Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดเก็บและรวบรวมข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม “การแต่งกายของชุมชนบาบ๋าเพอรานากัน”

การจัดเก็บและรวบรวมข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม “การแต่งกายของชุมชนบาบ๋าเพอรานากัน”

Description: การจัดเก็บและรวบรวมข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม “การแต่งกายของชุมชนบาบ๋าเพอรานากัน”.

Search

Read the Text Version

๕๐ มลี วดลายดอกไมอ้ ยทู่ ีบ่ รเิ วณเอว นอกจากนี้ ยังมีเสือ้ ผ้าปา่ นรูเบียคือ ผ้าป่านเน้ือดีท่ีปักดอกไม้ใน ตัว เส้ือประเภทน้ีจะมีหลากสีท้ังสีหมากสุก (ลักษณะคล้ายสีส้ม) สีเหลือง และสีม่วง เป็นท่ีนิยม มากเพราะสวมใสส่ บาย ไมร่ อ้ น แต่ราคาสูงมากเพราะนาเข้ามาจากประเทศสวิสเซอร์แลนด์ บาง คนก็เรียกว่า ผ้าปา่ นสวสิ มีท้งั ผา้ สีพื้นและผ้าลายปกั สาวบาบ๋าบ้านนม้ี ีความสามารถพิเศษในการ ตัดเยบ็ เสื้อผ้าสวมใสเ่ อง คุณสมจติ ต์ผ้เู ป็นนอ้ งสาวมักตัดเสือ้ ให้พส่ี าวใสอ่ ยู่เสมอ คุณมลิวัลย์ได้อธิบายต่อเก่ียวกับผ้าถุงปาเต๊ะท่ีท่านมีอยู่เป็นกุลีว่า ผ้าโบราณหลายผืนที่ แปรเปลี่ยนสภาพไปตามกาลเวลา บางตวั กข็ าดบ้างหรอื ทภี่ ูเกต็ เรียกว่า “มันกินตัวเอง” ท่านก็จะ นาไปอัดผ้ากาวเสริมให้ผ้ามีความสวยงามมากขึ้น การอัดกาวทาให้เนื้อผ้าแข็งสวมใส่ไม่สบาย ท่านจงึ ได้ดัดแปลงผ้าดังกล่าวโดยการเย็บเป็นผ้าถุงสาเร็จรูป เวลานุ่งก็จะอยู่ตัวและสวมใส่ได้ง่าย ขน้ึ เพียงแค่เก่ียวตะขอผ้าสองข้าง ผ้านุ่งปาเต๊ะท่ีมีส่วนหน้ากับส่วนท้ายมีข้อดีคือ สามารถเลือกสี เสอ้ื เขา้ กับผา้ นงุ่ ได้ง่ายกวา่ เชน่ ผ้าน่งุ บางตวั มที ้งั สเี ลอื กกับสฟี ้าอยูใ่ นตัวเดียวกัน เพราะฉนั้นเวลา เลือกเส้ือมาสวมใส่ก็สามารถเลือกได้ท้ังสองโทนสี ส่วนลวดลายที่อยู่ในผ้าปาเต๊ะมักปรากฎเป็น ลายสัตวป์ ีกตา่ งๆ เชน่ นก ไกฟ่ ้า เป็นตน้ หรอื ตามแต่จินตนาการของผู้วาดท่ีจะรังสรรให้นกมีหาง ยาวมากจากฟากหรือนกที่อยู่กันเป็นครอบครัว แสดงถึงความชื่นชอบลวดลายสัตว์ปีกของสาว บาบ๋าในสมัยหน่ึง ส่วนสีของผ้าถุงเป็นสีผสมที่มีความแตกต่างจากสีพื้นฐาน เช่น การใช้สี เทอคอยส์ (Turquoise) สีม่วงเม็ดมะปราง (Deep violet) เป็นต้น เมื่อกล่าวถึงรองเท้าท่ีสวมใส่ ให้เขา้ กับชดุ ยะหยา สาวบาบ๋ามักใส่รองเทา้ ลกู ปัดมสี ้นสงู บ้างหรือส้นเตี้ยบา้ ง ส่วนใหญ่เป็นลูกปัด ปักละเอียดเป็นลายดอกไม้หลากสี สงวนราคาคู่หน่ึงในปัจจุบันประมาณ ๔๐๐๐ – ๑๐,๐๐๐ บาท ซ่ึงถือว่าเป็นรองเท้าที่มีงดงามในแง่ของลวดลายงานปักท่ีแสดงถึงความมีรสนิยมของผู้สวม ใส่และความ คุณวิภาดาเป็นสะใภ้ของคนภูเก็ตที่มีความขยันขันแข็งมาก เป็นผู้ท่ีเปิดร้านขนมจีนและ ปาท่องโก๋ที่มชี อ่ื เสียงมากแหง่ หนง่ึ ในจงั หวัดภเู กต็ ทา่ นเล่าวา่ ทกุ วันนี้หากมีใครไปแวะรับประทาน ขนมจีนที่ร้านคู่ขวัญ จะเห็นท่านแต่งชุดยะหยาคือ ใส่เสื้อลูกไม้ นุ่งผ้าถุงปาเต๊ะ ใส่รองเท้าลูกปัด คอยตอ้ นรบั ลูกค้าและพูดคุยโอภาปราศัยทุกวัน การแต่งชุดดังกล่าวเป็นความชอบส่วนตัวที่ท่าน รู้สึกว่าเป็นเจ้าของมรดกทางวัฒนธรรมท่ีสามารถแสดงออกได้ในชีวิตประจาวัน และแม้ท่านจะ เป็นชาวจังหวัดตรัง แต่การแต่งกายบาบ๋าก็ถือว่าเป็นวัฒนธรรมร่วมกันของชาวไทยเชื้อสายจีนที่ อาศัยอยู่บรเิ วณชายฝง่ั อนั ดามนั ท่ไี มส่ ามารถแยกความรู้สึกทีภ่ มู ิใจในการแตง่ กายนีต้ ามพื้นที่ได้

๕๑ ภาพผ้ใู ห้ข้อมลู คอื คณุ ตโิ รจน์ เลศิ เอกกลุ ท่ีมา: ผศ.ปราณี สกลุ พิพฒั น์ คุณติโรจน์ เลิศเอกกุล (ช่ือในภาษาจีนฮกเก้ียนคือ เหล่ก๊กเก๋ียว) เป็นบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวทิ ยาลัยราชภฎั ภเู กต็ ปีการศกึ ษา ๒๕๕๕ ผู้เช่ียวชาญทางด้านวัฒนธรรมของคนไทยเชื้อสาย จนี ในภเู ก็ต และเป็นอาสาสมคั รเขียนหนังสือภาษาจีนให้ศาลเจ้าจุ๊ยตุ๋ยมานานกว่า ๕๐ ปี รวมถึง เป็นเจ้าของร้านขายอาหารเช้าภูเก็ตด้ังเดิมช่ือ ร้านซีเต็กค้า สมรสกับคุณดวงฤดู แซ่ตัน (เดิมช่ือ คุณเพ็กเง็ก) บิดาช่ือนายจ้ินฮ่อง แซ่เหล่ เป็นผู้อพยพมาจากเมืองจีนแผ่นดินใหญ่ เมื่อถามถึง เคร่ืองแต่งกายของชาวจีนในสมัยคุณพ่อของคุณติลก (ผู้วิจัยคาดว่าประมาณปีพุทธศักราช ๒๔๖๐) จึงได้ความว่า คุณพ่อไม่เคยแต่งตัวแบบคนจีนแผ่นดินใหญ่ เพราะย้ายมาอยู่ภูเก็ตตั้งแต่

๕๒ เด็กๆ จึงได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมการแต่งกายแบบคนจีนบาบ๋ามากกว่า ชุดแต่งกายท่ีมักพบ เหน็ อยเู่ สมอคอื การนงุ่ กางเกงขายาวสีขาวหรือสกี ากี และสวมเส้อื เชิต้ ผู้ชายจีนบาบ๋าในภูเก็ตยังนิยมตัดกางเกงด้วย “ผ้าไต่เส็ง” คือ ผ้าที่มีลักษณะหยาบ สี กรมท่าคล้ายผ้ายีนส์ แต่ถ้าย่ิงซักก็จะย่ิงน่ิมและล่ืนข้ึน เนื่องจากเป็นผ้าชนิดนี้เนื้อหนามาก เวลา รีดจะต้องใช้ความอดทนสูงในการรีดให้ผ้าเรียบด้วยระดับความร้อนที่สูง หรือคนสมัยก่อนจะรีด ดว้ ยเตาถา่ น โดยรับอทิ ธพิ ลมาจากเมอื งจีนแผ่นดนิ ใหญ่ แต่คนภูเก็ตสามารถส่ังซ้ือได้จากปีนัง ผ้า ชนดิ นี้จาหน่ายเป็นมว้ น โดยมว้ นหนงึ่ สามารถเย็บกางเกงขายาวได้ ๑ ตัว และกางเกงขาส้ันได้ ๓ ตัว ต่อมาในสมัยคุณติลก (ประมาณปีพุทธศักราช ๒๕๐๐) การแต่งกายของผู้ชายภูเก็ตใน ชีวิตประจาวนั เริม่ ง่ายขึ้นคือ การใส่เส้อื กล้ามหรือเส้อื “ย่อน” (เสื้อยืดสีขาวแขนสั้น) และกางเกง ขาสั้นเสมอหัวเข่า ซ่ึงหากได้มีโอกาสแวะเข้าโกปี้เต่ียม (ร้านกาแฟยามเช้า) หรือร้านค้าที่มีผู้ชาย ชาวจีนอายุประมาณ ๔๕ ปีข้ึนไปเป็นคนขายของหน้าร้าน ก็มักจะพบการแต่งกายในลักษณะ ดังกลา่ วโดยเฉพาะในชุมชนชาวจีนเก่าแก่ เชน่ ชมุ ชนกะทู้ ชุมชนเบ้ฮวั้ ชุมชนถลาง เป็นตน้ แต่ถ้า เวลาไปงานสาคญั ผชู้ ายก็จะนงุ่ กางเกงสีเขม้ กับเสอื้ เชติ้ ตามสมยั นยิ ม ภาพซ้ายบน : วนั ที่ ๑ เจ้าสาวกบั มารดาในวนั ทาขนมสด ภาพขวาบน : วนั ที่ ๒ วนั แตง่ งานพิธีตอนเช้า ภาพซ้ายลา่ ง : วนั ท่ี ๒ งานเลยี ้ งตอนกลางคืน ที่มา : ตลิ ก เลศิ เอกกลุ

๕๓ ข้อมูลที่สาคัญจากการเก็บข้อมูลคือเครื่องแต่งกายกับพิธีสมรสของคนจีนภูเก็ต งาน แต่งงานแบบชาวบาบ๋าโดยทั่วไปนิยมจัด ๓ วัน (ข้อมูลเพิ่มเติมอยู่ในส่วนพิธีกรรมที่เก่ียวกับการ แต่งงาน) แต่พิธีแต่งงานของคุณติลกกับคุณดวงฤดีจัดเพียง ๒ วัน โดยจัดพิธีอย่างเรียบง่ายและ ประหยดั เพราะคณุ ตลิ กใหเ้ หตุผลวา่ คนสมยั กอ่ นแตง่ งานทหี่ น้าบา้ นฝา่ ยเจ้าบ่าว ไม่มีการจัดงาน ในโรงแรมเหมือนสมัยนี้ ซึ่งพิธีแต่งงานประกอบด้วยวันท่ี ๑ เจ้าสาวจะแต่งกายด้วยชุดยะหยาสี ขาว (เสอ้ื เคบายา) กับนุ่งผา้ ถุงในวนั ทาขนมสดตามประเพณี ส่วนวันท่ี ๒ เป็นวันแต่งงานตอนเช้า เจ้าสาวใส่ชุดบุ๋นเบ๋ง (ชุดแต่งงานแบบสมัยใหม่) ส่วนผู้ชายใส่เส้ือสูทสีดาผูกเนคไทกับกางเกงส แลคสีดาตามสมยั นยิ ม งานตอนกลางคนื ผหู้ ญงิ จะใส่ชุดราตรียาวแขนสนั้ สีขาว สว่ นผชู้ ายแต่งกาย ในลกั ษณะเดียวกับพิธตี อนเชา้ แตต่ า่ งกนั ทก่ี ารผกู โบว์หกู ระต่ายแทนการผูกเนคไท นอกจากน้ี การจัดพิธีแต่งงานในช่วงเช้ามักมีการถ่ายภาพหมู่กับเพื่อนๆ โดยมีเพื่อน เจ้าสาว ๔ คน ประกอบด้วยเพื่อนเจ้าสาวที่ใส่ชุดยะหยานุ่งผ้าถุง ๒ คนแสดงถึงผู้อาวุโส ส่วน เพื่อนเจ้าสาวทีท่ ่นี ุ่งกระโปรงแตง่ ชุดสมัยใหม่ ๒ คนแสดงถึงวัยหนุ่มสาว และสุดท้ายคือเด็กผู้ชาย ๑ (ภาพด้านล่าง) คนที่แสดงถึงวัยเด็ก ทั้งหมดนี้เป็นการสื่อความหมายของวงจรชีวิตว่ามีท้ังวัย เด็กและวัยหนุ่มสาวแล้ว การแต่งงานก็ถือเป็นปรากฏการณ์การเปลี่ยนแปลงชีวิตอย่างหน่ึงท่ีบ่ง บอกสถานะของการก้าวเข้าสู่วัยกลางคน และวัยสุดท้ายของชีวิตมนุษย์ทุกคนคือวัยชรา ในพิธี สมรสแบบจีนบาบา๋ น้ี เครือ่ งแต่งกายถือเป็นสัญลักษณ์หนึ่งของการแสดงช่วงอายุของคนที่มักพบ กบั การเปล่ยี นแปลงเหมือนกับแฟช่นั ของเส้ือผา้ ที่สวมใส่ ภาพถา่ ยหมกู่ บั บรรดาเพื่อนฝงู ในพธิ ีสมรสของคณุ ติลก – ดวงฤดี เลิศเอกกลุ ทม่ี า : ตลิ ก เลศิ เอกกลุ

๕๔ ๔.๒.๒ ชมุ ชนกะทู้ ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันตกของจังหวัดภูเก็ต ตรงข้ามกับชุมชนย่านเมืองเก่าภูเก็ต เป็น ชุมชนเล็กๆท่ีตั้งอยู่ใกล้กับเส้นทางไปป่าตอง เดิมเป็นแหล่งท่ีมีการทาเหมืองแร่ดีบุกกันอย่าง แพร่หลาย จึงทาให้มีประชากรชาวจีนอพยพเข้ามาอาศัยในชุมชนแห่งนี้เพิ่มมากขึ้นต้ังแต่สมัย ปลายอยุธยา และเมื่อสมัยธนบุรีท่ีพระเจ้าตากสินมหาราชเริ่มมีการเปิดประตูการค้ากับจีน ก็ย่ิง ทาให้มีชาวจีนอพยพเข้ามาหาที่ทากินในกะทู้มากกว่าเดิม โดยกลุ่มคนเหล่าน้ีได้ปลุกกระแสการ ทาเหมอื งแรจ่ ากการประสบความสาเร็จในการขุดหาแร่ได้เป็นจานวนมาก ทาให้กลุ่มคนเหล่านี้มี รายได้เป็นกอบเป็นกาจนสามารถสร้างเน้ือสร้างตัวได้ในท่ีสุด ความเจริญรุ่งเรืองจากการทา เหมืองแร่ได้เกิดขึ้นอีกคร้ังในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว เม่ือมีการพบว่ากะทู้ คือแหล่งแร่ดีบุกที่ดีท่ีสุด ส่งผลให้เจ้าเมืองภูเก็ต พระยาภูเก็ต (แก้ว) บุตรชายของพระยาถลาง (เจิม) ได้กาหนดศูนย์กลางของเมืองภูเก็ตอยู่ท่ีเก็ตโฮ่ (ในอดีตคาดังกล่าวเขียนว่า เก็จโฮ่ คาว่า “เก็จ” หมายถึงฝงั เข้าดว้ ยหรือความหมายตรงตวั วา่ แก้ว สว่ นคาว่า “โฮ่” แปลวา่ รวมความพร้อม ก่อนจะมาเปล่ียนเป็น เก็ตโฮ๋ ในสมัยรัชกาลท่ี ๖) ซึ่งเป็นพ้ืนที่ท่ีรวมตัวกันของคนในชุมชน จาก ชุมชนเล็กกลายเป็นชุมชนท่ีใหญ่ข้ึนเร่ือยๆ เติบโตตามแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจการค้าแร่ดีบุก (สานกั งานศึกษาธิการจงั หวดั ภเู ก็ต, ๒๕๔๑) เกต็ โฮ่เปน็ พน้ื ทีท่ ต่ี ดิ กับชุมชนกะทู้ คนภูเกต็ มักเรยี กเป็นภาษาใต้ว่า “ในทูว” เป็นเมืองท่ี มีลักษณะเป็นท่ีราบหุบท่ีมีเขาล้อม ชาวจีนที่เดินทางมาเป็นกุลีในเหมืองแร่ส่วนใหญ่ก็จะตั้งลง หลักปักฐานในชุมชนกะทู้ในยุคสมัยนั้น แม้ว่าขณะน้ี อุตสาหกรรมเมืองแร่ในกะทู้ได้หมดไปตาม การเปลี่ยนแปลงของกาลเวลา แต่หลักฐานที่ยังปรากฎให้เห็นถึงร่องรอยของชุมชนชาวจีน คือ กลุ่มลูกหลานบาบ๋าท่ีสืบเชื้อสายความเป็นจีนของบรรพบุรุษ ศาลเจ้ากะทู้ (ฉายต้ึง) หรือท่ีคน ภูเก็ตเรียกว่า อ๊ามในทูว ศาลเจ้าต่องย่องสู ศาลเจ้าฮกเซ้ียนเก้ง และแหล่งเรียนรู้วัฒนธรรม เหมอื งแร่ของชาวไทยเชื้อสายจีนอยา่ งพิพธิ ภณั ฑ์เหมืองแรภ่ เู ก็ต ในช่วงเดือนกรกฎาคมของทุกปี ชุมชนกะทู้ร่วมกับเทศบาลนครภูเก็ตยังได้มีการจัดงาน ถนนสายวัฒนธรรมเมืองกะทู้ ซึ่งเป็นลักษณะคล้ายงานถนนคนเดินประจาปี โดยเยาวชนจะได้ เรียนรู้ถึงสายใยของวัฒนธรรมบาบ๋าที่ยังคงปรากฎอยู่ในสายเลือดของลูกหลาน ในงานมีการจัด แสดงพิธีไหว้เทวดาแบบชาวจีนโพ้นทะเลในสมัยโบราณ สาธิตการร่อนแร่ดีบุกโดยกลุ่มคนท่ีเคย เป็นคนงานในเหมือง การให้ชิมขนมปุ้นเต่ (พ้ืนเมือง) การร่วมแรงร่วมใจของคนในชุมชนในการ แตง่ กายชุดยะหยา เป็นต้น

๕๕ ภาพผ้ใู ห้ข้อมลู เรียงลาดบั จากซ้ายไปขวา นางบี๊ฮอ่ แซต่ นั และนางปกครอง ถนอมเกียรติ ทีม่ า: ผศ.ปราณี สกลุ พิพฒั น์ นางปกครอง ถนอมเกียรติ (นามสกุลเดิมคือ อรุณรัตน์) ต้ังอยู่บ้านเลขที่ ๑๐๐/๔ ตาบล กะทู้ อายุ ๗๕ ปี เปน็ คนกะทู้โดยกาเนิด แต่สมัยสาวๆใช้ชีวิตส่วนใหญ่อยู่ในภาคกลางกับสามีคือ นายวินัย ถนอมเกียรติ ซ่ึงทางานในบริษัทเอกชนรับเหมาสร้างถนนท่ัวประเทศไทย หลังจากที่ ได้มาอยู่ภูเก็ต ท่านก็กลับมาแต่งกายแบบสาวบาบ๋าภูเก็ต และยังสามารถตัดเย็บเส้ือผ้าเองได้ บิดามีอาชีพเป็นนายตารวจช่ือว่า ร้อยตารวจเอกองอาจ อรุณรัตน์ (นามสกุลเดิมคือ แซ่หลิม) มารดาช่ือนายเลยี นก๊ี แซข่ อ บ้านเดิมอาศยั อยู่ใกลศ้ าลเจา้ กะทู้ ในสมยั เด็กนางปกครองนุ่งผ้าถุงบา้ งน่งุ กระโปรงแบบสากลบ้างตามโอกาส และยังมีฝีมือ ในการเยบ็ เสอ้ื ผ้าใส่เอง อปุ นิสยั เป็นผ้หู ญงิ ทเ่ี รยี บรอ้ ยมาก สงั เกตไดจ้ ากการเก็บเส้ือผ้าในตู้เสื้อผ้า ทม่ี คี วามเป็นระเบยี บและจดั เกบ็ อยา่ งเปน็ สดั สว่ น ผ้าบุหงา เป็นเสื้อลูกไม้ลักษณะเน้ือโปร่ง มักใส่ กับเสื้อในเต็มตัว คุณยายปกครองเล่าว่า ในสมัยที่ท่านยังเล็กๆ คุณแม่มักแต่งกายในลักษณะ เดยี วกันคือ เวลาไปงานเดือนสิบหรืองานแต่งงาน ท่านจะสวมเสื้อลูกไม้ นุ่งผ้าปาเต๊ะ และดัดผม ตามยุคสมยั ใหม่ ไม่เกลา้ มวยเหมอื นคนโบราณ

๕๖ ภาพผ้ใู ห้ข้อมลู เรียงลาดบั จากซ้ายไปขวา คณุ วรวรรณ ณ ตะกว่ั ทงุ่ และภาพรองเท้าลกู ปัดที่อายกุ วา่ ๒๐๐ ปี ทีม่ า: ผศ.ปราณี สกลุ พิพฒั น์ คุณวรวรรณ ณ ตะก่ัวทุ่ง อยู่บ้านเลขที่ ๕ หมู่ ๓ ตาบลกะทู้ เป็นลูกสาวคนสุดท้องของ นายเที่ยง ฉายสะบัด (เดิมช่ือนายไล่กี่ แซ่อึ๋ง) เป็นชาวกะทู้โดยกาเนิด เดิมมีอาชีพเป็นตารวจ และต่อมาได้ลาออกแล้วมาขับรถสองแถว เส้นทางภูเก็ต-ตะกั่วป่า ใช้เวลาเดินทาง 10 ชั่วโมง ตั้งแต่ตีสามตอนเช้าจนถึงบ่ายสามโมง ซ่ึงเปรียบเทียบกับระยะเวลาการเดินทางในยุคนี้ท่ีใช้เวลา เพียง ๑ – ๒ ชั่วโมง คุณบ้ีฮ่อ ปานคง เป็นผู้เล่าประสบการณ์ผู้นั่งสองแถวดังกล่าวว่า เคยอาศัย รถน่ังไปทาเหมืองแร่ท่ีเหมืองมะนาว ค่ารถในสมัยน้ันราคา ๑๐ บาท ด้วยความที่คุณพ่ออยากมี ลูกมาก จึงได้ให้กาเนิดบุตรจานวน ๖ คน แต่โชคร้ายที่บุตรทั้งหมดได้จากไป จนกระท้ังได้ให้ กาเนิดลูกสาวคนสุดท้องคือ คุณวรวรรณ คุณพ่อรู้สึกดีใจมากจึงได้ทารองเท้าแตะยางท่ีมีขนาด เล็กมากเท่ากับคาโบราณท่ีว่า “เด็กน้อยตีนเท่าฝาหอย” และยังมีผ้าปิดท้องสาหรับเด็กทารก สาหรับเวลาปวดท้องลมขึ้น ส่วนท่อนบนของเด็กทารกจะใส่เอ๊ียมหรือ ต้อ หรือ ต๊อก๋วน คือเอา ผ้าผืนเล็กๆมาตอ่ กนั แตส่ าหรับบ้านน้ีคุณแม่สวมใส่ผ้าลูกไม้ คุณแม่ก็จะนาเส้ือลูกไม้ท่ีเหลือใช้มา เย็บทาเปน็ ต้อ ดา้ นหลังของเอยี๊ มเปน็ ผ้าธรรมดา ส่วนผ้าถุงซื้อมาในราคา ๓ บาท ๕๐ สตางค์ในช่วงเวลาท่ีทองสลึงละ ๔๐ บาท ผ้า เหลา่ น้มี าจากเมืองปนี งั วธิ ีการดผู า้ เก่าวา่ เป็นผา้ ทามือหรือไม่คือ ดูจากลายดอกไม้สีขาวจะมีแต้ม สีเหลืองด้วย ส่วนใบไม้มีสองสีข้างหนึ่งเหลืองข้างหนึ่งเขียว จุดที่บ่งบอกถึงความเป็นบาบ๋าคือ ลายนกและลายผีเส้ือ แสดงถึงความสุข ผู้วิจัยสันนิษฐานว่า ผ้าดังกล่าวคุณแม่ได้เคยใส่ในงาน แตง่ งาน ผา้ เก่าสว่ นใหญม่ เี นือ้ บาง ผ่านการใชส้ อยมานานหลายปี

๕๗ ต่อมาเป็นผา้ ลาซอม มที มี่ าคือ เปน็ ผ้าลายเฉลยี งหรอื คนภูเก็ตเรียกว่าลายฟาดเฉียง และ มีความเปน็ บาบ๋าเพราะมีดอกโบตน๋ั ผลติ โดยคนจีนในเมืองเปกาลองกัน ซ่ึงต่อมากลายเป็นแหล่ง ผลิตใหญ่ทีส่ ุดทีค่ นภูเก็ตชอบสัง่ ซ้ือผา้ เมื่อพลกิ อีกดา้ นหน่ึงมีนกสองตัวแสดงถึงมีความสุข มีผีเสื้อ ผลไม้ ดอกไม้ดอกเล็กดอกใหญ่ ผ้าถุงของคนภูเก็ตจะต้องไม่แคบมาก เพราะสาวบาบ๋าภูเก็ตส่วน ใหญจ่ ะมีรปู ร่างอวบไม่ผอม ไกฟ่ า้ เปน็ สัญลกั ษณ์ของคนบาบา๋ หรือความสขุ ในอดุ มคติ ทา่ นเป็นเจา้ ของรองเท้าลูกปดั โบราณสมัยร่นุ ทวดของพอ่ ซึ่งมอี ายปุ ระมาณ ๒๐๐ ปี ท่ีได้ มีการสวมใส่จริง คนสมัยก่อนเวลามีเงินก็จะนิยมซ้ือลูกปัดคริสตัลท่ีมีมากจากเมืองเวนิส สิ่งท่ี ปรากฎคือ คุณวรวรรณเป็นผู้ที่เก็บสะสมของเก่าโบราณประเภทผ้าถุงท่ีได้รับมรดกจากคุณแม่ และของโบราณตัง้ แต่สมยั เดก็ ๔.๓ สาระสาคัญของ “การแต่งกายของชาวบาบ๋าเพอรานากนั ” ๔.๓.๑ ลกั ษณะท่วั ไปของการแตง่ กาย ๔.๓.๑.๑ การแตง่ กายตามเพศและวัย การแต่งกายแบบออกเป็น ๓ ช่วงเวลาใหญ่ๆตามเรื่องเล่าจากผู้มีประสบการณ์และ หลกั ฐานทางภาพถ่าย คือ ช่วงการอพยพย้ายถิ่นของกลุ่มชาวบาบ๋าจนถึงยุคล่าอาณานิคม (ก่อน พุทธศกั ราช ๒๔๖๐) ยคุ สมัยสงครามโลกคร้ังที่ ๑ และ ๒ (ปีพุทธศักราช ๒๔๖๐ – ๒๕๐๐) และ ยคุ สมยั ใหม่ (ปีพทุ ธศกั ราช ๒๕๐๑ – ปจั จุบนั ) การแต่งกายของชายชาวบาบ๋า กลุ่มผู้ชายชาวจีนในแถบชายฝ่ังทะเลอันดามันเป็นท้ังกลุ่มท่ีมาจากจีนแผ่นดินใหญ่และ ปีนัง ส่วนท่ีมีชาติกาเนิดเป็นชาวไทยเช้ือสายจีนก็เป็นรุ่นลูกถัดมา กลุ่มคนเหล่านี้ส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพเป็นเจ้าของกจิ การเหมืองแร่ดบี ุกจนมั่งคงั่ รา่ รวยได้ชอื่ วา่ เป็น “คหบดี” ที่เป็นท่ีนับ หน้าถือตาของคนในสังคม บางท่านเม่ือทาความดีความชอบพัฒนาเมืองให้มีความเจริญก้าวหน้า หรือช่วยเหลือกลุ่มชาวจีนผู้ตกทุกข์ได้ยาก ก็จะได้รับปูนบาเหน็จและแต่งตั้งให้เป็นขุนนางหรือ ข้าหลวงของพระเจ้าแผ่นดิน เช่น หลวงอานาจนรารักษ์ หลวงอนุภาษภูเก็ตการ พระพิทักษ์ชิน ประชา พระอร่ามสาครเขตต์ ขุนเลิศโภคารักษ์ เป็นต้น มักแต่งกายเพ่ือเข้าร่วมงานประเพณีที่ สาคัญๆ ตามกระแสวัฒนธรรมสมัยนิยมในขณะน้ัน น่ันคือ การแต่งกายท่ีได้รับอิทธิพลจากสมัย ราชวงศช์ งิ ตอนปลาย คอื การใส่เสอ้ื คอจีนแขนยาว (คนภูเก็ตมักเรียกว่า “เสื้อใหญ่”) ติดกระดุม ห่วงทกุ เม็ดอย่างเรยี บร้อย และสวมกางเกงขายาว สีเสอื้ มกั เปน็ สโี ทนเข้ม เช่น สีดา สีน้าเงิน และ

๕๘ กางเกงอาจเปน็ สีเดียวกันหรือสีขาว หรือท่ีชาวจีนในแผ่นดินใหญ่เรียกว่า “ชุดถางจวง” การแต่ง กายในยุคต่อมา การแต่งกายโดยใส่เสื้อใหญ่ก็ยังคงมีให้เห็น แต่จะใช้กระดุมเป็นเม็ดมากข้ึน ทั้ง เสื้อและกางเกงนิยมตัดด้วยผ้าไต่เส็ง (เป็นผ้าเน้ือหนาหยาบ คล้ายผ้ายีนส์) ผู้ชายชาวจีนในยุค แรกนิยมไว้เปียยาวแบบชาวแบบจีนตั้งแต่สมัยราชวงศ์แมนจู แต่พอเริ่มในยุคท่ีมีการตัดเปีย ผชู้ ายชาวบาบา๋ ก็นยิ มไว้ทรงผม “ซีก๊ักถาว” (ลกั ษณะคล้ายผมรองทรง แสดงถึงโหงวเฮ้งอันดีมาก คือ มีใบหน้าทรงส่ีเหลี่ยมผืนผ้า) จากหลักฐานภาพถ่ายเก่าๆอาจพบเห็นการสวมเสื้อยืดสีขาวไว้ ดา้ นใน แต่สวมเสื้อใหญ่ ไม่ติดกระดุม ผู้ใส่เสื้อใหญ่ในลักษณะน้ีเป็นลูกหลานชาวจีนอีกรุ่นหน่ึงท่ี รับอิทธพิ ลการสวมเสอ้ื ให้เหน็ ด้านในและด้านนอกแบบตะวันตก ส่วนวัยรุ่นในยุคนั้นนิยมสวมเสื้อเชิ้ตแขนสั้นสีขาว กางเกงขายาวทรงแกตสบี้หรือทรง ปลายขากวา้ ง สวมหมวกสกั หลาด (รปู ทรงเหมือนหมวกเจ้าพ่อเซ่ียงไห้) แต่ถ้าเป็นการแต่งกายใน บ้าน ผู้ชายบาบ๋านิยมใส่เส้ือยืด หรือ “เสื้อย่อนเนื้อนุ่ม” ยี่ห้อที่นิยมใส่กันคือเส้ือตราห่านคู่ นุ่ง กางเกงขาสั้น (หลังสงครามนิยมตัดด้วยผ้าไต่เส็งเช่นเดียวกัน เพราะทนทาน ใช้งานได้นานปี) ยาวประมาณหวั เขา่ หรอื เลยไปเลก็ น้อย ดงั รปู ภาพกลมุ่ ผ้ชู ายชาวบาบา๋ กบั เคร่ืองแตง่ กาย ทีม่ า: ผศ.ปราณี สกลุ พิพฒั น์ ภายหลังท่ียคุ สมัยของจนี เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นแบบสาธารณรัฐ ชายชาวจีนโพ้น ทะเลก็เร่ิมให้ความสาคัญกับการแต่งกายแบบ “ชุดจงซาน” (มาจากคาจีนกลางว่า “จุนจงซาน” ตามชื่อท่ีชาวจนี แผ่นดินใหญ่เรียกดร.ซนุ ยดั เซน็ ซ่งึ เป็นภาษาจีนกวางตุ้ง) ชุดดังกล่าวเป็นตัวแทน ของเคร่ืองแต่งกายของชนชั้นผู้มีการศึกษาสูง (Educated people) คือ สวมเสื้อคอตั้งแขนยาว คล้ายเส้ือราชปแตน ติดกระดุม ๕ เม็ด กระเป๋าด้านบนซ้าย-ขวา ๒ ใบและด้านล่างซ้าย-ขวา ๒

๕๙ ใบเช่นเดียวกัน สวมใส่กางเกงขายาว รองเท้าผ้าใบ ซึ่งในยุคนั้นวัฒนธรรมการแต่งกายถือเป็น กระบวนการหนึ่งในการสร้างชาติจีนให้เป็นปึกแผ่นในสมัยดร.ซุนยัดเซ็น โดยความนิยมของชุด ดังกล่าวกลายมาเป็นสัญลักษณ์ของชุดนายหัวเหมืองของคนภูเก็ตในปัจจุบันที่ไม่ค่อยแตกต่าง มากกบั การแตง่ กายแบบไทย โดยนยิ มสวมหมวกกะโล่สีขาวหรอื สีครีมและถือไม้เท้าคล้ายท่านขุน ในสมยั ก่อน ในยุคสมัยต่อมา ความเจริญก้าวหน้าทางการออกแบบเคร่ืองแต่งกายในตะวันตกได้มี อิทธิพลต่อกลุ่มหัวก้าวหน้าท่ีอาศัยในดินแดนกลุ่มลูกหลานชาวบาบ๋าท่ีได้รับการศึกษาแบบ ตะวนั ตกมากขนึ้ ในสมยั น้นั ถ้าลูกหลานหรือบุตรชายบ้านใดได้ไปศึกษาต่อในระบบมัธยมหรือไฮ สกูล (High School) ท่ีเมืองปีนัง ถือว่าได้ไปเรียนที่เมืองนอก เพราะระบบการศึกษาในปีนัง ขณะน้ันได้รับการวางรากฐานอย่างดีจากอังกฤษเฉกเช่นเดียวกับประเทศที่อยู่ ในการปกครอง ของสหราชอาณาจักรอย่างฮ่องกงและสิงคโปร์ในปัจจุบัน การแต่งกายท่ีนิยมพบเห็นมากในยุค ตั้งแต่ประมาณปีพุทธศักราช ๒๔๘๐ เป็นต้นมาคือ การสวมใส่เสื้อเชิ้ตด้านใน ใส่เส้ือสูท ผูกเนค ไท นุ่งกางเกงขายาวทรงแกตสบ้ี กับรองเทา้ หนัง (หรือท่ีคนภูเก็ตเรียกว่า “เกือกแบเร็ท” ตามช่ือ ยีห่ ้อรองเทา้ Baratte ท่โี ด่งดงั ในยุคสมยั นนั้ ) ภาพการแตง่ กายของกลมุ่ เพ่อื นเจ้าบา่ ว ทมี่ า: ผศ.ปราณี สกลุ พพิ ฒั น์ การแต่งกายแบบสากลดงั กล่าวทาใหผ้ ชู้ ายชาวบาบ๋าในยุดต่อมานิยมแต่งกายในลักษณะ น้ีจะได้คานิยมเป็นภาษาท้องถ่ินภูเก็ตว่า “โก๊ แต่งตัวหล่อกะจัง นุ่งค้อเชน ใส่เกือกแบเร็ท” (มี ความหมายว่า พ่ีชายหล่อจังเลย นุ่งกางเกงยีนส์ สวมรองเท้าหนังขัดขึ้นเงา) เวลาไปติดต่อธุรกิจ

๖๐ กับชาวต่างชาติ หรือไปงานพิธีการสาคัญๆ ก็จะแต่งกายสุภาพเช่นน้ี และแม้แต่การแต่งชุดของ เจ้าบ่าวก็ยังเป็นเครื่องแต่งกายที่เปล่ียนไปจากจีนดั้งเดิมเป็นการใส่สูทผูกเนคไทตามสมัยนิ ยม โดยผู้สวมใส่จะให้ความสาคัญกับการเลือกสีเส้ือท่ีเหมาะกับกาลและโอกาส เช่น การใช้สูทสีขาว หรือสงี าชา้ งในงานมงคล เป็นต้น การแต่งกายของหญิงชาวบาบ๋า การแต่งกายของสาวบาบา๋ จะข้ึนอยู่กับปัจจัยท่ีสาคัญ คือ การแต่งกายตามอายุ การแต่ง กายตามพิธีการหรือโอกาสต่างๆ ซึ่งผู้หญิงบาบ๋าเกือบทุกคนจะให้ความสาคัญกับการแต่งกายที่ ถูกต้องตามกาลเทศะและความปราณีตงดงาม แต่ในยุคผู้อพยพรุ่นแรกๆ กลุ่มคนส่วนใหญ่มักไม่ คานึงถึงปัจจัยอื่นนอกจากการแต่งกายท่ีสะดวกและคล่องตัวต่อการทางานหนัก ลักษณะเคร่ือง แต่งกายจึงเป็นเส้ือคอจีนและกางเกงทรงจีนหลวมสีน้าเงินเข้มหรือสีดา เป็นเสื้อสองชั้นด้านในมี กระเปา๋ ลบั ค่อนขา้ งเยอะ ในยุคต่อมาพบเห็นการแต่งกายของลูกหลานชาวไทยเชื้อสายจีนที่อาศัยอยู่บริเวณแถบ ชายฝ่ังอันดามันของไทยที่หลากหลายมากข้ึน แต่โดยส่วนใหญ่สาวชาวบาบ๋าจะนิยม “นุ่งผ้าถุง” ในชีวิตประจาวัน กับเสื้อลูกไม้แขนส้ันชนิดต่างๆตามแต่โอกาสและความเหมาะสม หากเป็น ผู้หญิงอายุไม่มากนักจะสวมเส้ือเข้ารูปตามสมัยนิยม บางคร้ังการแต่งกายแบบสบายๆอยู่ในบ้าน ของสาวภูเก็ตจะนุ่งผ้ากระโจมอกเพียงอย่างเดียว วิธีการนุ่งผ้าถุงไม่ให้หลุดลุ่ยเม่ือทากิจกรรม ตา่ งๆคอ่ นข้างต้องใชค้ วามชานาญ บางคนน่งุ มาต้ังแต่เด็กจึงทาให้เป็นเร่ืองง่าย ส่ิงท่ีมักพบเห็นใน ชีวิตประจาวันคือ การนุ่งผ้าถุงอาบน้า ในสมัยก่อนบริเวณอาบน้ามักจะอยู่กลางบ้านหรือกลาง ลาน ไม่ได้อยู่ในห้องน้าส่วนตัวเหมือนในปัจจุบัน ผู้หญิงจึงต้องฝึกนุ่งผ้าถุงให้ดีไม่ให้หลุดร่วง เพราะแรงน้า และมักจะมีผ้าถุงแห้งอีกหนึ่งผืนเพื่อไว้ใช้สาหรับเปล่ียนเอาผ้าถุงท่ีเปียกน้าไปตาก แห้งหรือซกั ตอ่ ไป นอกจากนี้ ถา้ ตอ้ งการออกไปธุระนอกบ้านไมน่ านก็จะใช้วิธีการสวมเสื้อเชิ้ตทับ ลงไปบนผา้ ถงุ กระโจมอกเรยี กว่า “เสอื้ กวม” ลกั ษณะการแต่งกายดังกล่าวยังคงปรากฎให้เห็นใน บ้านท่ีมบี รรดาสาวบาบา๋ สูงวัย

๖๑ ภาพการแตง่ กายของสาวบาบา๋ ท่มี า: ผศ.ปราณี สกลุ พพิ ฒั น์ ผ้าถงุ ปาเต๊ะมีความหมายตอ่ ผหู้ ญงิ ชาวภเู ก็ตมาก บ่งบอกถึงความเป็นคนช่างแต่งตัวและ อุปนิสัยของการเป็นคนช่างสะสม เมื่อมีเงินเก็บมากพอก็จะนิยมหาซ้ือผ้าถุงมานุ่ง ข้อดีของผ้าถุง ปาเต๊ะคือสามารถเก็บได้นานมากและมีคุณค่าในความเป็นของเก่าโบราณ เพื่อเป็นมรดกให้ ลูกหลานได้อนุรักษ์ไว้ต่อไป บางครอบครัวเก็บรักษาผ้าถุงของบรรพบุรุษไว้อย่างดีมากมีอายุมาก ถึง ๘๐ – ๑๐๐ ปี สาวบาบ๋าเวลาเกบ็ ผา้ มกั ใชว้ ธิ ีการรดี ผ้าแลว้ พับให้ทบกันไปเร่ือยๆเป็นส่ีเหล่ียม เวลาคล่ผี ้าออกมาจะเห็นเป็นรอยพับแสดงถึงความเรียบร้อยและความเป็นผู้มีอันจะกินของผู้สวม ใส่ โดยนัยยะหมายถึงมเี วลาว่างมากพอจะรีดผา้ ทกุ ชิน้ ได้ รปู แบบเส้ือของผู้หญิงบาบา๋ การออกงานสังคมของสาวบาบ๋าในสมัยหน่ึงยังปรากฎการแต่งกายแบบใส่เสื้อเคบายา หรือ เสอื้ ยะหยา เรียกเป็นภาษาจนี ฮกเก้ียนว่า “ปอต่ึงเต้” มีลักษณะเป็นเสื้อเข้ารูปไม่ติดกระดุม และมีลักษณะพิเศษคือ ชายเส้ือด้านหน้าจะยาวกว่าด้านหลัง (ผู้สวมใส่สามารถปรับกระดุมเส้ือ ตามรูปร่าง) เส้ือยะหยามีลายปกั หลากหลายลายตามความนิยมของยุคสมัยน้ัน ได้แก่ เคบายาลัน ดา มีลักษณะเป็นเส้ือยะหยาท่ีเน้นลายลูกไม้ คาว่า “ลันดา” มาจากคาว่า ฮอลันดา ซึ่งเป็น ประเทศทมี่ ชี ื่อเสียงในดา้ นการผลิตผ้าลูกไม้ทามอื ลายผ้าทีน่ ามาต่อกับลูกไม้อาจเป็นผ้าสีพ้ืนหรือ ผา้ ลายก็ได้ แต่มีลักษณะเด่นอยู่ท่ีเน้ือผ้าจะมีความโปร่ง บาง และเหนียว ภาษาของคนขายผ้าใน ภเู กต็ เรยี กผ้าชนิดนว้ี ่า “รูเบยี ” แต่ชาวองั กฤษเรียกผา้ ชนดิ นวี้ ่า “ออกันดี” ต่อมาสตรีบาบ๋าได้รับ การส่งเสริมให้เรียนวชิ าการตดั เย็บเสอ้ื ผ้าและการฉลุลายผ้า โดยการนาผ้าวาดลายขึงสะดึงอันโต แลว้ จงึ ร่อนลายดว้ ยจกั รเย็บผ้าซิงเกอร์ และใช้กรรไกรขนาดเล็กปลายคมตัดช่องระหว่างดอก จึง ทาใหเ้ สือ้ ยะหยาชนิดนี้มีลวดลายฉลุสวยงามมากยิ่งข้นึ ชา่ งเย็บเส้ือยะหยาที่มีช่ือเสียงในอดีตเป็น เจ้าของร้าน.เอ็งเส็ง”ท่ีเป็นสถาบันสอนตัดเย็บเส้ือผ้าสาหรับกุลสตรีช่ือ หยกส่วนและหยกก้ิม ได้รับการยอมรับว่าเป็นปรมาจารย์ผู้เชี่ยวชาญการฉลุเสื้อยะหยาในภูเก็ต ปัจจุบันนี้ได้ล่วงลับไป แลว้ เส้ือยะหยาของชาวบาบ๋าในปัจจุบันมีแหล่งผลิตอยู่ท่ีเมืองเมดาน เมืองทาซิกมาลายา และเมืองจาการ์ต้า ประเทศอินโดนีเซีย ด้วยเหตุผลที่ยังมีช่างฝีมือวัยกลางคนอยู่จานวนหนึ่งและ ค่าแรงก็ยงั มรี าคาถกู จงึ ทาใหส้ ามารถผลิตตามคาส่งั ของลกู ค้าในสงิ คโปร์ ปนี งั และภูเกต็ ได้

๖๒ รูปแบบผ้าถงุ ปาเต๊ะ คาวา่ ปาเต๊ะ(Batek) หรือบาตกิ (Batik) มาจากคาว่า Ba แปลว่า ศิลปะ )artและคาว่า ( Tik แปลว่า จุด )dot) เดิมเป็นคาใช้เรียกผ้าท่ีมีลวดลายเป็นจุด “ติก” มีความหมายเช่นเดียวกับ ตริติกหรอื ตารติ กิ มกี ารถกเถยี งกันว่าต้นกาเนดิ ผา้ น้มี ีทีม่ าจากชวา หรืออินเดียกันแน่เนื่องจากผ้า ทง้ั สองแหลง่ มีประวตั ิความเป็นมาในช่วงเดียวกัน แต่ส่วนใหญ่ให้ความเห็นว่าน่าจะเป็นผ้าท่ีมีถ่ิน กาเนิดในชวาหรืออินโดนีเซียน่ีเองเน่ืองจากศัพท์ท่ีใช้เรียกเทคนิคการทาผ้าเป็นภาษาของ อินโดนีเซีย รวมถึงพืชที่ใช้ทาสีและขี้ผ้ึง นอกจากนี้ยังค้นพบว่าเทคนิคท่ีใช้ในการทาผ้าของ อินโดนเี ซียมคี วามซบั ซอ้ นสงู กวา่ ในอนิ เดยี มาก (นนั ทา, ๒๕๓๖) การทาผ้าในระยะแรกทากันในวังหรือหมู่ชนชั้นสูง ในยุคแรกจะเป็นการเขียนด้วยมือ (Batik Tulis) เม่ือผ้าบาติกได้รับความนิยมมากมายศิลปะการทาผ้าจึงแพร่ขยายสู่ประชายชน ท่ัวไป เกิดวิธีการพิมพ์ด้วยแม่พิมพ์โลหะทองแดงในศตวรรษที่ ๑๙ เรียกว่า \"จ๊ับ\" (cap) ทาให้ สามารถผลิตผ้าได้ในปริมาณที่มากขึ้นด้วยต้นทุนท่ีถูกลง การพิมพ์ด้วยแม่พิมพ์ ก่อให้เกิด ผลติ ภัณฑพ์ นื้ เมอื งที่ผลิตในครัวเรือน ความนิยมของผ้าปาเต๊ะในการแต่งกายตามความนิยมของสตรีชาวภูเก็ต ผ้าโสร่งปาเต๊ะ ที่ใช้ในชีวิตประจาวันของสตรชี าวภูเก็ตมี ๒ ชนิด คือ ชนิดที่ ๑ ผ้ากว้าง ๒ หลา มีส่วนที่เป็นหน้าหรือตัวผ้าถุง และส่วนท่ีเป็นท้าย ลายและสี อาจจะแตกต่างกันโดยส้ินเชิง เช่น ตัวผ้าถุงสีชมพู ส่วนท้ายเป็นสีเขียว ลายอาจจะล้อเหมือนกัน ทัง้ ผืน เชน่ ลายดอกโบต๋ัน มีนกและผีเส้ือ หรือ ลายตะกร้าดอกไม้ เป็นต้น วิธีนุ่ง ใช้วิธีเพลาะผ้า ให้ติดกันเป็นถุง เวลานุ่ง ชาวภูเก็ตจะนิยมเอาส่วนท้ายที่มีเน้ือท่ีน้อยมาไว้ด้านหน้า ส่วนชาว มุสลิมในมาเลเซีย จะนยิ มนุ่งสว่ นท้ายไวท้ ่สี ะโพก ชนดิ ท่ี ๒ ผา้ พนั มคี วามกว้าง ๒ เมตร มี ๒ ชนดิ ชนดิ ท่ี ๑ ลายเดียวสเี ดยี วทง้ั ผนื ชนิดท่ี ๒ ลาย ๒ ข้างกลบั หัวกลับหาง เรียกว่า ลายกลางวันกลางคืน เช่น ไปงานตอนเช้าใส่ซีกซ้ายออก ข้างหน้า ไปงานตอนเย็นใส่ซีกขวาออกด้านหน้า วิธีนุ่งผ้าพัน ใช้พันทบรอบเอวรอบตัวและคาด ดว้ ยเขม็ ขดั ทองหรอื เงนิ โดยไมต่ ้องเยบ็ เป็นถุง ส่วนผ้าโสรง่ ปาเตะ๊ แบบประยุกตใ์ ห้เขา้ กบั ยุคสมัย จะแบง่ ออกเปน็ ๓ ชนดิ ดงั น้ี ชนดิ ที่ ๑ เย็บเป็นถุงสาเรจ็ เลียนแบบผา้ นุง่ แบบไทย ชนดิ ที่ ๒ เยบ็ เป็นกระโปรงยาว เช่นเดยี วกับทรงสอบแบบสากล ชนิดท่ี ๓ ผ้าถุงปักลายซ้อนดอกของผ้าปาเต๊ะด้วยเล่ือมลูกปัดมุกและหรือวาดด้วยน้า ทอง

๖๓ การทาผ้าปาเต๊ะซ่ึงนิยมใช้อย่างกว้างขวางจนได้กลายเป็นเคร่ืองแต่งกายของชาวบาบ๋า เพอรานากันในจังหวัดภูเก็ต เดิมเป็นสินค้าที่นาเข้าจากประเทศอินโดนีเซีย สิงคโปร์ และ มาเลเซีย แต่ปัจจุบันมีการทาปาเต๊ะในปริมาณมากๆด้วยเทคนิคการพิมพ์ซิลค์สกรีน (Silk Screen) จากโรงงานอุตสาหกรรมในกรงุ เทพ ข้อดีคือราคาถูก และผลิตได้คราวละมากๆ (เหมาะ สาหรับผู้ท่ีใช้เป็นครั้งคราว ไม่สนใจคุณภาพว่าจะใช้ได้นานหลายปี ทั้งนี้ ผ้าดีจะมีคุณสมบัติที่ เวลาผ่านไปหลายสบิ ปี สแี ละคณุ ภาพของผ้ายังดีอยู่) ลวดลายของผ้าปาเต๊ะนั้นมีความหลากหลาย ท่ีเกิดจากการผสมผสานของลายเส้นเป็น จังหวะสั้นๆเรียกว่าโมทีฟ (motifs) จังหวะของลวดลายสั้นๆน้ีจะผสานจนเกิดเป็นความซับซ้อน ของรูปทรงขึ้นกับความต้องการของผู้ออกแบบ โดยรูปแบบของการผสานลายเส้นจะมีความ แตกตา่ งกันโดยข้นึ กับเงื่อนไขตา่ งๆเหล่านี้ (Djoemena, 1986) - สภาพภูมศิ าสตรแ์ ละภูมิประเทศของแหล่งผลติ - วิถีชวี ิตและรปู แบบความเปน็ อยขู่ องคนในสังคมน้นั ๆ - ความเช่ือศาสนาและประเพณี - ส่ิงแวดลอ้ มโดยรอบทางกายภาพ เชน่ พืชพรรณ ดอกไม้ ใบไม้ หรือสัตวพ์ นื้ ถ่ินต่างๆ - การเดนิ ทาง ติดตอ่ ระหวา่ งกลุ่มผ้ผู ลิตปาเตะ๊ ในท้องทตี่ ่างๆ ลวดลายบาติกในอนิ โดนเี ซียแบง่ ไดต้ ามพื้นท่ี ๒ ลกั ษณะคือ ลักษณะท่ี ๑ ผ้าปาเตะ๊ ทีผ่ ลติ ในพื้นท่ีในการปกครองของสุลต่าน ซึ่งภายหลังถูก ยึดครองโดยดัตช์ ปาเต๊ะในกลุ่มนี้เกิดจากลุ่มชนช้ันสูง อยู่ในพ้ืนท่ีเมือง Yogya และ Solo รูปแบบลายมาจากความเช่ือ และประเพณีท่ีมาจากศาสนาฮินดู ของชาวชวา โทนสีท่ีใช้ ประกอบด้วยสีนา้ ตาล (Sogan), สีฟ้า(Indigo), ดา ขาว และ ครมี ลกั ษณะที่ ๒ ผ้าปาเต๊ะที่ผลิตในเมืองท่าอื่นๆ (Batik Pesisir) เช่น Indramayu, Madura, Garut, Pekalongan ลักษณะปาเต๊ะในพ้นื ท่เี หลา่ นจ้ี ะเป็นการเขียนภาพธรรมชาติเป็น ส่วนมาก ผสานกบั อิทธิพลทไ่ี ด้รบั จากต่างชาติ สีท่ีใช้จะมคี วามหลากหลาย แต่กม็ กี ารใช้คู่สีที่นิยม ได้แก่ ฟ้าขาว-(kelengan), แดงขาว-(bang-bangan), แดงฟ้า-(bang-biru), แดงเขียว-ฟ้า- (bang-biru.ijo) ความสดและน้าหนักสีอาจมีความแตกต่างกันตามแต่ละพื้นที่ เช่นสีแดงของ Pekalongan จะมีความสดกว่าสแี ดงของ Indramayu ลวดลายปาเต๊ะแบ่งตามรปู แบบ ลวดลายเราขาคณิต (Geometric) ปรากฏชื่อลวดลาย ดังน้ี - Parang มีลักษณะเป็นลายตามเฉียงมีการผูกลายให้มีความต่อเน่ือง ตลอดท้ังผืน เปน็ ลายพน้ื ฐานทถ่ี ูกนาไปประกอบเพอ่ื สร้างลายอื่นๆ

๖๔ - Kawung มีพื้นฐานจากรูปส่ีเหล่ียม ด้านในกรอบส่ีเหล่ียม อาจมีการ ออกแบบลวดลายอื่นๆซ้อนลงไปเพื่อให้เกิดความซับซ้อนน่าสนใจของลาย ช่างผู้เขียนจะผูกลาย โดยยึดเอาโครงสร้างรปู แบบส่เี หลย่ี มน้ีมาพัฒนา เป็นลายอ่นื ๆอกี เชน่ กัน - Weaving, Limar เป็นลักษณะโมทีฟสั้นๆ อาจมีการผูกลาย ต่อเน่ืองกันได้ทั้งแนวนอนและแนวตั้ง ตามแต่รูปแบบที่ถูกสร้างขึ้น โมทีฟมีการออกแบบท่ีคานึง ทศิ ทางในระนาบทั้ง ๒ มติ ิ ลวดลายแบบอิสระ (Non-geometric) - Semen เปน็ ลายดอกไม้ (flora, fauna) ภูเขา (meru) และปีก (lar) แสดงถึงความเป็นอยู่ และวิถีชีวิตของกลุ่มผู้ผลิตเอง ท่ีมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมท่ีอยู่รอบ ตนเอง - Lunglungan ลายเถาวัลย์ หรือดอกไม้ท่ีทาเป็นกลุ่ม Pattern เล็กๆ เม่อื ผกู ลายเปน็ กล่มุ ใหญ่จะดมู คี วามซบั ซ้อนมากเนื่องจากรูปร่างท่ดี อู สิ ระเอง - Baketan มีท่ีมาจากลายช่อดอกไม้ของชาวฝร่ังเศส และดัตช์ เป็น ลายทไ่ี ด้รบั อิทธิพลจากตา่ งชาติ จะมลี กั ษณะการจัดวางองค์ประกอบแบบศิลปะตะวันตก คือวาง องคป์ ระกอบเนน้ จดุ สนใจ มากกว่าสรา้ งลาย Pattern ทม่ี ีความซบั ซอ้ น ความหมายของลวดลายปาเตะ๊ ในอดีตการผลิตผ้าปาเตะ๊ ส่วนใหญ่จะผลิตกันเองในชุมชน เป็นลักษณะของอุตสาหกรรม ในครัวเรือน ท่ีมีไม่มีวิทยาการทางเทคโนโลยีมากนักแต่ใช้วิธีการทางธรรมชาติท่ีอาศัยความ ชานาญของช่างในการคิดค้นกรรมวิธีต่างๆในการรังสรรค์ลวดลายต่างๆ จากท่ีได้กล่าวไว้ข้างต้น ลวดลายในแต่ละท้องถิ่นแตกต่างกันตามสภาพแวดล้อมและสภาพสังคมท่ีเป็นอยู่ เช่น ซึ่ง ลวดลายมักสะท้อนความเป็นพหุวัฒนธรรมของสังคมในประเทศอินโดนีเซียที่มีมาช้านาน การ อธบิ ายความหมายของลวดลายปาเตะ๊ จงึ เป็นเรือ่ งของการเขา้ ใจสถานภาพความเป็นอยู่ของคนใน ชุมชนด้วย เพื่อให้สอดคล้องกับงานวิจัยที่เกี่ยวกับการแต่งกายของชุมชนชาวบาบ๋าภูเก็ต ผู้วิจัย เห็นว่าควรจะอธิบายผ้าปาเต๊ะที่มีต้นกาเนิดมาจากเมืองหนึ่งในประเทศอินโดนีเซียท่ีมีลักษณะ ทางกายภาพของชุมชนคล้ายกับจังหวัดภูเก็ต น่ันคือ เมืองเปอกาลองงัน )Pegalongan) ซ่ึงเมือง ดังกล่าวเป็นเมืองท่าที่มีความสาคัญทาง คือเป็นจุดยุทธศาสตร์ที่มีชาวจีนอพยพย้ายเข้ามาอาศัย เป็นจานวนมาก ลวดลายที่ปรากฎในผา้ นุ่งปาเต๊ะ ได้แก่ 1. ลายค้างคาว ส่อื ความหมายถงึ ความโชคดี 2. ลายผีเส้ือ หมายถงึ ความรักหรอื ความสนุก

๖๕ อนึ่ง แมว้ ่าชาวอินโดนีเซียจะมีความชานาญในการผลิตผ้าปาเตะ๊ แตช่ าวบาบ๋า-เพอรานา กันมีรสนยิ มเฉพาะตัวท่ีเปน็ ลกั ษณะเด่นของกลมุ่ บาบ๋า ประกอบกบั เป็นกลุ่มคนท่ีมีฐานะดีจึงนิยม ท่ีจะออกแบบลายผา้ ปาเต๊ะตามความเช่อื ของจีน ซง่ึ หมายถึงสีที่ใช้จะเป็นสีหวานสดใส เช่น ชมพู เหลือง เขียว แดง เป็นต้น ส่วนลายจะเลือกลายท่ีเป็นมงคล เช่น ดอกกุหลาบ ดอกโบต๋ัน มี องค์ประกอบเช่น นก ผีเส้ือ เป็นต้น ด้วยความรู้ในความสามารถของช่างและรู้ว่าช่างถ่ินใดมี ความสามารถท่ีจะผลิตผ้าให้ถูกใจได้ ชาวบาบ๋า เพอรานากันจึงออกแบบผ้าปาเต๊ะ และจ้างให้ ช่างจากเมืองเปกาลองกาน )Pekalongan (เท่าน้ันให้เป็นผู้ผลิต ทั้งน้ียังปรากฎหลักฐานอยู่ท่ี ลายเซ็นตข์ องชา่ งที่จะเขยี นชอ่ื ตัวเองไวท้ ีข่ อบเอวของผ้า เป็นที่น่าสังเกตว่าชื่อของศิลปินผู้วาดผ้า ปาเตะ๊ ลายถูกใจชาวบาบา๋ ล้วนแลว้ แตเ่ ป็นคนจีนทัง้ สิน้ ผ้าปาเต๊ะท่ีชาวภูเก็ตนิยมใช้นุ่งในชีวิตประจาวันเป็นหนึ่งในวัตถุพยานยืนยันความมี วัฒนธรรมร่วมกันของดินแดนแถบคาบสมุทรมลายูและช่องแคบมะละกา ลวดลายผ้าปาเต๊ะ แตกต่างกนั ตามท่มี าของศาสนาและความเชือ่ เชน่ ชาวมสุ ลมิ ไมน่ ุง่ ผ้าถุงท่ีเป็นรูปสัตว์ แม้แต่มีลาย ประกอบเปน็ ผเี สอ้ื นก หรือแมลงปอ ก็เป็นข้อต้องห้าม ลายผ้าถุงของชาวมุสลิมในอินโดนีเซียจึง เป็นลายเรขาคณิตท้ังหมด สีท่ีได้รบั ความนิยมนนั้ เปน็ สีน้าตาล ทัง้ ออ่ นแก่และสีดา เพราะเคยเป็น ผ้าประจาราชสานักของสุลต่านมาก่อน เน่ืองจากผ้าบาติกท่ีผลิตแบบดั้งเดิมเป็นผ้าราคาสูง (เพราะต้องใช้ท้ังแรงงานและเวลาในการผลิต) ในราชสานัก (เขตวังของสุลต่าน) ภาษาบาฮาซา อินโดนีเชยี เรียกว่า“กราตอน” (kraton) มีบางลายท่ี (ในอดีต) มขี ้อห้ามไม่ใหช้ าวบ้านใช้ เช่นลาย ขวางและมชี ่องวา่ งห่างกันมาก ผู้วิจัยได้สัมภาษณ์ทันตแพทย์เช้ือสายอินโดสัญชาติเนเธอร์แลนด์ท่ีมาเย่ียมสมาคมเพรา นากันท่ีภูเก็ต เขาช่ือโจ อุย (Tjoe Oei) และเล่าว่าพ่อของเขาเป็นทันตแพทย์ประจาตัวของ ประธานาธบิ ดีซูการ์โนชอื่ อุย ฮองเกียน (Ooi Hong Kian) และยายเป็นช่างทาผ้าบาติกชนิดเลิศ ที่เรียกว่า”ผ้าในวังสุลต่าน (Kraton)” เขาเล่าว่าช่างฝีมือจัดการเร่ืองเวลาไม่เป็นและไม่มี ความสามารถทางการคา้ ผลิตเป็นแต่ขายไม่เป็น ด้วยเหตุน้ี พ่อค้าคนกลางชาวสิงคโปร์จึงลงทุน ซื้อผ้าขาว และสีย้อมผ้ามาว่าจ้างให้ช่างชาวอินโดนีเซียผลิตงานตามส่ัง ด้วยเหตุดังกล่าวน้ี ครอบครัวผู้วิจัยท่ีมีร้านค้าชื่อเดิม “ยี่ห้อฮ่องหงวน” ปัจจุบัน “สุนทรสังฆภัณท์” ขายผ้าปาเต็ะ เป็นเจา้ แรกในภูเกต็ และยงั คงเปิดกิจการถึงปัจจุบันนับเวลาได้กว่า ๘๐ ปี (ผู้วิจัยเป็นหลานของผู้ ก่อตั้ง) ร้านของเราจึงติดต่อซ้ือผ้าปาเต๊ะจากคนกลางในสิงคโปร์มากว่า ๕๐ ปีร้าน ชื่อบาส-ซา- รา-ฮลิ ล์ ตงั้ อยทู่ บ่ี ้านเลขท่ี ๑๐๑ อาหรับสตรีท (เหตุผลที่ไม่ซื้อโดยตรงจากอินโดนีเซียคือ เหตุผล ด้านความปลอดภัย) นางสุพร มโนสุนทร (เหลี่ยนเซ้ เอกศิลป์) แม่ของผู้วิจัยขณะน้ีอายุ ๙๕ ปี ทา่ นเปน็ เจา้ ของร้านรุ่นท่ีสามเปน็ ผูช้ านาญการด้านผา้ ปาเต๊ะอย่างแทจ้ ริง

๖๖ ลักษณะเด่นของผ้าถุงที่ชาวภูเก็ตนิยม แม้นว่าชาวใต้จะนิยมนุ่งผ้าปาเต๊ะเหมือนกันทั้ง ฝั่งตะวันออกของอ่าวไทยและแถบชายฝั่งทะเลอันดามัน สตรีภูเก็ตจะเลือกผ้าปาเต๊ะที่มีความ แตกต่างจากผ้าถุงของคนใต้ ฝ่ังอ่าวไทยและสามจังหวัดในภาคใต้ แตกต่างกันโดยมีนัยยะดังนี้ ผ้าถงุ ลายของหวั ผ้าเป็นรปู สามเหลี่ยมปิรามดิ ไดร้ ับความนิยมมากในสามจงั หวดั ภาคใต้แต่ไม่ได้รับ ความนยิ มในจังหวดั ภูเก็ตเราเรยี กผา้ ชนิดนัน้ ว่าผ้าลายสามเหลี่ยมหรือศัพท์โบราณที่แม่ผู้เขียนใน บางครั้งก็เรียกว่า \"ชายหอก\" ด้วยเหตุที่มีลักษณะเป็นสามเหล่ียมยาวติดกันน่ันเองอีกประการ หน่ึงลายดอกของผ้าถุงชาวปัตตานีนิยมนุ่งให้ดอกไม้เล้ือยลงข้อเท้าส่วน ชาวภูเก็ตนุ่งโดยให้ดอก เลอ้ื ยขึน้ เอว ผ้าถุงปาเต๊ะมีสองลกั ษณะใหญ่ๆ แบบท่ี ๑ เป็นผ้าหน้ากว้างสองหลามีลายสองลายในผืนเดียวกันสีของผ้าสองส่วนน้ี อาจจะเป็นสีโทนเดียวกันแตกต่างกันท่ีสีอ่อนแก่หรืออาจใช้ สีตัดกันก็ได้ ส่วนที่เป็นลายแคบ ประมาณ ๗๐ เซนติเมตร ภาษาอินโดนีเซียเรียกว่า “หัว” แต่คนภูเก็ตเรียกว่า \"ท้าย\" เวลานุ่งจะ เอาส่วนนไี้ ว้ดา้ นหน้า ก่อนอ่ืนต้องทาความเข้าใจว่าผ้าผืนกว้างสองหลาดังกล่าวนี้ ต้องเอามาเย็บ ให้ติดกันเป็นถุงเพ่ือสะดวกในการนุ่ง เม่ือนุ่งแล้วก็จะคาดเข็มขัดซ่ึงอาจจะเป็นทอง นากหรือเงิน ตามฐานะของผู้สวมใส่ กรรมวิธีการตัดเย็บใช้สอยด้วยมือเป็นตะเข็บเข้าถ้าผู้มีฝีมือจะสามารถ เพลาะผ้าให้ติดกันเป็นถุงสาหรับนุ่งด้วย ตะเข็บละเอียดของฝีเข็มถี่เป็นพิเศษ (น่ีคืองานฝึกหัด ฝมี ือของกุลสตรใี นอดีตทจี่ ะต้องมีความถนัดในการเย็บปักถักร้อย) ปัจจุบันน้ีผู้รับจ้างเพลาะผ้าถุง มีเหลืออยู่บ้าง ค่าจ้างเพลาะผืนละหน่ึงร้อยบาทถือว่าไม่แพงสาหรับการรักษา ผ้าถุงปาเต๊ะแบบ ด้ังเดิมท่ชี าวภเู ก็ตนยิ มนงุ่ ซง่ึ จะเป็นผ้าลายดอกเน้ือดีเวลา นุ่งจะรสู้ ึกเนยี นผวิ ผา้ ปาเต๊ะ แบบที่ ๒ เรียกว่า “ผ้าพัน” หมายถึงผ้าถุงท่ีมีขนาดกว้างกว่าผ้าถุงธรรมดาซึ่งมีความ กว้างสองหลา แต่ผ้าพันจะกว้างสองหลาหน่ึงสกรูตามมาตรวัดในระบบอังกฤษหรือสองเมตรใน ระบบ เมตรกิ ชาวอนิ โดนีเซียเรยี กวา่ ไคนป์ นั จงั (kain pan jang) วตั ถปุ ระสงค์ของผู้ผลิตคือเป็น ผ้าพันโอบรอบตัวแล้วมาเก็บผ้าคล้ายหน้านางท่ีด้านหน้า เวลาเขาผลิตเพื่อขายเขาจะขายพร้อม ผ้าพันคอผืนใหญ่เป็นชุดออกงานได้อย่างหรู สาหรับชาวภูเก็ตผ้าพันเป็นท่ีนิยมสาหรับคนท่ีตัวโต หรอื ใช้เยบ็ ไดท้ ง้ั เสอ้ื และผ้าถุงสาหรบั คนตวั เลก็ และเหมาะสาหรบั ตดั เสอื้ เชิ้ตของสุภาพบุรุษ ผา้ พนั หรือผ้ากว้างสองเมตรน้ีมีลักษณะเหมือนผ้าปาเต๊ะโดยท่ัวไปแต่ไม่มีส่วนหัวคือมีลาย เหมือนกันหมดทั้งผืน ฉะนั้นเจ้าของผ้าจะนุ่งแบบใดก็ได้ผ้าชนิดนี้เหมาะกับสตรีท่ีมีรูปร่างท้วม เพราะมีความกว้างกว่าผา้ ปาเตะ๊ ธรรมดา ลายผา้ พนั โดดเดน่ อย่สู องอย่าง โดยมรี ายละเอียดดังนี้ ชนิดท่ี ๑ ผ้าปาเต๊ะโฮโกไก (Hokokai) มีลักษณะเหมือนขอบผืนผ้าแทนอาณาเขตของ สวนดอกไม้ ตรงกลางสวนมีดอกไม้และผีเสื้อ ลักษณะของผ้าชนิดนี้ผู้ผลิตผ้าปาเต๊ะได้รับอิทธพล จากญ่ีปุ่น(ในยุคที่ญ่ีปุ่นเข้าครอบครองประเทศอินโดนีเซียในปีคริตศักราช ๑๙๔๐) ผ้าชนิดน้ีผืน

๖๗ ยาวราวสองเมตรและแบ่งผ้าเป็นสองส่วนทาให้นุ่งผ้าได้ทั้งสองข้าง เพราะลายกลับข้างกันเช่น มุมซ้ายลายดอกช้ีข้ึน มุมขวาลายดอกชี้ลง ทาให้ผ้าชนิดนี้มีช่ือเรียกอีกชื่อหน่ึงว่า “ผ้ากลางวัน กลางคนื ” ภาษาอินโดมีช่ือว่าปากีซอเร (Pagi sore) ผู้วิจัยได้สัมภาษณ์ทันตแพทย์หญิงวัชรี งาน ทวี ผลเจริญ บุตรีของคหบดีคนสาคัญของจังหวัดภูเก็ต นายปัญญา (จ่ายเหล็ง) งานทวี คุณหมอ ท่านย้าว่าความนิยมในยุคสมัยของคุณแม่ของท่านที่จะต้องมีผ้าชนิดน้ีในครอบครอง เพราะเป็น ของราคาสูงผลงานประณีตและสวยงาม เสียดายที่ท่านนาผ้าปาเต๊ะที่คุณแม่สะสมไว้ไปตัด กระโปรงเสยี ทั้งหมด (ดว้ ยความรู้เท่าไม่ถึงการณว์ ่าถา้ เกบ็ ผา้ ไว้ทผั้ นื จะมีคา่ สงู มาก) ชนิดที่ ๒ ผ้าที่มีลายตามขอบผ้าด้านล่างและด้านบนมีลายตรงกลางนิดหน่อย ส่วนใหญ่ จะเป็นลายดอกไม้หรือลายผีเส้ือ แม้จะไม่สวยเท่าผ้าโฮโกไก แต่เป็นที่นิยมในภูเก็ตมีช่ือเรียกใน ภาษาภูเก็ตท้องถ่ินว่า “อาลีบาบา” (ผู้วิจัยสันนิษฐานว่าอาจเป็นเพราะผ้าชนิดนี้มีเครื่องหมาย การค้าผนกึ มาในกระดาษเขยี นชอื่ วา่ “อาลบี าบา” ก็เปน็ ได)้ ข้อสรุปจากผู้วิจัยในฐานะเจ้าของร้านผ้าถุงปาเต๊ะ แม้ว่าผ้าปาเต๊ะของอินโดนีเซียจะ ได้รับการขึ้นทะเบียนในฐานะ “วัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้” (Intangible World Heritage) จาก ยเู นสโกมาตั้งแตค่ ริสตศักราช ๒๐๐๙ แต่ถงึ กระน้นั ก็ตามการนุ่งผ้าปาเต๊ะของชาวไทยเชื้อสายจีน ในจังหวดั ภูเกต็ ก็ มีความแตกต่างจากชาวอินโดนีเซียและมาเลเซียอยา่ งมีนยั ยะสาคญั การผลิตผ้าปาเต๊ะจากแหล่งผลิตในประเทศอินโดนีเซีย การผลิตผ้าในอดีตต้องใช้การ เกณทแ์ รงงานบริวารมักจะทากันในเขตวังของสุลต่าน ฉะนั้นผลงานที่ได้จึงประณีตมากเรียกขาน ผ้าท่ีวาดมือว่า “บาติคตูลิส” (Batic tulis) วิธิการทาเร่ิมจากการวาดลายลงบนผ้าแล้วใช้ เคร่ืองช่วยเป็น “สะดึง”เพ่ือตรึงลายให้เห็นชัดเจน สาวๆท่ีผลิตบาติกด้วยมือจะนิยมทางานเป็น กลุ่ม (ได้พูดคุยกันไม่เหงา) เตาขนาดเล็กและหม้อต้มเคี่ยวเทียนจะตั้งตรงกลางเพ่ือสะดวกกับผู้ ทางานจะได้เติมเทียนใส่กรวยของตนเองได้สะดวกกรวย หรือเคร่ืองมือเป็นกรวยโลหะซึ่งส่วน ใหญ่ผลิตจากทองเหลือง (อุปกรณ์นี้ใช้เป็นภาชนะ) เพ่ือหยดน้าเทียนร้อนๆลงบนลายผ้าที่วาดไว้ แล้ว ขั้นตอนนี้เรียกว่าแชนติ้ง (chanting) และใช้หยดเทียนลงบนลาย ผ้าแต่ละผืนจะใช้ เวลานานมากบางผืนแม้จะทาทุกวันก็ใช้เวลาเป็นเดือนกว่าจะลงลายได้หมดทั้งผืน เสร็จขั้นตอน ลงเทยี นแล้วตอ้ งลงสี ถา้ ต้องการหลายสีกต็ ้องปิดดว้ ยเทยี นอีกครัง้ รอจนสแี หง้ ก่อนท่ีจะลงสีทีละ สี เม่ือเสร็จแล้วแล้วจึงต้มในกระทะใบใหญ่ๆเพ่ือลอกเทียนออก ผ้าชนิดที่มีราคาแพงจะทาด้วย กรรมวิธีนท้ี ัง้ ส้นิ ผู้วิจัยได้มีโอกาสไปเยี่ยมบ้านศิลปินผู้ผลิตผ้าปาเต๊ะให้สาวบาบ๋านุ่งมาสี่ชั่วอายุคนแล้ว ชาวอนิ โดนีเซยี เรียกผ้าปาเต๊ะชนิดนี้ว่า “บาติก ชินา” (Batik Cina) แปลว่าผ้าปาเต๊ะของชาวจีน ผ้าของศิลปินจะเขียนชื่อของตนเองไว้ท่ีขอบผ้าด้านบน ทุกครั้งท่ีนุ่งผ้าก็จะเห็นชื่อผู้วาดผ้าผืนน้ี บ้านที่ผู้เขียนตั้งใจไปค้นหาอยู่ท่ีเมือง เปกาลองกาน (Pekalongan) ในเขตชานเมือง ถนนเก

๖๘ ดังวนู ี (ท่อี ย่ขู องศลิ ปนิ หายากมากเพราะไม่มีช่ือติดหน้าบ้านและบ้านก็ปิดประตูตลอดเวลา) บ้าน คหู าเดยี ว เป็นบา้ นดงั้ เดิมของคนทาบาตคิ ทีม่ ชี ือ่ เสยี งมาก ช่ือของเธอเขยี นด้วยตัวสะกดแบบดัทช์ วา่ Ozy Soe Tjoen อ่านแบบดัทชว์ ่า “โอซี โซ โจเอน” เมื่อได้พบกันเธอบอกว่า ปู่ของเธอผู้เร่ิม กิจการมากบั ยา่ ต้ังแต่ปคี ริตศักราช ๑๙๒๕ ท้ังคู่เป็นชาวจนี ฮกเกีย้ นช่อื “อยุ้ โซ จุง” กับย่าชื่อ”กุย จุงเก้ียก” (Kwee Tjoen Giok)” ส่งต่อให้พ่อและแม่อุ้ยกิมเหลียน (Ooi Kiem Lian) ต่อเป็นรุ่น ท่ีสาม เธอเป็นบุตรีคนเดียวและเป็นลูกสุดท้อง วันที่ผู้เขียนพบเธอเน้ือตัวเลอะเทอะเปื้อนสีดา เหมือนมะเกลือ เธอจึงเล่าประวัติส่วนตัวว่า พี่ชายเธอสองคนสรุปว่า “งานบาติกยุ่งยากและ รายไดน้ ้อย ปัจจุบนั จึงเป็นสถาปนิกทางานในเมืองหลวง” เธอเป็นคนมุ่งม่ันท่ีจะผลิตงานศิลปบน ผืนผ้าต่อไป ผ้าปาเต๊ะของเธอมีรายละเอียดมากเธอผลิตงานได้ปีละ ๑๐ ผืนเท่านั้น ราคาผืนละ หกหม่นื บาท ผา้ ทุกผนื ตอ้ งส่งั จองล่วงหนา้ สามปี ผวู้ จิ ัยจงึ ขอดูสมดุ จองและวิเคราะห์ว่าผู้จองล้วน แล้วแต่เป็นผู้ช่ืนชมงานศิลปะจากสิงคโปร์และญ่ีปุ่น และคงมีหลายคนที่เป็นนักสะสมเพื่อเก็ง กาไร เธอเปน็ คนสดุ ท้ายทร่ี ้คู วามลับของการใชส้ ีธรรมชาติและเทคนิคทางช่างท่ีถือเป็นความลับท่ี ถา่ ยทอดจากรุ่นปู่ผู้บุกเบิกถึงรุ่นหลาน ในอดีตคหบดีหลายคนในจังหวัดภูเก็ตเองก็เคยส่ังซื้อผ้าที่ ปู่ “อยุ้ โซ จุง” ผลติ ซึง่ นับวา่ เปน็ กล่มุ บคุ คลช้นั แนวหน้าทมี่ ศี กั ยภาพในทางธรุ กิจจึงมีกาลังซื้อผ้า ของศิลปินชื่อดังได้ ผ้าเก่าเก็บท่ียังมีสภาพสมบูรณ์มีราคาในท้องตลาดไม่ต่ากว่าผืนละ ๑ แสน บาท อาจสรุปได้ว่าชาวจีนในประเทศอินโดนีเซียเป็นผู้ผลิต ส่วนชาวจีนในประเทศมาเลเซีย สงิ คโปร์ และไทยเปน็ ผู้บรโิ ภค หรือทเ่ี รยี กว่า “คนจีนทา คนจีนชอบ และคนจนี ก็ซอ้ื ใช้” ผ้าปาเต๊ะฝีมือเลิศท่ีนิยมใช้ในหมู่สตรียะหยาหรือชาวเพอรานากันนั้นจะมีลักษณะพิเศษ ท่ีชาวอินโดนีเซียเรียกว่า ปาเต๊ะผลิตในชวา คือ “ปาซีเซียร์ (Pasisir)” ผ้าชนิดน้ีเริ่มนิยมผลิตใน ศตวรรษที่ ๑๗ และ ๑๘ ในยุคที่มีคนจีนอพยพมาตั้งถิ่นฐานในเอเซียอาคเนย์จานวนมาก ผ้า ปาเต๊ะชนิดน้ีเป็นผลงานที่ถูกใจสาวยะหยาและชาวบาบ๋าทั่วทั้งช่องแคบมะละกา สิงคโปร์ ปีนัง และภเู ก็ต ด้วยมอี ิทธิพลของการผสมผสานศลิ ปะท้งั จีนอนิ เดียและยุโรปเข้าด้วยกัน เมืองสาคัญที่ ชาวจีนผลิตผ้าปาเต๊ะท่ีชาวเพรานากันชอบมีสามเมืองคือ เปกะลองกาน (Pekalongan) ลาเซ็ม (Lasem) และเซเรบอน (Cirebon) เมอื งลาเซม็ (Lasem) นีม้ ีชื่อเสียงในการผลิตผ้าปาเต๊ะสีสด เช่น สีแดงเหมือนเลือดไก่ (คน จีนชอบสีแดง) และผสมกับสีน้าเงินสดและสีเขียวสด ลักษณะของสีผ้ามีความเป็นจีนมาก ชนิดน้ี ชาวภูเก็ตเรียกว่า “ลาซอม” (อาจจะเกิดจากการฟังผิดหรือคากร่อนไป) เป็นผ้าหลากสีที่มีความ พิเศษเฉพาะตวั ท่ีสามารถนาผ้าสสี ดมากสามสีรวมกนั เขา้ แล้วลงตวั เป็นผ้าทีม่ กี ลน่ิ หอมของเทียน แม้ซักรีดหลายคร้ังก็ยังมีกล่ินหอมชื่นใจ ผ้าลาซอมนี้เหมาะที่จะสวมกับเสื้อสีพื้นๆหรือสีขาว คุณสมบัตทิ ่ดี ีเย่ยี มอกี อย่างคือ ผ้าลาซอมที่ผ่านการใชห้ ลายๆปผี ้าจะนมุ่ และสจี ะสวยข้ึน วิธีถนอม รักษาผ้าปาเต๊ะนั้นจะต้องซักผ้าด้วยมือและซักน้าสะอาดหลายๆครั้ง ภาษาภูเก็ตเรียกว่า \"ซ๋วย

๖๙ น้าเปล่า\" (หรือในภาษากลางเรียกว่า ซักน้าเปล่าโดยไม่ใช้สบู่หรือผงซักฟอก) และข้อแนะนา สาหรบั การดูแลรกั ษาผ้าปาเตะ๊ ให้ใช้ได้นานปีคือให้ใช้ แชมพูสระผมมาซักผ้าจะทาให้สีคงทนและ ให้บิดพอหมาดและตากลมเท่าน้ัน ผู้เขียนเคยสัมภาษณ์คุณสันทนา อุปัติศฤงค์ (ซุ่ยอิ่ว ตันติวิท) ภรรยาคหบดีชาวภูเก็ต ท่านอธิบายว่าความพิเศษของผ้าลาซอมท่ีมีต่อสตรียะหยาภูเก็ตเพราะ เป็นผ้าทนี่ ยิ มใหเ้ จ้าสาวนงุ่ ในพธิ ีแตง่ งาน ขอ้ นา่ รู้เกีย่ วกับแหลง่ ผลิตผ้าปาเต๊ะของอินโดนีเซยี เมืองเปกาลองกาน (Pekalongan) เปน็ แหลง่ ผลิตช่างวาดผ้าปาเต๊ะท่ีมีชื่อเสียงหลายคน ปัจจุบันนี้ผ้าเก่าฝีมือดีเป็นของล้าค่าสาหรับนักสะสม ผ้าปาเต๊ะของเปกาลองกานน้ันเริ่มผลิต ตง้ั แตป่ ี คริตศักราช ๑๙๒๐ เปน็ ผา้ สสี ดสวยลวดลายชอ่ ดอกไม้สีสดใส ผ้าเปกาลองกานได้รับอิทธ พลจากยุโรปและผู้ผลิตเป็นคนจีนอพยพเหมือนกัน งานท่ีผลิตจึงถูกใจชาวบาบ๋าเชื้อสายจีน ลวดลายที่ต้องใจเป็นลายดอกไม้หลายชนิด เช่น ลายดอกโบต๋ัน ลายกุหลาบ ลายแจกันดอกไม้ และองค์ประกอบลายท่ีสาคัญมีนกและผีเสื้อ ส่วนสีของผ้าก็เป็นสีสดใสเช่นชมพู เหลือง ส้ม ฟ้า เป็นต้น ศิลปินที่มีช่ือเสียงของเมืองนี้เป็นคนจีนท้ังสิ้น แม้นจะล่วงลับไปนานแล้วก็ยังเป็นตานาน ของเมืองผา้ จากผผู้ ลิตมชี อื่ เสียงจะตราเครื่องหมายการค้าเป็นช่ือของตนเองเช่น อลิซ แวน ซูเลน (Elize Van Zuylen) ฮุย ก๊ก หวา (Oey Kok Hwa) อุย โซ จุง (Ozy Soe Tjoen) อุย ซง กิง (Oey Soen Khing) และคู จุง เหนียว(Kho Tjing Nio) ท่ีเซ็นช่ือสามีบนผืนผ้าว่า Nj Oeij Kok Sing เปน็ ต้น รายชอ่ื เหล่านีค้ อื ลายแทงขมุ ทรัพย์ หากบ้านของผู้ใดมีผ้าเก่าเก็บลองสอบทานดู ถ้า พบชอ่ื เหล่าน้ที ีเ่ อวของผ้าปาเต๊ะทา่ นกเ็ ป็นเจา้ ของสมบตั ิทน่ี ักสะสมต้องการ เมืองเซเรบอน (Cirebon) มีความเด่นในการผลิตผ้าลายเมฆ (Megamendung) แปลว่า เมฆฝนเป็นความเชื่อของคนจีนแต่มีช่ือเสียงมากสาหรับชาวอินโดนีเซีย แต่สาหรับชาวบาบ๋าใน ภูเกต็ นิยมใช้ผ้าถงุ ของเมอื งเซเรบอนเฉพาะสีน้าเงินไว้ทุกข์ ที่มีสีสรรของผ้าพื้นและมีดอกสีขาวใบ และดอกจะเป็นสีหม่นๆซ่ึงใช้เป็นผ้าไว้ทุกข์ของสาวยะหยา (ธรรมเนียมการไว้ทุกข์ของชาวบาบ๋า แบบด้ังเดิมน้ันเรียกว่า \"ต้ัวห่า\" มีระยะยาวนานถึงสามปีสาหรับครอบครัวแบบด้ังเดิมที่เคร่งครัด ประเพณี) ปีแรกของการไว้ทุกข์จะเป็นการนุ่งดาสวมเส้ือผ้าเนื้อดิบ ต่อมาจึงผ่อนคลายเป็นนุ่ง ผ้าถุงดาสวมเสื้อขาวธรรมดา ปลายปีที่สองจึงจะสวมเสื้อขาวผ้าถุงปาเต๊ะสีน้าเงินและก่อนออก ทกุ ขจ์ ะนุง่ ผา้ สีนาก (ทองผสมเงนิ ) สไี วท้ ุกขท์ ่ีเบาสดุ เปน็ พน้ื สเี ขียวข้ีม้าอ่อน ฟ้าอ่อน หรือเทาอ่อน ลวดลายเปน็ ดอกสเี ขียวหรอื ขาว มขี ้อแมห้ า้ มมสี ีสดหรือแดงในผนื เพราะวัตถุประสงค์ไว้สาหรับไว้ ทุกข์แม้จะเป็นตอนปลายๆ ก็ตาม สีเฉดเหล่านี้ชาวภูเก็ตดั้งเดิมใช้เรียกรวมว่าสีนาก หรือสีเกี้ยม ฉ่าย (ผักกาดดอง) เมื่อพ้นกาหนดไว้ทุกข์ ก็จะมีพิธี “ออกทุกข์” ภาษาฮกเกี้ยนเรียกว่า “ตุ้ยอ๋ัง” ภาษาใตท้ ้องถน่ิ ภูเก็ตเรียกทับศัพท์ว่า “ออกแดง”ทุกคนก็จะนุ่งผ้าสีสดใสถือเป็นการเอาฤกษ์เอา ชัยเร่มิ ตน้ ชีวิตใหมห่ มดทุกข์หมดโศกเสยี ที

๗๐ การทาผ้าปาเต๊ะอีกชนิดหนึ่งเป็นผ้าบาติกพิมพ์โดยใช้การแกะลวดลายเป็นบล็อคซ่ึงทา จากโลหะเช่นทองแดง ผ้าชนิดนี้เรียกว่าผ้าปาเต๊ะพิมพ์มือ (Batik cap) ผ้าชนิดน้ีราคาถูกว่าผ้า วาดดว้ ยมือ ผา้ ชนดิ นเี้ หมาะสาหรับเปน็ ผ้าตัดเส้อื ผ้าปาเต๊ะราคาประหยัดเป็นลักษณะผ้าพิมพ์แบบอุตสาหกรรม เป็นผ้าพิมพ์จากโรงงาน ซ่ึงมีกรรมวิธีผลิตแบบอุตสาหกรรม ผู้วิจัยได้สัมภาษณ์นายโลว์เตียงเป็ง ( Loe Tiong Peng) ที่ เมืองเปกาลองกาน นายโลว์เตียงเป็งผู้น้ีเป็นเจ้าของโรงงานพิมพ์ผ้าปาเต๊ะใหญ่สุดในเมืองนี้มี คนงานทง้ั หมด ๑๒๐๐ คน เขาเลา่ ว่าสง่ ผ้าปาเต๊ะขายทั่วประเทศและส่งมาขายให้พ่อค้าขายส่งใน ประเทศมาเลเซีย และประเทศพมา่ ดว้ ย เขาระบุว่าจะรับเฉพาะออเดอร์ใหญ่ๆอย่างน้อย ๕,๐๐๐ หลาขึ้นไป โรงงานนี้ผลิตผ้าสองชนิด ชนิดที่หน่ึงพิมพ์บล็อคบนโต้ะขนาดใหญ่ใช้แรงคนงาน จานวนมากในการเคล่ือนย้ายบล้อคขนาดใหญ่ (กว้างยาวเท่ากับผ้าปาเต๊ะหน่ึงผืน) และโต๊ะพิมพ์ ผา้ เป็นโตะ๊ ทาจากไม้ยาว ๘๐ หลา คือการพิมพ์ผ้าแต่ละครั้งจะได้ผ้าหนึ่งม้วนสาหรับส่งขาย การ พิมพ์ผ้าด้วยบล้อคไม้ขนาดใหญ่น้ีต้องพิมพ์สีแตกต่างทับกันส่ีคร้ังเพื่อ ให้ได้สีสันสดสวยเมื่อพิมพ์ เสร็จก็จะใช้ไม้ไผ่อันยาวยกข้ึนไปผ่ึงลมใต้หลังคา หลังจากแห้งแล้วก็จะผ่านกระบวนการฟอกให้ ผ้านิ่มขั้นตอนสุดท้ายต้อง ผ่านขบวนการควบคุมคุณภาพ (quality control) การพิมพ์ผ้าชนิดน้ี คลา้ ยการพมิ พผ์ ้าโขมพสั ตร์ของไทย อีกชนดิ ท่มี รี าคาถูกกวา่ คือการพิมพด์ ้วยเครอื่ งจกั รท้ังระบบ ผเู้ ขยี นสังเกตุการผลิตชนิดนี้ ในโรงงานของเมืองเปกะลองกานประเทศอินโดเนเซีย แล้วสรุปว่าเป็นการผลิตเช่นเดียวกับผ้า ปาเต๊ะในประเทศไทยที่มีขายหลายร้านใน สาเพ็ง ข้อแตกต่างคือเน้ือผ้าที่ใช้พิมพ์ของเขาเน้ือ ดีกว่าของเรามาก เดิมเขานาเข้าผ้าขาวจากยุโรปและอินเดีย ปัจจุบันทราบว่าผลิตในประเทศ ท้ังนี้แม้ว่าเขาจะเช่ียวชาญกว่าเราเพราะทามานานกว่า ๕๐๐ ปีอาจกล่าวว่าการผลิตผ้าปาเต๊ะ เปน็ อตุ สาหกรรมแห่งชาติอินโดนีเซียก็ว่าได้ สถานการณ์ผ้าปาเต๊ะในประเทศไทยที่พบในปัจจุบันน้ีคือ ประเทศไทยส่งออกผ้าปาเต๊ะ พิมพ์ราคาย่อมเยาว์ไปประเทศเพื่อนบ้านและจาหน่ายในประเทศด้วย ในอนาคตประเทศไทย น่าจะสามารถผลติ ผา้ บาติกดๆี ไดถ้ ้าเรามนี กั ออกแบบดๆี และตง้ั ใจผลิตงานคุณภาพ เช่น ปัจจุบัน น้ีร้านในสาเพ็งก็ผลิตส่งออกผ้าพันผืนใหญ่กว้างสามเมตรลวดลายใหญ่ลงแวกซ์มันวับท้ังผืน (ใช้ สาหรับนุ่งเป็นผ้าถุง เหลือตัดเป็นเสื้อและมีพอไว้เป็นผ้าคลุมผม) ประเทศไทยส่งผ้าชนิดนี้ไปขาย บางประเทศในทวปี แอฟรกิ าท่ีเคยเป็นเมอื งขึน้ ของดทั ช์มากอ่ น

๗๑ ในอดีตร้านท่ีผลิตผ้าถุงในจังหวัดภูเก็ตคือ ร้านจินไทยพาณิชย์ เป็นผ้าที่พิมพ์ด้วย น้ามันก๊าด ขณะนี้เลิกกิจการไปแล้ว เพราะราคาต้นทุนสูงจึงไม่สามารถสู้กับระบบอุตสาหกรรม ขนาดใหญไ่ ด้ รวมถงึ คุณภาพของผ้าก็ไม่สามารถเปรยี บเทยี บกับทีอ่ ืน่ ๆได้ ภาพการแตง่ กายของสาวบาบา๋ ทมี่ า: ผศ.ปราณี สกลุ พพิ ฒั น์ เคร่อื งประดบั และอัญมณขี องมีคา่ หากเล่าเร่ืองเครื่องประดับเพชรทองของสาวบาบ๋าภูเก็ตต้องเล่าเรื่องท่ีมาของทรัพย์สิน ชาวบ้านในอาเภอกะทู้มีเคร่ืองประดับล้าค่าไว้ครอบครองกันทุกครอบครัว ภาชนะที่ใช้หาทรัพย์ ในระดับชาวบ้านใช้ “เลยี ง” (เป็นภาชนะที่ขดุ จากไม้แต่งจน ผิวเรียบ ขนาดเหมาะมือมีรูปพรรณ สนั ฐานกลมเสน้ ผ่าศนู ย์กลาง ๒๐ – ๒๔ นิ้ว) เป็นคู่มือในการทามาหากินโดยวิธี “ขุดทรัพย์ในดิน และหาสินในน้า” ของสตรีชาวภูเก็ตทั่วทุกเหมืองแต่มากสุดคงเป็นกะทู้ (อาเภอท่ีเคยมีเหมือง มากที่สุดของจังหวัดภูเก็ต) วิธีใช้เลียงเป็นภาชนะในการร่อนหาแร่ในลาธารของเหมืองดีบุก เป็น

๗๒ ส่ิงท่ีผู้เขียนช่ืนชมสตรีในยุคก่อนเก่าของภูเก็ตท่ีสามารถแปรเปล่ียนหยาดเหง่ือและแรงงานเป็น เคร่อื งประดับทง้ั ทอง เงนิ นากและเพชร เพลงเปลเปน็ เพลงกลอ่ มเด็กของชาวภูเก็ต อธิบายวิถีชีวิตของคนทามาหากินกับเหมือง ได้ดี (โดย “โกไข่” ศิลปินชาวพังงาในค่ายแกรมมี่นามาอัดเทปใส่ในอัลบั้มใหม่พุทธศักราช ๒๕๕๖) “ผูกเปลเอ้ย ใตต้ ้นมงั เคล สาวสาว ชาวตนี เล สวยสวยทง้ั เพ ไวใ้ ห้จนี เหมือง คนไทยมาขอ พอ่ แมเ่ ขาเคือง ไว้ใหจ้ นี เหมือง ไดร้ ่อนท้ายราง” ต้นมังเคล เป็นพืชลม้ ลุก ดอกสีม่วงมีผลเล็กๆสีดาบางแห่งเรียกว่า ลูกธูป นักธรณีวิทยา ระบุว่า “ต้นมังเคลเป็นตันไม้ท่ีบ่งบอกว่าพ้ืนท่ีน้ันมีสินแร่ดีบุก” คาว่า “ตีนเล” ปัจจุบันคือตาบล เชิงทะเล หมู่บ้านในละแวกน้ีมีชีวิตผูกพันกับเหมืองซ่ึงมีอยู่ท่ัวไป สตรีในหมู่บ้านมีรายได้พิเศษ จากการร่อนแร่ (เม่ือเสร็จส้ินภารกิจจากงานบ้าน) เมื่อมีลูกสาวก็จะไม่ยอมยกให้ชายหนุ่มใน ละแวกนั้น แม่มีเหตุผลที่จะเต็มใจยกลูกสาวให้คนจีนท่ีทาเหมืองในละแวกนั้นเพราะแม่ยายจะมี สทิ ธพิ เิ ศษได้ทาเลร่อนแร่ท่ดี ที ่ีสดุ และคงจะได้แรม่ ากกวา่ คนทอ่ี ยปู่ ลายนา้ เครื่องประดับของชาวภูเก็ตมีหลากหลายรูปแบบ ส่วนใหญ่มีลักษณะของเคร่ืองประดับ ของชาวบาบ๋าหรือเพอรานากัน ช่างทองของภูเก็ตส่วนใหญ่เป็นชาวจีนไหหลา ผู้เขียนเคย สัมภาษณ์ช่างทาทองและฝังเพชรเก่าแก่ท่านเล่าว่า ไม่ค่อยมีโอกาสรับงานของครอบครัวอ่ืน เพราะได้รับการว่าจ้างทั้งปีจาก ครอบครัว “พระพิทักษ์ชินประชา” ครอบครัวคหบดีท่ีมีลูกสาว หลายคน ภรรยาคุณพระจะสั่งทาเครื่องประดับให้ลูกสาวคนละหลายๆชิ้น โดยช่างทองใช้วิธีข้ึน รปู เครอ่ื งประดับท่ที าเป็นโครงหยาบๆไวม้ าวดั ขนาดเพชร เม่ือทุกอย่างเรียบร้อยแล้วช่างจึงจะนา ตัวเรือนไปใส่เพชรเม็ดโตๆที่บ้านของคหบดีท่านนี้ ครอบครัวใหญ่เช่นน้ีมีหลายครอบครัวล้วน แล้วแต่ใช้วิธีการผูกขาดช่างทองไว้เป็นช่างประจาบ้านทั้งส้ิน นางอัญชุลี (ซวดเอ๋ง ตัณฑวณิช ) องค์สกุล บุตรีคนที่ยังมีชีวิตของพระพิทักษ์ชินประชา เล่าว่า คุณแม่และคุณยาย “เอี๋ยวเองฮ้ัว หรืออาแดงฮั้ว” ที่มีช่ือว่าเป็นนายเหมืองสตรีคนแรก ในสมัยท่ีรัชกาลท่ี ๖ ดารงพระอิสริยยศ เป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จเยือนหัวเมือง ปักษ์ใต้ได้บันทึกไว้ว่า “เสด็จเยือนเหมืองแล่นของอาแดงฮ้ัวในตัวเมืองภูเก็ต” ท่านท้ังสองจะจัด สารับเครื่องประดับให้บุตรีทุกคน (บุตรีของท่านมีชื่อเป็นภาษาจีน ฮกเก้ียนดังน้ี ซวดซี้ ซวด จีด ซวดเฉ้ง ซวดเอ๋ง และ ซวดเอี่ยม) ส่วนบุตรชายก็มีช่ือเป็นภาษาฮกเกี้ยนว่า อยู่อ่ี อยู่เอ่ียว

๗๓ อยู่เก้ียง อยู่เก่ง อยู่เหลี่ยง อยู่เลียด และอยู่ซิด บ้านนี้มีคฤหาสน์งามท่ีปัจจุบันคือ ร้านอาหารบลู เอลเลเฟ่น (Blue Elephant) บุตรชายของนายอยู่เอ่ียว ตัณฑวนิช ช่ือคุณสัญชัย ตัณฑวนิชเล่าว่า แม่และย่าจะ จัดเตรียมเคร่ืองประดับนานาประกอบด้วย เข็มขัดทอง (เส้นยาวคิดเป็นน้าหนักทองราวย่ีสิบ บาท) ต่างหูหางหงส์ (เป็นต่างหูแนบหูยาวแนบไปกับใบหู) ต่างหูดอกพิกุลเม็ดกลางโตสุดและ ล้อมเพชรรอบๆอีกห้าเม็ด ต่างหูตุ้งต้ิงและอาจเพิ่มรายการเป็นต่างหูหยกล้อมเพชร สร้อยคอ พร้อมจ้ีเป็นรูปตะกร้าดอกไม้หรือภาษาาจีนฮกเกี้ยนเรียกว่า “ฮ่ัวหนา” ขนาดเล็กใหญ่แล้วแต่ ฐานะมีเพชรประดบั ตะกร้าเมด็ โตๆหลายเมด็ สรอ้ ยเพชรล้อมรอบคอหรือเรียกเป็นภาษาฮกเกี้ยน ว่า “เหล่ียนเต่ป๋าย” และสร้อยทองขึ้นรูปเป็นดอกไม้ (ไว้สวมในงานไม่เป็นพิธีการ) และท่ีนิยม มากคือจี้ “ปินตั้ง” ทค่ี นปัจจุบันดูเป็นรูปเต่า คณุ ยายบอกว่าเป็นเข็มกลัด รูปดาว คาว่า “ปินตั้ง” เปน็ ภาษามาเลย์ แปลว่า “ดาว” เช่นกัน สามารถใช้เป็นจี้ติดเสื้อเจ้าบ่าวได้ (บางคนให้เหตุผลว่า เหตุที่นิยมเข็มกลัดรูปเต่าเพราะเป็นความเชื่อของคนจีนว่า เต่าเป็นสัตว์ท่ีมีอายุยืนยาวจึงเป็นสิริ มงคลกับผู้สวมใส่) นอกจากเข็มขัด จ้ีเพชร สร้อยเพชร และต่างหูแล้ว แม่จะจัดหากระดุมลาย ดอกพิกุลฝังเพชรเพ่ิมอีก ๕-๖ เม็ดให้ลูกสาวไว้สวมใส่กับเสื้อขาวคอตั้ง (ไว้สามใส่ในวันสบายๆ หรอื ใวใ้ ชเ้ ปน็ เสื้อตวั ในและสวมเสอ้ื ครยุ ทบั เป็นตัวนอก) นอกจากน้ีแม่ยังสั่งทาแหวนให้ลูกสาวอีก หลายๆวง เช่น แหวนบาเยะ (แหวนรูปทรงข้าวหลามตัด) แหวนชนิดน้ีถือเป็นลักษณะพิเศษของ เคร่อื งประดบั ของสาวบาบ๋าโดยเฉพาะความยาวของแหวนอาจจะยาวถึงข้อน้ิว รูปทรงข้าวหลาม ตดั ประดับเพชรเมด็ โตๆประมาณ ๓๐-๓๖ เมด็ ทาใหส้ งั เกตเุ ห็นเดน่ ชดั ในสงั คมภรรยานายเหมือง (ท่ชี าวภูเก็ตเรียกง่ายๆวา่ “นายหัวหญิง” ด้วยเหตุท่ีเป็นภรรยาของ “นายหัวเหมือง” ฉะนั้นชาว ภูเก็ตจึงไม่นิยมเรียกเจ้าของกิจการว่า “เถ้าแก่” แต่นิยมเรียกสั้นๆว่า “นายหัว”) เคร่ืองประดับ อีกอย่างท่ีแสดงฐานะและขาดไม่ได้คือ “หมัยตีนทอง” หรือ “กาไลข้อเท้า” ทาด้วยทองคาแท้ตี โปง่ ทาใหม้ นี า้ หนักเบา เมื่อภรรยาคหบดีหรือ “นายหัวหญิง” ไปงานมงคลพร้อมกันหลายๆคนจึงเป็นภาพชวน มอง คุณนายเหลา่ นจ้ี ะแต่งตัวงามทั้งผ้าปาเต๊ะราคาแพงสวยท้ังสีและงามทั้งลวดลาย สวมเสื้อยะ หยาติดกระดุมแมล่ ูกมีโซท่ องร้อยกระดุมสามเม็ดเข้าด้วยกัน และบางคนนิยมใช้กระดุมชุดใหญที่ ชาวภูเก็ตเรียกว่า “โกสัง” มาจากภาษาบาฮาซาอินโดนีเซียว่า “โกโรซัง” บางคนนิยมสวมเส้ือ ลูกไมเ้ ขา้ รปู และสวมเครอื่ งประดบั ครบชุดท้ังกาไลทองหรือสร้อยข้อมือฝังเพชร ค่านิยมการสวม เคร่ืองประดับของมีค่าในอดีตอาจเป็นเพราะไม่มีธนาคารท่ีให้ความสะดวกเหมือนเช่นปัจจุบันน้ี การออมของสตรีจึงถือเป็นความฉลาดท่ีออมทรัพย์แล้วยังสามารถใช้เป็นเครื่องประดับบ่งบอก ฐานะผู้สวมใส่ไดด้ ว้ ย

๗๔ ทรงผมสตรีบาบ๋าในยุคดั้งเดิมนิยมไว้ผมยาวไว้เกล้าเป็นมุ่นมวยผมและใช้เฉพาะใน โอกาสพิเศษจริงๆ เช่น การถ่ายรูปไว้ประดับบ้าน งานรับเสด็จๆ หรือในโอกาสท่ีมีงานแต่งงาน ของลูก สตรีจะมุ่นมวยไว้บนกระหม่อมติดดอกไม้ประดับรอบมวยผมด้วยดอกไม้ทาจากดิ้นเงิน (ทาเองก็ได้ง่ายจัง) และปักปิ่นทองฝังเพชร ๓ – ๗ อัน รอบมวยผม เมื่ออายุมากขึ้นและมีฐานะ ทางสังคมสูงขึ้น ระดับของมุ่นมวยจะลดไปด้านหลังมากขึ้น สาวบาบ๋าภูเก็ตสูงวัยในอดีตนิยมนา ดอกไมส้ ดท่มี กี ล่ินหอมเชน่ ชามะนาด (ดอกดงั ข้าว) ดอกไม้สดอีกชนิดท่ีนิยมนามาร้อยรัดมวยผม คือ ดอกพุดตูม ถึงไม่มีกล่ินหอม แต่หาง่ายตลอดปี ร้อยง่ายด้วยและมะลิร้อยนิยมนามาตกแต่ง มวยผม ยุคต่อมาสตรีนิยมผมทรงบ็อบตดั ความยาวพอกับหตู นเองและดัดให้ขึ้นลอนเป็นยุคแกตส บ้ีโดยแท้ (วิธีดัดใช้คีมร้อนเป็นภาพน่ากลัวมากสาหรับเด็กเช่นผู้เขียนขณะนั้น เป็นพันธนาการ สาหรับผู้หญิงที่ต้องน่ังใกล้อุปกรณ์ท่ีเหมือนเคร่ีองอบผมในปัจจุบันน้ี แต่ติดอุปกรณ์มีหลอดและ ให้ลูกค้าม้วนผมเป็นหลอดแล้วช่างจะเอาอุปกรณ์ร้อนๆหนีบบนหลอดที่วางบนผมบังคับให้หยิก เสียงฉ่าของอุปกรณ์ดังน่ากลัวมาก) ต่อมาเป็นยุคของ “หลินใต้” ดาราภาพยนต์จากใต้หวันท่ี ได้รับความนิยมสูงสุด ดูเหมือนว่าสาวบาบ๋ารับอิทธิพลเต็มที่ แฟช่ันผมซอยส้ันอวดคอระหงและ ผมดา้ นหน้าตีโปง่ ของหลินใตม้ ีอยู่ท่ัวเมืองและต่อด้วยยุคของ เพชรา เชาวราษฎร์ ดาราภาพยนต์ ไทยที่โด่งดังหลายปี ผมช่วงนี้ตีโป่งพองท้ังศีรษะใช้สเปรย์ช่วยให้ผมคงตัวได้หลายวัน “นางทิพย์ สอาด งานทวี” ภรรยาคหบดีและอดีตเป็นช่างผมลือช่ือเล่าว่า “สาวภูเก็ตจะออกไปดัดผม หลงั จากไหว้บรรพบุรุษในวนั กอ่ นตรุษจนี แลว้ การดัดผมคอื การทาสวยเต็มทีป่ ลี ะครั้งเพื่อต้อนรับ ตรุษจีน” ช่างผมคนนี้เล่าว่าการดัดผมคราวละหลายคนกินเวลายาวนานจนถึงรุ่งเช้าของวัน ตรษุ จีน (ลกู คา้ ไปฉลองกบั ครอบครวั สว่ นชา่ งก็เข้านอนเพราะเหน่อื ย) นายขนดั หวังเกยี รติหรอื โกทุย้ เป็นช่างผมผู้มีความสามารถในการเกล้ามวยมาก เธอฝึก มือมาต้ังแต่อายุ ๑๘ ปี ปัจจุบันอายุ ๗๐ ปี เธอวิตกว่าช่างรุ่นใหม่ไม่สนใจธรรมเนียมเดิม (ไม่ดึง ผมด้านข้างให้โป่งเหมือนปีกนกเรียกว่า “อีเปง” และปลายผมมวยต้องโป่งเหมือนบ้ันท้ายเป็ด เรยี กวา่ “ชกั อีโบย” ชา่ งรนุ่ ใหมม่ กั จะคิดเองและชอบดัดแปลงตามใจตนเองและในท่ีสุดประเพณี บาบ๋าท่ีแท้จริงของภูเก็ตจะสูญหายไปหมด คุณสันทนา อุปัติศฤงค์ (ซุ่ยอ่ิว ตันติวิท) คุณน้าของ นายขนัด หวังเกียรติ เป็นผู้ริเริ่มชักชวนให้สตรีภูเก็ตมีชุดประจาจังหวัดในยุคของผู้ว่าราชการ นายเสน่ห์ วัฒนาธร (พทุ ธศกั ราช ๒๕๒๑ – ๒๕๒๓) คุณยายซ่ยุ อวิ่ ทา่ นเลา่ ด้วยความภาคภมู ิใจว่า ท่านคือสตรีภูเก็ตคนแรกท่ี ชักชวนเพื่อนฝูงให้นิยมแต่งกายชุดภูเก็ตด้วยการนุ่งผ้าถุงปาเต๊ะสวม เสื้อ ลูกไม้หรือสวมชุดยะหยา ภาพที่ถ่ายร่วมกันในวันเปิดโรงแรมเพิร์ลเป็นประจักษ์พยานที่ดี และผู้เขียนได้สัมภาษณ์ท่านเร่ืองเส้ือครุย ท่านให้ข้อคิดเห็นที่น่าสนใจว่า “เสื้อครุยเป็นเส้ือบ่ง บอกฐานะวา่ เป็นคนระดับชนชน้ั นาของสังคม เสื้อครยุ แบบส้ันน้นั ไมม่ ี นอกจากคิดดัดแปลงกันไป หรือเห็นเขานงั่ ถา่ ยรปู เขาเก็บชายเสื้อให้ไม่โผล่ จึงคิดว่าเสื้อชนิดนี้มีชายเสื้อสั้น” ผู้เขียนโชคดีที่

๗๕ เก็บเสียงวันที่เราคุยกันไว้เรียบร้อยในเทปก่อนที่คุณสันทนาจะส้ินชีวิตในปลายปีพุทธศักราช ๒๕๕๕ ท่านเปน็ ผนู้ าการแต่งกายของภเู ก็ตและเป็นผู้รู้ประเพณดี ีเยย่ี ม เพราะชาติกาเนิดเป็นบุตรี นายเหมืองผู้มั่งคั่งที่สุดในยุคน้ันคือ “นายตันเค้กิ๋ว” (ตระกูลตันติวิท) และท่านเป็นภรรยานาย สุริยะ อปุ ตั ิศฤงค์ จากครอบครัวนายเหมืองผู้มั่งคั่งเช่นกัน การย้อนยุคแต่งงานแบบบาบ๋าคู่แรกก็ เป็นหลานของท่านเอง เป็นน้องของ นายขนัด หวังเกียรติ ชื่อ นางสาวสุวรรณา หวังเกียรติ แต่งงานกับ นายวราวุธ วิสิฐพาณิชกรรม เม่ือพุทธศักราช ๒๕๒๐ ถือเป็นการฟื้นฟูประเพณี แต่งงานแบบบาบ๋าอย่างแท้จริงเป็นครั้งแรกหลังจากประเพณีหมดไปพร้อมกับการประกาศหยุด ยงิ ในสงครามโลกครงั้ ทส่ี อง การแต่งหน้าทาแป้งของสาวบาบ๋ายุคเก่าจะนิยมใช้ผลิตภัณท์ทาเองเรียกว่า “แป้งข้าว” ไดร้ บั การชน่ื ชมในหมู่คุณยายว่าเป็นแป้งดีมีคุณภาพช่วยรักษาผิวและทาให้คลายร้อนได้ วิธีทาให้ นาข้าวสารมาแช่ให้เปื่อยยุ่ยแล้วนวดให้เป็นเน้ือเดียวกัน หลังจากนั้นบิแล้วปั้นเป็นเม็ดเล็กๆที่ เรยี กว่าแปง้ กระแจะและเรยี งใส่กระด้ง ตากแดดใหแ้ หง้ เก็บรวบรวมลงในกระปุกหรือโถแก้วแล้ว อบร่าให้หอมด้วยดอกไม้หอมนานาชนิดรวมทั้งใบเตยหั่นละเอียด เวลาจะทาตัวหรือทาหน้าก็จะ หยิบแป้งออกจากโถที่อบดอกไม้หอมไว้ราวหน่ึงหรือ สองเม็ดหยดน้าใส่ฝ่ามือสองสามหยดขยี้ให้ เป็นเน้ือเดียวกันและทาหน้าชโลมตัวให้เย็นสบายหอมกรุ่นไปทั้งตัว ต่อมาเมื่อมีเคร่ืองสาอางค์ โฆษณาความงามแบบบันใดสามขั้น สาวยุคโน้นที่มีเงินนิยมใช้เคร่ืองสาอาง “เมิลนอแมน” ชุด บันไดสามขั้น (ครีมล้างหน้า ครีมบารุงผิว และครีมก่อนนอน) โดยทั่วกัน ลิปสติคก็มีขายเป็น หลอด (ย่ีห้อแมกซแฟคเตอร์) จากเดิมที่เคยใช้ซองธูปทาให้ปากแดง ชีวิตก็เปลี่ยนไป ส่วนชีวิต ชาวบา้ นธรรมดาก็เปล่ียนมาใช้แป้งฝุ่นมะนาว หรือแป้งโกรินธ์บางคนที่เป็นผดผ่ืนคันก็นิยมใช้แป้ง ศรจี ันท์ แปง้ ขา้ วกห็ มดบทบาทไปโดยสิ้นเชงิ การแต่งกายของสาวบาบ๋าภูเกต็ เปน็ เครื่องแสดงฐานะที่ม่ังค่ังและร่ารวยของผู้สวมใส่ ซ่ึง ชาวภเู กต็ โชคดที ่อี าศัยอยู่ในแหลง่ ที่มี “ทรัพย์ในดิน สินในน้าอุดมสมบูรณ์” เหมือนดั่งท่ีนายวิชัย ไพรสงบกลา่ ววา่ “ขึ้นเขามียาง ลงน้ามีปลา” ประกอบกับคนไทยเชื้อสายจีนในจังหวัดภูเก็ตหรือ ชาวบาบ๋ามีความขยันขันแข็งในการทางานเรียกว่า หนักเอาเบาสู้ ทาให้เช่ือได้ว่าประชากรบาบ๋า สว่ นใหญไ่ ม่ได้ยากจน (นอกจากกลุ่มคนที่เล่นการพนันจนเป็นหน้ีเป็นสิน) การยืดถือสุภาษิตและ สอนกนั จากรนุ่ สูร่ ่นุ วา่ “น้ามากปลาไมต่ าย” แปลว่า ขยันไวเ้ ถิด มีเงินมากดีกว่ามเี งนิ น้อย รองเทา้ ลกู ปดั รองเทา้ ของชาวบาบ๋าภูเก็ตท่ีใช้ในพิธีการจะเป็นรองเท้าแตะพื้นหนังปักด้านบนละเอียด ด้วยลูกปัดที่ได้จากการเป่าแก้วทีละเม็ด (โรงงานเป่าแก้วในประเทศเช็ครีพับลิคและแม้แต่ในเว นซิ ประเทศอติ าลีก็ยงั มีสินค้าชนิดน้ีขาย ในปัจจุบันเม็ดจิ๋วๆราคาเม็ดละ ๒๕ บาท) รองเท้าแต่ละ

๗๖ คู่คานวณได้ว่าใช้ลูกปัดกว่าห้าร้อยเม็ด ทาให้รองเท้านี้ราคาสูงลิ่วน่าตกใจและต้องสั่งล่วงหน้า หนึ่งปี ในปัจจุบันน้ีชาวภูเก็ตนิยมสั่งทาอย่างชนิดดีและแพงมากนี้จากเมืองปีนัง ส่วนชนิดราคา ย่อมเยาว์ผลิตในเวียดนามราคาประมาณห้าร้อยบาท รองเท้าชนิดน้ีทนทานมาก (ของเก่าเก็บใน ภเู ก็ตมอี ยูห่ ลายคเู่ ปน็ ทภี่ าคภมู ิใจของหลานๆในตระกลู ) การแต่งกายของเด็กทีน่ ่าประทับใจ “ตะปิง้ ” คือ บิกินีขนาดจ๋ิวสาหรับเด็กผู้หญิงในวัยเตาะแตะถึงประมาณสองขวบ ก่อนท่ี จะรู้จักขับถ่ายและใช้ห้องน้าเป็น) คนไทยมีความคิดเห็นว่าอวัยวะเพศของสตรีเป็นของพึงสงวน ฉะนั้นการใช้ตะป้ิงจึงปลอดภัยไม่อับและทาให้ไม่ประเจิดประเจ้อ เม่ือผู้เขียนยังเด็กได้ยินคุณ ยา่ ตา่ ว มโนสุนทรเลา่ ใหเ้ พ่อื นฟงั ในเชงิ แนะนาว่า ถ้าอยากได้ลูกสาวให้ไปบนบานต่อส่ิงศักด์ิสิทธิ์ บอกทา่ นว่าถ้ามีลูกสาวจะทาตะป้ิงทองให้ใส่ ผู้วิจัยเคยถามญาติผู้ใหญ่ในวัย ๙๐ ว่า ตะปิ้งทองที่ เขาบนบานไว้ เขาใส่จริงหรือ (น้องของคุณย่า) ตอบวา “ตะป้ิงทองเป็นของสูง จะไม่ใช้ใน ชวี ติ ประจาวัน จะใช้เป็นของมีค่าเก็บไว้ในตู้เซฟ” พ่อแม่จะส่งตะป้ิงทองเก็บไว้ให้ลูกดู ลูกสาวจะ ได้ภูมิใจว่า เขาอยากได้ลูกสาวจริงๆ ตะปิ้งของจริงทาจากเงิน ถ้าเป็นชาวบ้านเขาจะทาจากพรก หรือกะลามะพร้าว รูปลักษณะของตะปิ้ง เหมือนทาสร้อยห่วงเล็กๆ ต่อกันเป็นแผง มีรูปลักษณ์เป็น สามเหลยี่ ม ตะปงิ้ หรอื จับปิง้ เป็นของคกู่ บั เดก็ ผู้หญิง ส่วนสร้อยลูกไข่เป็นของคู้กับเด็กชายเพราะ ความคิดว่าอวัยวะของผู้ชายน่ารักไม่นุ่งกางเกงก็สวมเฉพาะสร้อยลูกไข่ ก็ใช้ได้แล้ว ”ตะปิ้ง“ น่าจะเป็นสัญลักษณ์ของเด็กหญิงที่ได้รับการดูแลเอาใจใส่ พ่อแม่ไม่รังเกียจที่มีลูกสาว และภูมิใจ ที่มีลูกสาวในครอบครัว ลูกสาวชาวบาบ๋าได้รับการดูแลอย่างดี วิถีชีวิตความเป็นอยู่เป็นไปตาม ครรลองท่บี รรพบุรุษชาวจนี เช่อื และถ่ายทอดไวค้ รบทกุ ประการ ประการที่ ๑ สตรีต้องไมอ่ วดตัวใหผ้ ้ชู ายเห็นไดง้ า่ ย เรียกประเพณนี ี้วา่ ”เก็บตัวลกู สาว“ บ้านคนภูเกต็ จีนลักษณะเป็นตึกแถวยาว แบ่งประโยชน์ใช้สอยเป็นส่วน เช่น บ้านคุณวนิดา หงษ์ หยก สว่ นนอกสดุ เรยี กวา่ ร้านค้าไวร้ ับซ้ือแร่ ส่วนท่ีสองลูกค้าหรือเครือญาติ ส่วนท่ีสามเป็นส่วน สตรีอาศัยใช้เป็นท่ีทางานแต่ละส่วนแยกจากกันโดยใช้บังตาที่เป็นลวดลายฉลุงดงามกั้นไว้ สตรี ภเู ก็ตจงึ ใช้ชวี ติ อยูก่ บั บา้ นและเตรียมตวั เป็นแม่บา้ น ประการท่ี ๒ สตรีต้องเกง่ งานบา้ นงานครวั ครวั ของภเู กต็ จึงมีขนาดใหญ่ มีเตาไฟเรียกว่า ”หัวโพ“ งานปรุงอาหารเป็นงานหลักของบ้าน เน่ืองจากชาวบาบ๋าชอบชีวิตสาราญโดยเฉพาะ อยา่ งยง่ิ การกนิ แมบ่ ้านเหน่อื ยท้ังวนั กบั การปรุงอาหารใหส้ มาชิกในบ้านครบ ๓ ม้ือ ลูกสาวที่เป็น กุลสตรีต้องเตรียมตัวฝึกหัดทากับข้าวให้เก่ง เช่น ในภาพยนตร์เรื่อง Little Nyonya หมดเวลา ครวั ก็ต้องทาความสะอาดบ้าน ซักผ้า รีดผ้า งานที่ดูง่ายเช่นนี้ที่เหน่ือยมากและปริปากเล่าให้ใคร ฟังไมไ่ ด้

๗๗ ประการที่ ๓ สตรีต้องเป็นใหญ่ในบ้าน เรียกว่า ต้องมีความสามารถในการจัดการ ต้อง วางตวั ใหเ้ ปน็ ทร่ี กั ของพอ่ แมส่ ามี ต้องเป็นคนทค่ี วรค่าแก่การไว้วางใจให้รักษาสมบัติ เช่น เป็นคน รักษาดูแลกุญแจทุกดอกของบ้านรวมทั้งกุญแจตู้เซฟด้วย ด้วยเหตุบังเอิญท่ีพ่อแม่บาบ๋ามักจะรัก ลูกชายเพราะคิดว่าเป็นผู้สืบตระกูล ลูกผู้ชายหลายบ้านหลายครอบครัวจึงไม่เก่งงาน ถ้าภรรยา เก่งกว่าสามารถจดั งานการทงั้ หลายเรยี บร้อยไดด้ ี จงึ จะมคี ่าควรแก่การยกสมบตั ิให้ ความสาเร็จของสตรีที่มองเห็นอย่างเป็นรูปธรรม คือ ได้ถ่ายรูปในชุดสตรีเกล้ามวยสูง และได้แขวนในจุดสงู สุด เด่นสุดของห้องรับแขก คู่กับภาพของสามีในชุดสูทสีเข้ม บ่งบอกเป็นนัย ยะว่า ฉนั ไต่เตา้ ถงึ จุดสูงสุดของชวี ติ แลว้ ได้เปน็ นายหัวหญิงของบ้านหรอื เถา้ แก่เนีย้ วสมปรารถนา ประการท่ี ๔ ต้องมีลูกสืบตระกูลต่อไป เจ้าสาวในยุค ๑๙๖๐ มักจะเป็นเยาวสตรีอยู่ใน เจริญพันธ์ุ จึงมีลูกเยอะแทบจะหัวปีท้ายปี และเรียนดีเป็นเรื่องยากมากเพราะแม่ต้อง รับผิดชอบงานบ้านเต็มเวลา ส่วนพ่อบ้านมักจะมีชีวิตสาราญนอกบ้าน จึงคิดเอาเองว่าเรื่องใน บ้านเปน็ เรอ่ื งของผ้หู ญงิ ประการท่ี ๕ ความสามารถในการจัดการกับทรัพย์สมบัติสตรีภูเก็ตส่วนใหญ่จะเก่งใน การคิดหารายได้และรู้จักเก็บออมเช่ือว่าหรือไม่ว่า แม้ในปัจจุบันนี้หลายตระกูลใหญ่ๆในภูเก็ตมี สตรีเป็นผู้จัดการเบ้ืองหลังท้ังสิ้น โชคดีที่ข้อหน่ึงถึงข้อส่ีเป็นหน้าที่ของสตรีในยุคท่ีปัจจุบันอายุ ๘๐ ปขี น้ึ ไป ๔.๓.๑.๒ พิธกี รรมและความเชือ่ ตา่ งๆท่ีมผี ลตอ่ การแตง่ กาย พิธีกรรมทีเ่ กีย่ วกบั การแตง่ งาน การแต่งงานแบบนายเหมือง ในอดีตเป็นลักษณะการพิธีสมรสของกลุ่มชนชั้นนาทาง สังคมและเศรษฐกิจ ในยุคเศรษฐกิจฟูเฟ่ืองของภูเก็ต และมีคากล่าวยกย่องแกมประชดว่า พระเอกของนวนยิ ายไทยในยุค “บุษยมาส” น้นั พระเอก มีเฉพาะเชือ้ พระวงศ์และนายเหมืองจาก ภูเก็ตเท่าน้ัน ทั้งน้ีเพราะนายเหมืองหรือเจ้าของเหมืองนั้นเป็นนักลงทุนรายใหญ่ นอกจากมี ความร้คู วามชานาญแลว้ ต้องมีโชคช่วยจึงจะประสบความสาเร็จทาให้มีฐานะ มั่งค่ังเป็นเจ้าสัวยุค ใหม่สามารถใช้เงินได้อย่างที่ตัวเองฝัน ชุดแต่งกายของเจ้าสาวในอดีตเป็นชุดสากลมีผ้าคลุมผม ยาวมาก ฝร่ังเรียกว่าแฟช่ันของแกตสบ้ี (Gatsby) ตามนวนิยายชื่อดังเรี่อง The Great Gatsby ท่ีเขียนโดย F.Scott Fitzgerald คนจีนฮกเก้ียนเรียกชุดน้ีว่า \"บุ่นเบ๋ง\" ส่วนชุดเจ้าสาวที่ผู้เขียน เลอื กใชน้ ัน้ (ในอดตี การแต่งงานแบบบาบา๋ จัดหลายวัน) เป็นชดุ ทเ่ี จ้าสาวสวมใสห่ กวันหลังจากพิธี ส่งตัวในวันแต่งงาน เจ้าบ่าวมาบ้านเจ้าสาวในฐานะลูกเขยเป็นคร้ังแรก ความดีใจของพ่อแม่ เจ้าสาวและญาติ ที่ปิติยินดีเป็นล้นพ้นแสดงออกในวันนี้ เหตุเพราะไม่มีแขกเหรื่ออื่นนอกจากคน ในครอบครัว นายหัวหญิง (แม่ของเจ้าสาว)แต่งกายเต็มยศชุดเดียวกันกับรูปถ่ายในอดีต (รูปสวย

๗๘ สดุ ในวัยสาวของเจา้ ของบา้ นที่แขวนไวใ้ นทส่ี ูงคู่กบั นายหัวเพื่อบ่งบอกสภาพสังคมของตนเอง ใคร มาเยี่ยมเยอื นบ้านนกี้ ็ให้รวู้ า่ “ฉนั นีแ้ หละผ้ถู ือกุญแจตู้เซฟ”) แม่ดใี จนกั ทีล่ ูกรกั สวยภูมฐิ านสมฐานะได้มีคู่ครองเหมาะสมกันทานอง “มังกรคู่กับหงส์” และทง้ั ครอบครวั ก็จะฉลองความสุขน้ดึ ้วยการรบั ประทานอาหาร (ท่ีจัดอย่างเป็นพิธีการ) ร่วมกัน หลังจากนั้นคู่บ่าวสาวก็จะไปถ่ายรูปท่ีสตูดิโอมีชื่อของภูเก็ต เช่น เล่ียงอิ้ว มาสเตอร์เป็นต้น เจ้าบ่าวและเจ้าสาวเม่ือถ่ายภาพคู่กันแล้วก็จะถ่ายเด่ียวเพ่ือวัตถุประสงค์หลักคือ เก็บไว้แขวน เหนอื ประตูทางเข้าบ้าน (เมือ่ มบี า้ นของตนเองในอนาคต) เจ้าบ่าวจะสวมชุดสูทขาวแต่งกายอย่าง ฝร่ัง นอกจากนายหัวคนใดผอมมากจึงจะเย็บสูทเป็นคอจีนและแต่งเท่ห์ด้วยผ้าเช็ดหน้าเหน็บ กระเป๋าสีแดงหรือดอกไม้ช่องาม สวมรองเท้าหนังขัดมันวับที่เราเรียกตามยี่ห้อรองเท้าว่า “เกือก แบเร็ต (Barratts)” และสวมหมวกทานองหมวกตรวจการของฝร่ัง อยากรู้ว่าชาวภูเก็ตผู้ชาย แตง่ ตัวอย่างไรใหด้ ูหนัง “อินเดยี น่าโจนส์” ทงั้ นกี้ ารแตง่ กายเช่นนี้มที ี่มาจากการศึกษาเพราะกลุ่ม ชาวบาบ๋ารุ่นใหมใ่ สใ่ จในเร่อื งการศกึ ษาตามสมยั นิยม มกั จะสง่ ลูกชายไปเรียนโรงเรียนฝรั่งและส่ง ลกู สาวไปเรียนคอนแวนต์ (ท้งั นี้เพราะชนช้ันนาของสงั คมในยุคนน้ั คือคนทีต่ ิดต่อคา้ ขายกบั ฝร่งั ) การแตง่ กายของเจ้าบ่าวเจ้าสาวท่ีเป็นแบบพิมพ์ใจผู้เขียนคือ การแต่งงานของคุณพ่อคุณ แมข่ องคุณสัญชยั ตัณฑวนชิ เปน็ ค่แู ต่งงานทเี่ หมาะสม เจา้ บ่าวหล่อภมู ิฐานบตุ รชายพระพิทักษ์ชิน ประชาเจา้ ของคฤหาสน์ท่ีปัจจุบันเป็นร้านอาหารโก้ช่ือ Blue Elephant จบกฎหมายจากอังกฤษ และเจ้าสาวเป็นหลานพระยารัษฎานุประดิษฐมหิศรภักดี คู่สามีภรรยานี้ครองคู่กันด้วยความรัก และความเข้าใจอันดีมีทายาทที่ฉลาดเฉลียวมีช่ือเสียงหลายคน เช่น อาจารย์สุชาดา (ตุ๊) ตัณฑวนชิ และน้องสุดท้องคณุ สัญชยั ตณั ฑวนิช ผู้เป็นตัวแทนประเทศไทยในด้านการประมง ชุด เจ้าบ่าวบาบ๋านั้นสีท่ีใช้จะต้องเป็นสูทสีขาวเท่านั้น ด้วยความเช่ือว่า “เถ้าแก่เท่าน้ันมีสิทธิใส่ชุด ขาวและกุลีสวมชดุ ดา” ตามครรลองของฝรงั่ ทแ่ี บ่งอาชพี ผ้คู นเป็น “White collar workers and blue collar workers”

๗๙ ภาพเคร่ืองแตง่ กายทส่ี วมใสใ่ นพธิ ีมงคลสมรสในยคุ ก่อนปี พทุ ธศกั ราช ๒๔๗๐ ท่ีมา: ผศ.ปราณี สกลุ พิพฒั น์ โดยท่ัวไปงานแต่งงานของสตรียะหยามีความสาคัญพิเศษสามวัน คือ วันที่หน่ึงเรียกว่า วันทาขนมสด ถือเป็นวันสุกดิบหรือวันเตรียมงานก่อนวันแต่งงานจริงหนึ่งวัน เจ้าสาวจะสวมชุด สวยเหมาะสมที่จะเป็นเจ้าสาวในวันพรุ่งน้ี เจ้าสาวส่วนใหญ่นิยมสวมชุดยะหยาสีสดใสฉลุลาย สวยงามท้ังด้านหลังและช้ินหน้าของเสื้อท้ังซ้ายขวารวมทั้งปลายแขนเส้ือก็ฉลุด้วยชาวภู เก็ตบาง คนนิยมเรียกเสื้อยะหยาเป็นภาษาฮกเกื้ยนว่า \"ปอต่ึงเต้\" มาจากคาาว่า “ป่อ” แปลว่า ผ้า “ต๋ึง” แปลว่า ยาว ส่วน”เต้” แปลว่า ส้ัน สรุปแปลว่าเส้ือไม่ส้ันไม่ยาว คือยาวครือสะโพก ภาษา มาเลย์เรียกเสือ้ ยะหยาว่า “เคบายา (Kebaya) การสวมเส้ือยะหยาของชาวมาเลย์และอินโดนีเซีย นั้นเสื้อยะหยาของเขาจะยาวปิดสะโพก (อาจจะเกี่ยวข้องกับความเชื่อทางศาสนา) ส่วนผ้าถุง ปาเต๊ะจะมีสสี ดใส เชน่ เหลอื ง ชมพู ส้ม แดง และมลี วดลายมงคลตามความเชื่อของชาวจีน เช่น ลายดอกโบตั๋น ลายกุหลาบท่ีมีผีเส้ือและนก เป็นต้น เจ้าสาวบางคนอาจจะสมัตรใจสวมผ้าถุง ปาเต๊ะกับเสื้อลูกไม้สีสดๆ โดยส่วนใหญ่สาวบาบ๋าจะนุ่งผ้าถุงปาเต๊ะยาวกรอมเท้า เพื่อช่วยเสริม บคุ ลิกใหส้ ง่างาม วันทาขนมสดน้ีกิจกรรมที่ยุ่งมากคือ การเตรียมขนมเพ่ือจัดเล้ียงในวันรุ่งข้ึน ซึ่ง เป็นวนั แต่งงานจริง บ้านเจ้าสาวจะมีแขกเหรื่อมาช่วยงานเยอะมากเจ้าสาวจึงต้องแต่งกายพร้อม จะให้การต้อนรบั แขกเสมอ

๘๐ วันที่สองเป็นวันท่ีสาคัญสุดคือวันแต่งงาน เจ้าสาวแบบดั้งเดิมจะสวมชุดขาวยาวตาม แบบสมัยนิยม (ในยุคเดิมที่การคมนาคมระหว่างภูเก็ตและปีนังสะดวกเพราะมีเรือกลไฟชื่อ S.S. Matang ว่งิ ขน้ึ ลอ่ งประจาทุกสัปดาห์และมีเรือขนส่งสินค้าของหลายบริษัทในจังหวัด ภูเก็ตยังว่ิง ส่งสินแร่ดีบุกและยางพาราไปให้ปีนังเมืองท่าสาคัญในอาณานิคม ของอังกฤษเช่นเรือถ่องโห เรือ สินภเู กต็ เรอื สินพงั งา เป็นต้น) พอ่ ของเจ้าสาวจะสั่งแคตตาล็อคใหม่ล่าสุดมาให้ครอบครัวเจ้าสาว เลือกแบบ เมื่อเลือกแบบได้แล้ว จึงจะฝากคนเรือซ้ือผ้าตามแบบและให้ช่างท้องถิ่นผู้ชานาญการ ตัดเย็บ เป็นผู้ตัดเย็บตามแบบ ท้ังนี้ชุดแต่งงานแบบเดิมจะเป็นไปตามสมัยนิยมของฝรั่งท่ีเรียก ตามภาพยนตร์ เด่นดังท่ีสร้างตามบทประพันธ์ของนักประพันธ์ช่ือ เอฟ สก้อต ฟิซเจอรัลด์ (F. Scott Fitzgerald) วันท่ีสามคือวันครบรอบแต่งงานสิบสองวัน เป็นวันแรกท่ีเจ้าบ่าวนาภรรยามาเย่ียม ครอบครัวพ่อตาแม่ยายและญาติพี่น้องที่บ้านของครอบครัวเจ้าสาว โอกาสอันเป็นมงคลเช่นน้ี เจ้าบ่าวและเจ้าสาวสวมชุดเต็มยศ เจ้าบ่าวยังคงสวมสูทสีขาวเช่นเดียวกับวันแต่งงานแต่เจ้าสาว จะสวมชุดเสื้อครุยยาวสมเกียรติสมศักด์ิศรีที่จะเป็นผู้ได้รับความไว้วางใจให้เป็นผู้ดูแล ทรัพย์สิน ของตระกูลสามีต่อไปในอนาคต ชุดแต่งกายของเจ้าบ่าวและเจ้าสาวสวยโก้ จึงเป็นวาระพิเศษที่ จะต้องไปถ่ายภาพท่ีสตูดิโอมีชื่อเสียงของจังหวัดอีกวาระหน่ึง (ห้องภาพเล่ียงอ้ิวหรือมาสเตอร์ผู้ เป็นหลานของชา่ งภาพมีชื่อเสียงของจังหวัด ภูเก็ตชื่อ “นายสวา่ ง”)

๘๑ ภาพเครื่องแตง่ กายทส่ี วมใสใ่ นพิธีมงคลสมรสในยคุ หลงั ปี พธิ ีกทร่ีมราม: ผเพกศทุ ีย่.ธปวศรกาักณรับาีชสกก๒าลุ ๔รพ๗ตพิ ๐าฒั ยน์ พิธีกรรมการจัดงานศพแบบจีนค่อนข้างซับซ้อน ด้วยเพราะการให้ความสาคัญกับธรรม เนียมปฏิบัติและความเช่ือท่ีเช่ือมโยงกับความรู้สึกของวิญญาณผู้ตาย ชาวบาบ๋าเชื่อว่าหาก ครอบครวั ไมแ่ สดงออกถึงความโศกเศราเสยี ใจอย่างที่สุด หรือร้องไห้อาลัยเสียงดัง วิญญาณจะไม่ สามารถเดินทางไปสู่ปรโลกได้ ในการเข้าร่วมพิธีศพแบบจีน เคร่ืองแต่งกายถือเป็นเครื่องหมาย แสดงการลาดับญาติ หรือท่ีเรียกว่า การใส่เส้ือผ้าไว้ทุกข์ เน่ืองจากครอบครัวชาวจีนมีขนาดใหญ่ มีจานวนสมาชิกค่อนข้างเยอะ การสวมใส่เสื้อผ้าที่แตกต่างจึงถือเป็นสัญลักษณ์ของการให้บุคคล อ่ืนๆที่อยู่พิธีกรรมทราบถึงลาดับและความสัมพันธ์ของผู้ตายกับญาติ จากการสัมภาษณ์พบว่า หากบ้านใดมีการจัดพิธีกรรมการเคารพศพผู้ตายตามแบบประเพณีด้ังเดิมของชาวจีนตอนใต้ ผู้ เปน็ ภรรยาและลูกหลานจาเปน็ ต้องแตง่ กาย ดังนี้ ๑) ลูกชาย ลูกสะใภ้ และหลานที่เกิดจากลูกชาย (หลานใน) ให้ใส่ชุดเนื้อดิบ คลุมทับด้วย ผ้าหมวั หยาบ ผู้ชายสวมหมวก ส่วนผหู้ ญงิ คลุมดว้ ยผ้าคลุม ๒) ลูกสาว ให้ใส่ชุดเน้ือดิบ คลุมทับด้วยผ้าหมัวเน้ือเนียน นุ่งกางเกงสีดา และคลุมศีรษะ ดว้ ยผ้าหมัวเน้ือเนยี น ๓) หลานที่เกิดจากลูกสาว (หลานนอก) ให้ใส่เส้ือเน้ือดิบ นุ่งกางเกงสีดา ผู้ชายสวมหมวก ผา้ ส่วนผู้หญงิ คลุมศรี ษะด้วยผ้าหมัวเนอ้ื เนียน ๔) น้องชาย และลูกน้องชาย ใส่เสื้อเนื้อดิบ นุ่งกางเกงสีดา สวมหมวกหรือคลุมศีรษะด้วย ผ้าหมัวเนอ้ื เนียน ๕) น้องสาวและลูกน้องสาว ใส่เสื้อเนื้อดิบ นุ่งกางเกง สวมหมวกหรือคลุมศีรษะด้วยผ้าเน้ือ ดบิ ๖) ลูกเขย ใส่เส้ือและกางเกงสีดา ใส่สายสะพายพาดบ่าสีน้าตาล ส่วนผ้าคาดแขนเป็นสีน้า เงิน

๘๒ ๗) หลานเขย ใส่เสื้อและกางเกงสีดา ใส่สายสะพายพาดบ่าเป็นผ้าเน้ือดิบ ส่วนผ้าแถบคาด แขนสีเขยี วออ่ น ๘) เหลน (ทง้ั หญงิ และชาย) ใส่ชดุ สชี มพู ๙) โหลน (ท้ังหญิงและชาย) ใสช่ ดุ สแี ดง ๑๐)ญาติฝ่ายบิดา หากเป็นผู้ชาย ให้ใส่ชุดสีดา พาดสายสะพายผ้าขาวหยาบ แต่ถ้าเป็น ผู้หญงิ ให้ใส่เส้อื ผ้าขาวเนื้อเนียน นงุ่ ผ้าถงุ สดี า และนาผา้ ขาวเนอ้ื หยาบมาคลมุ ศีรษะ ๑๑)ญาติฝ่ายมารดา หากเป็นผู้ชาย ให้ใส่ชุดสีดา พาดสายสะพายผ้าขาวหยาบ แต่ถ้าเป็น ผหู้ ญงิ ให้ใสเ่ สอ้ื ผา้ ขาวเนอื้ เนยี น นุ่งผา้ ถงุ สีดา และนาผ้าขาวเน้อื เนยี นมาคลมุ ศีรษะ ชาวจีนมีความเช่ือว่าความตายเป็นสภาวะจิตท่ีไม่อยากให้เกิดขึ้นกับใครท้ังสิ้นใน ครอบครวั บางครัง้ อาจจะออกอาการกลัวความตายทีจ่ ะมาบงั เกดิ กับตนเอง เช่น ถ้าถามถึงบุคคล ในครอบครัวทต่ี ายไปแล้วก็มักจะตอบด้วยความรู้สึกผู้ตายกลับไปมาตุภูมิแล้วว่า “อาแปะไปขาย ไข่เค็มที่เมืองจีนแล้ว” ในสมัยก่อนความนิยมในการจองโลงจาปาหรือจองฮวงซุ๊ย (สุสาน) ก่อน ตาย เป็นการกระทาที่มีเจตจานงค์ถึงการเตรียมตัวสร้างบ้านให้แก่ตนเองในอนาคต และถือเป็น เคล็ดท่ีดี กลุ่มคนเหล่านี้มักอยู่ยืนยาวกว่า ๑๐๐ ปี นอกจากนี้ ชาวจีนยังเชื่อว่าความตายมิใช่ ความทุกข์โศกเสมอไป แต่กลับเป็นเร่ืองน่ายินดีที่ได้กลับสู่สวรรค์หรือเช่ือว่าบรรพบุรุษเหล่าน้ัน จะกลายไปเป็นเทพที่ปกปักษ์รักษาลูกหลานต่อไป ดังจะเห็นได้จากเครื่องแต่งกายของรุ่นเหลน และโหลนที่ให้สวมเสื้อผ้าสีชมพูและสีแดง อันแสดงให้เห็นถึงการแสดงความยินดีที่อาจ้อ (คุณ ทวด) ถึงวาระแห่งการเป็นส่ิงศักด์ิสิทธิ์อยู่บนสรวงสวรรค์ ซ่ึงเม่ือทาความเคารพเรียบร้อยแล้วก็ ขอให้พรอันประเสริฐตา่ งๆดลบันดาลให้ลกู หลานมคี วามเจริญรุ่งเรืองตอ่ ไป การใช้ผ้าหมัว (ภาษาภูเก็ตเรียกว่า ผ้าหวะ มาจากภาษาใต้ท่ีผู้ประกอบอาชีพประมง ชายฝง่ั ทะเลอ่าวไทยแถวจงั หวัดนครศรีธรรมราชเรียกผ้าชนิดนี้วา่ “อวน-หวะ”) ซงึ่ เป็นผ้าทอจาก ต้นหญ้าชนิดหนึ่งคล้ายกับผ้ากัญชง แต่ช่องว่างระหว่างเส้นใยห่างกันมาก ในปัจจุบันเร่ิมพบเห็น พธิ ีกรรมการเคารพศพน้อยลง แตใ่ นพิธีการของผู้ที่เคร่งครัดในประเพณีจีนเป็นเรื่องจาเป็นท่ีผู้ทา ความเคารพศพที่ใกล้ชิด เช่น ภรรยาและลูกทุกคน รวมถึงหลานเฉพาะลูกของลูกชาย จะต้อง สวมใส่ผา้ ชนดิ นใ้ี นพธิ กี รรมดงั กลา่ ว มูลเหตุด้านความเช่ือท่ีหย่ังรากฝั่งลึกของชาวไทยเชื้อสายจีน พิธีการไว้ทุกข์เป็นเรื่อง ใหญ่ในอดตี มีช่วงระยะเวลาไว้ทุกข์ยาวนานถึง ๓ ปี โดยในปีท่ี ๑ ลูกหลานจะต้องสวมใส่ผ้าเน้ือ ดิบเรียกว่า “ตั้ว-ห่า” เป็นระยะเวลา ๑ ปี หลังจากนั้นจึงแต่งกายเป็นชุดสีขาวดาอีก ๑ ปี และ สวมสีน้าเงินเทา เราเรียกว่า “ออกเขียว” หรือภาษาจีนฮกเก้ียนเรียกว่า “ตุ้ย-แช” เป็น

๘๓ ระยะเวลา ๑ ปี หลังจากนนั้ จงึ เปลี่ยนเปน็ สแี ดงหรือเรียกว่า “ตยุ้ -อั๋ง” เปน็ อันเสรจ็ ส้ินการไว้ทุกข์ ให้แก่ผตู้ าย เคร่ืองแต่งกายท่ีสาวบาบ๋านิยมแต่งกายเม่ือไปงานศพคือ หากผู้ตายเป็นผู้อาวุโสกว่า ผู้ ไปร่วมพธิ ีจะแตง่ กายดว้ ยความเคารพผู้ตายคอื สวมเสือ้ ลกู ไมแ้ ขนสัน้ สขี าว ผ้าถุงเป็นสีน้าเงิน (ถ้า ผเู้ สียชวี ิตเป็นญาติและอายุมาก ผสู้ วมใสจ่ ะนุง่ ผา้ ไทรบุรีสีดา) หากผู้ตายมีอายุเท่ากับผู้ไปงาน จะ นิยมสวมเส้ือสีฟ้าหรือเทา และหากผู้ตายอายุน้อยกว่าผู้ร่วมงานจะสวมเสื้อสีเขียวอ่อนและนุ่งผ้า ปาเต๊ะสีเขียวอมเหลือง ซึ่งคนภูเก็ตเรียกว่า สีนาก หรือ สีเกี้ยมฉ่าย (สีผักกาดดอง) และ นอกจากนี้ชาวบาบ๋าภูเก็ตถืออย่างเคร่งครัดว่าการใส่เสื้อผ้าสีดาจะนิยมใส่ในงานศพของบรรพ บุรษุ ของตนเองเท่านน้ั ภาพการแตง่ กายของชาวบาบา๋ ในชว่ งการจดั พธิ ีศพให้แกส่ มาชิกในครอบครัว ทม่ี า: ผศ.ปราณี สกลุ พพิ ฒั น์

๙๓ บทที่ ๕ กระบวนการมีส่วนร่วมของชมุ ชนในการสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรม “การแต่งกายของชมุ ชนบาบ๋าเพอรานากัน” การแต่งกายของชุมชนชาวบาบ๋าเพอรานากัน เป็นลักษณะการแต่งกายที่มีการประยุกต์และ ปรับเปลี่ยนรูปแบบองค์ประกอบตามยุคสมัยต่างๆ แต่สาระดั้งเดิมของการแต่งกายยังคงต้องรักษา และสืบทอดต่อไป กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนจึงมีผลต่อการดารงไว้ซึ่งความตัวตนของชาว บาบ๋า-เพอรานากัน โดยเฉพาะอย่างย่ิงเร่ืองการแต่งกาย มีกลุ่มคนจานวนมากในชุมชนท่ียังคงดารง วิถีของตนเองด้วยเคร่ืองแต่งกายท่ีเห็นอยู่ในชีวิตประจาวัน น่ันคือการนุ่งผ้าถุงกับเสื้อประเภทใดก็ ตาม เปน็ สัญลักษณข์ องการแต่งกายทีย่ ังแสดงถงึ ความเรียบง่ายและอนุรักษค์ วามเป็นทอ้ งถิ่น ทางผู้วิจยั จึงไดว้ เิ คราะหแ์ ผนการในการสง่ เสริมให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมในการแต่งกายแบบ บาบ๋า โดยอาศัยความเข้าใจในบริบทของพื้นที่เป็นที่ต้ัง เนื่องจากพ้ืนฐานความเข้าใจเป็นส่ิงสาคัญใน การทากิจกรรมอน่ื ๆต่อไป ในรอบ ๒๐ ปี ภูเก็ตมีการเปล่ียนแปลงโครงสร้างทางสังคมค่อนข้างสูง ซ่ึง สงั เกตได้จากการสง่ เสริมอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ วทงั้ เชงิ ธรรมชาตแิ ละเชิงวัฒนธรรม ซึ่งมีผลให้กลุ่ม คนภเู ก็ตด้ังเดมิ ทีม่ ีเชื้อสายจีน มุสลิม แขก ฮินดู-ซิกข์ และชาวไทยใหม่ (กลุ่มคนท่ีอาศัยอยู่ใกล้ทะเล) ต่างก็ต้องปรับตัวเพ่ือให้เข้ากับความเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ในบางคร้ังวัฒนธรรมการแต่งกายเองจึง อาจจะเปลย่ี นจากการใช้สอยในชีวิตประจาวัน มาเป็นการแต่งกายในโอกาสพิเศษสาคัญ หรืองานพิธี การใหญ่ เป็นต้น เมอ่ื เขา้ ใจบรบิ ทของการแต่งกายดังกล่าว การสร้างคุณค่าของวัฒนธรรมจึงเป็นการ เปิดประตูวัฒนธรรมให้แก่กลุ่มคนรุ่นหลังให้รู้จักกับวิถีชีวิตด้ังเดิมของตนเองด้วยการสัมผัส เพ่ือให้ เข้าถึงความรู้สึกที่อยากเป็นส่วนหนึ่งกับวัฒนธรรมดังกล่าว ในเบ้ืองต้นต้องทาความเข้าใจกลุ่มคนรุ่น ใหม่เสียก่อนว่า ความรู้สึกอยากมีส่วนร่วมไม่ได้หมายความว่า มีความต้องการเข้าถึงแก่นสาระของ การแต่งกายเสียทีเดียว แต่เป็นเพียงความรู้สึกที่อยากจะสวมใส่เคร่ืองแต่งกายเพราะสุนทรียความ งดงามเท่านน้ั หลงั จากน้ัน ผู้วิจัยจะใช้วิธีการใช้ส่ือเพ่ือประชาสัมพันธ์เคร่ืองแต่งกายบาบ๋า-เพอรานา กัน เพ่ือส่งเสริมให้เกิดกระแสการแต่งกาย หากวิเคราะห์บริบทในจังหวัดภูเก็ต อิทธิพลของสื่อ สมยั ใหม่สามารถเป็นแรงขับเคลื่อนการแพร่กระจายของวัฒนธรรม ทาให้คนในชุมชนโดยเฉพาะกลุ่ม คนร่นุ ใหม่ และวยั กลางคน เห็นคุณคา่ ของวัฒนธรรมเหล่านี้ โดยไม่รู้สึกว่าเป็นเรื่องของคนยุคเก่า แต่ เปน็ เรือ่ งทีม่ คี ่านยิ มของความอมตะ (Classic) และไม่เคยลา้ สมัยไปกบั กาลเวลา

๙๔ แผนผังการวิเคราะหว์ ัฒนธรรมการแต่งกายของชุมชนบาบ๋า-เพอรานากนั เพ่ือสรา้ งกลยทุ ธข์ อง การส่งเสรมิ ความมสี ่วนร่วมของชมุ ชน เขา้ ใจบรบิ ททางสังคม และการเปลย่ี นแปลงตง้ั แต่ อดตี จนถงึ ปจั จุบนั : ศึกษาสังคมเมอื งภเู ก็ตอยา่ งจรงิ จงั และยอมรบั ข้อดขี อ้ เสียเพอื่ การสรา้ งสรรค์ ส:รส้าองคบณุถาคมา่ ทเากง็บวขฒั ้อนมธลู รรม : กระตุ้นเพอื่ สืบทอด : กการาสรรเผา้ ยงกแจิพกรรว่ รฒั มนตธา่ รงรๆมผแา่ ลนะสห่ือลทกั มี่สอีตู ทิรธพิ ลตอ่ กลุม่ เป้ าหมาย : ให้ความรู้สึกถงึ ความเทห่ แ์ ละดี วเิ คราะหกบ์ ริบาทขอรงสังคบมภนั เู ดกต็ าทล:ม่ี ใคี จวกาจามารเปกใลไชีย่ อน้สดแ่ือปออลลองอนยไ่างลรนวด์ เรก็ว ามรีควสารม้าสงาคแัญบมรานกใดน์กาแรทรางวิจัยใน คร้งั นี้ เนอ่ื งจากขณะน้จี งั หวัดภเู กต็ เปน็ ตัวแทนเมืองใหญ่ที่มีการพัฒนาในเชิงโครงสร้างทางสังคมมาก ขึ้น มีความสาคัญในด้านการท่องเท่ียวและการเจริญเติบโตของการลงทุนของบริษัทและ อสงั หาริมทรัพยร์ ายใหญร่ ะดับโลก จึงทาให้เกิดการไหลเข้ามาของกลุ่มผู้ใช้แรงงานท่ีมีทักษะและไม่มี ทกั ษะทางอาชีพ และทาให้เกดิ การกระจายตัวของคนในชุมชนท่ีมีแนวโน้มจะเพ่ิมสูงขึ้น จนทาให้เกิด รูปแบบความสัมพันธ์ของครอบครวั ที่เร่มิ หา่ งเหินไปทุกที ยกตัวอย่างเช่น เศรษฐีชาวจีนตระกูลใหญ่ๆ หลายครอบครัวท่ีมีลูกหลานจานวนมากอาศัยอยู่ในบ้านหลังเดียวกัน จาเป็นต้องทากิจกรรมต่างๆ ด้วยกัน รวมถึงการประกอบธุรกิจและอาชีพการงานท่ีต้องทาร่วมกันแบบกงสี มีการใช้ส่ิงของ เคร่ืองมือต่างๆร่วมกัน แสดงถึงความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันและความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกันภายใน ครอบครัว แต่เมื่อลูกหลานโตข้ึนประกอบกับสภาพสังคมที่เปลี่ยนไป แนวคิดเร่ืองการเดินทาง แสวงหาสิ่งท่ีดีกว่า เริ่มมีอิทธิพลต่อความคิดของคนภูเก็ตโดยเฉพาะในยุคของการเปลี่ยนผ่านจากยุค

๙๕ เมืองแร่มาเป็นยุคอุตสาหกรรมการท่องเท่ียว แม้จะมีการเติบโตของประชากรท่ีอพยพย้ายเข้ามาใน จังหวัด แต่ลูกหลานชาวภูเก็ตบางคนก็ต่างแยกย้ายถิ่นฐานไปอยู่ท่ีอ่ืนๆเพื่อการศึกษาบ้าง หรือเพ่ือ การต้ังหลกั ปกั ฐานระยะยาวบา้ ง ส่ิงท่พี บเหน็ ในปัจจุบันคือ ลูกหลานชาวไทยเช้ือสายจีนอยู่ในตระกูล ใหญ่ๆ มักจะแยกบ้านเป็นครอบครัวเด่ียว ไม่อยู่ร่วมกับพ่อแม่และพี่น้องคนอ่ืนๆ ไม่ใช่เพราะปัญหา ทางการเงินหรือการทะเลาะเบาะแว้งกัน แต่อาจเป็นเพราะแนวคิดในความต้องการสร้างครอบครัว ใหม่ บางครอบครัวใหญ่ที่มีเนื้อท่ีกว้าง พ่ีน้องอาจจะปลูกบ้านเรือนอยู่ในบริเวณใกล้เคียงกัน บาง ครอบครัวก็ตัดสินใจท่ีจะไปอยู่ท่ีอ่ืน ปรากฏการณ์ทางสังคมเหล่าน้ี จึงสืบเนื่องต่อความสัมพันธ์ของ คนในชุมชน ชาวบาบ๋าเพอรากันที่อยู่ในช่วงอายุประมาณ ๔๕ ปีข้ึนไป ถือว่ายังเป็นช่วงวัยท่ีคนใน ชุมชนยังคงรู้จักสนิทสนม ไปมาหาสู่กันระหว่างเพื่อนพ่ีน้อง แต่ในช่วงวัยหลังจากนั้นถัดมา ภาพลักษณ์ของความเป็นสังคมชนบทกาลังจะถูกเปลี่ยนไปเป็นสังคมท่ีแม้แต่ญาติพี่น้องท่ีมีนามสกุล เดียวกันก็แทบจะไม่รู้จักกัน วัฒนธรรมของสังคมเมืองภูเก็ตจึงจาเป็นต้องเปลี่ยนบทบาทจากการทา หนา้ ที่เปน็ ศนู ยร์ วมทางจติ ใจและความเชอื่ ม่นั ในการดารงชีวติ เปน็ ตัวเชื่อมให้เกดิ ความทรงจาร่วมกัน และการแสดงตวั ตนอตั ลกั ษณ์ในยุคโลกาภิวฒั น์ การสร้างความเข้าใจของคนในชุมชนให้เห็นความสาคัญในวัฒนธรรมการแต่งกายแบบชาว บาบา๋ จงึ เป็นแนวคดิ เร่ิมต้นของการจัดโครงการเพื่อสง่ เสริมใหว้ ัฒนธรรมการแต่งกายยังคงดารงได้อยู่ ดงั นัน้ หากนาทฤษฎีหรือหลักการทางวัฒนธรรมศึกษาและทางนิเทศศาสตร์ที่เก่ียวข้องมาชี้นาหนทาง ที่จะนาไปสู่การปฏิบตั ิ ก็นา่ จะสามารถวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของการขยายภาพลักษณ์การแต่งกาย แบบบาบ๋าเพอรานากันใหก้ ว้างขวางได้ (กาญจนา แกว้ เทพ และคณะ, ๒๕๕๔) คือ ๑) ทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับบริบทท่ีเป็นจริง เป็นการมองสถานภาพของ วัฒนธรรมท่ีมีต่อชุมชนและสังคม และในทางกลับกันคือความคิดเห็นของคนในสังคมท่ีมีวัฒนธรรม ของตนเอง กาญจนา เทพแก้ว (๑๕๕๔) ได้อธิบายว่ารูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างสื่อพ้ืนบ้านกับ บริบททางสงั คมโดยใชห้ ลักการทางนเิ ทศศาสตร์ คอื ทฤษฎีภาพสะท้อน และทฤษฎีผลกระทบ ในท่ีนี้ ผู้วิจัยจึงนาหลักคิดการเปรียบเทียบสื่อพ้ืนบ้านกับวัฒนธรรมการแต่งกายบาบ๋า เพื่อให้เกิดมุมมอง ความเข้าใจทีช่ ดั เจนขน้ึ ๑.๑) ทฤษฎีภาพสะท้อน เป็นการอธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดข้ึนแบบเช่ือมโยงกันจาก สภาพโลกแห่งความเป็น เช่น ในประเพณีสาคัญต่างๆ งานบวช งานศพ งานแต่งงาน หรือพิธีการ ต่างๆ การแต่งกายอย่างเหมาะสมและถูกกาลเทศะย่อมเป็นส่ิงที่จาเป็น เครื่องแต่งกายแบบบาบ๋าจึง

๙๖ เป็นลักษณะการแต่งกายที่มีความสวยงามและค่อนข้างเป็นกลางสามารถสวมใส่ได้ทุกโอกาส รวมถึง การแต่งกายแบบสบายๆในชวี ิตประจาวนั เชน่ การนงุ่ ผา้ ถุงกบั เสื้อตามสมัยนิยม เปน็ ต้น ๑.๒) ทฤษฎีผลกระทบ เป็นลักษณะการมองภาพสภาพสังคมท่ีเป็นความจริงอีกทฤษฎี หนึง่ ซึง่ สว่ นหน่ึงเป็นการสะท้อนผลลัพธ์ของการรือ้ ฟ้นื หรือฟืน้ ฟูวัฒนธรรมมิให้สูญหาย นอกจากน้ียัง มีการตั้งคาถามเพิ่มเติมว่า ส่ิงท่ีเรียกว่าคุณค่า/ความหมาย/เน้ือหาท่ีซุกซ่อนอยู่ในวัฒนธรรมเหล่านี้ จะยังคงอย่ใู นความนึกคิดของเจ้าของวัฒนธรรมหรือแฝงอยู่ในการดารงชีวิตประจาวันหรือไม่ เพราะ สง่ิ ทพ่ี บเหน็ คือ วฒั นธรรมการแตง่ กายแม้วา่ จะได้รบั การสนบั สนนุ จากหนว่ ยงานของภาครัฐ แต่ก็เป็น เพียงการสืบทอดเชิงนโยบายท่ีจัดทาโดยคนกลุ่มหน่ึงเท่านั้น แต่ในงานประเพณีสาคัญหรือใน ชีวิตประจาวันของคนส่วนใหญ่ก็กลับไปเลือกการแต่งกายแบบสากล ซ่ึงแตกต่างจากกลุ่มคนในช่วง อายุหน่ึงท่ีมองวา่ การสวมใส่เสอื้ ลูกไม้และนงุ่ ผา้ ถงุ เปน็ การแตง่ กายสาหรบั พิธีการ ๒) ทฤษฎีองค์ประกอบของการสื่อสารในการวิเคราะห์ส่ือทางวัฒนธรรม เป็นการทาความ เข้าใจลักษณะกระบวนการสื่อสารโดยท่ัวไป ซึ่งวัฒนธรรมการแต่งกายบาบ๋าถือว่าเป็นรูปแบบหนึ่ง ของการสื่อสารทางวฒั นธรรมท่คี าดว่ากาลังอย่ใู นสภาวะของการสญู หายไปจากชุมชน ด้วยความนิยม การแต่งกายในยุคสมัยใหม่ท่ีมีอิทธิพลต่อคนในชุมชนมากข้ึน องค์ประกอบของการสื่อสารตามหลัก ทางนิเทศศาสตร์ประกอบด้วย ผู้ส่งสาร (Sender) เน้ือหา (Message) ช่องทาง/ส่ือ (Channel) และ ผู้รบั สาร (Receiver) ซึ่งกระบวนการวเิ คราะห์ลักษณะปัญหาทเ่ี กิดขึน้ กบั องค์ประกอบมีดงั ต่อไปนี้ ๒.๑) ปัญหาของผู้ส่งสารท่ีเริ่มลดน้อยลง กลุ่มคนท่ียังถือได้ว่ามีอิทธิพลต่อการแต่งกาย บาบ๋าคือ ชาวภูเก็ตที่มีอายุประมาณ ๔๕ ปีขึ้นไป ซึ่งส่วนใหญ่กลุ่มคนเหล่าน้ียังคงนุ่งผ้าถุงกับเส้ือ สมัยใหม่ในชีวิตประจาวัน หรือแต่งชุดยาหยาออกงานพิธีท่ีสาคัญๆ ผู้หญิงในรุ่นดังกล่าวมักจะให้ ความสนใจกับการเก็บสะสมเส้ือลูกไม้และผ้าถุงเก่าๆท่ีมีคุณภาพดี ซ่ึงส่วนใหญ่มองว่าเป็นสมบัติให้ ลกู หลานได้สวมใส่ในสาคญั ของตนเองต่อไป ๒.๒) ปัญหาเนื้อหาสาระท่ีเปลี่ยนไป เป็นลักษณะการทาความเข้าใจความหมายของ วฒั นธรรมนั้นๆ เพ่ือให้เกิดการสืบทอดทางวัฒนธรรมอย่างมีเป้าหมาย แม้ว่าในปัจจุบันลูกหลานชาว ภูเก็ตอาจไม่เข้าใจรูปแบบการตัดเย็บเสื้อผ้า วิธีการแต่งกายอย่างถูกวิธี หรือแม้แต่ความหมายของ ลวดลายบนเครื่องแต่งกายต่างๆ ซึ่งบางกลุ่มก็เข้าใจแตกต่างกันไปจากรูปแบบประเพณีเดิม สิ่งท่ี สาคญั ที่สุดคือ การตีความหมายในเรื่องของลักษณะการแต่งกายบาบ๋ากับความเหมาะสมทางพิธีการ ซึ่งค่อนข้างมีความซับซ้อนในแง่ของค่านิยมและความเช่ือ เช่น การแต่งกายไปงานศพ ผู้ที่ไม่ใช่ญาติ สนิท ไม่ควรใสช่ ดุ สดี า แต่ควรใสช่ ุดสีฟ้าเขม้ หรือสเี ขยี ว เป็นต้น

๙๗ ๒.๓) ปัญหาช่องทางการสื่อสาร โดยการวิเคราะห์ช่องทางการสื่อสาร จาเป็นต้อง คานึงถึง ๓ ส่ิง คือ พ้ืนที่ กาลเวลา และตัวส่ือ จากการสารวจพบว่าการเผยแพร่วัฒนธรรมการแต่ง กายบาบ๋าเป็นประเด็นท่ีตอ้ งต่อสกู้ ับค่าทางนิยมทางกาลเวลา สิง่ ท่ีมักปรากฎให้เห็นอยู่เสมอคือ ความ เข้าใจว่าการนุ่งผ้าถุงและการใส่เส้ือลูกไม้เป็นการแต่งกายเพื่อวาระโอกาสทางศาสนาเท่านั้น เช่น แตง่ กายเพื่อไปทาบญุ ทว่ี ดั เพ่ือไปงานแต่งงาน เป็นต้น ภาพลกั ษณด์ งั กล่าวจึงเป็นชอ่ งทางการสืบสาน วัฒนธรรมท่ีค่อนข้างล้าสมัยและไม่สามารถเข้าถึงกลุ่มคนรุ่นใหม่ได้ เพราะช่องทางการส่ือสารไม่ เหมาะสมกบั แนวคดิ ในปัจจุบัน ดังน้ัน การนาเอาส่ือสมัยใหม่มาทาการโฆษณาร่วมกับเคร่ืองแต่งกาย เพื่อให้เกิดจินตภาพทางความคิดใหม่ เสมือนกับการนิยมการแต่งกายแบบย้อนยุคหรือวินเทจ (Vintage) เช่น การให้ดาราหรือผู้นาเทรนด์สวมใสเ่ คร่ืองแต่งกายดงั กล่าว การเพิ่มบทบาทให้วัยรุ่นได้ เป็นผู้เลอื กออกแบบเครอื่ งแต่งกายตามความเหมาะสมของอายุ เปน็ ต้น ๒.๔) ปัญหาผู้รับสารท่ีเริ่มมีให้เห็นน้อยลง ส่ิงที่ดูจะเช่ือมโยงกับปัญหาของผู้รับสารที่ นับวนั จะยงิ่ มีจานวนทลี่ ดลง คือ ปัญหาของผู้ส่งสาร การสืบสานวัฒนธรรมไทยด้ังเดิมเป็นเรื่องที่ยาก ข้ึนสาหรับคนรุ่นใหม่ ผู้ส่งสารเองก็แม้ว่าจะพยายามจะถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจดังกล่าวแก่ ลูกหลาน แตก่ ด็ เู หมอื นว่าจะไมส่ ัมฤทธ์ผิ ล อาจเพราะชว่ งเวลาระหว่างวัยที่ห่างกันมาก จนไม่อาจะทา ความเข้าใจซึ่งกันและกันได้ วัฒนธรรมการแต่งกายบาบ๋าท่ีถ่ายทอดโดยกลุ่มคนสมัยโบราณจึงเป็น เพียงแค่การเก็บสะสมของเก่าเพียงเพ่ือให้หวังให้ลูกหลานได้สวมใส่ หรือเป็นเพียงการบอกเล่าความ นิยมชมชอบในเคร่ืองแต่งกายจากประสบการณ์ของตนเองในวัยเด็กหรือวัยหนุ่มสาว ซึ่งอาจจะต้อง ส้นิ สุดการสบื สานวัฒนธรรมดังกลา่ วเพียงแค่รุ่นต่อมาเพียงร่นุ เดียว ๓) ทฤษฎีการผลิตซ้าเพื่อสืบทอดวัฒนธรรม (Cultural Reproduction) เปรียบเสมือน การนาวัฒนธรรมที่เคยมีความสาคัญในอดีตหรือยุคหนึ่งๆ มานาเสนออีกคร้ังหน่ึงในสมัยปัจจุบัน เช่น การนา “ผ้าขาวม้า” ซึ่งเป็นหนึ่งในเครื่องแต่งกายพื้นบ้านที่เคยมีกลุ่มคนระดับท้องถิ่นท่ีค่อนข้างมี อายุนิยมสวมใส่กัน แต่ด้วยการร้ือฟ้ืนวัฒนธรรมไทยร่วมสมัยในปัจจุบันเร่ิมมีการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ กันในวงกว้าง จึงทาให้คนรุ่นใหม่นิยมนาเอาลวดลาย “ผ้าขาวม้า” มาใช้ประกอบเคร่ืองแต่งกาย สมัยใหม่เพ่ือสร้างอัตลักษณ์และสีสันของการแต่งตัวมากย่ิงขึ้น องค์ประกอบของการผลิตซ้าทาง วัฒนธรรม จาเป็นต้องอาศัยผู้ผลิต วัตถุดิบ สถานท่ี กรรมวิธีในการผลิต และอุปกรณ์และเคร่ืองมือ และผู้ต้องการใช้ผลผลิต เป็นต้น เม่ือนาแนวคิดน้ีมาเช่ือมโยงกับการแต่งกายบาบ๋า ส่ิงที่ควรยอบรับ คือ จังหวัดภูเก็ตมิใช่เป็นแหล่งผลิตหรือต้นกาเนิดของการสร้างลายผ้า แต่เป็นผู้ท่ีมีกาลังซ้ือผ้า เหล่าน้ันและออกแบบด้านการตัดเย็บได้ วิวัฒนาการของการสืบทอดทางวัฒนธรรมจึงอยู่ใน

๙๘ กระบวนการของการนาเสนอผา้ ถงุ ปาเต๊ะและเสื้อลายดอกในรูปแบบที่มีความทันสมัยมากยิ่งข้ึน โดย การใช้วัสดเุ ดมิ แต่ออกแบบการตดั เย็บ (Cutting design) ใหม่ เพ่อื ตอบโจทย์ความต้องการของวัยรุ่น มากยง่ิ ขึ้น การคงอยขู่ องวฒั นธรรมการแต่งกายบาบ๋ายงั ต้องอาศัยคลื่นลูกใหม่เป็นผู้นาแฟช่ันการแต่ง กาย นอกจากการสนับสนุนจากภาครัฐและเอกชน หรือหน่วยงานด้านการท่องเท่ียวในการให้ บุคลากรร่วมกนั สวมใสช่ ุดยาหยาในวันสาคญั การสร้างปรากฏการณ์ความแปลกใหม่ทางความคิดโดย การเปล่ยี นผูส้ วมใส่ชดุ แต่งกายดัง้ เดมิ จากผู้ใหญ่หรือคนสูงวัยเป็นหญิงสาวรูปร่างสูงเพรียว อาจทาให้ คนรุน่ ใหม่มที ศั นคติและค่านิยมการแตง่ กายชุดยาหยาท่ีเปลี่ยนไปและมองเป็นเรื่องท่ีน่าสนใจมากข้ึน นอกจากน้ี การสรรสร้างวัฒนธรรมที่เกิดจากความคิดของตนเอง ถือเป็นจิตวิทยาอย่างหนึ่งในการ สร้างความรู้สึกของการแสดงความเป็นเจ้าของ และการหวงแหนรักษาในความเป็นตัวตนที่คนในยุค สมัยของตนสร้างขึน้ ๔) ทฤษฎีบทบาทหน้าที่ของวัฒนธรรม เป็นส่วนหนึ่งของการนาทฤษฎีหน้าท่ีนิยม (Functionalism) มาประกอบการอธิบายความสาคญั และบทบาทของวัฒนธรรมการแต่งกายบาบ๋าท่ี เป็นแนวคิดหนึ่งในการสืบทอดวัฒนธรรมให้คงอยู่ตลอดไป โดยท่ัวไปการแต่งกายบาบ๋าสามารถช้ีนา หน้าทขี่ องตนเองที่มตี ่อคนในชุมชนและสังคม ดังน้ี ๕.๑) หนา้ ท่ีสร้างความเป็นอนั หน่งึ อันเดยี วกนั ภายในชมุ ชนหรือสงั คม ๕.๒) หน้าทใ่ี นการสรา้ งความทรงจารว่ มกนั ๕.๓) หน้าทเ่ี ป็นคลงั ความรู้ ๕.๔) หนา้ ทก่ี ารขัดเกลาทางสังคม ๕.๖) หน้าทกี่ ารสบื ทอดความเช่ือและแนวปฏิบตั ิ ๕.๗) หน้าทก่ี ารสรา้ งรายได้แก่คนในชุมชน หลังจากเข้าใจทฤษฏีทางความคิดเก่ียวกับวัฒนธรรมในท้องถิ่น ผู้วิจัยได้นาแนวคิดดังกล่าว มาเช่ือมโยงกับกิจกรรมต่างๆท่ีส่งเสริมและสนับสนุนกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน โดย กิจกรรมต่างๆท่ีผู้วิจัยได้บันทึกในคร้ังน้ี เป็นท้ังกิจกรรมที่ผู้วิจัย กลุ่มผู้สนใจวัฒนธรรมการแต่งกาย บาบ๋า-เพอรานากัน หน่วยงานจากภาครัฐและภาคเอกชนได้ร่วมกันดาเนินการสนับสนุนต้ังแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน และเป็นทั้งกิจกรรมท่ีเกิดจากการร่วมมือร่วมใจของกลุ่มบุคคลต่างๆในชุมชนชาวจีน บาบ๋าเมืองระนองและเมืองตะกั่วปา่ โดยผู้วิจยั ได้เรยี บเรียงหัวขอ้ สาคญั ๔ ข้อ ดังนี้ ๕.๑ จดุ เริ่มต้นของการจดั กจิ กรรมเพือ่ สง่ เสรมิ การแต่งกายของชาวบาบ๋า-เพอรานากนั ๕.๒ การจัดกิจกรรมการแตง่ กายบาบา๋ -เพอรานากันกับงานประเพณตี า่ งๆ

๙๙ ๕.๓ การจดั โครงการ “สารวจวิถีการแต่งกายของชาวภูเก็ต และวิธีการธารงไว้ซ่ึงวัฒนธรรม บาบา๋ ภเู กต็ ”๕.๔ การจัดกิจกรรมด้านการแต่งกายบาบ๋า-เพอรานากันของกลุ่มชุมชนในแถบ จังหวดั ชายฝง่ั ทะเลอนั ดามนั ตอนใต้ ๕.๑ จุดเรมิ่ ตน้ ของการจดั กจิ กรรมเพ่ือส่งเสรมิ การแตง่ กายของชาวบาบา๋ -เพอรานากัน จากการเปลี่ยนแปลงโครงสรา้ งทางสงั คมในสมัยสงครามโลกครั้งท่ี ๑ จนกระทั้งยุคกลางของ สงครามตัวแทนที่ส่วนมากได้รับอิทธิพลสิ่งต่างๆจากประเทศตะวันตก (ประมาณพุทธศักราช ๒๔๗๕ – ๒๕๒๐) ประชากรในภูเก็ตท้ังชาวไทยดั้งเดิม ชาวบาบ๋า ชาวมุสลิม ชาวอินเดีย ชาวเล หรือกลุ่ม อื่นๆ ต่างได้รับผลกระทบในการดาเนินวิถีชีวิตที่ต้องเปล่ียนไป โดยส่วนใหญ่จาเป็นต้องล้อตาม นโยบายของผู้นาประเทศเพ่ือปรับตัวให้เข้าสถานการณ์โลกในยุคนั้นๆ หรือการถือเอาวัฒนธรรม สมัยใหม่เป็นจุดศูนย์กลางตามกระแสนิยม ด้วยลักษณะสังคมพลวัตในช่วงเวลาดังกล่าว จึงทาให้ วัฒนธรรมการแต่งชุดยาหยาและนุ่งผ้าถุงที่ถือว่าเป็นส่วนหน่ึงของวิถีชีวิตของชาวจีนบาบ๋าภูเก็ต รวมถึงประเพณีและขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมต่างๆที่สืบต่อกันมาได้ค่อยๆลดลงจนบางอย่างได้สูญ หายไปกับกาลเวลา สิง่ ทีป่ รากฎในช่วงสมยั ดงั กล่าวคอื ยังคงมีการ ในปีพุทธศักราช ๒๕๒๒ เป็นการจดั งานประเพณวี ัฒนธรรมชาวไทยฝั่งทะเลตะวันตก โดยจัด ข้ึนในวิทยาลัยครูภูเก็ต (ปัจจุบันคือมหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต) ผู้วิจัยได้รวบรวมองค์ความรู้ทางด้าน เครื่องแต่งกายบาบา๋ จากการสมั ภาษณค์ ุณย่า นางต่าว มโนสุนทร เจ้าของร้านขายผ้าปาเต๊ะเก่าแก่ใน จงั หวัดภเู กต็ ยห่ี ้อฮ่องหงวน เปน็ ความโชคดขี องผู้วจิ ัยที่ผู้ให้ข้อมูลหลายๆคนทั้งคุณย่าและเพ่ือนๆยังมี ชีวิตอยู่ เช่น คุณยายบางท่านมีความสามารถในการเกล้ามวยสูง ทั้งๆท่ีไม่ใช่ช่างทาผม ส่วนการ ประดิษฐ์ดอกไม้ไหวจากดิ้นเงินดิ้นทองซึ่งเป็นงานสาหรับสตรีบาบ๋าที่ต้องฝึกให้เช่ียวชาญก่ อนท่ีจะ เปน็ เจา้ สาว คุณแม่ของผู้วจิ ัย (นางสุพร มโนสุนทร) เป็นผู้ประดิษฐ์ขึ้นเช่นเดียวกับช่อดอกไม้ที่ติดบน อกเสอื้ ของเจ้าบา่ ว เป็นต้น

๑๐๐ แพทยห์ ญิงปิยนาถ สกลุ พพิ ัฒน์ บตุ รสาวคนโตของ ผศ.ปราณี สกลุ พพิ ัฒน์ เขา้ ร่วมงานประเพณชี าวไทย ฝง่ั ทะเลตะวันตก เม่อื พ.ศ. ๒๕๒๒ ทว่ี ิทยาลัยครภู เู ก็ตจดั ข้ึนเป็นคร้ังแรก ทมี่ า : ผศ.ปราณี สกลุ พิพฒั น์ เมื่อกล่าวถึงการจัดงานในครั้งน้ัน ผู้วิจัยได้ชักชวนให้ลูกสาวตัวน้อยอายุ ๖ ขวบ (แพทย์หญิงปิยนาถ สกุลพิพัฒน์) มาทาหน้าท่ีเป็นเด็กน่ังข้างหรือเป็นเพื่อนเจ้าสาว ผลตอบรับจากการจัด คือ มีผู้เข้าชม งานดงั กล่าวมาก เนื่องจากการจัดงานนิทรรศการนี้จัดข้ึนเป็นครั้งแรก ใช้ห้องเรียนช้ัน ๒ เป็นอาคาร จัดแสดง จึงทาให้ผู้เข้าชมเดินทางข้ึนไปไม่สะดวก แต่ท้ังนี้ ถือเป็นการเร่ิมต้นการจัดงานด้าน วฒั นธรรมครงั้ สาคญั ของจังหวดั ภูเก็ต ๕.๒ การจัดกิจกรรมการแต่งกายกับงานประเพณีตา่ งๆ

๑๐๑ การแต่งกายของชาวบาบ๋าท่ีเห็นได้ชัดในชีวิตประจาวันคือ การนุ่งผ้าถุงปาเต๊ะกับเส้ือใน รูปแบบสมัยใหม่ แต่ถ้าหากอยู่ในช่วงเวลาพิเศษหรือเทศกาลประเพณีที่สาคัญๆ เช่น งานแต่งงาน งานบวช งานเดือนสิบ เทศกาลตรุษจีน เป็นต้น ชาวจีนบาบ๋าจะมีความพิถีพิถันในการแต่งกายมาก ซึ่งถือเป็นลักษณะของการให้เกียรติแก่เจ้าของงาน รวมถึงเป็นการแสดงถึงบุคลิกภาพที่สง่างามและ ความเรียบร้อยของผู้สวมใส่ แม้การแต่งกายในลักษณะน้ีพบเห็นได้น้อยมากในช่วงที่มีการ เปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมการแต่งกายประมาณปีคริสตศักราช ๑๙๓๒ หรือ พ.ศ. ๒๔๗๕ ผู้คนส่วน ใหญ่นยิ มการแต่งกายแบบตะวันตกคือ ใส่ชุดราตรีหรือชุดตามแบบสากลไปออกงานสาคัญต่างๆมาก ขนึ้ มีแตเ่ พียงกลุม่ ผู้สูงอายทุ ่ยี ังคงนุ่งผ้าถุงใส่เส้ือลูกไม้ไปตามงานที่เกี่ยวข้องกับศาสนา เช่น งานบวช หรืองานบุญเดือนสบิ ไปรว่ มงานประกอบพิธีกรรมทว่ี ัด นับต้ังแต่ยุคทองของการท่องเที่ยวเริ่มมีอิทธิพลต่อความเป็นอยู่ของคนในจังหวัด และการ ส่งเสริมนโยบายดา้ นเศรษฐกิจจากภาครัฐ เปิดโอกาสให้ลกู หลานของชาวไทยเชื้อสายจีนหลายตระกูล ทั้งเลก็ และใหญม่ รี ายได้ค่อนข้างมากจากการเป็นเจ้าของที่ดิน อสังหาริมทรัพย์ โรงแรม สนามกอล์ฟ ร้านอาหาร ฯลฯ ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจจึงผลักดันให้กลุ่มคนต่างๆในชุมชนมองเห็น ความสาคญั ของการฟน้ื ฟศู ลิ ปวัฒนธรรมในทอ้ งถิ่นของตนเอง แนวคิดหน่ึงที่ได้จากการสัมภาษณ์กลุ่ม ชาวจีนบาบ๋าผทู้ ย่ี ังคงเก็บรกั ษาเครื่องแตง่ กายและเครอื่ งประดับไว้คอื เม่ือพวกเขามีฐานะทางการเงิน ท่ีดี ก็ส่งเสริมให้มีกาลังการเก็บสะสมมรดกทางวัฒนธรรมเหล่าน้ันไว้ได้ด้วย และเมื่อถึงเวลาอัน สมควร พวกเขาก็จะนาเคร่ืองแต่งกายและเครื่องประดับเพชรนิลจินดาต่างๆออกมาสวมใส่ตามวาระ โอกาส นอกจากนี้ทางภาครัฐเองก็ยังให้การสนับสนุนในการเป็นผู้นาตัวอย่างการแต่งกายแบบชาว บาบ๋า และพยายามจัดทาโครงการต่างๆเพ่ือประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเร่ิมเห็นความสวยงามและ ความสาคัญของการนุ่งผ้าถุงและแต่งชุดยาหยา จนเกิดกระแสการแต่งชุดยาหยากับผ้าถุงปาเต๊ะใน กลมุ่ คนตา่ งๆ โดยเฉพาะชาวไทยเชอ้ื สายจีนท่เี ป็นชาวภูเก็ตตง้ั แต่กาเนดิ หรืออาจเปน็ ชาวต่างจังหวัดท่ี ยา้ ยถน่ิ เข้ามา ทัง้ น้ี บทบาทของคนในชุมชนเองก็เป็นส่วนหนึ่งในการช่วยกันสร้างค่านิยมจากรุ่นสู่รุ่น ความเข้มแข็งและพลังของความร่วมมือร่วมใจกันทาให้วัฒนธรรมการแต่งกายบาบ๋าในปัจ จุบันเป็นท่ี นา่ สนใจของทงั้ กลุ่มคนรนุ่ ใหมแ่ ละนักทอ่ งเทีย่ วสืบตอ่ กันมา ๕.๒.๑ ความร่วมมือร่วมใจกันแต่งกายแบบดั้งเดิมในงานววิ าห์บาบา๋ จงั หวดั ภเู ก็ต

๑๐๒ การจดั งานแตง่ งานบาบ๋า-เพอรานากนั เป็นการแสดงถงึ วฒั นธรรมของพิธีสมรสแบบชาวไทย เช้ือสายจนี ท่เี คยถอื ปฏิบตั กิ นั มาตั้งแตใ่ นอดีต ซง่ึ คูแ่ ต่งงานส่วนใหญ่แทบจะไม่เคยเห็นหน้ากันมาก่อน หญิงสาวบาบ๋าแรกรุ่นมักถูกญาตผิ ู้ใหญ่บังคับให้เก็บตวั อยแู่ ต่ในบา้ นต้ังแต่ประมาณ ๑๒ – ๑๗ ปี โดย ให้เรยี นรู้วถิ ีของการเปน็ ภรรยาทด่ี ีในอนาคต เช่น การบา้ นการเรอื น การตดั เยบ็ เส้อื ผ้า การทากับข้าว จึงไม่เคยมโี อกาสได้ออกจากบา้ นและร้จู กั หรือสนิทชิดเชื้อกับผู้ชาย พิธีก่อนแต่งงานของชาวจีนบาบ๋า ท่ีน่าสนใจคือ “การจับคู่” คู่บ่าวสาวบาบ๋าหลายคู่ไม่ได้พบรักกันโดยบังเอิญนอกบ้าน แต่เป็นเพราะ การทาหน้าท่ีของ “อ่ึมหลาง” หรือ แม่ส่ือผู้มีบทบาทในการเฟ้นหาคู่ที่เหมาะสมทางชาติตระกูลและ การ ส่วนใหญ่อมึ่ หลางนี้เปน็ ผูอ้ าวุโสทีม่ ีหนา้ มตี าและเป็นทรี่ ูจ้ กั อย่างกวา้ งขวางในวงสังคม ประเพณีที่ ชาวจนี บาบ๋าภเู กต็ ยึดถือกันมากข้นึ หากลกู สาวหรอื ลูกชายบ้านใดถึงวัยสมควรแก่การครองเรือน พ่อ และแมจ่ ะไหว้วานให้อ่ึมหลางเป็นผู้จัดแจงหาคนท่ีดีให้ โดยบุคลิกท่ีเด่นชัดของหน้าที่แม่สื่อคือ การมี วาทศลิ ปท์ ด่ี ใี นการเจรจาใหท้ ัง้ ฝ่ายหญงิ และฝ่ายชายยอมรับซึ่งกันและกันได้ เมื่อทาหน้าที่สาเร็จอึ่มห ลางจะได้รบั รางวลั เป็นซองเงินหรืออั่งเปาแดงกบั ขาหมู ๑ ขา แมว้ า่ ปัจจุบันการแต่งงานของลูกหลานชาวบาบ๋าจะมีความเป็นสมัยใหม่มากข้ึน คู่บ่าวสาวก็ แต่งกายแบบสากลคอื ผู้หญิงใส่ชดุ แต่งงานเปน็ ชุดยาวสขี าว ผ้ชู ายใส่ชดุ สูทและกางเกงขายาว ในส่วน พธิ ีการลกู หลานชาวจนี บาบ๋ามกั จดั แบบผสมผสานระหวา่ งการแตง่ งานแบบสมัยใหมก่ ับแบบจีนบาบ๋า โดยสว่ นทเ่ี ปน็ รปู แบบพิธกี ารดั้งเดิมที่ยงั คงปรากฎอยู่คอื “การไหวป้ ุดจอ้ ” (การเคารพสักการะเจ้าแม่ กวนอิม) เป็นพิธีการในช่วงเช้า โดยคู่บ่าวจะนั่งรถไปศาลเจ้าปุดจ้อเพื่อประกอบพิธีการไหว้เจ้าแม่ กวนอิมและเทพเจ้าองค์อ่ืนๆ เพ่ือเป็นสิริมงคลในการดารงชีวิตคู่และการครองเรือนที่เป็นไปอย่าง ราบร่ืน และยังมีการผสมผสานกับวัฒนธรรมของไทยพุทธคือ “การไหว้หลวงพ่อแช่ม วัดฉลอง” หลังจากไหวพ้ ระจนี เรียบรอ้ ยแลว้ ส่วนอีกพธิ หี นึ่งคอื “พ่างเต๋” เป็นพิธีท่ีเจ้าบ่าวและเจ้าสาวยกน้าชา ใหแ้ ก่ญาติผู้ใหญ่และผู้อาวุโส มีจุดประสงค์เพ่ือแสดงความเคารพและขอบพระคุณที่ท่านทั้งหลายมา เปน็ สกั ขีพยานของพธิ ีสมรส อันแสดงถึงลักษณะบคุ ลกิ ของชาวจีนที่ยังคงมีความกตัญญูต่อบรรพบุรุษ และยังเป็นสัญลักษณ์ของการเปลี่ยนสถานะจากวัยหนุ่มสาวเป็นวัยครองเรือน เปรียบเสมือนกับพิธี กรรมการ”รดน้าพระพุทธมนต์ของไทย” หรือพิธีกรรมการผูกข้อมือของชาวเหนือ เป็นต้น ส่วนผู้ อาวุโสเมื่อได้รับและด่ืมน้าชา จะให้พรคู่บ่าวสาวพร้อมย่ืนซองแดง (เป็นซองที่เตรียมเงินไว้ด้านใน) ออกมาวางไวท้ จี่ านรองน้าชาหลังด่ืมเสรจ็ พิธีการอ่ืนๆมักอิงตามแบบภาคกลางมากย่ิงขึ้น ซึ่งบางงาน อาจมกี ารเล้ยี งพระ หรอื การจดั ขบวนแห่สู่ขอ เปน็ ต้น

๑๐๓ งานวิวาห์บาบ๋าภูเก็ต เร่ิมข้ึนเมื่อวันท่ี ๒๓ ตุลาคม ๒๕๔๘ เป็นจุดเริ่มต้นของการร้ือฟื้นพิธี การจดั งานมงคลสมรสแบบชาวบาบา๋ -เพอรานากัน โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ปราณี สกุลพิพัฒน์ เป็นผู้ มคี วามฝนั อยากใหเ้ กดิ การจัดงานประเพณีดังกล่าว ประจวบเหมาะกับการสนับสนุนงบประมาณจาก กรมส่งเสริมวฒั นธรรม และการใหค้ วามร่วมมือจากสมาคมฮกเกีย้ นจังหวัดภูเกต็ โดยผศ.ปราณีได้เป็น แกนนาในการศึกษาและรวบรวมรูปแบบพิธีการ เคร่ืองแต่งกาย และพิธีกรรมทางศาสนาท่ีเกี่ยวข้อง กับงานมงคลสมรส ส่วนหน่วยงานราชการและภาคเอกชนเป็นผู้สนับสนุนในส่วนของสถานท่ีและ งบประมาณต่างๆ ท้ังนี้ สมาชิกของชุมชนชาวเมืองเก่าภูเก็ตเองก็เป็นผู้มีส่วนร่วมอย่างมากในการ ดาเนนิ ให้งานวิวาหบ์ าบ๋าเป็นด่งั ประเพณีทีม่ ชี วี ิต รวมถึงลกู หลานชาวภูเก็ตจากสถาบันการศึกษาและ จากสมาคมชาวจีนต่างๆ การแสดงออกซ่ึงความสายใยแห่งความผูกพันทาให้ความยึดม่ันในประเพณี ดังกล่าว ยังคงสบื ทอดมาจนจวบจนถึงทุกวันน้ี การเก็บข้อมูลเชิงกายภาพในพิธีแต่งงานบาบ๋าเพอรานากันซึ่งพิธีกรรมดังกล่าวแสดงให้เห็น การมสี ่วนร่วมของชุมชน หน่วยงานภาครัฐและเอกชนต้ังแต่พิธีการเตรียมขบวนแห่คู่แต่งงาน การจัด แสดงและร่วมใจแต่งกายแบบพื้นเมือง งานพิธีน้ีมีขั้นตอนดาเนินการแบบดั้งเดิมซึ่งมีการดาเนินงาน หลักโดยสมาคมเพอรานากัน วัตถุประสงค์เพื่ออนุรักษ์วัฒนธรรมอันดีงามให้มีชีวิตสืบต่อไปสู่คนรุ่น หลงั ครอบครวั คอื สถาบนั หลักของสงั คมท่เี จรญิ แลว้ ของมนุษย์ สังคมท่ีสงบสุขเริ่มท่ีครอบครัวเป็นสุข ผลผลิตของครอบครัวเป็นสุขคือพลเมืองคุณภาพของประเทศ ด้วยเหตุผลดังกล่าวผู้เขียนจึงชอบจัด กิจกรรมท่ีเก่ียวข้องกับสังคมในแง่มุมนี้ กิจกรรมที่ใช้เปิดตัว \"ชุมชนชาวบาบ๋าภูเก็ต\" ควรจะมีคน ช่วยกันทาให้มีหลากหลายสาขาเพราะกิจกรรมชุมชนที่เราร่วมกันทาจะเป็นการสร้างภาพพจน์ของ ชุมชนต่อส่ือสาธารณะ โดยหน่ึงในคณะผู้วิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปราณี สกุลพิพัฒน์ ได้บรรยายถึง ประวัติความเป็นมาท่นี ่าสนใจท่เี ชื่อมโยงระหว่างพธิ กี ารแต่งงานแบบชาวบาบ๋า-เพอรานากันภูเก็ตกับ ชุดแต่งงาน ไว้ดงั นี้ วิวาห์บาบ๋าในจังหวัดภูเก็ตตั้งแต่ปีพุทธศักราช ๒๕๔๘ มีจานวนคู่บ่าวสาวทั้งส้ิน ๔๘ คู่ ครั้ง แรกได้กาหนดใหบ้ ้านเจ้าสาวเปน็ บ้านของคุณประชา ตณั ฑวนชิ ย์ (หรอื บริเวณรา้ นอาหารบลูเอเลเฟ่น ในปัจจุบัน) ส่วนบ้านของฝ่ายเจ้าบ่าวจะอยู่บริเวณพิพิธภัณฑ์ไทยหัวในปัจจุบัน และเร่ิมต้นจัดข้ึนอีก คร้ังในปีพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๓ จนกระท้งั ปพี ุทธศักราช ๒๕๕๖ กลายเปน็ ประเพณีทป่ี ฏิบัติสืบต่อกันมา พิธีกรรมต่างๆได้มีการปรับเปลี่ยนไปตามกาลเวลา ขบวนของฝ่ายเจ้าบ่าวเร่ิมต้นที่บ้านผู้ว่าราชการ จังหวัดภูเก็ต โดยเจ้าบ่าวและอึ่มหลาง (แม่สื่อ) เดินทางไปหาเจ้าสาวท่ีบ้านหงส์หยก (บ้านเก่าของ

๑๐๔ คหบดีที่มีช่ือเสียงและเป็นเจ้าของเหมืองแร่ในอดีตมีนามว่า หลวงอนุภาษภูเก็ตการ) สมัยก่อนการ เดินทางไปสู่ขอเจ้าสาวจะมีขบวนแห่โดยมีดนตรี “ตีต่อตีเช้ง” บรรเลงนา ซึ่งดนตรีดังกล่าวเป็น ลกั ษณะของการผสมผสานของเคร่ืองดนตรีประเภทเคาะหรือตี (Percussion) ผสมผสานกับป่ีจีน ท่ีมี อิทธพิ ลจากวฒั นธรรมจีน เมอ่ื เจา้ บ่าวไปถึงบ้านเจ้าสาวเรียบร้อยแล้ว ก็จะเดินเข้าไปทาการสู่ขอและ ผ่านดา่ นประตูเงนิ ประตทู องเพอื่ ไปรบั เจา้ สาวจากในหอ้ ง หลังจากน้ัน จึงเดินคู่กันออกมาประกอบพิธี การไหวเ้ ทวดาฟา้ ดนิ ตามประเพณีการขอความเป็นสิริมงคลให้เกิดขึ้นแก่ในครอบครัว และพิธีการยก นา้ ชาไหว้พอ่ แมแ่ ละญาติผู้ใหญ่ หรือท่ีเรียกกนั ว่า “ผ่างเต๋” โดยผู้ใหญ่จะให้พรและให้อั่งเปาแก่คู่บ่าว สาว เมื่อเสร็จสิ้นพิธีการแต่งงานทางวัฒนธรรมบาบ๋าเรียบร้อยแล้ว คู่บ่าวสาวและผู้ร่วมงาน ทั้งหมดเดินขบวนแห่รอบย่านเมืองเก่าภูเก็ตไปถึงพิพิธภัณฑ์ไทยหัว เพ่ือถ่ายภาพเป็นที่ระลึกโดยมี ดา้ นหลงั เปน็ ตกึ เกา่ สไตลช์ โิ นยโู รเปย่ี นท่ีสง่างาม พร้อมทั้งมีบุคคลสาคัญของจังหวัดเป็นเกียรติในการ เดนิ ขบวนรว่ มด้วย ได้แก่ ผูว้ า่ ราชการจังหวัด นายอาเภอเมืองภเู ก็ต สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร รวมถึง ลูกหลานชาวบาบ๋าท่ีสนใจมีส่วนร่วมในประเพณีครั้งนี้ เม่ือประกอบพิธีสมรสทางจีนบาบ๋าในช่วง กลางวัน ส่วนในภาคค่าเป็นงานพิธีแบบยุโรป ในปี ๒๕๕๖ น้ี ได้มีการจัดเล้ียงฉลองพิธีมงคลสมรส โดยเชิญแขกผู้มีเกียรติร่วมงามอีกครั้งหน่ึง ณ ร้านอาหารบลูเอเลเฟ่น ซ่ึงเป็นร้านอาหารที่มีระดับ และมีชื่อเสียงในการสอนการทาอาหารไทย ประกอบกับอาคารเป็นตึกเก่าของคหบดีช่ือ พระพิทักษ์ ชินประชา ซึ่งผู้วิจัยเชื่อว่าการจัดงานวิวาห์บาบ๋าเป็นกิจกรรมเร่ิมต้นที่กระทาติดต่อกันหลายปีจน ได้รบั ความนยิ ม และกลายเปน็ ประเพณีได้การความยอมรับอย่างกว้างขวาง ถือเป็นการถ่ายทอดทาง วัฒนธรรมของชาวภูเกต็ จากรนุ่ สู่รุ่น นา่ จะมีการสืบทอดไปอีกนาน ๕.๓ การจัดโครงการ “สารวจวิถกี ารแตง่ กายของชาวภูเก็ต และวธิ ีการธารงไวซ้ งึ่ วัฒนธรรม บาบา๋ ภเู กต็ ” วฒั นธรรมการแตง่ กายแบบของชุมชนบาบ๋า-เพอรานากัน เป็นวิถีการแต่งกายที่ไม่ค่อยได้รับ ความนิยมในหมู่เยาวชนชาวภูเก็ต และจังหวัดใกล้เคียงเท่าใดนัก ทางคณะผู้จัดทาโครงการ จึง ตระหนักถึงการสร้างกระบวนการเพื่อปลูกจิตสานึกให้เยาวชนชาวภูเก็ตได้เข้าใจถึงความสาคัญของ การแต่งกาย โดยยึดแนวคิดท่ีว่า “การถือเอาเยาวชนเป็นศูนย์กลาง” โดยใช้วิธีการสอดแทรกสาระ

๑๐๕ ด้วยส่ิงบันเทิงต่างๆ (กาญจนา เทพแก้ว, ๒๕๕๓) ทางคณะผู้จัดจึงได้ริเร่ิมโครงการ “การสารวจวิถี การแต่งกายของชาวภูเก็ต และวิธีการธารงไว้ซึ่งวัฒนธรรมบาบ๋าภูเก็ต” กลุ่มเป้าหมายหลักของ โครงการนอกจากคนในชุมชน และประชาชนท่ัวไปแล้ว กล่มุ เยาวชนถือเป็นหวั ใจหลักของการดารงไว้ ซึ่งวัฒนธรรมการแตง่ กายตอ่ ไป วัตถปุ ระสงค์หลักของการทาโครงการ คอื ๑) เพือ่ ให้เยาวชนและชาวจังหวัดภูเก็ตเข้าใจและซาบซ้ึงในวัฒนธรรมการแต่งกายท้องถ่ิน ภเู ก็ตทมี่ ีมาตั้งแต่ด้งั เดิม ๒) เพ่ือเปิดโอกาสให้เยาวชนและชาวจังหวัดภูเก็ตมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และสืบทอด วัฒนธรรมการแต่งกายทอ้ งถ่ินภเู ก็ต ๓) เพือ่ ให้เยาวชนเรียนร้กู ระบวนการเก็บข้อมลู ทางวฒั นธรรมจากใกลต้ วั ลักษณะของโครงการเป็นการถ่ายทอดความรู้เก่ียวกับการแต่งกายของชุมชนชาวบาบ๋า- เพอรานากันให้แก่กลุ่มเป้าหมาย ในรูปแบบของการสร้างเครือข่ายทางวัฒนธรรมกับ สถาบันการศึกษา การใช้ส่ือประชาสัมพันธ์ออนไลน์ หรือการจัดงานประกวดในลักษณะของ event และจัดแสดงภาพถ่าพและเคร่ืองแต่งกายบาบ๋าเพอรานากัน โดยแบ่งโครงการเป็น ๓ โครงการย่อย คือ ๑) โครงการการสืบทอดความงามของเครอื่ งแต่งกายแบบชาวบาบา๋ ภเู กต็ ๒) โครงการประกวดถ่ายภาพมาราธอน “Baba Life Photo @Phuket” ๓) โครงการจัดนิทรรศการ “Living Baba Museum” ในงาน “ย้อนอดีตเมืองเก่าภูเก็ต” และ “World of Batik เทิดไท้องค์ราชันย์” ๕.๓.๑ โครงการ การสบื ทอดความงามของเครื่องแตง่ กายแบบชาวบาบา๋ ภเู ก็ต เป็นโครงการที่เกิดขึ้นโดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นเยาวชนภูเก็ตในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา จานวน ๘๐ คน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปลูกฝังให้เยาวชน ภูเก็ตเข้าใจวิถีชีวิตการแต่งกายแบบชาวบาบ๋าภูเก็ต และตระหนักถึงความสาคัญของการส่งเสริม วฒั นธรรมดังกลา่ วให้อยู่คู่กับชาวบาบ๋าภูเก็ตสืบต่อไป โดยเปิดเวทีให้เยาวชนได้มีส่วนร่วมในการเก็บ ข้อมูลเกี่ยวกับเคร่ืองแต่งกายแบบชาวบาบ๋าภูเก็ต และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการสืบทอด วฒั นธรรมการแตง่ กายทเ่ี ปน็ เอกลักษณ์และเป็นเสนห่ ์ของชาวบาบ๋าภเู กต็

๑๐๖ ๕.๓.๑.๑. วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ ๑) เพื่อให้เยาวชนเกิดความเขา้ ใจในวัฒนธรรมการแต่งกายบาบา๋ -เพอรานากัน ๒) เพื่อใหเ้ ยาวชนตระหนกั ถงึ การดารงไว้ซ่ึงวัฒนธรรมการแต่งกายบาบ๋า-เพอรานา กัน ๓) เพื่อเปิดโอกาสให้เยาวชนมีส่วมร่วมในการจัดเก็บและรวบรวมข้อมูลมรดกภูมิ ปญั ญาทางวฒั นธรรมการแตง่ กายบาบ๋า-เพอรานากนั ๕.๓.๑.๒. รายนามโรงเรียนท่ีเขา้ ร่วมโครงการ ๑) โรงเรียนวิทยาสาธติ ระดบั ประถมศกึ ษา จานวน ๒๘ คน ๒) โรงเรียนสตรภี ูเก็ต ระดับมัธยมศึกษา จานวน ๔๒ คน ๓) มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วิทยาเขตภูเก็ต ระดับอดุ มศกึ ษา จานวน ๓๕ คน ๕.๓.๑.๓. กระบวนการในการกระตุ้นจิตสานกึ เนอ่ื งจากพ้นื ทชี่ ุมชนของชาวบาบ๋าเพอรานากนั ภูเก็ต เป็นพื้นที่ครอบคลุมอาณาเขต ท่ีค่อนขา้ งกวา้ ง และมีจานวนสถาบันศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลถึงระดับมหาวิทยาลัยจานวน ๓๐ สถาบัน ผู้วิจัยจึงใช้วิธีการเลือกกลุ่มเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการแบบเลือกเฉพาะ (Purposive Sampling) โดยการเลือกสถาบันตัวแทน โดยกาหนดเกณฑ์การเลือกกลุ่ม สถาบันการศึกษา ดังนี้ ๑) เคยมีส่วนร่วมการเข้ากิจกรรมกับทางสมาคมเพอรานากัน หรือ กิจกรรมทีเ่ ก่ียวข้องกบั ศลิ ปวฒั นธรรมจงั หวัดภูเก็ต ๒) คุณครูหรืออาจารย์มีความเต็มใจและ เข้าใจในการเข้าร่วมกิจกรรม เม่ือโรงเรียนตอบรับการเข้าร่วมโครงการ ผู้วิจัยจะให้เสร็จแก่ คณาจารย์เป็นผู้เลือกกลุ่มนักเรียนและนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ ซ่ึงเป็นกลุ่มเยาวชนจึง เป็นกลมุ่ คละทเ่ี ปน็ และไมเ่ ปน็ เชอ้ื สายบาบ๋าเพอรานากันภเู กต็

๑๐๗ กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมให้แก่นักเรียนนักศึกษาแต่ละระดับจะมีความแตกต่างกัน ในรูปแบบและวิธีการ รวมถงึ การลาดับกิจกรรมที่จดั ใหเ้ กดิ การมีส่วนรว่ ม แตจ่ ดุ มุ่งหมายของ กิจกรรม วิธีการได้มาซ่ึงข้อมูล และผลสัมฤทธิ์ของการจัดกิจกรรมจะมีเป้าประสงค์ที่ เหมือนกัน ซ่ึงกระบวนการดังกล่าวจาเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากทางสถาบันการศึกษา ครูอาจารย์ นักเรียนนักศึกษา และผู้ปกครอง ในการได้มาซึ่งข้อมูล แต่วิธีคิดที่เกี่ยวข้องกับ การเผยแพร่ ๑) เยาวชนไดม้ โี อกาสเรยี นร้วู ิถชี ีวิตและวฒั นธรรมการแต่งกายของบาบ๋าเพอรานา กนั ภเู กต็ โดยผ่านการเลา่ เร่ืองจากกล่มุ บุคคล ๒) เม่ือเยาวชนได้รับรู้ เข้าใจ และซาบซึ้งในวัฒนธรรมการแต่งกาย พวกเขาก็ สามารถเป็นกระบอกเสียงเพื่อถ่ายทอดวัฒนธรรมเหล่านี้ให้แก่ผู้ปกครอง และ คนใกล้ชิด โดยทางผู้วิจัยได้แจกแบบสอบถามแก่เยาวชน เพื่อให้เยาวชนได้ไป สอบถามคนในบา้ นเก่ียวกับวฒั นธรรมการแตง่ กายบาบา๋ -เพอรานากัน ๓) หลังจากน้ัน เยาวชนกลับมาบอกเล่าเก่ียวกับการแต่งกายแบบบาบ๋าของคนใน บ้านกับทางผู้วจิ ยั ซึ่งถือว่าเปน็ การใหน้ ักศึกษามีส่วนร่วมในการเก็บข้อมูลมรดก ทางวฒั นธรรม โดยเร่มิ จากบา้ นของตนเอง และเพื่อจุดประกายความรู้สึกภูมิใจ ในวัฒนธรรมเหลา่ นี้ ตารางสรปุ ขอ้ มูลการวเิ คราะหผ์ ลการดาเนนิ งานโครงการ การสบื ทอดความงามของ เคร่ืองแตง่ กายแบบชาวบาบ๋าภูเก็ต จุดมงุ่ หมาย วิธีการ การชวี้ ัด - เพ่ือให้เยาวชนเกิดความเข้าใจ - การฟังบรรยายแบบไม่ - การมีปฏิกิริยาโต้ตอบ ในวัฒนธรรมการแต่งกายบาบ๋า- เปน็ ทางการโดยวทิ ยากร ระหว่างการบรรยาย เพอรานากัน - - การสังเกตพฤติกรรม ระหว่างฟงั บรรยาย - เพ่ือให้เยาวชนตระหนักถึงการ - การให้เยาวชนมีส่วน - การแสดงความคิดเห็น ดารงไว้ซ่ึงวัฒนธรรมการแต่งกาย ร่วมในการแสดงความ เกย่ี วกับการแตง่ กาย บาบ๋า-เพอรานากัน คดิ เห็น - การจัดกิจกรรมต่างๆที่ - การสร้างเครือข่าย เกี่ยวข้องกับการแต่งกาย

๑๐๘ จดุ มุ่งหมาย วธิ ีการ การช้ีวดั วัฒนธรรมกับองค์กรและ บา บ๋ าเ พ อร า นา กั น ใ น สถาบันการศกึ ษา สถาบันการศึกษา - เพื่อเปิดโอกาสให้เยาวชนมีส่วม - การให้เยาวชนเก็บ - การตอบคาถามจากกลุ่ม ร่วมในการจัดเก็บและรวบรวม ข้อมูลจากกลุ่มบุคคลที่ บคุ คลทใ่ี กลช้ ิด ข้ อ มู ล ม ร ด ก ภู มิ ปั ญ ญ า ท า ง ใกล้ชดิ - การสัมภาษณ์กลุ่ม วั ฒ น ธ ร ร ม ก า ร แ ต่ ง ก า ย บ า บ๋ า - เยาวชนตวั อย่าง เพอรานากนั ๕.๒.๑.๔. การดาเนินโครงการในโรงเรยี นกลมุ่ เป้าหมายที่ ๑ โรงเรียนวิทยาสาธิต ๑) การจัดกจิ กรรม โรงเรียนวทิ ยาสาธิต เมื่อวันที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๕ เวลา ๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. ทางผู้จัดทาโครงการได้จัด กิจกรรมร่วมกับโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายท่ี ๑ โรงเรียนวิทยาสาธิตเป็นโรงเรียนเอกชนท่ีสอน ตั้งแต่ระดับอนุบาล – ประถมศึกษาตอนปลาย ซ่ึงเปิดต้ังแต่ปีพุทธศักราช ๒๕๔๒ ผู้บริหาร โรงเรียนคือ ดร.ศุภลักษณ์ กาญจนเมธากุล โรงเรียนน้ีมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ ศิลปวัฒนธรรมจังหวัดภูเก็ตมาโดยตลอด เช่น การเข้าร่วมเดินขบวนพาเหรดในงานวิวาห์ บาบ๋าภเู ก็ต เป็นตน้ ๒) รูปแบบโครงการ/กจิ กรรม ๒.๑) จดั อบรมโดยให้ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมการแต่งกายแบบชาวบาบ๋าภูเก็ตแก่ กลุ่มเปา้ หมาย โดยเปน็ การบอกเลา่ เร่อื งราวตง้ั แตเ่ หตุการณ์ทเ่ี กย่ี วข้องในอดีต จนถึงปัจจุบัน โดยมีวิทยากร คอื ผศ.ปราณี สกลุ พพิ ฒั น์ เป็นผู้บอกเล่าเรื่องราวต่างๆ อาจารย์ใช้วิธีการเล่า เร่ืองโดยใช้รูปภาพเก่าๆ เช่น ภาพพิธีแต่งงาน ภาพสตรีแรกรุ่นในเครื่องแต่งกายบาบ๋า ภาพ