Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดเก็บและรวบรวมข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม “การแต่งกายของชุมชนบาบ๋าเพอรานากัน”

การจัดเก็บและรวบรวมข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม “การแต่งกายของชุมชนบาบ๋าเพอรานากัน”

Description: การจัดเก็บและรวบรวมข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม “การแต่งกายของชุมชนบาบ๋าเพอรานากัน”.

Search

Read the Text Version

๑๐๙ กจิ กรรมการทาอาหารในครวั เป็นต้น วธิ กี ารดังกล่าวถือเป็น การถ่ายทอดความรู้เรื่องเครื่อง แต่งกายผ่านบรบิ ททางสงั คม ทาใหน้ ักเรยี นเกิดความรสู้ กึ และประสบการณ์ร่วมกัน ๒.๒) จัดสาธิตการนุ่งผ้าถุงแบบชาวบาบ๋า เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้มีโอกาสสัมผัสถึง คุณคา่ ของวัฒนธรรมอยา่ งลึกซึง้ ในรปู แบบของภาคปฏบิ ตั ิ ๒.๓) จัดฝึกการเก็บข้อมูลให้แก่กลุ่มเยาวชน เพ่ือให้กลุ่มเป้าหมายมีความมั่นใจใน การสอบถามผู้ปกครองเกีย่ วกบั วฒั นธรรมการแต่งกาย ๓) ผลการดาเนนิ งาน โรงเรียนวทิ ยาสาธิต ในภาพรวม ๓.๑) เชงิ ปริมาณ จานวนกลมุ่ เป้าหมายคาดไว้ ๒๐ คน คือ คณะคุณครูและนักเรียน แต่มีนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๕ อายุระหว่าง ๑๐ – ๑๒ ปี เข้าร่วมกิจกรรมจริง ประมาณ ๒๘ คน และคุณครูประจาชนั้ จานวน ๕ คน ๓.๒) เชิงคณุ ภาพ ความพงึ พอใจของผรู้ ว่ มกจิ กรรมและทัศนคติทีม่ ตี ่อเครื่องแตง่ กายของชมุ ชนบาบา๋ -เพอรานากนั โดยประเมนิ จากแบบสอบถาม รวมถึงการสงั เกต พฤติกรรมการมีสว่ นร่วมในกิจกรรมที่จดั ขนึ้ ๔) วิธกี ารประเมินผล ใช้วิธีการสงั เกตพฤตกิ รรมการมีส่วมร่วมของนกั ศกึ ษา และการทาแบบสอบถาม ทงั้ ๓ ประเภท ไดแ้ ก่ ๔.๑) แบบสอบถามนักเรยี นเกย่ี วกบั การสารวจความคิดเห็นการจัดโครงการ ๔.๓) แบบสอบถามความคดิ เห็นการรวบรวมและจดั เก็บข้อมูลมรดกภูมปิ ญั ญาทาง วัฒนธรรม เร่อื ง การแต่งกายบาบ๋า-เพอรานากนั ๕) ผลท่ีได้รับจากการดาเนินงาน

๑๑๐ ๕.๑) จากการทาแบบสอบถามเก่ียวกับการสารวจความคิดเห็นการจัดโครงการ ดังกล่าว พบว่าเป็นนักเรียนเพศหญิงทั้งหมด อายุระหว่าง ๑๐ – ๑๒ ปี เป็นลูกหลานชาว ไทยเช้ือสายจีนภูเก็ตจานวนร้อยละ ๖๑ ซ่ึงเป็นจานวนท่ีสูงท่ีสุด ทาให้ทราบว่ากลุ่มคน เหล่าน้ีสามารถเป็นกาลังในการเก็บข้อมูลทางวัฒนธรรมได้ ซึ่งมีการประเมินคะแนนเฉล่ีย (X) สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (SD) และการแปรผลตามแนวคิดของลิเคิร์ท (Likert scale) ใน แต่ละระดบั ดงั น้ี ๕ หมายถงึ มากท่ีสดุ เกณฑ์การประเมนิ คือ ๔.๒๑ – ๕.๐๐ ๔ หมายถงึ มาก เกณฑ์การประเมินคือ ๓.๔๑ – ๔.๒๐ ๓ หมายถึง ปานกลาง เกณฑ์การประเมนิ คือ ๒.๖๑ – ๓.๔๐ ๒ หมายถงึ นอ้ ย เกณฑ์การประเมนิ คือ ๑.๘๑ – ๒.๖๐ ๑ หมายถึง นอ้ ยทส่ี ดุ เกณฑ์การประเมนิ คือ ๑.๐๐ – ๑.๘๐ โดยนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการได้ประเมินการจัดการเก่ียวกับการจัดโครงการ ดังกลา่ วตามขอ้ มูล ดงั น้ี ตารางที่ ๑ ตารางผลการประเมนิ การจัดโครงการสบื ทอดความงามของเครื่องแตง่ กายแบบ ชาวบาบา๋ ภูเกต็ ณ โรงเรียนวทิ ยาสาธิต เนือ้ หาการประเมนิ X SD แปรผล ๑. ความรู้ท่ไี ดร้ บั จากวทิ ยากรเกยี่ วกับการแต่งกาย ๔.๘๒ ๐.๘๑ มากที่สุด ๒. ความร้ไู ดร้ บั จากการสาธิตเครอื่ งแตง่ กาย ๔.๖๐ ๐.๘๓ มากที่สดุ ๓. ความเข้าใจในการมอบหมายงานในการเก็บข้อมูล ๔.๓๙ ๐.๗๑ มากที่สดุ ๔. ความสนใจในการอนรุ กั ษว์ ัฒนธรรมการแตง่ กาย ๔.๕๐ ๐.๘๓ มากท่สี ุด ๕. สถานท่จี ัดงาน ๔.๕๐ ๐.๙๘ มากที่สดุ ๖. อาหารวา่ ง ๔.๕๔ ๐.๘๑ มากที่สุด จากตารางท่ี ๑ พบวา่ ผเู้ ข้ารว่ มสมั มนามคี วามพึงพอใจในความรทู้ ่ีได้รับจากวิทยากร เกี่ยวกับการแต่งกาย ความรู้ท่ีได้รับจากการสาธิตเคร่ืองแต่งกาย ความเข้าใจในการ

๑๑๑ มอบหมายงานในการเก็บข้อมูล ความสนใจในการอนุรักษ์วัฒนธรรมการแต่งกาย สถานท่ีจัด งาน และอาหารว่าง อยู่ในระดับมากที่สุด โดยพบว่าหัวข้อที่มีแนวโน้มว่าจะพึงพอใจมาก ทสี่ ดุ คือ การได้รับความรู้เกี่ยวกับเครื่องแต่งกาย อยู่ในคะแนนเฉลี่ย ๔.๘๒ ส่วนความเข้าใจ ในงานที่ได้รับมอบหมายเป็นหัวข้อท่ีผู้เข้าร่วมสัมมนาให้คะแนนต่าท่ีสุดเฉล่ีย ๔.๓๙ นอกจากน้ี หากมีการจัดสัมมนาเก่ียวกับด้านวัฒนธรรมดังกล่าว นักเรียนทั้ง ๒๘ คนอยาก เข้าร่วมกิจกรรมในลักษณะแบบนี้ในคราวต่อไป และส่วนสุดท้ายคือ การสอบถามถึงความรู้ ด้านวัฒนธรรมที่นักเรียนต้องการให้มีการจัดบรรยายเพ่ิมเติมในโอกาสต่อไป ได้แก่ การนุ่ง ผ้าถุงอย่างถูกวิธี การแต่งกายเป็นชุดแต่งงานของชาวภูเก็ตแท้ อาหารประจาจังหวัดภูเก็ต การกาเนิดการแต่งกายชุดบาบ๋า คนภูเก็ตมักชอบแต่งกายเหมือนสมัยก่อนหรือไม่ มารยาท ของชาวภเู กต็ เรื่องการตัดเย็บผา้ ถงุ ของชาวภูเก็ต และบ้านเรือนภูเก็ต ๒. จากการสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียน พบวา่ นกั เรยี นในระดบั ประถมศึกษาตอน ปลาย มีความสนใจในวัฒนธรรมการแต่งกายเป็นอย่างมาก อาจเพราะนักเรียนทั้งหมดเป็น กลมุ่ ผู้หญิง จึงเกิดความรู้สกึ รว่ มในเรอ่ื งของความสวยความงาม มีความตั้งใจฟังการบรรยาย และจดบันทึกคาศัพท์ต่างๆในสมุดบันทึก โดยเฉพาะในเรื่องเครื่องแต่งกาย เป็นกลุ่มท่ีมี ความสนใจในเคร่ืองแต่งกายมากกว่ากลุ่มนักเรียนระดับอื่นๆ มีความกระตือรือร้นในการต้ัง คาถามส่ิงต่างๆ โดยหลังจากแบ่งกลุ่มกันให้ลองฝึกนุ่งผ้าถุงเอง นักเรียนก็ช่วยกันพับเก็บ ผ้าถุงอย่างเรียบร้อย ในขณะที่พับเก็บก็สอบถามผู้วิจัยว่าวิธีการพับผ้าอย่างถูกต้องต้องทา อยา่ งไร จงึ นอกจากจะเรียนรเู้ รือ่ งการนุ่งผ้าถงุ แล้วนักเรียนยังสนใจอยากเรียนรู้ในสิ่งอ่ืนๆเอง อีกด้วย และก่อนกลับยังมีนักเรียนบางส่วนเข้ามาคุยกับวิทยากรเป็นการส่วนตัว เพื่อบอก เล่าเรื่องราวของตนเอง เกี่ยวกับการแต่งกายดังกล่าว เช่น “หนูเคยเห็นอาจ้อ (คุณทวด) ใส่ ชดุ แตง่ งานแบบน้ใี นรูปทบ่ี า้ น หนชู อบสวยดีค่ะ” เป็นการแสดงให้เห็นว่า นักเรียนกลุ่มนี้เร่ิม อยากแลกเปล่ียนข้อมูลของตนเองกับผวู้ ิจัย ๕.๒.๑.๕. การดาเนนิ โครงการในโรงเรียนกลุม่ เปา้ หมายที่ ๒ โรงเรียนสตรีภูเกต็ ๑) การจัดกจิ กรรม โรงเรียนสตรีภูเก็ต

๑๑๒ เม่ือวันที่ ๒๑ มาราคม ๒๕๕๖ เวลา ๑๓.๓๐ – ๑๖.๓๐ น. ทางผู้จัดทาโครงการได้ จัดกิจกรรมร่วมกับโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายที่ ๒ โรงเรียนสตรีภูเก็ต เป็นโรงเรียนรัฐบาล ประจาจังหวัดภูเก็ต อาจารย์ที่มีความสนใจในการแต่งกาย และมีความประสงค์จะเข้าร่วม กิจกรรมคือ อาจารย์ปาริชาต สวนอักษร นอกจากการบรรยายจาก ผศ.ปราณี สกุลพิพัฒน์ ยังมีผู้เข้าร่วมเสวนาเป็นกลุ่มบุคคลในอดีตที่ คือ คุณสุนีย์ ชอบดี คุณณรงค์ศักดิ์ สมขัน คุณ เหลย่ี นบ้ี แซ่หลิม และคณุ วจิ ติ รา ปัญญาสทุ ธิกจิ ๒) รปู แบบโครงการ/กจิ กรรม ๒.๑) จดั สาธิตการนุ่งผ้าถุงแบบชาวบาบ๋า เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้มีโอกาสสัมผัสถึง คุณค่าของวัฒนธรรมอย่างลึกซึ้งในรูปแบบของภาคปฏิบัติ ซึ่งมีสมาชิกกลุ่มย่านเมืองเก่า ภูเก็ตเป็นผชู้ ว่ ย ทาให้เยาวชนเข้าใจวิธกี ารแตง่ ตวั อยา่ งถกู ตอ้ ง ๒.๒) จดั อบรมโดยใหค้ วามรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมการแต่งกายแบบชาวบาบ๋าภูเก็ตแก่ กลุ่มเป้าหมาย โดยเป็นการบอกเลา่ เร่ืองราวตง้ั แตเ่ หตุการณ์ทเ่ี กย่ี วข้องในอดีต จนถึงปัจจุบัน โดยมีวทิ ยากร คือ ผศ.ปราณี สกลุ พพิ ฒั น์ เปน็ ผ้บู อกเลา่ เรอ่ื งราวตา่ งๆ ๒.๓) จัดสัมมนาเพื่อพูดคุยและหาวิธีการในการสืบทอดวัฒนธรมดังกล่าวกับทาง โรงเรยี นสตรีภูเก็ต เพื่อเป็นโรงเรียนตัวอย่างของการจัดห้องนิทรรศการสืบสานการแต่งกาย ของชมุ ชนบาบ๋าเพอรานากนั ต่อไป ๓) ผลการดาเนนิ งานในโรงเรียนสตรภี ูเกต็ ในภาพรวม ๓.๑) เชิงปรมิ าณ จานวนกลมุ่ เปา้ หมายคาดไว้ ๔๐ คน คอื คณะคุณครูและนักเรียน แต่มีนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๕ อายุระหว่าง ๑๖ – ๑๗ ปี เข้าร่วมกิจกรรมจริง ประมาณ ๔๒ คน และคุณครูประจาชัน้ จานวน ๕ คน ๓.๒) เชงิ คุณภาพ ความพึงพอใจของผ้รู ว่ มกิจกรรมและทศั นคติท่ีมีต่อเครื่องแตง่ กายของชุมชนบาบ๋า-เพอรานากันโดยประเมินจากแบบสอบถาม รวมถงึ การสงั เกต พฤติกรรมการมีส่วนรว่ มในกิจกรรมท่ีจดั ขน้ึ

๑๑๓ ๔) วิธีการประเมินผล ใช้วิธีการสังเกตพฤติกรรมการมีส่วมร่วมของนักศึกษา และการทาแบบสอบถามทั้ง ๒ ประเภท ไดแ้ ก่ ๔.๑) แบบสอบถามนักเรียนเก่ียวกบั การสารวจความคดิ เห็นการจดั โครงการ ๔.๒) แบบสอบถามความคิดเห็นการรวบรวมและจัดเก็บข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทาง วัฒนธรรม เร่ือง การแตง่ กายบาบา๋ -เพอรานากัน ๕) ผลทไ่ี ด้รับจากการดาเนินงาน ๕.๑) จากการทาแบบสอบถามเกี่ยวกับการสารวจความคิดเห็นการจัดโครงการ ดังกล่าว พบว่าเป็นนักเรียนเพศหญิงจานวน ๓๗ คน และนักเรียนเพศชายจานวน ๕ คน รวมทั้งหมด ๔๒ คน มีอายุระหว่าง ๑๖ – ๑๗ ปี เป็นลูกหลานชาวไทยเช้ือสายจีนภูเก็ต จานวนสูงท่ีสุดคอื จานวนร้อยละ ๗๖.๑๙ ทาให้ทราบว่ากลุ่มคนเหล่านี้สามารถเป็นกาลังใน การเก็บข้อมูลทางวัฒนธรรมได้ ซ่ึงมีการประเมินคะแนนเฉล่ีย (X) ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (SD) และการแปรผลตามแนวคิดของลเิ คิร์ท (Likert scale) ในแตล่ ะระดับ ดงั นี้ ๕ หมายถึง มากทีส่ ดุ เกณฑ์การประเมนิ คือ ๔.๒๑ – ๕.๐๐ ๔ หมายถึง มาก เกณฑ์การประเมินคือ ๓.๔๑ – ๔.๒๐ ๓ หมายถงึ ปานกลาง เกณฑ์การประเมินคือ ๒.๖๑ – ๓.๔๐ ๒ หมายถงึ นอ้ ย เกณฑ์การประเมินคือ ๑.๘๑ – ๒.๖๐ ๑ หมายถึง นอ้ ยท่สี ุด เกณฑ์การประเมนิ คือ ๑.๐๐ – ๑.๘๐ โดยนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการได้ประเมินการจัดการเกี่ยวกับการจัดโครงการ ดงั กลา่ วตามข้อมลู ดงั น้ี ตารางท่ี ๒ ตารางผลการประเมินการจัดโครงการสืบทอดความงามของเคร่ืองแต่งกายแบบ ชาวบาบา๋ ณ โรงเรยี นสตรภี เู กต็ เน้ือหาการประเมนิ X SD แปรผล ๑. ความรทู้ ี่ได้รบั จากวทิ ยากรเกีย่ วกบั การแตง่ กาย ๔.๕๐ ๐.๖๕ มากทส่ี ุด ๒. ความรไู้ ด้รบั จากการสาธติ เครอื่ งแตง่ กาย ๔.๗๔ ๐.๗๔ มากทีส่ ุด ๓. ความเข้าใจในการมอบหมายงานในการเก็บข้อมูล ๔.๔๕ ๐.๙๓ มากทส่ี ดุ

๑๑๔ ๔. ความสนใจในการอนุรักษว์ ัฒนธรรมการแต่งกาย ๔.๕๓ ๐.๗๕ มากทส่ี ุด ๕. สถานทจ่ี ดั งาน ๔.๒๗ ๐.๘๑ มากทีส่ ดุ ๖. อาหารว่าง ๔.๖๓ ๐.๗๕ มากท่ีสุด จากตารางท่ี ๒ พบวา่ ผเู้ ขา้ รว่ มสัมมนามีความพงึ พอใจในความรู้ท่ีได้รับจากวิทยากร เก่ียวกับการแต่งกาย ความรู้ท่ีได้รับจากการสาธิตเคร่ืองแต่งกาย ความเข้าใจในการ มอบหมายงานในการเก็บข้อมูล ความสนใจในการอนุรักษ์วัฒนธรรมการแต่งกาย สถานท่ีจัด งาน และอาหารว่าง อยู่ในระดับมากท่ีสุด โดยพบว่าหัวข้อท่ีมีแนวโน้มว่าจะพึงพอใจมาก ที่สุดคือ ความรู้ที่ได้รับจากการสาธิตเคร่ืองแต่งกาย อยู่ในคะแนนเฉล่ีย ๔.๗๕ ส่วนสถานท่ี เปน็ หวั ขอ้ ท่ีผู้เข้าร่วมสัมมนาให้คะแนนต่าที่สุดเฉลี่ย ๔.๒๗ นอกจากนี้ หากมีการจัดสัมมนา เกย่ี วกบั ด้านวัฒนธรรมดังกล่าว นักเรียนท้ัง ๔๒ คนอยากเข้าร่วมกิจกรรมในลักษณะแบบน้ี ในคราวต่อไป และส่วนสุดท้ายคือ การสอบถามถึงความรู้ด้านวัฒนธรรมที่นักเรียนต้องการ ให้มีการจัดบรรยายเพ่ิมเติมในโอกาสต่อไป ได้แก่ อาหารพื้นเมืองภูเก็ต ความรู้ด้าน สถาปัตยกรรมเมืองเก่าภูเก็ต การนาชมย่านการค้าของชาวจีนในเมืองอื่นๆ เช่น เมืองตะกั่ว ป่า เมอื งสงขลา เป็นต้น การออกแบบชุดยาหยา ๒. จากการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน พบว่านักเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอน ปลาย มีความสนใจในวัฒนธรรมการแต่งกายพอสมควร โดยนอกจากจะให้นักเรียนกลุ่มหน่ึง เป็นตัวแทนในการลองสวมใส่เครื่องแต่งกายบาบ๋าคือ เส้ือลูกไม้แขนส้ันกับผ้าถุงปาเต๊ะ ซึ่ง ทางสมาชิกกลุ่มย่านเมืองเก่าภูเก็ตเป็นผู้สอนวิธีการสวมใส่ก่อน เด็กๆเหล่านี้ก็ลองไปสอน เพ่ือนคนอื่นๆในห้องให้ลองนุ่งผ้าถุงและรัดเข็มขัดอย่างถูกวิธี ในระหว่างท่ีมีการสาธิตน้ัน นกั เรยี นมีคาถามส่วนตัวกับผู้วิจัยมากมายเก่ียวกับเคร่ืองแต่งกายดังกล่าว เช่น ชุดเหล่านี้ไป หาซอ้ื ไดท้ ี่ไหน ถา้ ซื้อผา้ มาตดั เองจะราคาสงู มากไหม เปน็ ตน้ นอกจากนี้บางคนก็เล่าว่า ตอน สมัยเรียนมัธยมต้นนักเรียนต้องออกแบบเครื่องแต่งกายเพ่ือสวมใส่ตอนเดินขบวนพาเหรด กีฬาโรงเรียน นักศึกษาเห็นว่าชุดยาหยาเป็นชุดท่ีมีความสวยงามจึงหยิบยกนามาสวมใส่ใน โอกาสพิเศษดังกล่าว นอกจากน้ี ยังมีนักเรียนอีกคนหนึ่งเป็นผู้ชื่นชอบการสะสมตุ๊กตาบาร์บ้ี เขาไดแ้ นะนาว่าการส่งเสริมปลกู ฝ่ังเรือ่ งเครือ่ งแต่งกายให้เดก็ เล็กๆอาจทาได้โดยออกแบบชุด ยาหยาให้ตุ๊กตาบาร์บ้ีสวมใส่ได้ เด็กๆเองก็จะได้ลองเล่นเปลี่ยนเคร่ืองแต่งกายบาบ๋าให้กับ ตุ๊กตาท่ีชื่นชอบพร้อมกับเรียนรู้การเลือกเส้ือและผ้าถุงปาเต๊ะให้เข้ากันได้อีกด้วย ส่วน

๑๑๕ นักเรียนผู้ชายก็อาจจะไม่ค่อยสนใจในเครื่องแต่งกายดังกล่าว เพราะส่วนใหญ่เป็นชุดของ ผูห้ ญิง จึงมไิ ด้เปน็ ผลู้ องสวมใสแ่ ต่เปน็ ผูฟ้ งั ที่ดี ๕ . ๒ . ๑ . ๖ . ก า ร ด า เ นิ น โ ค ร ง ก า ร ใ น ส ถ า บั น ก า ร ศึ ก ษ า ก ลุ่ ม เ ป้ า ห ม า ย ที่ ๓ มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ๑) การจดั กจิ กรรมสาหรบั นักศกึ ษามหาวิทยาลัยขลานครนิ ทร์ เมือ่ วันท่ี ๓ สิงหาคม ๒๕๕๖ เวลา ๑๓.๓๐ – ๑๖.๓๐ น. ทางผจู้ ดั ทาโครงการได้จัด กิจกรรมร่วมกับสถาบันการศึกษากลุ่มเป้าหมายท่ี ๓ สาขาไทยศึกษา คณะวิเทศศึกษา มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วิทยาเขตภเู กต็ โดยเป็นกลุ่มเยาวชนรุ่นใหญ่ท่ีสุดและเป็นกลุ่ม ทีม่ ีความเกี่ยวข้องกับการเรยี นรู้ด้านวฒั นธรรมไทยมากทีส่ ดุ นักศึกษากลุ่มดังกล่าวถือว่าเป็น ผู้ศึกษาในด้านการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมโดยตรง ซ่ึงบางส่วนเลือกฝึกงานในสายงาน ด้านพิพิธภัณฑ์ มัคคุเทศก์ และงานสื่อประชาสัมพันธ์ต่างๆ โดยผู้วิจัยได้คาดหวังว่าการ สัมมนาและสาธิตเคร่ืองแต่งกายบาบ๋าในครั้งน้ีจะสามารถชี้นาความสาคัญเก่ียวกับการสืบ ทอดวัฒนธรรมบาบ๋าได้ต่อไป นักศึกษาระดับมหาวิทยาลัยเป็นเยาวชนตัวแทนท่ีจะนาเอา แนวคดิ เรื่องดังกล่าวไปพฒั นาการทางานในด้านวัฒนธรรมไดใ้ นอนาคต ๒) รปู แบบโครงการ/กิจกรรม ๒.๑) การจัดบรรยายเกี่ยวกับวัฒนธรรมการแต่งกายบาบ๋าภูเก็ต โดยผู้วิจัยได้ กล่าวถึงประวัติศาสตร์ความเป็นมาของชาวจีนโพ้นทะเลท่ีอพยพย้ายเข้ามาในบริเวณเอเชีย อาคเนย์แถบชายฝง่ั ทะเลอนั ดามนั พรอ้ มแสดงรูปถ่ายคู่บ่าวสาวตระกูลดังและวิถีชีวิตดั้งเดิม มีอายุประมาณ ๖๐ – ๑๐๐ ปี จากนั้นจึงอธิบายวัฒนธรรมต่างๆท่ีปรากฎในภาพถ่าย เช่น อาหาร เคร่ืองแต่งกาย สถาปัตยกรรม ประเพณีท่ีสาคัญ เป็นต้น ทาให้การบรรยายมีความ นา่ สนใจมากย่งิ ขึน้

๑๑๖ ๒.๒) การจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) เป็นการระดมความคิดเห็นจาก กลุม่ นกั ศึกษาสาขาไทยศึกษาเก่ียวกับการสืบทอดวัฒนธรรมการแต่งกาย เร่ิมต้นจากการนา ความรพู้ ื้นฐานด้านการจัดการวัฒนธรรมของนกั ศกึ ษามาประยกุ ต์ใช้กบั การจดั การวัฒนธรรม เครื่องแต่งกายนี้อย่างยั่งยืน โดยนักศึกษาได้เป็นส่วนหนึ่งที่มีโอกาสนาเสนอความคิดเห็น วธิ กี ารสื่อความหมายวัฒนธรรมเครอ่ื งแตง่ กายให้แก่ผอู้ ่ืนทสี่ นใจไดเ้ ขา้ ใจในวัฒนธรรมน้ีอย่าง ลกึ ซงึ้ ๒.๓) การฝึกปฏิบัติงานจริงในภาคสนาม (Field school) เป็นการร่วมมือกับ อาจารย์ผู้สอนรายวิชาวิถีชีวิตไทย (Thai Ways of Life) โดยให้นักศึกษาเป็นกลุ่มนักวิจัย เยาวชนในการสัมภาษณ์ผู้จาหน่ายเครื่องแต่งกายบาบ๋าเกี่ยวกับแนวโน้มของธุรกิจการ ค้าขายเครื่องแต่งกายพ้ืนเมือง ซึ่งสอดคล้องกับการทาความเข้าใจสถานการณ์ปัจจุบันที่เกิด ข้ึนกบั เครอ่ื งแต่งกายบาบ๋าและการเปลี่ยนแปลงของสังคมผู้บรโิ ภค ๓) ผลการดาเนนิ งานในมหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ในภาพรวม ๓.๑) เชิงปริมาณ จานวนกลุ่มเป้าหมายคาดไว้ ๓๐ คน คือ นักศึกษาในสาขาไทย ศึกษาและนักศึกษาสาขาอื่นๆท่ีสนใจ แต่มีนักศึกษา อายุระหว่าง ๑๘ – ๒๐ ปี เข้าร่วม กิจกรรมจริงประมาณ ๓๕ คน ๓.๒) เชงิ คณุ ภาพ ความพงึ พอใจของผู้ร่วมกจิ กรรมและทัศนคติที่มตี ่อเครื่องแต่ง กายของชุมชนบาบ๋า-เพอรานากนั โดยประเมนิ จากแบบสอบถาม รวมถงึ การสงั เกต พฤติกรรมการมีสว่ นร่วมในกิจกรรมท่ีจดั ขน้ึ ๔) วิธกี ารประเมินผล ใช้วิธีการสังเกตพฤติกรรมการมีส่วมร่วมของนักศึกษา และการทาแบบสอบถาม ความคดิ เห็นการรวบรวมและจัดเกบ็ ขอ้ มูลมรดกภูมิปญั ญาทางวัฒนธรรม เรื่อง การแต่งกาย บาบ๋า-เพอรานากนั ๕) ผลที่ไดร้ บั จากการดาเนินงาน

๑๑๗ จากการสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาพบว่า นักศึกษาในช้ันปีท่ี ๑ สาขาไทย ศึกษาให้ความสนใจกับกระบวนการระดมความคิดในเรื่องวิธีการในการสืบทอดวัฒนธรรม การแต่งกายมากกว่าการฟังบรรยายในช้ันเรียนเพียงอย่างเดียว ผลจากการร่วมกันแสดง ความคิดเห็นปรากฎให้เห็นว่ามีนักศึกษาจานวน ๓ กลุ่มนาเสนอความคิดโดยจาเป็นต้อง ตีความจากโจทย์ท่ีต้ังไว้ว่า “การสืบทอดวัฒนธรรมบาบ๋าอย่างยั่งยืน” โดยแต่ละกลุ่มได้ นาเสนอแนวคิด คาอธิบาย และแนวทางการปฏิบัติ ดังนี้ กลุ่มที่ ๑ ได้แสดงแนวความคิดว่า “เคร่ืองแต่งกายบาบ๋ากับการท่องเที่ยว” โดยให้ นักท่องเที่ยวมีส่วนร่วมกับวัฒนธรรมการแต่งกาย เพ่ือให้พวกเขามีประสบการณ์ในการสวม ใส่ชุดเหล่านี้และหากสนใจเพิ่มเติมก็สามารถเลือกซ้ือได้ พิพิธภัณฑ์หรือแหล่งเรียนรู้ทาง วฒั นธรรมที่อยู่ในบริเวณย่านเมืองเก่าภูเก็ตควรจัดให้มีพ้ืนท่ีให้นักท่องเที่ยวลองแต่งตัวแบบ สาวหรอื หนุ่มบาบ๋า กลุ่มท่ี ๒ มีแนวคิดว่า “ชุดยาหยากับชีวิตประจาวัน” กลุ่มนี้มองว่าการดารงไว้ซึ่ง ความย่ังยืนควรทาให้ส่ิงๆน้ันอยู่ในชีวิตประจาวัน สิ่งแรกท่ีควรคานึงคือการออกแบบให้ เคร่ืองแต่งกายสวมใส่ได้ในทุกๆวัน หาซ้ือได้ในราคาที่ไม่แพงนัก และเหมาะกับทุกเพศทุกวัย โดยหากทาให้ผหู้ ญิงภเู กต็ มีค่านยิ มในการนงุ่ ผา้ ถุงมากกว่าการนงุ่ กระโปรงมากข้ึน ก็จะทาให้ การแต่งกายดงั กลา่ วเปน็ เรื่องธรรมดาทเ่ี กิดขึน้ ไดใ้ นชวี ิตประจาวัน กลุม่ ท่ี ๓ เสนอแนวคิดทีว่ า่ “เครื่องแตง่ กายกับการแสดง” เป็นการนาแนวความคิด ของการเช่อื มโยงความสาคัญของเครื่องแตง่ กายกบั การแสดงนาฏศิลป์ไทย โดยนักศึกษามอง ว่าชาวบาบ๋าภูเก็ตควรมีการสร้างสรรค์การแสดงท่ีน้อมนาความเป็นตัวตนคนภูเก็ตดั้งเดิม เช่น การทาเเหมืองแร่ การประกอบอาชีพประมง การทาอาหาร และประเพณีท่ีเกิดจาก ความเชื่อหรือศาสนา เป็นต้น และหลังจากน้ันจึงนาเคร่ืองแต่งกายบาบ๋ามาออกแบบให้เข้า กบั การแสดง สิง่ เหล่าน้ีจึงจะเกิดความยั่งยืนในแง่ของความภูมิใจในการดารงไว้ซ่ึงอัตลักษณ์ แห่งการสรา้ งสรรค์ สว่ นการลงปฏบิ ตั ภิ าคสนามเพื่อเก็บข้อมูลเกี่ยวกับแนวโน้มของภาคธุรกิจกับเคร่ือง แต่งกายพ้ืนเมือง ทาให้นักศึกษาเข้าใจในบริบทของพ้ืนที่ศึกษากับวัฒนธรรมการแต่งกาย บาบา๋ มากขึน้ จากการสมั ภาษณแ์ ละการสังเกตกลุ่มผู้ให้ข้อมูลทาให้นักศึกษาเริ่มตระหนักถึง

๑๑๘ การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของคนในชุมชนย้านเมืองเก่าภูเก็ตมากข้ึน บางคนให้ข้อคิดหน่ึงว่า “ผมฟังคุณป้าคนนึงที่เคยขายผ้าปาเต๊ะ แต่ตอนน้ีรุ่นลูกขายแล้วเล่าว่า สมัยก่อนผ้าปาเต๊ะ เคยเปน็ ทีน่ ยิ ม ผ้หู ญงิ ทุกบ้านจะตอ้ งซื้อเกบ็ ไวค้ รั้งละหลายๆผืนเลยทเี ดยี ว แต่ปัจจุบันนี้ มีแต่ นักทอ่ งเท่ียวท่ีสนใจผา้ สวยๆพวกนี้ อย่าวา่ แต่ซื้อเลย เด็กภูเก็ตรุ่นใหม่จะนุ่งผ้าถุงอาบน้าเป็น หรือเปล่าไม่รู้” ซ่ึงจากการรับฟังปัญหาจากสถานที่จริงในลักษณะน้ีทาให้พวกเขาเร่ิมเกิด ความตระหนักในการเปลี่ยนแปลงท่ีรวดเร็วและอาจส่งผลให้เกิดการสูญเสียเอกลักษณ์ บางอย่างในยุคสมัยต่อไป ส่วนนักศึกษาอีกกลุ่มหนึ่งเล่าว่า “หนูไปคุยกับแขกท่ีขายผ้า เขา เป็นเจ้าของร้านขายเส้ือผ้าพ้ืนเมืองทั้งหมด ๓ ร้าน และรายได้จากการขายผ้าลูกไม้เป็น หลาๆจะอยู่ทป่ี ระมาณเดอื นละเกือบ ๑ แสนบาท หนไู มค่ ิดว่าเขาจะขายผ้าได้เงินเยอะขนาด นี้ เขาบอกว่าลูกไม้ท่ีราคาสูงจะมีคุณภาพดี และคนท้องถ่ิน (คนภูเก็ต) ท่ีมีฐานะดีมักเป็น ลกู ค้ารายใหญ่ ไดก้ าไรมากกว่าขายนักท่องเท่ียวที่ซ้ือเป็นจานวนได้กว่า” จากการเก็บข้อมูล ภาคสนามทาให้พบว่า นักศึกษาท่ีได้มีโอกาสสัมภาษณ์เจ้าของร้านขายเครื่องแต่งกายท่ีมี แนวความคิดหลากหลาย อาจได้ยินได้ฟังเร่ืองราวต่างๆที่แตกต่างกัน และสุดท้ายการนา เรอ่ื งราวเหลา่ นน้ั มาเลา่ สกู่ ันฟังเป็นการสรุปสถานการณ์วัฒนธรรมการแต่งกายจากทั้งคนรุ่น เกา่ และคนรนุ่ ใหม่ได้ดที สี่ ุด ๕.๒.๑.๗. บทสรุปของปัญหาอปุ สรรคและข้อเสนอแนะของการจัดโครงการ “การสบื ทอดความงามของเครื่องแต่งกายแบบชาวบาบ๋าภูเก็ต” ๑) ปัญหาและอุปสรรคของโครงการ ช่วงระยะเวลาของการอบรมและการฝึกสาธิตค่อนข้างสั้นมาก นักเรียนจึงได้เพียง การเรียนรู้วิธีการนุ่งผ้าถุงอย่างถูกวิธี แต่ยังไม่สามารถซึมซับความรู้สึกร่วมกันในวัฒนธรรม เครื่องแตง่ กายได้ ซ่ึงเป็นจดุ เร่ิมตน้ ของการทากิจกรรมในดา้ นนต้ี อ่ ไป ๒) ขอ้ เสนอแนะในการนาไปจัดโครงการในอนาคตตอ่ ไป ๒.๑) นกั เรียนคนหน่ึงให้ขอ้ เสนอแนะที่สนใจในแบบสอบถามว่า เม่ือโรงเรียนมีห้อง จัดนิทรรศการแหล่งเรียนรู้วัฒนธรรมบาบ๋าภูเก็ตแล้ว ก็ควรให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการทา

๑๑๙ กิจกรรมด้านเครื่องแต่งกายมากกว่านี้ ตัวอย่างเช่น ควรจัดให้เคร่ืองแต่งกายบาบ๋าเป็น เครอ่ื งแบบท่ีนกั เรียนทกุ คนต้องใส่ ๑ วนั อาจเป็นวันศุกร์ก็ได้ เป็นต้น ผู้วิจัยมองว่า นักเรียน คงเคยเหน็ ประเทศอ่ืนๆมกี ารสืบทอดวฒั นธรรมการแต่งกายดงั กลา่ ว โดยอาจมองว่าประเทศ ลาวมีเครื่องแบบนักเรียนนักศึกษาเป็นชุดประจาชาติ คือ สวมใส่เสื้อสีขาวกับนุ่งผ้าซิ่นสีน้า เงิน ซ่ึงหากนโยบายดังกล่าวปฏิบัติได้อย่างท่ีนักเรียนเสนอ ก็อาจทาให้เคร่ืองแต่งกายบาบ๋า กลายเป็นตัวแทนหรือสัญลักษณ์ของชาวบาบ๋าภูเก็ตที่มีเอกลักษณ์และมีความสาคัญในการ เป็นชดุ ที่อยวู่ ถิ ีประจาวันมากขึ้น ๒.๒) นักเรียนใหข้ อ้ เสนอแนะวา่ อยากใหห้ นว่ ยงานทีเ่ กยี่ วข้องจดั กิจกรรมที่ส่งเสริม ความรูด้ า้ นศิลปวัฒนธรรมของภูเก็ตให้แก่เยาวชนต้ังแต่ระดับประถมศึกษาในลักษณะเช่นน้ี ทุกปี ๕.๓.๒ การจัดโครงการถ่ายภาพมาราธอน “Baba Life Photo @Phuket” ภายใต้ แนวคดิ “สีสันแหง่ การแต่งกายบาบา๋ อดีตท่ียงั มีลมหายใจ” เป็นการจัดกิจกรรมท่ีต้องการให้เยาวชนเป็นตัวแทนเผยแพร่ข้อมูลทางวัฒนธรรม โดยใช้กล้องถ่ายรูปเป็นสื่อสมัยใหม่ที่ช่วยประชาสัมพันธ์ให้เครื่องแต่งกายบาบ๋าเป็นรู้จักในวงท่ีกว้าง ข้นึ โครงการนี้จัดขึ้นเมื่อวนั อาทติ ย์ท่ี ๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ บริเวณลานมังกร และตามตึกเก่าๆตลอด ถนนถลาง ผู้เข้าประกวดจะมีเวลา ๓ ช่ัวโมงในการเก็บภาพการแต่งกายของสตรีบาบ๋า ตามมุมตึก หรือบ้านเก่าๆ ต้ังแต่เวลา ๑๔.๓๐ – ๑๗.๓๐ น. โดยทางสมาคมเพอรานากันได้รับเงินทุนสนับสนุน จาก กรมส่งเสริมวัฒนธรรม ให้จัดกิจกรรมเพ่ือส่งเสริมให้มีการแต่งกายแบบชาวบาบ๋าเพอรานากัน เปน็ ท่ีร้จู ักในวงกว้าง โดยเฉพาะในสื่อออนไลน์ต่างๆ เช่น Facebook และการประชาสัมพันธ์จากส่ือ อื่นๆ ซึ่งมีผู้เข้าร่วมประกวดทั้งประเภทบุคคลท่ัวไป และนักเรียนนักศึกษา เป็นจานวน ๑๑๑ คน ซึ่ง ถือเป็นตัวเลขท่ีเกินเป้าหมาย และมีจานวนผู้เข้าชมทาง Facebook Fanpage เป็นจานวนมากกว่า ๒๒,๗๐๐ คน นอกจากนี้ ทางสมาคมได้รับการสนับสนุนจากชุมชน หน่วยงานทั้งภาครัฐและ เอกชน คือ กรมส่งเสริมวัฒนธรรม เทศบาลนครภูเก็ต ศูนย์แอนนิเมชั่นและมัลติมีเดีย สังกัดในคณะ เทคโนโลยีและส่ิงแวดล้อม และคณะวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ บริษัท Land and Houses หนังสือพิมพ์ Phuket News ท้ังภาคภาษาอังกฤษและภาษารัสเซีย Radio Live ๙๐.๕ บรษิ ัท Canon Concept Store และทข่ี าดไม่ได้คอื ขอขอบพระคุณทุกทา่ นท่ีอยู่ชุมชนเมืองเก่าภูเก็ต

๑๒๐ ถนนถลาง ที่ได้เอ้ือเฟื้อสถานที่ในการจัดกิจกรรม และต้อนรับผู้เข้าร่วมประกวด และผู้ร่วมงานทุก ท่านด้วยไมตรีจิตร ผลการตอบรับของโครงการกาลังอยู่ในขั้นตอนของการสรุปผลโครงการ แต่ สามารถเข้าไปดใู น Facebook Fanpage ได้ท่ี http://www.facebook.com/BabaLifePhotoAtPhuket?ref=hl และมีการประชาสัมพันธ์ตามสื่อ ต่างๆ ๕.๓.๒.๑ แนวคิดของการจัดกิจกรรม แนวคิดในการใช้สื่อเพ่ือกระตุ้นให้เยาวชนเกิดความตระหนักรู้ถึงความสาคัญ และ ความงามของวัฒนธรรมการแต่งกายพื้นถ่ินของชาวภูเก็ต โดยปรับให้เข้ากับหลักการแพร่กระจาย อิทธิพลแฟชั่นในยุคปัจจุบันซ่ึงมีการปรับเปล่ียนจากระบบผู้นาแฟชั่นในหมู่ชนชั้นสูงท่ีทาให้เกิดการ แพร่กระจายอิทธิพลในแนวดิ่ง (Trickle - Down Theory) มาสู่ปรากฎการของแฟช่ันร่วมสมัยท่ีมี การยอมรบั การแพร่กระจายแบบย้อนกลบั (Trickle - Up) (รวเิ ทพ, 2554) ๑. การสร้างภาพลักษณ์ของการแต่งกาย ให้เยาวชนได้มองเห็นภาพเฉกเช่นเดียวกับที่ คนรุ่นเก่าได้รับรู้ถึงความงามของชุดพ้ืนถิ่น โดยแฝงไว้กับพฤติกรรมการถ่ายรูปท่ีเป็นที่นิยมในกลุ่ม เยาวชนชาวภูเก็ต มีการใช้นางแบบสวมชุด ที่มีรุ่นราวคราวเดียวกับกลุ่มเป้าหมาย เป็นการ แสดงออกในลักษณะทเ่ี หมาะสมกบั ยคุ สมัย ๒. การใช้ส่ืออินเทอร์เน็ตในรูปแบบการตลาด web ๒.๐ ท่ีมีหลักการให้ผู้ร่วมชมส่ือมี ส่วนร่วมในการสร้าง content เช่นการเผยแพร่รูปถ่าย (Instagram), การเผยแพร่คลิปวีดีโอ (Youtube), การเขียนบทความออนไลน์ (Blogger) ผู้ชมได้แสดงออกและเผยแพร่ผลงานของตนโดย ไม่ได้รับการยัดเยียดข้อมูล จะทาให้เกิดการเผยแพร่สื่อในวงกว้างมากกว่าสื่อรูปแบบอื่น และกลุ่ม ผูร้ ับส่ือจะมีความภูมิใจในเน้ือหาที่ตนได้เผยแพร่ (Kent, 2008) โดยมีการผสานระหว่าง content ท่ี ได้จัดเตรียมไว้กับ content ที่ถูกสร้างขึ้นให้เยาวชนได้แชร์ (Share) ภาพนางแบบในชุดพื้นถ่ินท่ี ตนเองได้ถ่ายผ่านช่องทางส่ือ facebook ซ่ึงมีลักษณะเด่นในการแชร์เพิ่มเติมจากกลุ่มคนรู้จักของ ผ้สู ร้างส่อื เป็นการเผยแพรแ่ บบทวีคณู ๓. กลุ่มผูช้ มสื่อหากเกิดการตระหนักรถู้ ึงการมีอยู่ของวัฒนธรรมก็จะสามารถอธิบายถึง หลักการ และวิถีชีวิตในแบบด้ังเดิมได้ง่ายข้ึน เป็นการปรับภาษาพูดหรือวิธีการส่ือสารให้เข้ากับกลุ่ม

๑๒๑ เยาวชน โดยผลลพั ธ์ทีไ่ ด้นน้ั ยงั เป็นสอ่ื ทน่ี าไปใชป้ ระชาสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมได้อีกเป็นจานวนมากอีก ด้วย การดาเนินงานตามแผนการประชาสัมพันธ์นี้นับเป็นจุดเริ่มต้นให้เยาวชนมีความ สนใจและรับรู้การมีอยู่ของวัฒนธรรม นาไปสู่การอธิบายถึงความสาคัญและคุณค่าในเชิงลึกต่อไป ใน ข้ันตอนน้ียงั มีการสรุปผลเพือ่ ทาแผนงานกระตนุ้ ใหเ้ กดิ การรักษาวฒั นธรรมให้ยง่ั ยืนเป็นลาดับตอ่ ไป ๕.๓.๒.๒ วธิ กี ารดาเนนิ โครงการ ๑) การรับสมคั รช่างภาพระหว่างวันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๕ – ๒๗ มกราคม ๒๕๕๖ ซ่ึงได้มีการประกาศรายละเอียดของประเภทผู้สมัครและประเภทรางวัล คือ ผู้สมัครแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท ได้แก่ ๑) ผู้สมัครที่กาลังศึกษาอยู่ในระดับช้ันมัธยมศึกษา-ระดับปริญญาตรี อายุไม่เกิน ๒๓ ปี ๒) ผู้สมัครท่ีเปน็ บคุ คลท่วั ไป สว่ นรางวัลได้แบง่ ออกเปน็ ๓ ประเภทคือ ชนะเลิศจากการตัดสินของ กรรมการโดยได้รับรางวัล “Best Young Snapper” และรางวัล “Best Pro Snapper” และจาก การโหวตผ่านทาง Fanpage Facebook ได้รับรางวัล “Popular Like” โดยส่วนใหญ่จะใช้โปสเตอร์ (Poster) ท้ังภาคภาษาไทยและภาษาอังกฤษในการประชาสัมพันธ์โครงการดังกล่าวไปทางส่ือ ออนไลน์ (Facebook) การส่งรายละเอียดโครงการไปทางหน่วยงานราชการจานวน ๑๐ แห่ง และ สถานศึกษาในภูเก็ตจานวน ๒๖ แห่ง การนาโปสเตอร์ไปติดตามร้านกาแฟและร้านถ่ายรูป การ ประชาสัมพันธ์ในลักษณะของโฆษณาทางสื่อวิทยุและการสัมภาษณ์จากในรายการวิทยุต่างประเทศ ของท้องถ่ิน (Live ๘๙.๕) รวมถึงการประกาศทางส่ือหนังสือพิมพ์ ดังตัวอย่างโฆษณาประชาสัมพันธ์ โครงการดา้ นล่าง

๑๒๒

๑๒๓ ๒) ทางสมาคมได้รับการสนับสนุนจากชุมชน หน่วยงานท้ังภาครัฐและเอกชน คือ กรมส่งเสริมวัฒนธรรม เทศบาลนครภูเก็ต ศูนย์แอนนิเมชั่นและมัลติมีเดีย สังกัดในคณะเทคโนโลยี และส่ิงแวดล้อม และคณะวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, บริษัท Land and Houses, หนังสือพิมพ์ Phuket News ท้ังภาคภาษาอังกฤษและภาษารัสเซีย, Radio Live 90.5, บริษัท Canon Concept Store และท่ีขาดไม่ได้คือ ขอขอบพระคุณทุกท่านท่ีอยู่ชุมชนเมืองเก่าภูเก็ต ถนน ถลาง ที่ได้เอ้ือเฟ้ือสถานท่ีในการจัดกิจกรรม และต้อนรับผู้เข้าร่วมประกวด และผู้ร่วมงานทุกท่าน ด้วยไมตรีจิตร ใ น ส่ ว น ของการวางแผนกิจกรรม ได้กาหนดให้ ผู้เข้าร่วมแข่งขัน ถ่ า ย ภ า พ น า ง แ บ บ ท่ี ท า ง ผู้ จั ด ง า น ไ ด้ เตรียมไว้ให้ ซึ่ง เ ป็ น เ ย า ว ช น ร ะ ดั บ นั ก ศึ ก ษ า จ า ก

๑๒๔ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และมหาวิทยาลัยราชภัฎ เป็นเสมือนตัวแทนของสาวบาบ๋ายุคใหม่ รวมถึงนางแบบซ่ึงเป็นกลุ่มสมาชิกสมาคมเพอรานากันและสมาชิกชุมชนเมืองเก่าภูเก็ต (ถนนถลาง) เม่ือกล่าวถึงในระดับการเตรียมงาน ผู้วิจัยได้ทาการสารวจหน้าบ้านท่ีมีความสวยงามและขอความ อนุเคราะห์จากเจ้าของบ้าน ซ่ึงได้รับความกรุณาจากประธานชุมชนเมืองเก่าภูเก็ต คุณยินดี มโน สุนทร ในการช่วยประสานงานติดต่อสอบถามเจ้าของบ้านที่ได้อนุญาตให้นางแบบได้อยู่ในพื้นท่ี ดังกล่าวในวนั จดั กิจกรรม โดยกาหนดจดุ ถา่ ยภาพท่ีสาคัญท้ังหมด ๗ จุด ได้แก่ ร้านภูเก็ตนาแสง ร้าน กาแฟ ๑๘๙๒ café ซอยรมณีย์ ศูนย์บริการข้อมูลนักท่องเท่ียว บ้านเลขท่ี ๔๖ ร้านไชน่าอินน์ และ รา้ นกาแฟชโิ นคาเฟ่ ๓) การจัดกิจกรรมการแข่งขันถ่ายภาพมาราธอนในวันที่ ๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ได้ กาหนดการจัดกิจกรรมตั้งแต่เวลา ๑๒.๓๐ – ๑๘.๓๐ น. ณ บริเวณลานมังกร ถนนถลาง ตาม รายละเอยี ดดังน้ี ๑๒.๓๐ – ๑๓.๓๐ น. เปิดลงทะเบียนผเู้ ขา้ แขง่ ขัน ๑๓.๓๐ – ๑๔.๓๐ น. พธิ ีเปดิ งาน/พิธีการ/แจ้งกฎกติกา/ถา่ ยภาพหมรู่ ว่ มกนั ๑๕.๐๐ – ๑๗.๓๐ น. ถ่ายภาพมาราธอนในบริเวณย่านเมืองเก่าภูเก็ต (ถนน ถลาง) โดยมนี างแบบใหจ้ านวน ๑๕ คน ยืนตามจุดท่ีผู้จัด งานกาหนดไว้ให้ ซึ่งผู้เข้าร่วมสามารถใช้เวลาถ่ายภาพได้ ทกุ มุม ๑๗.๓๐ – ๑๘.๐๐ น. ช่วงเวลาส่งงานเข้าประกวดท่ีจุดรับรูปเข้าประกวด (บริเวณลานมงั กร) ๑๘.๐๑ น. เสร็จส้ินพธิ ีการ หลังจากเสร็จสิ้นการส่งภาพถ่าย ทางผู้จัดงานได้นาภาพท้ังหมดไปให้กรรมการ ตัดสินในวันเดียวกันนี้ กรรมการมีจานวนทั้งส้ิน ๓ ท่าน ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านการถ่ายภาพ ประธานชมรมถ่ายภาพ และผู้จัดการบริษัทแคนนอน มาร์เก็ตต้ิง (ไทยแลนด์) จากัด โดยได้ผลสรุป ท้ังส้ิน ๑๐ รางวัล คือ Best Pro Snapper (รางวัลชนะเลิศระดับประชาชนท่ัวไป) Best Young Snapper (รางวัลชนะเลศิ ระดับนักเรยี นนักศึกษา) และรางวัลในลาดบั ท่ี ๒ – ๕ ของทง้ั สองระดบั ๔) ชว่ งเวลาการประชาสัมพนั ธภ์ าพถา่ ยเคร่อื งแต่งกายบาบ๋าได้กาหนดไว้ตั้งแต่วันที่ ๓ – ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ (ระยะเวลา ๗ วัน) โดยผู้เข้าร่วมแข่งขันทุกท่านสามารถอัพโหลดภาพท่ี ป ร ะ ทั บ ใ จ ๑ ภ า พ เ ข้ า ไ ป ใ น แ ฟ น เ พ จ ท า ง เ ฟ ส บุ ค

๑๒๕ http://www.facebook.com/BabaLifePhotoAtPhuket เพื่อเปิดให้บุคคลท่ัวไปได้โหวตโดยการ กด LIKE รูปท่ีตนเองช่ืนชอบ สาหรับรูปของผู้เข้าแข่งขันท่านใดได้รับ LIKE มากท่ีสุดได้รับรางวัล POPULAR LIKE และรางวัลนี้ไม่ได้ตัดสินโดยการแยกประเภทกลุ่มประชาชนทั่วไปและนักเรียน นกั ศึกษา ๔) ในวนั ท่ี ๑๓ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๖ ทางผจู้ ดั งานไดป้ ระกาศผลการตัดสินของท้ัง ๑๑ ประเภทผ่านทางแฟนเพจเฟสบคุ โดยไดม้ รี ายละเอยี ดการมอบของรางวลั ประเภทต่างๆ ดังน้ี ๔.๑) รางวัลชนะเลิศจากการประกวดถ่ายภาพ แบ่งออกเป็น ๓ ประเภท คอื - ชนะเลิศจากการตัดสินของกรรมการประเภทบุคคลทั่วไป ได้รับ รางวัล “Best Pro Snapper” โดยได้รับโล่รางวัลจากกรมส่งเสริม วัฒนธรรม พรอ้ มกล้อง Canon PowerShot G15 จานวน ๑ เครอื่ ง - ชนะเลศิ จากการตัดสินของกรรมการประเภทนักเรียน นักศึกษา ได้รับรางวัล “Best Young Snapper” โดยไดร้ ับโล่รางวลั จากกรมส่งเสริม วัฒนธรรม พร้อมกลอ้ ง Canon PowerShot G15 จานวน ๑ เครอ่ื ง - การโหวตผ่านทาง Fanpage Facebook ได้รับรางวัล “Popular Like” โดยได้รับรางวัลกล้อง Canon PowerShot G15 จานวน ๑ เคร่ือง ๔.๒) รางวลั รองชนะเลศิ อันดับ ๑ – ๔ แบง่ ออกเปน็ ๒ ประเภทคือ - ผลจากการตัดสินของกรรมการประเภทบุคคลทั่วไป จะได้รับ เกยี รติบัตรโดยกรมส่งเสรมิ วฒั นธรรม - ผลจากการตัดสินของกรรมการประเภทนักเรียน นักศึกษา จะ ได้รับเกียรติบัตรโดยกรมสง่ เสรมิ วฒั นธรรม ๕) การมอบรางวัลแก่ผู้ชนะในรางวัลประเภทต่างๆโดยผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ต คุณไมตรี อินทุสุต ซ่ึงจัดขึ้นในวันที่ ๑๕ – ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ เป็นช่วงงานวันย้อนอดีตเมืองเก่า ภเู กต็ กาหนดให้รับรางวลั บนเวทีบรเิ วณลานมังกร

๑๒๖ ภาพการมอบรางวัลการประกวดถ่ายภาพมาราธอน Baba Life Photo @Phuket โดยผู้ว่า ราชการจงั หวดั ภเู ก็ต นายไมตรี อนิ ทสุ ตุ ณ งานยอ้ นอดตี เมอื งเกา่ ภูเก็ต ท่ีมา : นายปฐมพงษ์ เรอื นทอง ๕.๓.๒.๓ การสรปุ ผลการดาเนินงานในภาพรวม ๑) เชิงปริมาณ จานวนกลุ่มเป้าหมายคาดไว้ ๑๐๐ คน แต่จากการสารวจยอด ผู้เข้าร่วมแข่งขันท้ังหมดอยู่ท่ีจานวน ๑๔๘ คน ประกอบด้วย กลุ่มบุคคลท่ัวไปจานวน ๕๓ คน และ นักเรียนนักศึกษาจานวน ๙๕ คน ซึ่งผลจากการประชาสัมพันธ์จากสื่อต่างๆทาให้มีจานวนผู้สมัคร มากกวา่ จานวนท่คี าดการณไ์ ว้ถงึ ๔๘ คน ๒) เชิงคุณภาพ เป็นการวัดจากความพึงพอใจของผู้ร่วมกิจกรรมและทัศนคติท่ีมีต่อ เครื่องแต่งกายของชุมชนบาบ๋า-เพอรานากันโดยประเมินจากแบบสอบถาม รวมถึงการสังเกต พฤตกิ รรมการมสี ว่ นร่วมในกิจกรรมท่จี ัดข้ึน ๕.๓.๒.๔ วธิ ีการประเมนิ ผล

๑๒๗ ๑) การประเมินจากแบบสอบถามเกี่ยวกับการจัดการของงาน และการแสดงความ คดิ เห็นเกยี่ วกบั การสืบทอดวัฒนธรรมการแตง่ กายแบบบาบา๋ -เพอรานากัน ๒) การสารวจความคดิ เหน็ ทางสือ่ ออนไลน์ Fanpage Facebook และการให้ความ สนใจจากสื่อหนงั สอื พมิ พ์และบคุ คลทว่ั ไป ๕.๓.๒.๕ ผลท่ีไดร้ ับจากการดาเนินงาน ๒) จากการทาแบบสอบถามเก่ียวกับการสารวจความคิดเห็นเก่ียวกับการจัด โครงการดังกล่าว พบว่า ผู้เข้าร่วมสมัครโครงการส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงจานวนร้อยละ ๕๗ เพศชายจานวนรอ้ ยละ ๓๖ ไมร่ ะบเุ พศจานวนร้อยละ ๗ อย่ใู นช่วงระหว่างอายุ ๑๖ – ๒๕ ปี จานวนรอ้ ยละ ๖๐ สว่ นชว่ งอายุ ๒๖ – ๒๕ ปี และ ๓๖ – ๔๕ ปี มีจานวนมากรองจากกลุ่ม แรกปรากฎเปน็ จานวนร้อยละ ๒๑.๘๒ และจานวนรอ้ ยละ ๑๒.๗๓ ตามลาดับ นอกจากน้ีได้ มีผู้เข้าร่วมโครงการท่ีอยู่ช่วงระหว่างอายุ ๔๖ – ๕๕ ปี และ ต่ากว่า ๑๕ ปีจานวนร้อยละ ๓.๖๔ และจานวนร้อยละ ๑.๘๒ มีจานวนมากเป็นอันดับท่ี ๔ และ ๕ตามลาดับ ส่วนกลุ่ม ช่วงอายุ ๕๖ ปขี น้ึ ไปไม่ปรากฎวา่ มผี ้สู มคั รในช่วงอายุดังกล่าว อาชีพ 2% ไมร่ ะบอุ าชีพ 5% ธรุ กิจสว่ นตวั 11% ข้าราชการ/พนกั งานของรัฐ นกั เรียนนกั ศกึ ษา 24% พนกั งานบริษัท/ห้างร้าน 5% อ่ืนๆ 53% แผนภมู ิรูปวงกลมท่ี ๑ ข้อมลู ด้านการประกอบอาชีพของผ้สู มคั รเข้าโครงการ

๑๒๘ แผนภมู ิรปู วงกลมที่ ๑ แสดงขอ้ มลู ด้านการประกอบอาชพี ของผู้เข้าร่วมโครงการคือ จานวนร้อยละ ๕๓ เป็นกลุ่มนักเรียนนักศึกษาที่ให้ความสาคัญกับการเข้าร่วมโครงการ ส่วน อันดบั ตอ่ มาพนักงานบริษัท/ห้างร้านมีจานวนร้อยละ ๒๔ ธุรกิจส่วนตัวมีจานวนร้อยละ ๑๑ ข้าราชการ/พนักงานของรัฐมีจานวนร้อยละ ๕ ผู้ท่ีไม่ระบุอาชีพมีจานวนร้อยละ ๕ และ ลาดบั สดุ ท้ายคือผู้ท่ีประกอบอาชีพอ่ืนๆ เช่น แม่บ้าน แพทย์ เป็นต้นปรากฎเป็นจานวนร้อย ละ ๒ ในส่วนน้ีจะเห็นได้ว่า กลุ่มเป้าหมายหลักเป็นกลุ่มท่ีมีอายุระหว่าง ๑๖ – ๒๕ ปีและ เป็นนักเรียนนักศึกษาถือว่าโครงการนี้ได้มีโอกาสเข้าถึงกลุ่มเยาวชนลูกหลานชาวภูเก็ตซ่ึง เป็นความตงั้ ใจของการจัดงานในคร้งั นี้ 50 47.27 40 30 10.91 10.91 20 18.18 10 1.82 0 แผนภมู ิแทง่ ท่ี ๑ แหลง่ ประชาสมั พนั ธ์โครงการถา่ ยภาพมาราธอน “Baba Life Photo @Phuket จากแผนภูมแิ ทง่ ที่ ๑ แสดงให้เหน็ ถึงแหล่งประชาสมั พันธ์โครงการดงั กล่าวว่า แหล่ง ทีม่ ผี ลต่อการเข้าถึงผู้สมัครมากที่สุดคือ สถาบันการศึกษา มีจานวนร้อยละ ๔๗.๒๗ ส่วนสื่อ ประชาสัมพันธอ์ อนไลน์มีผลต่อการทาใหโ้ ครงการเป็นที่รู้จักในวงกว้างปรากฎจานวนร้อยละ ๑๘.๑๘ ส่วนการทราบขา่ วโครงการนจ้ี ากร้านกาแฟและรา้ นถ่ายรูป/ร้านอุปกรณ์ขายกล้องมี จานวนร้อยละเท่ากันคือ ๑๐.๑๙ ส่วนความประสบความสาเร็จของโครงการจากการ ประชาสัมพันธ์จากแหล่งอื่นๆ เช่น พิพิธภัณฑ์ การบอกต่อจากเพื่อนถึงเพ่ือน เป็นต้น มี จานวนร้อยละ ๑.๘๒ และพบว่ามีผู้ที่ไมร่ ะบขุ ้อมูลจานวนรอ้ ยละ ๑๐.๙๑

๑๒๙ แรงจูงใจในการเข้ าร่ วมโครงการถ่ ายภาพมาราธอน 2% 4% 11% 6% 37% ไมร่ ะบคุ าตอบ 40% อยากมีสว่ นร่วมในการเผยแพร่วฒั นธรรมภเู ก็ต กิจกรรมแปลกที่น่าสนใจ เป็ นคนชอบถ่ายภาพ อยากได้รางวลั ชนะเลศิ อ่ืนๆ แผนภมู ิรูปวงกลมที่ ๒ ข้อมลู ด้านแรงจงู ใจในการเข้าร่วมถ่ายภาพมาราธอน แผนภูมิรูปวงกลมท่ี ๒ แสดงข้อมูลเร่ืองแรงจูงใจในการเข้าร่วมโครงการถ่ายภาพ มาราธอนต่างกันไปคือ อยากมีส่วนร่วมในการเผยแพร่วัฒนธรรมภูเก็ต จานวนร้อยละ ๔๐ ซ่ึงพบว่าเป็นเหตุผลหลักของการเข้าร่วมโครงการในครั้งน้ี ส่วนเหตุผลรองลงมาคือ เป็น กิจกรรมแปลกท่ีน่าสนใจ มีจานวนร้อยละ ๓๗ ส่วนเหตุผลอ่ืนๆท่ีจูงใจผู้เข้าร่วมโครงการ ได้แก่ อยากได้รางวัลชนะเลิศมีจานวนร้อยละ ๑๑ เป็นคนชอบถ่ายภาพ มีจานวนร้อยละ ๔ และเหตุผลอื่นๆจานวนร้อยละ ๒ ส่วนผู้ท่ีไม่ระบุคาตอบมีจานวนร้อยละ ๖ ซึ่งการจัด กิจกรรมในครั้งน้ี ผู้เข้าร่วมโครงการมองว่า ทาให้เกิดการเผยแพร่วัฒนธรรมการแต่งกาย บาบ๋าในวงท่ีกว้างขึ้นมากถึงจานวนร้อยละ ๖๙.๐๙ มีความสอดคล้องกับจุดประสงค์ของผู้ แขง่ ขันส่วนใหญท่ ่มี าเขา้ รว่ มโครงการเพราะต้องการมสี ่วนร่วมในการเผยแพรว่ ัฒนธรรม นอกจากนี้ จากการสารวจพบว่าผู้เข้าร่วมโครงการรู้จักวัฒนธรรมการแต่งกายของ บาบ๋ามากถึงจานวนร้อยละ ๘๒ และหลังจากเข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าว ผู้แข่งขันได้ให้นิยาม

๑๓๐ ของลักษณะการแต่งกายบาบ๋าท่ีแตกต่างกันตามทัศนะของแต่ละบุคคล ได้แก่ มีคุณค่า ควร แก่การส่งเสริมให้สืบทอดต่อไป สวยงาม เหมาะสมกับวิถีชีวิต งดงาม สร้างสรรค์ และลงตัว โบราณแต่สวย ควรสง่ เสรมิ กจิ กรรมในการเผยแพรใ่ หค้ นรจู้ ักกนั เยอะ สงา่ งาม หรูหรา สวยมี วัฒนธรรม มีจิตวิญญาณ เรียบง่าย สบายตา เรียบร้อย มีสีสัน เรียบง่ายแต่ดูดึงดูดสายตา เปน็ เอกลักษณ์ดี และอยากเป็นนางแบบ ชุดผ้าลูกไม้ กระโปรงเป็นผ้าถุงแบบชาวภูเก็ต เป็น อกลักษณ์และสวยงาม การใส่ผ้าถุง และใส่เสื้อยาหยา ถือเซียนหนา งดงามเมื่อได้ใส่ กระโปรงผา้ ถงุ สวยงดงาม เรยี บร้อยแตห่ รู เหมาะสม สวยดี บ่งบอกถึงเอกลักษณ์คนภูเก็ตได้ ดี ผเู้ ข้าแข่งขันได้รบั ประโยชนจ์ ากการเข้าร่วมการประกวดถ่ายภาพมาราธอนในครั้งน้ี ได้แก่ ได้เผยแพร่ในงานย้อนอดีต ได้ฝึกฝีมือการถ่ายภาพ ได้เรียนรู้และเล่นกิจกรรมสนุก หลักการถ่ายภาพ มุมมองในการสะท้อนแนวความคิด ได้เห็นการแต่งกายแบบบ้าบ๋ายังคงมี สสี ันและลมหายใจ ได้สื่อการแต่งกายบาบ๋าเมืองภูเก็ตที่เป็นเอกลักษณ์ของภูเก็ตเมืองบาบ๋า บ้านเรา ได้พบเพื่อนสมาชิกเพ่ือนร่วมถ่ายภาพท่ีสนุกสนาน เห็นการแต่งกายแบบบาบ๋ามาก ข้ึน ประสบการณ์ถ่ายภาพ ได้ประสบการณ์ไนการแข่ง ความสนุกเพลิดเพลิน สนุกกับการ ถ่ายภาพและได้ถ่ายภาพที่ชอบ ได้เห็นเสื้อผ้าสวยๆ ท่ีเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดภูเก็ต ซ่ึงหา ดูยากครับ ไดร้ ู้จักเพอ่ื นๆทเี่ ขา้ ร่วมกิจกรรม รวมถึงนางแบบ และคุณค่าของวัฒนธรรมที่ทาง สมาคมฯได้จัดขึ้น สนุก ได้ความรู้ ได้พบเพื่อนใหม่ๆ และ ประสบการณ์ใหม่ๆ เพราะ กิจกรรมนี้ทาให้คนรุ่นหลังรู้จักวัฒนธรรมท่ีไม่ค่อยได้เห็นกันมากนัก เป็นที่รู้จักมากข้ึนเม่ือ เผยแพรภ่ าพ เผยแพร่แค่คนในพ้ืนท่ีทราบเท่านั้น น่าจะมีการประชาสัมพันธ์ที่ดีกว่านี้ มีการ เชญิ ส่ือมวลชนมากมายท้ังไทยและต่างประเทศ และมีบุคคลหลายๆช่วงอายุได้มาเรียนรู้การ แต่งกายแบบบาบ๋า และสุดท้ายคือการนอกจากผู้เข้าแข่งขันจะเป็นส่วนหนึ่งของผู้เผยแพร่วัฒนธรรม การแต่งกายแล้ว พวกเขายังเป็นกาลังในการแสดงความคิดเห็นว่าในอนาคตควรมีการจัด กิจกรรมในลักษณะใด ที่จะส่งเสริมการแต่งกายของชาวบาบ๋าให้คงอยู่กับชุมชนตลอดไป โดยรายละเอยี ดทนี่ ่าสนใจแตกต่างกัน ดังนี้ - รณรงค์ใหเ้ ป็นชดุ แต่งกายประจาทอ้ งถ่ิน เพ่ือเผยแพร่ให้แขกทมี่ าเยือนได้เห็น - ถา่ ยภาพ - นิทรรศการ – ประกวดออกแบบชุด

๑๓๑ - การจดั งาน BABA Day รว่ มกันแตง่ กายบาบ๋าทาให้เป็นเทศกาลประจาจงั หวดั และผลกั ดนั ใหเ้ ป็นเทศกาลที่ขนึ้ ปฏิทนิ ท่องเทยี่ ว ของ ททท. - การออกรา้ น นทิ รรศการ เก่ยี วกบั บาบา๋ บ่อยๆ - ควรจัดกจิ กรรมแบบนี้บอ่ ยคร้ัง เพ่ือประชาชน นักท่องเที่ยวได้รว่ ม ประชาสัมพนั ธ์กิจกรรมต่างๆ - ควรจดั กจิ กรรมในแบบเดยี วกับท่ที า แตเ่ พิม่ เติม กจิ กรรมใหม้ ากข้นึ - รณรงคแ์ ตง่ กายบาบ๋าเข้างานประจาท้องถน่ิ - ประกวดนางงามบาบ๋า คลา้ ยกบั Miss Chinese International โดยเนน้ ที่ ลกั ษณะการแตง่ กายแบบบาบ๋า - ควรจัดทา พ็อคเก็ตบุค แนะนาการแตง่ กาย บาบ๋า รวมถงึ รูปแบบต่างๆของชุด บาบา๋ ประวัติ ความเปน็ มา เพ่อื ให้คนทัว่ ไปเขา้ ถึงแหลง่ ข้อมูลได้มากข้นึ - ถา่ ยรูปครบั ทาให้ทกุ ๆคนเหน็ ไดอ้ ย่างชดั เจน - ประกวดการแตง่ กายชดุ บาบา๋ อกี โดยมีรางวัลทรี่ าคาแพงเป็นแรงจงู ใจ - ควรใหแ้ ตง่ กายและถา่ ยรูปเหมือนเดมิ แต่จัดให้บ่อยขน้ึ - มหาวิทยาลยั ควรให้นักศึกษาแตง่ กายบาบ๋าทุกคน - นาเสนอจุดเด่นของเคร่อื งแต่งกาย - การแสดงละครเวทียอ้ นยุค ๓) การสารวจความคิดเห็นทางสื่อออนไลน์ Fanpage Facebook เกิดจากการทา ความเข้าใจและสังเกตพฤติกรรมของคนรุ่นใหม่ เนื่องจากวิธีการวัฒนธรรมการบริโภคส่ือ สมัยใหม่ได้เปล่ียนแปลงไปตามกาลเวลา สื่อออนไลน์กลายเป็นเครื่องมือในการ ประชาสัมพันธ์ข่าวสารและความเคล่ือนไหวของเหตุการณ์บ้านเมืองในปัจจุบันในระยะเวลา อันรวดเรว็ และเข้าถงึ กลมุ่ เปา้ หมายในระดับท่ีกว้างกว่าในอดีต และท่ีสาคัญคือไม่มีค่าใช้จ่าย ในการขอเปิดใช้บริการ ดังน้ัน ผู้วิจัยจึงได้ลองนากลยุทธ์การเผยแพร่วัฒนธรรม โดยให้ผู้ท่ี เข้าร่วมแข่งอัพโหลดรูปภาพท่ีสื่อความหมายตามแนวคิดว่า “การแต่งกายของชาวบาบ๋า อดีตที่ยังมีลมหายใจ” ลงในเฟสบุค (Facebook) เพ่ือเป็นการประชาสัมพันธ์วัฒนธรรม ท้องถิ่นท่ีสวยงามน้ีให้แก่ญาติพี่น้อง เพ่ือนฝูง หรือบุคคลอื่นๆท่ีเป็นเพ่ือนกันน้ัน ได้มีโอกาส เห็นภาพลักษณ์ของการจัดประกวดท่ีนาเอาเยาวชนคนรุ่นใหม่มาแต่งกายแบบสาวบาบ๋า

๑๓๒ ด้ังเดิม และรูปภาพท่ีตนเองถ่ายอีกด้วย ส่วนสาคัญที่น่าสนใจในหน้าแฟนเพจดังกล่าว คือ การเขียนข้อความ (Comment) แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปภาพต่อกันไปเรื่อยๆท้ังในแง่ ลบและแง่บวก หรืออาจแสดงความสนใจกับภาพต่างๆโดยไม่ต้องการแสดงความคิดเห็นก็ สามารถทาไดโ้ ดยการกด “ถกู ใจ” (LIKE) แทน ซ่ึงการเขียนข้อความแสดงความคิดเห็นต่างๆ ส่วนใหญ่มักกล่าวถึงแนวคิดของการโครงการ ลักษณะการจัดการ การสืบทอดวัฒนธรรม เครือ่ งแต่งกาย ฝีมือของช่างกลอ้ ง เป็นต้น โดยมตี วั อยา่ งดังนี้ KO Chenk แพโ้ หวตกไ็ มเ่ ป็นไรครับ ขอใหม้ คี วามสุขในการถ่ายทอดภาพ ออกมาให้นางแบบชอบ มีคน ช่นื ชม...นางแบบมีความสขุ คนถา่ ยก็มีความสขุ เช่นกันครบั Phanuwat Nandee สวยแบบนข้ี อแชรเ์ ลย... Surapon Sujjavanich Beautiful Picture from the Great Artist/Great Photographer Smile Chaiporn สวยงามมากคะ้ ดูมีเสน่หแ์ ละเป็นเอกลักษณเ์ ฉพาะประจาถิ่นภเู กต็ ชอบคะ้ Anton Tromper I like this little filmstar! Tontaan Youphuket ขอบคุณทกุ ๆการกดไลค์ + แชร์นะครบั นางแบบเคา้ น่ารักจรงิ ชดุ กส็ วยหรดู ี ครับ ใสเ่ ดนิ ออกงานได้ไม่อายใครเลย เรามขี องดีอย่ใุ นมือแลว้ ลมื ชุดสากลไปไดเ้ ลยครับ Farik Suksanga สวยงาม มากครบั กลมกลนื ท้งั ชดุ ฉาก เเละพื้นของภาพ... สุริยา มโนขวญั หทัย อยากให้ชุดน้เี ป็นเคร่ืองแบบนักเรยี นแทนผา้ บาติกครบั Ma Dame Thip แสงและนางแบบทาให้ภาพดูมีชวี ติ ชวี าดจี ัง Sasiwimol Jangjai ดใี จจัง ท่ียงั มคี นเห็นคณุ ค่าวฒั นธรรมบ้านเรา Mohawk Cool งดงามจรงิ ๆ ชอบมาก งานศลิ ปลายผ้าควรอนรุ กั ษไ์ ว้ ภาพก็สวยมากทั๊งสี และ ความลง ตวั ของภาพ Roongus't Jantaropassakorn สวยคะ่ สายเส้ือ เกาะอก น่าจะเป็นสีเดียวกันค่ะ Thanes Rodjanateppasit แชรไ์ ปถึงเมกา เยอรมนั แรว้ 55+

๑๓๓ ตัวอย่างหน้า Facebook Fanpage ของโครงการการประกวดถ่ายภาพ มาราธอน “Baba Life Photo @Phuket ท่ีมา : @Tontaan Youphuket

๑๓๔ ทม่ี า : @Ohm Chan ทีม่ า : @Chen Ming Qi Micky

๑๓๕ การสนับสนุนประชาสมั พันธ์โครงการจากสือ่ มวลชนทอ้ งถิน่ ๕.๓.๒.๖ ปญั หาและ การจดั โครงการ อปุ สรรคใน

๑๓๖ ๑) การติดต่อกับภาครัฐท่ีผ่านการส่งหนังสือเป็นไปค่อนข้างล่าช้า จึงทาให้การ ดาเนินงานต่างๆไม่เปน็ ไปตามแผนงานทวี่ างไว้ จาเปน็ ต้องลดทอนการปฏิบัติงานหรือเปล่ียน แผนงา่ ยใหด้ างานการง่ายขึน้ ๒) การสนับสนุนจากกลุ่มตัวแทนชุมชนเมืองเก่าภูเก็ตดีมาก มีอัธยาศัยในการ ต้อนรบั ผู้เข้าแข่งขนั แตย่ กเว้นบางครอบครัวท่ีไมช่ อบให้มกี ารจดั กิจกรรมในลักษณะดังกล่าว หน้าบ้าน น่าเสียดายมากที่บางบ้านมีการจัดตกแต่งประดับประดาอย่างสวยงามแล้ว แต่ไม่ อนุญาตให้คนนอกเขา้ ไปถา่ ยรปู ๒) ระยะเวลาการแข่งขันประมาณ ๓ ชั่วโมงซึ่งเป็นระยะเวลาท่ียาวนานมาก ประจวบกับอากาศในช่วงเวลาดังกล่าวเป็นช่วงบ่ายท่ีค่อนข้างร้อนอบอ้าว กลุ่มผู้เข้าแข่งขัน อาจใช้เวลาเพียงแค่ ๑ ชั่วโมงในการเดินถ่ายภาพพักผ่อนในร้านกาแฟ หลังจากนั้นในช่วงท่ี กาลังจะหมดเวลา ก็ค่อยออกมาข้างนอกไปถ่ายรูปต่อ ส่วนบางคนก็อาจใช้เวลาเพียงไม่นาน ในการเดนิ ถ่ายภาพ แลว้ กต็ ดั สินใจเดินไปส่งภาพ ณ จุดรบั ภาพเลยทันที ๕.๓.๒.๗ ข้อเสนอแนะในการจดั กิจกรรมคร้ังต่อไป การจัดกิจกรรมที่มีระยะเวลาค่อนข้างนานแบบน้ีควรเพ่ิมกิจกรรมให้ผู้เข้าแข่งขัน รู้สึกไม่เบื่อในขณะทากิจกรรม เช่น อาจมีการผสมผสานกับการเล่นแรลล่ีหา RC การจัด กิจกรรมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้านวัฒนธรรมอ่ืนๆ เป็นตน้ ๕.๔ การจัดกจิ กรรมดา้ นการแตง่ กายในแถบจงั หวดั ชายฝ่ังทะเลอันดามนั ตอนใต้ วัฒนธรรมการแต่งกายบาบ๋า-เพอรานากันเป็นเสมือนการเช่ือมโยงสายใยของกลุ่มชาวจีน ลูกผสมในแถบชายฝ่ังทะเลอันดามัน นอกจากความร่วมมือร่วมใจของกลุ่มคนและชุมชนในจังหวัด ภูเก็ต จังหวัดใกล้เคียงท่ีมีประวัติศาสตร์ความเป็นมาของวัฒนธรมบาบ๋าอย่าง ระนองและพังงา ก็ ยังให้ความสาคัญกับวัฒนธรรมการแต่งกายในโอกาสพิเศษต่างๆ และยังมีการจัดเสวนาเก่ียวกับภูมิ ปัญญาการแต่งกายในระดับชุมชนท้องถ่ิน เพื่อให้กลุ่มคนที่เคยมีประสบการณ์หรือมีช่วงชีวิตในยุค สมยั นนั้ ๆมาเลา่ เรอ่ื งราวที่น่าสนใจเกีย่ วกับความเป็นมาของบรรพบุรุษ ความเช่ือและขนบธรรมเนียม ปฏิบัติของครอบครัวชาวจีนบาบ๋า และวิถีชีวิตที่มีการเปล่ียนแปลงตามช่วงเวลาของสังคม การจัด

๑๓๗ กิจกรรมเหล่านี้ถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นในการมองเห็นความสาคัญของการเผยแพร่ความรู้ประวัติศาสตร์ ทอ้ งถน่ิ โดยกลมุ่ คนในชุมชน ซ่งึ การสอ่ื สารผ่านการบอกเลา่ จากกลุ่มผูส้ ูงอายุ เป็นส่วนท่ีเยาวชนมักให้ ความสนใจมากกว่าการหาอ่านจากหนังสือ เพราะเป็นการทาความเข้าใจประวัติศาสตร์ท่ีมีชีวิตท่ี สอดแทรกด้วยเกร็ดเลก็ เกร็ดน้อยและเรื่องเล่าท่ีสนุกสนาน ผู้ฟังก็เกิดจินตนาการจากการฟังมากกว่า การทอ่ งจาจากเน้อื หาบทเรียนจนสามารถเข้าใจความเปน็ มา สถาบนั การศกึ ษา ชมุ ชน เยาวชน ผ้สู งู อายุ ๕.๔.๑ การจัดโครงการเสวนา “พสั ตราภรณล์ ้าค่า ภูมปิ ญั ญาค่เู มอื ง” ณ เมืองตะก่ัวป่า ชมรมอนุรักษ์วัฒนธรรมและอัตลักษณ์ท้องถิ่น “บาบ๋า” ฝ่ังอันดามัน (เมืองตะกั่วป่า) เป็น หนึง่ ในความสาเรจ็ ของการจัดต้ังกลุ่มเยาวชนเพื่อสืบสานวัฒนธรรมจีนบาบ๋าของชุมชนตะกั่วป่า โดย ผู้ก่อตั้งชมรมดังกล่าวคือ กลุ่มนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนตะก่ัวป่า “เสนานุกูล” จงั หวัดพังงา และได้รับการสนับสนุนในการจัดกิจกรรมต่างๆจากกลุ่มคณาจารย์ของโรงเรียน รวมถึง หน่วยงานของภาครัฐ และกลุ่มคนในชมุ ชนตะกั่วปา่ ซ่งึ ชุมชนดงั กล่าวเปน็ ชมุ ชนชาวไทยเชื้อสายจีนที่ มตี ้นกาเนดิ เดียวกับชาวจนี ในจงั หวัดภูเก็ต เน่ืองด้วยความใกล้เคียงทางภูมิศาสตร์ระหว่างสองพ้ืนที่นี้ และเปน็ แหลง่ แรด่ บี ุกทม่ี คี ณุ ภาพสามารถนาส่งออกขายในต่างประเทศได้ จนท้ังภูเก็ตและตะก่ัวป่าได้ ชอื่ ว่าเปน็ เมืองพเี่ มืองน้องกัน ความสาคญั ทางเศรษฐกิจจึงทาให้กลุ่มชาวจีนบางส่วนเกิดความสนใจท่ี จะตงั้ รกรากในพ้ืนทีด่ งั กล่าว และย้ายถน่ิ ฐานกระจายตัวไปอย่ใู นสว่ นอ่นื ๆของพังงา เช่น ตะกั่วทุ่ง กะ ไหล ท้ายเหมอื ง เป็นต้น ชุมชนชาวตะกั่วป่าหลังจากผ่านยุคความเจริญรุ่งเรืองของเหมืองแร่ กลายเป็นชุมชนท่ีมี ความสาคัญในการเป็นศูนย์กลางของการแลกเปลี่ยนสินค้าลดน้อยลง บริษัทห้างร้านต่างๆก็เร่ิมให้ ความสนใจในการทาอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวใกล้บริเวณชายหาดหรือแหล่งท่องเที่ยวทางทะเล

๑๓๘ มากกว่า จึงทาให้กลุ่มคนหนุ่มสาวในชุมชนเร่ิมออกจากพ้ืนที่เพ่ือไปหางานทาที่อ่ืนๆมากขึ้น กลุ่มคน สว่ นใหญ่ทยี่ งั คงอาศัยอยู่ในตะก่ัวป่าจะเป็นวัยชราและวัยเด็ก ส่วนวัยหนุ่มสาวก็มักจะไปเรียนที่เมือง หลวงในระดับมหาวิทยาลัยหรืออาจไปทางานในบริษัทระดับประเทศหรือต่างประเทศ นอกจากน้ี เมืองตะกั่วป่ายังพบกับสภาวะความลาบากจากการเผชิญเหตุน้าหลากในทุกๆปี จึงทาให้เกิดการ พัฒนาการปรับปรุงรูปแบบทางสถาปัตยกรรมเพื่อให้เข้ากับสภาพแวดล้อมทางกายภาพ แต่ก็ยัง ปรากฎลักษณะด้ังเดิมของตึกรามบ้านช่องที่ได้รับอิทธิพลจากการผสมผสานระหว่างความเป็น ตะวันตกและตะวันออก ซ่งึ ผ่านการพัฒนาและส่งต่อจากเมืองปีนังและเมอื งภเู กต็ ตามลาดบั ต้ังแตป่ ี ๒๕๕๐ ชมุ ชนตะกวั่ ป่าไดร้ บั การปรับปรงุ และฟ้นื ฟเู มอื งโดยกลุ่มผู้นาในชุมชนอีกคร้ัง โดยทางชุมชนได้รับทุนสนับสนุนจากกองทุน SME ให้จัดโครงการ “ถนนคนเดินเมืองตะก่ัวป่า” ใน ทุกวนั อาทิตย์ของเดือนตลุ าคมถึงต้นเดือนพฤษภาคมของทุกปี เป็นช่วงเวลาที่มีกลุ่มนักท่องเที่ยวเดิน ทางเข้ามาในประเทศมากที่สุด การจัดงานเกิดจากความร่วมมือร่วมใจของคนในชุมชน กลุ่มคน ผู้สูงอายุมักจะทาอาหารพื้นเมืองมาขายและร่วมใจกันแต่งกายแบบชาวจีนบาบ๋า คือ นุ่งผ้าถุงและใส่ เส้ือลูกไม้บ้างหรือเสื้อคอตั้งแขนจีบบ้าง ส่วนกลุ่มคนหนุ่มสาวก็เลือกที่จะคิดทากิจกรรมสร้างสรรค์ ต่างๆเพ่ือส่งเสริมการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถ่ิน เช่น การจัดทากระดานรวบรวมคาภาษาจีนถิ่นใต้ไว้ กลางชมุ ชน เพอ่ื ใหค้ นท้องถน่ิ ท่ีผา่ นไปมาเข้ามารว่ มสนุกในการช่วยกันเขียนคาใต้ลงบนกระดาน การ ขายของที่ระลึกที่มีทั้งแนวคิดของความเป็นท้องถ่ินและความทันสมัย นอกจากน้ียังมีการจัดเทศกาล หรอื ประเพณที ี่สาคญั ต่างๆทีห่ วนให้ระลกึ ถึงความเป็นชุมชนชาวจีน เป็นต้น การจัดการที่ต่อเน่ืองกัน เป็นระยะเวลา ๕ ปี ทาให้ชุมชนตะกั่วป่าเป็นท่ีรู้จักของกลุ่มนักท่องเท่ียวท้ังชาวไทยและชาว ต่างประเทศ และกลุ่มนักวิชาการผู้สนใจศิลปวัฒนธรรมท้องถ่ินของชาวจีนโพ้นทะเล จนชุมชน ดังกล่าวเริ่มมชี ีวิตชวี าและเปน็ ทีส่ นใจของวัยหนุ่มสาวได้เขา้ มาเที่ยว ชม กินมากย่งิ ขึ้น แมช้ ุมชนตะกั่ว ป่ายังคงเป็นชุมชนท่ีมีความเงียบสงบไม่เหมือนกับชุมชนชาวจีนบาบ๋าถ่ินอ่ืนๆอย่างภูเก็ตหรือระนอง แต่ความเป็นลักษณะเมืองชนบททาให้การดารงวิถีชีวิตของคนในชุมชนเป็นไปอย่างเรียบง่ายและ ค่อยๆเปลย่ี นแปลงไปอยา่ งช้าๆ และมคี วามโดดเด่นท่ไี ม่เหมือนใคร การจัดงาน “พัสตราภรณ์ล้าค่า ภูมิปัญญาคู่เมือง” เป็นลักษณะงานเสวนาเพ่ือให้คนใน ชุมชนเห็นความสาคญั ในการแต่งกายแบบชาวจีนบาบ๋า ซ่ึงจัดขึ้นในวันอาทิตย์ท่ี ๑๐ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ โรงเรียนตะกั่วป่า เสนานุกูล อาเภอตะก่ัว จังหวัดพังงา โดยการจัดงานดังกล่าวได้กาหนด วัตถุประสงค์ คือ ๑) เพื่อสร้างความตระหนักให้คนในชุมชน และกลุ่มธุรกิจการท่องเท่ียว

๑๓๙ ผู้ประกอบการโรงแรม อบต. และธุรกิจท่ีมีส่วนได้ประโยชน์จากการท่องเที่ยวได้ศึกษาความเป็นมา ของวัฒนธรรม และอัตลักษณ์การแต่งกายของกลุ่มบาบ๋าฝั่งอันดามัน รวมถึงประวัติศาสตร์ความ เปน็ มาของบ้านเมอื งอยา่ งเปน็ รปู ธรรมทช่ี ัดเจนข้นึ ๒) เพื่อกระตุน้ ให้คนรุ่นใหม่หันมาสนใจวัฒนธรรม ท้องถ่ิน อันประกอบด้วย การแต่งกาย อาหาร ประเพณี งานฝีมือ และภูมิปัญญาท้องถ่ิน ๓) เพ่ือ ส่งเสริมบทบาทของเยาวชนที่มีจิตอาสา ได้แสดงออกซ่ึงศักยภาพ และเป็นการเพิ่มทักษะใน กระบวนการสร้างสรรคผ์ ลงานที่มคี ณุ คา่ สสู่ ายตาชุมชน ๔) เพ่ือดึงดูดให้นักท่องเท่ียวและคนในชุมชน ท่ีสนใจเรียนรู้ความเป็นมาของวัฒนธรมเก่าแก่ได้ร่วมกันสร้างประสบการณ์ให้ตนเอง โดยได้ ดาเนนิ การจดั กจิ กรรมใหค้ นในชุมชนแตง่ ชดุ บาบ๋าเข้ามาร่วมงาน ลักษณะการจัดงานแบ่งออกเป็น ๒ ส่วนคือ ๑) การจัดแสดงเคร่ืองแต่งกายและ เครื่องประดับประดาท่ีมีอายุมากกว่า ๑๐๐ ปีจากคนในชุมชนผู้เป็นเจ้าของมรดกทางวัฒนธรรม เคร่ืองแต่งกายมาจัดแสดงในงาน โดยมีทั้งผ้าถุงปาเต๊ะ เสื้อเคบายา เส้ือลูกไม้ และชุดครุยที่มักใส่ใน งานพิธีมงคลสมรส ๒) การจัดเสวนาให้ความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับประวัติศาสตร์ท้องถ่ินตะก่ัวป่าท่ี เชื่อมโยงกับพื้นท่ีอื่นๆในฝั่งทะเลอันดามันโดยปราชญ์ท้องถ่ิน และการบรรยายข้อมูลเก่ียวกับเครื่อง แต่งกายบาบ๋าโดยนักวิชาการท้องถิ่น อาจารย์จรินทร์ นีรนาทวโรดม ซ่ึงส่วนท่ีน่าสนใจของงานดัง กล่าวคือ การรณรงค์ให้ผู้เข้าร่วมงานทั้งกลุ่มเยาวชนหรือนักเรียนในโรงเรียน คณาจารย์ และกลุ่ม บุคคลในชุมชนท่ีสนใจแต่งชุดบาบ๋าท้ังในรูปแบบของเสื้อคอตั้งแขนจีบหรือชุดลูกไม้กับผ้าถุงปาเต๊ะ นอกจากนยี้ งั มกี ารแตง่ ชุดครุยเจา้ สาวตกแต่งดว้ ยเคร่อื งประดับต่างๆอีกด้วย หลังจากน้ันจึงมีการเดิน แฟชั่นโชว์เพือ่ นาเสนอความสวยความของเครอ่ื งแตง่ กาย

๑๔๐ ๕.๔.๒ การจดั โครงการ “การสบื สานวฒั นธรรมชุมชน ศิลปวัฒนธรรมการแตง่ กายชดุ พ้นื เมอื ง” จังหวัดระนองเป็นพื้นท่ีที่มีความสาคัญทางประวัติศาสตร์ในแง่ของการ เป็นพื้นที่เช่ือมโยง ระหว่างส่วนกลาง (กรงุ เทพมหานคร) กบั ภาคใต้บริเวณชายฝ่ังทะเลอันดามัน ในช่วงรัชกาลที่ ๓ ได้มี ชาวจีนฮกเก้ียนเข้ามาอาศัยอยู่ในบริเวณแห่งนี้เพ่ือทาเหมืองแร่เป็นจานวนมาก และในช่วงปลายรัช สมัยต่อมา ได้มีคบหดีนักธุรกิจเหมืองแร่ท่านหนึ่งมีนามว่า คอซูเจี้ยง เป็นชาวจีนฮกเก้ียนจาก แผ่นดินใหญ่ ประกอบคุณงามความดีเป็นเศรษฐีท่ีมีจิตใจโอบอ้อมอารีดูแลทุกข์สุขของประชาชนจน เป็นที่รกั ใครข่ องคนในแถบบรเิ วณนัน้ ประจวบกับเมืองระนองเป็นชายแดนติดกับพม่า ซ่ึงในขณะน้ัน เปน็ หน่งึ ในประเทศทอ่ี ยู่ภายใตก้ ารปกครองขององั กฤษ เกรงว่าหากไมม่ ีผูด้ ูแลอาจทาให้เกิดการขยาย อาณาเขตการปกครองได้ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจา้ อยจู่ งึ ไดพ้ ระราชทานตาแหน่งคอซูเจ้ียงให้ เป็นผู้สาเร็จราชการเมืองระนอง ลูกหลานของท่านเองก็ต่างเป็นบุคลากรท่ีมีความสามารถทางด้าน การเมืองการปกครอง ตัวอย่างเช่น คอซิมบี้ หรือ พระยารัษฎานุประดิษฐ์มหิศรภักดี เจ้าเมืองตรัง และต่อมาเป็นสมุหเทศาภิบาลมณฑลภูเก็ต เป็นนักพัฒนาเมืองท่ีทาให้หัวเมืองทางใต้แถบชาวฝ่ัง ทะเลอันดามันของไทยเจริญรุ่งเรืองข้ึนมาก เป็นต้น ตั้งแต่นั้นต่อมาตระกูล ณ ระนอง จึงกลายเป็น ตระกูลของชาวจีนฮกเกี้ยนในยุคต้นรัตนโกสินทร์ท่ีมีความสาคัญต่อการสร้างบ้านแปงเมืองจนทาให้ เปน็ ท่เี คารพนับถอื ของประชาชนในแถบจังหวัดทางภาคใต้ และเป็นแบบอย่างของผู้สร้างความเจริญ งดงามทางความคิดและการดาเนินวถิ ชี วี ติ ใหแ้ กล่ กู หลานสืบตอ่ ไป

๑๔๑ การลงพืน้ ที่ในจังหวัดระนองได้พบผู้ให้ข้อมูล ๒ ประเภท คือ ผู้สืบทอดมรดกทางวัฒนธรรม และผู้มีบทบาทในการสร้างความเข้าใจในการแต่งกายแบบบาบ๋าเพอรานากันในชุมชนระนอง โดย การสมั ภาษณ์บคุ คลทงั้ สองไดจ้ ดั ทาขน้ึ ตามรายละเอยี ด ดงั น้ี บคุ คลท่ี ๑ อาจารย์พรชิต ศรบี ุญเรือง ผู้อานวยการวิทยาลยั ชุมชนระนอง วนั ทส่ี ัมภาษณ์ วนั ที่ ๒๕-๒๖ เมษายน ๒๕๕๖ อาจารย์พรชิตเป็นผู้มีบทบาทในการจัดทาโครงการ “การจัดการความรู้เพ่ือสืบสาน วฒั นธรรมชุมชน” ตามนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในการจัดวางกรอบแนวคิด ในการพัฒนาด้านการศึกษา โดยมีจดุ มุ่งหมายในการพัฒนาการศึกษาสู่การสร้างอาชีพและรายได้ของ คนในพ้ืนท่ี ซึ่งเป็นวัตถุประสงค์ท่ีแสดงให้เห็นผลลัพธ์สู่คนในชุมชนโดยตรงภายในระยะเวลา ๒ ปี ตั้งแต่ปี ๒๕๕๕-๒๕๕๖ โดยได้จัดทาโครงการเชิงพัฒนาเพ่ือสร้างเสริมให้เกิดความเข้มแข็งภายใน ชุมชน รวมท้ังสิ้น ๕ โครงการ และหนึ่งในโครงการดังกล่าว คือ “โครงการสืบสานวัฒนธรรมชุมชน ศลิ ปวฒั นธรรมการแต่งกายชดุ พืน้ เมืองระนอง” ทผ่ี ่านมา ทางวทิ ยาลัยชุมชนระนองได้จัดทาโครงการ เกยี่ วกับการสง่ เสรมิ กิจกรรมการแตง่ กายทีเ่ ปน็ รปู ธรรมรวมทง้ั สิ้น ๕ โครงการ ไดแ้ ก่ ๑) การเก็บข้อมลู เชิงลึกในพ้ืนทจ่ี ังหวัดระนอง โดย ๒) การจดั โครงการทศั นศกึ ษาทางดา้ นวัฒนธรรมบาบา๋ โดยทางวิทยาลัยชุมชนระนองได้จัด ให้สมาชิกสภาวัฒนธรรมจังหวัดและตาบลท่ีเก่ียวข้องไปศึกษาดูงานและเรียนรู้ เส้นทาง ของชาวจีนโพ้นทะเล และวิธีการจัดการวัฒนธรรมในจังหวัดภูเก็ต แหล่งเรียนรู้ท่ีสาคัญ คือ บ้านชินประชา พิพิธภัณฑ์ไทหัว พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติถลาง ซึ่งทางวิทยาลัย ชุมชนระนองมีความคิดเริ่มต้นที่ว่า คนในชุมชนเมืองระนองเองมีความรู้ทางด้าน วัฒนธรรมของตนเองจากประสบการณ์ตั้งแต่เด็กๆ แต่จะทาอย่างไรให้เกิดการรวบรวม และประสานความรู้เหล่านั้นให้เป็นองค์ความรู้ และการจัดระบบความรู้เหล่าน้ีควรจะ ทาใหเ้ กิดข้ึนโดยกลุ่มคนในชุมชนเองเพื่อใหเ้ กิดความภาคภูมิใจในการดารงตนของบรรพ บุรุษ ตามทฤษฎีของบริหารการจัดการความรู้ภายในชุมชน (Knowledge management) โดยมีหลักคิดท่ีว่า ความรู้ไม่ได้อยู่ที่สถานศึกษา แต่อยู่ท่ีคนในชุมชน ทง้ั หมด จะทาอย่างไรใหค้ วามรเู้ หล่านั้นผา่ นกระบวนการการรวบรวม การเผยแพร่ การ นาไปใช้ประโยชน์ ส่วนหนึ่งเม่ือหลักการเหล่านี้เช่ือมโยงกับความเป็นวัฒนธรรมพื้นถ่ิน

๑๔๒ แลว้ ควรจะเปน็ ไปในลักษณะของการฟ้ืนฟูและสืบสานจากตานานเก่าๆ และทาให้คนใน ชุมชนเห็นคุณค่า มิใช่เพียงแต่การแต่งกายสวยงามเพ่ือมาอวด เห็นคุณค่า แต่งให้เป็น และใหเ้ หมาะสมกับโอกาส ๓) โครงการการจดั เสวนา ‘เมืองระนองชวนเล่าขาน ตานานแห่งพัสตราภรณ์’ ในวันที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๕๕ ซ่ึงได้มีการประชาสัมพันธ์โครงการทางสื่อวิทยุโดยได้รับการสนับสนุน จากส่ือท้องถิ่นและสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย จังหวัดระนอง การจัด โครงการนี้เป็นฐานของการพัฒนาด้านการส่งเสริมวัฒนธรรมโดยใช้วิธีการ (Project- based) ได้รับเลือกจากให้เป็นโครงการที่อยู่ในระดับท่ีเด่นมากในบรรดาโครงการ ทางด้านวัฒนธรรมของวทิ ยาลัยชุมชนทั้ง ๑๙ แห่ง จึงได้มีโอกาสได้ไปถ่ายทาในรายการ โมเดริ ์นไนน์ทีวี โดยการจดั เสวนาในคร้ังนี้มวี ิทยากรรบั เชิญท้งั หมด ๕ ท่าน ได้แก่ ๒.๑) คุณโกวิทย์ ผกามาศ วัฒนธรรมจังหวัดระนอง เป็นผู้ท่ีมีฐานองค์ความรู้ ด้านวัฒนธรรมระนองศึกษา ๒.๒) คณุ โกศล ณ ระนอง ทายาทรุน่ ที่ ๕ ของตระกูลเจ้าเมืองระนอง เป็นผู้บอก เล่าตานานเมืองระนอง เป็นผู้ดูแลมรดกและเปน็ ตวั แทนของตระกูล ณ ระนอง ๒.๓) อาจารย์อรทัย เจริญพร ผู้อานวยการโรงเรียนหมิงซิน เป็นนักวิชาการ ทอ้ งถ่นิ และเปน็ ลูกหลานดั้งเดมิ ชาวจีนระนองที่สมั ผัสวฒั นธรรมการแต่งกายตง้ั แตเ่ ด็กๆ ๒.๔) คุณจรญู รตั น์ ตันทวาณิชย์ สะใภ้ของบ้านชินประชา (ตระกูลขุนนางที่มีชื่อ ของภูเกต็ ) เปน็ ผูส้ ืบทอดมรดกเครื่องแตง่ กายและเปน็ ผเู้ ช่ยี วชาญเคร่อื งประดับ ๒.๕) คุณจรินทร์ นารถนโรดม ชาวตะกั่วป่าท่ีแนะนาตัวเป็นผู้เช่ียวชาญด้านการ แต่งกายแบบชาวบาบ๋า และอาจารยพ์ ิเศษท่มี หาวิทยาลัยราชภัฎภูเกต็ ๔) การจัดนิทรรศการภายใตห้ วั ข้อท่ีมชี ือ่ ว่า “เล่าเมืองระนอง เฉลิมฉลอง ๑๕๐ ปี” ในงาน “๑๕๐ ปีเมอื งระนอง” ณ คา่ ยเจา้ เมืองระนอง ในอาคารพักอาศัยของพระยาประดิพัทธ ภบู าล (รนุ่ ท่ี ๓ ของตระกลู ณ ระนอง) โดยมเี ครอื ข่ายจากอาจารย์ผสู้ นใจ ๕) การจัดทาเอกสารเกี่ยวกับงานเสวนา ‘เมืองระนองชวนเล่าขาน ตานานแห่งพัสตรา ภรณ์’ และเอกสารเผยแพร่ความรู้เกยี่ วกับการแต่งกายพนื้ เมือง โครงการที่ทางวิทยาลยั ชมุ ชนกาลงั จะจัดอย่างตอ่ เน่ืองหลังจากนี้ คือ การจัดเตรียมหลักสูตร ระนองศึกษา เพ่ือให้ประชาชนชาวระนองเกิดความต่ืนตัวในการหันกลับมาสนใจประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและวิถีชีวิตด้ังเดิมของชาวระนอง ซึ่งมีความสาคัญในแง่ของการเป็นการสร้างจุด

๑๔๓ ยทุ ธศาสตรก์ ารฟ้นื ฟวู ฒั นธรรมบาบา๋ ในด้านต่างๆให้เกิดข้ึน เช่น ด้านภาษา ด้านเคร่ืองแต่งกาย ด้าน อาหาร ด้านสถาปัตยกรรม ด้านประเพณี เป็นต้น นอกจากน้ียังมีการจัดทาหลักสูตรอบรมระยะส้ัน เก่ยี วกบั การแต่งกายแบบบาบ๋ายาหยาอย่างถูกวิธีให้แก่ข้าราชการและพนักงานในหน่วยงานราชการ ผู้ประกอบการตัดเย็บเสื้อผ้า พนักงานในบริษัทท่องเท่ียวและโรงแรม รวมถึงบุคคลทั่วไปที่สนใจ ซ่ึง รายละเอียดของหลักสูตรดังกล่าวคือ “ศิลปะของผ้าปาเต๊ะกับการสวมใส่ ประกอบด้วยเนื้อหาท่ี สาคัญคือ การเลือกซ้ือผ้าอย่างมีรสนิยม (การเลือกลวดลายและสีสันของเส้ือและผ้าถุงให้เข้ากัน) ลักษณะการตัดเยบ็ และวางแบบเคร่ืองแต่งกายเพื่อให้เหมาะกับบุคลิกและโอกาสในการนาไปใช้ เพื่อ สร้างมูลค่าเพ่ิมให้แก่เคร่ืองแต่งกาย โดยการฝึกการตัดเย็บผ้าถุงสาเร็จ แต่คนสมัยโบราณไม่นิยมตัด เย็บผ้าถุงเพราะสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้มากกว่า เช่น นาไปปูที่นอน ผูกเปล ห่อของ ทาเป็น ผ้าอ้อม และบั้นปลายของผ้าถุงคือการทาผ้าเช็ดเท้า แสดงให้เห็นถึงวงจรการใช้ประโยชน์ของผ้า ดังน้ัน นอกจากการแนวคิดเรื่องการสอนการตัดเย็บผ้าถุง สาวบาบ๋าควรรู้วิธีการแต่งกายบาบ๋าอย่าง ถกู วธิ ี โดยเฉพาะการนุ่งผ้าถงุ ซง่ึ เปน็ ศลิ ปะอยา่ งท่นี ่าสนใจ ด้วยลวดลายและความงดงามที่เสริมบารมี ใหแ้ กผ่ ู้ทีส่ วมใส่ การเรียนรวู้ ธิ ีการนงุ่ ใหถ้ ูกวิธีนั้นจึงเป็นส่ิงที่ต้องคานึงถึงเป็นอันดับสาคัญ ลวดลายผ้า ปาเต๊ะส่วนใหญ่เป็นลายดอกไม้ ผีเส้ือ นกยูง ฯลฯ สะท้อนให้เห็นถึงแนวคิดที่ว่าชาวจีนเลียนแบบ ความเป็นอยแู่ บบธรรมชาติ เป็นภูมิปัญญาทางความคิดในการเลือกลวดลายต่างๆแสดงถึงบุคลิกของ ผสู้ วมใส่ เม่ือแรงกระตุ้นทางวัฒนธรรมได้เกิดข้ึนในส่วนของภาครัฐและเอกชน กลุ่มต่อไปที่ทาง วิทยาลยั ชมุ ชนดารสิ ร้างใหเ้ กดิ ขนึ้ คือ เยาวชน โดยมีคุณครหู รืออาจารย์ในโรงเรียนให้ความสาคัญโดย การอาจจะนาเครื่องแต่งกายบาบ๋ามาทาเป็นชุดประกอบการแสดง และนาเพลงตานานเมืองระนอง มาคิดค้นกระบวนทา่ ราต่างๆ ขณะนีใ้ นสถานศกึ ษาเองมีกลุ่มอาจารยค์ หกรรมที่มีความสามารถในการ ประดษิ ฐ์ประดอย เมื่อได้เห็นมงกุฎดอกไม้ไหวก็ได้พยายามรวบรวมความรู้และจัดทาเครื่องประดับคู่ กบั เคร่ืองแตง่ กายบาบ๋า เชน่ ดอกไม้ประดบั ผม มงกฎุ ดอกไมไ้ หว กระเป๋า กลายเปน็ ผลิตภณั ฑ์ใหม่ นอกจากน้ี อาจารยพ์ รชติ ยังใหท้ ัศนะเก่ยี วกับการเปล่ียนแปลงของเคร่ืองแต่งกายบาบ๋าไว้ว่า “แฟชน่ั ไมต่ าย เพียงแต่มีรูปแบบท่ีเปล่ียนไป ข้ึนอยู่กับความนิยมชมชอบของแต่ละบุคคล บ้างก็ชอบ เคร่ืองแต่งกายแบบด้ังเดิม โดยเฉพาะคนรุ่นเก่าที่ชอบพูดว่า แบบนี้ไม่ใช่ชุดของคนระนอง แต่พอไป ทาวิจัยค้นคว้าจริงๆแล้ว ชุดของคนระนองมีความหลากหลายมาก เพราะท่ีนี่เป็นชุมชนแบบพหุ วัฒนธรรมประกอบด้วยกลุ่มชาวมุสลิมด้ังเดิม ชาวไทย ชาวจีน ชาวจีนผสมไทย ชาวจีนผสมแขก มลายู หรือแม้แต่ชาวพม่า กลุ่มคนเหล่าน้ีคือตัวแทนของผู้มีวิถีชีวิตท่ีแตกต่างกัน คนเราไม่ได้ชอบ

๑๔๔ เหมือนกัน คนบางคนชอบความสวยงามก็มีความสุขในแบบตนเองก็อาจจะนาไปประยุกต์ หรือบาง คนก็อาจพึงพอใจกบั เสน่หเ์ ครื่องแตง่ กายแบบเก่าโบราณ ก็เพราะรสนิยมของคนเราไม่เหมือนกัน มัน คือสุนทรียะของแต่ละบุคลหรือความสุขทางใจ” จากแนวคิดดังกล่าวทาให้สามารถทาความเข้าใจ พลวัตของเครื่องแต่งกายบาบ๋าท่ามกลางสภาวะการเปล่ียนแปลงของโลกที่หมุนไปอย่างรวดเร็ว ประกอบด้วยสองแนวคิดคือ หากส่ิงหน่ึงคือมรดกท่ีสืบทอดกันมาจากรุ่นสู่รุ่นก็ทาให้ส่ิงนั้นกลายเป็น ส่งิ ท่มี คี ุณคา่ ทางใจและผ้สู ืบทอดจะยังคงรกั ษาส่งิ ๆนนั้ ไม่มีวันเปลี่ยนแปลง แต่วัฒนธรรมการแต่งกาย อาจมโี อกาสทีจ่ ะแตกหนอ่ ออกผลไปตามกาลเวลา เพราะฉะน้ัน การเปล่ียนแปลงจึงไม่ใช่สิ่งท่ีผิดหาก ผู้สวมใส่เข้าใจหลักการผสมผสานความเชื่อด้ังเดิมกับการประยุกต์ใหม่ และปรับใช้ให้เข้ากับความ ตนเองอย่างเหมาะสม ผลลัพธ์ของโครงการท่ีปรากฏให้เห็นในปัจจุบัน คือ ความนิยมในการแต่งกายแบบบาบ๋ายา หยาเพ่ิมมากข้ึนโดยเฉพาะเม่ือมีงานประเพณีต่างๆ ชาวบาบ๋าระนองเร่ิมไปค้นหาเคร่ืองแต่งกายและ เครื่องประดับของบรรพบรุ ุษ แทนที่จะเอาไปให้คนอ่ืนหรือเผาทิ้ง และการท่ีหน่วยงานราชการเริ่มให้ ความสาคญั ในการสรา้ งนโยบายให้ข้าราชการและพนักงานของรัฐแต่งกายชุดพ้ืนเมืองเป็นเครื่องแต่ง กายแบบบาบ๋าสัปดาห์ละ ๑ วัน จากที่เม่ือก่อนไม่มีการสนับสนุนการจัดทานโยบายดังกล่าว นอกจากน้ี การเปล่ียนแปลงที่เห็นได้ชัดคือ ทัศนคติของผู้สวมใส่เคร่ืองแต่งกายบาบ๋า กลุ่มคนทางาน ในส่วนราชการเคยมองว่าชุดยาหยาเป็นชุดของคนมีอายุใส่แล้วดูแก่หรือแต่งตัวไปทาบุญที่วัด จึงไม่ ค่อยมีใครกล้าแต่งตัวดังกล่าวมาทางานหรือไปงานสาคัญๆ แต่ในปัจจุบันความคิดของคนรุ่นใหม่ เก่ียวกับการแต่งกายบาบ๋าได้เปล่ียนไป เป็นเพราะการรู้จักเลือกเครื่องแต่งกายและรูปแบบการตัด เย็บชดุ ให้เหมาะสมกับวัยของผู้สวมใส่ การตัดเย็บเส้ือลูกไม้ต่อดอกตามรูปแบบที่ทันสมัยข้ึน เม่ือลอง สวมใส่ไปงานพิธีสาคัญก็มักจะมีผู้คนมาชมว่าชุดสวยงามมาก จึงทาให้ผู้สวมใส่ท่ีเคยมีความคิดในแง่ ลบกับเคร่ืองแต่งกายเหล่าน้ี เกิดความเข้าใจว่า จริงๆแล้วเครื่องแต่งกายที่สง่างามมิได้อยู่ท่ีช่วงเวลา หรอื อายเุ พียงอย่างเดียว แต่อยทู่ ่รี สนิยมในการเลือกสรรเคร่ืองแต่งกายเหล่าน้ันด้วย ช่างตัดเย็บเองก็ เป็นผู้ที่สามารถชี้นาให้คนในสังคมแต่งกายอย่างถูกต้องและเหมาะสมได้ และขณะน้ีร้านผ้าลูกไม้ใน ระนองเองก็รับเอามาจาหน่ายในปริมาณที่มากกว่าแต่ก่อน ๒ – ๓ เท่า ซึ่งเป็นตัวช้ีวัดได้ว่า ผู้คนใน ชุมชนกาลงั ใหค้ วามสนใจในการแตง่ กายบาบ๋าเพม่ิ มากขึ้น บทบาทและหน้าท่ีของวิทยาลัยชุมชนเกี่ยวกับการสืบสานการแต่งกายบาบ๋ามิได้เป็น เพียงผู้ ลงมือลงแรงขับเคล่ือนให้วัฒนธรรมเหล่าน้ีดารงไปได้ แต่เป็นผู้ผลักดันให้สมาชิกในชุมชนเกิด ความรู้สึกถึงการช่วยกันทาให้เกิดการสืบทอดด้วยตนเอง และด้วยความสัมพันธ์ทางประวัติศาสตร์

๑๔๕ และภูมิศาสตร์ทาให้ชุมชนชาวบาบ๋าในแถบชายฝ่ังอันดามันมีวัฒนธรรมต่างๆที่คล้ายคลึงกัน ดังน้ัน วัฒนธรรมการแต่งกายจึงควรให้ชื่อว่า “วัฒนธรรมการแต่งกายบาบ๋าอันดามัน” เพ่ือส่งเสริมการ รวมตัวของกลุม่ สมาชกิ ลกู หลานชาวบาบา๋ ไทยในแถบภาคใตช้ ายฝง่ั อนั ดามนั ใหแ้ น่นแฟ้นมากย่งิ ข้ึน

๑๕๒ บทที่ ๖ สรปุ ผลการวิจัย อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ ๖.๑ ความนา การจัดเก็บและรวบรวมมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม “การแต่งกายของชุมชนบาบ๋า- เพอรานากนั ” มวี ตั ถุประสงคเ์ พ่อื คน้ หาระบบความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวการแต่งกายของชาวบาบ๋า ภูเก็ตในขอบเขตของประเทศไทย เพ่ือว่ากระบวนการรวบรวม และจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการ แต่งกายของชาวบาบ๋าภูเก็ตบาบ๋าน้ีจะกระตุ้นชุมชนชาวภูเก็ตให้เห็น ความสาคัญของประเพณี และให้เกิดจิตสานึกที่จะเคล่ือนไหวทากิจกรรม สงวนรักษาการแต่งกายของชาวบาบ๋าภูเก็ตให้ สืบทอดต่อไปในบริบทท่ีเหมาะสม และเพ่ือนาไปสู่การเสนอให้การแต่งกายของชาวบาบ๋าภูเก็ต เป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธ์ุบาบ๋าในขอบเขตของประเทศไทยและของโลก ในกาลข้างหนา้ โดยในการจัดเก็บและรวบรวมข้อมูลในคร้ังน้ีได้ใช้เครื่องมือหลากหลายประเภท ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูลท้ังในเชิงปริมาณและในเชิงคุณภาพ เพ่ือตอบโจทย์วิจัยที่สาคัญจานวน ๒ ข้อ ได้แก่ (๑) จะมีวิธีการ/กระบวนการอย่างไรในการที่จะได้มาซ่ึงข้อมูลท่ีตรงกับข้อเท็จจริง เกี่ยวกับการแตง่ กายของชาวบาบ๋าภูเก็ตเพื่อที่จะนามาใช้ประโยชน์ในการปกป้องคุ้มครองมรดก ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม (๒) จะมีวิธีการ/กระบวนการอย่างไรในการกระตุ้นสานึกของเจ้าของ วัฒนธรรมให้ร่วมกันปกป้องคุ้มครอง และสืบทอดการแต่งกายของชาวบาบ๋าภูเก็ตอันเป็นมรดก ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของตนเองเพื่อรับใช้คนในชุมชนเจ้าของวัฒนธรรมโดยการรื้อฟ้ืนและ การสืบทอดนน้ั ต้องครบเคร่ืองเรอื่ งสืบทอดท้งั ส่วนท่ีเป็น “รูปแบบ” และส่วนที่เป็น “คุณค่าและ ความหมาย” ดงั นั้น ผูว้ จิ ัยจึงได้เก็บรวบรวมขอ้ มลู และจดั กจิ กรรมต่างๆเพื่อให้สอดคล้องกับโจทย์วิจัย โดยได้ผ่านกระบวนการต่างๆ ได้แก่ การสัมภาษณ์ตระกูลและบุคคลท่ีเป็นท้ังผู้ผลิต ผู้ถือครอง และสืบทอดมรดกภูมิปัญญาการแต่งกายบาบ๋าเพอรานากัน และผู้ขายเครื่องแต่งกายทั้งในอดีต และปัจจุบัน จานวนท้ังส้ิน ๓๐ คน การสารวจงานประเพณีหรือกิจกรรมที่ได้มีการส่งเสริมและ สนับสนุนการแต่งกายให้เกิดขึ้นในชุมชนจีนบาบ๋าบริเวณชายฝั่งทะเลอันดามันภาคใต้ของไทย ต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน การจัดเวทีคืนความรู้สู่เยาวชนและบุคคลท่ัวไปในชุมชน และการจัด กิจกรรมเพ่ือกระตนุ้ ความสนใจเรื่องเคร่ืองแต่งกายในกลมุ่ ลกู หลานชาวภูเก็ต ๖.๒ สรุปผลการรวบรวมขอ้ มลู

๑๕๓ ๕.๒.๑ การได้มาซึ่งสาระความรู้เกี่ยวกับเครื่องแต่งกายของชุมชนบาบ๋าเพอรานากัน เปน็ การรวบรวมจากกล่มุ ผู้ผลิตในประเทศอินโดนีเซีย กลุ่มผู้ค้าขายเคร่ืองแต่งกายในชุมชน และ กลุ่มทม่ี คี วามสาคญั ทสี่ ุดคือกลุ่มผเู้ ปน็ เจ้าของเคร่ืองแต่งกาย โดยแหล่งชุมชนชาวจีนบาบ๋าที่ใหญ่ ทสี่ ดุ ในภูเกต็ ไดแ้ ก่ ชมุ ชนอาเภอเมือง (โดยเฉพาะบริเวณย่านเมืองเก่าภูเก็ต) และชุมชนกะทู้ ซ่ึง ยังคงมีหลักฐานของการประกอบอาชีพเหมืองแร่ดีบุก ลักษณะบ้านเรือนท่ีตั้ง ศาลเจ้าแบบจีน วัฒนธรรมต่างๆท่ีสืบทอดมาจากบรรพบุรุษ เช่น อาหาร ประเพณี และครื่องแต่งกาย ความ น่าสนใจของงานวิจัยเรื่องเครื่องแต่งกายนี้คือ การได้รวบรวมเคร่ืองแต่งกายและเครื่องประดับ โบราณที่มีอายุไม่ต่ากว่า ๘๐ ปี กลุ่มผู้ท่ียังเก็บสะสมอยู่น้ันมีอายุไม่ต่ากว่า ๖๐ ปี ส่วนใหญ่เป็น เคร่ืองแต่งกายและเคร่ืองประดับที่ผู้ให้ข้อมูลหาซื้อได้ในราคาไม่สูงมากนักในขณะนั้น และ บางสว่ นกไ็ ดร้ ับมรดกตกทอดมาจากบรรพบรุ ุษ กลายเปน็ สมบัตทิ ม่ี ีค่าของตระกลู ในงานวจิ ัยนี้ ได้จาแนกการแต่งกายบาบา๋ เพอรานากันออกเป็นส่วนใหญๆ่ ที่สาคญั ไดแ้ ก่ ๑) การจาแนกเคร่ืองแต่งกายตามเพศ ผู้ชายบาบ๋าและผู้หญิงบาบ๋าแต่งกายแตกต่าง กันขึ้นอยู่กับยุคสมัยต่างๆ เช่น ผู้ชายบาบ๋าในยุคแรกมักแต่งกายแบบจีนแผ่นดินใหญ่และไว้ ผมเปีย แต่รุ่นต่อมาก็เริ่มให้ความนิยมในแบบตะวันตกมากข้ึน ตามปัจจัยทางด้านความสัมพันธ์ กบั กลุ่มชาวยโุ รปจากการทาการคา้ ร่วมกนั หรอื การไดร้ ับอิทธิพลจากการไปศึกษาต่อต่างประเทศ ส่วนผู้หญงิ บาบ๋าให้ความสาคัญกบั ขนบธรรมเนยี มทบี่ รรพบรุ ษุ จากแผ่นดินจนี ตอนใต้ได้เคารพสืบ ต่อมา ผสมผสานกับความเป็นชาวพื้นถ่ิน จึงทาให้เกิดชุดสมัยใหม่ที่ออกมาเป็นชุดเคบายาและ ผ้าถุงปาเต๊ะ ในรูปแบบของเคร่ืองแต่งกายท่ีถึงแม้ว่าจะเป็นวัฒนธรรมของชาวมาเลย์ แต่ก็แฝง เอกลักษณ์และความหมายแบบลวดลายจีนอย่างลึกซง้ึ ๒) การจาแนกเคร่ืองแต่งกายตามอายุ ชาวจีนบาบ๋ามักให้ความสาคัญกับความ เหมาะสมของเครื่องแต่งกายและเครื่องประดับท่ีเป็นไปตามวัย เช่น การแต่งกายของเด็กอาจให้ นุ่งกระโปรงหรือกางเกง แต่สาหรับชาวจีนบาบ๋า เด็กผู้หญิงจะเริ่มให้นุ่งกางเกงขาสั้น กระโปรง พอง หากย่างเข้าสู่วัยแรกแย้ม ก็มักให้เริ่มนุ่งผ้าถุงกับเส้ือรัดรูปสีสันสดใส แต่ถ้าเข้าวัยชราก็มัก สวมเสอื้ และกางเกงจนี สโี ทนเข้ม เปน็ ตน้ ๓) การจาแนกเคร่ืองแต่งกายตามประเพณี เน่ืองจากบทบาทของเคร่ืองแต่งกายบาบ๋า ในปัจจุบันมิได้อยู่ในสถานะที่มีการใช้สอยหรือสวมใส่ในชีวิตประจาวันดังเช่นในอดีต แต่เคร่ือง แต่งกายเหล่าน้ีกลับมีอิทธิพลมากสาหรบั ชาวบาบ๋ายุคใหม่ในการเลือกสวมใส่ในโอกาสพิเศษหรือ ประเพณสี าคัญๆ เช่น งานแต่งงาน งานบวช งานทาบุญบ้าน งานศพ หรอื งานเฉลิมฉลองเทศกาล ตรุษจนี เป็นต้น ดังนั้นชาวจีนบาบ๋าจึงมีแนวคิดเก่ียวกับการเลือกเครื่องแต่งกายให้สอดคล้องกับ ความเช่ือต่างๆ เช่น หากไปงานที่มีความเก่ียวข้องกับความเป็นสิริมงคลก็มักเลือกเสื้อผ้าสีสดใส เพื่อแสดงออกถึงความสบายใจในการร่วมงานและพร้อมรับส่ิงท่ีเป็นความโชคดีต่างๆเข้ามาใน

๑๕๔ ชีวิต แต่ถ้าต้องเข้าร่วมงานที่เก่ียวข้องกับงานศพ ชาวจีนบาบ๋าก็อาจจาเป็นต้องเลือกโทนสีท่ี แสดงออกถึงความเศร้าโศกเสียใจอย่างสีเขียวหรือสีน้าเงินเข้ม แต่จะไม่นิยมสวมใส่สีดา เพราะ มิได้เป็นญาติที่สนิทกันมาก เป็นต้น ดังนั้น การแสดงออกถึงอารมณ์และความรู้สึกของชาวจีน บาบ๋าในโอกาสพิเศษต่างๆ มีความสาคัญมากโดยเฉพาะผู้หญิง โดยยึดหลักของการใช้สี สญั ลักษณ์ของลวดลายผา้ ถุง การออกแบบลายผ้าลูกไม้ และรูปแบบการตดั เสื้อผ้า ส่วนในสถานภาพเก่ียวกับเครื่องแต่งกายของชุมชนบาบ๋าในปัจจุบัน ได้มีการชี้วัดจาก กลมุ่ ผู้ให้ขอ้ มลู ๔ กลมุ่ ได้แก่ กลุ่มผปู้ ระกอบการธุรกิจเคร่ืองแต่งกาย กลุ่มคนวัยทางาน และกลุ่ม เยาวชนลูกหลานชาวบาบ๋า และหน่วยงานหรือองค์กรต่างๆจากท้ังภาครัฐและภาคเอกชน ซ่ึง สรุปผลในภาพรวมได้ว่า แม้การแต่งกายในลักษณะนี้ได้ลดความนิยมลงในยุคสมัยการ เปล่ียนแปลงวัฒนธรรม เนื่องด้วยเหตุผลทางการเมืองการปกครองที่เกิดขึ้น จึงทาให้กลุ่ม ลูกหลานชาวบาบ๋านิยมการแต่งกายแบบตะวันตกในยุคสมัยใหม่มากข้ึน คือ การสวมใส่เสื้อ เข้ารูป และการนุ่งกระโปรงยาว แต่ก็ยังปรากฎกลุ่มคนหน่ึงที่มองเห็นความสาคัญของการแต่ง กายแบบชาวบาบ๋า ซึ่งเป็นกลุ่มผู้ให้ความสนใจในการหันกลับมาอนุรักษ์ความเป็นชาวจีนบาบ๋า ในระยะแรกได้มีการร่วมมือร่วมใจกันแต่งกายชุดยาหยาบ้าง หรือเสื้อคอต้ังแขนจีบกับผ้าถุง ปาเต๊ะบ้าง เวลาที่ไปออกงานสาคัญๆ ด้วยสถานะทางสังคมของชาวจีนโพ้นทะเลโดยเฉพาะใน จังหวัดภูเก็ตที่มีวิวัฒนาการประกอบอาชีพที่มีความสาคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศต้ังแต่การ ประกอบธุรกิจเหมืองแร่ดีบุก จนกระท่ังการประกอบอาชีพด้านการท่องเท่ียวในปัจจุบัน จึงเป็น ปัจจยั ให้กลุม่ คนเหล่านี้ปราศจากความกังวลต่อการดารงตนในระบบเศรษฐกิจและมีศักยภาพใน การเปน็ ผมู้ บี ทบาทตอ่ การสบื ทอดวฒั นธรรมด้ังเดิม ดังน้ัน จากสถานการณ์ที่เกิดข้ึนต่างๆจะเห็น ว่าสถานภาพของเครื่องแต่งกายของชุมชนบาบ๋าเพอรานากัน เป็นท้ังสายใยเช่ือมความสัมพันธ์ ระหว่างกลุ่มคนรุ่นต้ังแต่รุ่นท่ี ๑ ถึงปัจจุบัน ด้วยความงดงามของลวดลายผ้าและความหมายอัน ลึกซึ้งส่งผลให้เคร่ืองแต่งกายกลายเป็นอัตลักษณ์หนึ่งทางวัฒนธรรมของชาวบาบ๋า และได้ช่ือว่า เป็นเครื่องแต่งกายพ้ืนเมืองของจังหวัดในแถบชายฝ่ังอันดามันภาคใต้ในที่สุด โดยในปัจจุบัน พบว่า ได้มีการสนับสนุนจากส่วนของภาครัฐและสถาบันการศึกษาในการร่วมกันแต่งกายชุด พ้ืนเมืองอาทิตยล์ ะหนง่ึ วัน เชน่ เทศบาลเมืองภูเก็ตสวมใส่ชุดพ้ืนเมืองทุกวันพฤหัสบดี นอกจากน้ี ยังพบว่าภาคอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวและการบริการ เช่น โรงแรม ร้านสปา ร้านอาหาร เป็น ต้น ส่งเสริมให้พนักงานใส่เคร่ืองแบบเป็นชุดยายากับผ้าถุงปาเต๊ะด้วยเหตุผลของการเป็นส่วน หน่ึงของผ้สู นบั สนุนการสืบทอดใหว้ ฒั นธรรมนี้คงอยู่ต่อไป ๕.๒.๑ กระบวนการรวบรวมและจัดเก็บข้อมูลเก่ียวกับเคร่ืองแต่งกายบาบ๋าเพอรานากัน อยา่ งเหมาะสม เป็นความพยายามท่ีทุกชมุ ชนจีนบาบ๋าในชายฝั่งทะเลอันดามันตอนใต้ของไทยให้

๑๕๕ การสนบั สนุน โดยสว่ นใหญ่เป็นการจดั กิจกรรมหรืองานประเพณีต่างๆเพ่ือกระตุ้นให้คนในชุมชน เหน็ ความสาคัญจนเกิดความภูมิใจในการเปน็ ลูกหลานของบรรพบุรุษชาวบาบ๋า เช่น ประเพณีแห่ เต่า(ขนม) ทุกเดือนเก้าตามจันทรคติแบบจีน แม้ว่าเครื่องแต่งกายบาบ๋าเพอรานากันมิได้มีการ สวมใส่กันอย่างต่อเน่ืองด้วยเหตุปัจจัยทางการเมืองและการเปล่ียนแปลงวัฒนธรรมในยุคสมัย สงครามโลกคร้ังที่ ๑ และ ๒ แต่ก็ยังปรากฎกลุ่มคนท่ียังคงดารงวิถี “การนุ่งผ้าถุงปาเต๊ะ” กัน อย่างแพรห่ ลายทง้ั ในชวี ิตประจาวันและในโอกาสพิเศษสาคัญ และต่อมามีกลุ่มลูกหลานบาบ๋าใน ชุมชนต่างๆที่ยังระลึกถึงระเบียบและประเพณีปฏิบัติร่วมมือร่วมใจกัน จัดกิจกรรมต่างๆเพื่อสืบ ทอดการแต่งกายบาบ๋า ดงั น้ี ๑) จุดเริ่มตน้ ของการจดั กจิ กรรมเพอ่ื สง่ เสริมการแตง่ กายของชาวบาบ๋า-เพอรานากัน ๒) การจัดกิจกรรมการแต่งกายบาบ๋า-เพอรานากันกับงานประเพณีต่างๆ เป็นลักษณะ การจัดงานโดยภาครัฐที่เกิดข้ึนประจาทุกปี เช่น งานวิวาห์บาบ๋า งานฉลองเทศกาลตรุษจีน งาน พ้อต่อ งานทาบุญเดอื นสบิ เป็นต้น ส่วนการจัดกิจกรรมอีกประเภทหนึ่งคือ การจัดงานไม่ประจา และตามโอกาสท่ีเหมาะสม เช่น งานพิธีมงคลสมรส งานศพ งานบวช เป็นต้น โดยความสาคัญ ของการจัดกิจกรรมต่างๆคือ การให้ความสาคัญกับเครื่องแต่งกายที่สวมใส่ของผู้เข้าร่วมงาน ซ่ึง โดยสว่ นใหญจ่ ะนยิ มแตง่ กายให้เขา้ กับประเภทของกิจกรรม เครอื่ งแต่งกายบาบ๋าจึงเป็นทางเลือก ทีค่ อ่ นข้างเหมาะสมที่สดุ ในการเข้าร่วมกิจกรรมตา่ งๆได้หลากหลาย และมีรูปแบบเครื่องแต่งกาย ทส่ี ามารถเลือกได้ เช่น คอตง้ั แขนจีบ เสื้อลกู ไม้ หรอื จะเป็นเสอื้ ยาหยา เป็นต้น ๓) การจัดกิจกรรม “การสารวจวิถีการแต่งกายของชาวบาบ๋าภูเก็ต และการธารงไว้ซ่ึง วฒั นธรรม” ประกอบดว้ ย ๓ กจิ กรรมหลกั ดงั นี้ ๓.๑) โครงการการสืบทอดความงามของเครื่องแต่งกายแบบชาวบาบ๋าภูเก็ต เป็นโครงการที่มุ่งให้ความสาคัญกับการเผยแพร่วัฒนธรรมการแต่งกายให้แก่เยาวชนคนภูเก็ต โดยได้มีการจัดเสวนาและสาธิตการแต่งกายจากสมาชิกของชุมชนเมืองเก่าภูเก็ต และมีผู้เข้าร่วม โครงการเป็นกลุ่มตัวแทนนักเรียนนักศึกษาที่อยู่ในชมรมศิลปวัฒนธรรมภูเก็ตและกลุ่มผู้ท่ีศึกษา ในด้านสังคมวัฒนธรรม โดยโรงเรียนและมหาวิทยาลัยท่ีสนใจมีจานวนทั้งส้ิน ๓ สถาบันได้แก่ โรงเรียนวิทยาสาธิต โรงเรียนสตรีภูเก็ต และสาขาไทยศึกษา คณะวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผลการจัดงานพบว่า กลุ่มเยาวชนให้ความสนใจโดยการแสดงออก ในการเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมจีนบาบ๋า โดยการเป็นตัวแทนของผู้วิจัยในการเก็บข้อมูลจาก สมาชิกในบ้านเกี่ยวกับเคร่ืองแต่งกายบาบ๋า อีกนัยหน่ึงก็เพื่อให้นักเรียนและนักศึกษาเข้าใจใน วฒั นธรรมของตนเองผา่ นเร่ืองเลา่ และประสบการณ์ของผู้ปกครองหรือญาติพ่ีน้องภายในบ้าน ซ่ึง เปน็ จดุ เริม่ ตน้ ในการให้เยาวชนเข้าใจและภูมิใจในเครื่องแต่งกายเพื่อการต่อยอดการทาโครงการ เกีย่ วกบั เครอ่ื งแต่งกายบาบ๋าต่อไป

๑๕๖ ๓.๒) โครงการประกวดถ่ายภาพมาราธอน “Baba Life Photo @Phuket” เปน็ โครงการท่ีได้รับความร่วมมือร่วมใจจากหน่วยงานจากภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา ส่ือมวลชนทั้งส่ือหนังสือพิมพ์ท้องถ่ินและสื่อต่างประเทศ ชุมชนเมืองเก่าภูเก็ต กลุ่มผู้สนใจการ ถ่ายภาพ และกลุ่มผู้สนใจกิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมภูเก็ต โดยผลของการจัดโครงการน้ี น้ันได้รับการตอบรับเป็นอันมากคือ ผู้เข้าร่วมแข่งขันทุกท่านได้เป็นส่วนหนึ่งของการเผยแพร่ วฒั นธรรมการแตง่ กายบาบ๋าจากการใช้ฝีมือของตนเองในการถ่ายภาพ และการใช้ประโยชน์จาก ส่ือสังคมออนไลน์ (Social media) อย่างเฟสบุค (Facebook) ในการช่วยประชาสัมพันธ์ วัฒนธรรมการแต่งกาย โดยภาพถ่ายเหล่าน้ีเกิดจากความพยายามและความตั้งใจของผู้ถ่ายภาพ ในการสอ่ื ความหมายของตัวตนสาวบาบา๋ ส่วนผู้ทาหน้าทเี่ ป็นนางแบบก็เป็นกลุ่มคนรุ่นใหม่ที่เป็น ตัวแทนในการสื่อความว่า “เครื่องแต่งกายมิใช่ของเก่าโบราณคร่าครึอีกต่อไปแล้ว แต่เป็นความ รังสรรคท์ างอาภรณท์ ่ีสามารถสวมใส่ได้ทุกยุคทกุ สมัย” ชุมชนเมืองเก่าภูเก็ต เป็นกลุ่มที่สนับสนุน ใหโ้ ครงการนเ้ี กดิ ขน้ึ และดาเนินไปอย่างราบรื่น และสุดท้ายคือส่ือมวลชน เป็นกลุ่มผู้มีบทบาทใน การประชาสัมพนั ธโ์ ครงการนใ้ี นภาพกว้าง ทาให้วฒั นธรรมการแตง่ กายบาบา๋ เพอรานากันนี้เป็นท่ี รู้จักและเปน็ ที่สนใจทั้งกลุม่ ชาวไทยและชาวตา่ งประเทศ ๓.๓) โครงการจัดนิทรรศการ “Living Baba Museum” ในงาน“ ย้อนอดีต เมืองเก่าภเู ก็ต“ และ ”World of Batik เทดิ ไท้องคร์ าชนั ย์” เปน็ โครงการต่อเน่ืองจากโครงการท่ี ๒ คอื การรวบรวมภาพถ่ายท้ังหมดมาจัดแสดงเป็นส่วนหนึ่งของการจัดงานใหญ่ๆที่เกี่ยวข้อง โดย เป็นส่วนหนึ่งของการประชาสัมพันธ์เครื่องแต่งกายบาบ๋าจากการจัดนิทรรศการภาพถ่ายและ เคร่ืองแตง่ กาย รวมถงึ การเดนิ แฟช่นั โชวใ์ นงานดงั กล่าว ๔) การจัดกิจกรรมด้านการแต่งกายบาบ๋า-เพอรานากันของกลุ่มชุมชนในแถบจังหวัด ชายฝงั่ ทะเลอนั ดามนั ตอนใต้ โดยเกิดจากความร่วมมือร่วมใจของกลุ่มคนจีนบาบ๋าในชุมชนตะก่ัว ป่า (จังหวัดพังงา) และชุมชนชาวระนอง เป็นการจัดเสวนาเกี่ยวกับเคร่ืองแต่งกายเพื่อให้คนใน ชุมชนเกดิ กระบวนการฟื้นฟูวัฒนธรรมโดยคนเก่าแก่ผู้ถือครองมรดกเคร่ืองแต่งกายบาบ๋า เพ่ือให้ ลูกหลานได้มีโอกาสรู้จักและเรียนรู้ตัวตนของบรรพบุรุษผ่านการสวมใส่เคร่ืองแต่งกายด้ังเดิม และสง่ิ ทเ่ี ปน็ ความภมู ิใจมากกว่าน้ันคือ บางครอบครัวเก็บสะสมผ้าถุงปาเต๊ะที่มีอายุมากกว่า ๘๐ ปี ลูกหลานจงึ มีโอกาสไดล้ องสวมใส่เคร่ืองแต่งกายที่มาจากปู่ย่าตายายของตนเอง ส่วนกลุ่มผู้ที่มี อายุ ๔๕ ปีขึ้นไปก็ได้มีโอกาสกลับมาสวมใส่เคร่ืองแต่งกายในลักษณะน้ีอีกครั้งหนึ่ง หลังจากที่ ไม่ได้สวมใส่มาเป็นระยะเวลานานมาก หรือเป็นช่วงอายุที่อาจเคยเห็นคุณพ่อคุณแม่สวมใส่ชุด ดังกล่าวในสมัยเด็ก จึงทาให้เกิดปรากฏการณ์ “การหวนราลึกความทรงจาในวัยเด็กหรือวัยรุ่น” ขึ้น

๑๕๗ ๕.๒.๓ จากประเพณีการสืบทอดด้านการแต่งกายของชุมชนบาบ๋าเพอรานากันในแถบ ชายฝั่งอันดามันที่มีมายาวนานกว่า ๒๐๐ ปี และความร่วมมือร่วมใจกันของท้ังภาครัฐบาล ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา รวมถึงกลุ่มลูกหลานชาวบาบ๋าในขอบเขตประเทศไทยน้ี แสดงให้ เห็นแล้วว่า พวกเรามีความเป็นอันหน่ึงอันเดียวกันในการยึดถือธรรมเนียมปฏิบัติและแนวคิด ความเชื่อที่ส่ังสมจากบรรพบุรุษ แม้ว่าอาจะต้องพบเจอกับการเปล่ียนวัฒนธรรมไปบ้างบางส่วน แต่ส่ิงท่ีเห็นคือเป็นเพียงส่วนเปลือกนอก แต่ใจความสาคัญของการแต่งกายท่ียังคงความเป็น เอกลักษณ์ของชาวบาบ๋า ก็ยังคงมีให้เห็นอยู่ เช่น ความนิยมในการเลือกสีและลวดลายผ้าให้ เหมาะกับโอกาสสาคัญ หรือการให้ความสาคัญกับการตัดเย็บชุดเส้ือผ้าอย่างถูกต้องตามความ นิยมดัง้ เดิม เปน็ ตน้ ดงั น้ัน สงิ่ เหล่าน้ีเปน็ เคร่ืองพิสูจน์ได้ว่า มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม “การ แต่งกายชุมชนบาบ๋าเพอรานากัน” คู่ควรแก่การนาเสนอให้เป็นสมบัติของชาวบาบ๋าในบริเวณ ชายฝงั่ อนั ดามันตอนใต้ของประเทศไทย ๖.๓ การอภิปรายผล ๕.๓.๑ จากวัตถุประสงค์งานวิจัยข้อที่๑ เพื่อค้นหาระบบความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวการ แต่งกายของชาวบาบ๋าภูเก็ตในขอบเขตของประเทศไทย ระบบท่ีกลา่ วน้ีควรหมายถึงกระบวนการ และองค์ประกอบท่ีทาให้เกิดเอกลักษณ์การแต่งกายนอกเหนือจากชุด เสื้อผ้าในรูปแบบต่างๆ ท้ังน้ีเพ่ือสร้างความเข้าใจในที่มาและหาวิธีการสืบทอดต่อไป การวิเคราะห์ะบบนี้จึงคานึงถึง กระบวนการเกดิ เครือ่ งแต่งกายตัง้ แต่การออกแบบ การผลิต การขาย การเลือกซื้อ เมื่อเกิดความ นยิ มอย่างแพรห่ ลายในอาณาบริเวณ และชว่ งเวลาหน่ึง จึงจะกลายเป็นวัฒนธรรมการแต่งกายใน ที่สดุ จากการศึกษาและวิเคราะห์พบว่ากระบวนการเกิดรูปแบบการแต่งกายชาวบาบ๋าเพอรานา กันภูเก็ตมีลักษณะพิเศษคือ ชาวบาบ๋าเองมิได้เป็นผู้ออกแบบและผลิต คือการทอผ้า เขียนลาย แต่ได้นาผ้าและรูปแบบที่ตนเองช่ืนชอบมาประยุกต์สวมใส่ ซ่ึงด้วยกระบวนการเพียงแค่คงไม่ สามารถส่งผลให้เกิดเป็นวัฒนธรรมการแต่งกายที่เห็นได้เช่น ทุกวันนี้ จึงได้ทดลองวางแผนภูมิ เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ต่างๆในระบบการวิเคราะห์กลุ่มสาระความรู้ในเร่ืองการแต่งกายของ ชาวบาบา๋ เพอรานากันภเู ก็ตจากแผนภมู ิแสดงความสมั พนั ธ์ระหวา่ งกลุม่ ทีม่ ีสว่ นร่วมในระบบ โดย วิเคราะห์ระบบตลอดท้ังกระบวนการเกิดเครื่องแต่งกาย การผลิต ไปจนถึงการเผยแพร่สู่ กลุ่มเป้าหมายหลักคือ ผู้สวมใส ซ่ึงเป็นชาวบาบ๋าภูเก็ต การวางแผนภูมิให้เห็นความสัมพันธ์น้ี สามารถบ่งบอกหลกั ทฤษฎที ี่สามารถนามาใช้เพ่ือวิเคราะห์ปรากฏการณ์ในกลุ่มต่างๆ และหน้าที่ สาคญั ในกระบวนการสืบทอดอตั ลกั ษณว์ ฒั นธรรมการแตง่ กายของกลมุ่ ที่มีความสัมพันธ์กับระบบ ซง่ึ มิไดม้ องเพยี งการจดั หมวดหมู่ของเครือ่ งแต่งกาย

๑๕๘ ภาพแผนภูมิแสดงระบบการเลอื กซอ้ื เครือ่ งแต่งกายและหลกั ทฤษฎที เ่ี ก่ยี วขอ้ ง จากแผนภูมิข้างต้นได้แสดงถึงการมีส่วนร่วมในระบบของการเผยแพร่รูปแบบการแต่ง กายของชาวบาบ๋าเร่ิมต้ังแต่การเลือกซ้ือสินค้าที่ถูกนาเข้า ซึ่งชาวบาบ๋าภูเก็ตมิได้มีความถนัดใน การผลิต จึงเป็นเพียงการเลือกซ้ือตามความชอบ การพัฒนารูปแบบการแต่งกายของชาวบาบ๋า ไม่ได้ถูกสร้างขึ้นจากทฤษฎีการออกแบบซ่ึงจะอยู่ในขอบเขตของกลุ่ มผู้ผลิตโดยเฉพาะในปีนัง และอินโดนีเซีย อันเป็นเขตคู่ค้ากับจังหวัดภูเก็ตมาช้านาน แต่ทว่าเพียงการเลือกซื้อตาม ความชอบส่วนบุคคลมิสามารถสร้างอัตลักษณ์การแต่งกายของกลุ่มชนได้ จึงเป็นที่น่าสนใจใน การศกึ ษาและวเิ คราะห์เนื่องจากการสบื ทอดวฒั นธรรมไม่สามารถพึ่งพาการอนุรักษ์เพียงรูปแบบ แต่ต้องคงไว้ซึ่งแก่นแท้ของวัฒนธรรม ด้วยเหตุนี้ จึงทาการศึกษาเพ่ิมเติมโดยใช้มุมมองทาง สังคมศาสตร์และประวัติศาสตร์ ผนวกกับการเก็บข้อมูลทาให้พบว่าชาวบาบ๋าภูเก็ตมีวิถีชีวิตที่ สอดคล้องกับความเชื่อและพิธีกรรมอย่างลึกซ้ึง เช่น วัฒนธรรมการใช้สี คว ามเช่ือที่มีต่อ สัญลักษณ์ การให้ความสาคัญกับลาดับข้ันทางสังคมและเครือญาติ รวมถึงความพยายามในการ รวมกลุ่มชนเช้ือสายเดียวกัน ทาให้แม้เพียงการเลือกซื้อเสื้อผ้าก็ยังแฝงไว้ด้วยคติความเชื่ออันฝัง ลึกอยู่ภายใน ยกตัวอย่างที่ชัดเจน แม้ชาวบาบ๋าจะมีการปรับตัวตามวัฒนธรรมตะวันตกเร่ิมนิยม การใส่สูท แต่สูทสีดาซึ่งเป็นที่นิยมของชาวตะวันตกก็จะไม่ถูกเลือกใช้ในงานมงคลเพราะเป็นสีที่ ถูกใชใ้ นพธิ ีศพของชาวบาบ๋า เราจึงเห็นชาวบาบ๋าใส่สูทสีขาวเสมอ ด้วยเหตุผลตามท่ีกล่าวมาจึง สรุปได้ว่าการศกึ ษาวัฒนธรรมการแต่งกายของชาวบาบ๋าภูเก็ตจาเป็นต้องศึกษาวัฒนธรรม ความ เช่ือควบคู่กันไปด้วยเสมอ โดยเฉพาะการมุ่งหวังให้เกิดการสืบทอดวัฒนธรรมการแต่งกาย การ นาเสนอต่อชนรุ่นหลังจึงไม่สามารถสอนเพียงรูปแบบ และวิธีการแต่งกายท่ีถูกต้อง แต่ต้องสืบ ทอดคติ ความเชื่อ เร่ืองเล่า อันเป็นเหตุให้เกิดความซาบซ้ึงและความเช่ือสืบต่อไป เน่ืองจาก

๑๕๙ รูปแบบการแต่งกายน้ันอาจจะเกิดการวิวัฒน์ไปในรูปแบบต่างๆกัน เน่ืองด้วยชาวภูเก็ตมิได้เป็น ผู้ออกแบบและผลิตในทุกข้ันตอนดังที่กล่าวมาผนวกกับการแพร่กระจายรูปแบบแฟชั่นท่ีมีความ ทันสมัยผ่านอินเทอร์เน็ตอย่างรวดเร็ว รูปแบบจึงสามารถพัฒนาไปตามความต้องการของกลุ่ม ผูผ้ ลติ แต่คติความเชือ่ ทค่ี งอย่จู ะทาให้แก่นแท้ยังคงอยู่สืบไป เช่น สีที่ใช้ในเคร่ืองแต่งกาย เน้ือผ้า ทสี่ มั พนั ธ์กบั พิธีกรรมและความสัมพันธ์ของเครือญาติซ่ึงจะช่วยให้ชาวบาบ๋าภูเก็ตดารงอัตลักษณ์ กายแต่งกายโดยไมข่ น้ึ กบั แค่เพยี งรูปแบบภายนอก ในปัจจุบันแม้ชาวบาบ๋าภูเก็ตจะมีการพัฒนาวิถีชีวิตความเป็นอยู่ให้ทันสมัยเทียบเท่า ชาวเมอื งใหญต่ า่ งๆทว่ั โลก แตก่ ็ยงั สามารถสบื ทอดความเช่ือและพิธีกรรมดั้งเดิมได้อย่างลงตัว ดัง จะเห็นไดจ้ ากเทศกาลกนิ เจ เทศกาลพ้อต่อ พิธีกรรมงานศพ การแต่งงาน พิธีไหว้เต่า(ขนม)ขนาด ใหญ่ การบูชาเทพเจ้าและรักษาโรคต่างๆผ่านม้าทรง สิ่งต่างๆเหล่าน้ีได้แสดงออกอย่างชัดเจน ผา่ นวัฒนธรรมการแตง่ กายจึงทาใหก้ ารแตง่ กายของชาวบาบ๋าเพอรานากันเป็นวัฒนธรรมที่มีชีวิต และสามารถส่งผ่านต่อไปจากรุ่นสู่รุ่น แต่กระน้ันกระแสของการพัฒนาท่ีรวดเร็วอาจทาให้สังคม เข้าใจถึงแก่นของวัฒนธรรมท่ีคลาดเคล่ือนไป ข้อความที่ถูกส่งจากบรรพบุรุษจาเป็นต้องมีการ บนั ทกึ และชาระความเมอ่ื ถงึ ช่วงเวลาทเี่ หมาะสม ๕.๓.๒ จากวัตถุประสงค์งานวิจัยข้อที่ ๒ เพื่อว่ากระบวนการรวบรวมและจัดเก็บข้อมูล เก่ียวกับการแต่งกายของชาวบาบ๋าภูเก็ตจะกระตุ้นชุมชนชาวภูเก็ตให้เห็นความสาคัญของ ประเพณีและให้เกิดจิตสานึกท่ีจะเคล่ือนไหวทากิจกรรมสงวนรักษาการแต่งกายของชาวบาบ๋า ภูเกต็ ใหส้ ืบทอดต่อไปในบริบทท่เี หมาะสม ความสาคัญของกระบวนการวิจัยคือเพื่อมองหาระบบ และวธิ ีการกระตุ้นให้เกิดจติ สานึกร่วมของชุมชนในการสืบต่อวัฒนธรรมอย่างยั่งยืน ซ่ึงการมีส่วน ร่วมและการเกิดจิตสานึกสามารถแบ่งออกได้หลายระดับต้ังแต่การรับรู้การมีอยู่ของวัฒนธรรม การมองเห็นความสาคัญ การเข้ามามีส่วนร่วมในวัฒนธรรมและการมีจิตสานึกเพื่อ สืบต่อ วฒั นธรรม จากการเก็บข้อมูลและศกึ ษาพฤติกรรมของคนในชุมชนบาบ๋าเพอรานากันภูเก็ตพบว่า ประชากรส่วนใหญร่ บั รถู้ งึ คณุ คา่ และความสาคญั ของวัฒนธรรมการแตง่ กายแม้แต่ในกลุ่มเด็กและ เยาวชนดังจะเห็นได้จากการมีส่วนร่วมเมื่อจัดกิจกรรมขึ้นท้ังในขอบเขตของงานวิจัยช้ินน้ี และ กิจกรรมอื่นๆท่ีปรากฎในจังหวัดภูเก็ต เช่น งานถนนสายวัฒนธรรมเมืองเก่าภูเก็ต งานถนนสาย วฒั นธรรมอาเภอะทู้ เทศกาลถือศีลกินเจ งานบาติกเวิลด์โดยวัฒนธรรมจังหวัดภูเก็ต พิธีแต่งงาน บาบ๋าเพอรานากัน เป็นต้น ซึ่งจะมีผู้เข้าร่วมในชุดแต่งกายอันเป็นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมเสมอ ส่วนมากเป็นชุดที่มีการตัดเย็บและจัดเตรียมไว้อยู่แล้วเพื่อสวมใส่ในงานสาคัญต่างๆ ในกลุ่มเด็ก และเยาวชนกจ็ ะไดร้ ับการสนบั สนุนจากผปู้ กครอง เช่นกัน ปญั หาสาคัญในการมีส่วนร่วมการแต่ง กายทางวัฒนธรรมคือ

๑๖๐ ๑) ความเชื่อว่าชุดท่สี วมใสน่ ั้นมีราคาแพง ชดุ ที่ถูกสวมใส่ประจาวันในอดีตน้ันปัจจุบันได้ แปรสภาพเป็นชุดที่มีความสาคัญมิได้ถูกใช้ในชีวิตประจาวัน ดังเช่นแต่ก่อน ดังนั้นเม่ือชุดมีความ พิเศษเพื่อใช้ในโอกาสต่างๆ การตัดเย็บจึงมีราคาท่ีสูงข้ึนไปด้วยเน่ืองจากต้องมีรายละเอียด ค่อนขา้ งมาก และเครื่องประดับตามแบบด้ังเดิมที่หาผู้ทาได้ยาก ทาให้การมีส่วมร่วมของเยาวชน หรอื กลุ่มผมู้ ีรายได้นอ้ ยเป็นไปได้ยาก ๒) ความเชอื่ ว่าชดุ ทีส่ วมใส่น้นั ไมส่ ะดวกสบายเทา่ ชุดในปจั จบุ นั เน่ืองจากการแต่งกายใน ปัจจุบันได้ถูกพัฒนาไปมากให้มีความหลากหลายและสวมใส่ได้ง่าย การแต่งกายตามแบบ วัฒนธรรมจึงถูกมองว่ามีความยุ่งยาก และยังสวมใส่ไม่สบายเท่ากับชุดสากลในปัจจุบัน ยกตัวอย่างเช่น ชุดผ้าลูกไม้ถูก มองว่าไม่สามารถระบายอากาศได้ดีเม่ือสวมใส่แล้วจะเกิดอาการ คัน การแกป้ ญั หาต้องซือ้ ผ้าลกู ไมค้ อตตอนซึง่ มีราคาแพงทาใหไ้ ม่สามารถหาชุดมาใส่ได้ การนุ่งผ้า ปาเต๊ะก็มีความยุ่งยากสาหรับกลุ่มคนทางานที่ต้องมีการเคลื่อนไหวอย่างอิสระ การแก้ปัญหา เหล่าน้ีแท้จริงแล้วมีทางออกได้หลายทาง เช่นการหาวัสดุทดแทน การเลือกแบบท่ีเหมาะสม บางครั้งอาจมีการลดทอนการประดับประดา เพื่อให้เหมาะกับโอกาสต่างๆ การประยุกต์ใช้ เช่น กระโปรงสาเร็จรปู ที่ถกู ตดั เยบ็ ด้วยผา้ ปาเตะ๊ จึงควรมีการเผยแพร่ความรู้ในสังคมเพ่ือให้ทราบถึง ลาดับขั้นความเหมาะสมของการแต่งกายท่ีหลากหลาย ไม่เป็นกรอบในการเลือกสวมใส่มาก เกินไปนัก ซ่ึงในความเป็นจริงแล้วชาวบาบ๋าเพอรานากันในจังหวัดภูเก็ตเดิมก็มีการประยุกต์การ แต่งกายท่ีหลากหลาย จากการศึกษาพบว่าประชากรส่วนใหญ่ทั้งท่ีเป็นชาวบาบ๋าเอง และผู้ย้าย เข้ามาอยู่ในพื้นท่ีให้ความร่วมมือ การมีส่วนร่วมและมีจิตสานึกในการสืบทอดวัฒนธรรมอยู่แล้ว เพราะชดุ การแตง่ กายนม้ี คี วามสวยงามและโดดเด่น ทัง้ ยงั เหมาะกับรูปร่างท่ีหลากหลายแม้แต่ผู้มี รูปร่างท้วมก็ยังสามารถเลือกสวมใส่ได้ แต่กลุ่มคนเหล่าน้ียังขาดโอกาสในการแสดงออก เน่อื งจากทศั นคติทีม่ องว่าการแตง่ กายตามวฒั นธรรมเปน็ ชุดทสี่ งวนไวใ้ นโอกาสพิเศษ ด้วยเหตุผล ของราคาและความสะดวกสบายตามที่กล่าวมาข้างต้น จากการศึกษาพบว่าแบบชุดท่ีมีมาแต่ครั้ง ก่อนยังมีหลากหลาย บาางชุดสามารถเลือกสวมใส่ได้ในวันทางานตามปกติไม่ข้ึนกับพิธีและวัน สาคัญตามท่ีเข้าใจกัน ซ่ึงเป็นข้อมูลท่ียังไม่ทราบกันเป็นท่ีแพร่หลายจึงควรให้มีการเผยแพร่และ ประชาสัมพนั ธต์ ่อไป ๕.๓.๓ เพ่ือนาไปสู่การเสนอให้การแต่งกายของชาวบาบ๋าภูเก็ตเป็นมรดกภูมิปัญญาทาง วัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์บาบ๋าในขอบเขตของประเทศไทยและของโลกในการข้างหน้า จาก การศึกษาพบว่าชาวบาบ๋าเพอรานากันมีความโดดเด่นทางวัฒนธรรมหลายประการ แม้จะมี จุดเร่ิมต้นจากการอพยพของชาวจีนเข้ามาอยู่ ในประเทศไทย แต่ด้วยความยึดถือใน ขนบธรรมเนียมประเพณขี องชาวจีนอย่างลึกซ้งึ ซง่ึ สามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบและวิธีการได้ดีเข้า กับบริบทของประเทศไทย ทาให้เกิดเป็นเอกลักษณ์ท่ีเฉพาะตัวและยากท่ีจะเลียนแบบ รูปแบบ

๑๖๑ ความเชื่อ ประเพณีวัฒนธรรมเหล่านั้นถูกแสดงออกอย่างชัดเจนในการแต่งกาย เช่น สี ลวดลาย การตัดเย็บ การเลือกผ้าตามพิธีกรรมต่างๆ จึงปฏิเสธไม่ได้ว่าส้ิงเหล่าน้ีเป็นความหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ไม่ต่างจากความหลากหลายทางชีวภาพอันมีส่วนให้สังคมน้ันๆมีทางออกในการ ววิ ฒั นาการผา่ นช่วงเวลา โดยดารงจติ วิญญาณของชนรุ่นก่อนได้ ไม่ต่างกับต้นไม้ใหญ่ที่มีรากแก้ว ท่ีแข็งแรง วัฒนธรรมน้ียังถูกให้ความสาคัญโดยชนรุ่นหลังดังที่ปรากฏในกระบวนการต่างๆใน งานวิจัยช้ินนี้ แม้จะมีอุปสรรคต่างๆเนื่องจากการปรับเปลี่ยนของสังคมผ่านช่วงเวลา แต่เป็นที่ เข้าใจได้ว่า ชาวบาบ๋าเพอรานากันเองมีความต้องการสืบทอดประเพณีการแต่งกาย และรู้สึกมี ความสุขที่ได้สวมใส่ชุดแม้เพียงในโอกาสสาคัญต่างๆ วัฒนธรรมการแต่งกายนี้จึงสมควรถูก นาเสนอให้เปน็ มรดกภมู ปิ ัญญาทางวฒั นธรรม ๖.๔ ปัญหาและขอ้ จากัดในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ในการเก็บรวบรวมข้อมูลมรดกภูมิปัญญาการแต่งกายของชุมชนบาบ๋า -เพอรานากัน ผู้วจิ ัยไดพ้ บปัญหาและข้อจากดั ดงั นี้ ๕.๔.๑ ชุมชนชาวจีนบาบ๋าในแถบอันดามันชายฝั่งทะเลส่วนใหญ่เป็นชุมชนเมืองขนาด ใหญ่ ซ่ึงเม่ือเมืองมีการเติบโตทางเศรษฐกิจมากข้ึนและมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางสังคม จากการท่ีชาวจีนบาบา๋ อยรู่ วมกันเป็นครอบครวั ขนาดใหญ่ ปัจจุบันนี้ก็เริ่มมีการแยกย้ายไปอยู่กัน เป็นครอบครัวเล็กๆ จึงทาให้เกิดการกระจายตัวของประชากรในพ้ืนท่ีชุมชนชาวจีนด้ังเดิม การ เก็บข้อมูลในลกั ษณะของการลงพ้ืนที่เมืองเก่าโดยไม่มีข้อมูลจึงทาได้ยาก ในระยะแรก การเข้าถึง ข้อมูลจากกลุ่มผู้ถือครองเครื่องแต่งกายในชุมชนปฏิบัติได้ค่อนข้างลาบาก เพราะผู้วิจัยไม่ได้สนิท สนมหรอื รู้จกั กลมุ่ คนดังกล่าว ต่อมาจึงใช้วิธีการเพื่อนต่อเพ่ือน โดยการหาผู้ให้ข้อมูลท่ีเป็นที่รู้จัก ในพืน้ ที่เพอ่ื เป็นผู้นาทางไปสู่กลมุ่ บุคคลอนื่ ๆ ๕.๔.๒ ในบางครั้งผู้วิจัยไม่สามารถบันทึกภาพเครื่องแต่งกายและเคร่ืองประดับได้ด้วย เหตุผล ๒ ประการ คือ เพราะการสัมภาษณ์ข้อมูลได้เพียงแค่ข้อมูลท่ีเกิดขึ้นในอดีต บาง ครอบครัวมิได้เก็บเคร่ืองแต่งกายไว้ในครอบครองแล้ว แต่แจกจ่ายให้ญาติหรือบุคคลอ่ืนๆ หรือ หากชารดุ เสยี หายก็อาจทง้ิ ไป เนอ่ื งจากเห็นวา่ เป็นของเก่าโบราณที่ไม่อยากเก็บไว้ ส่วนอีกสาเหตุ หนึ่งคือ ทรัพย์สมบัติที่มีค่าอย่างเครื่องประดับหรือเพชรนิลจินดา เป็นของหาดูได้ยากและผู้ให้ ข้อมูลเกรงว่าจะเส่ียงต่อการสูญหาย จึงบันทึกได้เพียงข้อมูลรูปลักษณ์ของเครื่องประดับใน ลกั ษณะขอ้ ความเทา่ นั้น ๕.๔.๓ การตดิ ตอ่ นัดหมายกลมุ่ เยาวชนในชมุ ชนเมอื งอาจเป็นเรื่องค่อนข้างยากสาหรับผู้ ที่ไม่รู้จักหรือเก่ียวข้อง จึงจาเป็นต้องใช้วิธีการเข้าถึงสถาบันการศึกษา ตัวอย่างเช่น โรงเรียน ประจาจังหวัดทมี่ นี โยบายให้การสนับสนุนเรื่องต่างๆในด้านศิลปวัฒนธรรมของชุมชน หรือมีการ

๑๖๒ สร้างพิพิธภัณฑ์หรือแหล่งเรียนรู้ทางด้านวัฒนธรรมในโรงเรียน เป็นต้น ซึ่งเห็นได้ว่าสถาบันเป็น ตัวประสานกลุ่มลูกหลานชาวจนี บาบา๋ กับการสืบทอดวัฒนธรรมการแตง่ กายไดด้ ีท่สี ุด ๕.๔.๔ การจัดโครงการต่างๆที่เกี่ยวกับด้านศิลปวัฒนธรรมต้องอาศัยความร่วมมือกับ หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน รวมถงึ การมสี ว่ นรว่ มกบั ชุมชน ซ่งึ มที ั้งกลุ่มคนท่ีเห็นด้วยและไม่ เห็นด้วยในการสนับสนุนโครงการต่างๆ เพราะอาจเป็นมิใช่เรื่องที่เก่ียวกับปากท้องหรือเรื่องของ ผลกาไร จึงจาเป็นต้องอาศัยกลวิธีและพละกาลังอันมากในการทากลุ่มคนที่ไม่เห็นด้วยหันมา สนใจในวัฒนธรรมการแต่งกาย โดยอาจใช้วิธีการโฆษณาประชาสัมพันธ์ด้วยส่ือท้องถ่ินและสื่อ ต่างประเทศ เพื่อทาให้เกิดกระแสความนิยมในเร่ืองของวัฒนธรรมให้เกิดข้ึนในชุมชนและเพ่ือให้ คนกลุ่มที่ไม่เห็นด้วยเหล่าน้ันตระหนักถึงการนาเอาประเด็นด้านวัฒนธรรมมาเป็นเคร่ืองส่งเสริม ทางด้านธุรกจิ การท่องเทย่ี ว ๖.๕ ขอ้ เสนอแนะในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลครั้งตอ่ ไป ผู้วิจัยได้เสนอขอ้ แนะนาเก่ียวกับการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลและการจัดกิจกรรมท่ีส่งเสริม มรดกภมู ปิ ญั ญาการแต่งกายของชุมชนบาบ๋าเพอรานากนั สาหรับผทู้ าวิจยั ในด้านนี้ตอ่ ไป ดงั นี้ ๕.๕.๑ เม่ือเข้าใจกระบวนการเก่ียวกับระบบความรู้ของวัฒนธรรมเครื่องแต่งกายบาบ๋า เพอรานากัน ผู้สนใจสามารถนาทฤษฎตี า่ งๆที่แนะนาน้นั ไปศึกษาเพ่ิมเตมิ เชน่ หากศึกษาเก่ียวกับ ระบบผลิตเครือ่ งแต่งกายในประเทศอนิ โดนเี ซยี กส็ ามารถนาประเดน็ ในเรื่องของการออกแบบชุด เส้ือผ้า (Fashion Design) เข้ามาวิเคราะห์รูปแบบต่างๆ หรือหากสนใจในแง่ของตลาดการขาย สินค้าประเภทเครื่องแต่งกาย ก็สามารถเช่ือมโยงกับประเด็นการศึกษาด้านธุรกิจและการตลาด เป็นต้น ๕.๕.๒ เน่ืองจากผู้วิจัยได้เลือกชุมชนชาวบาบ๋าภูเก็ตเป็นกลุ่มประชากรตัวอย่าง ดังนั้น งานวิจัยต่อไป ควรจัดให้มีการเก็บรวบรวมจัดเก็บข้อมูลและส่งเสริมการจัดกิจกรรมการสืบทอด วฒั นธรรมการแตง่ กายบาบ๋าเพอรานากนั ในชมุ ชนของชาวไทยเชื้อสายจีนให้ครอบคลุมพ้ืนท่ีอ่ืนๆ เชน่ ระนอง ตะกั่วป่า ทา้ ยเหมือง ตรัง ฯลฯ ซ่ึงเป็นกลุ่มชาวจีนโพ้นทะเลกลุ่มใหญ่ที่ในอดีตเคยมี ความสมั พันธ์กบั ชาวไทยเช้อื สายจนี ในภูเกต็ และพ้นื ที่อ่นื ๆ เชน่ ปีนงั มะละกา สงิ คโปร์ เป็นต้น ๕.๕.๓ ดว้ ยวฒั นธรรมการแตง่ กายบาบา๋ เพอรานากนั ได้เปลยี่ นแปลงไปตามกาลเวลา จึง อาจทาให้ผู้สวมใส่เกิดความรู้สึกถึงความล้าสมัยของรูปแบบเส้ือผ้า ผู้สนใจด้านการออกแบบตัด เย็ บ ค ว ร ท า ก า ร ศึ ก ษ า เ ค รื่ อ ง แต่ ง ก า ย นี้ ใ น แ ง่ ข อ ง ลั ก ษ ณ ะ บุ คล ลิ ก ข อ ง ช า ว จี น บ า บ๋ า กั บ ก า ร แสดงออกท่ีส่ือในลวดลาย เพื่อให้เกิดความเข้าใจในตัวตนของผู้สวมใส่ก่อนนาไปต่อยอดการ สรา้ งสรรค์ผลงานดา้ นการออกแบบตัดเย็บเครื่องแต่งกายบาบา๋ เพอรานากันในรปู แบบใหม่

๑๖๓ ๕.๕.๔ ทางภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชนชาวบาบ๋า ควรจัดกิจกรรมท่ีส่งเสริมด้านการ แต่งกายบาบ๋าเพอรานากันอย่างต่อเน่ือง เพื่อให้คนรุ่นหลังได้รับการปลูกฝั่งความเป็นชาวจีน บาบ๋าผ่าน โดยอาจนาเอาประเพณีท่ีสาคัญผนวกกับวัฒนธรรมหรือศาสตร์ด้านอื่นๆ เช่น อาหาร ภาษา ประวตั ิศาสตร์ สถาปัตยกรรม เปน็ ตน้

๑๖๖ บรรณานกุ รม แหล่งอา้ งองิ ภาษาไทย เจษฎา นิลสงวนเดชะ. (๒๕๕๔). การศึกษาภาพและคามงคลจากภาพพิมพ์แกะสลักไม้: กรณีศึกษา หมูบ่ ้านหยางหล่ิวชิง มหานครเทียนจิน สาธารณรัฐประชาชนจีน. สงขลา: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์. เทศบาลนครตรัง. (๒๕๔๙). แลหลัง เมืองตรงั ใต้ร่มพระบารมี. กรงุ เทพฯ: เวริ ์คพอยท์ พบั ลิชชง่ิ . เมฆาณี จงบุญเจอื และสมพิศ คลขี่ ยาย. (๒๕๕๖). อาหารปักษใ์ ต้ บาบ๋า ยาหยาอันดามัน. กรุงเทพฯ: สานกั พมิ พ์เศรษฐศิลป์. โครงการพัฒนาและอนุรักษ์ย่านการค้าเมืองเก่าภูเก็ต. (๒๕๔๕). เอกสารเผยแพร่ทางวิชาการ งาน ย้อนอดตี เมอื งภูเกต็ ครง้ั ที่ ๕. ไชยยทุ ธ ปิ่นประดบั . (๒๕๔๔). ชาวจนี และคนไทยเชอ้ื สายจนี ในภเู ก็ต. ภูเก็ต. กรมสามญั ศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับ บริษัท ซี พี เซเว่นอีเลฟเว่น จากัด. (๒๕๓๙). ส่ิงดีใน วิถีไทย-จีน. กรุงเทพฯ: กรมสามญั ศกึ ษา. กาญจนา เทพแก้ว และคณะ. (๒๕๕๔). ส่ือพ้ืนบ้านศึกษา ในสายตานิเทศศาสตร์. กรุงเทพฯ: ห้าง หนุ้ สว่ นจากัดภาพพิมพ์. กาญจนา แก้วเทพ และคณะ. (๒๕๕๓). การบริหารจัดการวัฒนธรรมพ้ืนบ้านแบบมีส่วนร่วมด้วย นวัตกรรมการวิจัย. กรงุ เทพฯ: หา้ งหุน้ ส่วนจากัดภาพพิมพ์. กาญนา แก้วเทพ และรัตติกาล เจนจัด. (๒๕๕๓). การใช้ประโยชน์จากงานวิจัยด้านการบริหาร จดั การวฒั นธรรมแบบมีสว่ นรว่ ม. กรงุ เทพฯ: หา้ งหุ้นส่วนจากัดภาพพิมพ์. กิตติมา จันทร์ตรี. (๒๕๔๑). ช่องแคบมะละกา มาเลเซีย-อินโดนีเซีย. กรุงเทพ: สานักงานกองทุน สนับสนุนการวิจยั .