ้ นวุ รรค 1 (เอ) 4-14
- คำ�แปลอย่างไมเ่ ปน็ ทางการ - (บี) การอุทธรณ์ หรือทบทวนคาวินิจฉยั ในชั้นศาล7 2. กฎหมายของภาคีอาจกาหนดให้ต้องมีการอุทธรณ์หรือทบทวนที่หน่วยงาน ก่อนการอุทธรณ์ หรือทบทวนในช้นั ศาล 3. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องทาให้ม่ันใจว่า กระบวนการอุทธรณ์หรือการทบทวนต้องดาเนินการ ในลกั ษณะไม่เลือกปฏิบัติ 4. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องทาให้ม่ันใจว่า ในกรณีที่เรื่องนั้น ๆ ได้มีการอุทธรณ์หรือทบทวนภายใต้ วรรคยอ่ ย 1 (เอ) ไมไ่ ด้รับการตัดสิน (เอ) ภายในระยะเวลาท่กี าหนดภายใตก้ ฎหมายหรือระเบยี บขอ้ บงั คบั หรือ (บี) โดยล่าช้าเกนิ ควร ผู้ย่ืนคาร้องมีสิทธิที่จะย่ืนอุทธรณ์หรือให้ทบทวนในระดับเหนือขึ้นไปต่อหน่วยงานทางปกครอง หรือหน่วยงานทางศาล หรือวธิ ีการอืน่ ใดต่อหน่วยงานทางศาล8 5. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องทาให้มั่นใจว่า บุคคลท่ีถูกอ้างถึงในวรรค 1 ได้รับแจ้งถึงเหตุผล ที่หน่วยงานมีคาตัดสินทางการบริหารดังกล่าว เพ่ือให้บุคคลน้ันได้นาไปใช้ในกระบวนการ อทุ ธรณห์ รอื ทบทวนตามความจาเป็น 6. ภาคแี ตล่ ะฝ่ายตอ้ งทาให้ม่ันใจว่า บุคคลท่ีอ้างถึงในวรรค 1 ไม่ได้รับการปฏิบัติอันไม่เป็นคุณ เพยี งเพราะบุคคลนนั้ ขอให้ทบทวนคาตัดสินทางการบริหารหรือการละเว้นการปฏิบัติหน้าท่ี ตามที่อา้ งถึงในวรรค 1 7. ส่งเสริมให้ภาคีแต่ละฝ่ายจัดทาข้อน้ีให้ครอบคลุมถึงคาตัดสินทางการบริหารของหน่วยงาน พรมแดนต่าง ๆ ทเี่ กย่ี วข้อง ท่ไี ม่ใช่แต่เฉพาะหนว่ ยงานศุลกากรเทา่ นั้น 8. คาตัดสินและเหตุผลของคาตัดสินจากการทบทวนหรือการอุทธรณ์ทางปกครองหรือ ในช้ันศาลจะตอ้ งจัดทาเปน็ ลายลักษณ์อกั ษร 7 บรไู นดารุสซาลามอาจปฏิบตั ิตามวรรคนโ้ี ดยการจัดตั้งหรือคงไว้ซ่งึ องค์กรอสิ ระเพอ่ื ใหม้ ีการทบทวนการพิจารณา อยา่ งเป็นกลาง 8 ไม่มีความใดในวรรคน้ีที่กีดกันภาคีในการยอมรับถึงการที่หน่วยงานไม่รับอุทธรณ์หรือทบทวนการตัดสิน เพ่อื ประโยชน์ของผูร้ อ้ งเรียน โดยเปน็ ไปตามกฎหมายและระเบียบขอ้ บังคับของภาคนี น้ั 4-15
- คำ�แปลอยา่ งไม่เป็นทางการ - ขอ้ 4.19: ความรว่ มมอื ดา้ นศลุ กากร 1. หน่วยงานศุลกากรของภาคีแต่ละฝ่ายอาจช่วยเหลือหน่วยงานศุลกากรของภาคีอื่น ๆ ตามความเหมาะสม ในเร่อื งที่เกี่ยวข้องกบั (เอ) การปฏบิ ตั ิตามและการดาเนินการของบทน้ี (บี) การพฒั นาและปฏิบัติตามแนวทางปฏบิ ัตทิ ่ีเป็นเลศิ รวมถึงเทคนคิ การบรหิ ารความเส่ยี ง (ซี) การทาให้พิธกี ารศุลกากรเรียบงา่ ยและสอดคล้องกัน (ดี) การพัฒนาทักษะทางเทคนิคและการใชเ้ ทคโนโลยี (อ)ี การใชบ้ ังคบั ความตกลงการประเมินราคาศุลกากร และ (เอฟ) เรื่องอนื่ ๆ เกย่ี วกบั ศลุ กากร ตามท่ีกลุ่มภาคอี าจกาหนดรว่ มกนั 2. เท่าท่ีจะทาได้ ภาคีแต่ละฝ่ายต้องแจ้งแก่ภาคีอ่ืน ๆ ภายในเวลาท่ีกาหนดไว้ ถึงการเปลี่ยนแปลงท่ีสาคัญเก่ียวกับการบริหาร การแก้ไขกฎหมายหรือระเบียบข้อบังคับ หรือมาตรการท่ีคล้ายกันซ่ึงเก่ียวข้องกับกฎหมายหรือระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการนาเข้า หรือการส่งออกท่ีอาจส่งผลกระทบอยา่ งมีนยั สาคัญต่อการดาเนินการตามบทนี้ โดยทาการแจ้ง เป็นภาษาองั กฤษหรือภาษาท่ีใช้โดยภาคีผแู้ จง้ ผ่านทางจุดติดต่อตามท่ีกาหนดไว้ในข้อ 4.20 (การปรึกษาหารอื และจุดตดิ ต่อ) 3. หน่วยงานศุลกากรของภาคีอาจแลกเปล่ียนข้อมูลและประสบการณ์ในการพัฒนาการ บรหิ ารงานดา้ นศุลกากรแกภ่ าคอี น่ื ๆ ตามความเหมาะสม 4. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องให้ความร่วมมือมากเท่าท่ีจะเป็นไปได้และเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ ตามเงื่อนไขที่ตกลงร่วมกันกับภาคีอื่น ๆ ท่ีมีพรมแดนติดกัน โดยมีจุดมุ่งหมายเพ่ือประสาน พิธกี ารท่ีพรมแดนเพอื่ อานวยความสะดวกในการค้าข้ามพรมแดน ขอ้ 4.20: การปรึกษาหารือและจุดติดต่อ 1. ภาคีอาจขอคาปรึกษาหารือกับภาคีอื่นในเรื่องท่ีมีความสาคัญต่าง ๆ เก่ียวกับศุลกากร ซึ่งเกิดจากการดาเนินการ หรือการปฏิบัติตามบทน้ีได้ในเวลาใดเวลาหนึ่ง โดยให้รายละเอียด ที่เกี่ยวข้องกับเร่ืองน้ัน ๆ การปรึกษาหารือดังกล่าวจะต้องดาเนินการผ่านจุดติดต่อที่กาหนด ตามวรรค 3 และจะต้องเริ่มดาเนินการภายใน 30 วัน หลังจากได้รับคาร้องขอ เว้นแต่ภาคี ท่ีเกยี่ วขอ้ งจะกาหนดเป็นอย่างอืน่ 4-16
- ค�ำ แปลอยา่ งไม่เป็นทางการ - 2. ในกรณีที่การปรึกษาหารือดังกล่าวไม่สามารถแก้ปัญหาน้ัน ๆ ได้ ภาคีที่ร้องขออาจส่งเรื่อง ไปยงั คณะกรรมการด้านสินคา้ 3. ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องกาหนดจุดติดต่อหน่ึง (1) จุดหรือมากกว่า เพ่ือความมุ่งประสงค์ ของบทนี้ และแจ้งรายละเอียดการติดต่อของจุดติดต่อและข้อมูลที่เกี่ยวข้องอื่น แก่ภาคีอ่ืน ๆ หากมี ภายใน 30 วนั นับตั้งแต่ความตกลงฉบบั นม้ี ผี ลใช้บังคับสาหรับภาคีน้ัน ภาคีแต่ละฝ่าย จะต้องแจ้งภาคีอ่ืน ๆ ทราบถงึ การเปลยี่ นแปลงใด ๆ ของรายละเอยี ดการติดตอ่ ดงั กลา่ วโดยพลัน ขอ้ 4.21: ข้อตกลงเก่ยี วกับการนาไปปฏิบัติ โดยตระหนักถึงระดับความพร้อมที่แตกต่างกันของภาคีในการปฏิบัติตามพันธกรณีภายใต้บทนี้ กลุ่มภาคีจะได้รับระยะเวลาปรับตัวตามท่ีระบุไว้ในภาคผนวก 4 เอ (ระยะเวลาในการปฏิบัติตาม พันธกรณ)ี ในระหว่างท่กี ารปฏิบัตติ ามพนั ธกรณที ่ีกาหนดอย่างเต็มรูปแบบจะเริ่มตน้ ขน้ึ 4-17
- ค�ำ แปลอยา่ งไม่เป็นทางการ - ภาคผนวก 4 เอ ระยะเวลาในการปฏบิ ัตติ ามพันธกรณี เพือ่ ความมงุ่ ประสงคข์ องภาคผนวกนี้ จานวนปี เช่น “ห้า (5) ปี” หมายถึง การปฏิบัติตามบทบัญญัติ ของข้อน้ัน ๆ อย่างเต็มรูปแบบ จะต้องเริ่มภายในจานวนปีที่ระบุไว้เม่ือความตกลงฉบับนี้ มีผลใช้บังคับ และวันท่ีแน่ชัด เช่น “28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2022” หมายถึง จุดสิ้นสุดของระยะเวลา ทจี่ ะตอ้ งเรม่ิ ปฏิบตั ติ ามพันธกรณีทก่ี าหนดอยา่ งเตม็ รปู แบบ หมายเหต:ุ หากขอ้ ใดอยู่ในรายการดา้ นล่างโดยไม่มีการอ้างอิงวรรคเฉพาะ บทบัญญัติทั้งหมดของข้อนั้น จะตอ้ งเป็นไปตามระยะเวลาการปฏิบัตติ ามพันธกรณที กี่ าหนดไว้ บรูไนดารุสซาลาม ขอ้ 4.13 มาตรการอานวยความสะดวกทางการค้าสาหรับผู้ประกอบการรับ 28 กุมภาพันธ์ อนญุ าต ค.ศ. 2022 ขอ้ 4.18 การทบทวนและการอทุ ธรณ์ 3 1 มี น า ค ม ค.ศ. 2023 กมั พูชา ข้อ 4.9 กระบวนการกอ่ นการมาถึงของสินค้า 5 ปี ข้อ 4.11 การตรวจปลอ่ ยสนิ คา้ 2. ระยะเวลาในการปล่อยสินคา้ (ในขอบเขตที่เปน็ ไปไดภ้ ายใน 48 5 ปี ชั่วโมง หลังจากสินค้ามาถึงและการเก็บรกั ษาขอ้ มูลทีจ่ าเป็น) 6. การตรวจปล่อยสินค้าเน่าเสียง่าย (ในขอบเขตที่เป็นไปได้ 5 ปี ภายในหก (6) ชัว่ โมง) 8. สถานท่จี ดั เกบ็ สนิ ค้าและขัน้ ตอนสาหรับสนิ คา้ ทเ่ี น่าเสียงา่ ย 5 ปี 4เอ-1
- คำ�แปลอย่างไม่เป็นทางการ - ข้อ 4.12 การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 2. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงการส่งข้อมูลก่อนท่ีสินค้า 5 ปี จะมาถึงและใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์หรือระบบอัตโนมัติสาหรับ การจดั การความเส่ยี ง 4. ความเท่าเทยี มกันทางกฎหมายของเอกสารการบริหารการค้า 5 ปี ท่สี ่งมาทางอเิ ล็กทรอนิกส์ 5. มาตรฐานระหว่างประเทศหรอื วิธีการดาเนนิ การ 5 ปี 6. ร่วมมือกับภาคีอื่นและในเวทีระหว่างประเทศ เพ่ือเพ่ิม 5 ปี การยอมรบั เอกสารการบรหิ ารการค้าทส่ี ง่ มาทางอิเลก็ ทรอนิกส์ ข้อ 4.13 มาตรการอานวยความสะดวกทางการค้าสาหรับผู้ประกอบการรับ 5 ปี อนญุ าต ข้อ 4.15 ของเรง่ ด่วน 1. ขอบเขตของกระบวนการสาหรับของเร่งด่วน มีดังน้ี (เอ) กระบวนการกอ่ นการมาถึงของสินค้า 5 ปี (บี) การส่งข้อมูลเพยี งคร้ังเดียว 5 ปี (ซ)ี ลดข้อกาหนดด้านการใช้เอกสารให้เหลอื น้อยท่ีสุด 5 ปี (ด)ี ตรวจปล่อยของเร่งด่วนให้เร็วที่สุดเท่าท่ีจะเป็นไปได้ 5 ปี และภายในหก (6) ช่วั โมง เมอื่ เป็นไปได้ (อี) มาตรการตามวรรคย่อย (เอ) ถึง (ดี) ในเรื่องเก่ียวกับ 5 ปี น้าหนักหรือราคาศุลกากรของของเรง่ ดว่ น ข้อ 4.19 ความรว่ มมือดา้ นศลุ กากร 5 ปี 4เอ-2
- คำ�แปลอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ - จนี ข้อ 4.4 ความสอดคลอ้ ง 5 ปี อนิ โดนเี ซยี ขอ้ 4.10 การวนิ ิจฉัยล่วงหน้า 28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2022 ข้อ 4.14 การบรหิ ารความเส่ียง 28 กุมภาพันธ์ สปป.ลาว ค.ศ. 2022 ข้อ 4.10 การวินิจฉัยลว่ งหนา้ 2. ตัวแทนตามกฎหมายหรือการจดทะเบียนของผยู้ น่ื คาร้องขอ 3 ปี 3. พธิ กี ารในการออกคาวินจิ ฉัยล่วงหน้า 3 ปี 7. ผลใช้บงั คับของคาวนิ จิ ฉัยล่วงหน้า 5 ปี 8. การแจ้งมูลแห่งการยกเลิก แก้ไข หรือทาให้ส้ินผลซ่ึงคาวินิจฉัย 5 ปี ล่วงหน้าแก่ผู้ยื่นคารอ้ ง 9. การยกเลิก แก้ไข หรือทาให้ส้ินผลซ่ึงคาวินิจฉัยล่วงหน้าโดย 5 ปี มีผลยอ้ นหลัง 10. คาวนิ จิ ฉัยลว่ งหน้าจะตอ้ งมีผลผกู พนั 5 ปี 11. กระบวนการการเผยแพร่คาวนิ จิ ฉยั ล่วงหน้า 3 ปี 12. การเผยแพรข่ ้อมูลของคาวนิ ิจฉัยลว่ งหนา้ 3 ปี ข้อ 4.11 การตรวจปลอ่ ยสนิ คา้ 1. จัดให้มีหรือคงไว้ซึ่งพิธีการศุลกากรท่ีเรียบง่ายสาหรับการตรวจ 3 ปี ปลอ่ ยสินค้า 4เอ-3
- คำ�แปลอยา่ งไม่เปน็ ทางการ - 2. ระยะเวลาในการปล่อยสินค้า (ในขอบเขตท่ีเป็นไปได้ภายใน 48 3 ปี ชั่วโมงหลังจากสนิ ค้ามาถงึ และการเก็บรักษาข้อมลู ทจี่ าเป็น) 3. การคัดเลอื กสนิ ค้าเพอื่ การตรวจสอบตอ่ ไป 3 ปี 4. การตรวจปล่อยสินค้าก่อนที่จะทราบผลสรุปสุดท้ายในการ 3 ปี พจิ ารณาอากร ภาษี คา่ ธรรมเนยี มและค่าภาระ 5. สิทธิในการตรวจสอบ กักสินค้า ยึดหรือริบ หรือจัดการ 3 ปี เกี่ยวกบั สินค้า 6. การตรวจปล่อยสินค้าเน่าเสียง่าย (ในขอบเขตที่เป็นไปได้ 5 ปี ภายในหก (6) ชั่วโมง) 7. ในการจัดตารางการตรวจสอบ จะให้สินค้าเน่าเสียง่าย 3 ปี ได้รบั การตรวจก่อน 8. สถานท่ีจัดเก็บสินค้าและขั้นตอนสาหรับสินค้าที่เน่าเสียง่าย 5 ปี ขอ้ 4.12 การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 2. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงการส่งข้อมูลก่อนที่สินค้า 3 ปี จะมาถึงและใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์หรือระบบอัตโนมัติ สาหรับการจัดการความเสี่ยง 3. จัดทาเอกสารการบริหารงานด้านการค้าให้แก่สาธารณะใน 3 ปี รูปแบบอเิ ล็กทรอนิกส์ 4. ความเทา่ เทยี มกันทางกฎหมายของเอกสารการบรหิ ารการคา้ ท่ี 5 ปี สง่ มาทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ 5. มาตรฐานระหว่างประเทศหรอื วธิ กี ารดาเนนิ การ 5 ปี 6. ร่วมมือกับภาคีอื่นและในเวทีระหว่างประเทศ เพื่อเพิ่มการ 5 ปี ยอมรบั เอกสารการบรหิ ารการค้าทีส่ ่งมาทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ขอ้ 4.13 มาตรการอานวยความสะดวกทางการค้าสาหรับผู้ประกอบการรับ 5 ปี อนุญาต 4เอ-4
- ค�ำ แปลอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ - ขอ้ 4.14 การบรหิ ารความเสย่ี ง 1. จัดใหม้ ีหรือคงไว้ซึ่งระบบบรหิ ารความเสย่ี ง 3 ปี ขอ้ 4.15 ของเรง่ ด่วน 1. ขอบเขตของกระบวนการสาหรับของเรง่ ด่วน มดี งั น้ี (เอ) กระบวนการกอ่ นการมาถึงของสินค้า 3 ปี (บี) การสง่ ข้อมูลเพียงครั้งเดยี ว 5 ปี (ซ)ี ลดขอ้ กาหนดดา้ นการใช้เอกสารให้เหลือนอ้ ยที่สุด 5 ปี (ด)ี ตรวจปล่อยของเร่งด่วนให้เร็วท่ีสุดเท่าท่ีจะเป็นไปได้ 5 ปี และภายในหก (6) ชวั่ โมง เม่อื เป็นไปได้ (อ)ี มาตรการตามวรรคย่อย (เอ) ถึง (ดี) ในเร่ืองเก่ียวกับ 5 ปี นา้ หนกั หรอื ราคาศลุ กากรของของเรง่ ดว่ น (เอฟ) บทบัญญัติสาหรับมูลค่าสินค้าหรือมูลค่าที่นามา 5 ปี คานวณภาษีขัน้ ตา่ ท่ไี มม่ กี ารเรียกเก็บอากรและภาษี 2. สิทธิในการตรวจสอบ กัก ยึด ริบ หรือไม่ให้มีการนาเข้าสินค้า 5 ปี หรือดาเนินการตรวจสอบหลังการตรวจปล่อย สิทธิในการเรียก ข้อมูลเพ่ิมเติมและการออกใบอนุญาตท่ีไมเ่ ป็นไปโดยอตั โนมัติ มาเลเซีย ข้อ 4.15 ของเร่งด่วน 28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2022 เมียนมา ขอ้ 4.4 ความสอดคล้อง 5 ปี ขอ้ 4.5 ความโปร่งใส 5 ปี 4เอ-5
- คำ�แปลอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ - ขอ้ 4.6 จดุ ตอบขอ้ ซักถาม 2 ปี ขอ้ 4.7 พิธกี ารศุลกากร 5 ปี ข้อ 4.9 กระบวนการกอ่ นการมาถงึ ของสินค้า 5 ปี ขอ้ 4.10 การวินิจฉัยล่วงหนา้ 1. จัดทาคาวินิจฉัยล่วงหน้าเป็นลายลักษณ์อักษร (ในส่วนท่ี 5 ปี (กฎถ่ิน เก่ยี วกับอนวุ รรค (บี)) กาเนิดสินคา้ ) 2. ตัวแทนตามกฎหมายหรือการจดทะเบียนของผู้ย่ืนคาร้องขอ 5 ปี (กฎถิ่น (ในส่วนทเ่ี กยี่ วกับอนุวรรค 1 (บี)) กาเนดิ สนิ ค้า) 3. พิธีการในการออกคาวินิจฉัยล่วงหน้า (ในส่วนท่ีเก่ียวกับ 5 ปี (กฎถิ่น อนวุ รรค 1 (บี)) กาเนดิ สนิ ค้า) 4. ระยะเวลาในการออกคาวินิจฉัยล่วงหน้า (ในส่วนท่ีเกี่ยวกับ 5 ปี (กฎถิ่น อนวุ รรค 1 (บี)) กาเนิดสินคา้ ) 5. การแจ้งการปฏิเสธการออกคาวินิจฉัยล่วงหน้าแก่ผู้ย่ืนคาร้อง 5 ปี (กฎถ่ิน (ในสว่ นทเ่ี กีย่ วกบั อนวุ รรค 1 (บี)) กาเนิดสนิ คา้ ) 6. การปฏิเสธคาร้องขอให้มีการออกคาวินิจฉัยล่วงหน้า เมื่อไม่ได้ 5 ปี (กฎถิ่น รบั ขอ้ มลู เพมิ่ เติมภายในระยะเวลาที่กาหนด (ในส่วนท่ีเก่ียวกับ กาเนดิ สนิ ค้า) อนุวรรค 1 (บี)) 7. ผลบังคับใช้ของคาวินิจฉัยล่วงหน้า (ในส่วนที่เกี่ยวกับอนุวรรค 5 ปี (กฎถ่ิน 1 (บี) และ (ซี)) กาเนิดสินค้าและ ราคาศลุ กากร) 8. การแจ้งมูลแหง่ การยกเลิก แก้ไข หรือทาให้ส้ินผลซ่ึงคาวินิจฉัย 5 ปี (พิกัดอัตรา ล่วงหน้าแก่ผู้ย่ืนคาร้อง (ในส่วนที่เกี่ยวกับอนุวรรค 1 (เอ) (บี) ศุลกากร กฎถ่ิน และ (ซี)) กาเนิดสินค้าและ ราคาศลุ กากร) 4เอ-6
- คำ�แปลอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ - 9. การยกเลิก แก้ไข หรือทาให้ส้ินผลซ่ึงคาวินิจฉัยล่วงหน้าโดยมี 5 ปี (พิกัดอัตรา ผลยอ้ นหลัง (ในส่วนที่เกยี่ วกบั อนุวรรค 1 (เอ) (บี) และ (ซี)) ศุลกากร กฎถ่ิน กาเนิดสินค้าและ ราคาศุลกากร) 10. คาวินิจฉัยล่วงหน้าจะต้องมีผลผูกพัน (ในส่วนท่ีเก่ียวกับ 5 ปี (กฎถ่ิน อนวุ รรค 1 (บี)) กาเนิดสนิ คา้ ) 11. กระบวนการเผยแพร่คาวินิจฉัยล่วงหน้า (ในส่วนที่เก่ียวกับ 5 ปี (กฎถ่ิน อนุวรรค 1 (บี)) กาเนิดสนิ ค้า) 12. การเผยแพร่ข้อมูลของคาวินิจฉัยล่วงหน้า (ในส่วนที่เก่ียวกับ 5 ปี (กฎถ่ิน อนวุ รรค 1 (บี)) กาเนิดสนิ คา้ ) ขอ้ 4.11 การตรวจปลอ่ ยสนิ ค้า 2. ระยะเวลาในการตรวจปล่อยสินค้า (ในขอบเขตท่ีเป็นไปได้ 5 ปี ภายใน 48 ชว่ั โมง หลังจากสินค้ามาถึงและการเก็บรักษาข้อมูล ทจ่ี าเปน็ ) 3. การคดั เลือกสนิ คา้ เพ่ือการตรวจสอบต่อไป 5 ปี 4. การปล่อยสินค้าก่อนที่จะทราบผลสรุปสุดท้ายในการพิจารณา 5 ปี อากร ภาษี คา่ ธรรมเนยี มและค่าภาระ 6. การตรวจปล่อยสินค้าเน่าเสียง่าย (ในขอบเขตท่ีเป็นไปได้ 5 ปี ภายในหก (6) ชวั่ โมง) ข้อ 4.12 การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ 5 ปี ขอ้ 4.13 มาตรการอานวยความสะดวกทางการค้าสาหรับผู้ประกอบการรับ 5 ปี อนุญาต ข้อ 4.14 การบริหารความเสย่ี ง 2. ออกแบบและใช้ระบบบริหารความเสย่ี ง 5 ปี 4เอ-7
- คำ�แปลอยา่ งไม่เปน็ ทางการ - 3. ให้ความสาคัญกับการควบคุมทางศุลกากรสาหรับสินค้าที่มี 5 ปี ความเสีย่ งสูง และเรง่ รดั การตรวจปลอ่ ยสินค้าท่ีมีความเส่ียงต่า การคัดเลือกตรวจสินค้าโดยวิธีการสุ่มตรวจเป็นส่วนหน่ึงของ การบริหารความเสยี่ ง ข้อ 4.15 ของเรง่ ดว่ น 1. ขอบเขตของกระบวนการสาหรบั ของเร่งด่วน มีดังนี้ (เอ) กระบวนการก่อนการมาถงึ ของสินคา้ 5 ปี (บี) การส่งข้อมลู เพียงครง้ั เดียว 5 ปี (ซ)ี ลดขอ้ กาหนดดา้ นการใชเ้ อกสารให้เหลอื นอ้ ยท่สี ุด 5 ปี (ดี) ตรวจปล่อยของเร่งด่วนให้เร็วท่ีสุดเท่าที่จะเป็นไปได้ และ 5 ปี ภายในหก (6) ชวั่ โมง เม่ือเป็นไปได้ (อ)ี มาตรการตามวรรคย่อย (เอ) ถึง (ดี) ในเรื่องเกี่ยวกับ 5 ปี น้าหนักหรือราคาศุลกากรของของเร่งดว่ น (เอฟ) บทบัญญัติสาหรับมูลค่าสินค้าหรือมูลค่าที่นามาคานวณ 5 ปี ภาษขี นั้ ต่าท่ีไมม่ ีการเรียกเกบ็ อากรและภาษี ขอ้ 4.16 การตรวจสอบหลงั การตรวจปลอ่ ย 2. การคัดเลอื กบุคคลหรือสินค้าเพื่อการตรวจสอบหลังการตรวจปลอ่ ย 5 ปี 3. การใช้ข้อมูลที่ได้มาจากการตรวจสอบหลังการตรวจปล่อยเพื่อ 5 ปี การดาเนินคดีในหน่วยงานหรือในชัน้ ศาล 4. นาผลของการตรวจสอบหลังการตรวจปล่อยมาใช้ในระบบบริหาร 5 ปี ความเส่ียง ขอ้ 4.17 การศึกษาระยะเวลาทใ่ี ชใ้ นการตรวจปลอ่ ยสนิ คา้ 5 ปี ข้อ 4.19 ความรว่ มมือดา้ นศุลกากร 5 ปี 4เอ-8
- คำ�แปลอยา่ งไม่เป็นทางการ - ขอ้ 4.20 การปรึกษาหารอื และจุดติดตอ่ 5 ปี เวยี ดนาม ข้อ 4.9 กระบวนการก่อนการมาถงึ ของสินค้า 3 1 ธั น ว า ค ม ค.ศ. 2023 ข้อ 4.10 การวินิจฉัยลว่ งหน้า 3 1 ธั น ว า ค ม ค.ศ. 2021 ข้อ 4.11 การตรวจปลอ่ ยสนิ คา้ 3 1 ธั น ว า ค ม ค.ศ. 2021 ขอ้ 4.13 มาตรการอานวยความสะดวกทางการค้าสาหรับผู้ประกอบการรับ 3 1 ธั น ว า ค ม อนุญาต ค.ศ. 2023 ข้อ 4.14 การบรหิ ารความเส่ียง 3 1 ธั น ว า ค ม ค.ศ. 2023 ข้อ 4.15 ของเรง่ ดว่ น 1. ขอบเขตของกระบวนการสาหรับของเรง่ ดว่ น 3 1 ธั น ว า ค ม ค.ศ. 2023 (ดี) ตรวจปล่อยของเร่งด่วนให้เร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ และภายในหก (6) ชัว่ โมง เมือ่ เป็นไปได้ ขอ้ 4.16 การตรวจสอบหลงั การตรวจปล่อย 3 1 ธั น ว า ค ม ค.ศ. 2021 4เอ-9
- ค�ำ แปลอย่างไมเ่ ป็นทางการ - บทที่ 5 มาตรการสขุ อนามัยและสุขอนามยั พืช ข้อ 5.1: คานยิ าม เพื่อความม่งุ ประสงคข์ องบทนี้ (เอ) ให้ใช้คานยิ ามทีก่ าหนดไว้ในภาคผนวกเอ ของความตกลงเอส พี เอส (บ)ี ให้คานึงถึงคานิยามท่ีเกี่ยวข้อง ท่ีกาหนดโดยคณะกรรมาธิการโคเด็กซ์แอลิเม็น แทเรยี ส องคก์ ารสุขภาพสัตว์โลก และอนุสัญญาว่าดว้ ยการอารักขาพืชระหว่างประเทศ (ซ)ี หน่วยงานผู้มีอานาจ หมายถึง หน่วยงานของภาคีแต่ละฝ่ายซึ่งรัฐบาลของภาคี ไดใ้ ห้การยอมรับในฐานะหน่วยงานที่รับผดิ ชอบต่อการจัดทาและการบริหารจัดการ มาตรการสุขอนามยั และสุขอนามยั พืชในภาคีนั้น และ (ด)ี มาตรการฉุกเฉิน หมายถึง มาตรการสุขอนามัยหรือสุขอนามัยพืชท่ีภาคีผู้นาเข้า ใช้กับภาคีผู้ส่งออกท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อจัดการกับปัญหาท่ีจาเป็นเร่งด่วนท่ีเก่ียวข้อง กับการปกป้องชีวิตหรือสุขภาพ มนุษย์ สัตว์ หรือพืชที่เกิดขึ้นหรืออาจเกิดข้ึน ในภาคีผ้ใู ช้มาตรการดังกลา่ ว ข้อ 5.2: วัตถปุ ระสงค์ บทนม้ี วี ตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื (เอ) ปกป้องชีวิตหรือสุขภาพมนุษย์ สัตว์ หรือพืช ในภาคี ผ่าน การพัฒนา การกาหนด และการใช้บังคับมาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช ในขณะเดียวกัน เพ่ืออานวยความสะดวกทางการค้าโดยลดผลกระทบเชิงลบ ต่อการค้าระหวา่ งภาคใี หเ้ หลอื นอ้ ยที่สดุ (บ)ี ส่งเสริมการนาความตกลงเอส พี เอส ไปใช้ปฏิบัติได้ (ซี) ส่งเสริมความโปร่งใสและความเข้าใจในการพัฒนาและการใช้บังคับมาตรการ สขุ อนามยั และสุขอนามัยพืชของภาคี (ดี) เสริมสร้างความร่วมมือ การติดต่อส่ือสาร และการปรึกษาหารือระหว่างภาคี ใน ด้านมาตรการสุขอนามยั และสขุ อนามยั พชื และ 5-1
- คำ�แปลอยา่ งไม่เป็นทางการ - (อ)ี ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีในการพัฒนาและการกาหนดมาตรฐาน แนวทางปฏิบัติ และคาแนะนาระหวา่ งประเทศ ขอ้ 5.3: ขอบเขต บทน้ีจะต้องใช้บังคับกับมาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชท้ังหมดของกลุ่มภาคี ท่ีอาจมี ผลกระทบโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อมตอ่ การคา้ ระหว่างภาคี ขอ้ 5.4: บทบัญญัติทวั่ ไป ภาคแี ต่ละฝ่ายยนื ยนั สิทธิและพนั ธกรณขี องตนท่ีมีต่อภาคีอืน่ ภายใต้ความตกลงเอส พี เอส ขอ้ 5.5: ความเทา่ เทียมกัน 1. กลุ่มภาคีจะต้องเสริมสร้างความร่วมมือด้านความเท่าเทียมกันให้สอดคล้องกับความตกลง เอส พี เอส ในขณะเดียวกัน ต้องคานึงถึงผลการตัดสินที่เก่ียวข้องของคณะกรรมการว่าด้วย มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชของดับบลิว ที โอ (ต่อไปในท่ีนี้จะเรียกว่า “คณะกรรมการดับบลิว ที โอ เอส พี เอส” ในบทนี้) และมาตรฐาน แนวทางปฏิบัติ และ คาแนะนาระหวา่ งประเทศ 2. ภาคีผู้นาเข้าจะต้องยอมรับความเท่าเทียมกันของมาตรการสุขอนามัยหรือสุขอนามัยพืช หากภาคผี ู้สง่ ออกแสดงให้ภาคีผู้นาเข้าเห็นว่ามาตรการของภาคีผู้ส่งออกมีระดับการปกป้อง ที่เทียบเท่ากับมาตรการของภาคีผู้นาเข้า หรือมาตรการของภาคีผู้ส่งออกมีผลเพ่ือบรรลุ วตั ถุประสงคใ์ นระดบั เดยี วกันกับมาตรการของภาคีผู้นาเข้า 3. ในการพิจารณาความเท่าเทียมกันของมาตรการสุขอนามัยหรือสุขอนามัยพืช ภาคีผู้นาเข้า ต้องคานึงถึงความรู้ ข้อมูล และประสบการณ์ที่มีอยู่ ตลอดจนความสามารถในการกากับ ดูแลของภาคีผ้สู ่งออก 4. ภาคีฝ่ายหนึ่งต้องเข้าสู่การปรึกษาหารือ หากมีการร้องขอ โดยมีความมุ่งหมายเพื่อให้บรรลุ การจัดทาข้อตกลงการยอมรับสองฝ่ายเก่ียวกับความเท่าเทียมกันของมาตรการสุขอนามัย หรือสุขอนามัยพืชท่ีระบุไว้ การยอมรับความเท่าเทียมกันภายใต้ข้อตกลงการยอมรับ สองฝ่ายดังกล่าว อาจเป็นมาตรการเดียว กลุ่มมาตรการ หรือมาตรการเชิงระบบ และเพ่ือวัตถุประสงค์นี้ หากมีการร้องขอ ภาคีผู้ส่งออกจะต้องยินยอมให้ภาคีผู้นาเข้า เข้าถึงวธิ ีการตรวจสอบ การทดสอบ และใช้วิธกี ารอื่น ๆ ที่เกีย่ วขอ้ งอย่างสมเหตุสมผล 5. ในส่วนของการปรึกษาหารือเพ่ือการยอมรับความเท่าเทียมกัน หากภาคีผู้ส่งออกร้องขอ ภาคผี ้นู าเข้าจะต้องอธิบายและให้: 5-2
- ค�ำ แปลอย่างไม่เปน็ ทางการ - (เอ) เหตุผลความจาเป็นและวัตถปุ ระสงค์ของการใช้มาตรการของตน และ (บ)ี ความเส่ยี งเฉพาะเจาะจงท่มี าตรการของตนมุ่งทจี่ ะแกไ้ ข 6. ภาคีผู้ส่งออกจะต้องให้ข้อมูลที่จาเป็นเพื่อให้ภาคีผู้นาเข้าเริ่มทาการประเมินความเท่าเทียม กันได้ และเมื่อเริ่มทาการประเมินความเท่าเทียมกันแล้ว หากมีการร้องขอ ภาคีผู้นาเข้า ตอ้ งอธิบายกระบวนการและแผนงานสาหรับการพิจารณาความเท่าเทียมกัน โดยปราศจาก ความล่าชา้ ทีไ่ มจ่ าเป็น 7. ในการพจิ ารณาของภาคฝี า่ ยหน่ึงจากคาร้องขอของภาคีอีกฝ่ายหน่ึง เพื่อยอมรับความเท่าเทียมกัน ของมาตรการท่ีเกี่ยวกับสินค้าที่เฉพาะเจาะจงหรือกลุ่มสินค้า ต้องไม่นามาใช้เป็นเหตุผล ในการขดั ขวางหรอื ระงับการนาเขา้ สินค้าดงั กล่าวที่มีการนาเขา้ อยู่ก่อนแลว้ 8. เมื่อภาคีผู้นาเข้ายอมรับความเท่าเทียมกันของมาตรการสุขอนามัยหรือสุขอนามัยพืช ที่เฉพาะเจาะจง กลุ่มมาตรการ หรือมาตรการเชิงระบบของภาคีผู้ส่งออก ภาคีผู้นาเข้า จะต้องแจ้งผลการตัดสินเป็นลายลักษณ์อักษรให้ภาคีผู้ส่งออกทราบ และต้องนามาตรการ ดงั กลา่ วไปบงั คับใช้ภายในระยะเวลาที่สมเหตุสมผล หากผลการตัดสินเป็นเชิงลบ ภาคีผู้นาเข้า ต้องชี้แจงเหตุผลให้ทราบเปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษร 9. ในกรณที เ่ี ห็นชอบรว่ มกนั ควรสง่ เสริมให้ภาคที ี่เกี่ยวขอ้ งกับการพิจารณายอมรับความเท่าเทียมกัน แบ่งปนั ข้อมลู และประสบการณใ์ ห้กับคณะกรรมการด้านสินคา้ ทราบ ข้อ 5.6: การปรับให้เข้ากับสภาพของภูมิภาค รวมทั้งพื้นที่ปลอดศัตรูพืชหรือโรค และพื้นท่ี ทม่ี คี วามชกุ ของศัตรพู ืชหรอื โรคต่า 1. กลมุ่ ภาคียอมรบั แนวคิดเร่อื งสภาพของภูมภิ าค รวมทั้งพน้ื ที่ปลอดศตั รพู ืชหรือโรค และพื้นที่ ที่มีความชุกของศัตรูพืชหรือโรคต่า กลุ่มภาคีจะต้องคานึงถึงผลการตัดสินท่ีเกี่ยวข้อง ของคณะกรรมการดับบลิว ที โอ เอส พี เอส และมาตรฐาน แนวทางปฏิบัติ และคาแนะนา ระหวา่ งประเทศ 2. กลมุ่ ภาคีอาจให้ความร่วมมือในการยอมรับสภาพของภูมิภาค โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้เกิด ความม่นั ใจในวิธีการที่ภาคีแต่ละฝา่ ยปฏบิ ตั ิตามในการยอมรบั ดังกลา่ ว 3. ในกรณีที่ภาคีผู้ส่งออกร้องขอ ภาคีผู้นาเข้าจะต้องอธิบายกระบวนการและแผนงานสาหรับ พิจารณาการกาหนดสภาพของภมู ิภาคของตน โดยปราศจากความลา่ ช้าที่ไมจ่ าเปน็ 5-3
- ค�ำ แปลอย่างไมเ่ ปน็ ทางการ - 4. เมื่อภาคีผู้นาเข้าได้รับคาร้องขอให้พิจารณาการกาหนดสภาพของภูมิภาคจากภาคีผู้ส่งออก และพิจารณาแล้วว่าข้อมูลที่ให้โดยภาคีผู้ส่งออกนั้นเพียงพอแล้ว ภาคีผู้นาเข้าจะต้องเร่ิม การประเมินภายในระยะเวลาทีส่ มเหตสุ มผล 5. ในกรณีที่มีการร้องขอ ภาคีผู้ส่งออกจะต้องยินยอมให้ภาคีผู้นาเข้าเข้าถึงวิธีการตรวจสอบ การทดสอบ และใชว้ ธิ ีการอืน่ ๆ ท่เี กี่ยวขอ้ งกับการประเมินดังกล่าวอย่างสมเหตุสมผล 6. ในกรณีท่ภี าคีผู้ส่งออกร้องขอ ภาคีผู้นาเข้าจะต้องแจง้ สถานะการประเมนิ ให้ภาคผี สู้ ง่ ออกทราบ 7. เม่ือภาคีผู้นาเข้ายอมรับสภาพของภูมิภาคท่ีเฉพาะเจาะจงของภาคีผู้ส่งออกแล้ว ภาคีผู้นาเข้า จะต้องแจ้งผลการตัดสินดังกล่าวเป็นลายลักษณ์อักษรให้ภาคีผู้ส่งออกทราบ และต้องนา มาตรการดงั กลา่ วไปใช้ปฏบิ ตั ิภายในระยะเวลาทีส่ มเหตสุ มผล 8. หากการประเมินหลักฐานทใี่ ห้โดยภาคีผู้ส่งออก ไม่ส่งผลให้ภาคีผู้นาเข้าตัดสินยอมรับสภาพ ของภูมิภาค ภาคีผู้นาเข้าจะต้องให้คาชี้แจงเหตุผลของการตัดสินดังกล่าวเป็นลายลักษณ์ อกั ษรใหแ้ ก่ภาคผี ูส้ ง่ ออกภายในระยะเวลาทสี่ มเหตสุ มผล 9. ในกรณีท่ีเห็นชอบร่วมกัน ควรส่งเสริมให้กลุ่มภาคีท่ีเกี่ยวข้องกับการพิจารณายอมรับสภาพ ของภมู ิภาค รายงานผลลัพธ์ที่ไดใ้ ห้คณะกรรมการด้านสนิ คา้ ทราบ ขอ้ 5.7: การวเิ คราะห์ความเสีย่ ง 1. กลุ่มภาคีจะต้องเสริมสร้างความร่วมมือด้านการวิเคราะห์ความเส่ียงให้สอดคล้องกับ ความตกลงเอส พี เอส ในขณะเดียวกัน จะต้องคานึงถึงผลการตัดสินท่ีเก่ียวข้อง ของคณะกรรมการดับบลิว ที โอ เอส พี เอส และมาตรฐาน แนวทางปฏิบัติ และคาแนะนา ระหวา่ งประเทศ 2. เมอื่ ดาเนินการวเิ คราะห์ความเสยี่ ง ภาคีผู้นาเข้าจะตอ้ ง (เอ) ทาใหเ้ ช่อื ม่ันได้วา่ การวเิ คราะหค์ วามเสย่ี งไดม้ กี ารจดั ทาเปน็ เอกสาร และเปิดโอกาส แก่ภาคีผู้ส่งออกภาคีเดียวหรือกลุ่มภาคีที่เก่ียวข้องให้ข้อคิดเห็นในลักษณะ ทไ่ี ด้กาหนดโดยภาคีผ้นู าเขา้ 5-4
- คำ�แปลอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ - (บี) พิจารณาทางเลือกในการจัดการความเส่ียงที่ไม่เป็นการจากัดการค้ามากกว่า ทจ่ี าเป็น1 เพื่อบรรลรุ ะดับท่ีเหมาะสมของการปกป้องด้านสุขอนามัยหรือสุขอนามัย พืช และ (ซ)ี เลือกทางเลือกในการจัดการความเส่ียงท่ีไม่ก่อให้เกิดการจากัดทางการค้า ท่ีมากเกินกว่าที่จาเป็น1 เพ่ือบรรลุระดับที่เหมาะสมของการปกป้องด้านสุขอนามัย หรือสขุ อนามัยพชื โดยคานงึ ถงึ ความเป็นไปได้ทางเทคนคิ และทางเศรษฐกจิ 3. ในกรณีที่ภาคีผู้ส่งออกร้องขอ ภาคีผู้นาเข้าจะต้องแจ้งความคืบหน้าของการวิเคราะห์ ความเส่ียงตามที่ร้องขอ และความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการดาเนินการให้แก่ ภาคีผ้สู ง่ ออกได้รับทราบ 4. โดยมิให้กระทบต่อมาตรการฉุกเฉิน ภาคีจะต้องไม่ระงับการนาเข้าสินค้าของภาคี อีกฝ่ายหน่ึง ด้วยเหตุผลเพียงว่าภาคีผู้นาเข้ากาลังอยู่ระหว่างทบทวนมาตรการสุขอนามัย หรอื สขุ อนามยั พืช หากภาคผี ู้นาเข้าได้อนุญาตให้มีการนาเข้าสินค้าดังกล่าวแล้วจากภาคีอื่น เม่ือขณะทเี่ รม่ิ การทบทวนมาตรการดังกล่าว ข้อ 5.8: การตรวจประเมนิ 2 1. ในการดาเนินการตรวจประเมิน ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องคานึงถึงผลการตัดสินที่เก่ียวข้อง ของคณะกรรมการดับบลิว ที โอ เอส พี เอส และมาตรฐาน แนวทางปฏิบัติ และคาแนะนา ระหว่างประเทศ 2. การตรวจประเมินจะต้องดาเนินการเป็นระบบ และดาเนินการเพ่ือประเมินประสิทธิภาพ ในการควบคุมกากับดูแลของหน่วยงานผู้มีอานาจของภาคีผู้ส่งออก เพ่ือให้การรับรอง ที่กาหนดและเป็นไปตามมาตรการสขุ อนามยั และสขุ อนามยั พชื ของภาคีผูน้ าเขา้ 3 1 เพ่ือความมุ่งประสงค์ของอนุวรรค (บี) และ (ซี) ทางเลือกในการจัดการความเส่ียงจะไม่ก่อให้เกิดการจากัด ทางการค้าทมี่ ากเกนิ กว่าที่จาเป็น เว้นแต่ว่ามีอีกทางเลือกหนึ่งท่ีเหมาะสม โดยคานึงถึงความเป็นไปได้ทางเทคนิค และทางเศรษฐกิจ ที่จะสามารถบรรลุระดับท่เี หมาะสมของการปกปอ้ งสุขอนามัยหรือสุขอนามัยพืช และก่อให้เกิด การจากดั ทางการค้าที่นอ้ ยกว่าอย่างมนี ยั สาคัญ 2 เพื่อความชัดเจนย่ิงขึ้น โดยไม่กระทบต่อการปฏิบัติตามข้อน้ี ไม่มีความใดในข้อนี้จะเป็นการห้ามภาคีในการใช้ หรอื คงไว้ซงึ่ ข้อกาหนดทางด้านฮาลาลกับอาหารและผลิตภณั ฑ์อาหาร โดยสอดคลอ้ งกบั กฎหมายอิสลาม 3 เพ่ือความชัดเจนย่ิงขึ้น ไม่มีความใดในวรรคนี้จะเป็นการห้ามภาคีผู้นาเข้าในการตรวจสอบสถานท่ีประกอบการ เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ในการพิจารณาว่า สถานที่ประกอบการดังกล่าวสอดคล้องกับข้อกาหนด ด้านสุขอนามัยหรือสุขอนามัยพืชของภาคีผู้นาเข้า หรือสอดคล้องกับข้อกาหนดด้านสุขอนามัยหรือสุขอนามัยพืช ท่ีภาคผี ูน้ าเขา้ พิจารณาใหเ้ ทยี บเท่ากบั ขอ้ กาหนดด้านสุขอนามยั หรือสขุ อนามยั พชื ของตน 5-5
- คำ�แปลอยา่ งไมเ่ ป็นทางการ - 3. ก่อนที่จะเร่ิมดาเนินการตรวจประเมิน ภาคีผู้นาเข้าและภาคีผู้ส่งออกท่ีเก่ียวข้องจะต้อง แลกเปลี่ยนขอ้ มลู เก่ียวกับวตั ถปุ ระสงคแ์ ละขอบเขตของการตรวจประเมิน รวมทั้งเร่ืองอ่ืน ๆ ท่ีเกย่ี วขอ้ งกับการเรม่ิ ดาเนินการตรวจประเมินดงั กล่าว 4. ภาคีผู้นาเข้าจะต้องเปิดโอกาสแก่ภาคีผู้ส่งออกในการให้ข้อคิดเห็นเก่ียวกับผลที่ได้จากการ ตรวจประเมิน และจะต้องนาข้อคิดเห็นดังกล่าวมาประกอบการพิจารณาก่อนทาการสรุป และดาเนนิ การใด ๆ ภาคีผู้นาเข้าจะต้องให้รายงานหรือบทสรุปของรายงานที่มีรายละเอียด การสรุปผลเป็นลายลักษณ์อักษรให้แก่ภาคีผู้ส่งออกภายในระยะเวลาที่สมเหตุสมผล ในกรณีที่ ภาคีผู้ส่งออกร้องขอ ภาคีผู้นาเข้าจะต้องแจ้งภาคีผู้ส่งออก ในการให้รายงานหรือบทสรุป ของรายงานดงั กล่าว ข้อ 5.9: การรับรอง 1. ในการใช้ข้อกาหนดของการรับรอง ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องคานึงถึงผลการตัดสินท่ีเก่ียวข้อง ของคณะกรรมการดับบลิว ที โอ เอส พี เอส และมาตรฐาน แนวทางปฏิบัติ และคาแนะนา ระหวา่ งประเทศ 2. ภาคีผู้ส่งออกจะต้องทาให้เชื่อม่ันได้ว่าเอกสาร รวมถึงใบรับรองตามที่ภาคีผู้นาเข้ากาหนด และออกให้โดยหน่วยงานผู้มีอานาจของภาคีผู้ส่งออก เพื่อแสดงว่าปฏิบัติตามข้อกาหนด ด้านสขุ อนามยั และสุขอนามัยพืชของภาคีผู้นาเข้าน้ันจัดทาเป็นภาษาอังกฤษ เว้นแต่ทั้งภาคี ผู้นาเข้าและภาคผี ู้สง่ ออกจะเห็นชอบร่วมกันในทางอื่น4เมื่อภาคีผู้นาเข้ากาหนดให้มีเอกสาร นัน้ ภาคผี นู้ าเขา้ จะต้องมีความพยายามในการให้ข้อกาหนดต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับตัวเอกสาร นั้นเป็นภาษาอังกฤษ และเมื่อมีคาร้องขอ ภาคีผู้นาเข้าจะต้องให้บทสรุปหรือคาอธิบาย เกี่ยวกบั ขอ้ กาหนดดงั กลา่ ว 3. กลุ่มภาคียอมรับว่า ภาคีผู้นาเข้าอาจให้การรับรองข้อกาหนดด้านสุขอนามัยหรือสุขอนามัย พืชโดยใช้วิธีดาเนินการนอกเหนือไปจากใบรับรองได้ตามความเหมาะสม และยอมรับว่า สามารถใช้ระบบที่แตกต่างกันได้ในการบรรลุวัตถุประสงค์ด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช เดียวกันน้ี 4. เม่ือกาหนดให้มีการรับรองเพ่ือใช้ในการค้าสินค้า ภาคีผู้นาเข้าจะต้องทาให้เช่ือมั่นได้ว่า ข้อกาหนดในการรบั รองดังกล่าว ถกู นามาใช้เฉพาะเท่าท่ีจาเป็นเพื่อปกป้องชีวิตหรือสุขภาพ มนุษย์ สัตว์ หรือพชื 4 เพื่อความชัดเจนยิ่งข้ึน บทบัญญัติน้ีไม่ได้ห้ามกลุ่มภาคีท่ีจะใส่ข้อมูลสาหรับการรับรองเป็นภาษาอ่ืนเพิ่มเติม จากภาษาอังกฤษ 5-6
- ค�ำ แปลอยา่ งไมเ่ ป็นทางการ - 5. โดยมใิ ห้กระทบตอ่ สิทธกิ ารควบคมุ การนาเขา้ ของภาคีแตล่ ะฝ่าย ภาคีผู้นาเข้าจะต้องยอมรับ ใบรับรองที่ออกโดยหน่วยงานผู้มีอานาจของภาคีผู้ส่งออก ซ่ึงเป็นไปตามข้อกาหนดของภาคี ผู้นาเขา้ ข้อ 5.10: การตรวจสอบการนาเขา้ 1. ในการตรวจสอบการนาเข้า ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องคานึงถึงผลการตัดสินที่เก่ียวข้อง ของคณะกรรมการดับบลิว ที โอ เอส พี เอส และมาตรฐาน แนวทางปฏิบัติ และคาแนะนา ระหวา่ งประเทศ 2. การตรวจสอบการนาเข้าต้องเป็นไปตามข้อกาหนดด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช กฎหมายและระเบียบข้อบังคับของภาคีผู้นาเข้า โดยจะต้องอยู่บนพ้ืนฐานของความเสี่ยง ด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชที่เกี่ยวกับการนาเข้า ในกรณีที่การตรวจสอบการนาเข้า ตรวจพบการไม่เป็นไปตามข้อกาหนด ผลการตัดสินใจข้ันสุดท้ายหรือการดาเนินการใด ๆ ของภาคีผู้นาเข้าจะต้องมีความเหมาะสมต่อความเสี่ยงด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช ทเี่ กยี่ วกับการนาเขา้ สนิ ค้าท่ไี มเ่ ปน็ ไปตามข้อกาหนด 3. หากภาคีผู้นาเข้าระงับหรือจากัดการนาเข้าสินค้าของภาคีผู้ส่งออก ซึ่งถูกตรวจพบระหว่าง การตรวจสอบการนาเข้าว่าไม่เป็นไปตามข้อกาหนด ภาคีผู้นาเข้าจะต้องแจ้งผู้นาเข้าหรือ ผแู้ ทนของผูน้ าเข้าให้ทราบถึงการไม่เป็นไปตามข้อกาหนดน้ัน และหากพิจารณาแล้วเห็นว่า จาเป็น แจ้งให้ภาคผี ู้สง่ ออกทราบดว้ ย 4. เม่ือภาคีผู้นาเข้าตรวจพบว่ามีสินค้าท่ีส่งออกมาท่ีไม่เป็นไปตามข้อกาหนดอย่างมีนัยสาคัญ หรือเกิดข้ึนบ่อยครั้ง ภาคีท่ีเกี่ยวข้องจะต้องหารือเกี่ยวกับการไม่เป็นไปตามข้อกาหนด ดังกล่าว หากมีการร้องขอจากอีกฝ่าย เพื่อทาให้ม่ันใจว่ามีการแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม ในการลดขอ้ บกพร่องทีไ่ มเ่ ป็นไปตามข้อกาหนดดังกลา่ ว ขอ้ 5.11: มาตรการฉุกเฉนิ 1. หากภาคีฝ่ายหน่ึงมีการใช้มาตรการฉุกเฉินท่ีจาเป็นสาหรับการปกป้องชีวิตหรือสุขภาพ ของมนุษย์ สัตว์ หรือพืช และมาตรการดังกล่าวอาจมีผลกระทบต่อการค้า ภาคีท่ีมีการใช้ มาตรการฉุกเฉินน้ันจะต้องแจ้งภาคีผู้ส่งออกที่เกี่ยวข้องเป็นลายลักษณ์อักษรโดยทันที ผ่านจุดติดต่อนั้นหรือจุดติดต่อเหล่าน้ันท่ีระบุไว้ในข้อ 5.15 (จุดติดต่อและหน่วยงาน ผู้มอี านาจ) หรอื ผ่านช่องทางตดิ ต่อสื่อสารของกลุ่มภาคีที่มีอยู่เดิม 5-7
- คำ�แปลอย่างไมเ่ ปน็ ทางการ - 2. ภาคีผู้ส่งออกที่เก่ียวข้องอาจร้องขอให้มีการหารือกับภาคีที่มีการใช้มาตรการฉุกเฉิน ตามวรรค 1 ของขอ้ น้ี ซ่ึงการหารือดงั กลา่ วจะตอ้ งจดั ขนึ้ โดยเรว็ ท่สี ุดเท่าทีจ่ ะทาได้ ภาคีแต่ละฝ่าย ท่ีเข้าร่วมการหารือดังกล่าวจะต้องพยายามให้ข้อมูลท่ีเกี่ยวข้อง และจะต้องนาข้อมูลท่ีได้ มาประกอบการหารอื ด้วย 3. หากมีภาคีใดท่ีมีการใช้มาตรการฉุกเฉิน ภาคีน้ันจะต้องทบทวนมาตรการฉุกเฉินดังกล่าว ภายในระยะเวลาท่ีสมเหตุสมผล หรือตามคาร้องขอของภาคีผู้ส่งออก และหากมีความจาเป็น ภาคีผู้นาเข้าอาจร้องขอข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และภาคีผู้ส่งออกจะต้องพยายามให้ข้อมูล ที่เกี่ยวข้องเพื่อช่วยภาคีผู้นาเข้าในการทบทวนมาตรการฉุกเฉินดังกล่าว เม่ือมีการร้องขอ ภาคีผู้นาเข้าจะต้องแจ้งผลการทบทวนดังกล่าวให้ภาคีผู้ส่งออกทราบ หากยังคงมีการใช้ มาตรการฉุกเฉินภายหลังการทบทวน ภาคีผู้นาเข้าควรทบทวนมาตรการฉุกเฉินดังกล่าว เป็นระยะ ๆ บนพ้ืนฐานของข้อมูลล่าสุดที่สามารถหาได้ และเม่ือมีการร้องขอ ภาคีผู้นาเข้า จะตอ้ งอธิบายเหตผุ ลของการยังคงใช้มาตรการฉุกเฉนิ น้นั ต่อไป ขอ้ 5.12: ความโปรง่ ใส 1. กลุ่มภาคยี อมรับความสาคัญของความโปร่งใสทกี่ าหนดในภาคผนวกบี ของความตกลงเอส พี เอส 2. กลมุ่ ภาคียอมรับความสาคัญของการแลกเปลี่ยนข้อมูลในการพัฒนา การกาหนด และการใช้บังคับ มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช ที่อาจมีผลกระทบต่อการค้าระหว่างภาคี อยา่ งมนี ยั สาคัญ 3. ในการปฏิบัติตามข้อน้ี กลุ่มภาคีจะต้องคานึงถึงผลการตัดสินที่เกี่ยวข้องของคณะกรรมการ ดับบลิว ที โอ เอส พี เอส และมาตรฐาน แนวทางปฏบิ ัติ และคาแนะนาระหวา่ งประเทศ 4. ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องแจ้งมาตรการสุขอนามัยหรือสุขอนามัยพืชท่ีเสนอจะนามาใช้ หรือที่มีการเปล่ียนแปลงซึ่งอาจมีผลกระทบต่อการค้าของภาคีอ่ืน ๆ อย่างมีนัยสาคัญ ผ่านระบบการแจ้งเวียนมาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชทางออนไลน์ของดับบลิว ที โอ ผ่านจุดติดต่อท่ีระบุไว้ในข้อ 5.15 (จุดติดต่อและหน่วยงานผู้มีอานาจ) หรือผ่านช่องทาง ติดต่อส่อื สารของกล่มุ ภาคที มี่ ีอยู่เดิม 5. เว้นแต่มีปัญหาเร่งด่วนในการปกป้องสุขภาพเกิดข้ึนหรือ คุกคามว่าจะเกิดข้ึน หรือมีมาตรการท่ีเป็นไปในลักษณะเพื่ออานวยความสะดวกทางการค้า โดยท่ัวไปขอให้ ภาคีฝ่ายหน่ึงจะต้องอนุญาตให้ภาคีอื่น ๆ มีช่วงระยะเวลาอย่างน้อย 60 วันในการ ใหข้ ้อคิดเห็นเป็นลายลักษณ์อักษรหลังจากที่ภาคีดังกล่าวได้แจ้งประกาศมาตรการตามวรรค 4 ของข้อนี้ ซึ่งภาคีฝ่ายหนึ่งน้ันจะต้องพิจารณาคาร้องขอท่ีสมเหตุสมผลจากภาคีอีกฝ่ายหนึ่ง เพอื่ ขยายชว่ งระยะเวลาการใหข้ อ้ คิดเหน็ ดังกลา่ ว 5-8
- ค�ำ แปลอยา่ งไม่เปน็ ทางการ - 6. ในส่วนของช่วงระยะเวลาให้ข้อคิดเห็นตามวรรค 5 ของข้อน้ี เมื่อมีการร้องขอจากภาคี อีกฝ่ายหนึ่ง และหากมีความเหมาะสมและมีความเป็นไปได้ ภาคีท่ีแจ้งมาตรการจะต้อง พิจารณาข้อกังวลทางการค้าหรือทางวิทยาศาสตร์ใด ๆ รวมท้ังทางเลือกที่มีอยู่ท่ีภาคีอื่น อาจหยบิ ยกขนึ้ มาเกย่ี วกบั มาตรการท่ีเสนอจะนามาใช้ 7. เม่ือมีการร้องขอ ภาคีฝ่ายหน่ึงจะต้องจัดหาเอกสารหรือสรุปใจความของเอกสารที่อธิบาย ขอ้ กาหนดของร่างมาตรการสขุ อนามยั หรอื สขุ อนามัยพืชท่ีแจง้ ต่อดับบลิว ที โอ ตามวรรค 4 ของข้อนี้ เปน็ ภาษาองั กฤษแก่ภาคีที่ร้องขอ ภายใน 30 วันนับต้ังแตว่ นั ร้องขอ 8. หลังจากทม่ี กี ารแจ้งมาตรการสุขอนามัยหรือสุขอนามัยพืชต่อดบั บลิว ที โอ เมื่อมีการร้องขอ ภาคีฝ่ายหนึ่งจะต้องจัดหาเอกสารหรือสรุปสาระสาคัญของเอกสารที่อธิบายข้อกาหนด ของมาตรการสุขอนามัยหรือสุขอนามัยพืชที่ได้นามาใช้บังคับเป็นภาษาอังกฤษแก่ภาคี ท่รี ้องขอ ภายในระยะเวลาทส่ี มเหตุสมผลตามที่กล่มุ ภาคที ี่เกี่ยวข้องเห็นชอบร่วมกัน 9. เมื่อมีการร้องขออย่างสมเหตุสมผลจากภาคีอีกฝ่ายหนึ่ง ภาคีฝ่ายหน่ึงจะต้องให้ข้อมูล ที่เก่ียวข้องและคาอธิบายให้กระจ่างแจ้งเกี่ยวกับมาตรการสุขอนามัยหรือสุขอนามัยพืช แก่ภาคีที่ร้องขอ ภายในระยะเวลาท่ีสมเหตุสมผล รวมทงั้ (เอ) ขอ้ กาหนดดา้ นสขุ อนามยั หรอื สุขอนามยั พชื ท่ีใช้บังคบั กบั การนาเข้าสินคา้ ชนิดนน้ั (บ)ี สถานะการยืน่ คาขอของภาคีทีร่ ้องขอ และ (ซี) กระบวนการในการอนญุ าตการนาเขา้ สนิ ค้าชนิดนน้ั 10. ภาคีผู้ส่งออกจะต้องให้ข้อมูลที่เหมาะสมและทันเวลาแก่กลุ่มภาคีที่เกี่ยวข้อง ผ่านจุดติดต่อ ท่ีระบุไว้ในข้อ 5.15 (จุดติดต่อและหน่วยงานผู้มีอานาจ) หรือผ่านช่องทางติดต่อส่ือสาร ของกลุม่ ภาคที ่มี อี ยเู่ ดมิ เม่อื มกี ารเปลย่ี นแปลงอย่างมีนัยสาคัญของสถานะสุขภาพสัตว์หรือพืช หรอื ประเดน็ ความปลอดภัยอาหารของภาคีผู้สง่ ออกนน้ั ๆ ซง่ึ อาจมผี ลกระทบต่อการคา้ 11. ภาคีผู้นาเข้าจะต้องให้ข้อมูลที่เหมาะสมและทันเวลาแก่ภาคีท่ีเกี่ยวข้อง ผ่านจุดติดต่อ ที่ระบุไว้ในข้อ 5.15 (จุดติดต่อและหน่วยงานผู้มีอานาจ) หรือผ่านช่องทางติดต่อส่ือสาร ของกล่มุ ภาคที ม่ี ีอยู่เดิม ในกรณที ่ี (เอ) ภาคีผู้นาเข้าพบว่าสินค้าท่ีส่งออกมาไม่เป็นไปตามข้อกาหนดด้านสุขอนามัยหรือ สุขอนามยั พืชอยา่ งมีนัยสาคัญหรือเกดิ ขน้ึ บ่อยคร้ัง 5-9
- ค�ำ แปลอย่างไมเ่ ป็นทางการ - (บ)ี มีการใช้มาตรการสุขอนามัยหรือสุขอนามัยพืชเป็นการชั่วคราวซึ่งขัดแย้งหรือ มีผลกระทบต่อการส่งออกของภาคีอีกฝ่ายหน่ึง โดยพิจารณาแล้วว่าจาเป็น ตอ่ การปกปอ้ งชีวติ หรือสขุ ภาพมนษุ ย์ สตั ว์ หรอื พชื ภายในภาคผี นู้ าเข้า 12. ภาคีผู้ส่งออกจะต้องให้ข้อมูลในขอบเขตท่ีเป็นไปได้และเร็วท่ีสุดเท่าที่จะเป็นไปได้ แก่ภาคีผู้นาเขา้ หากภาคีผสู้ ่งออกพบว่าสินค้าทส่ี ่งออกมานนั้ อาจมีความเส่ียงด้านสุขอนามัย หรอื สุขอนามยั พชื อย่างมนี ยั สาคญั ขอ้ 5.13: ความรว่ มมือและการสร้างขดี ความสามารถ 1. กลุ่มภาคีจะต้องหาโอกาสให้มีความร่วมมือระหว่างภาคีด้วยกัน โดยต้องให้สอดคล้องกับบทน้ี รวมท้งั การสรา้ งขีดความสามารถ ความชว่ ยเหลอื ทางวิชาการ การประสานงาน และการแลกเปล่ียน ข้อมูลด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชท่ีมีความสนใจร่วมกัน ข้ึนอยู่กับความเหมาะสม ของทรพั ยากรทมี่ ีอยู่ 2. ภาคีสองประเทศใด ๆ หรือมากกว่า อาจร่วมมือในเร่ืองใด ๆ รวมทั้งข้อเสนอในสาขา ทเี่ ฉพาะเจาะจง ท่มี คี วามสนใจร่วมกันภายใตบ้ ทนี้ 3. ในการดาเนินกิจกรรมความรว่ มมอื กลุม่ ภาคตี ้องพยายามทจี่ ะประสานงานเกี่ยวกับแผนการ ดาเนนิ งานระดบั ทวภิ าคี ภูมภิ าค หรอื พหภุ าคี โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์เพอื่ หลีกเล่ียงความซ้าซ้อน ทไ่ี มจ่ าเปน็ และเพือ่ ใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชนส์ ูงสดุ 4. กลุ่มภาคีควรแบ่งปันข้อมูลและประสบการณ์จากการดาเนินกิจกรรมความร่วมมือ กบั ภาคีอืน่ ๆ ใหก้ บั คณะกรรมการด้านสนิ คา้ ข้อ 5.14: การปรกึ ษาหารือทางเทคนิค 1. เม่ือภาคีฝ่ายหน่ึงพิจารณาว่ามาตรการสุขอนามัยหรือสุขอนามัยพืชกาลังส่งผลกระทบ ต่อการค้าของตนกับภาคีอีกฝ่ายหนึ่ง ภาคีดังกล่าวอาจร้องขอการอธิบายของมาตรการ สุขอนามัยหรือสุขอนามัยพืชอย่างละเอียด ผ่านจุดติดต่อที่ระบุไว้ในข้อ 5.15 (จุดติดต่อ และหน่วยงานผู้มีอานาจ) หรือผ่านช่องทางติดต่อสื่อสารของกลุ่มภาคีท่ีมีอยู่เดิม ภาคีอีกฝ่ายหนึง่ จะต้องตอบรับการร้องขอต่อการอธิบายดังกล่าวโดยทนั ที 2. ภาคีฝ่ายหน่ึงอาจร้องขอให้มีการปรึกษาหารือทางเทคนิคกับภาคีอีกฝ่ายหน่ึง ในความพยายาม เพ่ือแก้ไขข้อกังวลในประเด็นท่ีเฉพาะเจาะจงที่เกิดข้ึนจากการใช้บังคับมาตรการสุขอนามัย หรือสุขอนามัยพืช ภาคีที่ได้รับการร้องขอจะต้องตอบรับคาร้องขอในการขอปรึกษาหารือ ท่ีสมเหตุสมผลในทันที กลุ่มภาคีท่ีเข้าร่วมการปรึกษาหารือจะต้องใช้ความพยายาม อย่างเต็มทีเ่ พอื่ ให้ได้แนวทางแก้ไขปัญหาทพี่ ึงพอใจร่วมกนั 5-10
- คำ�แปลอย่างไมเ่ ปน็ ทางการ - 3. เมอื่ ภาคีฝา่ ยหนง่ึ รอ้ งขอการปรกึ ษาหารอื ทางเทคนคิ การปรึกษาหารือดังกล่าวจะต้องจัดข้ึน ภายใน 30 วันนับตั้งแต่วันท่ีได้รับการร้องขอ เว้นแต่จะเห็นชอบร่วมกันในทางอื่น การปรึกษาหารือดังกล่าวควรมีเป้าหมายเพ่ือแก้ไขปัญหาภายใน 180 วันนับต้ังแต่วันท่ีร้องขอ หรอื ภายในกรอบระยะเวลาที่กลมุ่ ภาคผี ูร้ ่วมปรึกษาหารือเหน็ ชอบร่วมกนั 4. การปรึกษาหารือทางเทคนิคอาจดาเนินการผ่านการประชุมทางไกล การประชุมทางไกล ทางระบบวดิ ีโอ หรือผา่ นวิธีการอ่ืน ๆ ทกี่ ลุ่มภาคผี ู้ร่วมปรกึ ษาหารือเหน็ ชอบร่วมกัน ข้อ 5.15: จดุ ตดิ ต่อและหนว่ ยงานผมู้ อี านาจ 1. ภายใน 30 วันนบั ตงั้ แตว่ ันที่ความตกลงฉบบั นม้ี ผี ลใช้บงั คบั ภาคีแตล่ ะฝ่ายจะต้อง (เอ) กาหนดจุดติดต่อหนึ่ง (1) จุด หรือมากกว่า เพื่ออานวยความสะดวกในการ ตดิ ต่อสือ่ สารในเรื่องทค่ี รอบคลุมภายใตบ้ ทน้ี (บี) แจ้งภาคีอื่นทราบรายละเอียดการติดต่อของจุดติดต่อนั้นหรือจุดติดต่อเหล่าน้ัน และ (ซี) เมื่อมีการกาหนดจุดติดต่อมากกว่าหน่ึงจุด จะต้องระบุจุดติดต่อเพียงหนึ่งจุด ให้ปฏิบัติหน้าที่เป็นจุดติดต่อหลักในการตอบข้อซักถามจากภาคีอีกฝ่ายหน่ึง เกีย่ วกับจุดติดตอ่ ท่ีเหมาะสม ทภ่ี าคีดงั กล่าวต้องตดิ ตอ่ ส่อื สารด้วย 2. ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องให้รายละเอียดหน่วยงานผู้มีอานาจของตน และการแบ่งหน้าที่ และความรบั ผดิ ชอบของหนว่ ยงานดงั กล่าวแก่ภาคอี ืน่ ๆ ผ่านจุดติดต่อ 3. ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องแจ้งให้ภาคีอื่นทราบ เม่ือมีการเปล่ียนแปลงจุดติดต่อ รวมทั้ง การเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสาคัญของโครงสร้างองค์กร และการแบ่งความรับผิดชอบ ภายในหน่วยงานผู้มีอานาจของตน ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องปรับปรุงข้อมูลดังกล่าวให้ทันสมัย อยเู่ สมอ 4. ภาคียอมรับความสาคัญของหน่วยงานผู้มีอานาจในการปฏิบัติตามบทนี้ ดังน้ัน หน่วยงาน ผู้มอี านาจของกลุ่มภาคีอาจร่วมมือกันในเร่ืองที่ครอบคลุมภายใต้บทน้ีในลักษณะท่ีเห็นชอบ ร่วมกัน กลุ่มภาคีควรแบ่งปันข้อมูลและประสบการณ์ของความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน ผู้มอี านาจดงั กล่าว ให้กับคณะกรรมการด้านสินค้า หากกลุ่มภาคีเห็นชอบร่วมกันทจ่ี ะทาเช่นน้นั 5-11
- ค�ำ แปลอยา่ งไมเ่ ป็นทางการ - ข้อ 5.16: การปฏบิ ตั ติ าม หากเห็นชอบร่วมกัน กลุ่มภาคีอาจจัดทาข้อตกลงทวิภาคีหรือพหุภาคีเพื่อจัดทาความเข้าใจ และรายละเอียดท่ีได้กาหนดร่วมกันในการบังคับใช้บทน้ี กลุ่มภาคีที่มีการนาข้อตกลงดังกล่าวมาใช้ ภายใต้บทนี้ ให้รายงานขอ้ ตกลงดังกลา่ วตอ่ คณะกรรมการด้านสินคา้ หากเหน็ ชอบรว่ มกนั ขอ้ 5.17: การระงบั ขอ้ พพิ าท 1. บทท่ี 19 (การระงบั ข้อพิพาท) ต้องไม่นามาใช้บงั คับกับบทน้ี เมอื่ ความตกลงฉบับนม้ี ผี ลใช้บังคับ 2. ให้มีการทบทวนการไม่ใช้บังคับบทที่ 19 (การระงับข้อพิพาท) ภายหลังจากที่ความตกลงฉบับนี้ มีผลใช้บังคับแล้วสอง (2) ปี ในการทบทวน กลุ่มภาคีจะพิจารณาอย่างเหมาะสมถึงการนา บทที่ 19 (การระงบั ขอ้ พพิ าท) มาใช้บังคับกับท้งั หมดหรือบางส่วนของบทนี้ การทบทวนดังกล่าว จะต้องแลว้ เสรจ็ ภายในสาม (3) ปี นบั ต้งั แตว่ ันท่ีความตกลงฉบบั นีม้ ีผลใช้บังคับ หลังจากน้ัน ภาคีที่มีความพร้อมจะต้องดาเนินการนาบทท่ี 19 (การระงับข้อพิพาท) มาใช้บังคับกับบทนี้ กับภาคีอีกฝ่ายท่ีมีความพร้อมด้วยกัน ส่วนภาคีใดที่ยังไม่มีความพร้อมในการใช้บังคับ บทที่ 19 จะหารือกับภาคีอื่นและอาจนาบทที่ 19 (การระงับข้อพิพาท) มาใช้บังคับกับบทนี้ เมื่อภาคีดังกล่าวเข้าร่วมเป็นสมาชิกภาคีในความตกลงการค้าเสรีอื่นหรือความตกลง ทางเศรษฐกจิ ใด ๆ ในอนาคตท่ีมีพันธกรณคี ลา้ ยคลงึ กัน 5-12
- ค�ำ แปลอย่างไม่เป็นทางการ - บทที่ 6 มาตรฐาน กฎระเบียบทางเทคนิค และกระบวนการตรวจสอบและรบั รอง ขอ้ 6.1: คานิยาม เพอ่ื ความมงุ่ ประสงค์ของบทน้ี ให้ใช้คาศพั ท์และคานิยามท่ีกาหนดไว้ในภาคผนวก 1 ของความตกลง ที บี ที ข้อ 6.2: วตั ถุประสงค์ บทน้มี ีวัตถุประสงค์เพื่ออานวยความสะดวกต่อการค้าสนิ คา้ ระหว่างกลุม่ ภาคี โดย (เอ) ทาให้มั่นใจว่ามาตรฐาน กฎระเบียบทางเทคนิค และกระบวนการตรวจสอบ และรบั รองไมก่ อ่ ใหเ้ กิดอปุ สรรคต่อการคา้ ที่ไมจ่ าเป็น (บ)ี ยกระดบั การปฏิบัติตามความตกลงที บี ที (ซี) ส่งเสริมความเข้าใจร่วมกันเก่ียวกับมาตรฐาน กฎระเบียบทางเทคนิค และ กระบวนการตรวจสอบและรับรองของภาคีแตล่ ะฝา่ ย (ด)ี เ ส ริ ม ส ร้ า ง ก า ร แ ล ก เ ป ลี่ ย น ข้ อ มู ล แ ล ะ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ร ะ ห ว่ า ง ภ า คี ในเร่ืองท่เี กยี่ วข้องกบั มาตรฐาน กฎระเบียบทางเทคนิค และกระบวนการตรวจสอบ และรับรอง รวมถึงสว่ นท่ีเกย่ี วข้องกบั องคก์ ารระหว่างประเทศ (อี) ระบปุ ระเดน็ ปัญหาทีอ่ าจเกดิ ขนึ้ ภายใต้บทน้ี และ (เอฟ) สรา้ งกรอบการดาเนนิ งานเพอ่ื ทาใหว้ ัตถปุ ระสงคเ์ หลา่ น้ีเกดิ ข้นึ จรงิ ขอ้ 6.3: ขอบเขต 1. บทนี้ให้ใช้กับมาตรฐาน กฎระเบียบทางเทคนิค และกระบวนการตรวจสอบและรับรอง ของหนว่ ยงานรัฐบาลกลางท่อี าจสง่ ผลกระทบต่อการค้าสนิ คา้ ระหวา่ งกลุ่มภาคี บทนไี้ มใ่ ช้กับ (เอ) มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชใด ๆ ซ่ึงครอบคลุมโดยบทที่ 5 (มาตรการ สขุ อนามยั และสขุ อนามยั พชื ) และ 6–1
- คำ�แปลอย่างไมเ่ ปน็ ทางการ - (บ)ี ข้อกาหนดในการจัดซ้ือท่ีจัดทาโดยหน่วยงานภาครัฐสาหรับความต้องการด้านการผลิต หรอื การบรโิ ภคของหนว่ ยงานภาครฐั 2. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องดาเนินมาตรการที่สมเหตุผลตามที่ตนอาจมี เพื่อทาให้มั่นใจถึง ความสอดคล้องในการปฏิบัติตามบทนี้ โดยหน่วยงานรัฐบาลส่วนท้องถ่ิน และหน่วยงาน ที่ไม่ใช่รัฐบาลภายในอาณาเขตของตน ซ่ึงรับผิดชอบในการจัดทา การนามาใช้ และการใช้ มาตรฐาน กฎระเบียบทางเทคนคิ และกระบวนการตรวจสอบและรบั รอง 3. ไม่มีความใดในบทน้ีที่จะกีดกันภาคีจากการจัดทา การนามาใช้ การใช้ หรือการรักษาไว้ ซ่ึงมาตรฐาน กฎระเบียบทางเทคนิค และกระบวนการตรวจสอบและรับรองในลักษณะ ที่สอดคล้องกบั ความตกลงที บี ที และบทน้ี ข้อ 6.4: การยืนยันและการผนวกความตกลงที บี ที 1. ภาคีแต่ละฝ่ายยืนยันสิทธิและพันธกรณีของตนภายใต้ความตกลงที บี ที และผนวก บทบัญญตั ิของความตกลงที บี ที ต่อไปนเี้ ขา้ เป็นส่วนหนง่ึ ของความตกลงฉบับน้ี โดยอนโุ ลม (เอ) ข้อ 2 ยกเว้น วรรค 4, 7, 8 และ 12 (บี) วรรค 2 ของ ขอ้ 4 (ซี) ขอ้ 5 ยกเวน้ วรรค 4 (ดี) วรรค 3 ของ ข้อ 6 (อี) วรรค 1 ของ ขอ้ 9 (เอฟ) ภาคผนวก 3 ยกเวน้ วรรค เอ 2. ในกรณขี องความไมส่ อดคลอ้ งกนั ใด ๆ ระหว่างบทบัญญัติของความตกลงที บี ที ที่ผนวกอยู่ ภายใต้วรรค 1 กับบทบญั ญตั อิ น่ื ของบทน้ี ให้ถือตามอย่างหลัง 3. ไม่มีภาคีใดจะใช้การระงับข้อพิพาทภายใต้บทที่ 19 (การระงับข้อพิพาท) กับข้อพิพาทใด ๆ ทถ่ี ูกกล่าวหาวา่ เปน็ การละเมิดบทบัญญัติของความตกลงที บี ที ซึ่งได้ผนวกไวภ้ ายใต้วรรค 1 6–2
- คำ�แปลอยา่ งไมเ่ ป็นทางการ - ขอ้ 6.5: มาตรฐาน แนวทาง และขอ้ แนะนาระหว่างประเทศ 1. กลุ่มภาคีตระหนักถึงบทบาทสาคัญของมาตรฐาน แนวทาง และข้อแนะนาระหว่างประเทศ ท่ีมีต่อการปรับประสานกฎระเบียบทางเทคนิค กระบวนการตรวจสอบและรับรอง และ มาตรฐานแห่งชาติให้สอดคล้องกนั และการลดอุปสรรคต่อการคา้ ทีไ่ ม่จาเป็น 2. ในการพิจารณาว่ามาตรฐาน แนวทาง หรือข้อแนะนาระหว่างประเทศอยู่ภายใต้ความหมาย ของข้อ 2 และข้อ 5 และภาคผนวก 3 ของความตกลงที บี ที หรือไม่ ให้ภาคีแต่ละฝ่าย คานึงถึงหลักการท่ีกาหนดไว้ในการตัดสินของคณะกรรมการว่าด้วยหลักการสาหรับ การพัฒนามาตรฐาน แนวทาง และข้อแนะนาระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับข้อ 2, 5 และภาคผนวก 3 ของความตกลง (จี / ที บี ที / 9 วันที่ 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 2000 ภาคผนวก 4) และการตัดสินและข้อแนะนาที่เก่ียวข้องที่ออกตามลาดับถัดมาในเรื่องน้ี ซึ่งนามาใช้โดยคณะกรรมการดับบลิว ที โอ ว่าด้วยอุปสรรคทางเทคนิคต่อการค้า (ต่อไป ในทน่ี ี้จะเรยี กวา่ “คณะกรรมการดบั บลวิ ที โอ ที บี ที” ในบทน)ี้ 3. กลุ่มภาคีต้องเสริมสร้างการประสานงานและการสื่อสารระหว่างกันตามความเหมาะสม ในบริบทของการหารอื เรอื่ งมาตรฐานระหว่างประเทศและประเดน็ ท่เี กี่ยวข้องในเวทีระหว่าง ประเทศอืน่ ๆ เชน่ คณะกรรมการดบั บลิว ที โอ ที บี ที ขอ้ 6.6: มาตรฐาน 1. ในการจดั ทา การนามาใช้ และการใช้มาตรฐาน ภาคีแต่ละฝ่ายต้องทาให้มั่นใจว่าหน่วยงาน ด้านมาตรฐานของตนที่จัดทา นามาใช้ และใช้มาตรฐานแห่งชาติ ยอมรับและปฏิบัติตาม ภาคผนวก 3 ของความตกลงที บี ที 2. ในกรณีที่มีความจาเป็นต้องดัดแปรเน้ือหา หรือโครงสร้างของมาตรฐานระหว่างประเทศ ที่เก่ียวข้องในการพัฒนามาตรฐานแห่งชาติของภาคีหน่ึง เมื่อมีการร้องขอจากภาคีอีกฝ่าย หน่ึง ภาคีนั้นต้องส่งเสริมให้หน่วยงานด้านมาตรฐานของตนให้ข้อมูลความแตกต่าง ของเนื้อหาและโครงสร้าง และเหตุผลของความแตกต่างเหล่าน้ัน ค่าธรรมเนียมใด ๆ ที่เรียกเก็บ นอกเหนือจากค่าใช้จ่ายจริงในการจัดส่งสาหรับการบริการนี้ ต้องเหมือนกันทั้งบุคคล ต่างชาติและภายในประเทศ 3. เพิ่มเตมิ จากวรรค 2 ภาคีแต่ละฝ่ายต้องทาให้ม่ันใจว่าหน่วยงานด้านมาตรฐานของตนทาให้ มั่นใจวา่ การดดั แปรเน้ือหาและโครงสร้างของมาตรฐานระหว่างประเทศไม่ได้จัดทา นามาใช้ หรอื ใช้เพ่ือมงุ่ หรือสง่ ผลกระทบให้เกดิ อปุ สรรคท่ีไมจ่ าเป็นต่อการคา้ ระหวา่ งประเทศ 4. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องส่งเสริมความร่วมมือระหว่างหน่วยงานด้านมาตรฐานที่เก่ียวข้องในอาณาเขต ของตนกับหนว่ ยงานดา้ นมาตรฐานของกลมุ่ ภาคอี ืน่ ในสาขา เช่น 6–3
- คำ�แปลอย่างไมเ่ ปน็ ทางการ - (เอ) การแลกเปล่ียนข้อมูลด้านมาตรฐาน (บี) การแลกเปล่ียนขอ้ มูลเกยี่ วกบั กระบวนการกาหนดมาตรฐาน และ (ซ)ี กิจกรรมดา้ นมาตรฐานระหว่างประเทศในสาขาท่ีมคี วามสนใจรว่ มกนั ขอ้ 6.7: กฎระเบยี บทางเทคนิค 1. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องใช้มาตรฐานระหว่างประเทศท่ีเก่ียวข้อง หรือส่วนที่เก่ียวข้อง ของมาตรฐานเหล่านั้น เป็นพื้นฐานสาหรับกฎระเบียบทางเทคนิคของตนตามขอบเขต ทกี่ าหนดไวใ้ นวรรค 4 ของข้อ 2 ของความตกลงที บี ที ในกรณีทภ่ี าคไี ม่ใช้มาตรฐานระหว่าง ประเทศหรือส่วนที่เก่ียวข้องของมาตรฐานดังกล่าวเป็นพื้นฐานสาหรับกฎระเบียบทาง เทคนิคของตน ภาคีตอ้ งอธบิ ายเหตผุ ลทไ่ี มใ่ ช้นัน้ เมือ่ มีการรอ้ งขอจากภาคีอีกฝา่ ยหน่ึง 2. ในการปฏิบัติตามวรรค 2 ของข้อ 2 ของความตกลงที บี ที ภาคีแต่ละฝ่ายต้องพิจารณา ทางเลือกที่มีเพ่ือทาให้มั่นใจว่ากฎระเบียบทางเทคนิคท่ีเสนอให้ประกาศใช้ไม่เป็นข้อจากัด ทางการคา้ เกินกวา่ ความจาเปน็ เพอ่ื บรรลุวตั ถปุ ระสงค์ทีช่ อบธรรม 3. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องให้การพิจารณาเพ่ือเป็นผลในการยอมรับความเทียบเท่าของกฎระเบียบ ทางเทคนิคของภาคีอ่ืน แม้ว่ากฎระเบียบเหล่านั้นจะแตกต่างจากกฎระเบียบของตน หากภาคีน้ันเห็นว่ากฎระเบียบเหล่าน้ันบรรลุวัตถุประสงค์ของกฎระเบียบของตนอย่าง เพียงพอ 4. ในกรณที ภี่ าคีไม่ยอมรบั วา่ กฎระเบียบทางเทคนิคของภาคีอ่นื มีความเทยี บเท่ากับกฎระเบียบ ทางเทคนิคของตน เม่ือมีการร้องขอจากภาคีอ่ืน ภาคีน้ันต้องอธิบายเหตุผลของการตัดสิน ของตน 5. ในการปฏิบัติตามวรรค 8 ของข้อ 2 ของความตกลงที บี ที เม่ือภาคีหน่ึงไม่ระบุกฎระเบียบ ทางเทคนิคบนพื้นฐานของข้อกาหนดผลิตภัณฑ์ในด้านสมรรถนะมากกว่าการออกแบบ หรือพรรณนาลกั ษณะเฉพาะ เม่อื มกี ารร้องขอจากภาคีอีกฝ่ายหน่งึ ภาคนี น้ั ต้องให้เหตุผลของตน 6. เวน้ แตใ่ นกรณที ีเ่ กิดปญั หาเรง่ ดว่ นเกี่ยวกับความปลอดภัย สุขภาพ การคุ้มครองส่ิงแวดล้อม หรือความมั่นคงของประเทศหรือถูกคุกคามว่าจะเกิดปัญหา กลุ่มภาคีต้องยินยอมให้มี ระยะเวลาที่สมเหตุผลระหว่างการประกาศกฎระเบียบทางเทคนิคและการมีผลใช้บังคับ เพ่ือใหเ้ วลาท่เี พยี งพอสาหรับผูผ้ ลติ ในภาคีผู้สง่ ออกในการปรับผลิตภัณฑห์ รอื วิธกี ารผลิตของ ภาคีผู้ส่งออกให้สอดคล้องกับข้อกาหนดของภาคีผู้นาเข้า เพื่อความมุ่งประสงค์ของวรรคนี้ คาวา่ “ระยะเวลาทีส่ มเหตุผล” ต้องเป็นท่ีเข้าใจว่าหมายถึงระยะเวลาไม่น้อยกว่าหก (6) เดือน 6–4
- คำ�แปลอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ - เว้นแต่ในกรณีท่ีระยะเวลาดังกล่าวอาจไม่มีประสิทธิผลในการบรรลุวัตถุประสงค์อันชอบ ธรรมของกฎระเบยี บทางเทคนิค 7. กรณีมีการร้องขอของภาคีหน่ึงท่ีมีความสนใจในการพัฒนากฎระเบียบทางเทคนิค ให้คล้ายกันกับกฎระเบียบทางเทคนิคของภาคีอีกฝ่ายหนึ่ง ภาคีผู้ถูกร้องขอต้องให้ข้อมูลท่ี เก่ียวข้องตามขอบเขตที่ปฏิบัติได้ รวมถึงผลการศึกษาหรือเอกสารในการพัฒนาของตน ยกเวน้ ข้อมลู ท่เี ปน็ ความลับ 8. ภาคีแต่ละฝา่ ยต้องใช้กฎระเบียบทางเทคนิคของตนที่ได้จัดทาและประกาศใช้โดยหน่วยงาน รัฐบาลกลางของตนในรูปแบบเดียวกันอย่างสม่าเสมอทั่วทั้งอาณาเขตของตน เพ่ือความ ชัดเจนยิ่งข้ึน ไม่มีความใดในวรรคนี้ถูกตีความเพ่ือกีดกันหน่วยงานรัฐบาลส่วนท้องถ่ิน จากการจัดทา การประกาศใช้ และการใช้กฎระเบียบทางเทคนิคเพิ่มเติมในลักษณะ ท่สี อดคล้องกบั บทบัญญัติของความตกลงที บี ที ข้อ 6.8: กระบวนการตรวจสอบและรบั รอง 1. เพ่ิมเติมจากวรรค 4 ของข้อ 5 ของความตกลงที บี ที ภาคีแต่ละฝ่ายต้องทาให้ม่ันใจว่า หน่วยงานรัฐบาลกลางใช้มาตรฐานระหว่างประเทศท่ีเก่ียวข้องหรือส่วนที่เก่ียวข้อง ของมาตรฐานเหล่านน้ั เป็นพืน้ ฐานสาหรับกระบวนการตรวจสอบและรับรองของตน เว้นแต่ ในกรณีท่ีมีการอธิบายอย่างเหมาะสมตามที่มีการร้องขอว่า มาตรฐานระหว่างประเทศ หรือส่วนที่เกี่ยวข้องของมาตรฐานดังกล่าวไม่เหมาะสมสาหรับภาคีที่เก่ียวข้อง ด้วยเหตุผล เช่น ข้อกาหนดด้านความม่ันคงของประเทศ การป้องกันการปฏิบัติท่ีหลอกลวง การคุ้มครองสุขภาพหรือความปลอดภัยของมนุษย์ ชีวิตหรือสุขภาพของสัตว์หรือพืช หรือสิ่งแวดล้อม ปัจจัยพื้นฐานทางภูมิอากาศหรือทางภูมิศาสตร์อื่น ปัญหาทางเทคโนโลยี หรอื โครงสร้างขน้ั พืน้ ฐาน 2. ภาคีแต่ละฝ่ายตระหนักถึงความสาคัญในการยอมรับผลของกระบวนการตรวจสอบ และรับรองท่ีได้ดาเนินการในภาคีอีกฝ่ายหน่ึง โดยมุ่งท่ีจะเพ่ิมประสิทธิภาพ หลีกเลี่ยง ความซา้ ซอ้ น และทาให้มน่ั ใจถงึ ความมีประสทิ ธิผลดา้ นตน้ ทุนของการตรวจสอบและรบั รอง 3. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องทาให้มั่นใจว่า เม่ือใดก็ตามที่เป็นไปได้ ผลของกระบวนการตรวจสอบ และรับรองในภาคีอีกฝ่ายหน่ึงจะได้รับการยอมรับ แม้ว่ากระบวนการเหล่านั้นแตกต่างจาก กระบวนการของตนก็ตาม เว้นแต่วิธีการเหล่าน้ันไม่ให้หลักประกันสอดคล้องกับกฎระเบียบ ทางเทคนิคหรือมาตรฐานเทียบเทา่ กบั กระบวนการของตนท่ีใช้อยู่ 4. เมื่อมีการร้องขอจากภาคีอีกฝ่ายหนึ่ง ภาคีหน่ึงจะต้องอธิบายเหตุผลของตนท่ีไม่ยอมรับ ผลของกระบวนการตรวจสอบและรบั รองท่ีได้ดาเนินการในภาคอี ีกฝา่ ยหน่งึ 6–5
- คำ�แปลอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ - 5. ภาคีแต่ละฝ่ายตระหนักว่ามีกลไกอยู่อย่างกว้างขวางเพื่ออานวยความสะดวกในการยอมรับ ผลของกระบวนการตรวจสอบและรับรองที่ดาเนินการในภาคีอีกฝ่ายหน่ึง ขึ้นอยู่กับ สถานการณ์ของภาคีน้นั และสาขาเฉพาะท่เี กยี่ วข้อง กลไกเหล่านั้นอาจรวมถึง (เอ) ความตกลงยอมรบั รว่ มสาหรบั ผลของกระบวนการตรวจสอบและรับรองท่ีดาเนินการ โดยหน่วยงานในกล่มุ ภาคที เ่ี ก่ยี วข้อง (บ)ี ข้อตกลงด้านความร่วมมือ (โดยสมัครใจ) ระหว่างหน่วยรับรองระบบงานหรือ ขอ้ ตกลงระหวา่ งหนว่ ยตรวจสอบและรบั รองในกลุ่มภาคที ีเ่ ก่ยี วข้อง (ซ)ี การใช้การรับรองระบบงาน เพื่อประเมินหน่วยตรวจสอบและรับรองรวมถึงการใช้ การรับรองระบบงานผ่านความตกลงหรือข้อตกลงพหุภาคีท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อยอมรับ การรับรองระบบงานที่ได้รับการรับรองโดยกลุม่ ภาคีอื่น (ด)ี การแตง่ ต้งั หน่วยตรวจสอบและรับรองในภาคีอีกฝ่ายหนง่ึ (อี) การยอมรับฝ่ายเดียวโดยภาคีของผลของกระบวนการตรวจสอบและรับรอง ทดี่ าเนินการในภาคอี ืน่ และ (เอฟ) การรับรองตนเองโดยผู้ผลติ หรอื ผู้จดั หา 6. เม่ือมีการร้องขอที่สมเหตุผล กลุ่มภาคีที่เกี่ยวข้องต้องแลกเปล่ียนข้อมูล หรือแบ่งปัน ประสบการณ์เก่ียวกับกลไกที่อ้างถึงในวรรค 5 รวมถึงการพัฒนาและการใช้กลไกเหล่าน้ัน เพอ่ื มงุ่ ทีจ่ ะอานวยความสะดวกในการยอมรบั ผลของกระบวนการตรวจสอบและรับรอง 7. กลุ่มภาคีตระหนักถึงบทบาทสาคัญขององค์การระหว่างประเทศ รวมถึงองค์การระดับ ภูมิภาค ที่เกี่ยวข้องต่อความร่วมมือด้านการตรวจสอบและรับรอง ในการนี้ภาคีแต่ละฝ่าย ต้องนามาประกอบการพิจารณาถึงสถานะการมีส่วนร่วมหรือการเป็นสมาชิกของหน่วยงาน ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งของกลุม่ ภาคใี นองค์การเหลา่ นนั้ เพื่อทจ่ี ะอานวยความสะดวกความร่วมมือน้ี 8. กลุ่มภาคีตกลงท่ีจะส่งเสริมความร่วมมือระหว่างหน่วยตรวจสอบและรับรองของตน ให้ทางานใกล้ชิดมากข้ึนเพ่ือมุ่งที่จะอานวยความสะดวกในการยอมรับผลของกระบวนการ ตรวจสอบและรบั รองระหว่างกล่มุ ภาคี 9. เม่ือใดก็ตามที่เป็นไปได้ ภาคีแต่ละฝ่ายต้องอนุญาตให้หน่วยตรวจสอบและรับรองของภาคี อกี ฝา่ ยหน่ึงมีส่วนร่วมในกระบวนการตรวจสอบและรับรองของตน ภายใต้เง่ือนไขซึ่งไม่ด้อยกว่า ท่ีให้กบั หน่วยตรวจสอบและรบั รองภายในภาคี 6–6
- คำ�แปลอย่างไม่เป็นทางการ - 10. ในกรณีท่ีภาคีหนึ่งอนุญาตการมีส่วนร่วมของหน่วยตรวจสอบและรับรองของตนและ ไม่อนุญาตการมีส่วนร่วมของหน่วยตรวจสอบและรับรองในภาคีอีกฝ่ายหน่ึง เม่ือมีการร้อง ขอจากภาคีอกี ฝ่าย ภาคตี ้องอธิบายเหตุผลของการตัดสินใจปฏเิ สธของตน ข้อ 6.9: ความร่วมมอื 1. ภาคีจะต้องเสริมสร้างความร่วมมือท่ีเก่ียวข้องกับมาตรฐาน กฎระเบียบทางเทคนิค และ กระบวนการตรวจสอบและรับรองทส่ี อดคล้องกบั วตั ถปุ ระสงค์ของบทน้ี 2. เมื่อมีการร้องขอจากภาคีอีกฝ่ายหน่ึง ภาคีแต่ละฝ่ายต้องให้การพิจารณาเพื่อเป็นผลในการ ยอมรับต่อข้อเสนอสาหรับความร่วมมือในเร่ืองท่ีมีความสนใจร่วมกันด้านมาตรฐาน กฎระเบยี บทางเทคนคิ และกระบวนการตรวจสอบและรบั รอง 3. ความรว่ มมอื ดังกลา่ ว ต้องอยบู่ นข้อกาหนดและเง่ือนไขท่ีได้กาหนดรว่ มกัน อาจรวมถึง (เอ) คาแนะนา ความช่วยเหลือทางเทคนิค หรือการสร้างขีดความสามารถ ซึ่งเก่ียวข้อง กับการพัฒนาและการใช้มาตรฐาน กฎระเบียบทางเทคนิค และกระบวนการ ตรวจสอบและรบั รอง (บ)ี ความร่วมมือระหว่างหน่วยตรวจสอบและรับรอง ท้ังหน่วยงานรัฐบาลและ หน่วยงานที่ไมใ่ ช่รฐั บาลในกลมุ่ ภาคใี นเรอ่ื งท่ีมคี วามสนใจรว่ มกนั (ซ)ี ความรว่ มมอื ในสาขาท่ีมีความสนใจร่วมกันเกี่ยวกับการทางานของหน่วยงานระดับ ภูมิภาคและระดับระหว่างประเทศท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนาและการใช้มาตรฐาน และกระบวนการตรวจสอบและรับรอง เช่น การยกระดับการมีส่วนร่วมในกรอบ การดาเนินงานสาหรับการยอมรับร่วม ซ่ึงพัฒนาโดยหน่วยงานระดับภูมิภาคและ ระดบั ระหว่างประเทศที่เกี่ยวขอ้ ง (ดี) การยกระดับความร่วมมือในการพัฒนาและการปรับปรุงมาตรฐาน กฎระเบียบ ทางเทคนคิ และกระบวนการตรวจสอบและรับรอง และ (อ)ี การเสริมสร้างการสื่อสารและการประสานงานในคณะกรรมการดับบลิว ที โอ ที บี ที และในเวทรี ะดบั ระหว่างประเทศหรือระดบั ภมู ภิ าคทเ่ี กีย่ วข้องอืน่ ๆ 4. เม่ือมีการร้องขอจากภาคีอีกฝ่ายหนึ่ง ภาคีแต่ละฝ่ายต้องให้การพิจารณาต่อข้อเสนอเฉพาะ สาขาสาหรับความร่วมมอื ที่มีประโยชนร์ ว่ มกนั ภายใต้บทน้ี 6–7
- ค�ำ แปลอยา่ งไม่เป็นทางการ - ข้อ 6.10: การหารือทางเทคนคิ 1. เม่ือภาคีหน่ึงพิจารณาเห็นว่ามีความต้องการท่ีจะแก้ปัญหาในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการค้า และบทบัญญัติภายใต้บทน้ี ภาคีอาจร้องขอเป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อการหารือทางเทคนิค ภาคผี ูถ้ กู รอ้ งขอตอ้ งตอบสนองต่อการร้องขอน้นั ในโอกาสแรกท่เี ป็นไปได้ 2. ภาคีผู้ถูกร้องขอต้องเข้าร่วมการหารือทางเทคนิคกับภาคีที่ร้องขอภายใน 60 วัน เว้นแต่ กลุ่มภาคีท่ีเกี่ยวข้องกาหนดร่วมกันเป็นอย่างอื่น เพ่ือมุ่งที่จะบรรลุแนวทางแก้ไขที่พึงพอใจ ร่วมกัน การหารือทางเทคนิคอาจดาเนินการโดยวิธีการใด ๆ ท่ีตกลงกันโดยกลุ่มภาคี ท่เี กยี่ วขอ้ ง ข้อ 6.11: ความโปร่งใส 1. กลุม่ ภาคตี ระหนกั ถึงความสาคัญของบทบญั ญัติที่เกี่ยวกับความโปร่งใสในความตกลงที บี ที ในการนี้ กลุ่มภาคีต้องคานึงถึงการตัดสินและข้อแนะนาท่ีเกี่ยวข้องใน การตัดสิน และข้อแนะนา ซ่ึงนามาใช้โดยคณะกรรมการดับบลิว ที โอ ว่าด้วยอุปสรรคทางเทคนิค ต่อการค้า ต้ังแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1995 (จี / ที บี ที / 1/ เรฟ 13) และท่ีอาจแก้ไข เพม่ิ เตมิ โดยคณะกรรมการดับบลวิ ที โอ ที บี ที 2. เมอื่ มีการรอ้ งขอเป็นลายลกั ษณ์อักษร ภาคีหน่ึงต้องให้เอกสารฉบับเต็มหรือสรุปกฎระเบียบ ทางเทคนิคและกระบวนการตรวจสอบและรับรองของตนท่ีมีการแจ้งเป็นภาษาอังกฤษแก่ภาคี ท่ีร้องขอหากมีเอกสารเป็นภาษาอังกฤษอยู่แล้ว หากไม่มี ภาคีต้องให้สรุปข้อกาหนด ของกฎระเบียบทางเทคนิคและกระบวนการตรวจสอบ และรับรองท่ีมีการแจ้ง เป็นภาษาอังกฤษแก่ภาคีที่ร้องขอภายในระยะเวลาท่ีสมเหตุผลตามท่ีตกลงกันโดยกลุ่มภาคี ท่ีเกี่ยวข้องและหากเป็นไปได้ภายใน 30 วัน หลังจากได้รับคาร้องขอเป็นลายลักษณ์อักษร ในการปฏิบัติตามประโยคก่อนหน้านี้ เนือ้ หาของสรปุ ตอ้ งกาหนดโดยภาคผี ถู้ กู ร้องขอ 3. เมื่อมีการร้องขอจากภาคี อีกฝ่ายหน่ึง ภาคีแต่ละฝ่ายต้องให้ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง กับวัตถุประสงค์และเหตุผลสาหรับกฎระเบียบทางเทคนิคหรือกระบวนการตรวจสอบ และรบั รองทภ่ี าคีผู้ถูกรอ้ งขอไดป้ ระกาศใช้หรอื กาลงั เสนอเพ่ือประกาศใช้ 4. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องให้ระยะเวลาโดยปกติ 60 วัน นับตั้งแต่วันท่ีแจ้งไปยังดับบลิว ที โอ โดยสอดคล้องกับวรรค 9 ของข้อ 2 และวรรค 6 ของข้อ 5 ของความตกลงที บี ที เพ่ือให้ กลุ่มภาคีอ่ืนให้ความเห็นเป็นลายลักษณ์อักษร เว้นแต่ในกรณีท่ีเกิดปัญหาเร่งด่วนเก่ียวกับ ความปลอดภัย สุขภาพ การคุ้มครองส่ิงแวดล้อม หรือความมั่นคงของประเทศหรือ ถูกคุกคามว่าจะเกิดปัญหา ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องคานึงถึงความเห็นของภาคีอีกฝ่ายหนึ่ง และตอ้ งพยายามให้การตอบสนองต่อความเห็นเหล่าน้ันตามท่ีไดร้ ับการร้องขอ 6–8
- คำ�แปลอยา่ งไมเ่ ป็นทางการ - 5. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องยินยอมให้บุคคลของภาคีอีกฝ่ายหนึ่งมีส่วนร่วมในกระบวนการหารือ ท่ีเปิดให้กับสาธารณะทั่วไปสาหรับการพัฒนากฎระเบียบทางเทคนิค มาตรฐานแห่งชาติ และกระบวนการตรวจสอบและรับรองโดยภาคี ภายใต้เงื่อนไขซ่ึงไม่ด้อยกว่าท่ีให้กับบุคคล ของตนตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคบั ของตน 6. เมื่อภาคีหน่ึงกักกันสินค้าท่ีจุดนาเข้าสินค้าเนื่องจากความไม่สอดคล้องกับกฎระเบียบทาง เทคนิคหรือกระบวนการตรวจสอบและรับรอง ภาคีนั้นต้องแจ้งเหตุผลของการกักกัน ต่อผู้นาเข้าหรอื ตวั แทนของผนู้ าเข้าโดยเรว็ ท่สี ดุ 7. เว้นแต่ระบุไว้เป็นอย่างอื่นในบทนี้ ข้อมูลหรือการอธิบายใด ๆ ท่ีได้รับการร้องขอ โดยภาคีหนึ่งตามบทนี้จะต้องส่งให้ภาคีที่ร้องขอในรูปแบบสิ่งพิมพ์หรือทางอิเล็กทรอนิกส์ ภายในระยะเวลาท่ีสมเหตุผลตามที่ได้ตกลงกันโดยกลุ่มภาคีท่ีเกี่ยวข้องและหากเป็นไปได้ ภายใน 60 วัน เมื่อมีการร้องขอ ภาคีผู้ถูกร้องขอจะต้องให้ข้อมูลหรือการอธิบายนั้น ในภาษาหรือหลายภาษาตามท่ีได้ตกลงกันโดยกลุ่มภาคีที่เก่ียวข้อง หรือเป็นภาษาอังกฤษ เมอื่ ใดกต็ ามทเ่ี ป็นไปได้ ข้อ 6.12: จดุ ติดต่อ 1. ภาคแี ตล่ ะฝ่ายตอ้ งกาหนดจุดติดตอ่ จานวนหน่ึง (1) จดุ หรือมากกวา่ ทีร่ ับผิดชอบในการประสาน การปฏิบัติตามบทน้ีและแจ้งให้ภาคีอื่นทราบรายละเอียดการติดต่อของเจ้าหน้าที่หรือ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในจุดติดต่อนั้น รวมถึงหมายเลขโทรศัพท์ หมายเลขโทรสาร ไปรษณีย์ อิเล็กทรอนิกส์ และรายละเอียดอ่ืนท่ีเก่ียวข้อง ภายใน 30 วัน นับตั้งแต่วันที่ความตกลง ฉบับนี้มีผลใช้บังคับ ภาคีแต่ละฝ่ายต้องแจ้งกลุ่มภาคีอ่ืนทราบเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลง รายละเอียดการติดต่อเหล่านัน้ โดยพลัน 2. ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องทาให้ม่ันใจว่าจุดติดต่อหรือจุดติดต่อเหล่านั้นของตนอานวยความ สะดวกในการแลกเปล่ียนขอ้ มูลระหว่างกลมุ่ ภาคดี า้ นมาตรฐาน กฎระเบียบทางเทคนิค และ กระบวนการตรวจสอบและรับรอง ในการตอบสนองต่อทุกคาร้องขอที่สมเหตุผลสาหรับ ข้อมลู ดงั กลา่ วจากภาคอีกฝา่ ยหน่ึง ขอ้ 6.13: ข้อตกลงเก่ยี วกบั การนาไปปฏบิ ตั ิ กลุ่มภาคีอาจพัฒนาข้อตกลงทวิภาคีหรือข้อตกลงพหุภาคีเพ่ือกาหนดสาขาความร่วมมือท่ีมี ความสนใจร่วมกันสาหรับการใช้บังคับกับบทน้ี ส่งเสริมให้กลุ่มภาคีที่จัดทาข้อตกลงดังกล่าวภายใต้ บทนี้มาใช้ หากตกลงรว่ มกัน รายงานข้อตกลงดังกล่าวต่อคณะกรรมการด้านสนิ ค้า 6–9
- คำ�แปลอย่างไม่เปน็ ทางการ - ขอ้ 6.14: การระงบั ข้อพพิ าท บทท่ี 19 (การระงับข้อพิพาท) จะต้องไม่ถูกนามาใช้บังคับกับเรื่องใด ๆ ท่ีเกิดขึ้นภายใต้บทนี้ เมื่อความตกลงฉบับนี้มีผลใช้บังคับ และการไม่ใช้บังคับการระงับข้อพิพาทนี้จะถูกทบทวนโดยกลุ่มภาคี สอง (2) ปี หลังจากวันท่ีความตกลงฉบับนี้มีผลใช้บังคับ ในระหว่างการทบทวน กลุ่มภาคีต้องให้ การพิจารณาเพ่ือเป็นผลในการยอมรับต่อการใช้บังคับบทท่ี 19 (การระงับข้อพิพาท) สาหรับบทนี้ ท้ังหมดหรือบางส่วนของบทนี้ การทบทวนน้ันจะต้องเสร็จสมบูรณ์ภายในสาม (3) ปี นับตั้งแต่วันที่ ความตกลงฉบับนม้ี ผี ลใช้บงั คับ 6–10
- ค�ำ แปลอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ - บทท่ี 7 การเยียวยาทางการค้า ส่วน เอ มาตรการปกปอ้ งภายใตก้ รอบอาร์เซ็ป ขอ้ 7.1: คานิยาม เพอ่ื ความมงุ่ ประสงคข์ องบทน้ี (เอ) ข้อมูลฉบับปกปิด รวมถึง ข้อมูลท่ีมีรากฐานมาจากข้อมูลท่ีไม่สามารถเปิดเผยได้ (ยกตวั อย่างเชน่ ขอ้ มูลท่ีหากเปิดเผยจะสร้างความได้เปรียบให้กับคู่แข่งทางการค้า หรือหากเปิดเผยจะส่งผลกระทบอย่างร้ายแรงต่อผู้ให้ข้อมูลหรือผู้ท่ีผู้ให้ข้อมูลได้รับ ข้อมูลน้นั มา) (บี) อากรศุลกากร หมายถึง อากรศุลกากรตามนิยามที่กาหนดไว้ในอนุวรรค 1 (บี) ของขอ้ 2.1 (คานิยาม) (ซ)ี อุตสาหกรรมภายใน หมายถึง ผู้ผลิตสินค้าชนิดเดียวกันหรือสินค้าที่แข่งขันกัน โดยตรงกับสินค้านาเข้าในดินแดนของภาคี หรือกลุ่มผู้ผลิตสินค้าชนิดเดียวกันหรือ สินค้าท่ีแข่งขันโดยตรงกับสินค้านาเข้าท่ีมีผลผลิตโดยรวมเป็นสัดส่วนสาคัญ ของการผลติ สนิ ค้าดังกล่าวท้ังหมดภายในประเทศ (ด)ี สินค้าท่ีได้ถิ่นกาเนิด หมายถึง สินค้าท่ีได้ถ่ินกาเนิดตามท่ีนิยามไว้ในอนุวรรค (แอล) ของข้อ 3.1 (คานิยาม) (อ)ี มาตรการปกป้องชั่วคราวภายใต้กรอบอาร์เซ็ป หมายถึง มาตรการปกป้องตามท่ี กาหนดในวรรค 1 ข้อ 7.8 (มาตรการปกป้องชว่ั คราวภายใต้กรอบอาร์เซ็ป) (เอฟ) ความเสียหายร้ายแรง หมายถึง ความเสียหายโดยรวมที่เกิดข้ึนอย่างร้ายแรง กบั อตุ สาหกรรมภายในประเทศ (จ)ี การคุกคามให้เกิดความเสียหายร้ายแรง หมายถึง ความเสียหายร้ายแรงท่ีกาลัง จะเกดิ ขน้ึ ซง่ึ อยบู่ นพนื้ ฐานของข้อเท็จจริง และมใิ ช่ขอ้ กล่าวหา การคาดคะเน หรือ ความเป็นไปไดท้ ห่ี า่ งไกล 7-1
- ค�ำ แปลอย่างไมเ่ ปน็ ทางการ - (เอช) มาตรการปกป้องในระยะเวลาการปรับตัวภายใต้กรอบอาร์เซ็ป หมายถึง มาตรการปกป้องท่ีกาหนดไว้ในข้อ 7.2 (ข้อกาหนดการใช้มาตรการปกป้อง ในระยะเวลาการปรบั ตวั ภายใต้กรอบอาร์เซ็ป) (ไอ) ระยะเวลาการปรับตัวในการใช้มาตรการปกป้อง สาหรับสินค้าหนึ่ง ๆ หมายถึง ระยะเวลานับตั้งแต่วนั ท่ีความตกลงฉบับนี้มีผลใช้บังคับจนถึงปีที่แปด (8) ภายหลัง จากการยกเลิกหรือลดอากรศุลกากรของสินค้าชนิดนั้นส้ินสุดลงตามตาราง ข้อผกู พนั อากรศลุ กากรของภาคใี นภาคผนวก 1 (ตารางขอ้ ผูกพนั ทางภาษี) ขอ้ 7.2: ข้อกาหนดการใชม้ าตรการปกป้องในระยะเวลาการปรบั ตวั ภายใตก้ รอบอาร์เซ็ป 1. ในกรณีท่ีการลดหรือยกเลิกอากรศุลกากรตามท่ีระบุไว้ในความตกลงฉบับนี้ ส่งผลให้ มีการนาเข้าสินค้าท่ีได้ถ่ินกาเนิดของภาคีหน่ึง หรือหลายฝ่ายภาคีรวมกันมายังดินแดน ของภาคีอีกฝ่ายหนึ่งในปริมาณที่เพิ่มมากข้ึน ท้ังที่โดยชัดแจ้งหรือโดยเปรียบเทียบกับ การผลิตภายในประเทศ และภายใต้เงื่อนไขท่ีกล่าวมาน้ี ก่อให้เกิดหรือคุกคามให้เกิด คว า มเ สี ย หา ย ร้ าย แร งต่ ออุ ตส า หกร ร มภ า ย ใน ท่ีผ ลิต สิ น ค้า ชนิดเดี ยวกันหรื อสิ นค้าที่มี การแข่งขันกันโดยตรง ภาคีผู้นาเข้าอาจป้องกันหรือเยียวยาความเสียหายร้ายแรง ตอ่ อุตสาหกรรมภายในและเพ่อื ใหม้ ีการปรบั ตัวเทา่ ท่ีจาเปน็ ดว้ ยการ (เอ) ระงับการลดอัตราอากรศุลกากรใด ๆ ท่ีให้ไว้ตามความตกลงฉบับน้ีต่อสินค้าท่ีได้ ถน่ิ กาเนดิ หรือ (บี) เพิ่มอัตราอากรศุลกากรสาหรับสินค้าที่ได้ถิ่นกาเนิดถึงระดับซึ่งไม่เกินอัตรา ที่ต่ากว่า ระหว่าง (หนง่ึ ) อัตราอากรศุลกากรการประติบัติเยี่ยงชาติที่ได้รับการอนุเคราะห์ยิ่ง ที่ใช้จริงสาหรับสินค้าดังกล่าว ท่ีมีผลใช้บังคับอยู่ ณ เวลาที่ใช้มาตรการ ปกปอ้ งในระยะเวลาการปรับตัวภายใตก้ รอบอาร์เซป็ หรือ (สอง) อัตราอากรศุลกากรการประติบัติเยี่ยงชาติที่ได้รับการอนุเคราะห์ยิ่งที่ใช้ จริงสาหรับสินค้าดังกล่าว ท่ีมีผลใช้บังคับอยู่ในทันทีก่อนวันที่ความตกลง ฉบับนี้มีผลใช้บังคับสาหรับภาคีนั้น 2. กลุ่มภาคีเข้าใจร่วมกันว่ามาตรการปกป้องในระยะเวลาการปรับตัวภายใต้กรอบอาร์เซ็ป จะไมร่ วมถงึ การใชโ้ ควตาภาษหี รอื การจากดั ปริมาณการนาเข้า 3. เม่ือภาคีใด ๆ ร้องขอ คณะกรรมการด้านสินค้าอาจหารือและทบทวนการบังคับใช้ และการดาเนินการ รวมถึงระยะเวลาของมาตรการปกป้องในระยะเวลาการปรับตัวภายใต้ 7-2
- คำ�แปลอย่างไม่เป็นทางการ - กรอบอาร์เซ็ปไม่ช้าเกินกว่าสาม (3) ปีก่อนท่ีระยะเวลาการปรับตัวในการใช้มาตรการ ปกป้องจะสน้ิ สุดลง ข้อ 7.3: การแจ้งประกาศและการปรกึ ษาหารอื 1. ภาคจี ะตอ้ งแจง้ เป็นลายลกั ษณ์อกั ษรตอ่ ภาคอี น่ื ๆ โดยทันที หาก (เอ) เปิดการไต่สวนตามข้อ 7.4 (การไต่สวน) ในส่วนของความเสียหายร้ายแรงหรือ การคุมคามใหเ้ กิดความเสียหายร้ายแรง และเหตุผลทีเ่ กย่ี วข้องในการเปิดการไตส่ วน (บี) พบความเสียหายร้ายแรงหรือการคุมคามให้เกิดความเสียหายร้ายแรงที่เกิดจาก การนาเขา้ ท่เี พ่ิมขนึ้ (ซี) ใช้หรือขยายระยะเวลาการใช้มาตรการปกป้องในระยะเวลาการปรับตัวภายใต้ กรอบอาร์เซ็ป และ (ดี) ตัดสินใจที่จะเปลี่ยนแปลง รวมถึงการผ่อนคลายมาตรการปกป้องในระยะเวลา การปรับตัวภายใต้กรอบอาร์เซป็ ท่บี ังคบั ใชอ้ ยู่ 2. การแจ้งประกาศดังอนุวรรค 1 (เอ) จะต้องระบขุ ้อมูลดงั ต่อไปนี้ (เอ) คาอธิบายสินค้าที่ได้ถ่ินกาเนิดภายใต้การไต่สวน ซึ่งรวมถึงการระบุประเภท และ ประเภทย่อยภายใต้ระบบฮารโ์ มไนซ์และพิกดั ศลุ กากรของภาคีผู้นาเข้า (บ)ี ข้อสรปุ ถงึ เหตุผลในการเปดิ การไต่สวน และ (ซี) วันเปิดการไต่สวนและระยะเวลาท่ีนาข้อมลู มาใชใ้ นการไต่สวน 3. ภาคีจะตอ้ งใหส้ าเนาหรอื ตวั ระบุแหล่งทรพั ยากรสากล (ยอู ารแ์ อล) ของรายงานฉบับเปิดเผย ของหน่วยงานไต่สวนผู้มีอานาจตามท่ีได้กาหนดในวรรค 1 ข้อ 7.4 (การไต่สวน) รายงาน ดงั กลา่ วอาจจดั ทาเปน็ ภาษาราชการของหนว่ ยงานไต่สวนของภาคีก็ได้ 4. การแจง้ ประกาศดังอนวุ รรค 1 (บี) ถงึ (ดี) จะต้องระบุขอ้ มลู ดังตอ่ ไปน้ี (เอ) คาอธบิ ายของสินคา้ ทีไ่ ดถ้ ่นิ กาเนดิ ภายใตม้ าตรการปกป้องในระยะเวลาการปรับตัว ภายใต้กรอบอาร์เซ็ป ซ่ึงรวมถึงการระบุประเภทและประเภทย่อยภายใต้ระบบ ฮาร์โมไนซ์และพิกดั ศุลกากรของภาคีผ้นู าเขา้ 7-3
- ค�ำ แปลอยา่ งไม่เป็นทางการ - (บี) หลักฐานแสดงความเสียหายร้ายแรง หรือการคุกคามให้เกิดความเสียหายร้ายแรง ซึ่งเป็นผลจากการนาเข้าสินค้าที่ได้ถิ่นกาเนิดจากภาคีอีกฝ่ายหน่ึง หรือภาคีอื่น ๆ ท่เี พ่มิ สงู ข้นึ อนั เนือ่ งมาจากการลดหรือยกเลิกอากรศุลกากรท่ีได้ระบุไว้ในความตกลง ฉบับนี้ (ซี) คาอธิบายของมาตรการปกป้องในระยะเวลาการปรับตัวภายใต้กรอบอาร์เซป็ นัน้ ๆ (ดี) วันทเี่ สนอใหก้ าหนดมาตรการปกป้องในระยะเวลาการปรับตัวภายใต้กรอบอาร์เซ็ป และระยะเวลาท่ีคาดการณ์ว่าจะใช้มาตรการฯ รวมถึงตารางเวลาของการ ผ่อนคลายมาตรการตามเกณฑ์ที่กาหนดในวรรค 3 ข้อ 7.5 (ขอบเขตและระยะเวลา ของมาตรการปกป้องในระยะเวลาการปรบั ตัวภายใตก้ รอบอาร์เซ็ป) ถา้ มี และ (อ)ี หลักฐานท่ีแสดงถึงการปรับตัวของอุตสาหกรรมภายในท่ีเกี่ยวข้อง กรณีการขยาย ระยะเวลาการใชม้ าตรการปกปอ้ งในระยะเวลาการปรับตัวภายใต้กรอบอาร์เซป็ 5. ภาคีท่ีขอเสนอให้ใช้หรือขยายระยะเวลาการใช้มาตรการปกป้องในระยะเวลาการปรับตัว ภายใต้กรอบอาร์เซ็ป ต้องเปิดโอกาสให้ภาคีผู้ส่งออกที่มีผลประโยชน์อย่างมีนัยสาคัญ ขอปรึกษาหารือ แสดงความเห็นต่อข้อมูลตามวรรค 2 และ 4 ท่ีปรากฏจากการไต่สวน ภายใต้ข้อ 7.4 (การไต่สวน) และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นต่อมาตรการปกป้องในระยะเวลา การปรับตัวภายใต้กรอบอาร์เซป็ เพ่อื ใหบ้ รรลวุ ตั ถุประสงคต์ ามขอ้ 7.7 (การชดเชย) ขอ้ 7.4: การไตส่ วน 1. ภาคจี ะใชม้ าตรการปกปอ้ งในระยะเวลาการปรับตัวภายใต้กรอบอาร์เซ็ปได้หลังจากการไต่สวน โดยหน่วยงานผู้มีอานาจตามกระบวนการท่ีกาหนดในข้อ 3 และ วรรค 2 ของข้อ 4 ภายใต้ ความตกลงว่าด้วยมาตรการปกป้อง โดยให้นาข้อ 3 และ วรรค 2 ของข้อ 4 มาใช้ภายใต้ ความตกลงฉบับน้ีโดยอนโุ ลม 2. หน่วยงานไต่สวนผู้มีอานาจต้องทาการไต่สวนตามวรรค 1 ให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลา หนง่ึ (1) ปี หลังจากวันประกาศเปิดการไต่สวน ขอ้ 7.5: ขอบเขตและระยะเวลาของมาตรการปกป้องในระยะเวลาการปรบั ตัวภายใต้กรอบอารเ์ ซ็ป 1. ไมม่ ภี าคใี ดสามารถใช้มาตรการปกปอ้ งในระยะเวลาการปรบั ตัวภายใตก้ รอบอาร์เซป็ (เอ) เว้นแต่เป็นการใช้มาตรการเท่าที่จาเป็นในกรอบระยะเวลาเพ่ือป้องกันหรือเยียวยา ความเสียหายรา้ ยแรงและเพือ่ ใหม้ ีการปรับตัว 7-4
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 489
Pages: