Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศาสนพิธีและมารยาทไทย

ศาสนพิธีและมารยาทไทย

Description: ศาสนพิธีและมารยาทไทย.

Search

Read the Text Version

กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม ค�ำถวายผา้ วสั สิกสาฎก (ผา้ หรบั ใชน้ ุ่งเวลาอาบน้ำ� ฝน) “อิมานิ มะยัง ภันเต, วัสสิกะสาฏิกานิ, สะปะริวารานิ, ภิกขุสังฆัสสะ, โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภันเต, ภิกขุสังโฆ, อิมานิ, วัสสิกะสาฏิกานิ, สะปะริวารานิ, ปะฏิคคัณหาตุ, อัมหากัง, ทฆี ะรัตตงั , หติ ายะ, สขุ ายะฯ. ข้าแต่พระสงฆผ์ เู้ จริญ, ขา้ พเจ้าทัง้ หลาย, ขอนอ้ มถวายผ้าอาบนำ้� ฝน, กับทัง้ บรวิ ารเหล่าน,ี้ แด่พระภิกษุสงฆ์, ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับผ้าอาบน้�ำฝน, กับท้ังบริวารเหล่าน้ี, ของข้าพเจ้าทั้งหลาย, เพ่ือประโยชนแ์ ละความสขุ , แกข่ า้ พเจ้าท้งั หลาย, สิน้ กาลนานเทอญ.ฯ” คำ� ถวายผ้าจ�ำนำ� พรรษา (ผา้ ท่ีถวายแกพ่ ระภกิ ษผุ อู้ ยจู่ ำ� พรรษาครบ ๓ เดือน) “อมิ านิ มะยงั ภนั เต, วัสสาวาสิกะจวี ะรานิ, สะปะริวารานิ, ภกิ ขุสังฆสั สะ, โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภันเต, ภิกขสุ ังโฆ, อมิ านิ, วสั สาวาสกิ ะจวี ะราน,ิ สะปะริวารานิ, ปะฏคิ คัณหาตุ, อัมหากงั , ทีฆ ะรตั ตัง, หติ ายะ, สุขายะฯ. ขา้ แตพ่ ระสงฆผ์ เู้ จรญิ , ข้าพเจ้าทง้ั หลาย, ขอน้อมถวายผ้าจ�ำนำ� พรรษา, กับท้ังบริวารเหลา่ น้,ี แดพ่ ระภิกษุสงฆ์, ขอพระภิกษสุ งฆ์จงรับผา้ จำ� น�ำพรรษา, กบั ทั้งบริวารเหลา่ นี,้ ของขา้ พเจ้าทง้ั หลาย, เพอื่ ประโยชน์และความสขุ , แกข่ ้าพเจา้ ทั้งหลาย, ส้ินกาลนานเทอญฯ.” ค�ำถวายผ้าอัจเจกจวี ร (ผา้ จ�ำน�ำพรรษาทถี่ วายแกพ่ ระภกิ ษโุ ดยรบี ด่วน) “อิมานิ มะยัง ภันเต, อัจเจกะจีวะรานิ, สะปะริวารานิ, ภิกขุสังฆัสสะ, โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภันเต, ภิกขุสังโฆ, อิมานิ, อัจเจกะจีวะรานิ, สะปะริวารานิ, ปฏิคคัณหาตุ, อัมหากัง, ทฆี ะรตั ตงั , หิตายะ, สขุ ายะฯ. ขา้ แตพ่ ระสงฆผ์ ู้เจริญ, ข้าพเจา้ ท้งั หลาย, ขอนอ้ มถวายผา้ อจั เจกจีวร, กบั ทงั้ บริวารเหลา่ น,้ี แด่พระภิกษุสงฆ์, ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับผ้าอัจเจกจีวร, กับทั้งบริวารเหล่านี้, ของข้าพเจ้าท้ังหลาย, เพ่ือประโยชน์และความสขุ , แกข่ า้ พเจ้าทง้ั หลาย, ส้ินกาลนานเทอญฯ.” 191

ศาสนพิธีและมารยาทไทย ค�ำถวายธูปเทียนดอกไมเ้ พ่อื บชู า “มะยัง ภันเต, อิเมหิ, ทีปะธูปะปุปผะวะเรหิ, ระตะนัตตะยัง, อะภิปูเชมะ, อะยัง, ระตะนัตตะยัสสะ ปูชา, อัมหากัง, ทฆี ะรตั ตัง, หติ ะสขุ าวะหา, โหตุ, อาสะวักขะยปั ปัตตยิ า ฯ. ข้าแตพ่ ระสงฆผ์ ้เู จรญิ , ขา้ พเจา้ ทั้งหลาย, ขอบูชาพระรตั นตรัย, ดว้ ยธปู เทียน, และดอกไม้ อันประเสริฐเหล่าน้ี, การบูชาพระรัตนตรัยน้ี, จงน�ำมาซึ่งประโยชน์สุข, เพ่ือบรรลุพระนิพพาน เปน็ ทส่ี ิน้ ไปแหง่ อาสวกเิ ลส, แก่ขา้ พเจา้ ท้ังหลาย, ตลอดกาลนานเทอญฯ.” ค�ำถวายธงเพ่ือบชู า “มะยัง, อิมินา, ธะชะปะฏาเกนะ, ระตะนัตตะยงั , อะภิปูเชมะ, อะยัง, ธะชะปะฏาเกนะ, ระตะนตั ตะยะปชู า, อมั หากงั , ทฆี ะรัตตงั , หิตายะ, สขุ ายะ, สงั วตั ตะตุฯ. ข้าพเจ้าท้ังหลาย, ขอบูชา, ซ่ึงพระรัตนตรัย, ด้วยธงแผ่นผ้าน้ี, กิริยาท่ีบูชาพระรัตนตรัย, ดว้ ยธงแผน่ ผา้ น,ี้ ขอจงเปน็ ไป, เพอื่ ประโยชนแ์ ละความสขุ , แกข่ า้ พเจา้ ทง้ั หลาย, สน้ิ กาลนานเทอญฯ.” 192

กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม ล�ำดับพดั ยศสมณศักด์ิ ฐานานกุ รม เปรียญ ในงานพระราชพิธี - รัฐพิธี สมเดจ็ พระราชาคณะ ๑. สมเดจ็ พระสังฆราชเจา้ ๒. สมเดจ็ พระสังฆราช ๓. สมเด็จพระราชาคณะ ช้ันสุพรรณบฏั พระราชาคณะ ๔. พระราชาคณะ เจ้าคณะรอง ชัน้ หิรญั บัฏ ๕. พระราชาคณะ เจา้ คณะรอง ชั้นสญั ญาบตั ร ๖. พระราชาคณะ ชัน้ ธรรม ๗. พระราชาคณะ ช้นั เทพ ๘. พระราชาคณะ ชน้ั ราช ๙. พระราชาคณะ ชน้ั สามัญ ๙.๑ พระราชาคณะ ปลดั ขวา - ปลัดซา้ ย - ปลดั กลาง ๙.๒ พระราชาคณะ รองเจา้ คณะภาค ๙.๓ พระราชาคณะ เจา้ คณะจงั หวัด ๙.๔ พระราชาคณะ รองเจา้ คณะจังหวดั ๙.๕ พระราชาคณะ ช้ันสามญั เปรียญ ฝา่ ยวิปสั สนาธรุ ะ ๙.๖ พระราชาคณะ ชั้นสามัญเปรยี ญ ป.ธ. ๙ - ๘ - ๗ - ๖ - ๕ - ๔ - ๓ ๙.๗ พระราชาคณะ ชน้ั สามัญเทียบเปรยี ญ ฝ่ายวปิ ัสสนาธุระ ๙.๘ พระราชาคณะ ช้นั สามญั เทียบเปรยี ญ ๙.๙ พระราชาคณะ ชน้ั สามัญยก ฝา่ ยวิปสั สนาธรุ ะ ๙.๑๐ พระราชาคณะ ชน้ั สามัญยก พระครูสัญญาบัตร พระครฐู านานกุ รม พระเปรียญธรรม ๑๐. พระครูสญั ญาบัตร เจ้าคณะจังหวดั (จจ.) ๑๑. พระครสู ัญญาบัตร รองเจ้าคณะจงั หวัด (รจจ.) ๑๒. พระครูสัญญาบตั ร เจา้ อาวาสพระอารามหลวง ชั้นเอก (จล.ชอ.) 193

ศาสนพิธแี ละมารยาทไทย ๑๓. พระครสู ัญญาบตั ร เจา้ คณะอำ� เภอ ชน้ั พเิ ศษ ฝ่ายวิปสั สนาธุระ หรอื เทียบเทา่ (จอ.ชพ.ว.ิ หรอื ทจอ.ชพ.ว)ิ ๑๔. พระครสู ัญญาบตั ร เจ้าคณะอำ� เภอ ช้ันพเิ ศษ (จอ.ชพ.) ๑๕. พระครูปลัดของสมเดจ็ พระราชาคณะ ๑๖. พระเปรยี ญธรรม ๙ ประโยค ๑๗. พระครสู ญั ญาบัตร เจา้ อาวาสพระอารามหลวง ช้นั โท (จล.ชท.) ๑๘. พระครูสญั ญาบตั ร เจา้ คณะอำ� เภอ ชน้ั เอก ฝ่ายวิปสั สนาธุร หรือเทียบเทา่ (จอ.ชอ.วิ. หรือ ทจอ.ชอ.วิ) ๑๙. พระครูสญั ญาบตั ร เจา้ คณะอ�ำเภอ ชั้นเอก (จอ.ชอ.) ๒๐. พระครสู ญั ญาบัตร เจา้ อาวาสพระอารามหลวง ชนั้ ตรี (จล.ชต.) ๒๑. พระครูสญั ญาบัตร เจา้ คณะอ�ำเภอ ชน้ั โท (จอ.ชท.) ๒๒. พระครสู ัญญาบัตร รองเจา้ อาวาสพระอารามหลวง ชั้นเอก (รจล.ชอ.) ๒๓. พระครสู ญั ญาบัตร รองเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ชัน้ โท (รจล.ชท.) ๒๔. พระครูสญั ญาบตั ร รองเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ช้ันตรี (รจล.ชต.) ๒๕. พระครูสญั ญาบัตร ผู้ชว่ ยเจา้ อาวาสพระอารามหลวง ชั้นพเิ ศษ ฝา่ ยวปิ ัสสนาธุระ หรอื เทียบเทา่ (ผจล.ชพ.วิ. หรือ ทผจล.ชพ.วิ.) ๒๖. พระครูสัญญาบัตร ผู้ชว่ ยเจา้ อาวาสพระอารามหลวง ช้ันพเิ ศษ ๒๗. พระครูสญั ญาบตั ร ผชู้ ่วยเจา้ อาวาสพระอารามหลวง ชน้ั เอก ฝ่ายวปิ ัสสนาธุระ หรือเทยี บเท่า (ผจล.ชอ.วิ หรอื ทผจล.ชอ.วิ.) ๒๘. พระครูสัญญาบัตร ผูช้ ่วยเจา้ อาวาสพระอารามหลวง ชั้นเอก หรอื เทียบเท่า (ผจล.ชอ. หรอื ทผจล.ชอ.) ๒๙. พระครูปลัดของพระราชาคณะ เจา้ คณะรอง ช้นั หิรญั บัฏ ๓๐. พระครูปลัดของพระราชาคณะ เจ้าคณะรอง ชนั้ สญั ญาบตั ร ๓๑. พระครูฐานานกุ รมชั้นเอก ของสมเดจ็ พระสงั ฆราช (พระครูปริตร) ๓๒. พระเปรียญธรรม ๘ ประโยค ๓๓. พระครสู ัญญาบตั ร ผชู้ ่วยเจา้ อาวาสพระอารามหลวง ชน้ั โท หรอื เทียบเท่า (ผจล.ชท. หรือ ทผจล.ชท.) 194

กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม ๓๔. พระเปรียญธรรม ๗ ประโยค ๓๕. พระครปู ลัดของพระราชาคณะ ช้นั ธรรม ๓๖. พระครูฐานานกุ รมชัน้ โท ของสมเด็จพระสงั ฆราช (พระครปู ริตร) ๓๗. พระครูสญั ญาบตั ร รองเจา้ คณะอ�ำเภอ ช้ันเอก (รจอ.ชอ.) ๓๘. พระครูสญั ญาบัตร รองเจา้ คณะอ�ำเภอ ชั้นโท (รจอ.ชท.) ๓๙. พระครูสัญญาบตั ร เจ้าคณะต�ำบล ชั้นเอก ฝ่ายวปิ ัสสนาธรุ ะ (จต.ชอ.วิ.) ๔๐. พระครูสญั ญาบตั ร เจ้าคณะตำ� บล ชน้ั เอก (จต.ชอ.) ๔๑. พระครสู ญั ญาบัตร เจา้ คณะต�ำบล ชัน้ โท ฝ่ายวิปสั สนาธรุ ะ (จต.ชท.วิ.) ๔๒. พระครูสญั ญาบัตร เจา้ คณะต�ำบล ช้ันโท (จต.ชท.) ๔๓. พระครสู ญั ญาบตั ร เจา้ คณะตำ� บล ชั้นตรี (จต.ชต.) ๔๔. พระครสู ญั ญาบตั ร เจ้าอาวาสวดั ราษฎร์ ชัน้ เอก ฝ่ายวปิ สั สนาธุระ (จร.ชอ.ว.ิ ) ๔๕. พระครูสัญญาบัตร เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ ชน้ั โทร (จร.ชอ.) ๔๖. พระครูสญั ญาบัตร เจา้ อาวาสวัดราษฎร์ ช้นั โท ฝา่ ยวิปัสสนาธุระ (จร.ชท.วิ.) ๔๗. พระครสู ัญญาบตั ร เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ ช้ันโท (จร.ชท.) ๔๘. พระครูสญั ญาบัตร เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ ชั้นตรี (จร.ชต.) ๔๙. พระครสู ัญญาบตั ร รองเจา้ อาวาสวัดราษฎร์ (รจร.) ๕๐. พระครสู ัญญาบตั ร ผู้ชว่ ยเจ้าอาวาสวดั ราษฎร์ (ผจร.) ๕๑. พระเปรียญธรรม ๖ ประโยค ๕๒. พระเปรียญธรรม ๕ ประโยค ๕๓. พระครปู ลดั ของพระราชาคณะ ชั้นเทพ ๕๔. พระครูปลัดของพระราชาคณะ ชั้นราช ๕๕. พระครวู ินยั ธร ๕๖. พระครธู รรมธร ๕๗. พระครคู ู่สวด ๕๘. พระเปรียญธรรม ๔ ประโยค ๕๙. พระปลัดของพระราชาคณะ ช้นั สามัญ ๖๐. พระเปรยี ญธรรม ๓ ประโยค 195

ศาสนพธิ ีและมารยาทไทย ๖๑. พระครูรองค่สู วด ๖๒. พระครสู ังฆรักษ์ ๖๓. พระครูสมหุ ์ ๖๔. พระครูใบฎกี า ๖๕. พระสมหุ ์ ๖๖. พระใบฎกี า ๖๗. พระพิธีธรรม (เหลือง - แดง - นำ้� เงิน - เขยี ว) หมายเหตุ ๑. การจัดล�ำดับน้ี เป็นการปรับปรุงใหม่ พ.ศ. ๒๕๕๒ ตามที่ได้ทรงพระกรุณา พระราชทานพดั ยศเพมิ่ อีก ๕ ต�ำแหน่ง ๒. เฉพาะพิธีรับผ้าพระกฐินพระราชทาน เจ้าอาวาสน่ังหน้าพระภิกษุรูปอื่น ซึ่งแม้จะมี สมณศกั ด์สิ ูงกว่า ๓. ตง้ั แตพ่ ระราชาคณะ ช้นั ราชขึน้ ไป นั่งตามลำ� ดับอาวโุ สโดยสมณศักดิ์ 196

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม การใชพ้ ัดยศ การถวายดเิ รก และการถวายพระพรลา พระด�ำรัสแห่ง สมเด็จพระมหาสมณะ๒ ใหถ้ วายอตเิ รกในการหลวงการรัฐบาลทั่วไป สมเด็จพระมหาสมณะ มีพระด�ำรัสว่า ธรรมเนียมการถวายอดิเรก แด่สมเด็จพระเจ้า แผ่นดินแต่ก่อนมา ถวายเฉพาะในพระที่น่ังเน่ืองด้วยที่ประทับ และต่อมาในพระที่น่ังท่ีเคยประทับ ทุกแห่ง สมเด็จพระราชาคณะและพระราชาคณะเป็นผู้ถวาย โดยฐานทรงยกย่องเป็นพระเถระ เหน็ วา่ คำ� ถวายอตเิ รกนน้ั เปน็ คำ� ออกพระนาม หรอื กลา่ วทางไวยากรณแ์ หง่ มคธภาษาเปน็ ประถมบรุ ษุ ค�ำกลา่ วถึงถวายลับหลังกไ็ มช่ ดั และการถวายพระพรสมเดจ็ พระเจา้ แผน่ ดนิ ของตน กเ็ ป็นการแสดง ความปรารถนาอันดี ถ้าใช้ในการหลวงการรัฐบาลทั่วไป จัดเป็นการสมควร แต่ติดอยู่ที่หัวเมือง เพราะไมม่ พี ระราชาคณะทกุ แห่ง ไดน้ �ำความเรียนพระราชปฏิบัติ บดั นี้ พระราชทานพระบรมราชา นุญาตให้พระครูเจ้าคณะจังหวัด และพระครูเจ้ารองผู้ได้รับพระราชทานพัดแฉกยอดเป็นเคร่ืองยศ ถวายอติเรก ได้ดว้ ย ต้งั แตว่ ันที่ ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๒ นี้ที่เปน็ วันตรงสรุ ทินบรมราชาภิเษก เปน็ ตน้ ไป ใหส้ มเดจ็ พระราชาคณะ พระราชาคณะ และพระครเู จา้ คณะจงั หวดั ผเู้ ปน็ หวั หนา้ แหง่ สงฆ์ ผเู้ ขา้ ในการหลวง ทง้ั ในกรงุ ทง้ั ในหวั เมอื ง หรอื ในการรฐั บาลในหวั เมอื ง เชน่ ในการถอื นำ�้ ในการเฉลมิ รัชชพรรษา และในการเฉลิมพระชนมพรรษา ถวายอติเรกทุกแห่ง ท้ังในพระท่ีนั่ง ทั้งในที่อื่น ท้งั ในเวลาเสดจ็ ออก ทง้ั ในเวลาไมเ่ สดจ็ ออก ส่วนการว่า คำ� ถวายพระพรลา คงใช้ในเวลาเสดจ็ ออก เฉพาะในพระราชวัง ในพระราชฐาน หรือในที่ประทับแหง่ อื่น เช่น ค่ายหลวง พระครูเจา้ คณะจงั หวัด ถวายได้ด้วย พระครูเจ้าคณะจังหวัด เจ้าคณะรอง ผู้ยังไม่เคยถวาย จงดูค�ำถวายอดิเรก และค�ำถวาย พระพรลา ในแถลงการณค์ ณะสงฆ์ เล่ม ๔ หน้า ๒๖๙ ถึง ๒๗๐ เมื่อถวายจงตั้งพัดยศ มพี ระดำ� รสั สง่ั ไว้ ณ วนั ท่ี ๓ พฤศจกิ ายน ๒๔๖๒ ๒ สนต์ิ แสวงบญุ ป.. ทำ� เนยี บพดั ยศสมณศกั ดิ์, ศรีเมืองการพิมพ์, กรงุ เทพมหานคร, ๒๕๑๕. 197

ศาสนพิธีและมารยาทไทย ประกาศมหาเถรสมาคม เรื่อง การถวายอดิเรก และการใช้พดั ยศในงานพระราชพิธี มหาเถรสมาคมได้พิจารณาว่า โดยที่ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ เฉลิมพระนามาภิไธย สมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาล ขึ้นเป็นสมเด็จพระศรีนครินทราบบรมราชชนนี (เสมอด้วยสมเด็จ พระราชนิ )ี สมควรทค่ี ณะสงฆจ์ ะพงึ ถวายพระเกยี รตใิ นการทรงประกอบงานพระราชพธิ ี และทรงบำ� เพญ็ พระราชกุศล จึงให้คณะสงฆ์ปฏิบตั ิในการถวายใช้พัด ๑. เมอื่ สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ิติ์ พระบรมราชนิ นี าถ เสดจ็ พระราชด�ำเนนิ แทนพระองค์ สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภารเจ้า ในการพระราชพิธี หรือในการพระราชกุศล ให้ใช้พัดยศ ถวายอติเรกแด่ท้งั สองพระองค์ ๒. เมื่อ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เสด็จพระราชด�ำเนิน ทรงบ�ำเพ็ญ พระราชกุศลหรือทรงเป็นประธานในการพิธีทุกอย่าง ให้ใช้พัดยศ แต่ไม่ต้องถวายอติเรก นอกจาก ท่ีกลา่ วน้ี ให้ถอื การปฏิบัตเิ ดิม ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๔ (ลงพระนาม) สมเดจ็ พระอรยิ วงศาคติญาณ (สมเดจ็ พระอรยิ วงศาคติญาณ) สมเด็จพระสงั ฆราช ประธานกรรมการมหาเถรสมาคม ๓ สนต ิ์ แสวงบุญ ป.. ทำ� เนียบพัดยศสมณศกั ดิ์, ศรีเมืองการพิมพ์, กรงุ เทพมหานคร, ๒๕๑๕. 198

กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม การใช้พัดยศ พัดยศ เป็นเคร่ืองหมายแสดงถึงสมณศักด์ิของพระสงฆ์ที่ได้รับพระราชทานจาก พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั โดยคณะสงฆจ์ ะถวายพระเกยี รตแิ ดอ่ งคพ์ ระมหากษตั รยิ ด์ ว้ ยการเสนอ นามพระเถระที่เห็นสมควรรับพระราชทานสมณศักด์ิในโอกาสส�ำคัญ เช่น วันเฉลิมพระชนมพรรษา วันพระราชพิธีฉัตรมงคล วันพระราชพิธีแรกข้ึนเสวยราชสมบัติ หรือ ในพระราชพิธีส�ำคัญที่จัดขึ้น เนื่องในวโรกาสพิเศษ เป็นต้น ซึ่งเป็นการพระราชทานเป็นการเฉพาะบุคคล ให้น�ำไปใช้เพื่อแสดง สมณศักดิ์ในการพระราชพิธี และรัฐพิธี หรือการพิธีที่เก่ียวเนื่องกับสถาบันพระมหากษัตริย์ อนั เปน็ การถวายพระเกยี รตแิ ดพ่ ระองค์ ผเู้ ปน็ องคป์ ระธาน หรอื การพธิ ที อี่ ยใู่ นพระบรมราชานเุ คราะห์ พระราชานุเคราะห์ ของสถาบันพระมหากษัตริย์ พระเถระผู้ได้รับพระราชทานจะให้ผู้อ่ืนน�ำไปใช้ ไม่ได้ ดังน้ัน การจัดล�ำดับการนั่งของพระสงฆ์สมณศักด์ิในการพระราชพิธี หรือการพิธีท่ีใช้พัดยศ จะต้องจัดล�ำดับตามพัดยศท่ีถือเข้าในพระราชพิธีหรือพิธี โดยมีระเบียบแบบแผนประเพณีปฏิบัติ และหลกั เกณฑก์ ารใช้พดั ยศในการพระราชพธิ ี รฐั พิธีและการพิธี ดังนี้ ๑. การพระราชพิธี และพิธีที่ตอ้ งใชพ้ ดั ยศ และถวายอติเรก ๑.๑ สมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัว เสดจ็ พระราชด�ำเนิน ๑.๒ สมเดจ็ พระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินนี าถ ในรัชกาลท่ี ๙ เสด็จพระราชดำ� เนนิ (กรณี สมเด็จพระเจา้ อย่หู ัว ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้า ฯ ให้ สมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ ีนาถ ในรชั กาลที่ ๙ เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ปฏบิ ตั พิ ระราชกรณยี กจิ แทนพระองค์ ใหป้ ระธานสงฆถ์ วายอตเิ รก แดท่ ง้ั สองพระองค)์ ๑.๓ ในการพิธีท่ีสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ผู้หน่ึงผู้ใด ไปปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์ (ผู้แทนพระองค์ไปปฏิบัติกรณียกิจแทนพระองค์ใด ใหป้ ระธานสงฆใ์ ชส้ รรพนามของพระองค์นัน้ ตามแบบการถวายอติเรกทใ่ี ชใ้ นปัจจบุ นั ) ๑.๔ ในการพิธีที่ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้จัดขึ้น หรือ ไดร้ บั พระบรมราชานญุ าตใหจ้ ดั ขน้ึ เชน่ การถวายผา้ พระกฐนิ พระราชทาน การพธิ สี มเดจ็ พระสงั ฆราช ประทานสญั ญาบตั ร พดั ยศ และผา้ ไตร การทรงบำ� เพญ็ พระราชกศุ ล การพธิ ตี า่ ง ๆ ทท่ี รงพระราชทาน พระราชานุเคราะห์ การพระราชทานเครื่องไทยธรรมไปถวายพระสงฆ์ในการพิธีต่าง ๆ ทุกกรณี การพิธีอยู่ในพระราชานุเคราะห์ หรือพระราชูปถัมภ์ของพระองค์ใด ให้ประธานสงฆ์ใช้พัดยศ และ ใช้สรรพนามในพระองค์นัน้ ถวายอติเรก 199

ศาสนพิธแี ละมารยาทไทย ๑.๕ การพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว วันฉัตรมงคล และวันจักรีท่ีทางราชการจัด (ตรงกับวันพระราชพิธี) เพื่อเป็นการถวายพระเกียรติทั้งในส่วนกลาง และส่วนภมู ภิ าค ๑.๖ การพระราชพธิ ีฉลองวนั รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย ๒. การพธิ ีทีใ่ ช้พัดยศ แต่ไมถ่ วายอติเรก ๒.๑ การพธิ ที ี่ สมเดจ็ พระบรมราชชนนี เสด็จพระราชดำ� เนนิ ๒.๒ การพิธีที่ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จ ฯ ๒.๓ การพิธีที่ มีการเชิญเคร่ืองอิสริยยศมาประดิษฐานเป็นองค์ประกอบของพิธีการ เชน่ รัฐพิธเี สกทำ� นำ�้ พระพุทธมนต์ หรอื การถือนำ�้ พิพฒั นสตั ยา ๒.๔ การพิธีที่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณา โปรดเกล้า ฯ ให้ผู้หน่งึ ผู้ใดไปปฏิบัติพระราชกรณียกจิ แทนพระองค์ ๒.๕ การพิธีท่ี สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณา โปรดเกล้า ฯ ให้จัดขึ้น หรือทรงรับไว้ในพระราชานุเคราะห์ หรือในพระราชูปถัมภ์ เช่น กรณีทรง พระกรณุ าโปรดเกล้า ฯ บ�ำเพญ็ พระราชกุศลพระราชทานศพไว้ในพระราชานุเคราะห์ เป็นต้น ๒.๖ การพิธีท่ี สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณา โปรดเกลา้ ฯ พระราชทานเครอ่ื งไทยธรรมไปถวายพระสงฆใ์ นพธิ กี ารต่าง ๆ (เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกยี รติ แด่ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ใชบ้ ท “สา อตถฺ ลทธฺ า...” เป็นบทถวายพระพร ๓. การพิธที ีใ่ ชพ้ ัดยศ และพดั รอง การพระราชพิธี หรือการพิธี ที่มีการถวายพระธรรมเทศนาให้พระสงฆ์ ซึ่งเป็นองค์ถวาย พระธรรมเทศนานำ� พัดยศ และพัดรอง มาในการพระราชพธิ ี โดยมีวิธใี ชพ้ ัดยศ และพดั รอง ดังนี้ ๓.๑ เม่ือถึงเวลาถวายพระธรรมเทศนาให้ถือพัดยศ และพัดรอง ไปน่ังยังอาสน์สงฆ์ ตามทเี่ จา้ หนา้ ทเี่ ผดยี งและจดั เตรยี มไวข้ า้ งธรรมาสน์ เมอื่ องคป์ ระธานหรอื ประธานจดุ เทยี นสอ่ งธรรม ให้พระสงฆ์ถือพดั รองข้ึนไปบนธรรมาสน์ เพื่อใชใ้ นการถวายศีล เมื่อถวายศีลจบแลว้ ใหว้ างพัดรองไว้ บนธรรมาสนแ์ ล้ว ถวายพระธรรมเทศนา เม่ือถวายพระธรรมเทศนาจบแล้ว ให้เกบ็ คัมภีรเ์ ทศน์ และ ส่ังคัมภีร์เทศน์ และพัดรองให้เจ้าหน้าที่เชิญออกไปยังที่จัดเตรียมไว้ แล้วลงจากธรรมาสน์มานั่งยัง อาสน์สงฆ์ท่มี ีพัดยศวางอยู่ หรืออาสนส์ งฆท์ นี่ งั่ พักกอ่ นขนึ้ ธรรมาสน์ เพ่ือรับประเคนเครือ่ งไทยธรรม เมื่อรับประเคนเคร่ืองไทยธรรมแล้ว หากไม่มีกิจกรรมอ่ืน เมื่อองค์ประธานประทับน่ังเรียบร้อยแล้ว 200

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ให้ต้งั พัดยศ ถวายอนโุ มทนา ถวายอดเิ รก ทงั้ นเ้ี ป็นธรรมเนยี มประเพณที ่ถี อื ปฏบิ ตั ิสืบต่อกนั มาตัง้ แต่ รัชสมยั ของพระเจา้ ทรงธรรม แหง่ กรุงศรีอยธุ ยา ๓.๒ ในพธิ ที รงบำ� เพญ็ พระราชกศุ ล เนอื่ งในวนั วสิ าขบชู า มกี ารปฏบิ ตั เิ ปน็ กรณพี เิ ศษ คือ เมื่อพระสงฆ์ถวายพระธรรมเทศนาจบแล้ว จะนั่งอนุโมทนา โดย “ยถา...” อยู่บนธรรมาสน์ โดยถือคัมภีร์ไว้ในมือ ไม่ต้องถือพัดยศใด ๆ ทั้งส้ิน พระสงฆ์ผู้ถวายพระธรรมเทศนา “ยถา...” จบ พระสงฆ์ท่ีน่ังอยู่ ณ อาสน์สงฆ์ด้านล่าง รับ “สพฺพี ติโย...” โดยต้ังพัดยศ แล้ว เจ้าหน้าที่เผดียง พระสงฆ์รูปที่ถวายพระธรรมเทศนาลงจากธรรมาสน์มาน่ังยังอาสนะเดิม แล้วตั้งพัดยศร่วมถวาย อนุโมทนา และถวายอดิเรกตอ่ ไป ๓.๓ การพระราชพิธี หรือพิธีใด ๆ ท่ีทรงบ�ำเพ็ญพระราชกุศลและทรงพระกรุณา โปรดเกล้า ฯ ให้มีการจัดสร้างพัดรองถวายพระสงฆ์ไว้เป็นท่ีระลึก และทรงประเคนพระสงฆ์ ในพระราชพิธี หรือการพิธี เช่น ในการพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ เมื่อทรงถวายพดั รองแล้ว ประธานสงฆ์จะใช้พัดรองถวายศีล และถวายอนุโมทนา “ยถา... สพพฺ .ี ..” โดยตง้ั พดั รองถวายอนโุ มทนา กอ่ นจะถวายอตเิ รก ใหเ้ ปลย่ี นจากพดั รอง มาเปน็ การตงั้ พัดยศถวายอติเรกแทน และให้ใช้พัดยศต่อจากการถวายอติเรกไปจนจบบท “ภวตุ สพฺพมงฺคลํ ฯ เป ฯ ภวนฺ ตุ เต.” อนึ่งในกรณีเดียวกัน หาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นองค์ประธานในพิธีให้เปลี่ยนจากพัดรองเป็นการตั้งพัดยศ ก่อนบท “สา อตฺถลทฺธา...” แม้การ พิธีอื่น ๆ หากทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ผู้แทนพระองค์ปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทน และ ผู้เปน็ ประธานแทนพระองค์ถวายพัดรองก็พึงปฏบิ ตั ิเชน่ เดียวกัน ๓.๔ ในการพิธีถวายผ้าพระกฐินพระราชทานที่มีผู้ขอพระราชทานไปถวายยัง พระอารามหลวง หรืออารามที่ได้รับผ้าพระกฐินพระราชทานในต่างประเทศ ธรรมเนียมปฏิบัติท่ี สบื ตอ่ กนั มา ถา้ ผขู้ อรบั พระราชทานไดม้ กี ารจดั สรา้ งพดั รองทรี่ ะลกึ ถวายแดพ่ ระสงฆด์ ว้ ย หากประธาน ในพิธีถวายผ้าพระกฐินเป็นพระบรมวงศ์ให้ประเคนพัดรองท่ีระลึกก่อนเครื่องพระกฐินพระราชทาน หากผทู้ ขี่ อพระราชทานหรอื ผเู้ ปน็ ประธานเปน็ บคุ คลทไี่ มไ่ ดเ้ ปน็ พระบรมวงศ์ ใหป้ ระเคนพดั รองทร่ี ะลกึ ถวายอนโุ มทนา (เพอื่ เปน็ การฉลองศรทั ธาของหนว่ ยงานหรอื ผทู้ ขี่ อรบั พระราชทาน ในการรบั ภารธรุ ะ อนั เปน็ การชว่ ยแบง่ เบาพระราชภาระของพระมหากษตั รยิ ใ์ นการทำ� นบุ ำ� รงุ พระพทุ ธศาสนาใหม้ น่ั คง ถาวรสบื ไป) สว่ นพระสงฆร์ ปู อนื่ ทม่ี สี มณศกั ดใิ์ หต้ งั้ พดั ยศ ตงั้ แตเ่ มอื่ เรมิ่ อนโุ มทนา (ตง้ั แต่ ยถา...ไปจน จบบท ภวตุ สพฺพมงคฺ ลํ...) ส�ำหรับประธานสงฆ์หรอื รปู ท่คี รองผ้าพระกฐนิ ซ่ึงใช้พดั รอง ใหเ้ ปล่ียนจาก การใช้พัดรองมาเปน็ พดั ยศกอ่ นทีจ่ ะถวายอดเิ รก 201

ศาสนพิธีและมารยาทไทย การถวายอดเิ รก การถวายอดิเรก คือ ค�ำถวายพระพรที่เป็นภาษาบาลี ซึ่งพระสงฆ์ผู้เป็นประธานสงฆ์ กล่าวถวายพระพรแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว หรือสมเด็จพระบรมราชินี ในการทรงบ�ำเพ็ญ พระราชกุศลในพระราชพิธีหรือพิธีต่าง ๆ ที่เสด็จพระราชด�ำเนินเป็นองค์ประธาน หรือ ในการ พระราชทานเครื่องไทยธรรมไปถวายพระสงฆ์ หรือในการพระราชทานพิธีการไว้ในพระบรม ราชานุเคราะห์ หรือทรงรับการพิธีไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์ ซึ่งการถวาย “อติเรก” ถือเป็นการ ถวายพระพร โดยเฉพาะสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั ดงั นั้น ธรรมเนยี มท่ถี ือปฏบิ ัติ ในขณะทีพ่ ระสงฆ์ผูเ้ ป็น ประธานสงฆ์กล่าวค�ำ “ถวายอติเรก” ผู้ท่ีเข้าร่วมอยู่ในพิธีท้ังหมดจะลดมือลง (ไม่ประนมมือรับพร) คงมีแต่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ทรงประนมพระหัตถ์รับการถวายพระพรจากพระสงฆ์ ซึ่งถือเป็น พระพรชัยมงคลที่พระสงฆ์ถวายแด่พระองค์โดยเฉพาะ มลู เหตคุ วามเป็นมา ในสมัยรัชกาลท่ี ๒ พระสอน พุทฺธสโร เป็นชาวจังหวัดพัทลุง ได้เดินทางมาจ�ำพรรษา อยู่ ณ วดั หนงั เขตบางขนุ เทียน (ปจั จุบันอยใู่ นเขตจอมทอง) กรงุ เทพมหานคร และได้ศึกษาเล่าเรียน พระปรยิ ตั ธิ รรมที่ วัดหงสาราม ปจั จบุ นั คือ วัดหงส์รัตนาราม เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร จนสอบไล่ได้เปรียญธรรม ๙ ประโยค ต่อมาได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส วัดหงสาราม รูปท่ี ๕ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ ทรงรู้จักและคุ้ยเคยเป็นอันดี ตั้งแต่คร้ังยังทรงด�ำรง พระราชอิสริยยศเป็น กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ ครั้นขึ้นเสวยราชย์แล้ว ได้พระราชทานสมณศักดิ์ ทรงตั้งเป็นพระราชาคณะ ในราชทินนามว่า พระอุดมปิฎก ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดหงสาราม ต่อมาจนส้ินรชั กาลที่ ๓ แลว้ จงึ กลับไปจำ� พรรษา ณ วัดสุนทราวาส จงั หวดั พัทลุง ซงึ่ เป็นภมู ลิ �ำเนา เดมิ ของทา่ น ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ ๔ เน่ืองด้วยพระองค์เคยทรงผนวชอยู่เป็นเวลานาน ได้ทรงศึกษา เลา่ เรยี นพระธรรมวนิ ยั และพระไตรปฎิ ก ทง้ั ภาษาไทยและภาษาบาลเี ปน็ อยา่ งดี มพี ระปรชี าสามารถ สอบไล่ได้เปรียญธรรม ๕ ประโยค จึงเป็นเหตุให้ได้ทรงรู้จักคุ้ยเคยกับพระอุดมปิฎกเป็นอย่างดี เมอ่ื ถงึ วนั เฉลมิ พระชนมพรรษา พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไดท้ รงมพี ระราชกระแสรบั สง่ั ให้ตามหาและนิมนต์พระอุดมปิฎก มาเจริญพระพุทธมนต์ในพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ร่วมกับพระเถระรูปอ่ืน ๆ ด้วย พระอุดมปิฎก ซ่ึงอยู่ท่ีวัดสุนทราวาส จังหวัดพัทลุง เม่ือรับทราบ พระประสงค์แล้ว ก็ได้เดินทางมาร่วมพิธีนั่งอาสนะล�ำดับสุดท้ายของพระสงฆ์ ครั้นถึงเวลา 202

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงประเคนจตุปัจจัยไทยธรรมโดยล�ำดับ นับแต่สมเด็จ พระสงั ฆราชลงมาจนถงึ พระอดุ มปฎิ ก ทรงโสมนสั ยงิ่ นกั ทไี่ ดท้ รงพบเหน็ พระสงฆท์ ท่ี รงคนุ้ เคยมากอ่ น ตอนท้ายทรงรับส่ังว่า “ท่านเดินทางมาแต่ไกล นานปีจึงจะได้พบกัน ขอจงให้พรโยมให้ช่ืนใจเถิด” เมอื่ ไดร้ บั พระอนญุ าตจากสมเดจ็ พระสงั ฆราชแลว้ พระอดุ มปฎิ ก กต็ งั้ พดั ยศถวายพระพรดว้ ยปฏภิ าณ โวหาร เปน็ ภาษาบาลี ว่า “อติเรกวสฺสสตํ ชีว. อติเรกวสฺสสตํ ชวี . อติเรกวสสฺ สตํ ชีว. ทฆี ายโุ ก โหตุ อโรโค โหตุ. ทฆี ายุโก โหตุ อโรโค โหตุ สุขิโต โหตุ ปรมินฺทมหาราชา. สทิ ธฺ ิกิจจฺ ํ สิทธฺ กิ มมฺ ํ สิทธฺ ลิ าโภ ชโย นจิ ฺจํ. ปรมนิ ทฺ มหาราชวรสฺส ภวตุ สพฺพทา. ฯ” ขอถวายพระพร เนื่องจากท่านเจ้าคุณมิได้เตรียมการไว้ก่อน เพราะไม่รู้ตัวว่า จะต้องถวายพระพร จึงว่า ติดเป็นระยะ ๆ วรรคแรกว่าซ�้ำถึง ๓ หน จึงว่าวรรคท่ีสองต่อไปได้ ว่าวรรคที่สองซ้�ำกันถึงสองหน จงึ วา่ วรรคที่ ๓ ต่อไปได้ และว่าไปไดต้ ลอดจนจบ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงสดับแล้ว ทรงโปรดพระพรบทน้ีมาก จึงทรงรับส่ังให้ถือเป็นธรรมเนียมให้พระสงฆ์ใช้พรบทน้ี ถวายพระพรพระมหากษัตริย์ในการ พระราชพิธีตราบเท่าทุกวันนี้ โดยมิได้ทรงแก้ไขแต่ประการใด นอกจากทรงรับส่ังให้เพ่ิมค�ำว่า “ตุ” ต่อทา้ ยค�ำว่า “ชวี ” เป็น “ชวี ตุ” สบื มาจนบัดนี้ โดยที่ พระอุดมปิฎก ผู้เป็นต้นแบบของการถวายพระพรบทน้ี เป็นพระราชาคณะ จึงได้ ถือเป็นธรรมเนยี มสืบมาว่า พระสงฆ์ท่จี ะถวายอติเรกได้ จะต้องมสี มณศกั ด์เิ ปน็ พระราชาคณะขน้ึ ไป แตป่ จั จบุ นั (ตงั้ แต่ พ.ศ. ๒๔๖๒) คณะสงฆไ์ ดอ้ นญุ าตให้ พระครสู ญั ญาบตั ร ชน้ั เอก (จจ., จล.) ทถี่ อื พดั เปลวเพลงิ เปน็ ผถู้ วายอตเิ รกไดโ้ ดยอนุโลม โดยมีแบบค�ำถวายอตเิ รก ทใี่ ช้ในปัจจุบันทีจ่ ะกล่าวตอ่ ไป 203

ศาสนพธิ แี ละมารยาทไทย แบบคำ� ถวายอตเิ รก ที่ใชอ้ ยใู่ นปัจจุบนั ค�ำถวายอตเิ รก แบบที่ ๑ ขอถวายพระพร ถวายสมเด็จพระเจา้ อยูห่ ัว อตเิ รกวสฺสสตํ ชวี ตุ. อตเิ รกวสฺสสตํ ชวี ต.ุ อติเรกวสสฺ สตํ ชวี ตุ. ทีฆายโุ ก โหตุ อโรโค โหต.ุ ทฆี ายุโก โหตุ อโรโค โหต.ุ สขุ โิ ต โหตุ มหาวชิราลงกฺ รณราชา. สทิ ฺธิกจิ จฺ ํ สทิ ธฺ ิกมฺมํ สิทฺธลิ าโภ ชโย นจิ ฺจํ. มหาวชริ าลงฺกรณราชวรสสฺ ภวตุ สพฺพทา. 204

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม การถวายพระพร การถวายพระพรลา การถวายพระพรลา คือ การกล่าวค�ำถวายพระพรลา สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อเสร็จ พระราชพิธีบ�ำเพ็ญพระราชกุศลในวโรกาสต่าง ๆ ในเวลาเสด็จพระราชด�ำเนินออกทรงบ�ำเพ็ญ พระราชกศุ ลเฉพาะในพระทน่ี งั่ ในพระราชฐาน ในพระราชวงั หรอื ในทปี่ ระทบั แหง่ อนื่ เชน่ คา่ ยหลวง เป็นต้น ก่อนท่ีพระสงฆ์จะกลับเมื่อเสร็จสิ้นพิธี ตามธรรมเนียมประเพณีปฏิบัติประธานสงฆ์รูปที่ ๑ จะถวายอดเิ รก พระสงฆร์ ูปท่ี ๒ จะกล่าวถวายพระพรลา คำ� ถวายพระพรลา สมเด็จพระเจา้ อยูห่ ัว “ขอถวายพระพร เจริญพระราชสิริสวัสด์ิพิพัฒนมงคลพระชนมสุขทุกประการ จงมีแด่ สมเด็จพระบรมบพิตรพระราชสมภารพระองค์ สมเด็จพระมหาวชิราลงกรณธรรมิกราชาธิราชเจ้า ผทู้ รงพระคุณอนั ประเสริฐ เวลานส้ี มควรแล้ว พระภกิ ษุสงฆท์ ้ังปวง (อาตมภาพ) ขอถวายพระพรลา แด่สมเดจ็ พระบรมบพติ รพระราชสมภารพระองค์ ผทู้ รงพระคุณอันประเสริฐ ขอถวายพระพร” หมายเหตุ การเจรญิ พระพทุ ธมนตถ์ วาย ตอ่ หนา้ พระทนี่ งั่ ตามธรรมเนยี มปฏบิ ตั ิ รปู ทเี่ ปน็ องคป์ ระธาน จะเป็นผู้ถวายอติเรก รูปทเ่ี ปน็ รองประธานสงฆ์จะเปน็ ผ้ถู วายพระพรลา 205

ศาสนพธิ ีและมารยาทไทย การถวายพระพรในการถวายพระธรรมเทศนา การถวายพระพรในการถวายพระธรรมเทศนา เป็นธรรมเนียมแต่โบราณท่ีทางคณะสงฆ์ ถือปฏิบัติมาจนถึงปัจจุบัน เมื่อได้รับนิมนต์ไปถวายพระธรรมเทศนาแด่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว หรือ พระบรมวงศานุวงศ์ และสมเด็จพระสงั ฆราช พระสงฆผ์ ู้ท่ถี วายพระธรรมเทศนา จะต้องมีการกลา่ ว คำ� ถวายพระพรกอ่ นถวายพระธรรมเทศนา จึงจะต้ัง นโม... และต้ัง พุทธภาษิต... ดำ� เนนิ การแสดง พระธรรมเทศนาต่อไป เม่ือถวายพระธรรมเทศนาจบลงด้วยค�ำว่า “เอวํ ก็มีด้วยประการฉะน้ี” จะต้องมีค�ำต่อทา้ ยวา่ “ขอถวายพระพร” ค�ำถวายพระพรเทศนา ถวาย ฯ สมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว “ขอถวายพระพร เจริญพระราชสิริสวัสด์ิพิพัฒนมงคล พระชนมสุขทุกประการ จงมีแด่ สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภารพระองค์ ผู้ทรงพระคุณอัญประเสริฐ บัดนี้ จักรับพระราชทาน ถวายวิสัชนาพระธรรมเทศนา (ใน.........................กถา) ฉลองพระเดชพระคุณ ประดับพระปัญญา บารมี ถ้ารับพระราชทานถวายวิสัชนาไปมิได้ต้องตามโวหารอรรถาธิบายในพระธรรมเทศนา ณ บทใดบทหน่ึงก็ดี ขอเดชะ๔ พระเมตตาคุณ พระกรุณาคุณ พระขันติคุณ ทรงพระกรุณาโปรด พระราชทานอภยั แก่อาตมะ ผูม้ สี ติปัญญานอ้ ย ขอถวายพระพร นโม ตสสฺ ภควโต อรหโต สมมฺ าสมพฺ ทุ ฺธสฺส. นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมมฺ าสมพฺ ุทฺธสฺส. นโม ตสสฺ ภควโต อรหโต สมมฺ าสมฺพุทธฺ สสฺ . ทานํ สลี ํ ปริจฺจาคํ อาชฺชวํ มททฺ วํ ตปํ อกฺโกธํ อวิหงิ สญฺจ ขนฺติญจฺ อวโิ รธนํ อิจฺเจเต กุสเล ธมฺเม ฐเิ ต ปสฺสาหิ อตฺตานิ ตโต เต ชายเต ปตี ิ โสมนสฺสญจฺ นปฺกนตฺ ิ ฯ บัดนี้ จักรับพระราชทานถวายวิสัชนา ใน............................................กถา ฉลองพระเดช พระคณุ ประดบั พระปญั ญาบารม ี เปน็ ปสาทนยี กถามงั คลานโุ มทนา................................................... เอวํ กม็ ดี ้วยประการฉะนี ้ ขอถวายพระพร” ๔ หมายเหตุ ๑. ในกรณี พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ ัว หรอื สมเดจ็ พระนางเจ้า ฯ พระบรมราชนิ นี าถไมไ่ ด้ประทบั อย่ใู นที่เฉพาะหนา้ พงึ เว้นคำ� ว่า “เดชะ” 206

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ค�ำถวายพระพรเทศนา ถวายพระบรมวงศานวุ งศ์ (ชน้ั เจา้ ฟ้า และพระองค์เจา้ ) ขอถวายพระพร เจริญพระสิริสวัสดิ์พิพัฒนมงคล พระชนมสุขทุกประการ จงมีแด่สมเด็จ พระบรมวงศบพิตร ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ บัดน้ี จักรับประทานถวายวิสัชนาพระธรรมเทศนา (ใน.............................กถา) ฉลองพระเดชพระคุณ ประดับพระปัญญาบารมี ถ้ารับประทานถวาย วสิ ัชนาไปมิไดต้ อ้ งตามโวหารอรรถาธบิ ายในพระธรรมเทศนา ณ บทใดบทหนง่ึ ก็ดี ขอพระเมตตาคุณ พระกรุณาคุณ พระขันติคณุ โปรดประทานอภัยแกอ่ าตมะ ผมู้ สี ติปญั ญาน้อย ขอถวายพระพร นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส. นโม ตสสฺ ภควโต อรหโต สมฺมาสมพฺ ทุ ฺธสสฺ . นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมมฺ าสมพฺ ุทธฺ สสฺ . หนฺททาน ิ ภิกขฺ เว อามนตฺ ยาม ิ โว วยธมฺมา สงขฺ ารา อปฺปมาเทน สมปฺ าเทถาติ ฯ บัดนี้ จักรบั พระราชทานถวายวิสัชนา ใน.................................กถา ฉลองพระเดชพระคุณ ประดับพระปัญญาบารมี เพ่ิมพูนกุศลบุญราศี เป็นปสาทนียกถา ในมหามงคลสมยาภิลักขิตกาล ............................................................................................................................................................. เอวํ ก็มีดว้ ยประการฉะน ี้ ขอถวายพระพร. 207

ศาสนพิธแี ละมารยาทไทย คำ� ถวายพระพรเทศนาแด่ สมเดจ็ พระสงั ฆราช ประกาศส�ำนกั เลขาธกิ ารมหาเถรสมาคม เรอ่ื ง ค�ำถวายพระพรในการถวายพระธรรมเทศนาแด่สมเดจ็ พระสงั ฆราช ด้วยสมเด็จพระสังฆราช ประธานกรรมการมหาเถรสมาคม ทรงปรารภในท่ีประชุม มหาเถรสมาคม ในคราวประชุมครั้งท่ี ๒๒/๒๕๒๗ วนั ที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๒๗ ว่า ปจั จุบนั น้ีปรากฏ วา่ พระผถู้ วายพระธรรมเทศนาในงานต่าง ๆ ซง่ึ สมเด็จพระสังฆราชทางเปน็ ประธาน หรอื เสด็จมา รว่ มในพิธีน้ัน ๆ ดว้ ย พระผ้ถู วายพระธรรมเทศนาไม่เปน็ ระเบยี บเดยี วกัน ทรงเห็นสมควรใชใ้ หเ้ ป็น แบบเดียวกนั ท่ีประชุมมีมติเห็นชอบตามพระด�ำรัสของสมเด็จพระสังฆราช จึงได้ร่วมกันร่างค�ำถวาย พระพรกอ่ นถวายพระธรรมเทศนาแดส่ มเดจ็ พระสงั ฆราช และใหใ้ ชค้ ำ� ถวายพระพรดงั กลา่ ว มขี อ้ ความ ตอ่ ไปนี้ “ขอถวายพระพร เจริญพระราชสิริสวัสดิ์พิพัฒนมงคล พระชนมสุขทุกประการ จงมีแด่ บพติ ร สมเดจ็ พระสังฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก ผู้ทรงพระคุณอันประเสรฐิ บัดน้ี จักรบั ประทาน ฉวายวสิ ชั นาพระธรรมเทศนา ใน.........................กถา ฉลองพระเดชพระคณุ ประดบั พระปญั ญาบารมี ถ้ารับประทานถวายวิสัชนาไปมิได้ต้องตามโวหารอรรถาธิบายในพระธรรมเทศนา ณ บทใดบทหน่ึง กด็ ี ขอพระเมตตาคณุ พระกรณุ าคุณ พระขนั ตคิ ุณ โปรดประทานอภยั แก่ อาตมะ ผู้มสี ติปญั ญานอ้ ย ขอถวายพระพร” และเม่ือจบพระธรรมเทศนาแล้ว ให้ใช้ค�ำว่า “ถวายพระพร” อีกครั้งหนึ่ง ข้อความว่า “ใน..............กถา” ถา้ พระธรรมเทศนาทถี่ วายนนั้ ไมม่ ชี อ่ื กถา ใหข้ า้ มไปเสยี กไ็ ด้ ใชเ้ พยี งคำ� วา่ “บดั นี้ จักรับประทานถวายวิสัชนาพระธรรมเทศนา ฉลองพระเดชพระคุณประดับพระปัญญาบารมี...” เท่าน้ันก็ได้ ส�ำนกั เลขาธกิ ารมหาเถรสมาคม จึงขอประกาศให้ทราบทัว่ กนั ประกาศ ณ วันท่ี ๖ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๒๗ ชำ� เลือง วุฒจิ นั ทร์ (นายชำ� เลอื ง วฒุ ิจันทร)์ เลขาธกิ ารมหาเถรสมาคม 208

กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม 209

ศาสนพิธีและมารยาทไทย 210

กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม ประธานจดุ ธปู เทยี น ประธานกราบพระพุทธรูป ประธานท�ำความเคารพธงชาติและพระบรมฉายาลกั ษณ์ 211

ศาสนพิธีและมารยาทไทย 212

กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม 213

ศาสนพิธีและมารยาทไทย 214

กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม 215

ศาสนพิธีและมารยาทไทย 216

กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม 217

ศาสนพิธีและมารยาทไทย 218

บรรณานกุ รม กรมการศาสนา, กระทรวงวัฒนธรรม. คู่มือการปฏิบัติศาสนพิธี. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ ชุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกดั , ๒๕๕๑. ___________. การจัดโต๊ะหมู่บูชา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร แหง่ ประเทศไทย จำ� กัด, ๒๕๕๒. กองอนุศาสนาจารย์, กรมยุทธศึกษาทหารบก. คู่มือการปฏิบัติศาสนพิธี ในพิธีการทางทหาร. กรุงเทพมหานคร : สำ� นักพิมพ์หา้ งหนุ้ ส่วนจ�ำกดั อรุณการพิมพ,์ ๒๕๔๙. ___________. คู่มอื ปฏิบัตพิ ิธกี รรม. กรุงเทพมหานคร : พมิ พท์ ่ี ระลกึ การผ้าพระกฐนิ พระราชทาน ณ วัดดอนเมือง, ๒๕๕๑. จนั ทร ์ ไพจติ ร. ประมวลพธิ มี งคลของไทย : สมโภชหริ ณั ยบฏั พระธรรมวโรดม (นยิ ม านสิ สฺ โร ป.ธ. ๙). กรุงเทพมหานคร : ห้างห้นุ ส่วนจำ� กัด จงเจริญการพมิ พ์, ๒๕๓๑. ชลิยา ศรสี ุกใส. วันสำ� คัญ ประเพณี การละเลน่ ของไทย. กรุงเทพมหานคร : ส�ำนักพิมพพ์ ีบีซี จ�ำกัด. ทองต่อ กล้วยไม้ ณ อยุธยา. เฉลิมพระเกียรติ, พิมพ์ที่ระลึก พระสาสนโสภณ (ใย ภทฺทิยเถร). กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพม์ หามกฎุ ราชวิทยาลยั , ๒๕๓๙. ธนากิต. ประเพณี พธิ ีมงคล และวันส�ำคัญของไทย. กรงุ เทพมหานคร : ส�ำนักพิมพ์ ปริ ามดิ , ๒๕๔๓. นฤมล วิจติ รรัตนะ. วนั สำ� คญั ของไทย. กรุงเทพมหานคร : ส�ำนกั พมิ พอ์ ักษรวัฒนา, ๒๕๔๗. นิรุตต์ ตสํวโร, พระมหา. คู่มือสมณศักดิ์พัดยศ ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพมหานคร : ส�ำนักพิมพ์ ธงธรรม, ๒๕๕๐. เปล่ง ช่ืนกลิ่นธูป. ต�ำราพิธีกรรม, พิมพ์ท่ีระลึกอนุสรณ์งานวันอดีตเจ้าอาวาสวัดสัมพันธวงศาราม ปีท ่ี ๗๑, กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์ห้างหนุ้ สว่ นจ�ำกดั ป.สัมพนั ธพ์ าณชิ ย,์ ๒๕๓๑. พระธรรมวโรดม (บุญมา คุณสมฺปนฺโน ป.ธ. ๙). ระเบียบปฏิบัติชาวพุทธ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์การศาสนา, ๒๕๔๖. พระญาณวโรดม (สนธิ์ กิจฺจกาโร). เอกเทสสวดมนต์และศาสนพิธี. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย, ๒๕๒๗. 219

ศาสนพิธแี ละมารยาทไทย พระมหาราชครูฯ. ประเพณีไทย ฉบับพระมหาราชครู. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ลูกส. ธรรมภักด,ี ๒๕๑๑. ส�ำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม. มารยาทไทย. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์ องค์การสงเคราะห์ทหารผา่ นศึก ในพระบรมราชูปถมั ภ,์ ๒๕๕๙. โอสธี ราษร์เรือง. ศาสนพิธีกร : การสร้างและพัฒนาคู่มือ การประกอบพิธีกรรมงานศพ ตามหลัก พระพทุ ธศาสสนา กรงุ เทพมหานคร. มหาสารคาม : มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม, ๒๕๕๔. 220

คนเราต้องเจอความลำ� บากบา้ ง เพราะความล�ำบากจะท�ำใหไ้ ดส้ ติ ล�ำบากจะทำ� ใหเ้ กิดปัญญา ความล�ำบากจะท�ำใหเ้ ราเห็นคุณค่าของสง่ิ ท่เี ราเคยมี พระไพศาล วสิ าโล