กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม การเตรยี มการ ๑) จดั เตรียมสถานท่ีประกอบพิธตี ามผัง ๒) โตะ๊ หมบู่ ชู า พรอ้ มเครอื่ งนมสั การ ๓) อุปกรณ์เคร่อื งใช้ในงานพธิ ีสงฆ์ (เชน่ เดียวกบั งานมงคล) ๔) เครอื่ งรับรองพระสงฆ์ ๕) นมิ นต์พระสงฆเ์ จรญิ พระพุทธมนต์ ๑๐ รูป ๖) นิมนต์พระเถราจารย์เพื่อนง่ั เจริญจิตภาวนา ตามจ�ำนวนท่เี จ้าภาพกำ� หนด ๗) พระสงฆ์สวดภาณวาร หรอื สวดพทุ ธาภิเษก จ�ำนวน ๔ รปู (ส�ำรบั ละ ๔ รูป เจ้าภาพ จะก�ำหนดกสี่ ำ� รบั เพือ่ ไวส้ บั เปล่ียนก็ได้ ๘) เทียนชัย ๑ เล่ม ไส้ ๑๐๘ เส้น หนกั ๘๐ บาท สงู เทา่ กับประธานหรอื เจ้าภาพพธิ ฯี ๙) ตเู้ ทียนชัย เปน็ ตู้ท่ีมีกระจกปิดเพื่อกนั ลมพดั ๑๐) เทียนมงคล ๑ เล่ม หนัก ๑๐ บาท ไส้เกินกว่าอายุประธานหรือเจ้าภาพ ๑ เส้น สงู เท่าความยาวรอบศรี ษะของประธานหรือเจ้าภาพ ๑๑) เทียนพุทธาภิเษก ๒ เล่ม หนักเล่มละ ๓๒ บาท ไส้ ๕๖ เส้น สูงประมาณก่ึงหนึ่ง ของเทยี นชัย ๑๒) เทียนนวหรคุณ ๙ เล่ม หนักเล่มละ ๒ บาท ไส้ ๙ เสน้ ๑๓) เทียนทโ่ี ต๊ะหมู่บชู าหนา้ พระประธาน ๑ คู่ ขนาดพองาม ๑๔) เทียนหนา้ พระสวดพทุ ธาภเิ ษก ๑ คู่ ๑๕) เทียนหนัก ๖ สลงึ ไส้ ๙ เสน้ ๒๘ เล่ม พรอ้ มธปู จนี ดอกเล็ก จดุ ทีเ่ ครือ่ งบวงสรวงสงั เวย ๑๖) เครอื่ งบวงสรวงสงั เวย ๑๗) เทยี นหนกั เล่มละ ๒ สลึง จำ� นวน ๑๐๘ เลม่ ๑๘) ธปู จนี ๑๐๘ ดอก ๑๙) มัดหญ้าคา สำ� หรบั ประพรมนำ�้ พระพุทธมนต์ ๒๐) ใบพลู ๗ ใบ (สำ� หรับดบั เทยี นชัย และเทยี นมงคล) ๒๑) เคร่อื งเจิม (แปง้ กระแจะใส่ละลายในโถปรกิ ) ๒๒) เทยี นวิปัสสี ๑ เล่ม หนกั ๑๒ บาท ไส้ ๓๒ เสน้ ๒๓) จตปุ ัจจยั ไทยธรรมถวายพระสงฆ์ในพธิ ี ๒๔) พานขา้ วตอกดอกไม้ ๒๕) ตูพ้ ระธรรมตัง้ เบ้ืองหนา้ พระสงฆส์ วดภาณวาร ๒๖) เครอ่ื งนมัสการพระธรรม 91
ศาสนพธิ แี ละมารยาทไทย แนวทางการปฏบิ ตั งิ าน พธิ บี วงสรวงบชู าฤกษ์ (กอ่ นถงึ เวลาฤกษจ์ ดุ เทยี นชยั พธิ พี ทุ ธาภเิ ษก หรอื มงั คลาภเิ ษก) ๑) เจา้ หน้าที่จัดโต๊ะบวงสรวงบูชาฤกษ์ - สังเวยเทวดา (กลางแจ้งนอกปะรำ� พธิ )ี ๒) จุดธูปเทียนทโ่ี ต๊ะเครอ่ื งบวงสรวงบูชาฤกษ์ - สังเวยเทวดา ๓) พราหมณ์ หรือ โหร อ่านโองการท�ำพิธบี วงสรวงบูชาฤกษ์ - สงั เวยเทวดา ๔) นมิ นต์พระสงฆข์ ึน้ ประจำ� อาสน์สงฆ์ ๕) ประธานหรอื เจา้ ภาพจุดธูปเทยี นพระรัตนตรยั กราบพระ ๓ ครง้ั ๖) เจ้าหน้าทอ่ี าราธนาศีล ๗) ประธานหรือเจา้ ภาพ และผู้ร่วมพธิ รี ับศีล (กรณีมีการกลา่ วรายงาน ให้กล่าวรายงาน หลงั จากประธานสงฆใ์ ห้ศลี แลว้ ) ๘) ประธานสงฆ์เจมิ เทียนชยั เทยี นพุทธาภเิ ษก และเทียนมงคล ๙) ประธานพิธีหรือเจ้าภาพถวายเทียนชนวนแด่ประธานสงฆ์ เพ่ือจุดเทียนชัย (ขณะน้ี พระสงฆ์ในพิธสี วดคาถาจดุ เทยี นชัย) ๑๐) ประธานพธิ ีหรือเจา้ ภาพโปรยขา้ วตอกดอกไม้ ๑๑) เจ้าหนา้ ทอ่ี าราธนาพระปริตร ๑๒) พระสงฆ์เจริญพระพทุ ธมนต์ ๑๓) พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ก่อนที่จะข้ึนบทไตรสรณคมน์ “พุทฺธํ...” เจ้าหน้าที่เชิญ ประธานพิธหี รือเจ้าภาพจุดเทียนมงคล และเทยี นนวหรคณุ ๑๔) เมื่อพระสงฆเ์ จริญพระพุทธมนตก์ อ่ นถึงบท “อเสวนา จ พาลาน.ํ ..” เชญิ ประธานพิธี หรอื เจา้ ภาพจดุ เทยี นทำ� นำ้� พระพทุ ธมนต์ (ระหวา่ งพระสงฆเ์ จรญิ พระพทุ ธมนต์ ใหบ้ ณั ฑติ ชกั ลกู ประคำ� และจุดเทียน และธูปอย่างละ ๑ เรื่อยไป เพ่ือเป็นการบูชาพระรัตนตรัยมิให้ขาดสาย จนครบ อย่างละ ๑๐๘ ๑๕) พระสงฆ์เจริญพระพทุ ธมนต์ จบ ๑๖) ประธานพธิ หี รือเจ้าภาพถวายเครื่องจตปุ ัจจยั ไทยธรรมแด่พระสงฆ์ ๑๗) พระสงฆอ์ นุโมทนา ๑๘) ประธานกรวดน้ำ� - รับพร ๑๙) เจ้าหน้าที่รบั พระสงฆ์เจริญพระพทุ ธมนตล์ งจากอาสน์สงฆ์ 92
กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ๒๐) เจา้ หนา้ ที่นิมนต์พระสงฆส์ วดพทุ ธาภเิ ษก หรือสวดภาณวารขึน้ อาสนส์ งฆเ์ ตียงสวด ๒๑) เจ้าหน้าท่นี มิ นตพ์ ระเถราจารย์เจริญจติ ภาวนาข้นึ นัง่ ยังธรรมาสนน์ งั่ ปรก ๒๒) ประธานในพิธีหรือเจ้าภาพจุดเทียนทองเงิน และจุดธูปเทียนท่ีเคร่ืองนมัสการที่เตียง สวดพุทธาภเิ ษก พระสงฆ์ ๔ รปู สวดพุทธาภเิ ษกเรือ่ ยไป จนครบเวลาตามทก่ี ำ� หนดไว้ (พระสงฆส์ วด พุทธาภิเษกจะเปล่ียนหลายสำ� รบั กไ็ ด้ ตามความเหมาะสมของเวลาตามทเ่ี จ้าภาพกำ� หนดไว)้ ๒๓) เมอื่ ครบก�ำหนดเวลาตามทีเ่ จา้ ภาพกำ� หนด ถงึ ฤกษด์ ับเทียนชยั ๒๔) พระเถราจารย์ผู้ดบั เทยี นชัย (ไมใ่ ช่รูปเดยี วกับทจ่ี ดุ เทยี นชัย) มาถงึ อุโบสถหรอื ศาลาที่ ประกอบพธิ พี ทุ ธาภิเษก หรอื มงั คลาภเิ ษก ๒๕) เจา้ หนา้ ท่ีน�ำใบพลู จำ� นวน ๗ ใบ พรอ้ มโถปริกกระแจะไปใหพ้ ระเถราจารย์เจิมแป้ง กระแจะทใ่ี บพลู ๒๖) นิมนต์พระเถราจารย์ประกอบพิธีดับเทียนชัยท่ีหน้าตู้เทียนชัย และดับเทียนมงคล พร้อมกัน (ขณะพระเถราจารย์ไปยืนท่ีหน้าตู้เทียนชัย พระสงฆ์ท่ีเตียงสวดพุทธาภิเษก สวดคาถา ดบั เทยี นชยั ) ๒๗) เม่ือดับเทียนชัยแล้ว พระเถราจารย์ประพรมน้�ำพุทธมนต์ และโปรยข้าวตอกดอกไม้ ไปรอบ ๆ สงิ่ มงคลหรอื เคร่อื งรางของขลงั ๒๘) เจา้ ภาพถวายเคร่อื งจตุปจั จัยไทยธรรมแด่พระสงฆ์ทั้งปวง ๒๙) พระสงฆอ์ นโุ มทนา ๓๐) เจ้าภาพกรวดน้�ำ - รบั พร ๓๑) เสรจ็ พิธพี ุทธาภเิ ษก หรอื มังคลาภเิ ษก ๓. พธิ ีวางศลิ าฤกษ์ การวางศิลาฤกษ์น้ี บุรพาจารย์กล่าวไว้ว่า มีคุณสมบัติเท่ากับการลงเข็มปลูกบ้าน อาคาร หรือสถานท่ีต่าง ๆ นั่นเอง ฉะนั้น เมื่อวางศิลาฤกษ์แล้ว ถึงคราวลงเข็มไม่ต้องหาฤกษ์ลงเข็มอีก วิธีการวางศิลาฤกษ์มีลักษณะคล้ายกับการลงเข็มปลูกบ้าน แต่จะแตกต่างกันตรงที่ของและวิธีการ เล็ก ๆ น้อย ๆ ในการวางศิลาฤกษ์นั้น การจัดที่ทางและโต๊ะหมู่บูชา พึงด�ำเนินการเช่นเดียวกับ การท�ำบญุ มงคลธรรมดา 93
ศาสนพธิ แี ละมารยาทไทย การเตรยี มการ ๑) จัดเตรียมสถานทปี่ ระกอบพิธี ๒) จดั โตะ๊ หม่บู ูชา พระพุทธรปู และเคร่ืองนมัสการ ๓) ครอบน้�ำพระพุทธมนต์ และก�ำหญ้าคาประพรมน�้ำพระพทุ ธมนต์ ๔) ด้ายสายสิญจน์ ๔) อาสนส์ งฆ์ เครอ่ื งรบั รองพระสงฆ์ ๕) ราชวัตรฉัตรธง ต้นกล้วย อย่างละ ๘ ต้น ๖) แผ่นศิลาฤกษ์ (เม่ือโหราจารย์ก�ำหนดการให้ฤกษ์ไว้ แล้วน�ำไปให้ช่างแกะสลักลงบน หนิ ออ่ น กวา้ ง x ยาว ประมาณ ๘ น้วิ ๑๒ นิ้ว ๗) ไม้เข็มมงคล ๙ ต้น (ชัยพฤกษ์, ราชพฤกษ์, สักทอง, ไผ่สีสุก, พะยูง, ทองหลาง, กนั เกรา, ทรงบันดาลหรือทรงบาดาล และขนุน) ซงึ่ พระเถราจารยไ์ ด้ลงอกั ขระไวแ้ ลว้ ๘) ทรายเสก (ทรายทีเ่ สกด้วยพระพทุ ธมนตบ์ ทพระปริตร) ๙) โถปริก กระแจะแป้งเจมิ ๑๐) ทองค�ำเปลว ประมาณ ๑๕ แผน่ พร้อมน�ำ้ มันท่ที าแผน่ ศลิ าแล้วท�ำใหท้ องตดิ ไว้ ๑๑) อฐิ ทอง - นาก - เงนิ จ�ำนวนอย่างละ ๓ ก้อน ๑๒) ตลบั นพรัตน,์ ลูกป้องกันพิษภัย, เศษทอง นาก เงนิ ส�ำหรบั ลงกน้ หลมุ ๑๓) พานขา้ วตอก, ดอกไม,้ เมลด็ ถว่ั , งาด�ำ ๑๔) คอ้ น หรอื สามเกลอ สำ� หรบั ประธานตอกไม้มงคล ๑๕) เกรียง, ปนู ซเี มนตผ์ สมเสร็จแลว้ ประมาณ ๑ ขันพานรอง ๑๖) ก่ออิฐถือปูน หรือท�ำแท่นสี่เหล่ียมพร้อมใส่ดินหรือทรายไว้ประมาณ ๓ ใน ๔ ส่วน ตั้งไว้บนพืน้ ทป่ี รมิ ณฑลของสถานท่ีจะประกอบพิธวี างศิลาฤกษ์ เคร่อื งบวงสรวงบชู าฤกษ์ ๑) เคร่อื งมัจฉมังสะ ๖ (กงุ้ , ปลา, ป,ู หัวหม,ู เปด็ และไก)่ ๒) บายศรปี ากชาม ๓) ขนม นม และเนย (ขนมตม้ แดง, ตม้ ขาว, ขนมหชู า้ ง, ขนมเล็บมือนาง, มะพรา้ วออ่ น, กลว้ ยนำ้� ไทย หรอื กลว้ ยนำ�้ วา้ , ผลไมต้ า่ งๆ ทมี่ ชี อื่ เปน็ มงคล, นม, เนย, ขนมทองหยบิ , ขนมทองหยอด, ขนมฝอยทอง, ขนมถว้ ยฟู เป็นตน้ ) ๔) น�ำ้ ๑ ที่ ๕) หมาก พลู ๑ ที่ 94
กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม แนวทางการปฏิบัตงิ าน ๑) กอ่ นปฐมฤกษป์ ระมาณ ๔๐ - ๕๐ นาที ประธานพธิ แี ละผรู้ ว่ มพธิ พี รอ้ มกนั ณ บรเิ วณพธิ ี ๒) จุดธูปเทยี นทเ่ี คร่อื งสงั เวยบวงสรวงบชู าฤกษ์ ๓) พราหมณห์ รือโหราจารยท์ �ำพิธีบวงสรวงบูชาฤกษ์ ๔) เสรจ็ พิธบี วงสรวงบชู าฤกษ์ ๕) เจา้ หนา้ ทจี่ ดั โตะ๊ วางแผน่ ศลิ าฤกษ์ ไมม้ งคล อฐิ ทอง - นาก - เงนิ ไวท้ ดี่ า้ นหวั อาสนส์ งฆ์ และน�ำสายสญิ จนม์ าเช่ือมไวย้ ังส่ิงมงคลดงั กลา่ ว ๖) เมอ่ื ใกลถ้ ึงเวลาปฐมฤกษ์ ๗) ประธานพธิ ีหรือเจ้าภาพจุดธูปเทยี นบชู าพระรตั นตรยั (กราบ ๓ ครัง้ ) ๘) เจ้าหนา้ ท่ีอาราธนาศลี ๙) ประธานสงฆ์ใหศ้ ีล ๑๐) ประธานพธิ ีหรือเจ้าภาพ และผู้รว่ มพธิ รี บั ศลี ๑๑) เจา้ หนา้ ทอ่ี าราธนาพระปรติ ร (ถ้ามกี ารเจริญพระพทุ ธมนต)์ ๑๒) พระสงฆ์เจริญพระพทุ ธมนต์ จบแล้ว รอเวลาปฐมฤกษ์ ๑๓) เม่อื ใกล้เวลาปฐมฤกษ์ (ถ้ามกี ารกลา่ วรายงานให้กล่าวรายงานชว่ งน)ี้ ๑๔) ประธานปิดทอง และเจิมแผ่นศลิ าฤกษ์ ๑๕) ไดเ้ วลาปฐมฤกษ์ ประธานพธิ ียนื หนั หนา้ ไปทางทศิ ท่เี ป็นศรีของวนั ทป่ี ระกอบพธิ ี วันอาทิตย์ ทศิ อดุ ร วนั จันทร ์ ทิศหรดี วนั อังคาร ทศิ อสี าน วนั พุธ ทิศบรู พา วันพฤหัสบด ี ทิศอาคเนย์ วันศกุ ร ์ ทศิ พายพั วันเสาร ์ ทิศทักษิณ ๑๖) ประธานพธิ ีรับค้อนจากเจ้าหนา้ ท่ี ๑๗) ตอกไม้เข็มมงคล ๙ ต้น ตามล�ำดับเป็นประทักษิณ (เพ่ือความสะดวกส�ำหรับ ประธานพิธี เจ้าหน้าท่ีควรน�ำไม้เข็มมงคลลงไว้ในแท่นส�ำหรับวางศิลาฤกษ์ประมาณ ๒ ใน ๓ ส่วน ของไมเ้ ข็มมงคล) 95
ศาสนพิธีและมารยาทไทย ๑๘) พระสงฆเ์ จริญชยั มงคลคาถา จนกว่าพธิ วี างศลิ าฤกษ์จะแลว้ เสรจ็ ดนตรีบรรเลงเพลง มหาฤกษ์ พราหมณ์เปา่ สังข์แกว่งบัณเฑาะว์ ลั่นฆอ้ ง ๑๙) ประธานพิธีรับเกรียงตักปูนซีเมนต์ผสมเสร็จท่ีเตรียมไว้ หยอดที่หลักไม้เข็มมงคล จนครบ ๙ ตน้ ๒๐) รับอิฐทอง อิฐเงิน อิฐนาก วางเรียงเป็นรูปวงกลม หรือสี่เหล่ียมบนซีเมนต์ผสมเสร็จ ทีห่ ยอดไว้ท่หี ลกั ไม้เขม็ มงคล จนครบแผน่ อิฐทอง อิฐเงนิ อิฐนาก ตามที่ก�ำหนดไว้ ๒๑) ประธานพิธีรับเกรียงตักปูนซีเมนต์ผสมเสร็จท่ีเตรียมไว้หยอดแล้วเกลี่ยให้เรียบที่ แผ่นอิฐทอง อิฐเงิน และอฐิ นาก ๒๒) ประธานพธิ ีรับแผ่นศิลาฤกษ์จากเจ้าหนา้ ทหี่ รือเจ้าภาพวางบนแผน่ อิฐ ๒๓) ประธานพิธวี างตลบั นพรัตน์ลงบนแผน่ ศิลาฤกษ์ ๒๔) ประธานพิธีวางพวงมาลัย และโปรยข้าวตอก ดอกไม้ เหรียญเงิน เหรียญทอง ลงในหลุมศิลาฤกษ์ และเชิญเจ้าภาพ แขกผู้มีเกยี รติอื่น ๆ โปรยตาม ๒๕) ประธานสงฆป์ ระพรมน�้ำพระพทุ ธมนต์ ๒๖) เข้าสู่ปะรำ� พธิ ี ถวายเครือ่ งจตุปัจจัยไทยธรรม ๒๗) พระสงฆ์อนุโมทนา ๒๘) ประธานพธิ ีหรอื เจ้าภาพกรวดน้�ำ - รับพร ๒๙) เสร็จพธิ ี 96
กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม เครอื่ งบวงสรวง เครอื่ งบวงสรวง พธิ บี วงสรวง แท่นวางศลิ าฤกษ์ อิฐเงิน-ทอง-นาก และไม้เข็มมงคล ๙ ต้น แผ่นศลิ าฤกษ์ 97
ศาสนพธิ ีและมารยาทไทย พระสงฆ์เตรียมเจรญิ ชยั มงคลคาถา การเจมิ การเตรียมไม้เขม็ มงคล การตอกไมม้ งคล การวางแผ่นศลิ าฤกษ์ 98
กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม 99
ศาสนพิธีและมารยาทไทย ๔. พธิ ีทำ� บุญข้ึนบ้านใหม่ การท�ำบุญขึ้นบ้านใหม่ คือ การท�ำบุญในคราวที่ขึ้นบ้านใหม่ หรือย้ายไปอยู่ท่ีใหม่ หรือ การทำ� บุญเปดิ ป้ายส�ำนักงานใหม่ การเตรียมการ ๑) จดั เตรียมสถานท่ใี นการประกอบพธิ ี ๒) โต๊ะหมูบ่ ูชา พระพุทธรปู และเครอ่ื งนมสั การ ๓) เคร่ืองใชใ้ นพิธสี งฆส์ ำ� หรับใชใ้ นงานมงคล ๔) เครื่องรบั รองพระสงฆ์ ภาชนะใส่น้�ำร้อน น้ำ� เย็น ถวายพระสงฆ์ ๕) ภัตตาหารคาว – หวาน ถวายพระสงฆ์ ถ้ามกี ารเล้ียงพระสงฆ์ ๖) จตปุ ัจจัยไทยธรรมถวายพระสงฆ์ ๗) นิมนตพ์ ระสงฆ์ ๕ , ๗ , ๙ รปู ตามความเหมาะสมของสถานท่ี ๘) ก�ำหนดฤกษ์ หรือเวลาในการประกอบพิธี ๘) โถปริกส�ำหรบั ใส่กระแจะแป้งเจิม ๙) ทองค�ำเปลว ๙ แผน่ ๑๐) วงสายสิญจน์รอบอาคารหรือบา้ น ไปยงั ฐานของพระพทุ ธรูป แลว้ นำ� กล่มุ สายสิญจน์ วางไวท้ ่ีอาสนส์ งฆข์ องประธานสงฆ์ แนวทางการปฏิบัตงิ าน ๑) เมือ่ ได้เวลาตามทเ่ี จา้ ภาพกำ� หนด และผู้ร่วมพิธีพรอ้ มกนั ๒) เจา้ ภาพจดุ ธูปเทียนบูชาพระรัตนตรยั (กราบ ๓ ครง้ั ) ๓) เจา้ หน้าท่ีอาราธนาศลี ๔) ประธานสงฆ์ให้ศลี ๕) เจ้าภาพและผรู้ ว่ มพธิ รี บั ศีล ๖) เจา้ หนา้ ทอ่ี าราธนาพระปริตร ๗) พระสงฆ์เจรญิ พระพทุ ธมนต์ จบ ๘) เจ้าภาพถวายภัตตาหารเช้า หรือ เพล ตามโอกาสเวลาทจี่ ัดงานพิธี 100
กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม ๙) พระสงฆ์เสร็จภตั ตกจิ (ฉันภตั ตาหารเสร็จเรียบรอ้ ย) ๑๐) เจ้าหนา้ ทีน่ ำ� เคร่ืองจตุปจั จยั ไทยธรรมมาวางไว้ ณ เบอ้ื งหน้าพระสงฆท์ กุ รูป ๑๑) เจา้ ภาพหรือผู้แทนประเคนจตุปจั จัยไทยธรรมแดพ่ ระสงฆ์ ๑๒) พระสงฆ์อนุโมทนา ๑๓) เจา้ ภาพกรวดน้ำ� - รับพร ๑๔) เจ้าภาพนิมนต์ประธานสงฆ์ หรอื พระสงฆ์รปู ใดรูปหนงึ่ ไปเจมิ ท่ปี ้าย หรอื ประตูบริษทั ห้าง รา้ น สำ� นกั งาน บา้ น เรือน หรือหอ้ ง ตามความประสงค์ของเจา้ ภาพ (เจมิ ปิดทอง) แล้วประพรม นำ�้ พระพทุ ธมนต์ท่ปี ้าย หรือประตูทีเ่ จมิ แล้ว ๑๕) เสรจ็ พิธี หมายเหตุ ๑) สามารถปรบั เปลย่ี นการด�ำเนนิ พธิ ีกรรมต่าง ๆ ได้ ตามก�ำหนดฤกษ์ ๒) ในกรณเี ปิดอาคารหรอื เปิดปา้ ยอาคาร ให้เตรียมป้าย และแพรคลมุ ป้าย และกรรไกร ส�ำหรับตัดรบิ บิ้นหรอื เชือก ๕. พธิ ีมงคลสมรส เมื่อหญิงชายต่างมีฉันทะร่วมกันในอันท่ีจะครองเรือนแล้ว ฝ่ายชายจะส่งผู้ใหญ่ของตน ไปส่ขู อกบั ผู้ใหญฝ่ า่ ยหญงิ เสยี ชน้ั หน่ึงก่อน ตอ่ จากน้นั จะก�ำหนดวันหมนั้ ของหมนั้ ตามประเพณนี ิยม เป็นแหวน ในการหม้ัน ไม่ค่อยมีพิธีรีตองอะไรมากนัก ผู้ที่ท�ำหน้าท่ีด�ำเนินการในเร่ืองการหม้ัน เรียกว่า เถ้าแก่ เชิญขันหมากไปถึงที่แล้ว ก็กล่าวค�ำเป็นท่ีจ�ำเริญใจ และบอกความประสงค์ว่า “มาเพื่อขอหมั้น ชื่อหญิงสาว...........................ซ่ึงเป็นธิดาของ...........................ให้กับ (ช่ือของชาย) ................................ซึง่ เป็นบตุ รของ............................” แล้วมอบของหมั้นใหก้ ับผูใ้ หญข่ องฝา่ ยหญงิ ปัจจบุ ันน้ี ให้ฝา่ ยชายสวมแหวนหมนั้ ทนี่ ิว้ นางของฝ่ายหญิงเลยทเี ดยี ว 101
ศาสนพิธีและมารยาทไทย การเตรียมการ ๑) ขนั หมาก ๒) ขนั ท่ี ๑ บรรจหุ มาก ๘ คู่ (กา้ นทาดว้ ยชาดแดง) พลู ๘ เรยี ง เรยี งละ ๘ ใบ ก้านทาด้วย ชาดแดง) ใบพลวู างรอบขนั หนั ปลายพลูขนึ้ ปากขนั หมากวางไว้ตรงกลาง ๓) ขันท่ี ๒ บรรจุดอกรัก ๗ ดอก, ดอกบานไม่รู้โรย ๗ ดอก, ดอกดาวเรือง ๗ ดอก, ยอดใบเงิน ยอดใบทอง อย่างละ ๓ ยอด, ข้าวเปลือก ๑ ถุง, ถ่ัวเขียว ๑ ถุง, งาด�ำ ๑ ถุง และ แหวน ทองหมั้น วางบนของเหลา่ น้ี คลุมปากขันด้วยผ้าสีชมพหู รือผา้ แดง แนวทางการปฏบิ ตั ิ ๑) ผู้ใหญ่ฝ่ายชาย (เถ้าแก่) เดินออกหน้า (เวลาจัดตั้งขบวนไปหม้ัน) ถัดไปเป็นผู้ท่ีถือ ขนั หมาก เจ้าบา่ ว ญาติอืน่ ๆ ๒) (ฝ่ายเจ้าสาว) จัดคนเชิญขันหมากและรับขันหมากไปวางไว้ในที่ที่ก�ำหนด (คนเชิญ ขันหมากมักใช้เดก็ หญงิ อายปุ ระมาณ ๗ - ๘ ขวบ) ๓) ผใู้ หญท่ ัง้ สองฝา่ ยนั่งล้อมขันหมาก ๔) ผู้ใหญฝ่ า่ ยชายกลา่ วค�ำขอหม้ัน ๕) ผู้ใหญฝ่ า่ ยหญงิ กลา่ วตอบ ๖) ผใู้ หญฝ่ ่ายชายมอบขันหมากแกผ่ ู้ใหญ่ฝา่ ยหญงิ ๗) ผู้ใหญ่ฝ่ายหญิงเปิดขันหมากและตรวจดู พร้อมกับกล่าวค�ำท่ีเป็นสิริมงคล เช่น “ทุกอย่างล้วนแต่สวยสดงดงาม ทองสุกใสหลายหลาก เงินมากมายก่ายกอง คงจะต้องอ�ำนวย ความสุขสดชืน่ ตลอดชั่วนริ ันดรทีเดียว” ๘) ผใู้ หญท่ ้งั สองฝา่ ยร่วมกนั โปรยวัตถมุ งคล (ถว่ั , งา, ขา้ วตอก, ดอกไม)้ ลงบนของหมนั้ หรอื พรอ้ มกับกลา่ วค�ำท่เี ปน็ สริ ิมงคล (หลังจากเสรจ็ พิธีแลว้ นำ� ไปโปรยไว้ในสวนหรอื ท่เี หมาะสม) ๙) ฝ่ายหญิงน�ำเจ้าสาวออกมาและน้อมไหว้ผู้ใหญ่ฝ่ายชายจนครบทุกคน แล้วนั่งในที่ ท่กี ำ� หนด ๑๐) เมอ่ื ไดเ้ วลาฤกษ์ ผใู้ หญฝ่ า่ ยหญงิ มอบแหวนหมนั้ ใหฝ้ า่ ยชาย เพอ่ื สวมนวิ้ ฝา่ ยหญงิ สาวตอ่ ไป ๑๑) ฝ่ายชายและฝ่ายหญงิ สาวไปกราบผู้ใหญ่ทงั้ สองฝา่ ย (กราบครงั้ เดียว ไม่แบมอื ) ๑๒) ฝา่ ยหญงิ แจกของช�ำร่วย และเลย้ี งของว่างรับรองแขก 102
กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ๖. พิธยี กขนั หมาก การเตรียมการ ขนั หมากเอก ๔ ขนั ประกอบดว้ ย ขนั ใสห่ มากพล ู ๒ ขนั (หมาก ๘ คู่ ๘ เรยี ง) ขนั ใสข่ นมจนี หอ่ หมก ๒ ขนั (แตล่ ะขนั มขี นมจนี ๘ จบั หอ่ หมก ๘ หอ่ ) ขนั สนิ สอด ๑ ขนั (ในกรณไี มม่ กี ารหมน้ั ไวก้ อ่ น) แนวทางการปฏบิ ัติ ๑) เมือ่ ได้ฤกษเ์ คล่ือนขบวนขันหมาก ใหผ้ ู้ใหญฝ่ า่ ยชายนำ� ขบวน ดังนี้ (๑) คนน�ำตน้ กลว้ ย ๒ คน (๒) คนนำ� ตน้ อ้อย ๒ คน (๓) คนน�ำขันหมาก ๔ คน (๔) คนน�ำขนั สินสอด ๑ คน (๕) เจ้าบา่ ว (๖) คนถอื ขวดเหลา้ ๒ คน (๗) คนถอื ผา้ ไหว้ผี ๑ คน (ผ้าขาว ๖ ศอก) (๘) คนถอื ถาดมะพร้าวออ่ น จำ� นวน ๒ ลูก ๑ คน (๙) คนถือถาดกล้วยน�ำ้ ว้า จ�ำนวน ๒ หวี ๑ คน (๑๐) คนถอื ถาดใสห่ มู ๑ คน (๑๑) คนถือถาดใสห่ มี่ ๑ คน (๑๒) คนถือถาดใสข่ นม ๑ คน (๑๓) คนถอื ส่งิ ของอนื่ ๆ ๒) ฝ่ายเจา้ สาวจดั คนถือพานหมากไปคอยรบั ทป่ี ระตบู ้าน (นิยมใชเ้ ดก็ หญงิ ) ๓) เมื่อขบวนขันหมากมาถึง ก่อนเข้าบ้าน เด็กหญิงท่ีถือพานหมากมาต้อนรับจะพูดว่า “ไปยังไง มายังไงคะ มากันมากมายจริงๆ” ๔) ผู้น�ำขบวนขันหมากจะพูดตอบว่า “วันนี้มาดีนะ ไม่ได้มาร้าย น�ำแก้วแหวนเงินทอง และน�ำคนดีมีสิริมงคลมาให้เพ่ือเป็นทองแผ่นเดียวกัน ขอผ่านหน่อยนะจ๊ะ” พร้อมกับวางซองเงิน บนพานหมากของเด็กดว้ ย 103
ศาสนพิธแี ละมารยาทไทย ๕) ฝ่ายเด็กหญงิ กจ็ ะเชญิ ใหเ้ ขา้ ไปในบ้าน ๖) ญาติฝ่ายเจ้าสาวท่ีถูกจัดไว้เพ่ือรับขบวนขันหมาก น�ำขันหมากไปวางไว้ในท่ีที่ก�ำหนด ตอ่ หน้าญาตขิ องทั้งสองฝา่ ย ๗) นำ� ผา้ ไหวไ้ ปวางไวร้ ว่ มกบั ขนั หมาก ของนอกนนั้ วางไวใ้ นทเ่ี หมาะสม วางเปน็ แถวคกู่ นั สว่ นต้นกลว้ ย ต้นออ้ ย รับไปวางพงิ ไว้ที่ประตบู า้ นท้งั สองด้าน ๘) ผใู้ หญฝ่ า่ ยเจา้ สาวรว่ มกนั เปดิ ขนั หมาก นบั เงนิ สนิ สอดและโปรดวตั ถมุ งคลลงบนสนิ สอด ๙) นำ� เจ้าสาวออกมานงั่ ข้างซ้ายเจา้ บา่ ว นอ้ มไหวผ้ ู้ใหญฝ่ า่ ยเจ้าบา่ ว (ถา้ มีการสวมแหวน หม้ันก็ทำ� ตอนนี้ และปฏิบัตเิ หมือนพิธที ก่ี ล่าวไวใ้ นขัน้ ตอนหมั้น) ๑๐) ผู้ใหญ่ทั้ง ๒ ฝ่าย ประพรมน�้ำพระพุทธมนต์บนส่ิงของต่าง ๆ ที่วางไว้เป็นแถว พร้อมกับกล่าวคำ� ทีเ่ ปน็ สริ ิมงคล เชน่ วา่ “ของเปน็ อันมาก มง่ั คั่งสมบรู ณด์ ี ขอใหพ้ อกพนู ทวยี งิ่ ขึน้ ตลอดไป ภวตุ สพพฺ มงฺคลํ” ๗. พิธีไหวบ้ รรพบุรษุ การเตรียมการ ๑) หยบิ ของกนิ ที่มากบั ขนั หมากอยา่ งละเลก็ อย่างละน้อย ใสใ่ นถาดหรอื จาน ๒ ใบ ๒) รนิ เหล้าใส่แก้ว ๒ ใบ จากเหลา้ ๒ ขวด ๓) เทยี น ๒ เล่ม และธูป ๕ ดอก ส�ำหรบั เจ้าบา่ วและเจ้าสาว แนวทางการปฏิบตั ิ ๑) วางจานของกินท่ีหยิบจากขันหมาก พร้อมทั้งแก้วเหล้าท้ัง ๒ แก้ว ท่ีโต๊ะ หรือ บนผ้าขาว ภายในบ้าน มมุ ใดมุมหนง่ึ ทีเ่ หน็ ว่าสมควร ๒) จุดธปู เทียนใหเ้ จา้ บ่าว และเจ้าสาวปกั ไว้ ณ ทป่ี ักหรอื บนจาน หรือถาดของไหว้ ๓) กล่าวบูชาวิญญาณของบรรพบุรุษ ว่า “วันนี้ นาย.......................................และ นางสาว....................................ได้เข้าพิธีมงคลสมรสตามประเพณี จึงขอนอบน้อมแด่ดวงวิญญาณ ของบรรพบุรุษที่ล่วงลับไป เพื่อเป็นการบอกกล่าวขออนุญาต และขอให้ดวงวิญญาณและ พระคุณของท่านได้โปรดอวยพรให้ลูกหลานมีความสุขความเจริญในชีวิตสมรสยิ่ง ๆ ขึ้นไปเทอญ” (กราบ ๑ ครั้ง ไม่แบมอื ) 104
กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ๘. พิธีสงฆ์เนื่องในพธิ ีมงคลสมรส การเตรยี มการ ๑) เครื่องใชพ้ ธิ สี งฆ์ (สำ� หรบั ใชใ้ นงานพิธีมงคล) ๒) ด้ายมงคลแฝด (นิมนต์พระสงฆ์ท่ีเคารพนับถือจับให้) ใส่พานตั้งไว้ข้างครอบ ทำ� น�้ำพระพทุ ธมนต์ เพ่ือจะไดเ้ ปน็ สริ ิมงคลในขณะทพ่ี ระสงฆ์เจรญิ พระพุทธมนต์ ๓) โถปริก แป้งกระแจะเจิม (ใส่พานต้ังไว้ข้างครอบท�ำน้�ำพระพุทธมนต์ เพื่อจะได้เป็น สริ ิมงคลในขณะทพี่ ระสงฆเ์ จริญพระพทุ ธมนต์) ๔) เตรียมนมิ นตพ์ ระสงฆ์เจรญิ พระพทุ ธมนต์ ๕) เคร่อื งจตปุ จั จยั ไทยธรรมถวายพระสงฆ์ ๖) ภัตตาหารคาว - หวาน ส�ำหรบั ถวายพระสงฆ์ ๗) หมอนกราบ ๒ ใบ (หนา้ โตะ๊ หมบู่ ชู า) แนวทางการปฏบิ ัติ ๑) เมอ่ื ถึงเวลาตามทก่ี �ำหนด และผูร้ ่วมพธิ ีพรอ้ มกัน ๒) เชิญเจา้ บ่าวและเจา้ สาวนั่งหน้าโต๊ะหมูบ่ ูชา (เจ้าสาวนงั่ ทางด้านซ้ายมอื ของเจ้าบ่าว) ๓) รับเทียนชนวนจากพิธีกร เจ้าบ่าวและเจ้าสาวจับด้วยกัน จุดธูปเทียนจากซ้ายไปขวา ของผ้จู ดุ ๔) กล่าวคำ� บูชาพระรัตนตรยั แล้วกราบพระรตั นตรัยท่ีหมอนพร้อมกัน ๓ ครง้ั ๕) หนั ไปทางพระสงฆ์ กราบพระสงฆ์พรอ้ มกัน ๓ ครงั้ ๖) พธิ ีกรอาราธนาศีล พระสงฆใ์ ห้ศีล ๗) เจา้ บ่าว เจา้ สาว และผ้รู ่วมพธิ รี บั ศีลพรอ้ มกนั ๘) ศาสนพิธกี รอาราธนาพระปริตร พระสงฆเ์ จรญิ พระพุทธมนต์ ๙) พระสงฆ์เจริญพระพทุ ธมนตก์ ่อนถงึ บท “อเสวนา จ พาลานํ...” เจา้ บ่าวและเจา้ สาว ไปนง่ั คุกเขา่ เบ้ืองหนา้ ประธานสงฆ์ ๑๐) รับเทยี นชนวนจากศาสนพธิ ีกร จับดว้ ยกนั จุดเทียนทำ� นำ�้ พระพุทธมนต์บน ๑๑) ยกครอบสำ� หรบั ทำ� น�้ำพระพุทธมนตพ์ รอ้ มกัน ประเคนประธานสงฆ์ 105
ศาสนพธิ ีและมารยาทไทย ๑๒) กลบั มานั่งฟงั พระสงฆเ์ จรญิ พระพทุ ธมนต์ ณ ทเี่ ดิม ๑๓) พระสงฆ์เจริญพระพทุ ธมนต์ ถึง บทถวายพรพระ “พาหุ สหสสฺ มภินมิ .ฺ ..” ๑๔) ลุกไปตกั บาตร (จับทัพพี และหยบิ ของใส่บาตรพร้อมกัน) ๑๕) พระสงฆ์เจรญิ พระพุทธมนต์ จบ ๑๖) ประเคนภตั ตาหารแด่พระสงฆ์ พระสงฆ์ฉนั ภตั ตาหารเสร็จ ๑๗) พิธีกรน�ำเครื่องจตปุ ัจจยั ไทยธรรมไปวางไวเ้ บอื้ งหนา้ พระสงฆท์ ุกรูป ๑๘) เจ้าบา่ วและเจ้าสาวประเคนจตุปัจจัยไทยธรรมด้วยกัน ทุกรูป ๑๙) พระสงฆ์อนุโมทนา ๒๐) เจ้าบา่ วและเจา้ สาวกรวดน้�ำ - รับพร พรอ้ มกนั ๒๑) เจ้าบ่าวและเจ้าสาวประนมมือเข้าไปรับน้�ำพระพุทธมนต์จากพระสงฆ์แต่ละรูป จบครบทุกรปู ๒๒) เสรจ็ พธิ ี ๙. พิธีหล่งั นำ้� พระพุทธมนต์และประสาทพร การเตรียมการ ๑) โต๊ะหม่บู ูชา ๑ ชุด ๒) โต๊ะนำ�้ สังข์ พรอ้ มอุปกรณร์ ดน้ำ� สังข์ ๑ ชดุ ๓) พวงมาลัย ๒ ชาย ๒ พวง ๔) ดา้ ยมงคลแฝด ๑ ชุด ๕) โถปรกิ พรอ้ มแปง้ กระแจะเจมิ ๑ ที่ ๖) นำ้� พระพุทธมนต์ ๑ ขนั พรอ้ มขันเล็กส�ำหรับตักน้�ำพระพทุ ธมนตใ์ ส่สังข์ ๑ ท่ี แนวทางการปฏบิ ตั ิ ๑) เมื่อถึงกำ� หนดเวลาเจา้ บา่ ว และเจา้ สาวไปนงั่ คุกเข่าทีโ่ ต๊ะหมูบ่ ูชา (หญิงซ้าย ชายขวา) ๒) รบั เทยี นชนวนจากศาสนพธิ กี ร แลว้ จบั ดว้ ยกนั จดุ ธปู เทยี นบชู าพระรตั นตรยั พรอ้ มกนั ๓) กราบพระรัตนตรยั ๓ คร้ัง ๔) เจ้าบ่าวและเจา้ สาวไปนัง่ ทโ่ี ต๊ะรดนำ้� สงั ข์ 106
กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม ๕) ประธานพิธไี ปท่โี ต๊ะน้�ำสังข์ นอ้ มศรี ษะไหวพ้ ระรัตนตรยั ท่ีโตะ๊ หมู่บูชา ๑ ครง้ั ๖) รับพวงมาลัยจากศาสนพิธีกร และกล่าวว่า “ขออานุภาพแห่งความรักท้ังที่เป็น บพุ เพสนั นิวาส และปจั จบุ ันเกื้อหนุน ได้โปรดคำ้� จนุ ความรักของคณุ ทั้ง ๒ ใหส้ ดชน่ื ยงั่ ยนื ตลอดไป” แล้วสวมพวงมาลัยให้เจ้าบ่าว และเจ้าสาว (แต่งให้ชายทั้งสองของพวงมาลัยท้ังสองข้างพาดอยู่บน โต๊ะวางแขน) ๗) ประธานรับดา้ ยมงคลแฝดจากพิธีกร ประนมมือกลา่ วว่า “พระพุทธ พระธรรม และ พระสงฆ์ เป็นมงคลในโลก ด้วยอานุภาพแห่งคุณพระศรีรัตนตรัย ขอความสุขสวัสดีมงคลจงบังเกิด แก่คุณท้ังสองตลอดกาลทุกเมื่อเทอญ” แล้วคล่ีมงคลแฝดในแต่ละบ่วง ออกสวมศีรษะของเจ้าบ่าว และเจ้าสาวพร้อม ๆ กัน (มือซ้ายสวมเจ้าบ่าว มือขวาสวมเจ้าสาว) โดยให้ปมอยู่ด้านหลังศีรษะ (จัดใหเ้ รยี บร้อย) ๘) ประธานรบั แปง้ เจมิ จากศาสนพธิ กี ร ใชน้ วิ้ ชจี้ มุ่ แปง้ กระแจะจดุ ทกี่ ลางหนา้ ผากเจา้ บา่ ว และเจา้ สาว เปน็ ๓ จุด จดุ แรก พุธโธ เต นาโถ จุดที่ ๒ ธมั โม เต นาโถ และจดุ ที่ ๓ สงั โฆ เต นาโถ หรอื จะกลา่ ววา่ “อะอุมะ” ก็ได้ (ลำ� ดบั การเจมิ ซ้าย ขวา ตรงกลาง) ๙) ประธานรับสงั ขจ์ ากศาสนพิธีกร รนิ ลงท่ีมือเจ้าบ่าวและเจ้าสาวท่ปี ระนมอยู่ ๑๐) ขณะท่ีประธานพิธีกระทำ� กจิ กรรมต่าง ๆ ดงั กลา่ ว เจา้ บ่าวและเจ้าสาวประนมมอื รบั ทุกคร้งั ๑๑) ประนมมอื ยน่ื พาดโตะ๊ วางแขนไปขา้ งหนา้ นอ้ มปลายมอื ลงเลก็ นอ้ ย และใหม้ อื อยเู่ หนอื พานดอกไม้รองรับนำ�้ สงั ข์ ๑๒) นอ้ มศรี ษะเล็กน้อยในขณะที่ทุกคนเขา้ ไปหลงั่ น้ำ� สงั ข์ และประสาทพร ๑๓) เมื่อแขกผู้มีเกยี รตทิ ุกคนรดนำ้� สังขเ์ รยี บรอ้ ยแลว้ ๑๔) ประธานผู้ถอดมงคลไปท่ีโต๊ะน้�ำสังข์น้อมศีรษะไหว้พระ ๑ ครั้ง แล้วหันไปทาง เจา้ บา่ วและเจา้ สาว กลา่ ววา่ “ขอสรรพม่ิงมงคลความสขุ สวสั ดีทง้ั หลาย จงมแี ก่คณุ ทั้ง ๒ ตลอดกาล ทกุ เมอื่ เทอญ” แลว้ ใชม้ อื ทงั้ สองปลดมงคล (มอื ซา้ ยปลดขา้ งเจา้ บา่ ว มอื ขวาปลดเจา้ สาว) พรอ้ ม ๆ กนั แล้ววบด้ายมงคลแฝดใส่ไว้ในมือเจ้าบ่าวและเจ้าสาวท่ีย่ืนออกมารับ แล้วจับมือเจ้าบ่าวและเจ้าสาว เชิญยนื ขน้ึ ใหเ้ จา้ บ่าวและเจ้าสาวไปกราบพระรัตนตรยั 107
ศาสนพิธีและมารยาทไทย ๑๕) เจ้าบ่าวและเจ้าสาวย่ืนมือซ้อนกันรับด้ายมงคลแฝดจากประธานพิธีถอดมงคลให้ แลว้ ลุกข้นึ ยนื พร้อมกนั (เจา้ บา่ วเก็บด้ายมงคลไวใ้ นกระเปา๋ เสอื้ บน) ๑๖) เจ้าบ่าวและเจา้ สาวไปกราบพระรัตนตรัยพรอ้ มกนั ๑๗) เสร็จพธิ ี ๑๐. พธิ ีทำ� บญุ วนั เกิด เมอื่ ถึงดิถีคล้ายวันเกิด ควรท�ำบญุ วนั เกิด ถ้าจ�ำวันเกิดได้เพียงทางจนั ทรคติ (ขน้ึ หรอื แรม) ควรกำ� หนดวันทำ� บุญทางจนั ทรคตนิ น้ั ถา้ จำ� ไดท้ างสรุ ยิ คติ (วนั ท่)ี ก็ควรกำ� หนดเอาวันทางสรุ ิยคตนิ น้ั ถ้าจ�ำได้ท้ังสองทางให้ถือวันทางสุริยคติเป็นส�ำคัญ เพราะสะดวก และใกล้เคียงความจริงกว่า พิธนี ี้ท�ำไดท้ งั้ ที่บา้ นและทวี่ ัด จ�ำนวนพระในพธิ ี มี ๕ รูป ๗ รูป หรอื ๙ รูป แล้วแต่ความประสงค์ ของเจ้าของวันเกิด หรือเจ้าภาพบางท่านก็จะนิมนต์พระสงฆ์เกินกว่าอายุในปีที่ตนเองท�ำบุญ จ�ำนวน ๑ รูป การเตรียมการ ๑) จัดเตรียมสถานทตี่ ามที่เห็นสมควรและเหมาะสม ๒) โตะ๊ หมบู่ ชู าพร้อมเครอื่ งนมสั การ (เช่นเดียวกับพิธมี งคล) ๓) อาสนะพระสงฆ์ ๔) เตรยี มนิมนตพ์ ระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ ๕ รปู ๗ รูป ๙ รปู หรอื ตามความประสงค์ ๕) ครอบส�ำหรับทำ� น้�ำพระพุทธมนต์ หรือบาตรสำ� หรับท�ำน�ำ้ พระพุทธมนต์ ๖) กำ� หญา้ คาสำ� หรบั ประพรมนำ�้ พระพทุ ธมนต์ ๗) ดา้ ยสายสิญจน์ พรอ้ มพานรองสายสญิ จน์ ๘) เครือ่ งรับรองพระสงฆ์ ๙) ภัตตาหารสำ� หรบั ถวายพระสงฆ์ ๑๐) เคร่ืองจตุปัจจัยไทยธรรม ๑๑) ที่กรวดน�้ำ เชิงเทยี นชนวน 108
กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม แนวทางการปฏบิ ัติงาน ๑) เม่อื ถึงเวลาที่ก�ำหนด เจ้าภาพและผูร้ ่วมพธิ พี รอ้ มกนั ๒) เจา้ ภาพจดุ ธปู เทียนบูชาพระรัตนตรัย (กราบ ๓ ครงั้ ) ๓) เจา้ ภาพถวายพัดรอง หรือตาลปตั รที่ระลึก (ถ้าม)ี ๔) ศาสนพิธีกรอาราธนาศลี ๕) ประธานสงฆ์ใหศ้ ลี ๖) เจ้าภาพและผ้รู ว่ มพธิ ปี ระนมมือรบั ศลี พรอ้ มกนั ๗) ศาสนพธิ กี รอาราธนาพระปรติ ร ๘) พระสงฆเ์ จริญพระพุทธมนต์ ๙) ศาสนพิธีเชิญเจ้าภาพจุดเทียนน้�ำมนต์ (เม่ือพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ใกล้จะจบ นโม ๘ บท และพระสงฆ์จะขึ้นบท “อเสวนา จ พาลาน.ํ ..” ๑๐) เจ้าภาพบูชาข้าวพระพุทธ ๑๑) เจา้ ภาพประเคนภัตตาหารแดพ่ ระสงฆ์ ๑๒) พระสงฆ์ฉันภัตตาหารเสร็จเรยี บรอ้ ย ๑๓) ศาสนพธิ ีน�ำเครือ่ งจตุปจั จัยไทยธรรม มาเรียงไว้ ณ เบื้องหน้าพระสงฆท์ กุ รูป ๑๔) เชิญเจา้ ภาพถวายจตุปัจจัยไทยธรรม ๑๕) พระสงฆอ์ นโุ มทนา ๑๖) เจ้าภาพกรวดน�้ำ - รับพร ๑๗) เจา้ ภาพรบั การประพรมนำ�้ พระพทุ ธมนตจ์ ากพระสงฆ์ (ขณะประพรมนำ�้ พระพทุ ธมนต์ ให้แก่เจา้ ภาพ พระสงฆเ์ จรญิ ชัยมงคลคาถา) ๑๘) เจา้ ภาพสง่ พระสงฆ์ ๑๙) เสรจ็ พธิ ี ๒๐) จากนน้ั จะมีการปลอ่ ยนก ปล่อยปลา หรือเต่า แลว้ แตค่ วามประสงค์) 109
ศาสนพิธแี ละมารยาทไทย ๑๑. พธิ ีทำ� บุญอายุครบ ๖๐ ปี การท่ีบุคคลมีอายุถึง ๖๐ ปี ไม่ตายจากกันไปเสียก่อน เป็นลาภอันอุดมอย่างหนึ่ง ซ่ึงเป็นท่ีควรยินดี เม่ือมีผู้มายินดีเช่นน้ี ก็ควรที่จะบ�ำเพ็ญกุศล ซ่ึงเป็นประโยชน์ตนและผู้อื่น สมกับท่ีมีน�้ำใจยินดี และควรที่จะท�ำให้เป็นท่ีต้ังแห่งความไม่ประมาท ด้วยไม่สามารถท่ีจะรู้ได้ว่า จะอยู่ไปบรรจบรอบปีเช่นน้ีอีกหรือไม่ และในโอกาสท่ีมีอายุครบถึง ๖๐ ปี หรือ แซยิด ๖๐ ปี เนื่องจากมีพระเสวยอายุบุคคล เมื่อพระองค์ใดเร่ิมเสวยอายุ ก็ต้องท�ำพิธีรับ เมื่อพระองค์ใดออก กค็ วรท�ำพิธสี ่ง เพื่อใหเ้ กดิ ความเปน็ สริ ิมงคลแกต่ นเอง ในการทเี่ ทพดาประจ�ำวันน้ัน จะไดร้ ักษาอายุ ให้แก่ตนตอ่ ไป การเตรยี มการ ๑) เครื่องพิธสี งฆ์ ๒) เครอ่ื งบชู าเทวดา ๓) บายศรีปากชาม ๔) เครอื่ งมัจฉมังสะ (กุ้ง, ปู, ปลา, หวั หมู, เป็ด และไก)่ ๕) ขนม นม และเนย (ขนมต้มแดง, ขนมต้มขาว, ขนมหูช้าง, ขนมเล็บมือนาง, มะพรา้ วออ่ น, กล้วยนำ้� ไทย หรอื กล้วยน�้ำว้า, ผลไม้ตา่ ง ๆ ทม่ี ชี ่อื เป็นมงคล, นม, เนย, ขนมทองหยิบ, ขนมทองหยอด, ขนมฝอยทอง เป็นต้น ๖) เครอ่ื งรบั เทวดา คือ ภาชนะใสน่ ้�ำ ๑ ที่ หมากและพลู ๗) ธงใหญ่ ธงประจ�ำเทวดานพเคราะห์ ธงเลก็ (ธงสตี ่าง ๆ) ตามกำ� ลงั วนั (ธงใหญ่ ๙ ธง, ธงเล็ก ๑๐๘ ธง) พร้อมทัง้ กระทงบตั รพลี เคร่อื งบูชาเทวดาเหลา่ นี้ ตงั้ ไว้บนโตะ๊ ท่ีปผู า้ ขาวแลว้ ๘) ธปู เทียน สำ� หรบั พิธี คอื เทียนชยั เทยี นมงคล อยา่ งละ ๑ เล่ม ๙) ธปู เทยี น สำ� หรับบชู าเทวดานพเคราะห์ อย่างละ ๑๐๘ ๑๐) ขนั สาครขนาดใหญ่ ๑ ขนั ๑๑) ตเู้ ทยี นชัย ๑ ตู้ ๑๒) เตรียมหาฤกษ์ เน่ืองจากการจดุ เทียนชยั จะต้องมฤี กษใ์ นการประกอบพิธี ๑๓) เตรียมนมิ นตพ์ ระสงฆเ์ จรญิ พระพุทธมนต์ ๑๔) จตุปัจจัยไทยธรรมถวายพระสงฆ์ 110
กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม แนวทางการปฏบิ ตั ิงาน ๑) เมอื่ ถงึ เวลาตามกำ� หนดเจ้าภาพและผูร้ ่วมพธิ ีพรอ้ มกัน ๒) เจา้ ภาพจดุ ธปู เทียนบูชาพระรัตนตรัย (กราบ ๓ คร้งั ) ๓) ถวายพดั รองทีร่ ะลกึ (ถา้ ม)ี ๔) ศาสนพิธีกรอาราธนาศีล ๕) เจ้าภาพและผ้รู ่วมพธิ รี บั ศลี พร้อมกัน ๖) เจ้าภาพจุดธปู เทยี นบูชาเทวดานพเคราะห์ ๗) โหราจารย์ หรือพราหมณ์กลา่ ว ชุมนุมเทวดา (สคเฺ ค กาเม...) จบ ๘) ศาสนพธิ กี ร อาราธนาพระปริตร ๙) พระสงฆ์เจรญิ พระพุทธมนต์ ๑๐) ศาสนพิธีกรส่งเทียนชนวนให้เจ้าภาพจุดเทียนชัย และเทียนมงคล (เมื่อพระสงฆ์ ข้ึนบท สรณคมน์ (พทุ ฺธ.ํ ..) ๑๑) เจ้าภาพจุดเทยี นชยั และเทยี นมงคล ๑๒) พระสงฆเ์ จรญิ พระพทุ ธมนต์ สลบั กบั โหราจารยห์ รอื พราหมณส์ วดบชู านพเคราะห์ ดงั น้ี (๑) โหรบชู าพระอาทิตย์ พระสงฆส์ วดโมรปรติ ร (๒) โหรบูชาพระจนั ทร ์ พระสงฆส์ วดอภยปริตร (๓) โหรบชู าพระอังคาร พระสงฆส์ วดกรณยี เมตตสตู ร (๔) โหรบูชาพระพุธ พระสงฆ์สวดขนั ธปริตร (๕) โหรบูชาพระเสาร์ พระสงฆ์สวดองั คุลมิ าลปรติ ร (๖) โหรบชู าพระพฤหสั บด ี พระสงฆส์ วดรตนสูตร (๗) โหรบชู าพระศุกร ์ พระสงฆ์สวดอาฏานาฏิยปรติ ร (๘) โหรบูชาพระราหู พระสงฆ์สวด ดงั น้ี กลางคนื สวดจันทปรติ ร กลางวัน สวดสรุ ยิ ปริตร (๙) โหรบูชาพระเกต ุ พระสงฆ์สวดชยปริตร 111
ศาสนพิธแี ละมารยาทไทย ๑๓) เมือ่ พระสงฆส์ วดพระปริตรประจ�ำนพเคราะห์องค์ใด เจา้ ภาพหรือผแู้ ทน จดุ ธปู เทียน เท่ากับก�ำลังพระเคราะห์องค์น้ัน ๆ และเม่ือพระสงฆ์ขัดต�ำนานบท รตนสูตร เจ้าภาพจุดเทียน น้ำ� พระพทุ ธมนต์ ๑๔) เมอื่ พระสงฆ์เจรญิ พระพุทธมนตจ์ บ ๑๕) ศาสนพิธกี รวางเครือ่ งจตุปัจจัยไทยธรรมเบือ้ งหนา้ พระสงฆ์ ๑๖) เจ้าภาพประเคนจตปุ ัจจัยไทยธรรม ๑๗) พระสงฆอ์ นโุ มทนา ๑๘) เจา้ ภาพกรวดนำ�้ - รับพร ๑๙) น�ำนำ้� พระพทุ ธมนต์เตมิ ลงในน�้ำเทพมนต์ ๒๐) ได้ฤกษ์หลั่งน�้ำพระพุทธมนต์ นิมนต์ประธานสงฆ์ประพรมน�้ำพระพุทธมนต์ (ขณะน้ี พระสงฆเ์ จริญชยั มงคลคาถา ดนตรบี รรเลงเพลงมหาฤกษ์) ๒๑) ผทู้ เี่ คารพนบั ถอื หลง่ั นำ้� พระพทุ ธมนต์ ๒๒) เสร็จพิธี หมายเหตุ ๑) เทียนชัย สูงเท่าตัวเจ้าภาพ หนัก ๘๐ บาท ไส้เทียนเท่าอายุ บวก ๑ (อายุ ๖๐ ไส้ ๖๑ เสน้ ) ๒) เทยี นมงคล สูงเท่ากบั ความยาวท่ีวัดโดยรอบศรี ษะเจ้าภาพ หนัก ๓๒ บาท ไส้เทยี น เทา่ อายุ (ตั้งอย่ใู นขันสาคร) ๓) เทยี นก�ำลงั นพเคราะห์ ใชเ้ ทียนขี้ผงึ้ หลักเลม่ ละ ๑ สลงึ ยาวขนาดน้วิ ชี้โดยประมาณ จำ� นวน ๑๐๘ เล่ม ๔) เทยี นหนักเล่มละ ๑ บาท ๒๐ เล่ม ส�ำหรับปกั ทีบ่ ัตรพลี ๙ เล่ม, เทียนน้ำ� มนต์ ๒ เลม่ , เทยี นชนวน ๒ เล่ม ๕) เทียนนพเคราะห์ ๑๐๘ เล่ม ใช้จุดและปักที่ขอบขันสาครเป็นน้�ำเทพมนต์ ทุกครั้งที่ โหราจารยห์ รอื พราหมณส์ วดบชู านพเคราะห์ จะใชก้ ีเ่ ล่มจุดบชู าตามก�ำลังวัน ๖) ก�ำลงั นพเคราะหม์ ดี งั น ้ี พระอาทิตย์ ๖, พระจันทร์ ๑๕, พระอังคาร ๘, พระพธุ ๑๗, พระพฤหัสบดี ๑๙, พระศกุ ร์ ๒๑, พระเสาร์ ๑๐, พระราหู ๑๒, พระเกตุ ๙ 112
กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม ๑๒. พิธีทำ� บุญครบรอบวนั เกิดของผวู้ ายชนม์ ในปจั จบุ นั มพี ิธีท�ำบญุ อีกงานหน่งึ ซึ่งถอื เปน็ งานมงคล เนอื่ งจากเปน็ การปรารภถงึ วันเกดิ ของบรรพบุรุษท่ีได้วายชนม์ไปแล้ว มาเป็นเหตุในการบ�ำเพ็ญกุศลเพื่ออุทิศให้แก่ผู้ท่ีวายชนม์ไปแล้ว และเป็นการแสดงออกถึงความกตัญญูกตเวทีที่ผู้ปรารภเหตุแห่งการบ�ำเพ็ญกุศลมีต่อบรรพการีชน ท้ังหลาย งานน้ีถือว่าเป็นงานมงคลเช่นเดียวกับการบ�ำเพ็ญกุศลฉลองอัฐิของผู้ท่ีวายชนม์ไปแล้ว เช่น การบ�ำเพ็ญกุศลครบรอบ ๑๐๐ ปี วันประสูติของอดีตบุรพมหากษัตริยาธิราช ในส่วนพิธีสงฆ์ กม็ กี ารบำ� เพญ็ กศุ ลเชน่ เดยี วกบั งานมงคลอน่ื เพยี งแตไ่ มม่ กี ารวงสายสญิ จน์ มกี ารทำ� นำ้� พระพทุ ธมนต์ หรอื ไมก่ ไ็ ด้ พระสงฆเ์ จรญิ พระพทุ ธมนตใ์ นงานมงคล คอื จลุ ราชปรติ ร (เจด็ ตำ� นาน) หรอื มหาราชปรติ ร (สิบสองต�ำนาน) แล้วแต่กรณี และจะมีการแสดงพระธรรมเทศนา อันเป็นการเทศนาเพ่ือปรารภ คุณปู การของผ้วู ายชนมท์ ่ีมีตอ่ บคุ คลหรอื ประเทศชาตแิ ล้วแตก่ รณดี ้วยกไ็ ด้ การเตรยี มการ ๑) จดั เตรียมอปุ กรณ์เครื่องใช้ในงานมงคล ๒) โต๊ะหม่บู ูชา พระพุทธรูป พร้อมเครอ่ื งนมสั การ จ�ำนวน ๑ ชดุ ๓) โต๊ะหมู่บูชา ส�ำหรับประดิษฐานอัฐิ หรือสิ่งอันเป็นเครื่องหมายแทนผู้วายชนม์ พร้อมเคร่ืองบูชา และเคร่อื งทองน้อย จ�ำนวน ๑ ชดุ ๔) เครื่องรับรองพระสงฆ์ ตามจ�ำนวนพระสงฆ์ที่ไดน้ ิมนต์ ๕) นิมนตพ์ ระสงฆ์เพอื่ เจรญิ พระพทุ ธมนต์ ๖) จตปุ จั จยั ไทยธรรมถวายพระสงฆ์ ๗) ไตรจวี รส�ำหรบั ถวายพระสงฆแ์ สดงพระธรรมเทศนาและเจริญพระพุทธมนต์ ๘) ภูษาโยง (กรณมี กี ารทอดผ้าบังสุกลุ ) ๙) ครอบน้�ำพระพุทธมนต์ พร้อมเทยี นทำ� น้�ำพระพุทธมนต์ แต่ไม่ต้องวงสายสญิ จน์ ๑๐) ธรรมมาสนเ์ ทศน์ เทียนส่องธรรม เครอ่ื งทองน้อย จำ� นวน ๒ ชดุ (ในกรณีทีม่ ีการแสดง พระธรรมเทศนา) ๑๑) ภตั ตาหารสำ� หรับถวายพระสงฆ์ แนวทางการปฏบิ ตั งิ าน ๑) เม่อื เจ้าภาพหรอื ประธานพิธแี ละผรู้ ่วมพธิ พี รอ้ มกัน ๒) ประธานพิธีจุดธปู เทยี นบชู าพระรตั นตรยั (กราบ ๓ ครงั้ ) 113
ศาสนพธิ แี ละมารยาทไทย ๓) ประธานพิธีจุดเครื่องทองน้อย (ในกรณีเป็นอัฐิของพระสงฆ์ กราบ ๓ ครั้ง เป็นอัฐิ ของฆราวาส กราบ ๑ ครง้ั ไมแ่ บมอื ) ๔) ถวายพดั รองทรี่ ะลกึ (ถา้ มี) ๕) เจา้ หนา้ ทอี่ าราธนาศลี (ในกรณมี กี ารแสดงพระธรรมเทศนาใหอ้ าราธนาศลี เมอ่ื พระสงฆ์ จะแสดงพระธรรมเทศนา และไม่ว่าก�ำหนดการจะให้มีการแสดงพระธรรมเทศนากอ่ น หรอื หลังการ เจริญพระพุทธมนต์ก็ให้มีการอาราธนาศีลไว้ในช่วงแสดงพระธรรมเทศนา เมื่อรับศีลแล้ว เจ้าหน้าที่ จึงจะอาราธนาธรรม) ๖) เจ้าหน้าทีอ่ าราธนาพระปรติ ร ๗) พระสงฆ์เจริญพระพทุ ธมนต์ ๘) เจ้าภาพหรอื ประธานถวายภัตตาหารแด่พระสงฆ์ เมือ่ พระสงฆฉ์ ันภัตตาหารเสรจ็ ๙) เจา้ หนา้ ท่ีน�ำเครอ่ื งไทยธรรมตัง้ ไว้ ณ เบือ้ งหน้าพระสงฆ์ทุกรปู ๑๐) เจา้ ภาพหรือประธานประเคนเครือ่ งไทยธรรมแดพ่ ระสงฆ์ ๑๑) เจา้ หน้าทนี่ ่ังคกุ เข่าหนั หน้าไปดา้ นอฐั แิ ล้วกราบเบญจางคประดษิ ฐ์ ๓ ครง้ั นั่งชนั เข่า ไหว้พระอีก ๑ ครั้ง ใช้มือขวาหยบิ ภษู าโยงจากพาน วางบนอาสนส์ งฆ์ ลาดภษู าโยงโดยการคลานเขา่ ให้เลยพระสงฆ์รูปที่ ๓ แล้วลุกข้ึนยืน เดินลากภูษาโยงในลักษณะเดินถอยหลัง เมื่อถึงพระสงฆ์รูป สุดท้าย ยกมือไหว้ ๑ ครง้ั ๑๒) เจา้ ภาพหรอื ประธานพธิ ที อดผ้าไตรบงั สุกลุ ๑๓) พระสงฆพ์ จิ ารณาผ้าบังสุกลุ (สำ� หรับการทอดผา้ ไตรบงั สกุ ุลน้ี พระเถระใหค้ �ำแนะน�ำ แก่ผู้เขียนว่า จะใช้เป็นวิธีการโดยถวายเป็นเคร่ืองไทยธรรมก็ได้ เนื่องจากเป็นงานพิธีท่ีปรารภ ผทู้ วี่ ายชนมไ์ ปแลว้ เปน็ เหตุ หรอื จะใชว้ ธิ ถี วายเปน็ เครอ่ื งจตปุ จั จยั ไทยธรรมเชน่ เดยี วกบั งานมงคลกไ็ ด)้ ๑๔) เจ้าหน้าท่เี ข้าไปเก็บผ้าภษู าโยง โดยการโค้งคำ� นับประธาน ๑ ครั้ง ยกมอื ไหวภ้ ูษาโยง ๑ ครงั้ แลว้ เกบ็ ภษู าโยง เมอ่ื เกบ็ เสรจ็ กราบเบญจางคประดษิ ฐ์ ๓ ครงั้ เดนิ เขา่ ถอยหลงั ใหเ้ ลยพระสงฆ์ รูปที่ ๓ แลว้ ลุกข้ึนยนื เดนิ ถอยหลัง แล้วโค้งคำ� นบั ประธาน ๑ ครงั้ ๑๕) พระสงฆ์อนุโมทนา ๑๖) เจา้ ภาพหรือประธานพิธีกรวดน�้ำ - รบั พร ๑๗) เสรจ็ พธิ ี 114
กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม ๑๓. การจัดงานมงคลและอวมงคลในโอกาสเดียวกนั ในพิธีท�ำบุญงานมงคลในปัจจุบัน เช่น ในกรณีท่ีเจ้าภาพได้ประกอบพิธีท�ำบุญเนื่องใน โอกาสที่ตนเองได้รับเลื่อนยศ หรือเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ หรือมีการท�ำบุญอายุวันเกิด เจ้าภาพ มักจะนิยมให้มีการท�ำบุญอุทิศอันเป็นการแสดงออกถึงความกตัญญูกตเวที สืบเน่ืองการท่ีตนเอง ไดร้ บั ความเจรญิ รงุ่ เรอื งมาจนบดั นี้ กเ็ พราะไดร้ บั ความอปุ การะคำ้� จนุ มาจากบพุ การชี น เชน่ บดิ า มารดา ครู อุปัชฌาย์ อาจารย์ จึงท�ำให้เจ้าภาพได้มีโอกาสสร้างความเจริญรุ่งเรืองให้แก่ตนเอง เม่ือได้ แสดงออกด้วยการท�ำบุญอุทิศอันเป็นการร�ำลึกถึงอุปการคุณของบุพการีชนอันตนนับถือแล้ว จึงจะเป็นการประกอบพิธีท�ำบุญเพื่อความเป็นสิริมงคลให้แก่ตนเองภายหลัง ซ่ึงสิ่งเหล่านี้เป็นการ แสดงออกถงึ ความกตัญญูกตเวที อันเป็นเครอ่ื งหมายของคนดี ตามหลกั คำ� สอนของพระพุทธศาสนา การเตรยี มการ ๑) จดั เตรยี มอุปกรณ์เครือ่ งใชง้ านมงคล (ตามท่ีกล่าวไว้ในบทท่ี ๒) ๒) อุปกรณ์เครือ่ งใชง้ านอวมงคล (ตามทก่ี ลา่ วไว้ในบทท่ี ๒) ๓) สถานทีป่ ระกอบพิธี ๔) โตะ๊ หมูบ่ ูชา พร้อมพระพุทธรูป และเครื่องนมัสการ ๕) โตะ๊ หม่บู ูชา สำ� หรับตงั้ อฐั ิ หรือปา้ ยบรรพบรุ ษุ พรอ้ มเคร่อื งบูชา ๖) ภษู าโยง พรอ้ มแถบทองหรือสายโยง ๗) สายสญิ จน์ ๘) ครอบน�้ำสำ� หรับทำ� น�้ำพระพุทธมนต์ ๙) ผา้ สบง ผา้ ไตรจีวร หรอื ผา้ ท่ีพระสงฆ์สามารถใช้ได้ ๑๐) ภัตตาหารถวายพระสงฆ์ (ในกรณมี กี ารจัดเล้ยี งพระสงฆ)์ ๑๑) เคร่ืองจตุปัจจัยไทยธรรมถวายพระสงฆ์ แนวทางการปฏบิ ตั งิ าน ๑) ผู้ร่วมงานพร้อมกัน ณ มณฑลพธิ ี ๒) ประธานจุดธปู เทียนเครอ่ื งทองนอ้ ยหน้าอัฐิ กราบ ๑ ครง้ั หรือนอ้ มไหว้ (ในกรณีเปน็ อฐั ิของพระสงฆ์ กราบ ๓ ครัง้ ) ๓) ศาสนพธิ กี รนมิ นต์พระสงฆ์สวดมาตกิ า (ถ้าม)ี ๔) เม่อื พระสงฆ์สวดมาติกาถงึ บท เหตปุ จจฺ โย ....... (ถา้ มี) 115
ศาสนพิธีและมารยาทไทย ๕) ศาสนพธิ ีกรน�ำจตุปัจจัยไทยธรรมวางไว้ ณ เบ้อื งหน้าพระสงฆ์ ทุกรูป (ถ้ามี) ๖) เมื่อพระสงฆ์สวดมาติกาจบ เชิญเจ้าภาพถวายจตุปัจจัยไทยธรรม (ถ้ามี) ๗) ศาสนพิธีกรลาดภูษาโยง (ถ้าไม่มีการสวดมาติกาและถวายเครื่องไทยธรรม พิธีกร ลาดภษู าโยงในขณะเจา้ ภาพจดุ ธปู เทยี นเครือ่ งทองนอ้ ย) ๘) เชิญผ้าสบง หรือไตรจวี รใหเ้ จ้าภาพทอดผา้ บงั สุกุล ๙) เจา้ ภาพทอดผา้ บังสุกุล (วิธีทอดผา้ บงั สกุ ุลให้วางผ้าขวางทบั ภูษาโยง) แลว้ กลบั มาน่งั ทีเ่ ดมิ ๑๐) พระสงฆพ์ จิ ารณาผ้าบงั สุกุล ๑๑) พระสงฆ์อนโุ มทนา ๑๒) ประธานกรวดน้�ำ - รับพร (เปน็ เสร็จพธิ บี งั สุกุล และเปน็ การตดั ตอนงานพธิ ีอวมงคล) ๑๓) เจา้ ภาพจดุ ธูปเทยี นบูชาพระรตั ตรัย (กราบ ๓ ครง้ั ) เปน็ การเร่ิมงานพิธมี งคล ๑๔) เจ้าภาพถวายพัดรองหรอื ตาลปตั รทรี่ ะลึก (ถ้าม)ี ๑๕) ศาสนพิธกี รอาราธนาศีล ๑๖) ประธานสงฆใ์ ห้ศลี เจา้ ภาพ และผ้รู ว่ มพิธรี บั ศลี พร้อมกัน ๑๗) ศาสนพิธีกรอาราธนาพระปรติ ร ๑๘) พระสงฆเ์ จริญพระพุทธมนต์ ๑๙) พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนตถ์ ึงบท “อเสวนา จ พาลานํ......” ๒๐) ประธานจุดเทยี นท่คี รอบนำ้� พระพทุ ธมนตแ์ ลว้ ยกประเคน ประธานสงฆ์ น้อมไหว้ ๒๑) ประธานพรอ้ มผู้ร่วมพธิ ปี ระเคนภัตตาหารถวายพระสงฆ์ ๒๒) พระสงฆ์ฉนั ภตั ตาหารเสรจ็ เรียบรอ้ ย ๒๓) ศาสนพิธกี รน�ำเคร่อื งจตุปัจจัยไทยธรรมมาวางไว้ ณ เบือ้ งหนา้ พระสงฆ์ ๒๔) เจ้าภาพประเคนจตปุ ัจจยั ไทยธรรมถวายพระสงฆ์ ๒๕) พระสงฆอ์ นุโมทนา ๒๖) เจ้าภาพกรวดนำ้� -รับพร ๒๗) พระสงฆป์ ระพรมน้ำ� พระพุทธมนต์ ๒๘) เสรจ็ พธิ ี 116
กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม ในกรณีมกี ารแสดงพระธรรมเทศนา ๑) ผูร้ ่วมงานพร้อมกนั ณ มณฑลพธิ ี ๒) พระสงฆข์ ้นึ นัง่ ณ อาสนะบนอาสน์สงฆ์ ๓) ประธานพธิ จี ดุ ธปู เทียนบชู าพระรัตนตรยั กราบ ๓ คร้ัง ๔) ประธานพธิ ีจดุ เทยี นสอ่ งธรรม (เทยี นดหู นงั สอื เทศน)์ และจดุ ธปู เทียนเครือ่ งทองน้อย บูชาธรรม ๕) พระสงฆ์ขนึ้ สู่ธรรมาสน์ ๖) ศาสนพธิ กี รเชญิ เทยี นส่องธรรมไปตง้ั บนธรรมมาสน์ ๗) ศาสนพิธีกรอาราธนาศีล ทุกคนรับศลี จบ ๘) ศาสนพิธกี รอาราธนาธรรม ๙) พระสงฆแ์ สดงพระธรรมเทศนาจบ อนโุ มทนาบนธรรมาสน์ ๑๐) ประธานพิธกี รวดน้�ำ – รับพร ๑๑) ศาสนพธิ ีกรเชญิ เทียนสอ่ งธรรมออก รบั พระสงฆ์ลงจากธรรมาสน์ ๑๒) ประธานพิธปี ระเคนจตุปจั จยั ไทยธรรมเครื่องกณั ฑเ์ ทศน์ ๑๓) เสร็จพิธี หมายเหต ุ ในพธิ ใี ดทม่ี กี ารแสดงพระธรรมเทศนา เจ้าหนา้ ทป่ี ฏบิ ัติ ดงั น้ี ๑) ใหอ้ าราธนาศีล และรบั ศีล ก่อนที่พระสงฆแ์ สดงพระธรรมเทศนา ๒) ถ้ามีการเจริญพระพุทธมนต์ หรือสวดพระพุทธมนต์ก่อน เม่ือประธานจุดธูปเทียน นมสั การพระรัตนตรยั แล้ว ใหอ้ าราธนาพระปรติ ร ๓) ใหอ้ าราธนาศลี เมื่อพระสงฆ์จะแสดงพระธรรมเทศนา 117
ก่อนไม้จะเปน็ ถ่าน เขาใชไ้ ฟเผา กอ่ นความดจี ะเกดิ แกเ่ รา ตอ้ งใชธ้ รรมเผากเิ ลส โลภ โกรธ หลง หายหนี ความงามความดีก็กา้ วเขา้ มา หลวงปู่สาย เขมธัมโม
บทที่ ๕ แนวทางการจดั งานอวมงคล การปฏิบัติที่กล่าวมาแต่ต้นนั้น เป็นการกล่าวถึงงานพิธีมงคลเป็นส่วนใหญ่ ส่วนพิธีการท่ี เกี่ยวกับพิธีงานอวมงคล แม้มีกล่าวบ้างก็เป็นส่วนน้อย ซ่ึงในส่วนที่เกี่ยวกับพิธีงานศพท่ีจะกล่าวถึง ต่อนี้ จะแยกเป็น ๒ ลักษณะ คอื ๑. การเตรียมการขอพระราชทานน�้ำหลวงอาบศพ การขอพระราชทานเพลิงศพ การขอรบั หีบเพลิงพระราชทาน และข้นั ตอนการปฏิบตั ิ ๒. การเตรยี มการและขั้นตอนการท�ำบญุ และการฌาปนกิจศพ ๑. การเตรียมการขอพระราชทานน้�ำหลวงอาบศพ การขอพระราชทานเพลิงศพ การขอรับหบี เพลงิ พระราชทาน และขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ิ ๑.๑ การขอพระราชทานน�้ำหลวงอาบศพ ๑ น�้ำหลวงอาบศพ ๑ การขอพระราชทานน้ำ� หลวงอาบศพ สำ� นกั พระราชวงั 119
ศาสนพิธีและมารยาทไทย นำ้� หลวงอาบศพที่ได้รับพระราชทาน สว่ นกลาง มนี ำ้� ๓ ชนิด ๑) นำ้� เปลา่ ๒) น้�ำขมนิ้ ๓) น�้ำอบไทย ส่วนภูมภิ าค มีนำ้� ๒ ชนิด ๑) นำ้� ขม้นิ ๒) น้�ำอบไทย หลกั เกณฑใ์ นการขอพระราชทานน�ำ้ หลวงอาบศพ ๑) พระสมณศักดิ์ ต้ังแต่ช้ัน “พระครูสัญญาบัตร” ข้ึนไป และพระภิกษุสามเณร เปรียญธรรม ๙ ประโยค ๒) พระราชวงศ์ ตั้งแต่ชนั้ “หม่อมเจา้ ” ข้นึ ไป ๓) ผู้ทไ่ี ดร้ ับพระราชทานบรรดาศกั ด์ิ ๔) ข้าราชการตัง้ แต่ระดับ ๓ ขนึ้ ไป ๕) ขา้ ราชการฝา่ ยทหาร ต�ำรวจ ยศช้นั รอ้ ยตรี เรอื ตรี เรอื อากาศตรี ร้อยตำ� รวจตรี ขนึ้ ไป ๖) ผทู้ ี่ได้รบั พระราชทานเคร่อื งราชอสิ ริยาภรณ์ ตง้ั แต่ “เบญจมดิเรกคุณาภรณ์” (บ.ภ.) และ “เบญจมาภรณ์มงกฏุ ไทย” (บ.ม.) ขึน้ ไป ๗) ผ้ทู ไ่ี ด้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ “จุลจอมเกลา้ ” ๘) ผู้ทไี่ ดร้ ับพระราชทานเครือ่ งราชอิสริยาภรณเ์ หรยี ญ “รัตนาภรณ”์ รชั กาลปจั จุบนั ๙) ประธานองค์กรต่างๆ ที่ก�ำหนดในรัฐธรรมนูญ และรัฐมนตรีท่ีถึงแก่กรรมในขณะ ดำ� รงตำ� แหนง่ ๑๐) บิดาและมารดาของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งองคมนตรี นายกรัฐมนตรี ประธานรัฐสภา ประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานวุฒิสภา ประธานศาลฎีกา ประธานองค์กรต่างๆ ท่ีก�ำหนด ในรัฐธรรมนูญและรฐั มนตรี ทถี่ งึ แกก่ รรม ในขณะบุตรดำ� รงตำ� แหนง่ ๑๑) สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร สมาชกิ วฒุ สิ ภา และผวู้ า่ ราชการกรงุ เทพมหานคร ทถี่ งึ แกก่ รรม ในขณะดำ� รงต�ำแหน่ง ๑๒) ผทู้ ที่ รงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ เป็นกรณีพเิ ศษ หมายเหตุ บุคคลผู้ท�ำลายชีพตนเอง และผู้ต้องอาญาแผ่นดินไม่พระราชทานน�้ำหลวง และเครื่องเกียรติยศประกอบศพ 120
กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ข้ันตอนการขอพระราชทานนำ้� หลวงอาบศพ เจ้าภาพหรอื ทายาทจะตอ้ งจัดเตรียมและปฏิบัติ ดงั น้ี ๑) จดั ดอกไม้กระทง ๑ กระทง ๒) ธูปไม้ระก�ำ ๑ ดอก ๓) เทยี น ๑ เล่ม มพี านรองพร้อม ๔) ลา พร้อมด้วยหนงั สือกราบบังคมทลู ลา ๕) ใบมรณะบัตร ๖) หลกั ฐานท่ไี ดร้ บั พระราชทานเคร่อื งราชอสิ รยิ าภรณช์ ัน้ สงู สุดท่ไี ด้รบั เจา้ ภาพหรอื ทายาทนำ� สง่ิ ดงั กลา่ ว ๑ - ๔ ไปกราบถวายบงั คมลา โดยตดิ ตอ่ ที่ กองพระราชพธิ ี สำ� นกั พระราชวงั ในพระบรมมหาราชวงั ตงั้ แตเ่ วลา ๐๘.๓๐ ถงึ ๑๖.๓๐ น. ทกุ วนั ไมเ่ วน้ วนั หยดุ ราชการ พร้อมท้ังน�ำใบมรณะบัตร และหลักฐานที่ได้รับพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ช้ันสูงสุดท่ีได้รับ ไปแสดงแก่เจ้าหน้าท่ีกองพระราชพิธีด้วย เพื่อการจัดช้ันของเครื่องเกียรติยศประกอบศพได้ถูกต้อง ส่วนพระสงฆส์ มณศกั ดิ์ ไม่ตอ้ งมดี อกไม้ ธปู เทยี น เป็นหนา้ ท่ีของกรมการศาสนา แจ้งการมรณภาพ และขอพระราชทาน ตวั อยา่ งหนงั สอื กราบบงั คมทูลลา วนั ท่ี ............ เดอื น ........................ พ.ศ. ............... ขอเดชะฝ่าละอองธุลพี ระบาทปกเกล้าปกเกล้าปกกระหม่อม ดอกไมธ้ ปู เทยี นของขา้ พระพทุ ธเจา้ .....(ชอ่ื ผถู้ งึ แกก่ รรม)..... เครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณ.์ ..................... อาย.ุ ..............ปี ขา้ ราชการ.................................... ชน้ั .................. สงั กดั ............................................... ขอพระราชทานกราบถวายบังคมลา.................. ด้วยโรค....................................................... ท.ี่ ................................. อำ� เภอ............................. จงั หวดั ................................. เมอื่ วนั ท.ี่ ...................... เดอื น.......................... พ.ศ. ....................... เวลา.............................น. ควรมคิ วรแลว้ แต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ขอเดชะ หมายเหต ุ หนงั สือกราบบังคมทลู ลาน้ี ไม่ต้องลงนามทา้ ยหนังสือ การสรง / อาบนนำ้ ศพให้ปฏบิ ัติดังนี้ ๑) การสรง/อาบน�้ำหลวง ให้รดท่ีอกของศพ ๒) การสรง/อาบนำ้� หลวง ใหป้ ฏิบตั ิเป็นล�ำดบั สดุ ทา้ ย ๓) ศพฆราวาส ใหย้ กศรี ษะศพข้ึนเลก็ นอ้ ยเพอ่ื รับน�้ำหลวง 121
ศาสนพธิ ีและมารยาทไทย การจดั สถานทแี่ ละลำ� ดบั ข้นั ตอนพิธีพระราชทานน้ำ� หลวงอาบศพ ๑) ใกลก้ �ำหนดเวลาเจ้าหน้าท่ีเชิญนำ้� หลวงฯ มาถงึ (เจา้ ภาพรอรับ) แล้วเชิญไปต้ังไว้ทโี่ ตะ๊ ด้านศีรษะของศพ ๒) ได้เวลาเจา้ หน้าทเี่ ชญิ น�้ำหลวงไปตงั้ ไว้ยังโตะ๊ ทจ่ี ดั เตรียมไว้ ๓) เม่อื ไดเ้ วลาตามที่ก�ำหนดเชิญประธานประกอบพธิ ี ๔) ประธานถวายความเคารพไปทางทิศทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวประทับอยู่ ๕) (ในสว่ นกลาง) รับคณโฑนำ้� เปล่ารดท่ีอกของศพ แล้วรดนำ�้ ขม้นิ และนำ้� อบไทย ๖) (ในสว่ นภูมภิ าค) รดน้ำ� ขมิน้ และนำ้� อบไทยตามลำ� ดบั ๗) ทำ� ความเคารพศพ เปน็ เสรจ็ พธิ ี การแตง่ กาย ๑) เจา้ หน้าทเ่ี ชญิ น้ำ� หลวงฯ แตง่ เครอ่ื งแบบปกติขาวไว้ทุกข์ ๒) ประธานและผู้รว่ มพธิ ี แตง่ เครอื่ งแบบปกติขาวไว้ทกุ ข์ ชุด สากลไวท้ ุกขห์ รอื ชุดสภุ าพ ไว้ทกุ ข์ 122
กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม ๑.๒ การขอพระราชทานเพลิงศพ ไฟพระราชทานเพลิงศพ หบี เพลิงพระราชทาน 123
ศาสนพธิ ีและมารยาทไทย ไฟพระราชทาน ประกอบดว้ ย ๑) เทยี นจดุ ไฟ พรอ้ มโคม (เจา้ หน้าที่สำ� นักพระราชวงั เป็นผอู้ ญั เชิญ) ๒) พานเครื่องขมา และดอกไมจ้ ันทนพ์ ระราชทานเพอ่ื จุดไฟพระราชทาน หบี พระราชทาน ประกอบด้วย ๑) เทียนชนวน ๑ เลม่ ๒) ไมข้ ดี ไฟ ๑ สลัก ๓) ดอกไม้จันทน์ ธูปไมร้ ะกำ� และเทยี น ๑ ชุด การขอพระราชทานเพลงิ ศพจริง ๆ แลว้ ไมว่ า่ จะเปน็ การขอพระราชทานเพลงิ ศพกรณปี กติ หรอื เปน็ กรณพี เิ ศษ ขนั้ ตอนการดำ� เนนิ การจะปฏบิ ตั ลิ กั ษณะเดยี วกนั และไมต่ อ้ งเสยี คา่ ใชจ้ า่ ยใด ๆ ทง้ั สน้ิ การขอพระราชทานเพลิงศพพระสมณศักด์ิท่ัวประเทศ เป็นภารกิจอ�ำนาจหน้าที่ของ กรมการศาสนา โดยวัดที่มีความประสงค์จะด�ำเนินการขอพระราชทานเพลิงศพพระสมณศักดิ์ ตอ้ งทำ� หนงั สอื ผา่ นเจา้ คณะจงั หวดั หรอื สำ� นกั งานวฒั นธรรมจังหวดั และส�ำนกั งานวฒั นธรรมจังหวดั จะท�ำหนังสือในนามผู้ว่าราชการจังหวัดส่งไปยังกรมการศาสนา เพื่อด�ำเนินการตามขั้นตอนผ่าน เลขาธกิ ารพระราชวงั เมอื่ ทางสำ� นกั พระราชวงั ดำ� เนนิ การเรยี บรอ้ ยแลว้ กรมการศาสนาจะรบั หบี เพลงิ จากกองพระราชพิธี ส�ำนักพระราชวัง แล้วน�ำส่งให้จังหวัดทางไปรษณีย์ในนามผู้ว่าราชการจังหวัด เพ่อื มอบใหส้ ำ� นกั งานวฒั นธรรมจังหวัดด�ำเนินการ การขอพระราชทานเพลิงศพหน่วยราชการต่างๆ เจ้าภาพหรือทายาทผู้ประสงค์ขอ พระราชทานเพลงิ ศพ จะตอ้ งทำ� หนงั สอื แจง้ ไปยงั กระทรวงเจา้ สงั กดั ของผถู้ งึ แกก่ รรม เพอื่ ใหเ้ จา้ สงั กดั ท�ำเรื่องเสนอเลขาธิการพระราชวัง โดยระบุ ๑) ช่ือ ต�ำแหน่ง ช้นั ยศ ของผถู้ งึ แก่กรรม ๒) ถึงแก่กรรมด้วยโรคอะไร ทีไ่ หน เม่อื ใด ๓) ได้รบั พระราชทานเคร่ืองราชอิสรยิ าภรณ์ อะไรบา้ ง ๔) มคี วามประสงค์จะขอรับพระราชทานเคร่อื งเกียรตยิ ศประกอบศพ อยา่ งใดบ้าง ๕) ประกอบการฌาปนกิจศพทวี่ ดั ไหน จงั หวดั ไหน วัน เวลาใด การขอพระราชทานเพลงิ ศพเปน็ กรณพี เิ ศษ เจา้ ภาพหรอื ทายาท ผปู้ ระสงคข์ อพระราชทาน เพลิงศพเปน็ กรณีพิเศษ ตอ้ งท�ำหนังสอื ถงึ เลขาธกิ ารพระราชวัง โดยระบุ ๑) ชื่อ - สกลุ และประวตั โิ ดยย่อของผถู้ งึ แกก่ รรม ๒) ถึงแกก่ รรมดว้ ยโรคอะไร ท่ีไหน เมื่อใด ๓) ระบุคุณงามความดีท่ีเป็นประโยชน์ แก่ประเทศชาติ หรือคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ การพิจารณาการขอพระราชทาน เพลิงศพ เป็นกรณพี เิ ศษ ๔) ระบุวนั เวลา สถานทีท่ ีจ่ ะประกอบการฌาปนกิจ 124
กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม กรณที เ่ี ปน็ ผทู้ ำ� คณุ ประโยชนต์ อ่ พระพทุ ธศาสนา จะตอ้ งทำ� เรอ่ื งผา่ นมายงั กรมการศาสนา เพอื่ ท�ำหนงั สอื ประกอบความเหน็ ไปยงั เลขาธกิ ารพระราชวัง ดว้ ย หลกั ฐานทต่ี ้องน�ำมาแสดงในการขอพระราชทานเพลงิ ศพ เป็นกรณีพิเศษ มดี ังนี.้ - ๑) ใบมรณบัตร ของผถู้ งึ แก่กรรม ๒) ทะเบยี นบา้ นของทายาทของผูถ้ งึ แกก่ รรม ๓) บตั รประจ�ำตวั ประชาชน หรอื บตั รขา้ ราชการ ของทายาทของผูถ้ งึ แกก่ รรม ๔) หนงั สอื รบั รองจากหนว่ ยงานรฐั วสิ าหกจิ ใบอนโุ มทนาบตั ร ใบประกาศเหรยี ญกลา้ หาญ หรือเหรยี ญชยั สมรภมู ิ ท้ังนี้ ต้องน�ำเอกสารตน้ ฉบับและส�ำเนาแนบมาพรอ้ มกับหนังสือดว้ ย หลกั เกณฑก์ ารขอพระราชทานเพลิงศพ ผู้มีสิทธิได้รับพระราชทานน้�ำหลวง เพลิงหลวง และหีบเพลิง ต้องมีต�ำแหน่งชั้น และยศ ดงั ต่อไปน.้ี - ๑) พระสมณศกั ดิ์ ตง้ั แต่ชนั้ “พระครสู ัญญาบตั ร” ข้ึนไป และพระภิกษ ุ สามเณร เปรียญ ๙ ประโยค ๒) พระราชวงศ ์ ต้งั แตช่ ั้น “หม่อมเจา้ ” ข้ึนไป ๓) ผู้ได้รบั พระราชทานบรรดาศักดิ์ ๔) ขา้ ราชการพลเรือน ตง้ั แตร่ ะดบั ๓ ขึ้นไป ๕) ขา้ ราชการฝา่ ยทหาร ต�ำรวจ ยศชน้ั รอ้ ยตรขี น้ึ ไป ๖) ผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ตั้งแต่ “เบญจมดิเรกคุณาภรณ์” (บ.ภ.) และ “เบญจมาภรณ์มงกฎุ ไทย” (บ.ม.) ขน้ึ ไป ๗) ผทู้ ไ่ี ดร้ บั พระราชทานเครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณ์ “จลุ จอมเกลา้ ” (จ.จ.) หรอื “ตราสบื ตระกลู ” (ต.จ.) ข้นึ ไป ๘) ผไู้ ดร้ บั พระราชทานเครือ่ งราชอิสริยาภรณ์เหรียญ “รัตนาภรณ์” รัชกาลปัจจบุ นั ๙) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาจังหวัด สมาชิกสภาเทศบาล ท่ีถงึ แก่กรรมในขณะด�ำรงตำ� แหนง่ ๑๐) รฐั มนตรี ๑๑) ผู้ทท่ี รงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เปน็ กรณีพิเศษ 125
ศาสนพิธแี ละมารยาทไทย หลักเกณฑก์ ารขอพระราชทานเพลงิ ศพเปน็ กรณีพิเศษ ผู้ที่สมควรได้รับการพิจารณา ในการขอพระราชทานเพลิงศพกรณีเป็นพิเศษ ควรอยู่ใน หลกั เกณฑ์ ดังนี.้ - ๑) ผูท้ ่ีอย่ใู นราชสกุล ชัน้ หม่อมราชวงศ์และหมอ่ มหลวง ๒) พนักงานรัฐวสิ าหกจิ ระดับสงู ๓) ผทู้ ี่ไดร้ ับพระราชทานเหรียญราชรจุ ิ เหรยี ญกล้าหาญ และเหรียญชัยสมรภูมิ ๔) ผทู้ ท่ี ำ� ประโยชนใ์ หก้ บั ประเทศชาติ เชน่ ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ นกั กฬี าระดบั ชาติ อดตี สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร อดีตสมาชิกวุฒิสภา อดตี สมาชกิ สภาจังหวัด หรอื อดีตสมาชิกสภาเทศบาล ๕) ผู้ท�ำคณุ ประโยชน์ เช่น บริจาคเพ่อื การกุศลคิดเป็นมูลค่าไมน่ อ้ ยกว่า ๕๐๐,๐๐๐ บาท บริจาครา่ งกาย หรืออวยั วะ ๖) บิดามารดาของข้าราชการชนั้ ผู้ใหญ่ระดับ ๖ ขึ้นไป หรือเทยี บเท่าขึ้นไป ๗) บดิ ามารดาของผูท้ ไี่ ด้รับพระราชทานเคร่อื งราชอิสริยาภรณ์ “ตรติ ราภรณช์ า้ งเผอื ก” (ต.ช.) ขึ้นไป ๘) บิดามารดาของพระสมณศกั ดิ์ ตั้งแตช่ น้ั “พระครสู ัญญาบตั ร” ขน้ึ ไป ๙) บดิ ามารดาของข้าราชการทหาร ต�ำรวจ ตั้งแตร่ ะดับพันโท นาวาโท นาวาอากาศโท และพันตำ� รวจโทข้นึ ไป หมายเหตุ บุคคลผู้ท�ำลายชีพตนเอง และผู้ต้องอาญาแผ่นดินไม่พระราชทานเพลิง และเครือ่ งประกอบเกยี รตยิ ศ 126
กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ข้อก�ำหนดของกองพระราชพธิ ี ๑) ผู้มีสิทธิได้รับพระราชทานเพลิงศพ ถ้าจะพระราชทานในต่างจังหวัด (นอกเขตรัศมี ๕๐ ก.ม. จากพระบรมมหาราชวัง) ยกเว้นปริมณฑล ใกล้กรุงเทพฯ ทางส�ำนักพระราชวังจะได้จัด หบี เพลิง ใหก้ ระทรวงเจา้ สังกดั รบั ส่งไปพระราชทานเพลิง หรอื ใหเ้ จ้าภาพศพไปตดิ ต่อขอรบั หีบเพลงิ พระราชทานท่ีกองพระราชพธิ ีส�ำนกั พระราชวงั ๒) กรณีพระราชทานเพลิงศพ ท้ังตามเกณฑ์ที่ได้รับพระราชทานและกรณีพิเศษ ที่ไม่มี เครอื่ งเกยี รตยิ ศประกอบศพในกรงุ เทพฯ ทางสำ� นกั พระราชวงั จะไดจ้ ดั เจา้ พนกั งานเชญิ เพลงิ หลวงไป พระราชทานโดยรถยนต์หลวง ทง้ั น้ี เจ้าภาพไมต่ ้องเสียค่าใชจ้ า่ ยใด ๆ ท้ังสิน้ ยกเวน้ กรณีปริมณฑลใน รศั มี ๕๐ กโิ ลเมตร จากพระบรมมหาราชวงั เจา้ ภาพจะตอ้ งจดั รถรบั -สง่ ใหก้ บั เจา้ หนา้ ทเี่ ชญิ เพลงิ ดว้ ย ๓) สำ� หรับเครื่องประกอบเกยี รตยิ ศไดแ้ ก่หบี โกศ ฉตั รตั้ง นนั้ ทางสำ� นกั พระราชวังจะได้ เชญิ ไปประกอบและตง้ั แต่งไว้มกี ำ� หนดเพยี ง ๗ วัน เมอื่ พน้ ไปแล้ว เจา้ ภาพหรอื ทายาทยงั ไม่กำ� หนด พระราชทานเพลงิ ถ้าทางราชการมคี วามจ�ำเปน็ กจ็ ะถอนสว่ นประกอบลองนอกของหีบหรือโกศไป ใช้ในราชการตอ่ ไป ๔) ในการพระราชทานเพลิงนั้น เมื่อเจ้าหน้าที่เชิญเพลิงพระราชทาน หรือเจ้าภาพเชิญ หีบเพลิงไปถึงมณฑลพิธี ในการน้ีห้ามเปิดหรือบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี เน่ืองจากเป็นการ ไมเ่ หมาะสม ๕) เจ้าภาพงานพระราชทานเพลิงศพ เมื่อจะขอรับหมายรับสั่ง ให้ติดต่อขอรับได้ที่ เจา้ หน้าทีก่ องพระราชพิธี โทรศัพท์ ๐-๒๒๒๔-๔๗๔๗ ต่อ ๔๕๐๑ ๖) กอ่ นงานพระราชทานเพลงิ ศพ ๑ วนั ใหเ้ จา้ ภาพตดิ ตอ่ ยนื ยนั ความถกู ตอ้ งกบั เจา้ หนา้ ที่ กองพระราชพิธี ทหี่ มายเลข ๐-๒๒๒๒-๒๗๓๕ (เฉพาะเพลงิ ท่ีเชญิ โดยเจ้าหน้าที)่ ๗) หากมขี อ้ สงสยั ประการใดสามารถตดิ ตอ่ สอบถามเพม่ิ เตมิ ไดท้ ี่โทรศพั ท์๐-๒๒๒๑-๐๘๗๓ กองพระราชพธิ ี สำ� นกั พระราชวงั โทร. ๐-๒๒๒๑-๐๘๗๓, ๐-๒๒๒๑-๗๑๘๒ และ ๐-๒๒๒๒-๒๗๓๕ 127
ศาสนพธิ ีและมารยาทไทย แนวปฏิบัตงิ านในการพระราชทานเพลิงศพ วิธีปฏิบัติในการพระราชทานเพลิงศพ ในกรุงเทพมหานคร และรัศมี ๕๐ กโิ ลเมตร เวลา...................น. - รถยนต์รบั พนกั งานพระราชพิธีเชิญเพลิงหลวงพระราชทาน ออกจากพระบรมมหาราชวงั เวลา...................น. - เจา้ ภาพต้งั แถวรอรบั เพลงิ หลวงพระราชทานตามความเหมาะสมกับสถานที่ เวลา...................น. - พนกั งานพระราชพธิ ีเชญิ เพลิงหลวงลงจากรถยนต์ และยืนอยกู่ ับที่ - พนักงานพระราชพธิ เี ชญิ เพลงิ หลวงพระราชทานข้ึนสเู่ มรุ - เจา้ ภาพเดนิ ตาม และหยดุ ทหี่ นา้ บนั ไดเมรุ - พนักงานพระราชพธิ เี ชญิ เครื่องขมาศพ และเพลิงหลวงพระราชทาน วางทีโ่ ตะ๊ - พนกั งานพระราชพธิ ีค�ำนับศพ แล้วลงจากเมรุ - พนกั งานอ่านหมายรับสง่ั อา่ นสำ� นึกในพระมหากรณุ าธคิ ุณ อ่านคำ� ประกาศ เกียรตคิ ุณของผ้ทู ีไ่ ดร้ ับพระราชทานเพลงิ (ประวัติโดยยอ่ ) จบแล้ว - พธิ กี รเชญิ ผมู้ เี กยี รตทิ ม่ี าในงานพระราชทานเพลงิ ศพ ยนื สงบนง่ิ ไวอ้ าลยั ๑ นาที - เจา้ ภาพเชิญผูเ้ ปน็ ประธานในการพระราชทานเพลิงศพขึน้ เมรุ - ประธานพิธที อดผ้าบงั สกุ ุล - (ในกรณที อดผา้ ไตรบงั สุกุล ถา้ ผ้าไตรบังสกุ ลุ เป็นของหลวงพระราชทาน พระสงฆ์ต้องใชพ้ ัดยศขนึ้ พจิ ารณาผา้ บงั สุกลุ แล้วลงจากเมรุ) - ประธานในพิธีฯ หันหน้าไปทางทศิ ท่ีสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว ประทบั - ถวายค�ำนบั - หยิบกระทงขา้ วตอก กระทงดอกไมจ้ ากพนักงานพระราชพธิ วี างท่ีฐานฟนื หนา้ หีบศพ - แล้วหยบิ ดอกไม้จนั ทน์จากพนกั งานพระราชพธิ ี จุดเพลิงพระราชทานจาก โคมไฟท่เี จา้ พนักงานพระราชทานถือ - เชิญไฟสอดวงลงใตก้ องฟนื ลงจากเมรุ - พระสงฆข์ ้นึ เมรุเผาศพกอ่ น แลว้ แขกผู้มีเกยี รตกิ ับบรรดาญาติมิตร ข้ึนเมรตุ ามล�ำดบั - พนักงานพระราชพิธี ส�ำนกั พระราชวัง เดนิ ทางกลับ 128
กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม หมายเหต ุ ๑) จัดโต๊ะหมู่ตัวสูง ๑ ตัว ปูผ้าขาว ต้ังด้านศีรษะศพ ส�ำหรับวางเครื่องขมาศพ และ วางโคมไฟหลวง ๒) จัดเตรียมโคมไฟส�ำหรับต่อเลี้ยงเพลิงพระราชทานจากพนักงานพระราชพิธีน�ำไป รักษาไว้ เพ่ือใช้พระราชทานเพลิงศพเม่อื ถงึ เวลาเผาจริง ๓) ในกรณที หาร ตำ� รวจ ทไี่ ดก้ องเกยี รตยิ ศ เมอื่ ประธานวางกระทง ขา้ วตอก กระทงดอกไม้ เครื่องขมาแล้ว ใหเ้ ป่าแตรนอน จบแล้ว ๔) เมอ่ื ประธานหยบิ ธปู เทยี น ดอกไมจ้ นั ทน์ ใหบ้ รรเลงเพลงเคารพศพ ตอ่ ไฟพระราชทาน จากโคมไฟแล้ว วางไวใ้ ตก้ องฟืน เพ่อื เป็นการพระราชทานเพลิงศพ ๕) เม่ือเจ้าหน้าท่ีเชิญเพลิงพระราชทาน หรือเชิญหีบเพลิงพระราชทานไปถึงมณฑลพิธี ห้ามเปดิ หรือบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมีในการพระราชทานเพลงิ ศพ ๖) กรณีพระราชทานเพลงิ ศพ โดยการเชญิ เพลิงของเจ้าหน้าทใี่ ห้เจา้ ภาพติดตอ่ เจ้าหน้าท่ี งานพิธกี าร เพื่อยนื ยนั ก่อนวนั พระราชทานเพลิงศพ ๑ วัน ในการขอพระราชทานเพลิงศพน้ันจะต้องไม่ตรงกับ วันเฉลิมพระชนมพรรษาของสมเด็จ พระเจา้ อยหู่ ัว วันเฉลมิ ฉลองสริ ริ าชสมบัตพิ ระราชพธิ ีฉัตร (และประเพณีนยิ มไมเ่ ผาศพในวนั ศุกร์) การปฏิบัติเก่ียวกับหบี เพลิงพระราชทาน (ระยะทางห่างจากส�ำนักพระราชวังเกิน ๕๐ กิโลเมตร) ตามระเบียบที่ส�ำนักพระราชวังได้วางไว้ เมื่อกระทรวงเจ้าสังกัด ผู้ว่าราชการจังหวัด หรือเจ้าภาพ แล้วแต่กรณี ได้มีหนังสือแจ้งมายังส�ำนักพระราชวัง เพ่ือขอพระราชทานเพลิงศพ หากศพนั้นอยู่ในเกณฑ์ท่ีจะได้รับพระราชทานเพลิงศพ ส�ำนักพระราชวังจะได้มีหนังสือแจ้งให้ เจา้ ภาพศพเพอื่ ทราบ จากนนั้ เจา้ ภาพศพหรอื เจา้ หนา้ ทขี่ องจงั หวดั แลว้ แตก่ รณใี หส้ ง่ เจา้ หนา้ ทไ่ี ปขอรบั หีบเพลิงพระราชทานได้ที่ กองพระราชพิธี สำ� นักพระราชวัง เมอื่ ไดร้ บั หบี เพลงิ พระราชทานไปแลว้ ตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามลำ� ดบั ขัน้ ตอน ดงั น.้ี - ๑) เชญิ หบี เพลงิ พระราชทานไปวางทศี่ าลากลางจงั หวดั อำ� เภอ หรอื หนว่ ยราชการทส่ี งั กดั ในท้องถนิ่ หรือที่บ้านเจา้ ภาพ แล้วแต่กรณี โดยต้ังไวใ้ นทอ่ี ันสมควร และควรมีพานรองรบั หบี เพลิง พระราชทานนั้นด้วย 129
ศาสนพิธแี ละมารยาทไทย ๒) เมือ่ ถึงก�ำหนดวนั ทข่ี อพระราชทานเพลิงศพ ทางจงั หวดั อำ� เภอ หรือเจ้าภาพ แลว้ แต่ กรณี จะตอ้ งจัดเจา้ หนา้ ท่ี แตง่ เครอ่ื งแบบปกติขาวไว้ทุกข์ เพื่อเชิญหีบเพลิงพระราชทานพรอ้ มด้วย พานรอง (หน่ึงหีบต่อ ๑ คน) ไปยังเมรุท่ีจะประกอบพิธี และก่อนที่จะเชิญข้ึนไปต้ังบนเมรุน้ันควร ยกศพขน้ึ ตง้ั เมรใุ หเ้ รยี บรอ้ ยเสยี กอ่ นแลว้ จงึ เชญิ พานหบี เพลงิ พระราชทานขน้ึ ไปตง้ั ไวบ้ นโตะ๊ ทางดา้ น ศีรษะศพ (บนโต๊ะที่ตั้งหีบเพลิงพระราชทานน้ันจะต้องมีผ้าปูให้เรียบร้อย และห้ามมิให้น�ำส่ิงหนึ่ง ส่ิงใดวางร่วมอยู่ด้วยเป็นอันขาด เมื่อเชิญพานหีบเพลิงพระราชทานวางเรียบร้อยแล้ว ให้ผู้เชิญ คำ� นบั เคารพศพ ๑ ครง้ั (แต่ถ้าเปน็ ศพพระสงฆ์ให้ประนมมอื ไหว)้ แลว้ จึงลงจากเมรุ ๓) ขณะที่เชิญพานหีบเพลิงพระราชทานไปนั้น เจ้าหน้าท่ีผู้เชิญจะต้องระมัดระวังกิริยา มารยาท โดยอยใู่ นอาการสำ� รวม ไมพ่ ดู คยุ กบั ผใู้ ด และไมต่ อ้ งทำ� ความเคารพผใู้ ด และไมเ่ ชญิ หบี เพลงิ พระราชทานเดนิ ตามหลังผหู้ นึ่งผ้ใู ดเปน็ อันขาด ๔) ผู้ท่ีไปร่วมงานพระราชทานเพลิงศพ ทั้งประชาชน ข้าราชการ และพนักงานลูกจ้าง รฐั วสิ าหกจิ ควรแต่งกายไวท้ กุ ข์ตามประเพณนี ิยม ในกรณีลกู หลานหรอื ญาติ รวมท้งั ผูท้ เี่ คารพนับถือ ผู้วายชนม์ที่รับราชการ จะแต่งกายชุดปกติขาว ไว้ทุกข์ ก็จะเป็นเกียรติแก่ผู้วายชนม์ และยังนับว่า เป็นการถวายพระเกยี รติ ๕) ผู้ที่ต้ังแถวรอรับการเชิญหีบเพลิงพระราชทานเดินไปสู่เมรุ ควรเป็นเจ้าภาพงาน การแต่งกาย ควรแต่งเคร่ืองแบบไว้ทุกข์ตามประเพณีนิยม ในกรณีท่ีเป็นข้าราชการ แต่งกาย เครอื่ งแบบปกตขิ าว ไว้ทุกข์ ๖) ระหว่างที่เจ้าหน้าที่เชิญหีบเพลิงพระราชทานเดินไปสู่เมรุนั้น ประชาชนที่มาร่วมงาน ควรนั่งอยู่ในความสงบโดยมิต้องยืนข้ึน ไม่ต้องท�ำความเคารพ และไม่มีการบรรเลงเพลงอย่างใด ทัง้ ส้ิน เพราะยังไมถ่ ึงข้ันตอนของพิธกี าร เจา้ หนา้ ท่ีผเู้ ชิญกม็ ใิ ช่ผแู้ ทนพระองค์ เปน็ การปฏิบัติหน้าท่ี ตามท่ไี ด้รับมอบหมาย ๗) เม่ือถึงก�ำหนดเวลาพระราชทานเพลิง ให้เจ้าภาพเชิญแขกผู้อาวุโสสูงสุด ขึ้นเป็น ประธานจดุ เทียน ประธานในพิธีจุดเพลิงท่ีอาวุโสสูงสุดนั้น หมายถึง อาวุโสทั้งด้านคุณวุฒิและด้านวัยวุฒิ ทั้งนี้ หากมีพระราชวงศ์ต้ังแต่ข้ันหม่อมเจ้าข้ึนไป หรือราชสกุลท่ีมีเกียรติในราชการ ซ่ึงศพหรือ ทายาทอยใู่ ตบ้ งั คับบญั ชา หรือเปน็ ผทู้ ่เี คารพนับถอื สมควรเชิญบุคคลน้นั เปน็ ประธาน 130
กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม ๘) ในระยะเวลากอ่ นเจ้าภาพเชิญผอู้ าวโุ สสูงสดุ ขนึ้ เป็นประธานประกอบพธิ พี ระราชทาน เพลิงน้ันให้เจ้าหน้าที่ผู้เชิญหีบเพลิงพระราชทานข้ึนไปรออยู่ ณ โต๊ะวางหีบเพลิงพระราชทาน บนเมรกุ อ่ นเมอ่ื ผเู้ ปน็ ประธานทอดผา้ ไตรบงั สกุ ลุ พระภกิ ษไุ ดช้ กั ผา้ บงั สกุ ลุ แลว้ ใหเ้ จา้ หนา้ ทผ่ี เู้ ชญิ หบี เพลงิ พระราชทานแกห้ อ่ หบี เพลงิ พระราชทานออก จากนนั้ ผเู้ ปน็ ประธานปฏบิ ตั ติ ามขน้ั ตอนตอ่ ไปน.ี้ - (๑) ประธานพิธีเดนิ ข้ึนไปบนเมรุ (๒) ทอดผา้ ไตรบังสุกุล (๓) พระสงฆ์พจิ ารณาผ้าไตรบังสกุ ลุ (๔) ประธานพธิ หี นั หนา้ ไปทางทศิ ทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ประทบั ถวายคำ� นบั ๑ ครง้ั (๕) หยิบเทยี นชนวนในหีบเพลงิ พระราชทาน มอบให้เจ้าหนา้ ทผ่ี เู้ ชญิ ถือไว้ (๖) หยิบกลักไม้ขีดในหีบเพลิงพระราชทาน จุดไฟต่อเทียนชนวนที่เจ้าหน้าที่ผู้เชิญถือไว้ รอจนเทยี นลุกไหมด้ แี ล้ว (๗) ท�ำความเคารพ (ไหว้) ๑ ครั้ง ก่อนหยิบธูป ดอกไม้จันทน์ และเทียนพระราชทาน (จำ� นวน ๑ ชุด) ในหบี เพลิงพระราชทาน (๘) จดุ ไฟหลวงจากเทียนชนวนแล้ววางไวก้ ลางฐานทต่ี ั้งศพ จากนัน้ ก้าวถอยหลัง ๑ กา้ ว คำ� นบั เคารพศพ ๑ ครง้ั แลว้ ลงจากเมรุ (๙) เปน็ อนั เสร็จพธิ ี หมายเหตุ ๑) ส�ำหรับศพท่ีได้รับพระมหากรุณาธิคุณพระราชทานผ้าไตรทอด ถวายพระบังสุกุล ดว้ ยนั้น ผเู้ ปน็ ประธาน ต้องทำ� ความเคารพ (ไหว)้ ๑ ครั้ง กอ่ นหยบิ ผ้าไตรพระราชทานจากเจา้ หนา้ ท่ี ผเู้ ชิญแล้วทอดผ้าตามพธิ ตี ่อไป ๒) ในกรณที เ่ี จา้ ภาพประสงคใ์ หม้ กี ารอา่ นหมายรบั สง่ั เพอื่ แสดงถงึ การไดร้ บั พระราชทาน เพลงิ ศพ (ในกรณีท่ไี ด้รบั หมายรบั ส่ัง ถา้ ยงั ไมไ่ ด้รบั หมายรับส่ังก็ไม่ตอ้ งอ่าน)* 131
ศาสนพิธแี ละมารยาทไทย การอา่ นหมายรบั สงั่ ประวตั ผิ วู้ ายชนม์ สำ� นกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ นน้ั สว่ นสำ� นกั พระราชวงั ใหแ้ นวทางไว้ ดังน ้ี (๑) หมายรบั ส่งั แสดงถึงการไดร้ ับพระราชทานเพลงิ ศพ (๒) ประวัติผ้วู ายชนม์ เพ่ือประกาศเกยี รติคุณ (๓) สำ� นึกในพระมหากรุณาธิคณุ อน่ึง ส�ำนักพระราชวัง ได้หมายเหตุไว้ว่า การอ่านหมายรับส่ัง ประวัติผู้วายชนม์ สำ� นกึ พระมหากรุณาธคิ ุณนน้ั เป็นข้นั ตอนท่สี ามารถเปลย่ี นแปลงแก้ไขได้ตามความเหมาะสม ในทีน่ ้ี ขอน�ำเสนอขั้นตอนการอา่ นหมายรับส่งั ไวเ้ พื่อประกอบการพจิ ารณา ดังนี้ (๑) หมายรับสั่ง แสดงถึงการไดร้ ับพระมหากรณุ าธิคณุ ทไี่ ด้รับการพระราชทานเพลิงศพ (๒) สำ� นกึ ในพระมหากรุณาธิคณุ (๓) ประวัติผู้วายชนม์ เพื่อเป็นการประกาศเกียรติคุณ แล้วยืนไว้อาลัย ๑ นาที จากนั้น เรียนเชิญประธานพิธี ขึ้นทอดผ้าบังสุกุล และจุดเพลิงพระราชทาน ซ่ึงจะเป็นการปฏิบัติงานพิธีได้ อย่างต่อเนอ่ื ง และเรยี บร้อยสวยงาม ประวัติผู้วายชนม์ เพ่ือประกาศเกียรติคุณ และค�ำส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ ในงานพระราชทานเพลิงศพนั้น ให้อ่านเรียงล�ำดับตามท่ีกล่าวมา ท้ังนี้ หากจะอ่านเพียงอย่างใด อย่างหน่ึงก็ได้ หรือไม่อ่านเลยก็ได้ ขึ้นอยู่กับความประสงค์และความสะดวกของเจ้าภาพเป็นส�ำคัญ ส่วนการลงท้ายค�ำอ่านสามารถอ่านชื่อบุคคลผู้เป็นทายาทท้ังหมดหรือจะออกชื่อแต่เจ้าภาพก็ย่อม กระท�ำได้ ในการพระราชทานเพลิงศพหากเจา้ ภาพประสงค์จะใหอ้ ่านหมายรบั ส่งั คำ� สำ� นกึ ใน พระมหากรณุ าธิคุณ และประวตั ิผวู้ ายชนม์ ใหอ้ า่ นเรยี งลำ� ดบั ดังกล่าว 132
กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม ตวั อย่างหมายรบั สง่ั 133
ศาสนพธิ ีและมารยาทไทย สำ� นกึ ในพระมหากรุณาธิคุณ (ส�ำหรับพระสงฆ)์ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดพระราชทานเพลิงศพ พระ............................... ซ่ึงนับเปน็ พระมหากรุณาธคิ ุณ เป็นเกียรติอันสูงสดุ แกผ่ ูว้ ายชนม์ และวงศต์ ระกลู อย่างหาที่สุดมไิ ด้ หากความทราบโดยญาณวิถีถึงดวงวิญญาณของพระ................................................... ได้ด้วยประการใดในสัมปรายภพ คงจะมีความปราบปล้ืมซาบซึ้งเป็นล้นพ้นในพระมหากรุณาธิคุณท่ี ได้รบั พระราชทานเกยี รติยศอันสงู ยง่ิ ในวาระสุดทา้ ยแหง่ ชวี ติ คณะสงฆ์วัด................................อำ� เภอ..................................จังหวัด.................................. ขอพระราชทานพระบรมราชวโรกาส ถวายพระพรด้วยความส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณอย่าง หาท่ีสุดมิได้ และจะเทิดทูนไว้เป็นสรรพสิริมงคลแก่คณะสงฆ์และวงศ์ตระกูลของผู้วายชนม์ ตลอดไป ขอถวายพระพร คณะสงฆว์ ดั ........................................................ 134
กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม สำ� นึกในพระมหากรุณาธิคุณ (สำ� หรับบคุ คลท่ัวไป) สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานเพลิงศพ (นาย, นาง, นางสาว, ยศ).........................................................ซ่งึ นับเปน็ พระมหากรุณาธิคุณลน้ เกลา้ ลน้ กระหมอ่ ม เป็นเกียรติอันสูงสุดแกผ่ ู้วายชนม์ และวงศ์ตระกลู อย่างหาที่สดุ มิได้ หากความทราบโดยญาณวิถี ถึงวิญญาณของ (นาย, นาง, นางสาว, ยศ).............................. ได้ด้วยประการใดในสัมปรายภพ คงมีความปลาบปล้ืมซาบซ้ึงเป็นล้นพ้น ในพระมหากรุณาธิคุณ ทไี่ ด้รับพระราชทานเกยี รตยิ ศอนั สูงยง่ิ ในวาระสดุ ท้ายแห่งชวี ติ ข้าพระพุทธเจ้าผู้เป็นบุตร ธิดา และหลาน ๆ ขอพระราชทานพระบรมราชวโรกาส กราบถวายบังคมแทนเบ้ืองพระยุคคลบาท ด้วยความส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาท่ีสุดมิได้ และจะเทดิ ทนู ไวเ้ หนอื เกลา้ เหนอื กระหมอ่ ม เปน็ สรรพสริ มิ งคลแกข่ า้ พระพทุ ธเจา้ และวงศต์ ระกลู สบื ไป ด้วยเกล้าดว้ ยกระหม่อมขอเดชะ ขา้ พระพุทธเจา้ ครอบครวั (นามสกลุ )................................................. 135
ศาสนพธิ ีและมารยาทไทย แบบอย่างการเขียนประวตั แิ ละคำ� ไว้อาลัย เรียน.............................................................(ประธานพธิ ี และท่านผู้มีเกยี รตทิ ี่เคารพทุกท่าน ก่อนทจี่ ะประกอบพิธพี ระราชทานเพลิงศพ (นาย, นาง, นางสาว, ยศ).............................. ในวนั น้ี เพอ่ื เปน็ การประกาศเกยี รตคิ ณุ และรำ� ลกึ ถงึ เปน็ วาระสดุ ทา้ ย กระผม (นาย, นาง, นางสาว,ยศ) พธิ กี ร....................ขอนำ� ประวตั แิ ละคำ� ไวอ้ าลยั ของผวู้ ายชนมม์ าเรยี นใหผ้ มู้ เี กยี รตทิ กุ ทา่ นเพอื่ ไดท้ ราบ โดยสังเขป ดังนี้ (นาย, นาง, นางสาว, ยศ)...................................เป็นบตุ รของ............................................. และนาง........................................เกิดเมอื่ วนั ท่ี...................เดอื น...........................พ.ศ. ..................... บ้านเลขท่ี..................ต�ำบล.............................อ�ำเภอ...........................จังหวัด................................... มพี ีน่ ้องรว่ มบิดามารดา รวม............................คน ๑. ......................................................... ๒. ......................................................... (นาย, นาง, นางสาว, ยศ)...................................สำ� เรจ็ การศึกษา......................................... จากโรงเรียน..................................................................เมื่อส�ำเร็จการศึกษาแล้วได้เข้าท�ำงานเป็น ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... (นาย, นาง, ยศ)..............................................ได้สมรสกบั .................................................... (ซ่ึงเป็นบุตร, บุตรี) ของ....................................................................................มีบุตร..................คน คือ ๑. .............................................................. ๒. ............................................................. ตำ� แหนง่ สดุ ทา้ ย.................................................................................................................... เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ์ (ถา้ ม)ี ................................................................................................ ตามประวตั กิ ารปฏิบตั ิงาน (นาย, นาง, นางสาว, ยศ)...................................................เป็น ผปู้ ฏิบตั ิหน้าท่ดี ว้ ยความซื่อสัตยส์ ุจรติ เปน็ ผู้มคี วามรบั ผดิ ชอบต่องานในหน้าทอี่ ย่างสงู ย่ิง มีอัธยาศัย 136
กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม โอบอ้อมอารี รักหมู่คณะ รักพ่ี รกั น้อง รักผู้ใตบ้ งั คบั บญั ชา และเป็นผู้ให้ความเคารพต่อผูบ้ ังคับบญั ชา และเปน็ ผมู้ คี วามออ่ นนอ้ มตอ่ ผใู้ หญ่ เปน็ ผมู้ นี ำ้� ใจอนั ประเสรฐิ ตลอดระยะเวลาอนั ยาวนานทไี่ ดป้ ฏบิ ตั ิ หน้าท่ีในความรับผิดชอบ ได้ทุ่มเทแรงกาย แรงใจและสติปัญญา ท�ำงานเพ่ือสร้างคุณประโยชน์ต่อ ประเทศชาตินับเป็นอเนกอนันต์ ในดา้ นศาสนาเปน็ ผมู้ ศี รทั ธาเลอื่ มใสในพระพทุ ธศาสนาไดใ้ หก้ ารอปุ ถมั ภบ์ ำ� รงุ พระพทุ ธศาสนา อยเู่ นอื งนิตย์ ในด้านครอบครัวได้ปฏิบัติหน้าท่ีในฐานะเป็นผู้น�ำครอบครัวอย่างดียิ่ง เป็นคู่ชีวิตท่ีดีของ (สาม,ี ภรรยา) ใหค้ วามหว่ งใยบตุ รธดิ าตลอดเวลา ท�ำให้ครอบครวั มคี วามอบอุ่นและเปน็ ครอบครัว ที่มีความสขุ เป็นอย่างยิง่ เน่ืองจากเปน็ ผู้มอี ัธยาศยั รา่ เรงิ สนกุ สนาน และมองโลกในแง่ดี (นาย, นาง, นางสาว, ยศ)..............................ไดล้ ้มปว่ ยลงดว้ ยโรค...................................... และเข้ารับการรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาล......................................................และถึงแก่กรรมด้วย อาการอนั สงบ เม่ือวันท.ี่ ..................เดอื น............................พ.ศ. ..................เวลา...................นาฬิกา รวมสิริอายไุ ด.้ ................ปี การจากไปของ (นาย, นาง, นางสาว,ยศ)............................................ในครงั้ นี้ สร้างความ เศรา้ โศกเสียใจแก่ (สาม,ี ภรรยา) บตุ ร - ธดิ า และญาติมติ รเปน็ อยา่ งยิง่ และมใิ ชแ่ ต่เปน็ ความสูญเสยี บุคคลอันเปน็ ทร่ี ักย่ิงของครอบครวั (สกุล).......................................เทา่ นั้น แต่นับวา่ เปน็ การสูญเสยี ทรัพยากรบุคคลผู้ทรงคุณค่าของประเทศชาตอิ กี ดว้ ย ทา่ นผู้มีเกยี รตทิ ี่เคารพ ชีวติ และความตายเป็นของคูก่ นั ทใ่ี ดมีเกดิ ท่ีนนั่ ต้องมีตาย ชีวติ ของ สตั วท์ งั้ หลาย ถกู ความเกดิ ความเจ็บ ความแกเ่ บยี ดเบยี น ย่อมเสือ่ มสิน้ ไปตามกาลเวลา คร้ังถึงกาล ก�ำหนดแล้ว ก็ย่อมจะต้องแตกท�ำลายไป พระพุทธศาสนาจึงสอนให้พุทธศาสนิกชนพึงประกอบแต่ ความดเี ปน็ นติ ย์ เพอ่ื ความสงบสขุ ของชวี ติ ในปจั จบุ นั และเปน็ ทพี่ ง่ึ พงิ ในโลกเบอื้ งหนา้ ในสมั ปรายภพ ด้วยอ�ำนาจแห่งคุณพระศรีรัตนตรัย และบุญกุศลคุณงามความดีที่ (นาย, นาง, นางสาว, ยศ)........ทีไ่ ด้ปฏิบัติบ�ำเพญ็ มา ตลอดถงึ บุญกศุ ลที่ (สาม,ี ภรรยา) บตุ ร ธดิ า และญาติมติ ร ไดร้ ว่ ม จิตบ�ำเพ็ญทักษิณานุประทานอุทิศให้ในกาลคร้ังน้ี จงเป็นพลวปัจจัยส่งให้ (นาย, นาง, นางสาว, ยศ).......................................ไดไ้ ปสถติ เสวยอดุ มสขุ ในทพิ ยวมิ านสคุ ตสิ ถาน ในสมั ปรายภพดว้ ยเทอญ. --------------------------- 137
ศาสนพิธีและมารยาทไทย ในวาระสุดท้ายน้ี ขอเรียนเชิญท่านผู้เกียรติทุกท่านได้ร่วมจิตอธิษฐานเพ่ืออุทิศส่วนกุศล สง่ ดวงวญิ ญาณของ (นาย, นาง, นางสาว, ยศ)...................................ใหไ้ ปสสู่ คุ ตใิ นสมั ปรายภพ ดว้ ยการ ยนื ไวอ้ าลยั ประมาณ ๑ นาที ดว้ ยความพรอ้ มเพรียงกัน. ขอเรยี นเชญิ ครบั ---------------------------- บัดน้ี ไดเ้ วลาอันสมควรของพิธพี ระราชทานเพลิงศพ (นาย, นาง, นางสาว, ยศ).................. ในวันนี้ กระผมขอเรียนเชิญ (ประธานพิธี)....................................................ได้กรุณาทอดผ้าบังสุกุล และเปน็ ประธานในการประกอบพิธีจุดเพลงิ พระราชทาน เปน็ ล�ำดบั ไป ขอเรียนเชิญครับ. ------------------------------ 138
กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม ข้ันตอนการปฏิบัตพิ ิธีพระราชทานเพลงิ (หบี เพลงิ ) หีบเพลิงพระราชทาน ๑) ใกลเ้ วลา เจ้าหน้าทีเ่ ชญิ หีบเพลงิ พระราชทานมาถึง (เจา้ ภาพรอตอ้ นรบั ) นำ� หีบเพลงิ ข้นึ ต้งั บนเมรุดา้ นศีรษะของศพ ๒) ได้เวลา เจ้าภาพเชญิ ประธานทอดผ้าบงั สุกุล (พระสงฆบ์ งั สกุ ลุ ) ๓) เจ้าหน้าทเ่ี ชิญหีบเพลงิ พระราชทาน ๔) ประธานถวายความเคารพไปทางทศิ ทส่ี มเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ประทบั อยู่ หรอื ถวายบงั คม (ไหว)้ ไปที่หบี เพลิง แล้ว ๕) หยบิ เทียนชนวนในหบี เพลงิ พระราชทานมอบให้เจ้าหนา้ ทถี่ ือไว้ ๖) หยบิ กลกั ไมข้ ีดไฟ จดุ ไฟต่อเทยี นชนวนให้ตดิ ดี ๗) ถวายบงั คม (ไหว)้ ๑ ครงั้ กอ่ นหยบิ ดอกไมจ้ นั ทน์ ธปู เทยี น จดุ ไฟหลวงจากเทยี นชนวน ๘) วางดอกไม้จนั ทน์ ธูป เทียนไว้ใต้กลางฐานทต่ี ั้งศพ (หรือท่ีท่ีเจา้ ภาพจดั ไว)้ ๙) ถอยหลัง ๑ ก้าว ท�ำความเคารพศพ ๑ ครั้ง แล้วลงจากเมรุ เป็นเสร็จพิธี (จากนั้น ผมู้ เี กยี รติและเจ้าภาพขน้ึ วางดอกไม้จันทน์เป็นลำ� ดับไป) 139
ศาสนพิธีและมารยาทไทย ลำ� ดับการอ่านประกาศเกียรตยิ ศ ในพิธพี ระราชทานเพลงิ ศพ ๑) หมายรับสง่ั (ถ้ายังไมไ่ ด้รับไมต่ ้องอา่ น) ๒) สำ� นึกในพระมหากรุณาธคิ ุณ ๓) ประวตั ิผวู้ ายชนม์ หมายเหตุ ๑) จะอ่านเพยี งอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงหรือไมอ่ า่ นเลยก็ได้ ๒) ไมค่ วรใชค้ ำ� นำ� หน้าช่ือผไู้ ดร้ ับพระราชทานเพลงิ ศพวา่ คุณพอ่ ....... คณุ แม่....... ๓) ควรใชว้ ่า นาย...... นาง...... นางสาว...... หรือยศ นำ� หน้าช่อื เท่าน้นั การแตง่ กาย ๑) เจา้ หน้าทีผ่ ้เู ชญิ หีบเพลงิ พระราชทาน แต่งชุดปกติขาวไวท้ กุ ข์ ๒) ประธาน แต่งชดุ ปกติขาวไว้ทุกข์ ชุดสากลไวท้ ุกข์ หรือชดุ สุภาพสำ� หรบั งานศพ ๓) เจ้าภาพ ถา้ เป็นขา้ ราชการควรแตง่ ชุดปกตขิ าวไว้ทกุ ข์ ชดุ สากลไวท้ กุ ขห์ รอื ชดุ สภุ าพ ส�ำหรบั งานศพ ๑.๓ การขอพระราชทานดนิ ฝังศพ ดินฝังศพพระราชทาน 140
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234