คำ� น�ำ การจดั ทำ� งานวจิ ยั ในหวั ขอ้ การสรา้ งรปู แบบการฝกึ มวยไทยทมี่ ผี ลตอ่ ความแขง็ แรงของกลา้ มเนอื้ สำ� หรบั เยาวชนหญงิ เป็นการออกแบบโปรแกรมการฝึก (DPE Programe) ข้ึนมา โดยผ่านการตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้เหมาะสม กบั เยาวชนหญงิ อายรุ ะหวา่ ง 15-25 ปี เพอื่ ใชฝ้ กึ สำ� หรบั เพม่ิ ความแขง็ แรงของกลา้ มเนอ้ื ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยคดั เลอื ก จากทกั ษะของมวยไทย หมดั , เทา้ , เขา่ และศอก ทำ� การฝกึ เปน็ เวลา 10 สปั ดาห์ แบง่ การฝกึ เปน็ 2 กลมุ่ คอื กลมุ่ ทดลองและ กล่มุ ควบคมุ ผลการฝกึ พบว่า DPE Program ทอ่ี อกแบบมาสามารถเพ่มิ ความเข็งแรงของกลา้ มเน้อื ไดด้ กี วา่ การฝึกทั่วไปใน เยาวชนหญงิ ดงั นน้ั ในการจดั ทำ� วจิ ยั ในครงั้ นี้ เพอื่ นำ� เสนอแนวทางในการออกกำ� ลงั กายโดยใชม้ วยไทยเปน็ ทางเลอื กส�ำหรบั เยาวชนหญงิ ซง่ึ กำ� ลงั แพรห่ ลายทงั้ ในประเทศและตา่ งประเทศ ทงั้ ยงั เปน็ การเผยแพรศ่ ลิ ปะการตอ่ สปู้ ระจำ� ชาตไิ ทยอกี ทางหนงึ่ กรมพลศกึ ษา หวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ งานวจิ ยั นจี้ ะเปน็ ประโยชนส์ ำ� หรบั เดก็ , เยาวชน, ประชาชน, นกั กฬี า, ผฝู้ กึ สอนและ ผ้เู กี่ยวข้อง นำ� ไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์สงู สุด ทั้งในดา้ นการออกกำ� ลังกาย, การฝึกมวยไทยและทางดา้ นวิชาการ นายกิตตศิ กั ด์ิ รม่ เกษ ผวู้ ิจัยและคณะ
การสร้างรปู แบบ การฝึกมวยไทยท่มี ีผลตอ่ ความแขง็ แรงของกล้ามเน้อื ส�ำหรับเยาวชนหญงิ เป็นการ นำ� ทา่ ทางการฝกึ ทม่ี าจากพนื้ ฐานดา้ นมวยไทย ไดแ้ ก่ การใชห้ มดั เทา้ เขา่ ศอก เปน็ หลกั ซงึ่ ในแตล่ ะทกั ษะเปน็ การฝกึ โดยไม่ ใชอ้ ปุ กรณ์ แตใ่ ชอ้ วยั วะสว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกายในการออกอาวธุ วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั ครงั้ น้ี 1) เพอื่ สรา้ งรปู แบบการฝกึ มวยไทยทมี่ ผี ลตอ่ ความแขง็ แรงของกลา้ มเนอื้ สำ� หรบั เยาวชนหญงิ 2) เพอื่ ศกึ ษาและเปรยี บเทยี บรปู แบบการฝกึ มวยไทย ทจี่ ำ� แนกการฝกึ ตามโปรแกรมและฝกึ ตามผวู้ จิ ยั แนะนำ� ซง่ึ การวจิ ยั นมี้ งุ่ เนน้ การตอบปญั หาการวจิ ยั คอื การสรา้ งรปู แบบ การฝกึ มวยไทยท่จี ำ� เพาะเจาะจงในผู้หญงิ มีผลต่อความแข็งแรงของกลา้ มเนื้อมากกว่าการฝกึ มวยไทยรปู แบบทั่วไปจรงิ หรอื ไม่ ซงึ่ การเลอื กทา่ ทางในการฝกึ ผวู้ จิ ยั ไดอ้ อกแบบโปรแกรมการฝกึ ใหผ้ ทู้ รงคณุ วฒุ ดิ า้ นมวยไทยตรวจเครอ่ื งมอื เพอ่ื ใหไ้ ดโ้ ปรแกรมทเี่ หมาะสมทส่ี ดุ ผทู้ รงคณุ วฒุ ไิ ดป้ ระเมนิ ความตรงเชงิ เนอื้ หาทรี่ ะดบั มาก โดยผลสรปุ โปรแกรมการฝกึ แบง่ ออกเป็น 3 ชว่ ง ได้แก่ 1) อบอนุ่ ร่างกาย (warm up) มีทงั้ หมด 10 ท่า โดยใช้เวลา 5–10 นาที 2) ชว่ งออกกำ� ลังกาย (aerobic)ไดค้ ดั เลอื กจากทกั ษะมวยไทย4ทกั ษะคอื หมดั 4เทา้ 4เขา่ 4ศอก3ทำ� การฝกึ ตามโปรแกรม(DPEProgram)และ 3) ชว่ งคลายอนุ่ ร่างกาย (cool down) มีทงั้ หมด 10 ท่า ซ่งึ คดั เลือกมาจากท่าไหวค้ รมู วยไทย บทคดั ยอ่ การทดลอง มีการเคลื่อนไหวของกล้ามเน้ืออย่างต่อเน่ืองตามโปรแกรมที่ได้ออกแบบไว้ (DPE Program) โดยฝกึ รา่ งกายส่วนบน (upper body) สลับกับรา่ งกายสว่ นล่าง (lower body) การวิจัยในครง้ั นมี้ กี ลุ่มตัวอย่าง คอื ผสู้ มาชกิ ของศูนยอ์ นุรกั ษศ์ ลิ ปะมวยไทย กรมพลศึกษา จำ� นวน 50 คน เพศหญิง มีอายรุ ะหว่าง 15-25 ปี โดยแบง่ เป็น กลุ่มควบคุม จ�ำนวน 25 คน และกลุ่มทดลอง จ�ำนวน 25 คน ซ่ึงคัดเลือกจากการส่มุ อยา่ งงา่ ย (Simple Random Sampling) จากกลมุ่ ประชากร 200 คน ท้งั น้ี กลมุ่ ควบคมุ คอื กลุ่มที่ได้รบั การฝกึ มวยไทยตามที่ไดร้ ับค�ำแนะน�ำจาก ผู้วิจัย กลุ่มทดลอง คือ กลุ่มท่ีฝึกตามโปรแกรมการฝึกมวยไทยที่ออกแบบโดยผู้วิจัย เมื่อเสร็จส้ินการฝึกได้น�ำผลมา วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างก่อนและหลังการฝึกมวยไทย โดยการทดสอบค่าทีแบบอิสระต่อกัน (Independent Sample t–test) ภายหลังการฝึกมวยไทย 10 สปั ดาห์ พบวา่ กลุ่มทดลอง มคี า่ เฉลย่ี และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานของ คา่ สขุ สมรรถนะเกอื บทกุ ค่า ยกเว้นนำ้� หนักตวั (ดชั นมี วลกาย, เปอรเ์ ซน็ ต์ไขมนั , อัตราการเตน้ ของหัวใจขณะพกั , ความ ดนั โลหติ ขณะหวั ใจบบี ตัวในขณะพกั และความดนั โลหติ ขณะหวั ใจคลายตวั ในขณะพกั ) ทีด่ กี ว่ากลมุ่ ควบคุม อยา่ งมีนัย สำ� คญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั .05 กลมุ่ ทดลอง มคี า่ เฉลย่ี และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานของคา่ ความแขง็ แรงของกลา้ มเนอ้ื ในทกุ คา่ (ลกุ นั่ง, ดนั พ้นื , Deep Squat, Hurdle Step, Incline Lunge, Shoulder Mobility, Active Strength-leg, Trunk Stability Push Up และ Rotary Stability) ทไ่ี มแ่ ตกตา่ งกวา่ กลมุ่ ควบคมุ อยา่ งมนี ยั สำ� คญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั .05 ตามลำ� ดบั ผลการศึกษาวิจัยน้ีชี้ให้เห็นว่า การออกก�ำลังกายด้วยรูปแบบการฝึกมวยไทยที่ออกแบบมาเฉพาะส�ำหรับ เยาวชนหญงิ อายุระหว่าง 15–25 ปี สามารถเพิม่ ความแข็งแรงของกล้ามเน้ือได้จรงิ รวมถึงค่าสขุ สมรรถนะของร่างกาย ในดา้ นต่างๆ ดขี ้นึ
Development of Muaythai training model on muscular strength for youth female is a training exercise that is based on the basis of Muaythai, which is the use of punchs, knees, foots, elbows, the core of which is each skill is practiced without equipment, but using various organs. The purpose of this research was 1) to develop a model of Muaythai training program on muscular strength for young woman 2) to study and compare the patterns of Muaythai training, classified by program and practice by researcher suggest. This research aims to determine if the formation of a particular type of Muaythai training program more effective than the general Muaythai training program In choosing the training program, the researcher has cooperated with the Muaythai experts to examine the tools and determine the most appropriated program. The Muaythai experts have classified the training program into 3 sections: 1) warm up (10 postures for 5-10 minutes) 2) aerobic exercise (selected from Muaythai basic techniques using punchs, elbows, foots, knees) and 3) cool down section (with 10 postures selected from Tha Wai Kru Muaythai) ABSTRACT The experiment consisted of continuous muscular movements in accordance with the program designed for using the upper body and the lower body. There were 50 women in the age of 15-25 years were chosen, 25 in the control group and 25 in the experimental group from 200 people (Simple Random Sampling). The control group was trained in general Muaythai training program. The experimental group was trained by using the Muaythai expert designated training program. At the end of the training, The analysis results the differences between before and after training (DPE program). After the 10 week practice, the experimental group had the mean and standard deviation of the fitness values, except for weight body mass index, fat percentage, heart rate rest, blood pressure (Systolic and dyastolic blood pressure) while resting better than the control group at 0.5 level of significance, The experimental group had the mean and Standard deviation of the sit-up, push-up, Deep squat, Hardle step, Incline lunge, Shoulder mobility, Active Strength–leg, Trunk Stability push up and Rotary Stability, better than the control group at 0.5 level of significance. The results of this study indicate that body training using Muaythai training program designed specifically for young woman ages between 15 to 25 can increase the strength of the muscles including all over well-being of the body.
กิตติกรรมประกาศ โครงการวัยในครั้งน้ี ส�ำเร็จลุล่วงได้โดยท่ีปรึกษา คือ ดร.แสวง วิทยพิทักษ์, ดร.จตชุ ัย จ�ำปาหอม, ดร.วีระ กจั ฉปคีรนิ ทร,์ นางสาวพทั ธวรรณ ละโป้, นางสาวสุรสา โคง้ ประเสรฐิ , นายวีรพฒั น์ ยอดกมลศาสตร์ ที่กรณุ าสละเวลา ให้คำ� แนะนำ� ชว่ ยเหลอื รวมทงั้ แกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ งตา่ งๆ ตงั้ แตเ่ รม่ิ การวจิ ยั ดว้ ยความเอาใจใสอ่ ยา่ งดยี ง่ิ ผวู้ จิ ยั รสู้ กึ ซาบซง้ึ และตอ้ งขอกราบขอบพระคณุ อยา่ งสงู มา ณ ท่ีน้ี ขอขอบคณุ ผทู้ รงคณุ วฒุ ทิ กุ ทา่ นทใี่ หค้ วามกรณุ าในการตรวจพจิ ารณาเครอ่ื งมอื และใหค้ �ำแนะน�ำในการปรบั ปรงุ แก้ไข ขอขอบคุณเยาวชนหญิงกลุ่มตัวอย่าง ตลอดจนเจ้าหน้าที่ศูนย์อนุรักษ์ศิลปะ มวยไทยทุกท่าน ที่อ�ำนวยความสะดวกให้การท�ำวิจัย และให้ความร่วมมือในการวิจัย ดว้ ยดีจนเสร็จสิ้นการวิจยั ขอขอบคุณกรมพลศึกษาท่ีให้ทุนในการท�ำวิจัยในคร้ังน้ีเพื่อเป็นประโยชน์แก่ สังคมส่วนรวมต่อไป
สารบัญ บทคัดย่อภาษาไทย..................................................................................................................3 บทคัดยอ่ ภาษาองั กฤษ............................................................................................................4 กิตตกิ รรมประกาศ..................................................................................................................5 สารบญั ..................................................................................................................................6 สารบญั ตาราง........................................................................................................................8 สารบัญแผนภมู .ิ......................................................................................................................8 บทที่ 1 บทท่ี 3 ความเป็นมา วิธกี ารดำ�เนนิ การวจิ ัย และความส�ำ คัญของปัญหา - ความเป็นมาและความสำ�คัญของปญั หา1����������12 - กล่มุ ตวั อย่างประชากร..............80 - คำ�ถามของการวจิ ยั 1������������������������������������������16 - ข้ันตอนการดำ�เนนิ การวิจัย - สมมตฐิ านของการวิจยั .....................................16 และการเก็บรวบรวมข้อมลู .......81 - วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั .................................16 - เครือ่ งมอื ท่ใี ช้ในการวจิ ยั ...........82 - ขอบเขตของการวิจัย.........................................16 - การวิเคราะหท์ างสถติ .ิ .............83 - ขอ้ ตกลงเบื้องตน้ ..............................................17 - แผนภมู ิสรปุ ข้ันตอน - ข้อจำ�กัดของการวจิ ยั 1����������������������������������������17 การดำ�เนินงานวจิ ยั 8������������������84 - คำ�จำ�กดั ความท่ใี ช้ในการวิจัย8���������������������������18 - ประโยชน์ท่ีได้รบั จากการวจิ ยั ...........................19 78 10 20 - มวยไทยและหลกั พนื้ ฐาน ในการฝกึ ทักษะมวยไทย............................................... 23 - การเสริมสรา้ งกล้ามเนอ้ื และการฝึกความแข็งแรงของกลา้ มเนอ้ื ......................... 33 - นโยบายและยุทธศาสตรท์ เี่ กีย่ วกับสขุ ภาวะของคน....... 40 - งานวจิ ยั ทเ่ี ก่ยี วข้อง........................................................ 68 บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยท่เี กย่ี วขอ้ ง
ภาคผนวก บทที่ 4 - ภาคผนวก ก..........112 - ภาคผนวก ข..........116 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล - ภาคผนวก ค..........118 - ภาคผนวก ง..........119 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล...................... 88 - ภาคผนวก จ..........121 - ภาคผนวก ฉ..........122 - ภาคผนวก ช..........124 - ภาคผนวก ฌ.........148 86 100 110 - สรุปผลการวิจัย....................102 - อภิปรายผล..........................105 - ขอ้ เสนอแนะ........................107 บทที่ 5 สรุปผลการวจิ ัย อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ
สารบญั ตาราง หน้า หวั ขอ้ 88 91 ตารางท่ี 1 เปรียบเทียบค่าเฉล่ียและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของค่า 94 สุขสมรรถนะระหว่างกลุ่มทดลองก่อนฝึกตามโปรแกรมและกลุ่มควบคุม 97 กอ่ นฝกึ ตามปกติ ตารางที่ 2 เปรียบเทียบค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของค่า สุขสมรรถนะระหว่างกลุ่มทดลองหลังฝึกตามโปรแกรมและกลุ่มควบคุม หลังฝกึ ตามปกติ ตารางที่ 3 เปรียบเทียบค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของความ แข็งแรงของกล้ามเน้ือระหว่างกลุ่มทดลองก่อนฝึกตามโปรแกรมและกลุ่ม ควบคมุ ก่อนฝกึ ตามปกติ ตารางท ่ี 4 เปรยี บเทยี บคา่ เฉลย่ี และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานของความแขง็ แรง ของกล้ามเนื้อระหว่างกลุ่มทดลองหลังฝึกตามโปรแกรมและกลุ่มควบคุม หลงั ฝึกตามปกติ สารบัญแผนภูมิ 89 90 หวั ขอ้ 92 แผนภูมิท่ี 1 แสดงการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของค่าสุขสมรรถนะ ไดแ้ กน่ ำ�้ หนกั (W : กโิ ลกรมั ), ดชั นมี วลกาย (BMI : กโิ ลกรมั ตอ่ ตารางเมตร) และเปอรเ์ ซน็ ตไ์ ขมนั (%Fat : เปอรเ์ ซน็ ต)์ ระหวา่ งกลมุ่ ทดลองกอ่ นฝกึ ตามโปรแกรมและกลมุ่ ควบคมุ กอ่ นฝกึ ตามปกติ แผนภมู ทิ ี่ 2 แสดงการเปรยี บเทยี บคา่ เฉลย่ี และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานของคา่ สขุ สมรรถนะ ไดแ้ ก่ อตั ราการเตน้ ของหวั ใจขณะพกั (HRR : ครงั้ ตอ่ นาท)ี , ความดนั โลหติ ขณะหวั ใจบบี ตวั ในขณะพกั (SBP : มลิ ลลิ ติ รปรอท) และความดนั โลหติ ขณะหวั ใจคลายตวั ในขณะพกั (DBP : มลิ ลลิ ติ รปรอท) ระหว่างกล่มุ ทดลองก่อนฝกึ ตามโปรแกรมและกลมุ่ ควบคุมก่อนฝกึ ตามปกติ แผนภูมิที่ 3 แสดงการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของค่าสุขสมรรถนะ ไดแ้ กน่ ำ�้ หนกั (W : กโิ ลกรมั ), ดชั นมี วลกาย (BMI : กโิ ลกรมั ตอ่ ตารางเมตร) และเปอรเ์ ซน็ ตไ์ ขมนั (%Fat:เปอรเ์ ซน็ ต)์ ระหวา่ งกลมุ่ ทดลองหลงั ฝกึ ตามโปรแกรมและกลมุ่ ควบคมุ หลงั ฝกึ ตามปกติ
สารบัญแผนภมู ิ หน้า หวั ข้อ 93 95 แผนภูมิที่ 4 แสดงการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของค่าสุขสมรรถนะ 96 ได้แก่ อัตราการเต้นของหัวใจขณะพัก (HRR : คร้ังต่อนาที), ความดันโลหิตขณะหัวใจ บีบตัวในขณะพัก (SBP : มิลลิลิตรปรอท) และความดันโลหิตขณะหัวใจคลายตัวในขณะพัก 98 (DBP : มลิ ลลิ ติ รปรอท) ระหวา่ งกลมุ่ ทดลองหลงั ฝกึ ตามโปรแกรมและกลมุ่ ควบคมุ หลงั ฝกึ ตามปกติ 99 แผนภูมิท่ี 5 แสดงการเปรียบเทียบคา่ เฉลีย่ และสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานของความแขง็ แรงของ กลา้ มเน้ือ ไดแ้ ก่ ลกุ นั่ง (คร้งั ) และดนั พ้นื (ครัง้ ) ระหวา่ งกลมุ่ ทดลองก่อนฝึกตามโปรแกรมและ กล่มุ ควบคุมก่อนฝึกตามปกติ แผนภมู ทิ ี่ 6 แสดงการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยและส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานของความแข็งแรงของ กล้ามเนอ้ื ได้แก่ Deep Squat (DS:คะแนน), Hurdle Step (HS:คะแนน), Incline Lunge (IL:คะแนน), Shoulder Mobility (SM:คะแนน), Active Stranght-leg (ASl:คะแนน), Trunk Stability Push Up (TSPU:คะแนน) และ Rotary Stability (RS:คะแนน) ระหวา่ งกลุ่มทดลอง ก่อนฝึกตามโปรแกรมและกลุ่มควบคุมก่อนฝึกตามปกติ แผนภมู ทิ ี่ 7 แสดงการเปรียบเทยี บค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานของความแข็งแรงของ กล้ามเน้ือ ได้แก่ ลุกน่ัง (ครั้ง) และดันพื้น (ครั้ง) กลุ่มทดลองหลังฝึกตามโปรแกรมและกลุ่ม ควบคุมหลังฝึกตามปกติ แผนภมู ิท่ี 8 แสดงการเปรียบเทียบค่าเฉลยี่ และสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานของความแข็งแรงของ กลา้ มเนื้อ ไดแ้ ก่ Deep Squat (DS:คะแนน), Hurdle Step (HS:คะแนน), Incline Lunge (IL:คะแนน), Shoulder Mobility (SM:คะแนน), Active Stranght-leg (ASl:คะแนน), Trunk Stability Push Up (TSPU:คะแนน) และ Rotary Stability (RS:คะแนน) ระหว่างกลมุ่ ทดลอง หลังฝึกตามโปรแกรมและกลมุ่ ควบคมุ หลังฝกึ ตามปกติ
บทท่ี 1 ความเป็นมาและความสำ�คัญของปญั หา
12 การสรา้ งรูปแบบการฝึกมวยไทยที่มีผลตอ่ ความแข็งแรงของกลา้ มเนื้อส�ำ หรบั เยาวชนหญิง บทนำ� ความเปน็ มาและความสำ�คัญของปญั หา มวยไทย เปน็ ศิลปะการตอ่ สูป้ ระจ�ำชาติไทยท่ีมีประวตั ศิ าสตร์ความเปน็ มาอนั ยาวนาน นับวา่ เป็น มรดกอันทรงคุณค่าท่ีสืบทอดมาถึงสมัยปัจจุบัน ซึ่งได้รับการฝึกฝนอย่างแพร่หลายท้ังภายในประเทศและ ตา่ งประเทศดงั จะเหน็ ไดจ้ ากมคี า่ ยมวยไทยทเี่ กดิ ขนึ้ มากมายทเ่ี ปดิ การฝกึ สอนตามจงั หวดั ตา่ งๆ ทวั่ ทกุ ภาค ซง่ึ ใน แตล่ ะทอ้ งถนิ่ จะมรี ปู แบบแตกตา่ งกนั ออกไปเปน็ เอกลกั ษณเ์ ฉพาะ เชน่ ภาคใต้ (มวยไชยา) ภาคเหนอื (มวยทา่ เสา) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (มวยโคราช) เป็นต้น ซึ่งแต่ละแห่งจะมีความคล้ายคลึงกันในการใช้หมัด เท้า เข่า ศอก เป็นอาวุธ กระบวนทา่ ต่างๆ มุ่งเน้นท่ี ไหวพรบิ ความว่องไว ความหนกั หนว่ ง และความแข็งแรง เปน็ หลกั เน่ืองจากมวยไทยเป็นศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวโดยไม่ต้องใช้อาวุธ หากแต่ใช้อวัยวะส่วนต่างๆ ในร่างกายเป็น อาวุธแทนเรียกว่า “นวอาวุธ” ท�ำให้มีความโดดเด่นเป็นที่ยอมรับไปท่ัวโลก ปัจจุบันมีสมาชิกสหพันธ์มวยไทย สมัครเล่นนานาชาติ (INTERNATIONAL FEDERATION OF MUAYTHAI AMATEUR: IFMA) 133 ประเทศ ซึ่งแสดงให้เห็นว่ามวยไทยเป็นที่ยอมรับของคนท้ังโลก มวยไทยไม่ใช่แค่ฝึกเพื่อส�ำหรับต่อสู้อย่างเดียวเท่าน้ัน แตส่ ามารถประยกุ ตใ์ ชก้ บั การออกก�ำลงั กายเพอ่ื สขุ ภาพไดเ้ ปน็ อยา่ งดี การออกก�ำลงั กายในปจั จบุ นั มหี ลายรปู แบบ เชน่ การเตน้ แอโรบกิ การเลน่ โยคะ การวง่ิ เปน็ ตน้ การนำ� มวยไทยมาสรา้ งรปู แบบการออกกำ� ลงั กายจงึ เปน็ สงิ่ ท่ี นา่ สนใจอยา่ งยงิ่ ทง้ั ยงั เปน็ การเผยแพรศ่ ลิ ปะการต่อสไู้ ปไดอ้ กี หนง่ึ หนทาง โดยทกุ กระบวนทา่ ของแมไ่ มม้ วยไทย นัน้ สามารถน�ำมาประยุกตใ์ ชใ้ นการออกก�ำลังกายด้วย หมดั เท้า เขา่ ศอก ครบทุกสว่ นของร่างกาย ซงึ่ ปัจจุบนั จะเหน็ ไดว้ า่ ผปู้ กครองสนบั สนนุ สง่ บตุ รหลานทเี่ ปน็ หญงิ เรยี นมวยมากขนึ้ เรอ่ื ยๆ ดว้ ยเหตผุ ลตา่ งๆ พอสรปุ ไดด้ งั น้ี เพ่อื เสรมิ รา่ งความแขง็ แรงของร่างกายไดท้ ุกสว่ นทำ� ให้รปู ร่างกระชับโดยเฉพาะกลา้ มเนอ้ื เพื่อฝกึ ฝนศิลปะการตอ่ สูเ้ อาไวส้ ำ� หรับปอ้ งกันตัวเองจากภัยทางสังคมมมี ากขึน้ เรื่อยๆ มคี วามภาคภูมิใจว่าศลิ ปะแมไ่ ม้มวยไทยได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ ท�ำใหอ้ ยากจะเรียนรูเ้ พื่อสามารถน�ำความรไู้ ปสอนตอ่ แก่บุคคลอื่นได้ เปน็ การใชเ้ วลาวา่ งให้เปน็ ประโยชน์และไม่หมกมุ่นกับปัญหาสงั คมต่างๆ เพือ่ ลดภาวะความเครยี ดจากการเรียนหนงั สือหรือจากการท�ำงาน เป็นต้น
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 13 จากเหตุผลดังกล่าว มาข้างต้น จะเห็นได้ว่าเยาวชนหญิงใน ปัจจบุ ันมีความตอ้ งการฝกึ หดั มวยไทยเพิ่มมากข้นึ เรื่อยๆ โดยสงั เกตจากจ�ำนวนสมาชกิ ท่ีสมัครเรียนมวยไทยของกลุ่มอนุรักษ์ศิลปะมวยไทย ส�ำนักการกีฬา กรมพลศึกษา ในแตล่ ะปี จงึ เปน็ เหตผุ ลสำ� คญั ทผี่ วู้ จิ ยั ไดอ้ อกแบบรปู แบบการฝกึ มวยไทยใหเ้ หมาะสมกบั กลมุ่ ผหู้ ญงิ ทมี่ คี วามแตกตา่ งทางสรรี วทิ ยาตา่ งจากผชู้ าย ดว้ ยการกำ� หนดทา่ ทางพนื้ ฐาน ช่วงเวลา ความหนกั ระยะเวลา ให้เหมาะสม การฝึกในครั้งน้ีเป็นการฝึก การออกอาวุธมวยไทยขนั้ พืน้ ฐาน ได้แก่ การใช้ หมัด เทา้ เขา่ ศอก ทไ่ี ด้รบั การ คดั เลอื กจากผเู้ ชย่ี วชาญถงึ ประสทิ ธภิ าพ ของการใช้มัดกล้ามเนื้อท่ีชัดเจน ส่งผล ต่อความแข็งแรงของกล้ามเน้ือมาก ท่ีสุด จากรายละเอียดท่ีได้กล่าวมาแล้ว แสดงให้เห็นว่า มวยไทยเป็นกีฬาที่ เสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย ท�ำให้ ร่างกาย, จิตใจ, อารมณ์, สังคมและ สติปัญญา พัฒนาไดอ้ ย่างสมบูรณ์ และ มีคณุ ภาพชีวิตดขี น้ึ
14 การสร้างรปู แบบการฝกึ มวยไทยทม่ี ผี ลต่อความแขง็ แรงของกลา้ มเนอ้ื สำ�หรบั เยาวชนหญิง การพฒั นาประเทศ ส่คู วามเจริญกา้ วหน้า สิ่งส�ำคัญต้องค�ำนึงมากท่ีสุดคือ “การพัฒนาคน” โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ คนไทยเปน็ ทรพั ยากรทสี่ ำ� คญั ทสี่ ดุ ในการที่ จะพัฒนาประเทศให้มีความเจริญก้าวหน้า ดังน้ันในการท่ี จะพัฒนาหรือสร้างสรรค์ให้ประเทศไทยมีความเจริญก้าว ไปสู่เป้าหมายสูงสุดจึงจ�ำเป็นต้องมีการพัฒนาคุณภาพของ คนไทยเป็นอันดับแรก ซ่ึงการพัฒนาคุณภาพของคนไทย จ�ำเป็นอย่างยิ่งที่องค์กรท้ังภาครัฐบาลและภาคเอกชนจะ ต้องร่วมมือกันอย่างจริงจัง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนา เยาวชนไทย ซงึ่ เปน็ อนาคตของชาตอิ นั เปน็ เปา้ หมายหลกั ใน การพัฒนาให้มีคุณภาพและเป็นทรัพยากรทม่ี ีประสิทธิภาพ โดยให้การศึกษาแก่เยาวชนไทยอย่างแท้จริง ซ่ึงสอดคล้อง กับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ท่ีมีเจตนารมณ์ในการจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนา คนไทยเปน็ มนษุ ยท์ ส่ี มบรู ณท์ งั้ ทางรา่ งกาย จติ ใจ สตปิ ญั ญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการ ด�ำรงชวี ิต สามารถอยูก่ บั ผู้อ่ืนได้อย่างมคี วามสขุ รู้จกั รักษา ผลประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติ รวมท้ังส่งเสริม ศาสนา ศิลปวฒั นธรรมของชาติ การกฬี า ภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ ภูมิปัญญาไทย และความรู้อันเป็นสากล (ส�ำนักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาแห่งชาติ. 2554 หนา้ 3-4)
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 15 “คน” จากรายละเอยี ดดงั กลา่ วแสดงใหเ้ หน็ วา่ เปน็ ศนู ยก์ ลางในการพฒั นาและสรา้ งสรรคป์ ระเทศชาตเิ ปน็ ฐาน ทส่ี ำ� คญั ทส่ี ดุ ทสี่ ร้างความเป็นอนั หน่ึงอนั เดยี วกนั ก่อให้เกดิ การร่วมคิด รว่ มทำ� ร่วมแรง ร่วมใจ นำ� ไปสู่ความสามคั คใี นกลุ่ม ประเทศอาเซยี น (สรุ นิ ทร์ พศิ สวุ รรณ. 2556 หนา้ 1) ในปจั จบุ นั ความสมบรู ณท์ างรา่ งกายและจติ ใจเขา้ มามบี ทบาทสำ� คญั ใน การพฒั นาคนโดยใชก้ ารออกกำ� ลงั กายหรอื การเลน่ กฬี าบนพน้ื ฐานหลกั วทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี า เพอ่ื พฒั นาสมรรถภาพทางกาย และสมรรถภาพทางจติ ซงึ่ สมรรถภาพทางกายเปน็ พน้ื ฐานสำ� คญั ทจี่ ะชว่ ยสนบั สนนุ การปฏบิ ตั ทิ กั ษะกฬี าและการเคลอื่ นไหว เปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ทง้ั ยงั เปน็ พ้นื ฐานส�ำคัญทช่ี ว่ ยรองรบั การพฒั นาทกั ษะกฬี าท่ตี อ้ งใชค้ วามแข็งแรง ความเรว็ และ ความคล่องแคล่ววอ่ งไวใหก้ า้ วหน้าควบคู่กนั ไป ดงั นั้น สมรรถภาพทางกาย (Physical Fitness) คอื ความสามารถในการใช้ รา่ งกายแสดงออก ซงึ่ ความสามารถทางการกฬี าไดอ้ ยา่ งเหมาะสมหรอื ดที ส่ี ดุ โดยมอี งคป์ ระกอบพนื้ ฐานทสี่ ำ� คญั 5 ประการ (Thomson. 1991) คอื ความแขง็ แรง (Strength) ความอดทน (Endurance) ความเรว็ (Speed) ความออ่ นตวั (Flexibility) และความสมั พันธใ์ นการเคล่อื นไหว (Coordination) ด้วยเหตนุ ้กี ิจกรรมแตล่ ะรูปแบบทีน่ ำ� มาใชฝ้ ึกสมรรถภาพต้องมงุ่ ไปสู่ การพัฒนาความสัมพันธ์ของความสามารถทางกลไกการเคล่ือนไหว และองค์ประกอบของสมรรถภาพท่ีสัมพันธ์กับทักษะ แต่ละดา้ นเพ่ือพฒั นาทกั ษะและความสามารถทางกีฬา ปัจจุบันมวยไทยกลายเป็นกีฬาอาชีพท่ีนิยมกันอย่าง จะเห็นได้ว่าในปัจจุบันน้ีมวยไทยได้รับความนิยมอย่างแพร่ แพร่หลาย ช่วยในการพัฒนาทางด้านร่างกาย สติปัญญา หลายไปท่ัวโลกและเกิดองค์กรต่างๆ ด้านมวยไทยมากมาย อารมณ์ สงั คม และจติ ใจ ชว่ ยแกป้ ญั หาทางสงั คม ปญั หาวยั รนุ่ ท้ังภาครัฐและเอกชน ในการพัฒนาบุคลากร ผู้ฝึกสอน ตลอดทงั้ ปญั หาการวา่ งงานไดอ้ กี ดว้ ย มวยไทยจงึ มคี วามสำ� คญั ผู้ตัดสิน ครูมวยไทยและพัฒนาหลักสูตรศิลปะมวยไทยของ ต่อคนไทย ต่อชาติไทย ท�ำให้ประเทศชาติเกิดความม่ันคง กรมพลศกึ ษา ใหค้ ำ� ปรกึ ษา แนะนำ� การดำ� เนนิ งานดา้ นการ และกา้ วหนา้ โดยกลมุ่ อนรุ กั ษศ์ ลิ ปะมวยไทย กรมพลศกึ ษา อนรุ กั ษศ์ ลิ ปะมวยไทย มวยไทยจงึ เปน็ กจิ กรรมเสรมิ สรา้ งความ กระทรวงการทอ่ งเทยี่ วและกฬี า มบี ทบาทและหนา้ ทห่ี ลกั ใน เขม้ แขง็ ทางโครงสรา้ งของสงั คมไทย ฝกึ ใหเ้ ดก็ และเยาวชนไทย การสง่ เสรมิ และอนรุ กั ษเ์ ผยแพรศ่ ลิ ปะมวยไทย ซงึ่ เปน็ ศลิ ปะ รรู้ กั สามคั คี ชว่ ยเหลอื เกอ้ื กลู กนั นำ� ไปสกู่ ารเสรมิ สรา้ งความ การตอ่ สปู้ ระจำ� ชาตไิ ทยไดเ้ ลง็ เหน็ ความสำ� คญั ของการพฒั นา เขม้ แขง็ ของคนในชาติ จงึ ควรมกี ารสนบั สนนุ และสง่ เสรมิ ใหม้ ี รูปแบบมวยไทยเพ่ือใช้ส�ำหรับการฝึกซ้อมและออกก�ำลัง การสบื ทอดวฒั นธรรมทางกฬี าใหค้ งอยสู่ บื ไป โดยการพฒั นา กาย รวมถึงการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านศิลปะมวยไทยแก่ กฬี ามวยไทย จดั การเรยี นการสอนมวยไทยใหเ้ ปน็ ระบบจน ประชาชนทง้ั ชาวไทยและชาวตา่ งชาติ ในปี พ.ศ. 2553 จงึ ได้ สามารถเผยแพรไ่ ปสเู่ ยาวชนไทยและเยาวชนทวั่ โลกไดท้ ว่ั ถงึ มีการจัดตั้งศูนย์อนุรักษ์ศิลปะมวยไทยแห่งชาติ ประตู 16 เพอื่ การมที ศั นคตทิ ดี่ ตี อ่ กฬี ามวยไทย รวมถงึ เปน็ ทนี่ ยิ มแพร่ สนามกฬี าแหง่ ชาติ ปทมุ วนั เพอื่ พฒั นามาตรฐานจดั กจิ กรรม หลายในหมชู่ าวไทยและชาวตา่ งประเทศ และการแขง่ ขนั ศลิ ปะมวยไทยทง้ั ในประเทศและตา่ งประเทศ จากการศกึ ษางานวจิ ยั ยอ้ นหลงั ไป 10 ปี ยงั ไมพ่ บงานวจิ ยั ทเี่ กย่ี วกบั การใชม้ วยไทยสำ� หรบั พฒั นาสมรรถภาพทางกาย อยา่ งชดั เจนสำ� หรบั เยาวชนหญงิ ดว้ ยเหตผุ ลดงั กลา่ ว ผวู้ จิ ยั จงึ มคี วามสนใจทจ่ี ะทำ� วจิ ยั เรอ่ื ง “การสรา้ งรปู แบบการฝกึ มวยไทย ทมี่ ผี ลตอ่ ความแขง็ แรงของกลา้ มเนอ้ื สำ� หรบั เยาวชนหญงิ ” เพอื่ เปน็ แนวทางสง่ เสรมิ ความแขง็ แรงของกลา้ มเนอ้ื ในสว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกายอยา่ งเหมาะสม จากปจั จบุ นั จะเหน็ ไดว้ า่ มวยไทยสมคั รเลน่ หรอื มวยไทยอาชพี ไดร้ บั ความนยิ มและแพรห่ ลายใน กลุม่ ของเพศชาย และเยาวชนชายมากกวา่ เพศหญิงและเยาวชนหญงิ จึงเป็นแรงบันดาลใจใหท้ ำ� งานวิจยั น้ีขนึ้ มา
16 การสรา้ งรูปแบบการฝึกมวยไทยท่มี ผี ลตอ่ ความแขง็ แรงของกลา้ มเน้ือส�ำ หรับเยาวชนหญงิ คำ�ถาม สมมตฐิ าน วตั ถปุ ระสงค์ ของการวิจัย ของการวจิ ยั ของการวิจยั การสร้างรูปแบบการฝึก เยาวชนหญิงที่ได้รับการ 1.เพื่อสร้างรูปแบบการฝึก มวยไทยทจ่ี ำ� เพาะเจาะจง ฝ ึ ก ม ว ย ไ ท ย ท่ี จ� ำ เ พ า ะ มวยไทยทมี่ ผี ลตอ่ ความแขง็ แรง ในผู้หญิงมีผลต่อความ เจาะจงมีความแข็งแรง ของกล้ามเน้ือส�ำหรับเยาวชน แข็งแรงของกล้ามเนื้อ ของกล้ามเน้ือมากกว่า หญงิ มากกว่าการฝึกมวยไทย เยาวชนหญิงท่ีได้รับการ 2. เพอ่ื ศกึ ษาและเปรยี บเทยี บ รูปแบบท่ัวไปจรงิ หรือไม่ ฝกึ มวยไทยแบบทว่ั ไป รูปแบบการฝึกมวยไทยที่ จ�ำแนกการฝึกตามโปรแกรม และฝกึ ตามผวู้ จิ ยั ใหค้ ำ� แนะนำ� ขอบเขตของการวจิ ัย 1. ประชากร ผเู้ รียนมวยไทยของกลุม่ อนรุ กั ษ์ศลิ ปะมวยไทย กรมพลศกึ ษา เพศหญงิ อายรุ ะหวา่ ง 15-25 ปี จ�ำนวน 200 คน โดยใช้การมีสว่ นรว่ มดงั นี้ 1) การมสี ่วนร่วมในการตดั สนิ ใจ (Decision-Making) 2) การมีส่วนร่วมในการปฏิบตั ิ การ (Implementation) ซงึ่ อาจเปน็ ไปในรปู แบบของการเข้าร่วมโครงการสนบั สนนุ ดา้ นทรพั ยากร 3) การมสี ว่ นรว่ มใน ผลประโยชน์ (Benefits) ไม่วาจะเป็นประโยชน์ทางด้านสงั คมหรือประโยชน์สว่ นบคุ คล 4) การมสี ว่ นร่วมในการประเมนิ ผล (Evaluation) ซง่ึ นบั เปน็ การควบคมุ และตรวจการดำ� เนนิ กจิ กรรมทง้ั หมด และเปน็ การแสดงถงึ การปรบั ตวั ในการมสี ว่ นรว่ ม ต่อไป โคเฮน และอพั ฮอฟ (Cohon & Uphoff, 1981) 2. กลุ่มตัวอยา่ ง ผู้เรยี นมวยไทยของกลมุ่ อนุรกั ษศ์ ลิ ปะมวยไทย กรมพลศกึ ษา จำ� นวน 50 คน เพศหญงิ โดยแบ่ง เป็นกลุ่มควบคมุ 25 คน และกลุ่มทดลอง 25 คน ซ่งึ มีอายุระหว่าง 15-25 ปี ไดม้ าจากการสุ่มอยา่ งงา่ ย (Simple Random Sampling) กล่มุ ควบคุม คอื กล่มุ ทไ่ี ดร้ ับการฝึกมวยไทยตามผูว้ ิจัยแนะนำ� กลุ่มทดลอง คือ กลุ่มทีใ่ ช้โปรแกรมการฝกึ มวยไทย (DPE Programe)
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 17 ข้อตกลงเบือ้ งตน้ 1. ผเู้ ขา้ ร่วมการทดลองสมคั รใจเข้ารว่ มการทดลอง 2. ผู้เข้าร่วมการทดลองได้รับค�ำขี้แจงขั้นตอนต่างๆ ของการด�ำเนินการวิจัย และการปฏิบัติตัวของ ผเู้ ข้าร่วมการทดลองโดยละเอียดและต้องลงช่ือในใบยินยอมของผูเ้ ข้ารว่ มในงานวจิ ัยกอ่ นเขา้ รว่ มการทดลอง 3. ในระยะเวลาการทดลอง 10 สปั ดาห์ ผ้เู ขา้ รว่ มการทดลองตามโปรแกรมสามารถด�ำเนินชีวิตประจำ� วัน ได้ตามปกติ 4. การฝึกตามรูปแบบ (DPE Program) ใชเ้ วลาไมน่ ้อยกวา่ 45-60 นาทตี อ่ วัน ซึง่ รวมการอบอุน่ ร่างกาย อยา่ งน้อย 5-10 นาที และคลายอ่นุ รา่ งกายอยา่ งนอ้ ย 5-10 นาที รวมระยะเวลาทั้งสน้ิ 10 สัปดาห์ สปั ดาหล์ ะ ไมน่ อ้ ยกวา่ 3 วัน ข้อจำ�กัดของการวจิ ัย ผวู้ จิ ยั ไมส่ ามารถกำ�หนดหรือควบคมุ เรื่องอาหารในแต่ละมื้อของผูเ้ ขา้ รว่ มทดลอง และไม่สามารถกำ�หนดกิจกรรม ในการดำ�เนนิ ชวี ติ ประจำ�วนั รวมถึงการพักผ่อนของผ้เู ข้ารับการทดสอบได้
18 การสรา้ งรูปแบบการฝึกมวยไทยทมี่ ีผลต่อความแขง็ แรงของกล้ามเนื้อสำ�หรับเยาวชนหญิง คำ�จำ�กัดความท่ใี ช้ในงานวจิ ัย 1. รูปแบบ คือ สิง่ ที่แสดงโครงสรา้ งของความเก่ียวข้องระหว่างชดุ ของปจั จยั หรอื ตวั แปรต่างๆ หรอื องคป์ ระกอบท่ี สำ� คญั ในเชงิ ความสมั พนั ธห์ รอื เหตผุ ลซงึ่ กนั และกนั เพอ่ื ชว่ ยเขา้ ใจขอ้ เทจ็ จรงิ หรอื ปรากฏการณใ์ นเรอ่ื งใดเรอื่ งหนง่ึ โดยเฉพาะ 2. มวยไทย คือ ศิลปะการต่อสู้ประจ�ำชาติไทยที่มีประวัติศาสตร์ความเป็นมาอันยาวนาน นับว่าเป็นมรดกอันทรง คณุ คา่ ที่สืบทอดมาถงึ สมัยปจั จุบัน เนน้ การใช้หมดั เทา้ เข่า ศอก เปน็ อาวธุ กระบวนทา่ ตา่ งๆ ทีม่ ุง่ เนน้ ไหวพรบิ ความวอ่ งไว ความหนกั หนว่ ง และความแข็งแรงเปน็ หลกั 3. ความแข็งแรง คือ ความสามารถของร่างกายหรือส่วนของร่างกายท่ีจะท�ำงาน ซ่ึงเกิดจากการรวมของปัจจัย 3 ประการ คอื แรงทีเ่ กิดจากการหดตัวของกล้ามเนื้อกลุม่ ทต่ี ้องการใหท้ �ำงาน (Agonists), ความสามารถของกล้ามเนอื้ กลุม่ ตรงข้าม (Antagonists), อัตราส่วนทางกลไก (Mechanics) ของการจดั ระบบคาน (กระดกู ) ท่ีเกี่ยวขอ้ ง ซง่ึ ขน้ึ อยกู่ ับมุมใน การดึงของกล้ามเนื้อและความยาวเปรียบเทียบระหว่างแขนของแรงต้านทานกับแขนของแรงพยายามของระบบของคาน ซงึ่ อาจเปลย่ี นแปลงไดโ้ ดยการเปลยี่ นทา่ ทางหรอื จดั ทา่ ทางของรา่ งกายแตล่ ะสว่ น ใหก้ ลา้ มเนอ้ื หดตวั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ สงู สุด 4. เยาวชน คือ คนในวัยหนุ่มสาว คือ ผู้มีอายุระหวา่ ง 15-25 ปี หรอื เปน็ ช่วงวยั หน่มุ สาว เป็นชว่ งหวั เลย้ี วหัวต่อ ระหวา่ งการเป็นเดก็ และผ้ใู หญ่ เปน็ ชว่ งท่กี ังวลเกี่ยวกับรปู ลักษณแ์ ละสิ่งรอบตัวมากเปน็ พเิ ศษ 5. มวยไทยที่จ�ำเพาะเจาะจง คือ โปรแกรมท่ีใช้ส�ำหรับการฝึกมวยไทยที่จัดท�ำขึ้นเพ่ืองานวิจัยในโครงการ (DPE Program)
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 19 ประโยชน์ทีไ่ ด้รับจากงานวจิ ัย 1. ดา้ นวชิ าการ ไดแ้ ก่ น�ำผลการศึกษารูปแบบการฝึกมวยไทยเพื่อเพ่มิ ความแขง็ แรงของกล้ามเนอื้ ในกลุม่ ผูห้ ญงิ ไป ประยกุ ต์ใช้การฝกึ แมไ่ มม้ วยไทยในเรื่องของการใช้ หมัด เท้า เขา่ ศอก ท่ถี กู ตอ้ งตามลกั ษณะ แรง กำ� ลัง มมุ และทศิ ทางของ การออกอาวุธมวยไทยเพือ่ การสรา้ งประสทิ ธิภาพในการฝกึ มวยไทยส�ำหรบั ผ้หู ญงิ เสนอผลการศกึ ษาให้กับนักวิทยาศาสตร์ การกฬี า เพอ่ื นำ� ไปประยกุ ตใ์ ชร้ ว่ มกบั หลกั ทางวทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี าอน่ื เชน่ หลกั สรรี วทิ ยา หลกั ชวี กลศาสตร์ หลกั เทคโนโลยี การกีฬา เป็นต้น เพื่อสร้างกลยทุ ธ์ และมาตรฐานการฝึก นักมวยไทยผหู้ ญิงที่ใช้หลกั วิทยาศาสตรก์ ารกีฬาอยา่ งครบวงจร เพ่ือพัฒนาพ้ืนฐานนักกีฬามวยไทยสู่ความเป็นเลิศ และส่งเสริมผู้ต้องการใช้กีฬามวยไทยเพื่อออกก�ำลังกายอย่างถูกวิธี โดยเฉพาะในกลมุ่ ผู้หญงิ ทงั้ ภายในประเทศและตา่ งประเทศ 2. ท�ำให้ทราบผลวิเคราะห์ความแข็งแรงกล้ามเน้ือหลักท่ีใช้ในการฝึกหัดมวยพื้นฐาน หมัด เท้า เข่า ศอก ในกลุ่ม ควบคุมและกลุ่มทดลองผู้หญิงว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร สามารถน�ำผลที่ได้ไปใช้ในการวางโปรแกรมในการฝึกความ แข็งแรงของกล้ามเน้ือในแต่ละท่าได้อย่างถูกต้อง โดยใช้วิธีและกระบวนการท่ีได้จากการวิจัยหรืออาจจะใช้น้�ำหนักร่วม ในแต่ละลกั ษณะของมวยไทยขนั้ พื้นฐาน 3. ได้นักวิจัยรนุ่ ใหมท่ ่มี ีองคค์ วามรู้ด้านมวยไทยและสามารถวจิ ัยและพัฒนาตอ่ ยอดดา้ นมวยไทยเพม่ิ มากขน้ึ 4. หน่วยงานทน่ี �ำไปใช้ประโยชนใ์ นสถานศึกษาทงั้ ระดบั ประถมศกึ ษา มัธยมศึกษา อุดมศกึ ษา ฯลฯ 5. เผยแพร่องค์ความรูแ้ กก่ ระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกฬี าและกระทรวงอ่นื ๆ ทเี่ กย่ี วข้อง สถาบนั การสอนมวยไทย ตา่ งๆ ทงั้ ในประเทศและตา่ งประเทศ
บทที่ 2 เอกสาร และงานวิจยั ที่เก่ยี วขอ้ ง
22 การสรา้ งรูปแบบการฝกึ มวยไทยที่มีผลตอ่ ความแขง็ แรงของกล้ามเนอ้ื สำ�หรับเยาวชนหญิง เอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วข้อง ในการวจิ ยั ครง้ั น้ี ผวู้ จิ ยั ไดศ้ กึ ษา คน้ ควา้ รวบรวมเอกสาร บทความ และตำ� ราวชิ าการทม่ี รี ายละเอยี ด ของเน้อื หาที่เก่ียวข้อง และนำ� มาเรียบเรยี งไว้ดังหวั ข้อต่อไปน้ี 1. มวยไทยและหลักพ้ืนฐานในการฝึกทักษะ 3. นโยบายและยทุ ธศาสตรเ์ กยี่ วกบั สขุ ภาวะของคน มวยไทย 3.1 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 1.1 ประวตั แิ ละความสำ� คญั กฬี ามวยไทย ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560–2564) 1.2 พัฒนาการของศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว 3.2 ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2560–2579) 3.3 นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ มวยไทย ฉบับท่ี 9 (พ.ศ. 2560–2564 ) 1.3 มวยไทยและหลักพื้นฐานในการฝึกทักษะ 3.4 แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 6 แม่ไมม้ วยไทย (พ.ศ. 2560–2564) 1.4 ประโยชน์ของกีฬามวยไทย 3.5 ยุทธศาสตร์กรมพลศึกษา ระยะ 5 ปี 1.5 การฝึกซอ้ มกฬี ามวยไทย (พ.ศ. 2560–2564) 2. การเสริมสร้างกล้ามเนื้อและการฝึกความ 4. งานวจิ ยั ทเ่ี กีย่ วข้อง แข็งแรงของกลา้ มเนอ้ื 4.1 งานวจิ ยั ในประเทศ 2.1 ความหมายของความแขง็ แรงของกลา้ มเนอื้ 4.2 งานวิจยั ตา่ งประเทศ 2.2 ความแข็งแรงของกล้ามเนอ้ื 2.3 ความสาํ คญั และกลไกการทำ� งานของกลา มเนอื้
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 23 1. มวยไทยและหลกั พื้นฐานในการฝึกทักษะ 1.1 ประวตั แิ ละความสำ�คัญกีฬามวยไทย มวยไทย เป็นศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวที่สามารถ นำ� ไปใชไ้ ดท้ ง้ั เชงิ กฬี าและเชงิ การตอ่ สจู้ รงิ ๆ การตอ่ สปู้ ระเภทนี้ มีมาแต่โบราณกาล บรรพบุรุษของชาติไทยได้ฝึกฝนอบรม สั่งสอนกุลบุตรไว้เพ่ือป้องกันตัวและปกป้องชาติ บรรดา ชายฉกรรจข์ องไทยไดร้ บั การฝกึ ฝนวชิ ามวยไทยแทบทกุ คน นักรบผู้ช�ำนาญการรบทุกคนต้องได้รับการฝึกฝนอบรม การตอ่ สปู้ ระเภทนอี้ ยา่ งชดั เจนทง้ั สน้ิ เพราะการใชอ้ าวธุ รบ ในสมัยโบราณ เชน่ กระบ่ี พลอง ดาบ งา้ ว ทวน ฯลฯ ถา้ มี ความรวู้ ชิ ามวยไทยประกอบดว้ ยแลว้ จะทำ� ใหเ้ กดิ ประโยชน์ มากทสี่ ดุ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในยามทเี่ ขา้ ตอ่ สตู้ ดิ พนั ประชดิ ตัวจะอาศัยใช้อวัยวะบางส่วนเข้าช่วย เช่น เข่า เท้า ศอก เป็นต้น แต่เดิมมาศิลปะมวยไทยชั้นสูงมักจะฝึกสอนกัน ในบรรดาเจา้ นายชน้ั ผใู้ หญ่ หรอื เฉพาะพระมหากษตั รยิ แ์ ละ ขุนนางฝ่ายทหารเท่านั้น ต่อมาได้แพร่หลายไปถึงสามัญ ซงึ่ ไดร้ บั การถา่ ยทอดวทิ ยาการจากบรรดาอาจารย์ ซง่ึ เดมิ เปน็ ยอดขนุ พล หรอื ยอดนกั รบมาแลว้ วทิ ยาการจงึ ไดแ้ พรห่ ลาย และคงอยตู่ ราบเทา่ ทุกวนั น้ี (จรวย แก่นวงษ์คา, 2530) ดังนั้น ความส�ำคัญของมวยไทยจึงนับได้ว่าเป็น มรดกอันล�้ำค่าท่ีอยู่คู่กับชนชาติไทยมานับแต่อดีตกาล ที่บรรพบุรุษของเราได้รังสรรค์ไว้เป็นศิลปะการป้องกันตัว ใชป้ อ้ งกนั บา้ นเมอื งจากขา้ ศกึ ผมู้ ารกุ ราน จนทำ� ใหช้ าตไิ ทย อยยู่ ง้ั ยนื ยง คงความเป็นเอกราชนับเนือ่ งถงึ ปัจจบุ นั
24 การสรา้ งรูปแบบการฝกึ มวยไทยทมี่ ีผลต่อความแขง็ แรงของกล้ามเนือ้ สำ�หรบั เยาวชนหญงิ 1.2 พฒั นาการของศลิ ปะการต่อส้ปู ้องกนั ตัวมวยไทย 1. สมยั กรงุ สโุ ขทยั (พ.ศ. 1781-1921) ในสมยั สโุ ขทยั น้ี การตอ่ สมู้ อื เปลา่ ดว้ ยวชิ ามวยไทยมใี ชอ้ ยใู่ นการตอ่ สกู้ บั ขา้ ศกึ และเปน็ การใชร้ ว่ มกับอาวธุ ชนดิ ต่างๆ สถานท่ที ่เี ปน็ ส�ำนกั ฝกึ สอนวิชามวยไทยในสมัยน้ี ไดแ้ ก่ วัด บ้าน ส�ำนักราชบณั ฑติ ที่เปดิ สอนวชิ าการตอ่ สู้ปอ้ งกันตวั รวมอยู่ดว้ ย 2. สมยั กรุงศรอี ยุธยา (พ.ศ. 1893-2310) สมยั นี้การถา่ ยทอดวชิ าการต่างๆ มาจากสมยั สโุ ขทัยอยา่ งตอ่ เน่ือง เชน่ การฆ่าสัตว์ การคลอ้ งชา้ ง การฟ้อนร�ำ และการละเลน่ ตา่ งๆ และวดั ก็คงเป็นสถานท่ีใหค้ วามรทู้ ้งั วิชาสามญั และฝกึ ความ ช�ำนาญในเชิงดาบ กระบกี่ ระบอง กรชิ มวยไทย ยิงธนู เป็นต้น พ.ศ. 2174-2233 สมัยสมเด็จพระนารายณม์ หาราช นับว่า เจริญท่ีสุด มีนายขนมต้มที่ได้สร้างประวัติศาสตร์มวยไทยสืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน นายขนมต้มจึงเป็นนักมวยเอกคนแรก ของไทยท่ีไดป้ ระกาศฝีไมล้ ายมอื มวยไทยในตา่ งแดน และยงั เปรียบเสมอื นกบั เป็นบดิ าวชิ ามวยไทยมาจนเท่าทุกวนั นี้ 3. สมัยกรุงธนบรุ ี (พ.ศ. 2314) พมา่ ยกทพั มาตเี มืองเชยี งใหม่ และมาตีเมืองพิชัย พระยาพชิ ยั ดาบหกั (นายทองดี ฟันขาว) ซ่งึ พระเจ้ากรงุ ธนบุรี (พระเจ้าตากสิน) ไดโ้ ปรดให้ครองเมืองพชิ ยั อย่นู ้ันไดน้ �ำทพั ออกต่อส้กู บั พม่าจนดาบหกั แต่ก็ สามารถปอ้ งกนั เมอื งพชิ ยั เอาไวไ้ ด้ ประชาชนทว่ั ไปจงึ เรยี กวา่ พระพชิ ยั ดาบหกั ตงั้ แตน่ นั้ มา ซงึ่ ตอ่ มาพระเจา้ ธนบรุ จี งึ ไดแ้ ตง่ ตง้ั นายทองดไี ปครองเมอื งพชิ ยั และมคี วามชอบไดเ้ ปน็ ถงึ พระยาพชิ ยั ในเวลาตอ่ มาแมก้ ระทง่ั ในตระกลู ของพระยาพชิ ยั ดาบหกั เมอ่ื รบั ราชการมาจนถงึ รัชกาลที่ 6 ก็ไดร้ ับพระราชทานนามสกลุ วา่ วชิ ยั ขัทคะ แปลว่า ดาบวิเศษของพระยาพชิ ยั 4. สมัยกรุงรตั นโกสินทร์ พ.ศ. 2325 ในระยะต้น รชั กาลที่ 1-5 แหง่ กรงุ รตั นโกสินทร์ กษัตรยิ ์ไทยทีท่ รงโปรดการ กฬี ามาก เช่น สมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลก ทรงโปรดกีฬามวยไทยอย่างต่อเนอ่ื ง ในสมัยน้ไี ดม้ ีฝรง่ั สองคนพี่นอ้ งเข้ามา หาคชู่ กมวยชนดิ มเี ดมิ พนั พระองคไ์ ดจ้ ดั สง่ หมนื่ ผลาญ นกั มวยผเู้ กง่ กาจขน้ึ ชกกบั ฝรงั่ สองพน่ี อ้ ง แมห้ มนื่ ผลาญจะมรี า่ งกาย เล็กเสียเปรียบฝร่งั มาก แต่ด้วยศลิ ปะมวยไทย อาวธุ หมัด เทา้ เข่า ศอก ฝรั่งสองพี่น้องจึงพา่ ยแพย้ ับเยนิ กลับไป สมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดให้พระเจ้าลูกยาเธอหลายพระองค์หัดเล่นกระบี่กระบอง พระองค์มีความช�ำนาญในกีฬา มวยไทยจงึ จดั ใหม้ กี ารแขง่ ขนั ชกมวยขน้ึ ในชนบทและในกรงุ นอกจากนไ้ี ดท้ รงแตง่ ตง้ั ผมู้ ฝี มี อื ในกฬี ามวยไทยใหเ้ ปน็ หวั หนา้ ในการจดั กีฬาและให้ยศต�ำแหนง่ ดว้ ย 5. ในสมัยรชั กาลท่ี 6 แม้เกิดสงครามโลกคร้งั ที่ 1 พ.ศ. 2463 แต่ก็ไดเ้ กดิ สนามมวยขน้ึ คร้ังแรก ระบุวา่ ได้มีสนามมวย สวนกหุ ลาบเกดิ ขน้ึ ในปี พ.ศ. 2463 คอื สนามมวยสวนกหุ ลาบ จดั ใหม้ กี ารชกมวยไทยเปน็ ประจ�ำ เมอ่ื แรกเรมิ่ นนั้ ใหน้ กั มวย ชกกนั บนพื้นดิน ผูด้ นู ัง่ และยืนอยรู่ อบบรเิ วณสงั เวียนซง่ึ กวา้ งกว่า 20 เมตร มีการขดี เสน้ กำ� หนดใหน้ ัง่ หา้ มล้ำ� เขา้ ไปในเขต สงั เวยี น นกั มวยคาดเชอื กทพ่ี นั มอื ดว้ ยดา้ ยดบิ สวมมงคล แมข้ ณะชกกต็ อ้ งสวมอยู่ มผี า้ ประเจยี ดมดั ไวท้ ต่ี น้ แขนซา้ ยและขวา สวมกางเกงขาส้ันมีผ้าพาดทับอย่างแน่นหนาตรงบริเวณอวัยวะส�ำคัญปกคลุมมาจนถึงด้านบนตรงเอว ไม่สวมเส้ือและ ปลายเทา้ เปลอื ยเปลา่ กรรมการแตง่ กายดว้ ยผา้ มว่ ง นงุ่ โจงกระเบนสวมถงุ เทา้ ขาวเสอ้ื ราชประแตน (สำ� นกั งานคณะกรรมการ วัฒนธรรมแห่งชาต,ิ 2540) 6. ในสมัยปัจจบุ ัน ได้ทำ� การแขง่ ขัน ณ เวทรี าชดำ� เนนิ และเวทีลุมพินีเปน็ ประจำ� และยังมีเวทมี วยทเ่ี ปดิ การแข่งขัน ถาวรและชวั่ คราวท้ังในกรุงเทพฯ และตา่ งจงั หวัดอกี มากมาย ปจั จุบนั มีพระราชบญั ญัตกิ ีฬามวย พ.ศ. 2542 มสี ำ� นกั งาน คณะกรรมการกฬี ามวย ของการกฬี าแหง่ ประเทศไทย ทไี่ ดจ้ ดั ตง้ั ขนึ้ ตาม พ.ร.บ.นใ้ี หม้ หี นา้ ทส่ี ง่ เสรมิ คมุ้ ครอง สนบั สนนุ และ ควบคมุ กจิ การมวยในประเทศไทยใหเ้ ปน็ ไปตามบทบญั ญตั แิ หง่ กฎหมาย ซง่ึ นบั วา่ เปน็ กฎหมายฉบบั แรกของวงการมวยเมอื งไทย (จรวย แกน่ วงษค์ า, 2530) กีฬามวยไทยได้รบั ความสนใจจากคนไทยท่ัวไป รวมท้ังชาวตา่ งชาติจำ� นวนมาก ปัจจบุ ันมกี าร แขง่ ขนั มวยไทยกนั ทกุ วนั แมจ้ ะตอ้ งเสยี เงนิ คา่ เขา้ ชมการแขง่ ขนั ทมี่ รี าคาสงู กวา่ กฬี าชนดิ อน่ื กต็ าม จนในขณะนกี้ ฬี ามวยไทย ได้เปลี่ยนเป็นธุรกิจอย่างหนึ่งที่ท�ำรายได้ให้แก่คนกลุ่มหนึ่ง ท�ำให้คนสนใจฝึกหัดมวยไทยกันอย่างจริงจัง เพื่อเป็นอาชีพ ของตนเอง มรี ายไดพ้ อเลยี้ งชพี ไดอ้ ย่างหนงึ่ โดยเงนิ จากการแขง่ ขนั เปน็ รางวลั ตอบแทน (การกฬี าแห่งประเทศไทย, 2548)
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 25 กีฬามวยไทย น้ันเป็นท่ียอมรับกันว่าเป็นศิลปะ การต่อสู้ป้องกันตัว โดยใช้อวัยวะต่างๆ ของร่างกาย เช่น หมัด เท้า เข่า ศอก (จรัสเดช อุลติ , 2527) ดงั น้ันในการตอ่ สู้ นักกีฬามวยไทยจึงจำ� เป็นตอ้ งรู้จกั หลกั การต่างๆ ของการใช้ อวัยวะ ปจั จบุ นั การใชอ้ วยั วะของนกั กฬี ามวยไทยนนั้ นกั กฬี า คนใดมีความถนัดอวัยวะอย่างใดมักจะใช้แต่อย่างน้ันตลอด เวลาในขณะท่ีท�ำการต่อสู้ อันท่ีจริงเรื่องของการใช้อวัยวะ น้ันควรจะใช้อวัยวะทุกส่วนในการต่อสู้ เพราะอวัยวะแต่ละ สว่ นมคี วามสัมพนั ธ์กันในตัวอยแู่ ลว้ หรอื กลา่ วง่ายๆ ว่า การ ใช้อวัยวะกีฬามวยไทยน้ันจะต้องมีความกลมกลืนกันไป ระหว่างอวัยวะท้ัง 4 ชนิด จะใช้อย่างหน่ึงอย่างใดนั้นไม่ดี ถา้ จะใชอ้ ยา่ งเดยี วกไ็ ดแ้ ตค่ งไมเ่ กดิ ประโยชนเ์ ทา่ ทค่ี วร อวยั วะ ทงั้ 4ชนดิ นเี้ ปน็ อวยั วะในการตอ่ สู้หรอื โดยทว่ั ไปเรยี กกนั วา่ เปน็ “แม่ไม้มวยไทย” ได้แก่ แม่ไม้หมัด แม่ไม้เท้า แม่ไม้เข่า แมไ่ มศ้ อก นอกจากนแี้ ลว้ แมไ่ มย้ งั แตกออกเปน็ แตล่ ะอยา่ งอกี หลายชนดิ เราเรยี กวา่ “ลกู ไม”้ การใชน้ นั้ เราตอ้ งปรบั ไปตาม สถานการณ์ ทั้งขึ้นอยู่กับการฝึกเป็นส่วนส�ำคัญ นอกจากน้ี ครผู ฝู้ กึ กม็ สี ว่ นแกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ งตา่ งๆ ดว้ ย “ พ.ศ. 2463 ไดเ้ กดิ สนามมวยขน้ึ ครง้ั แรก คอื สนามมวยสวนกหุ ลาบ “
26 การสรา้ งรูปแบบการฝกึ มวยไทยท่ีมีผลต่อความแข็งแรงของกล้ามเนอ้ื ส�ำ หรับเยาวชนหญิง 1.3 มวยไทยและหลกั พื้นฐานในการฝึกทกั ษะแม่ไม้มวยไทย (มวยไทยขน้ั พื้นฐาน, 2560) มวยไทย คือศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวโดยใช้อวัยวะในร่างกาย ได้แก่ หมัด, เท้า, เข่า, ศอกเป็นอาวุธ ซงึ่ มวยไทยเปน็ มรดกภมู ปิ ญั ญาของบรรพบรุ ษุ ไทยทมี่ คี ณุ คา่ ตอ่ ชมุ ชน ตอ่ ประเทศชาติ และตอ่ คนทงั้ โลก นอกจากนน้ั มวยไทยยงั มปี ระโยชน์ดงั น้ี 1. รา่ งกาย 2. จติ ใจ 3. อารมณ์ 4. สงั คม 5. สติปัญญา ในการฝกึ มวยไทยจำ� เปน็ ตอ้ งมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจหลกั พนื้ ฐานกอ่ น เพราะเปน็ ทกั ษะเบอ้ื งตน้ ในการเรยี น แม่ไมม้ วยไทยและกลมวย เพ่ือนำ� ไปสูก่ ารมีทักษะในขน้ั สูงตอ่ ไป ซง่ึ มีหลกั พ้นื ฐานดงั น้ี หมดั ตรง หมายถงึ การชกหมดั ออกไปจากไหลใ่ ห้เป็นแนววิถีทางตรงไปส่เู ปา้ หมาย หมดั งัด หมายถงึ เรม่ิ ตน้ จากท่าจรดมวยขวา แลว้ ย่อตวั ลง เทา้ แยกห่าง ย่อเข่าซา้ ยลง พรอ้ มกบั ลดหมดั ซา้ ยลงและหงายหมดั ขน้ึ แลว้ บดิ ลำ� ตวั ไปทางขวาของตนเองพรอ้ มกบั ดงึ กระตกุ หมดั ซา้ ยขน้ึ ตรง หมดั เสย หมายถงึ ชกหมัดในระยะประชิดตวั ทศิ ทางการเคลื่อนทีจ่ ากล่างข้นึ บน หมัดตวดั หหมมดาั ยอถองึก ไกปาเรปช็นกวหิถมที ดั าโงดโยคกง้ าอรางจอคแวลำ่�ะเหกรรอืง็ ขตอ้ัง้ หศอมกัดไกวไ็ ใ้ดห้ ้ หมดั ตรง หมัดงัด หมดั ตวัด หมัดเสย
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 27 ศอกตัด ศอกกลบั ศอกต ี หมายถึง การพบั ขอ้ ศอกตีเฉียงลงกระทบเปา้ หมาย สามารถตไี ดท้ ง้ั ซา้ ยและขวา ศอกตัด หมายถึง การพบั ข้อศอกข้นึ ตีศอก ทิศทางขนานกบั พ้นื ศอกงดั หมายถึง ศอกทีเ่ ราใชต้ ีเสยขึ้นหรืองัดขน้ึ เปา้ หมายทปี่ ลายคาง คิ้วและใบหน้า ศอกกลบั หมายถึง การหมนุ ตัวตีศอกทางดา้ นหลัง ศอกตี ศอกงดั
28 การสร้างรปู แบบการฝึกมวยไทยท่ีมผี ลต่อความแขง็ แรงของกลา้ มเน้อื ส�ำ หรบั เยาวชนหญิง เข่าเฉยี ง หมายถงึ การตเี ขา่ ขน้ึ เฉียงทำ�มมุ กับลำ�ตัวคตู่ ่อสู้ เปา้ หมายบริเวณชายโครง เข่าโค้ง จหามกาบยนถงึล งเปปะน็ ทเขะา่ เทปผ่ีา้ หใู้ ชมจ้ าะยตใอ้ หงป้บลดิ าสยะเโทพา้ กเคหวยำ่�ยี ลดงเใปหน็ ท้ เศิสทน้ าตงรขงอกงบั เขขา่าลแอลยะเโขคา่ง้ เข่าตรง หมายถงึ เขา่ ที่เคล่อื นท่ีจากจุดเรม่ิ ไปกระทบเป้าหมายแนววถิ ที างตรงดง่ิ เขา่ ลอย หมายถึง การตีเข่าขน้ึ ไปตรงๆ โดยการกระโดดตวั ลอยพ้นจากพ้ืน เข่าเฉียง เขา่ ตรง เขา่ โคง้ เข่าลอย
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 29 เตะตรง หมายถงึ การเตะให้วิถที างข้ึนตรงจากพื้นสู่เปา้ หมาย เตะตดั หมายถงึ การเตะทีม่ ีวถิ ีทางโคง้ ขึ้นเลก็ นอ้ ยแลว้ ตัดขนานกบั ไปกับพ้นื เตะเฉยี ง หมายถึง การเตะเฉยี งจากพืน้ สูเ่ ป้าหมายบรเิ วณชายโครง ลำ�ตัวหรือปลายคางคตู่ อ่ สู้ เตะตวัด หมายถึง การเตะเหวยี่ งแล้วตวดั เทา้ ให้สน้ เทา้ ปะทะเปา้ หมาย เตะตรง เตะตดั เตะเฉยี ง เตะตวัด
30 การสรา้ งรูปแบบการฝึกมวยไทยทม่ี ีผลตอ่ ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อสำ�หรับเยาวชนหญงิ 1.4 ประโยชนข์ องกีฬามวยไทย สำ�นักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (2540) กลา่ วถึงประโยชน์ของกฬี ามวยไทยไวด้ งั น้ี 1) กีฬามวยไทยช่วยพัฒนาการทางกาย ช่วยท�ำให้ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ มี สมรรถภาพในการท�ำงานสูง ช่วยท�ำให้ทรวดทรงดี มีบุคลิกภาพที่ เหมาะสมในการเปน็ ผูน้ ำ� 4) กฬี ามวยไทยชว่ ยพฒั นาทางจติ ใจ กลา่ ว 5) กีฬามวยไทยช่วยให้เกิดสวัสดิภาพแก่ คือ เน่ืองจากกีฬามวยไทยเป็นศิลปกรรม ดังน้ัน ตนเองและผู้อ่ืน ตลอดจนใช้ในสังคมเนื่องจาก ขบวนการของกฬี ามวยไทยจงึ มอี ทิ ธพิ ลอยา่ งหนง่ึ กีฬามวยไทยเป็นศิลปะป้องกันตัว ให้บุคคล คือพิธีการไหว้ครู และพิธีข้ึนครู เป็นการยอมรับ สามารถป้องกันอันตรายท่ีจะเกิดข้ึนแก่ชีวิตและ นับถือผู้ประสาทวิชาทางการมวยไทย ให้การฝึก ทรพั ย์สนิ ได้ เพิ่มความเชอื่ มนั่ ให้แก่ตนเองเม่ืออยู่ ของนักมวยตอ้ งมีครู ไม่วา่ จะเป็นครูโดยตรงหรอื ในสังคมได้ ท�ำให้สังคมนั้นมีความเจริญก้าวหน้า ท่ีลักจ�ำ คือโดยการสังเกตจดจ�ำไม้มวยจากผู้อ่ืน มีสวัสดภิ าพและมคี วามมัน่ คง ก็ตาม
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 31 2) กฬี ามวยไทยชว่ ยพฒั นาการทางอารมณ์ 3) กีฬามวยไทยช่วยพัฒนาทางด้านสังคม การออกก�ำลังกาย การฝึกซ้อม การแข่งขันและ กล่าวคือ กีฬามวยไทยถือเป็นศิลปวัฒนธรรม การต่อสู้ของกีฬามวยน้ัน จะพบกับการผิดหวัง ของชาวไทยอย่างหนง่ึ ผู้ฝึกหดั กีฬามวยไทยและ การสมหวงั รวมทงั้ ความเจบ็ ปวดทางดา้ นรา่ งกาย นกั มวยไทยเปรียบเสมือนผ้รู ักษาท�ำนุบำ� รงุ ไว้ ซง่ึ นักกีฬามวยไทยจึงต้องมีความอดทน อดกล้ัน ความเป็นเอกลักษณ์ของชาติไทย ตลอดจนช้ีให้ เป็นอย่างดี การพบกับการแพ้และชนะบ่อยครั้ง เห็นว่าศิลปวัฒนธรรมน้ีเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวให้ ในการแข่งขันท�ำให้อารมณ์มั่นคง เพราะในการ ชาวไทยรัก หวงแหน และสามัคคีกันในหมู่คณะ แข่งขันทั้งสองฝ่ายต่างก็ได้รับความเจ็บปวดทาง เป็นส่วนหนึ่งท่ีจะส่งเสริมให้ประเทศชาติมีความ ด้านรา่ งกายด้วยกัน ม่นั คงสืบไป 6) กีฬามวยไทยช่วยเพ่ิมสมรรถภาพและ 7) ชว่ ยสรา้ งเสรมิ คณุ ธรรม จากประวตั ศิ าสตรท์ ำ� ให้ ประสิทธิภาพของทหารและต�ำรวจ กล่าวคือ เห็นเด่นชัดว่าการฝึกหัดมวยไทยนั้นสามารถสร้างเสริม ทหารและต�ำรวจมีหน้าท่ีดูแลบ้านเมือง ทหาร คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมดา้ นตา่ งๆ ใหเ้ กดิ ในตวั นกั มวย เชน่ มีหนา้ ท่รี ักษาบา้ นเมืองยามออกศกึ สงคราม นอก มคี วามซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ ดงั เชน่ นายทองดี ฟนั ขาว แสดงความ เหนือไปจากการใช้อาวุธ ยุทโธปกรณ์แล้ว การ จงรกั ภกั ดตี อ่ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช สรปุ ไดว้ า่ ประโยชน์ ต่อสู้ด้วยมือเปล่าอาจมีความจ�ำเป็นในการต่อสู้ ของกีฬามวยไทยไดใ้ หค้ ณุ คา่ ต่อบุคคล สง่ เสรมิ พัฒนาการ ระยะประชิดตัว ต�ำรวจมีหน้าท่ีปราบโจรผู้ร้าย ด้านกาย อารมณ์ สังคม จิตใจ และสติปัญญา มีคุณค่า ศิลปะการต่อสู้แบบมวยไทยสามารถช่วยท�ำให้ ต่อประเทศชาติในการสืบสานวัฒนธรรมความเป็นชาติ การต่อสู้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ท้ังยังช่วยท�ำให้ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ เป็นอาชีพและสร้างรายได้ เกิดความเช่ือม่ันในตนเองและเสริมความ ให้กับตนเองและครอบครัว เป็นผู้มีระเบียบวินัย ปฏิบัติ กล้าหาญเด็ดเดี่ยวในการตอ่ สู้อกี ด้วย ตามระเบียบแบบแผนและเป็นแบบอย่างของสังคม และ คณุ คา่ ในการปกปอ้ งชีวติ ทรพั ย์สนิ ของตนเองและผู้อน่ื
32 การสร้างรปู แบบการฝกึ มวยไทยที่มผี ลต่อความแขง็ แรงของกล้ามเน้ือส�ำ หรับเยาวชนหญงิ 1.5 การฝึกซ้อมกีฬามวยไทย การฝกึ ซอ้ มกฬี ามวยไทยในสมยั โบราณ ถอื วา่ เปน็ ศลิ ปะการตอ่ สทู้ ผ่ี า่ นกาลเวลาของการกลน่ั กรองสง่ิ ทดี่ ที ส่ี ดุ มาเป็นระยะเวลานาน ครูมวยโบราณจึงเคร่งครัดในเร่ืองของการฝึกซ้อมเป็นพิเศษ โดยจะบังคับให้นักมวยฝึกหัด ชกมวยต้งั แต่เร่ิมต้นตามลำ� ดบั จนจบขน้ั สงู จะไม่มีการเรียนลดั เป็นอันขาด เพราะการแขง่ ขันชกมวยไทยในอดีตเป็น เรอื่ งอนั ตรายมาก ถา้ หากนกั มวยไมม่ คี วามรคู้ วามชำ� นาญเพยี งพออาจพลาดพลง้ั จนถงึ ขน้ั พกิ ารหรอื เสยี ชวี ติ จากการ ตอ่ สไู้ ด้ (การกฬี าแหง่ ประเทศไทย, 2548) การฝกึ ซ้อมกฬี ามวยไทยในสมัยโบราณ แมจ้ ะไม่มอี ุปกรณส์ �ำหรบั ฝึกซอ้ ม โดยเฉพาะดังเช่นในปัจจุบัน แต่พ้ืนฐานของการออกก�ำลังกายของนักมวยในแต่ละวันจะแฝงอยู่กับการเคลื่อนไหว เพอื่ ใชแ้ รงงานในการประกอบอาชพี ซง่ึ เปน็ วถิ ชี วี ติ ของชาวบา้ น เชน่ การหาบนำ้� ทำ� ไร่ ทำ� นา ตำ� ขา้ ว วงิ่ เลน่ ตามทงุ่ นา ซ่ึงเป็นส่วนช่วยให้ได้ออกก�ำลังกายทุกวัน ร่างกายจึงแข็งแรงสม่�ำเสมอ ส่วนอุปกรณ์ท่ีน�ำมาใช้ฝึกกับกีฬามวยไทย จะเปน็ ของพน้ื บา้ นท่ีหาไดง้ า่ ยและมีอย่ทู วั่ ไปในชนบท เช่น การใชต้ น้ กล้วยฝกึ เตะแทนกระสอบ การปืนตน้ มะพรา้ ว เพอ่ื ใหไ้ ดก้ ำ� ลงั แขน เทา้ ไหล่ การใชล้ กู มะนาวฝกึ สายตา เปน็ ตน้ (สำ� นกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาต,ิ 2540) การคัดเลือกเพื่อจะมาฝึกซ้อมกีฬามวยไทยเป็นส่วนส�ำคัญประการหนึ่งที่จะช่วยให้การฝึกซ้อมกีฬามวยไทยประสบ ความส�ำเร็จ เพราะหากเด็กและเยาวชนมีความพร้อมในการฝึกจะช่วยให้การฝึกซ้อมพัฒนาไปได้อย่างรวดเร็วกว่า และบรรลจุ ดุ มงุ่ หมายไดเ้ รว็ กวา่ การคดั เลอื กเยาวชนเพอื่ นำ� มาฝกึ หดั กฬี ามวยไทยใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายควรพจิ ารณาดงั น้ี 1. พนั ธุกรรม สรปุ ไดว้ า่ 2. ลกั ษณะรูปรา่ ง 3. ความศรัทธาในการฝึกกีฬามวยไทย การฝึกซ้อมกีฬามวยไทยในสมัยปัจจุบัน 4. ความขยนั หมน่ั เพียร 5. สมรรถภาพทางกาย ไดเ้ ปลยี่ นแปลงไปจากการฝกึ ซอ้ มในสมยั โบราณ เพราะ 6. ทักษะพื้นฐานกีฬามวยไทย มกี ารน�ำเครอื่ งมอื วทิ ยาศาสตรก์ ารออกก�ำลังกายมาใช้ 7. การอทุ ศิ เวลา ในการเสรมิ สร้างสมรรถภาพทางกายของนักมวย และ 8. ความอดทน อุปกรณ์ส�ำหรับฝึกซ้อมที่ทันสมัย เช่น เวทีมวย นวม 9. ความจำ�เปน็ กระสอบ เป้าล่อหมัด ถีบ เตะ เข่า และศอก ฯลฯ การฝกึ ซอ้ มมวยไทยสมยั ปจั จบุ นั จะตอ้ งอาศยั ผฝู้ กึ สอน ที่มีความรู้ มีประสบการณ์ อาศัยหลักการฝีกซ้อมท่ี ถกู ตอ้ ง และองคป์ ระกอบอน่ื อกี หลายประการดงั ตอ่ ไปนี้ การคดั เลอื กนกั มวยสว่ นใหญม่ าจากเดก็ หรอื เยาวชนทมี่ ี ความสนใจในด้านการต่อสู้ เพราะว่ากีฬามวยไทยน้ัน นอกจากจะได้รับบาดเจ็บจากชกมวยแลว้ การฝกึ ซ้อม ค่อนข้างหนัก ถ้าไม่มีจิตใจรักคงเป็นนักมวยไทยไม่ได้ และการคัดเลือกนักมวยนั้นไม่มีอะไร ขอให้อดทนต่อ ความลำ� บาก
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 33 2.1 ความหมายของความแข็งแรงของกล้ามเน้อื 2. การเสริมสร้าง กรมพลศึกษา (2543) ได้ให้ความหมาย กล้ามเนอื้ และการ ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อไว้ว่า เป็นความ ฝึกความแขง็ แรง สามารถของกล้ามเนื้อในการหดตัวเพ่ือท�ำงาน ของกล้ามเน้อื อย่างใดอย่างหน่ึงหรือกล้ามเน้ือของร่างกาย หลายๆ ส่วนท�ำงานร่วมกัน เช่น ความสามารถ ในการบีบมือความสามารถในการยกน้�ำหนัก ความสามารถในการดึงไดนาโมมเิ ตอร์ เปน็ ตน้ ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ (Muscular Strength) เป็นความสามารถในการหดตัวเพื่อ เคลอ่ื นนำ้� หนกั หรอื แรงตา้ น และเปน็ องคป์ ระกอบ ส�ำคัญในการเคล่ือนไหวร่างกายได้อย่างรวดเร็ว ซ่ึงมีผู้ให้ความหมายดังต่อไปน้ี พิชิต ภูติจันทร์ (2547) ได้ให้ความหมาย ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อไว้ว่า ก�ำลังสูงสุดของ กล้ามเน้ือมัดหน่ึงหรือกลุ่มหนึ่งปล่อยออกเพ่ือ ตา้ นกบั แรงตา้ นทาน เปน็ ทยี่ อมรบั กนั วา่ การพฒั นา ความแข็งแรงของกล้ามเน้ือสามารถสร้างได้โดย ฝึกให้กล้ามเนื้อได้ออกแรงต่อสู้กับความต้านทาน หรอื นำ�้ หนักท่สี งู ขนึ้ เดวิด (David. 1991) ได้ให้ความหมาย ความแขง็ แรงตามหลกั กลศาสตรไ์ วว้ า่ แรง (Force) จะเทา่ กบั มวล(Mass)คณู ดว้ ยอตั ราเรง่ (Accelerate) แรง หมายถึง การออกแรงเอาชนะแรงดึงดูดโลก ซึ่งแรงท่ีเกิดขึ้นได้น้อยที่สุดจะมีค่าเท่ากับมวล และอัตราเร่งของแรงดึงดูดโลก ซึ่งเกิดขึ้นอย่าง รวดเร็ว
34 การสรา้ งรูปแบบการฝึกมวยไทยทีม่ ีผลตอ่ ความแข็งแรงของกล้ามเนอื้ สำ�หรับเยาวชนหญิง ความแขง็ แรงในทางสรรี วทิ ยา หมายถงึ ความสามารถของระบบประสาทกลา้ มเนอื้ (Neuro- muscular) ทจ่ี ะเอาชนะแรงตา้ นภายนอกและภายใน ความแขง็ แรงสงู สดุ ทจ่ี ะสามารถแสดงออก จะขน้ึ อยกู่ บั คณุ ลกั ษณะทางชวี กลศาสตรข์ องการเคลอ่ื นไหว และจำ� นวนการหดตวั ของกลา้ มเนอื้ ท่ีเก่ียวข้อง และยังขึ้นอยู่กับจ�ำนวนหน่วยยนต์ที่ถูกระดมมาใช้งานและความถ่ีของแรงกระตุ้น ซงึ่ จะมกี ารเพมิ่ ขนึ้ ตามความหนกั ของการออกกำ� ลงั กาย โดยระดบั ความแขง็ แรงจะเปน็ ผลจาก ปัจจยั สามประการดงั น้ี (สนธยา สีละมาด, 2547) 1. ความสัมพันธ์ของระบบประสาทกล้ามเนื้อระหว่างกลุ่มกล้ามเน้ือ (Intermuscular Coordination) หรอื ความสมั พนั ธข์ องกลุม่ กลา้ มเนอื้ ต่างๆ ขณะเคลอื่ นไหว 2. ความสัมพันธ์ของระบบประสาทกล้ามเน้ือภายในกล้ามเน้ือ (Intramuscular Coordination) และการไดร้ บั แรงจะขนึ้ อยกู่ บั หนว่ ยยนตรป์ ระสาทกลา้ มเนอื้ (Neuromuscular Units) เช่นกัน 3. แรงทก่ี ลา้ มเนอ้ื ตอบสนองตอ่ การกระตนุ้ ของกระแสประสาท (Nerve Impulse) 2.2 ความแขง็ แรงของกลา้ มเน้อื ความแข็งแรงของกล้ามเน้ือ หมายถึง ความ สามารถของกล้ามเน้ือที่จะออกแรงมากท่ีสุด ในการหดตัวครั้งหนึ่ง ซ่ึงแบ่งได้ 2 กลุ่มดังน้ีคือ การหดตวั แบบไอโซเมทรกิ ซ์ (Isometric Contraction) หมายถงึ การหดตวั ทค่ี วามยาวของกลา้ มเนอื้ คงที่แตค่ วามตงึ ตวั เปลยี่ นแปลง และการหดตวั แบบไอโซโทนคิ (Isotonic Contraction) หมายถงึ การหดตวั ทที่ �ำใหค้ วามยาว ของกล้ามเน้อื เปลยี่ นแปลงไป แตค่ วามตึงตวั คงที่ การหดตวั แบบนีย้ งั สามารถแบง่ ออกได้ 2 ชนิด คือ 1. การหดตัวแบบคอนเซนตริก (Concentric Contraction) หมายถึง การหดตัวท�ำงานที่ท�ำให้ กล้ามเน้อื ส้นั เข้า เชน่ การยกของจากพ้ืน เป็นตน้ 2. การหดตัวเอกเซนตริก (Eccentric Contraction) หมายถงึ การหดตัวท�ำงานทที่ ำ� ให้กล้ามเนือ้ ยาวออก เช่น การวางของลง เปน็ ต้น (พชิ ติ ภูตจิ ันทร์, 2547) อำ� นาจ อะโน (2529) กล่าวว่า ความแขง็ แรงของกลา้ มเน้อื หมายถงึ การใช้กำ� ลังสงู สุดเพื่อทำ� กจิ กรรมใดๆ ทมี่ ีน้ำ� หนกั ตา่ งกันอันสั้น เช่น การยกน�้ำหนัก เปน็ ตน้
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 35 ชนิดความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ การทำ� งานทต่ี อ้ งออกแรงตา้ นทานกบั แรงตา้ นตา่ งๆ ไมว่ า่ จะเปน็ นำ�้ หนกั ของรา่ งกาย แรงดึงดูดของโลกหรือแม้แต่อุปกรณ์ต่างๆ ทางการกีฬาล้วนแต่ต้องการความสามารถของ กล้ามเนื้อในการทจี่ ะหดตัวออกแรงอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ตามท่ี (สนธยา สีละมาด, 2547) ได้แบ่งชนิดของความแขง็ แรงของกล้ามเน้อื ไว้ดังนี้ 1. ความแขง็ แรงสูงสดุ (Maximum Strength) คอื ปรมิ าณแรง (Force) มากทสี่ ดุ ทเี่ กดิ ขนึ้ จากการหดตวั สงู สดุ ของกลา้ มเนอ้ื 1 ครงั้ ซง่ึ ไมเ่ กยี่ วขอ้ งกบั ปจั จยั ทางดา้ นความเรว็ และความอดทน 2. พลัง (Elastic Strength) คือ ความสามารถของระบบประสาทกล้ามเนื้อ (Neuromuscular system) ในการที่จะเอาชนะแรงตา้ นทานได้ด้วยการหดตวั ของ กลา้ มเน้ืออย่างรวดเรว็ เปน็ การเอาชนะความหนกั ดว้ ยความเร็ว 3. ความอดทนของกลา้ มเนอื้ (Muscular Endurance) คอื ความสามารถ ของกล้ามเนื้อที่จะต้านทานความเม่ือยล้าในการตรวจการออกก�ำลังกาย ที่ใชค้ วามแข็งแรงในชว่ งเวลานาน
36 การสร้างรูปแบบการฝกึ มวยไทยทม่ี ผี ลต่อความแขง็ แรงของกลา้ มเน้ือส�ำ หรับเยาวชนหญงิ 2.3 ความสําคัญและกลไกการทำ�งานของกลามเนื้อ ชูศักด์ิ เวชแพศย และ กันยา ปาละวิวัธน์ (2528) ไดกลา วในความสําคญั และกลไกการทํางานของ กลา้ มเน้อื ไววา กลา มเน้อื เปนสว นประกอบส่วนใหญข อง รางกายคนเรา ถือวาเปนระบบท่ีส�ำคัญที่สุดในการ ออกกาํ ลงั กาย เพราะเปน ตวั จกั รสาํ คญั ทจี่ ะทาํ ใหเ กดิ ความ เคล่ือนไหวการทํางานของกลามเน้ือ คือ การหดตัวและ คลายตัว ท�ำใหร้ างกายเกิดการเคลอ่ื นไหว กลา มเนอื้ แบง่ ออกเปน็ 3 ชนดิ คือ กลา มเนือ้ ลาย (Skeletal Muscle) กลา มเน้อื เรยี บ (Smooth Muscle) และกลา มเนือ้ หัวใจ (Cardiac Muscle) การเคลอ่ื นไหวของรา่ งกายอาศัยการ ทํางานของกลามเน้ือลาย ลักษณะมีลายตามขวางตลอด ความยาว เกาะตดิ อยกู บั กระดกู ชว ยทาํ ใหเ ปน รปู รา่ งของ รา่ งกาย และมกี ารทำ� งานอยภู่ ายใตอ าํ นาจจติ ใจ การทาํ งาน ของกลามเน้ือลาย คือ ดึงรั้งกระดูกใหมีการเคลื่อนไหว ตามทใี่ จตองการ และถอื ได้ว่ากลามเนอื้ ลายเปน อวัยวะที่ หนกั มากทสี่ ดุ ในรา งกาย เพราะมปี ระมาณรอ ยละ 40 ของ นำ�้ หนกั ตัว กลา มเนื้อทัง้ มดั ประกอบดว ยหลายๆ มัดยอ ย (Bundle) แตล ะมดั ยอ ยประกอบดว ย เสน ใย (Fiber) แตล ะ เส้นใยประกอบดวย เสนใยฝอย (Fibril) และแตละ เสน ใยฝอยประกอบดว ย มัยโอฟล าเมนต (Myofiament) เปนหนวยท่ีเล็กท่ีสุดของกลามเน้ือ ประกอบดวยโปรตีน แอคตนิ (Actin) และมัยโอซนิ (Myosin) เรยี งสลบั กัน
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 37 สําหรับเสน ใยของกลามเนอ้ื นัน้ ไดแ บง เปน็ 2 ชนิด ตามลกั ษณะทางกายภาพและชีวเคมี คือ ในการเล่นกีฬา หรอื การออกก�ำลงั 1. เสน ใยชนดิ ท่ี 1 สแี ดง (type I, Aerobic Type, Slow - Twitch, Red; ST) เสน ใยกลา มเนอ้ื กายทตี่ อ้ งใชค้ วามอดทนจำ� เปน็ จะตอ้ งทำ� การ ฝึกความแข็งแรงควบคู่กัน โดยมักมุ่งหวังผล ชนดิ นี้ สามารถออกกาํ ลงั กายไดน าน มคี วามอดทนสงู ไปท่ี (1) การเพิ่มจ�ำนวนแรงของกล้ามเน้ือ เสนใยมีขนาดเล็กกวาชนิดสีขาว หดตัวชามีแอโรบิค (2) เพิ่มปริมาณการเผาผลาญออกซิเจนและ เอนไซม์ (Aerobic Enzyme) มาก มีมัยโอโกบิล จ�ำนวนของพลงั งาน (3) เป็นการป้องกันการ (Myoglobin) มาก มีหลอดเลือดฝอยมาก มี บาดเจ็บและปัญหาท่ีเกิดจากการฝึกหนักจน ไมโตคอนเดรยี ล (Mitochondria) มาก แหลง พลงั งาน เกินไป การฝึกความแข็งแรงของกล้ามเน้ือ มาจากไตรกลเี ซอรไ์ รดภ ายในกลา มเนอ้ื มาก เกดิ ความ จะสง่ ผลตอ่ เส้นใยกลา้ มเนื้อ (Muscle fiber) เมอื่ ยลาชา (Sleamaker & Browning, 1996) 2. เสน ใยชนดิ ท่ี 2 สขี าว (Type II, Anaerobic Type, Fast - Twitch, White; FT) มคี วามสามารถ ทาํ งานทมี่ คี วามหนกั มากไดด ี แตท าํ งานไดใ นระยะสน้ั ๆ เสน ใยมขี นาดใหญก่ วา่ ชนดิ ที่1หดตวั เรว็ มมี ยั โอโกลบลิ นอ ย แหลง พลงั งานมาจากไตรกลเี ซอรไ รดภ ายในกลา มเนอื้ ตำ่� มีหลอดเลือดมาเล้ียงนอย มีไมโตคอนเดรียลนอย มีแอโรบิคเอนไซมน์ อ้ ย นอกจากนเ้ี สน ใยกลา มเนอ้ื ชนิด ที่ 2 ยงั แบง ออกเปน 2.1) เสน ใยชนดิ ท่ี 2 เอ (type II A, fast - oxidative - glycolytic, FOG) มีลักษณะการ ทาํ งานดี คือ เปนทง้ั แอโรบิค และแอนแอโรบคิ 2.2) เสน ใยชนิดท่ี 2 บี (type II B, fast - glycolytic, FG) สามารถทํางานในลกั ษณะแอน แอโรบคิ ไดดี แตทํางานในลักษณะแอโรบคิ ไมดี 2.3) เสน ใยชนิดที่ 2 ซี (type II C, inter- mediate) มคี ณุ ลกั ษณะอยรู ะหวา งชนดิ เอ และบี ในคนทกี่ ำ� ลงั ทำ� การฝกึ ออกกำ� ลงั กายอยเู่ ปน็ ประจำ� จะเกิดการตอบสนองโดยพน้ื ทีห่ นา้ ตดั ของกล้ามเน้อื หรอื (Cross-sectional area) จะเพมิ่ ขนึ้ นน้ั หมายถงึ บคุ คลนน้ั มีขนาดกล้ามเน้ือใหญ่ข้ึน มักเรียกปรากฏการณ์น้ีว่า Hypertrophy (ANIOC, 1992)
38 การสร้างรูปแบบการฝึกมวยไทยทม่ี ีผลตอ่ ความแข็งแรงของกลา้ มเนื้อสำ�หรบั เยาวชนหญงิ 2.4 ปัจจัยท่ีมีอิทธพิ ลตอ่ ความแขง็ แรงของกล้ามเนื้อ (ธิตพิ ร สริ ิสขุ เจรญิ พร, 2540) 1. การเรยี งตวั ของเสน้ ใหญก่ ลา้ มเนอื้ แบง่ 2. ความเม่อื ยล้า ความเมอ่ื ยลา้ สามารถ ออกเป็น 3 แบบ คือ ลดความสามารถของกล้ามเน้ือในการท่ีจะตอบ 1.1) การเรยี งตวั แบบขนาน (Parallel) สนองต่อส่ิงเร้า ซ่ึงจะเป็นผลให้ก�ำลังการหดตัว กล้ามเนื้อพวกน้ีจะพบบริเวณท่ีท�ำงานเบาๆ ของกลา้ มเนื้อลดลง ส�ำหรบั สาเหตทุ แี่ ท้จรงิ ไม่มี ชว่ งระยะเวลาการท�ำงานเปน็ ชว่ งเวลาสนั้ ๆ เชน่ ใครสามารถบอกไดแ้ นน่ อน แตส่ ง่ิ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั กล้ามเนอ้ื หน้าท้อง ความเมือ่ ยล้าข้ึนอยู่กับมลู เหตุหลัก ซง่ึ อาจแบ่ง 1.2) การเรียงตัวแบบขนนกครึ่งซีก ออกได้ 4 ประการ (Roberg & Roberts, 1997) (Unipennate) พบกล้ามเน้ือชนิดน้ีบริเวณท่ี 2.1) ผลผลิตจากการสร้างพลังงาน ทำ� งานเบาๆ ทำ� ไดบ้ อ่ ยๆ และนาน เชน่ กลา้ มเนอ้ื Phosphocreatine : PC เป็นองค์ประกอบ บรเิ วณนิ้วมอื และนิว้ เท้า ส�ำคญั ในการสรา้ ง ATP จากการศกึ ษาถึงความ 1.3) การเรียงตัวแบบขนนกเต็มซีก สัมพันธ์ของการท�ำงานของกล้ามเนื้อกับ PC (Bipennate) พบกล้ามเน้ือที่เรียงตัวแบบน้ี พบวา่ ประสทิ ธภิ าพในการทำ� งานของกลา้ มเนอ้ื ลด บรเิ วณที่ท�ำงานหนกั และอดทน มคี วามแขง็ แรง ลงเมอ่ื PC ลดลงในขณะทค่ี วามสมั พนั ธด์ งั กลา่ ว มากท่สี ุด ซ่ึงไดแ้ ก่ กล้ามเน้ือหวั ไหล่ ก็เกดิ ขน้ึ กบั ATP เชน่ กนั กล่าวโดยสรปุ คอื การ ลดลงของ PC จะมีผลท�ำให้การสร้างพลังงาน ชา้ ลง ไมท่ นั ตอ่ ความตอ้ งการ จงึ เปน็ สาเหตใุ หเ้ กดิ ความเม่อื ยลา้ ได้ 2.2) ผลที่จะกระบวนการเผาผ่าน พลังงานสอง 2.3) Electrochemical ของกล้ามเน้ือ เชน่ การสญู เสยี โปแตสเซยี มมากเกนิ ไปหรอื การ ที่ร่างกายเกิดภาวะมีคาร์บอนไดออกไซด์เกิน สภาพปกติ (Acidosis) สง่ ผลให้ ATP ในกลา้ มเนอ้ื ลดลง 2.4) ระบบประสาทสว่ นกลาง เชน่ การ ไหลเวียนขาดประสิทธิภาพในการท�ำงานซ่ึง สังเกตได้จากอัตราการเต้นของหัวใจที่สูงมาก การเปล่ียนแปลงดังกล่าวมีอ�ำนาจท�ำให้สภาพ ความสมดุลของร่างกายเสียไปและเป็นต้นเหตุ แหง่ ความเมื่อยล้า
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 39 3. อณุ หภมู ิ อณุ หภมู ทิ สี่ งู กวา่ รา่ งกายเพยี ง สรุปไดว้ า่ เลก็ นอ้ ย หรอื ใกลเ้ คยี งกบั อณุ หภมู ขิ องรา่ งกายจะ ท�ำให้การหดตัวของกล้ามเนื้อและประสิทธิภาพ การฝึกความแข็งแรงของกล้ามเน้ือ ของการท�ำงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้กีฬามวยไทยในการฝึก สามารถสร้าง อย่างไรก็ดีที่อุณหภูมิสูงเกินไปมักไม่เป็นผลดีต่อ เสน้ ใยกลา้ มเนอื้ ทงั้ ชนดิ ท่ี 1 และชนดิ ท่ี 2 ให้ การท�ำงานของรา่ งกาย มีขนาดกล้ามเนื้อใหญ่ข้ึน เพราะใช้การฝึกทั้ง 4. ปริมาณของสารอาหารท่ีจะเป็นเช้ือ แบบทนทาน และแข็งแรง รวมท้ังปัจจัยอ่ืนๆ เพลิงท่ีสะสมไว้ในร่างกายลดลง ไกลโคเจนเป็น ความฝกึ ระดบั การฝกึ การพกั ระหวา่ งฝกึ เปน็ ตน้ แหล่งพลังงานที่สะสมไว้ในกล้ามเน้ือ เมื่อใด ก็ตามที่พบว่าไกลโคเจนที่กล้ามเน้ือลดลงจะส่ง ผลโดยตรงตอ่ การหดตวั ของกลา้ มเนอ้ื การศกึ ษา ถงึ การลดลงของแรงงานจากการฝกึ ความแขง็ แรง โดยการใชน้ ้�ำหนกั ในทา่ Front & back squat leg press และ Leg extension พบว่าการ ทดลองของพลังงานเริ่มตอบสนองเม่ือเวลาผ่าน ไป 30 นาที 5. ระดับการฝึก การฝึกเป็นประจ�ำจะ ท�ำให้มีก�ำลังในการหดตัวสูงกว่ากล้ามเน้ือที่ไม่ ค่อยได้รับการฝึก ซ่ึงเหตุผลน้ีเป็นท่ียอมรับกัน ท่วั ไป 6. การพักผ่อนระหว่างฝึก Morehouse and Miller (1971 อ้างถึงใน ประทุม ม่วงมี, 2527) กลา่ ววา่ กลา้ มเนอ้ื ทใ่ี ชแ้ ขนกระตนุ้ ใหก้ าร ออกก�ำลังกายหนักจนไม่สามารถออกก�ำลังกาย ต่อไปได้แล้ว ให้กล้ามเนื้อนั้นได้พักผ่อนด้วย 30 วินาทีจากน้ันก็กระตุ้นอีก พบว่า กล้ามเนื้อ นนั้ มคี วามแข็งแรง 69% ของความแข็งแรงปกติ และหากใหก้ ลา้ มเนอ้ื พกั อยเู่ ปน็ เวลา 42.5 วนิ าที ปรากฏว่า ความแข็งแรงของกล้ามเน้ือกลับมี เกอื บเทา่ ความแข็งแรงปกติ
40 การสร้างรปู แบบการฝึกมวยไทยท่มี ผี ลตอ่ ความแขง็ แรงของกล้ามเนือ้ ส�ำ หรับเยาวชนหญิง 3. นโยบายและยทุ ธศาสตรท์ ่เี ก่ียวกับสขุ ภาวะของคน 3.1 แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) หลักการส�ำคัญของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) (ส�ำนกั งาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำ� นกั นายกรัฐมนตร,ี 2560) การพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบบั ท่ี 12 จะมุง่ บรรลุเปา้ หมายในระยะ 5 ปี ที่จะสามารถต่อยอดในระยะต่อไปเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาระยะยาวตามยุทธศาสตร์ ชาติ 20 ปี โดยมหี ลักการส�ำคัญของแผนพฒั นาฯ ดงั นี้ ยดึ1 “หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ต่อเนื่องมาต้ังแต่แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 9 เพื่อให้เกิดบูรณาการการพัฒนาในทุก มติ ิอยา่ งสมเหตสุ มผล มคี วามพอประมาณ และมีระบบภูมคิ ุ้มกนั และการบรหิ ารจดั การ ความเสยี่ งท่ดี ี ซง่ึ เปน็ เงอ่ื นไขจ�ำเปน็ สำ� หรับการพัฒนาทีย่ ง่ั ยนื โดยมุง่ เนน้ การพัฒนาคน ให้มีความเป็นคนท่ีสมบูรณ์ สังคมไทยเป็นสังคมคุณภาพ สร้างโอกาสและมีท่ียืนให้กับ ทกุ คนในสงั คมไดด้ ำ� เนนิ ชวี ติ ทดี่ ี มคี วามสขุ และอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งสมานฉนั ท์ ในขณะทร่ี ะบบ เศรษฐกจิ ของประเทศกเ็ จรญิ เตบิ โตอยา่ งตอ่ เนอื่ ง มคี ณุ ภาพ และมเี สถยี รภาพ การกระจาย ความมั่งคั่งอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม เป็นการเติบโตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม รักษา ความหลากหลายทางชวี ภาพ ชุมชนวถี ชี วี ิต ค่านยิ ม ประเพณี และวฒั นธรรม 2 ยึด “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” มงุ่ สรา้ งคณุ ภาพชวี ติ และสขุ ภาวะทด่ี สี าหรบั คนไทย พฒั นาคนใหม้ คี วามเปน็ คนท่ี สมบรู ณ์ มวี นิ ัย ใฝร่ ู้ มีความรู้ มีทกั ษะ มีความคดิ สรา้ งสรรค์ มที ัศนคติทด่ี ี รับผิดชอบตอ่ สังคม มีจริยธรรมและคุณธรรม พัฒนาคนทุกช่วงวัยและเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคม ผู้สูงอายุอย่างมีคุณภาพ รวมถึงการสร้างคนให้ใช้ประโยชน์และอยู่กับสิ่งแวดล้อมอย่าง เกือ้ กูล อนรุ กั ษ์ ฟืน้ ฟู ใชป้ ระโยชนท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมอย่างเหมาะสม
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 41 ยดึ3 “วสิ ัยทัศนภ์ ายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี” มาเป็นกรอบของวสิ ัยทศั น์ประเทศไทยในแผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 12 วิสยั ทศั น์ “ประเทศไทยมคี วาม มน่ั คง มง่ั คัง่ ยงั่ ยืน เป็นประเทศพฒั นาแล้ว ดว้ ยการพฒั นาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” หรอื เปน็ คตพิ จนป์ ระจำ� ชาตวิ า่ “มนั่ คง มงั่ คงั่ ยง่ั ยนื ” โดยทว่ี สิ ยั ทศั นด์ งั กลา่ วสนองตอบตอ่ ผลประโยชนแ์ หง่ ชาติ ได้แก่ การมีเอกราช อธปิ ไตย และบูรณภาพแหง่ เขตอ�ำนาจรัฐ การด�ำรงอยู่อยา่ งมน่ั คง ยง่ั ยืนของสถาบนั หลักของชาติ การด�ำรงอยู่อย่างม่ันคงของชาติและประชาชนจากภัยคุกคามทุกรูปแบบ การอยู่ร่วมกัน ในชาตอิ ยา่ งสนั ตสิ ขุ เปน็ ปึกแผ่น มีความมนั่ คงทางสงั คม ท่ามกลางพหสุ งั คมและการมเี กยี รติและศกั ดิศ์ รี ของความเป็นมนษุ ย์ ความเจริญเตบิ โตของชาติ ความเปน็ ธรรม และความอย่ดู มี สี ขุ ของประชาชน ความ ยงั่ ยนื ของฐานทรพั ยากรธรรมชาตสิ งิ่ แวดลอ้ ม ความมน่ั คงทางพลงั งาน อาหารและนำ�้ ความสามารถในการ รกั ษาผลประโยชนข์ องชาตภิ ายใตก้ ารเปลยี่ นแปลงของสภาวะแวดลอ้ มระหวา่ งประเทศและการอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งสนั ติ ประสานสอดคลอ้ งกนั ดา้ นความมน่ั คงในประชาคมอาเซยี นและประชาคมโลกอยา่ งมเี กยี รตแิ ละ ศักด์ิศรี ประเทศไทยไมเ่ ป็นภาระของโลกและสามารถเกื้อกลู ประเทศทม่ี ศี กั ยภาพทางเศรษฐกจิ ดอ้ ยกวา่ ยดึ4 “เปา้ หมายอนาคตประเทศไทยปี 2579” ทเี่ ปน็ เปา้ หมายในยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี มาเปน็ กรอบในการกำ� หนดเปา้ หมายทจ่ี ะบรรลใุ น 5 ปแี รก และเป้าหมายในระดับย่อยลงมา โดยที่เป้าหมายและตัวช้ีวัดในด้านต่างๆ มีความสอดคล้องกับกรอบ เปา้ หมายทยี่ งั่ ยนื (SDGs) ทง้ั นี้ เปา้ หมายประเทศไทยในปี 2579 ซงึ่ เปน็ ทย่ี อมรบั รว่ มกนั นนั้ พจิ ารณาจาก ท้ังประเด็นหลัก และลกั ษณะของการพฒั นา ลกั ษณะฐานการผลติ และบรกิ ารส�ำคัญของประเทศ ลักษณะ ของคนไทยและสังคมไทยท่ีพงึ ปรารถนา และกลุ่มเป้าหมายในสังคมไทย โดยก�ำหนดไวด้ ังนี้ “เศรษฐกจิ และสงั คมไทยมกี ารพฒั นาอยา่ งมน่ั คงและยง่ั ยนื บนฐานการพฒั นาทย่ี งั่ ยนื สงั คมไทยเปน็ สงั คมทเ่ี ปน็ ธรรม มคี วามเหลอื่ มลำ้� นอ้ ย คนไทยเปน็ มนษุ ยท์ ส่ี มบรู ณ์ เปน็ พลเมอื งทมี่ วี นิ ยั ตนื่ รู้ และเรยี นรไู้ ด้ ดว้ ยตนเองตลอดชวี ติ มคี วามรู้ มที กั ษะและทศั นคตทิ เี่ ปน็ คา่ นยิ มทด่ี ี มสี ขุ ภาพรา่ งกายและจติ ใจทสี่ มบรู ณ์ มคี วามเจริญเตบิ โตทางจติ วญิ ญาณ มีจิตสาธารณะและท�ำประโยชน์ตอ่ สว่ นรวม มีความเปน็ พลเมอื งไทย พลเมอื งอาเซยี น และพลเมอื งโลก ประเทศไทยมบี ทบาทท่ีส�ำคัญในเวทีนานาชาติ ระบบเศรษฐกจิ ตั้งอยู่ บนฐานของการใช้นวัตกรรมน�ำดิจิทัล สามารถแข่งขันในการผลิตได้และค้าขายเป็น มีความเป็นสังคม ประกอบการ มีฐานการผลติ และบรกิ ารท่มี ีคณุ ภาพและรปู แบบท่ีโดดเดน่ เป็นทีต่ ้องการในตลาดโลก เป็น ฐานการผลิตและบริการที่สำ� คญั เชน่ การใหบ้ รกิ ารคุณภาพทง้ั ดา้ นการเงนิ ระบบโลจิสติกส์ บรกิ ารด้าน สุขภาพ และทอ่ งเทย่ี วคุณภาพ เป็นครวั โลกของอาหารคุณภาพและปลอดภัย เปน็ ฐานอตุ สาหกรรมและ บริการอัจฉริยะท่ีเป็นอุตสาหกรรมแห่งอนาคตท่ีใช้นวัตกรรม ทุนมนุษย์ทักษะสูงและเทคโนโลยีอัจฉริยะ มาตอ่ ยอดฐานการผลติ และบริการทม่ี ีศกั ยภาพในปจั จบุ ัน และพัฒนาฐานการผลติ และบรกิ ารใหมๆ่ เพอื่ นำ� ประเทศไทยไปสกู่ ารมรี ะบบเศรษฐกจิ สงั คม และประชาชนที่มีความเปน็ อัจฉรยิ ะ”
42 การสร้างรูปแบบการฝกึ มวยไทยทม่ี ีผลตอ่ ความแขง็ แรงของกลา้ มเน้อื สำ�หรบั เยาวชนหญงิ “หลกั การเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกจิ ท่ีลดความเหล่ือมลำ้ � ยดึ5 และขับเคลือ่ นการเจรญิ เติบโต จากการเพิม่ ผลติ ภาพ การผลิตบนฐานของการใชภ้ ูมปิ ัญญาและนวตั กรรม” แผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 12 มงุ่ เนน้ การสรา้ งความเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ ทม่ี คี วามครอบคลมุ ทวั่ ถงึ เพอ่ื เพม่ิ ขยายฐานกลมุ่ ประชากรชนั้ กลางใหก้ วา้ งขนึ้ โดยกำ� หนดเปา้ หมายในการเพมิ่ โอกาส ทางเศรษฐกจิ โอกาสทางสงั คม และรายได้ของกลมุ่ ประชากร รายไดต้ ำ�่ สุดรอ้ ยละ 40 ให้สงู ขน้ึ นอกจากน้ี การเพ่ิมผลิตภาพการผลิตบนฐานของการใช้ภูมิปัญญาและพัฒนานวัตกรรมนับเป็น หัวใจส�ำคัญในการขับเคล่ือนการพัฒนาในระยะต่อไปส�ำหรับทุกภาคส่วนในสังคมไทย โดยท่ี เส้นทางการพัฒนาท่ีมุ่งสู่การเป็นประเทศท่ีพัฒนาแล้วนั้นก�ำหนดเป้าหมายทั้งในด้านรายได้ ความเป็นธรรม การลดความเหล่ือมล้�ำและขยายฐานคนช้ันกลาง การสร้างสงั คมทม่ี ีคณุ ภาพและ มธี รรมาภิบาล และความเป็นมิตรตอ่ ส่ิงแวดล้อม ยึด “หลักการนำ�ไปสู่การปฏิบัตใิ หเ้ กดิ ผลสมั ฤทธ์ิ 6 อยา่ งจรงิ จงั ใน 5 ปี ทต่ี อ่ ยอดไปสผู่ ลสมั ฤทธท์ิ เ่ี ปน็ เปา้ หมายระยะยาว” จากการที่แผนพัฒนาฯ เป็นกลไกเชื่อมต่อในล�ำดับแรกท่ีจะก�ำกับและส่งต่อแนวทางการ พฒั นาและเปา้ หมายในยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี ใหเ้ กดิ การปฏบิ ตั ใิ นทกุ ระดบั และในแตล่ ะดา้ นอยา่ ง สอดคล้องกนั แผนพฒั นาฯ ฉบับท่ี 12 จงึ ใหค้ วามสำ� คญั กบั การใชก้ ลไกประชารฐั ทเ่ี ป็นการรวม พลงั ขบั เคลอื่ นจากทั้งภาครฐั เอกชน และประชาชน และการก�ำหนดประเดน็ บูรณาการของการ พฒั นาทมี่ ลี ำ� ดบั ความสำ� คญั สงู และไดก้ ำ� หนดในระดบั แผนงาน/โครงการสำ� คญั ทจ่ี ะตอบสนองตอ่ เป้าหมายการพัฒนาไดอ้ ย่างแท้จริง รวมทั้งการก�ำหนดเปา้ หมายและตวั ชี้วดั ที่มีความครอบคลมุ หลากหลายมติ มิ ากกวา่ ในแผนพฒั นาฯ ฉบบั ทผ่ี า่ นๆ มา ในการกำ� หนดเปา้ หมายไดค้ ำ� นงึ ถงึ ความ สอดคลอ้ งกบั เปา้ หมายระยะยาวของยทุ ธศาสตรช์ าตแิ ละการเปน็ กรอบกำ� กบั เปา้ หมายและตวั ชว้ี ดั ในระดบั ยอ่ ยลงมา ทจี่ ะตอ้ งถูกสง่ ตอ่ และก�ำกับให้สามารถด�ำเนนิ การใหเ้ กดิ ข้นึ อยา่ งมผี ลสัมฤทธ์ิ ภายใตก้ รอบการจดั สรรงบประมาณ การตดิ ตามและประเมนิ ผลการใชจ้ า่ ยเงนิ งบประมาณแผน่ ดนิ และการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการ รวมทั้งการพัฒนาระบบราชการที่ 6 สอดคล้อง เปน็ สาระเดยี วกนั หรอื เสรมิ หนนุ ซงึ่ กนั และกนั แผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 12 จงึ กำ� หนดประเดน็ บรู ณาการ เพ่ือการพัฒนาเพ่ือเป็นแนวทางส�ำคัญ ประกอบการจัดสรรงบประมาณแผ่นดิน รวบรวมและ กำ� หนดแผนงาน/โครงการสำ� คญั ในระดบั ปฏบิ ตั ิ และกำ� หนดจดุ เนน้ ในการพฒั นาเชงิ พนื้ ทใี่ นระดบั สาขาการผลิตและบริการและจงั หวัดทเี่ ป็นจดุ ยทุ ธศาสตร์สำ� คัญในด้านตา่ งๆ
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 43 โดยการจัดท�ำวิจัยฉบับน้ีเพื่อให้สอดคล้องกับการด�ำเนินงานตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) โดยยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศท่ีส�ำคัญเกยี่ วขอ้ งดงั นี้ ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสรา้ งและพฒั นาศักยภาพทนุ มนุษย์ (ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ส�ำนกั นายกรัฐมนตรี, 2560) การเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากรไทยท่ีจะเข้าสู่ การบ่มเพาะให้เด็กเติบโตอย่างมีคุณภาพ ประกอบกับการ สงั คมสงู วยั อยา่ งสมบรู ณ์เม่ือสนิ้ สุดแผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 12 เลอื่ นไหลของวฒั นธรรมตา่ งชาตทิ เ่ี ขา้ มาในประเทศไทยผา่ น โดยทสี่ ดั สว่ นผสู้ งู อายจุ ะเพม่ิ ขน้ึ เปน็ รอ้ ยละ 19.8 ของจำ� นวน สงั คมยคุ ดจิ ทิ ลั ในขณะทคี่ นไทยจำ� นวนไมน่ อ้ ยยงั ไมส่ ามารถ ประชากรทง้ั หมด ในขณะทจ่ี ำ� นวนประชากรวยั แรงงานไดเ้ รมิ่ คัดกรองและเลือกรับวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม ส่งผล ลดลงมาตงั้ แตป่ ี 2558 เปน็ ตน้ มา สง่ ผลใหเ้ กดิ การขาดแคลน ต่อวกิ ฤตคา่ นิยม ทัศนคติ และพฤติกรรมในการด�ำเนินชวี ิต แรงงาน ในภาวะที่ผลิตภาพแรงงานไทยก็ยังต่�ำ เน่ืองจาก การพัฒนาในระยะต่อไปจึงต้องให้ความส�ำคัญกับการวาง ปัญหาคุณภาพแรงงาน ความล่าช้าในการพัฒนาเทคโนโลยี รากฐานการพัฒนาคนให้มีความสมบูรณ์ เร่ิมตั้งแต่กลุ่มเด็ก และปัญหาการบริหารจัดการจึงเป็นข้อจ�ำกัดในการเพ่ิมขีด ปฐมวัยที่ต้องพัฒนาให้มีสุขภาพกายและใจที่ดี มีทักษะทาง ความสามารถในการแข่งขันและศักยภาพการเจริญเติบโต สมอง ทักษะการเรียนรู้ และทกั ษะชีวติ เพอื่ ให้เติบโตอย่างมี ทางเศรษฐกิจของประเทศ รวมทั้งการสร้างรายได้และการ คณุ ภาพ ควบคกู่ บั การพฒั นาคนไทยในทกุ ชว่ งวยั ใหเ้ ปน็ คนดี ยกระดับคณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนดว้ ย ท้ังนี้ เม่ือพิจารณา มสี ขุ ภาวะทด่ี ี มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม มรี ะเบยี บวนิ ยั มจี ติ สำ� นกึ ท่ี คุณภาพคน พบว่า ยังมีปัญหาในแต่ละช่วงวัยและส่งผล ดตี อ่ สงั คมสว่ นรวม มที กั ษะความรู้ และความสามารถปรบั ตวั กระทบตอ่ เนอ่ื งถงึ กนั ตลอดชว่ งชวี ติ ตงั้ แตพ่ ฒั นาการไมส่ มวยั ใน เท่าทันกับการเปล่ียนแปลงรอบตัวที่รวดเร็ว บนพ้ืนฐาน เดก็ ปฐมวยั ผลลพั ธท์ างการศกึ ษาของเดก็ วยั เรยี นคอ่ นขา้ งตำ�่ ของการมีสถาบันทางสังคมที่เข้มแข็ง ท้ังสถาบันครอบครัว การพฒั นาความรแู้ ละทกั ษะของแรงงานไมต่ รงกบั ตลาดงาน สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันชุมชน และภาค ขณะทผ่ี สู้ งู อายมุ ปี ญั หาสขุ ภาพและมแี นวโนม้ อยคู่ นเดยี วสงู ขน้ึ เอกชนท่ีร่วมกันพัฒนาทุนมนุษย์ให้มีคุณภาพสูง อีกท้ังยัง ครอบครวั มรี ปู แบบทห่ี ลากหลายและเปราะบางสงู สง่ ผลตอ่ เปน็ ทนุ ทางสงั คมสำ� คญั ในการขบั เคลอ่ื นการพฒั นาประเทศ
44 การสรา้ งรูปแบบการฝกึ มวยไทยท่ีมผี ลตอ่ ความแขง็ แรงของกล้ามเนื้อสำ�หรับเยาวชนหญิง 3.2 รา่ งยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) ประเดน็ ยทุ ธศาสตรช์ าติ (สำ�นักงานเลขานกุ ารคณะกรรมการยทุ ธศาสตรช์ าติ, 2561) เพ่ือให้ประเทศไทยสามารถยกระดับการพัฒนาให้บรรลุ “ประเทศไทยมคี วามมน่ั คง ตามวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็น มั่งค่ัง ย่ังยืน เป็นประเทศ ประเทศพฒั นาแลว้ ดว้ ยการพฒั นาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พั ฒ น า แ ล้ ว ด้ ว ย ก า ร พอเพียง” และเป้าหมายการพัฒนาประเทศข้างต้น จึงจ�ำเป็น พัฒนาตามหลักปรัชญา ต้องก�ำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศระยะยาว ที่จะท�ำให้ ของเศรษฐกิจพอเพยี ง” ประเทศไทยมีความมนั่ คงในเอกราชและอธปิ ไตย มีภูมิคุ้มกนั ต่อ การเปล่ียนแปลงจากปัจจัยภายในและภายนอกประเทศ ภาค เกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการของท่ีได้รับการ พัฒนายกระดับไปสู่การใช้เทคโนโลยี และนวัตกรรมในการสร้าง มูลค่าเพ่ิมและพัฒนาเครื่องยนต์ทางเศรษฐกิจใหม่ที่จะสร้างและ ในการแขง่ ขนั ของประเทศ เพอื่ ยกระดบั ฐานรายไดข้ องประชาชน ในภาพรวมและกระจายผลประโยชน์ไปส่ภู าคสว่ นต่างๆ ไดอ้ ยา่ ง เหมาะสม คนไทยไดร้ ับการพฒั นาให้เปน็ คนดี เก่ง มวี ินัย ค�ำนึง ถงึ ประโยชนส์ ว่ นรวม และมศี กั ยภาพในการคดิ วเิ คราะห์ สามารถ “รู้ รบั ปรบั ใช”้ เทคโนโลยใี หมไ่ ด้อยา่ งตอ่ เนื่อง สามารถเขา้ ถึง บรกิ ารพน้ื ฐาน ระบบสวสั ดกิ าร และกระบวนการยตุ ธิ รรมไดอ้ ยา่ ง เทา่ เทยี มกนั โดยไม่มใี ครถูกท้งิ ไว้ขา้ งหลงั
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 45 การพฒั นาประเทศในชว่ งระยะเวลาของกษตั รยิ ช์ าติ จะมงุ่ เนน้ การสรา้ งสมดลุ ระหวา่ งการพฒั นาเศรษฐกจิ สงั คม และ ส่งิ แวดลอ้ ม โดยประกอบดว้ ย 6 ยทุ ธศาสตร์ ได้แก่ (1) ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นความมั่นคง (2) ยุทธศาสตรช์ าตดิ ้านการสร้าง ความสามารถในการแขง่ ขนั (3) ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ (4) ยทุ ธศาสตรช์ าติ ด้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม (5) ยทุ ธศาสตรช์ าติด้านการสรา้ งการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ติ ทเ่ี ปน็ มติ ร กบั ส่ิงแวดล้อม และ (6) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การภาครัฐ โดยแต่ละยทุ ธศาสตร์ มเี ป้าหมายและประเดน็ การพฒั นา ดังนี้ 1. ยุทธศาสตร์ชาตดิ า้ นความมนั่ คง มเี ปา้ หมายการพฒั นาทส่ี ำ� คญั คอื ประเทศชาตมิ นั่ คง ประชาชนมคี วามสขุ เนน้ การบรหิ ารจดั การสภาวะแวดลอ้ มของ ประเทศให้มีความม่ันคง ปลอดภยั และมคี วามสงบเรียบร้อยในทกุ ระดับ ตง้ั แตร่ ะดับชาติ สังคม ชมุ ชน มุง่ เนน้ การพัฒนา คน เคร่ืองมือ เทคโนโลยี และระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ให้มีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคามและภัยพิบัติได้ทุก รปู แบบและทกุ ระดบั ความรนุ แรง ควบคไู่ ปกบั การปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาดา้ นความมนั่ คงทม่ี อี ยใู่ นปจั จบุ นั และทอี่ าจเกดิ ขนึ้ ในอนาคต ใช้กลไกการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการทั้งกับส่วนราชการ ภาคเอกชน ประชาสังคม และองค์กรที่ไม่ใช่รัฐ รวมถงึ ประเทศเพอ่ื นบ้านและมติ รประเทศทว่ั โลกบนพื้นฐานของหลักธรรมาภิบาล 2. ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ ้านการสรา้ ง ความสามารถในการแขง่ ขัน มีเป้าหมายการพฒั นาท่มี ่งุ เนน้ การยกระดบั ศักยภาพของประเทศในหลากหลายมติ ิ บนพ้ืนฐานแนวคดิ 3 ประการ ได้แก่ (1) “ตอ่ ยอดอดีต” โดยมองกลบั ไปท่ีรากเหงา้ ทางเศรษฐกจิ อัตลกั ษณ์ วัฒนธรรม ประเพณี วถิ ีชีวติ และจดุ เด่นทาง ทรัพยากรธรรมชาตทิ ่ีหลากหลาย รวมทั้งความได้เปรียบเชงิ เปรยี บเทยี บของประเทศในด้านอื่นๆ นำ� มาประยกุ ตผ์ สมผสาน กบั เทคโนโลยีและนวตั กรรม เพ่อื ใหส้ อดรบั กบั บรบิ ทของเศรษฐกิจและสังคมโลกสมัยใหม่ (2) “ปรับปัจจุบัน” เพ่อื ปทู างสู่ อนาคต ผ่านการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานของประเทศในมิตติ ่างๆ ทง้ั โครงข่ายระบบคมนาคมและขนส่ง โครงสรา้ งพนื้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละดจิ ทิ ลั และการปรบั สภาพแวดลอ้ มใหเ้ ออื้ ตอ่ การพฒั นาอตุ สาหกรรมและบรกิ ารอนาคต และ (3) “สรา้ งคณุ คา่ ใหมใ่ นอนาคต” ดว้ ยการเพม่ิ ศกั ยภาพของผปู้ ระกอบการ พฒั นาคนรนุ่ ใหม่ รวมถงึ ปรบั โมเดลธรุ กจิ เพอื่ ตอบสนอง ต่อความต้องการของตลาด ผสมผสานกับยุทธศาสตร์ท่ีรองรับอนาคตบนพื้นฐานของการต่อยอดอดีตและปรับปัจจุบัน พร้อมทั้งการส่งเสริมสนุนจากภาครัฐให้ประเทศไทยสามารถสร้างทั้งรายได้และการจ้างงานใหม่ ขยายโอกาสทางการค้า และการลงทุนในวถิ โี ลก ควบคู่ไปกับการยกระดบั รายได้และการกนิ ดอี ยู่ดี รวมถงึ การเพิม่ ข้นึ ของคณุ ชัน้ กลางและลดความ เหลอ่ื มลำ้� ของคนในประเทศไดใ้ นคราวเดียวกนั
46 การสรา้ งรูปแบบการฝึกมวยไทยทีม่ ผี ลต่อความแข็งแรงของกลา้ มเนอ้ื สำ�หรับเยาวชนหญงิ 3. ยทุ ธศาสตรช์ าติดา้ นการพัฒนาและ เสริมสรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ มเี ปา้ หมายการพฒั นาทสี่ ำ� คญั เพอื่ พฒั นาคนในทกุ มติ แิ ละในทกุ ชว่ งวยั ใหเ้ ปน็ คนดี เกง่ และมคี ณุ ภาพ โดยคนไทย มคี วามพร้อมทั้งกาย ใจ สตปิ ญั ญา มพี ัฒนาการทดี่ รี อบดา้ น และมสี ขุ ภาพทด่ี ใี นทกุ ชว่ งวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบ ตอ่ สังคมและผอู้ ่นื มัธยสั ถ์ อดออม โอบออ้ มอารี มวี นิ ัย รักษาศลี ธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติ มีหลักคดิ ทถ่ี กู ต้อง มที ักษะที่จ�ำเปน็ ในศตวรรษที่ 21 มีทักษะสือ่ สารภาษาอังกฤษและภาษาที่ 3 และอนรุ ักษ์ภาษาท้องถน่ิ มีนสิ ัยรักการ เรยี นรู้และการพฒั นาตนเองอย่างต่อเนอ่ื งตลอดชีวิต สู่การเปน็ คนไทยทม่ี ีทกั ษะสูง เปน็ นวตั กร นกั คดิ ผูป้ ระกอบการ เกษตรกรยคุ ใหม่และอ่ืนๆ โดยมีสมั มาชพี ตามความถนัดของตนเอง 4. ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ ้านการสรา้ งโอกาส และความเสมอภาคทางสงั คม มีเป้าหมายการพัฒนาท่ีส�ำคัญท่ีให้ความส�ำคัญการดึงเอาพลังของภาคส่วนต่างๆ ทั้งภาคเอกชน ประชาสังคม ชุมชนท้องถ่ิน มาร่วมขับเคลื่อน โดยการสนับสนุนการรวมตัวของประชาชนในการร่วมคิดร่วมท�ำเพื่อส่วนรวม การกระจายอำ� นาจและความรบั ผดิ ชอบไปสกู่ ลไกบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ในระดบั ทอ้ งถน่ิ การเสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ของ ชมุ ชนในการจดั การตนเอง และการเตรยี มความพรอ้ มของประชากรไทยทง้ั ในมติ สิ ขุ ภาพ เศรษฐกจิ สงั คมและสภาพแวดลอ้ ม ให้เป็นประชากรที่มีคุณภาพ สามารถพึ่งตนเองและท�ำประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชน และสังคมให้นานที่สุด โดยรฐั ใหห้ ลกั ประกันการเขา้ ถงึ การบริการและสวสั ดิการทีม่ คี ุณภาพอยา่ งเปน็ ธรรมและท่ัวถึง 5. ยุทธศาสตร์ชาตดิ า้ นการ สร้างการเติบโตบนคุณภาพ ชวี ิตท่เี ปน็ มติ รกับส่งิ แวดลอ้ ม มีเป้าหมายการพัฒนาที่ส�ำคัญ เพ่ือน�ำไปสู่การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืนในทุกมิติ ท้ังมิติด้านสังคม เศรษฐกจิ สงิ่ แวดลอ้ ม ธรรมาภบิ าลและความเปน็ หนุ้ สว่ นความรว่ มมอื ระหวา่ งกนั ทง้ั ภายในและภายนอกประเทศอยา่ ง บรู ณาการ โดยเปน็ การดำ� เนนิ การบนพนื้ ฐานการเตบิ โตรว่ มกนั ไมว่ า่ จะเปน็ ทางเศรษฐกจิ สงิ่ แวดลอ้ ม และคณุ ภาพชวี ติ โดยให้ความส�ำคัญกับการสร้างสมดุลทั้ง 3 ดา้ น อันจะน�ำไปสูค่ วามยง่ั ยนื เพอ่ื คนร่นุ ต่อไปอยา่ งแท้จริง โดยใชพ้ ้นื ทีเ่ ปน็ ตัวตั้งในการก�ำหนดกลยุทธ์และแผนงาน และการให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้เข้ามามีส่วนร่วมในแบบทางตรงให้มากที่สุด เท่าที่จะเป็นไปได้
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 47 6. ยุทธศาสตรช์ าตดิ ้านการปรับสมดุล และพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การภาครฐั มเี ปา้ หมายการพัฒนาทีส่ ำ� คัญ เพอ่ื ปรับเปล่ยี นภาครัฐทยี่ ึดหลกั “ภาครฐั ของประชาชนเพือ่ ประชาชนและ ประโยชน์ส่วนรวม” โดยภาครัฐต้องมีขนาดท่ีเหมาะสมกับบทบาทภารกิจ แยกแยะบทบาทหน่วยงานของรัฐที่ท�ำหน้าที่ ในการก�ำกับหรอื ในการให้บรกิ ารในระบบเศรษฐกิจที่มกี ารแข่งขนั มีขีดสมรรถนะสูง ยึดหลกั ธรรมาภบิ าล ปรบั วฒั นธรรม การท�ำงานให้มีผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวม มีความทันสมัย และพร้อมที่จะปรับตัวให้ทันต่อการเปล่ียนแปลง ของโลกอย่ตู ลอดเวลา โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การนำ� นวตั กรรม เทคโนโลยีของข้อมลู ขนาดใหญ่ ระบบอนมุ ัติเป็นดจิ ทิ ัลเข้ามา ประยกุ ตใ์ ชอ้ ยา่ งคมุ้ คา่ และปฏบิ ตั งิ านเทยี บไดก้ บั มาตรฐานสากล รวมทง้ั มลี กั ษณะเปดิ กวา้ ง เชอื่ มโยงถงึ กนั และเปดิ โอกาส ให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และโปร่งใส โดยทุก ภาคสว่ นในสงั คมตอ้ งรว่ มกนั ปลกู ฝงั คา่ นยิ มความซอื่ สตั ยส์ จุ รติ ความมธั ยสั ถ์ การสรา้ งจติ ส�ำนกึ ในการปฏเิ สธไมย่ อมรบั การ ทุจรติ ประพฤติชอบอยา่ งสิ้นเชิง นอกจากนน้ั กฎหมายต้องมคี วามชัดเจน มีเพยี งเทา่ ทจี่ ำ� เปน็ มีความทันสมยั มคี วามเปน็ สากล มปี ระสทิ ธิภาพ และนำ� ไปสู่การรักความเหลอ่ื มล�้ำและเอื้อต่อการพัฒนา โดยกระบวนการยุตธิ รรมมีการบริหารทม่ี ี ประสิทธภิ าพ เปน็ ธรรม และไม่เลอื กปฏิบตั ิ การอ�ำนวยความยุตธิ รรมตามหลกั นติ ิธรรม สรุปได้วา่ การพัฒนาทรัพยากรโดยเฉพาะ “คน” เป็นส่ิงส�ำคัญท่ีสุด ในการพัฒนาประเทศไปสู่ความเจริญอย่างยั่งยืน ถา้ คนในประเทศมคี ณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ี ความยากจนกจ็ ะหมดไป หากแตต่ อ้ งมสี ขุ ภาพทด่ี ดี ว้ ย ซงึ่ กฬี าโดยเฉพาะมวยไทย เป็นสง่ิ หนงึ่ ที่อยูค่ ูม่ ากับคนไทย และสามารถฝึกฝนพฒั นาทักษะร่างกายใหส้ มบรู ณ์ อีกกีฬาหนงึ่ การน�ำกฬี ามวยไทย มาช่วยส่งเสริมในการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีข้ึน จึงเป็นสิ่งส�ำคัญในการบูรณาการท้ังกีฬา ศิลปะวัฒนธรรม และ สมรรถนะร่างกาย
48 การสร้างรูปแบบการฝกึ มวยไทยทม่ี ผี ลตอ่ ความแขง็ แรงของกล้ามเน้อื ส�ำ หรับเยาวชนหญงิ การจัดทำ� วิจัยฉบบั น้ี เพือ่ ให้สอดคล้องกบั การดำ� เนนิ งานตามยทุ ธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) ท้งั นี้ กเ็ พอ่ื ใหป้ ระเทศไทยสามารถยกระดบั การพฒั นาใหบ้ รรลตุ ามวสิ ยั ทศั น์ “ประเทศไทยมคี วามมน่ั คง มงั่ คงั่ ยงั่ ยนื เปน็ ประเทศ พฒั นาแลว้ ดว้ ยการพฒั นาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” โดยมคี วามเกย่ี วขอ้ งกบั ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นการพฒั นา และเสรมิ สร้างศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ ดงั นี้ ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการพฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ทรัพยากรมนุษย์ เป็นปัจจัยขับเคลื่อนส�ำคัญในการ เพ่ือให้คนมีความดีอยู่ใน “วิถี” การด�ำเนินชีวิตและมี ยกระดับการพัฒนาประเทศในทุกมิติไปสู่เป้าหมายการ จิตส�ำนึกร่วมในการสร้างสังคมที่น่าอยู่ และมีการปฏิรูป เป็นประเทศท่ีพัฒนาแล้ว ที่ขับเคล่ือนหรือภูมิปัญญาและ การเรียนรู้แบบพลิกโฉมในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับปฐมวัย นวัตกรรมในอีก 20 ปีข้างหน้า ดังนั้น จึงจ�ำเป็นต้องมีการ จนถึงการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยการพัฒนาระบบการเรียนรู้ วางรากฐานการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศอย่าง ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 มีการ เป็นระบบ โดยจ�ำเป็นต้องมุ่งเน้นการพัฒนาและยกระดับ ออกแบบระบบการเรียนรู้ใหม่ การเปล่ียนบทบาทครู การ คนในทกุ มติ ิ ในทกุ ชว่ งวยั ใหเ้ ปน็ ทรพั ยากรมนษุ ยท์ ด่ี ี เกง่ และ เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพระบบบรหิ ารจดั การศกึ ษา และการพฒั นา มีคุณภาพพร้อมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศไปข้างหน้า ระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้สามารถ ได้อย่างเต็มศักยภาพ ซง่ึ “คนไทยในอนาคตจะต้องมคี วาม ก�ำกับการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับตนเองได้อย่างต่อเน่ืองแม้ พร้อมทั้งทางกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการท่ีดีรอบด้าน จะออกจากระบบการศึกษาแล้ว รวมถึงความตระหนักถึง และมีสุขภาวะที่ดีทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อ พหปุ ญั ญาของมนษุ ยท์ ห่ี ลากหลายและการพฒั นาและรกั ษา สงั คมและผอู้ ่ืน มธั ยสั ถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มวี ินยั รกั ษา กลุ่มผู้มีความสามารถพิเศษของพหุปัญญาแต่ละประเภท ศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดที่ถูกต้อง มี และการปฏริ ปู ระบบเสรมิ สรา้ งความรอบรแู้ ละจติ สำ� นกึ ทาง ทกั ษะทจี่ ำ� เปน็ ในศตวรรษท่ี 21 มที กั ษะสอ่ื สารภาษาองั กฤษ สขุ ภาพ เพื่อให้คนไทยมศี ักยภาพในการจดั การสุขภาวะท่ีดี และภาษาที่ 3 และอนรุ กั ษภ์ าษาทอ้ งถน่ิ มนี สิ ยั รกั การเรยี นรู้ ได้ด้วยตนเอง พร้อมกับการสร้างสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อ และการพฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เนอ่ื งตลอดชวี ติ สกู่ ารเปน็ คนไทย การพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ ทง้ั การ ท่ีมีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบการ เกษตรกร เสรมิ สรา้ งครอบครวั ทเ่ี ขม้ แขง็ อบอนุ่ ซง่ึ เปน็ การวางรากฐาน ยคุ ใหมแ่ ละอน่ื ๆ โดยทม่ี สี มั มาชพี ตามความถนดั ของตนเอง” การส่งต่อเด็กและเยาวชนท่ีมีคุณภาพสู่การพัฒนาในช่วง ดงั นน้ั เพอื่ ใหท้ รพั ยากรมนษุ ยใ์ นทกุ มติ แิ ละในทกุ ชว่ ง อายุถัดไป โดยการส่งเสริมการเกิดที่มีคุณภาพ การสร้าง วยั สามารถไดร้ บั การพฒั นาและยกระดบั ไดเ้ ตม็ ศกั ยภาพและ ครอบครัวที่เหมาะสมกับคนรุ่นใหม่ การส่งเสริมบทบาทใน เหมาะสม ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง การมสี ่วนร่วมพฒั นาคน การน�ำระบบฐานข้อมูลเพือ่ การนำ� ศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ยจ์ งึ ไดก้ ำ� หนดประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ทรัพยากรมนุษย์ที่มีความเชื่อมโยงและบูรณาการข้อมูล เนน้ ทง้ั การแกไ้ ขปญั หาการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยใ์ นปจั จบุ นั ดา้ นการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยร์ ะหวา่ งกระทรวง/หนว่ ยงาน และการเสริมสร้างและยกระดับการพัฒนาท่ีให้ความส�ำคัญ ที่เก่ียวข้อง และการเสริมสร้างทรัพยากรการกีฬาในการ ท่ีครอบคลุมทั้งในส่วนของการพัฒนาทุนมนุษย์และปัจจัย สรา้ งคุณคา่ ทางสังคมและพัฒนาประเทศ ในการใชก้ ิจกรรม ในสภาพแวดล้อมท่ีเกี่ยวข้องเพ่ือสร้างระบบนิเวศท่ีเอื้อต่อ นนั ทนาการและกฬี าเปน็ เครอื่ งมอื ในการเสรมิ สรา้ งสขุ ภาวะ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อย่างครอบคลุม ประกอบด้วย ของประชาชนอย่างครบวงจรและมีคุณภาพมาตรฐาน การพัฒนาสุขภาพคนตลอดช่วงชีวิต ควบคู่กับการปฏิรูปท่ี รวมถึงการพัฒนาทักษะด้านกีฬาสู่ความเป็นเลิศและกีฬา ส�ำคัญทั้งในส่วนของการปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม เพ่อื การอาชพี
DEVELOPMENT OF MUAYTHAI TRAINING MODEL ON MUSCULAR STRENGTH FOR YOUTH FEMALE 49 เป้าหมายของยทุ ธศาสตรช์ าตดิ ้านการพัฒนา และเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพฒั นา และเสรมิ สร้างทรัพยากรมนษุ ย์ มเี ปา้ หมายการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ ใจ มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและ ผู้อื่น มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย ยึดมั่น ในความซื่อสัตย์ รักษาศีลธรรม คุณธรรม และเป็น พลเมอื งดขี องชาติ มจี ติ สำ� นกึ ของความเปน็ ไทย รจู้ กั การพ่ึงตนเอง รักษาความเป็นไทย เข้าใจสังคมไทย และสงั คมโลก ยอมรบั ความแตกตา่ ง มคี วามเครง่ ครดั และตามระเบียบและกฎหมายของสงั คม สติปัญญา มีทักษะท่ีส�ำคัญในศตวรรษที่ 21 มีทกั ษะสอ่ื สารภาษาองั กฤษและภาษาที่ 3 และ อนรุ กั ษภ์ าษาทอ้ งถน่ิ มที กั ษะชวี ติ มนี สิ ยั รกั การเรยี นรู้ และพฒั นาตนเองตลอดเวลา มคี วามสามารถในการ คดิ วเิ คราะหแ์ ละพงึ่ ตนเองได้ มคี วามรสู้ ามารถหลาก หลายด้านและรู้รอบตัวสูง กาย มีพัฒนาการท่ีดีรอบด้านตั้งแต่อยู่ใน ครรภ์ มีสุขภาวะท่ีดีในทุกช่วงวัย สุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง รักการออกก�ำลังกายและเล่นกีฬา ขจัด ปัญหาเด็กปฐมวัยได้รับสารอาหารไม่เพียงพอและ พัฒนาการไม่สมวยั สภาพแวดล้อม ครอบครัวไทยจะต้องมี ความสามารถในการปกป้อง คุ้มครอง ดูแล อบรม บม่ เพาะ สง่ั สอนเยาวชนในครอบครัว ไม่ยอมรบั การ ทุจริตคอรปั ชน่ั ระบบนเิ วศทีส่ นับสนุนครอบครวั ใน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สภาพแวดล้อมทสี่ �ำคญั การเรยี นรู้ และสังคมทมี่ ีความสขุ
50 การสรา้ งรปู แบบการฝกึ มวยไทยทมี่ ีผลต่อความแขง็ แรงของกล้ามเนือ้ สำ�หรบั เยาวชนหญิง ประเดน็ ยุทธศาสตรช์ าติ ป่ ระเดน็ ที่ 5 การเสริมสรา้ งใหค้ นไทย ดา้ นการพัฒนาและเสริมสร้าง มสี ุขภาวะที่ดี ครอบคลุมท้งั ด้านกาย ใจ ศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ท่ี สติปญั ญา และสังคม เกยี่ วกับการการท�ำวจิ ยั คร้ังนี้ ไดแ้ ก่ มุ่งเน้นการเสริมสร้างการจัดการสุขภาวะในทุก 5.4 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพท่ีทันสมัย รปู แบบ ทน่ี ำ� ไปสกู่ ารมศี กั ยภาพในการจดั การสขุ ภาวะทด่ี ดี ว้ ย สนับสนุนการสร้างสุขภาวะท่ีดี โดยน�ำเทคโนโลยีและ ตนเอง พร้อมท้ังสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการ นวัตกรรมสมัยใหม่มาใช้ในการสร้างความทางด้านบริการ สรา้ งเสรมิ ใหค้ นไทยมสี ขุ ภาวะทด่ี ี และมที กั ษะดา้ นสขุ ภาวะ ทางการแพทยแ์ ละสขุ ภาพแบบครบวงจรและทนั สมยั ทร่ี วม ที่เหมาะสม ไปถึงการพฒั นาปัญญาประดิษฐใ์ นการใหค้ �ำปรึกษา วินจิ ฉยั 5.1 การสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ โดยพัฒนา และพยากรณก์ ารเกดิ โรคลว่ งหนา้ การพฒั นาระบบการดแู ล องค์ความรู้และการสื่อสารด้านสุขภาพที่ถูกต้องและเชื่อถือ สขุ ภาพทางไกลใหม้ คี วามหลากหลาย เขา้ ถงึ งา่ ย เพอื่ เปน็ การ ได้ให้แก่ประชาชน พร้อมท้ังเฝ้าระวังและจัดการกับความรู้ แก้ไขปัญหาบุคลากรทางการแพทย์ที่มีความเช่ียวชาญใน ทางสุขภาพท่ีไม่ถูกตอ้ ง จนเกดิ เป็น “ทักษะทางปญั ญาและ พ้ืนที่ห่างไกล มีการเชื่อมโยงผลิตภัณฑ์เข้ากับอินเทอร์เน็ต สงั คม” ทเี่ ปน็ การเพม่ิ ศกั ยภาพในการจดั การสขุ ภาวะตนเอง ทางดา้ นสขุ ภาพ อาทิ การพฒั นาอุปกรณ์อัจฉรยิ ะในการวัด ของประชาชน อาทิ การปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพของ อัตราการเต้นชีพจรหัวใจและส่งข้อมูลให้แพทย์ทราบทันที ตนเองให้มีความเหมาะสม และการมีกิจกรรมทางกายที่ และจดั ใหม้ รี ะบบการเกบ็ ขอ้ มลู สขุ ภาพของประชาชนตลอด เพยี งพอในการด�ำรงชีวิต ช่วงชีวิตให้มีประสิทธิภาพ โดยอยู่บนพื้นฐานความย่ังยืน 5.2 การปอ้ งกันและการควบคุมปัจจยั เสี่ยงทค่ี ุกคาม ทางการคลงั รวมถงึ การปฏริ ปู ระบบการเกบ็ ภาษแี ละรายจา่ ย ตอ่ สขุ ภาวะ โดยผลกั ดนั การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาวะในทกุ นโยบาย เพื่อให้บริการด้านสุขภาพ ตลอดจนการปฏิรูประบบหลัก ที่ให้หน่วยงานทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อสุขภาพ ประกนั สขุ ภาพในการสรา้ งสขุ ภาวะทดี่ ใี หก้ บั ชมุ ชนทกุ ชว่ งวยั ของประชาชนเพอ่ื ลดภยั คกุ คามทเี่ ปน็ อปุ สรรคตอ่ การพฒั นา อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ พอเพียง เป็นธรรม และย่ังยืน สขุ ภาวะของคนไทย 5.5 การสง่ เสรมิ ใหช้ มุ ชนเปน็ ฐานในการสรา้ งสขุ ภาวะ 5.3 การสร้างสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการมีสุขภาวะ ทดี่ ใี นทกุ พน้ื ที่ โดยใหช้ มุ ชนเปน็ แหลง่ บม่ เพาะจติ สำ� นกึ การมี ทด่ี ี โดยสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพทเี่ ปน็ สขุ ภาพทด่ี ขี องประชาชน ผา่ นการจดั การความรดู้ า้ นสขุ ภาพ มิตรต่อสุขภาพและเอื้อต่อการมีกิจกรรมส�ำหรับยกระดับ ทเี่ ปน็ ประโยชนแ์ ละสนบั สนนุ ใหม้ กี ารแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ การ สุขภาวะของสังคม จัดท�ำมาตรการทางการเงินการคลังท่ี สร้างสุขภาวะที่พึงประสงค์ระหว่างกัน โดยรัฐจะท�ำหน้าท่ี สนับสนุนสินค้าท่ีเป็นมิตรต่อสุขภาพ สนับสนุนการพัฒนา เปน็ ผอู้ ำ� นวยความสะดวกทส่ี ำ� คญั ในการอำ� นวยความสะดวก เทคโนโลยีและนวัตกรรมท่ีช่วยในการเสริมสร้างสุขภาวะ ให้ชุมชนสามารถสร้างการมสี ุขภาวะดีของตนเองได้ เช่น ให้ รวมทั้งก�ำหนดให้มีการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพโดย ความรู้ สนับสนุนทรัพยากรที่จ�ำเป็นในการจัดการสุขภาวะ ชุมชน และภาคประชาชนก่อนการด�ำเนินโครงการที่อาจ แก่ประชาชนในพื้นท่ี เป็นต้น เพ่ือให้ชุมชนเป็นพื้นที่ส�ำคัญ กระทบตอ่ ระดบั สุขภาวะ ในการจดั การสุขภาวะของแตล่ ะพนื้ ที่
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153