มีการกลา่ วถึง พระมณีรตั นา และเจ้าขรัวมณีจันทร์ วา่ อาจเปน็ บุคคลเดียวกัน แต่บ้างก็ว่าอาจเป็นคนละคนกัน โดยเช่ือว่า พระมณีรตั นาอาจเป็นเจา้ หญิงทส่ี ืบเช้อื สายมาจากราชวงศ์ละโว้สายสุพรรณภูมิของสมเด็จพระมหา จักรพรรดิ และสมเด็จพระมหินทราธิราช ซ่ึงในขณะนั้นเจ้านายฝ่ายในในสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระองค์หนึ่งมีพระนามว่า พระรัตนมณีเนตร หรือ พระแก้วฟ้า ซึ่งเป็นพระขนิษฐาต่างชนนีของพระวิสุทธิ กษัตรยี ์ ซึ่งหากเปน็ เช่นนน้ั พระนางจะมศี กั ดิเ์ ป็นพระมาตจุ ฉาของพระนเรศวร อย่างไรก็ตามเจ้าขรัวมณีจันทร์ มีบทบาทสูงกว่าพระมเหสีจากเชียงใหม่และเขมร โดยมีการสถาปนาพระนางเป็นอัครมเหสีดังที่ปรากฏใน คาให้การขุนหลวงหาวัดท่ีกล่าวถึงเมื่อคร้ังท่ีสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเสด็จขึ้นเสวยราชย์ส มบัติต่อจากพระ ราชบิดา ความวา่ “สว่ นพระนเรศวรนั้น ก็เขา้ ไปยังกรงุ ศรอี ยุธยา ก็เสด็จเข้าสู่พระราชฐานอันอัครเสนาบดีและ มหาปุโรหิตท้ังปวง จึงปราบดาภิเษกแล้วเชื้อเชิญให้เสวยราชสมบัติ จึงถวายอาณาจักรเวนพิภพแล้วจึงถวาย เคร่อื งเบญจราชกกธุ ภณั ฑท์ งั้ 5 และเครื่องมหาพไิ ชยสงครามท้งั 5 ทัง้ เครอ่ื งราชูปโภคทั้งปวงอันครบครัน แล้ว จึงถวายพระนามใส่ในพระสุพรรณบัตรสมญา แล้วฝ่ายในกรมจึงถวายพระมเหษีพระนามชื่อพระมณีรัตนา และถวายพระสนมกานลั ทั้งสิ้น แล้วครอบครองราชสมบัติเมื่อจุลศักราช 952 ปีขาลศก อันพระเอกาทศรถน้ัน กเ็ ปนท่ีมหาอปุ ราช” พระราชโอรส พระราชธดิ าในสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระบรมราชานุสาวรีย์สมเดจ็ พระนเรศวร จงั หวัดสระแก้ว มีการกล่าวถึงพระราชโอรสในสมเด็จพระนเรศวรมหาราชในจดหมายเหตุสเปน (History of the Philippines and Other Kingdom) ของบาทหลวงมารเ์ ชโล เด ริบาเดเนย์รา (Marchelo de Ribadeneira, O.F.M) ที่เขียนขึ้นจากคาบอกเล่าของบาทหลวงนิกายฟรานซิสกันที่เคยพานักอยู่ในกรุงศรีอยุธยาใน พ.ศ. 2125 ปลายรัชสมัยของสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช และ พ.ศ. 2139 ตรงกับต้นรัชสมัยของสมเด็จพระ นเรศวรมหาราช โดยเน้ือความในจดหมายเหตุน้ีได้มีการอธิบายถึงกระบวนพยุหยาตราชลมารคของพระเจ้า แผ่นดินสยาม โดยมีเนื้อความตอนหนึ่งท่ีได้กล่าวถึงพระอัครมเหสีและพระราชโอรสผู้ทรงพระเยาว์โดยเสด็จ ด้วย ความว่า
“...เรือส่ีลาเหล่าน้ีหยุดท่ีพระอารามแห่งหน่ึงบนชายฝ่ัง เพราะพวกเขาคาดหมายว่า พระเจ้าแผ่นดินจะเสด็จ พระราชดาเนินเพือ่ ทรงเจริญพระพทุ ธมนตแ์ ละทรงบาเพ็ญพระราชกศุ ล ตามตดิ มาอยา่ งใกล้ชิดเรือสี่ลาน้ันเป็น เรืออื่น ๆ อีกหลายลาทใี่ หญก่ ว่านัน้ แต่ละลาบรรทุกผคู้ นมากมายท่แี ต่งกายด้วยเครื่องแบบประเภทต่าง ๆ เรือ แต่ละลามีข้าราชการช้ันผู้ใหญ่แห่งพระราชสานัก ๑ คน แล้วจากน้ันเป็นพระราชกุมารพระองค์เยาว์ที่สุดใน บรรดาแผน่ ดินที่เสดจ็ ปรากฏพระองค์ในเรือพระท่ีน่ังท่ีตกแต่งอย่างหรูหรามาก ตามติดมาเป็นสมเด็จพระอัคร มเหสแี ละสาวสรรกานัลใน สมเดจ็ พระอคั รมเหสปี ระทับแต่เพียงลาพังพระองค์ และบรรดานางกานัลนั่งในเรือ ลาอื่นตกแต่งอย่างน่าอัศจรรย์ และกั้นด้วยม่านอย่างรอบคอบจนเป็นไปได้ท่ีจะสามารถมองผ่านม่านจาก ภายในสู่โลกภายนอกได้ โดยทคี่ นภายนอกไม่เห็นคนภายใน...” เมือ่ นาเหตุการณท์ ่ีบาทหลวงสเปนได้เขียนบอกเล่าไว้ไปเทียบเคียงกับพระราชพงศาวดารฯ ฉบับพระ จักรพรรดิพงษ์เจ้ากรม (จาด) จะพบว่าในรัชสมัยของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชได้มีการกล่าวถึงพระราชพิธี อาสวยุทธ และการต้อนรับคณะทูตกัมพูชาที่เดินทางมาถวายเคร่ืองราชบรรณาการยังราชสานักอยุธยาซึ่งตรง กับเหตุการณ์การเสด็จฯทางชลมารคและการออกรบั ทตู กัมพูชาในจดหมายเหตุของสเปน โดยบางทีสมเด็จพระ นเรศวรมหาราชอาจมพี ระราชโอรสมากกว่า 1 พระองค์แล้ว เนื่องจากในจดหมายเหตุมีการใช้คาว่า \"พระราช กุมารพระองค์เยาว์ท่ีสุด\" นอกจากนี้สมเด็จพระนเรศวารมหาราชก็มีพระราชธิดาด้วย โดยมีการกล่าวถึง พระเจ้านรธามังสอ เจ้าผู้ครองล้านนา ด้วยเหตุท่ีพระเจ้านรธามังสอได้รับการช่วยเหลือจากกรุงศรีอยุธยาเพื่อ จัดการปัญหาเมืองข้ึนแข็งเมือง และช่วยป้องกับการรุกรานข้าศึก ด้วยการเก้ือกูลกันดังกล่าว ได้สร้างสาย สัมพนั ธ์ทางเครอื ญาตกิ ับนรธามงั สอและสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช โดยสมเด็จพระนเรศวรมหาราชได้ทรงยก พระราชธิดาให้สมรสกับเมงสาตุลอง ผู้ซ่ึงเป็นพระราชโอรสในพระเจ้านรธามังสอ โดยพระเจ้านรธามังสอก็ได้ ถวายพระราชธิดาให้เป็นพระมเหสีของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชด้วย โดยการมอบพระราชธิดาของพระ เจา้ นรธามงั สอแด่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระนเรศวรเสด็จสวรรคต
พุทธศักราช 2148 สมเด็จพระนเรศวร ทรงกรีฑาทัพไปตีกรุงอังวะ โดยยกทัพหลวง 100,000 นาย ออกจากอยุธยา ไปทางเมอื งเชียงใหม่ไปข้ามน้าสาลวินที่เมืองหาง แล้วผ่านแว่นแคว้นไทยใหญ่ไปเข้าแดนพม่า ท่ีใกล้เมืองอังวะ ทางที่กะน้ีสะดวกกว่าจะยกไปทางเมืองมอญ เพราะไปทางเมืองมอญจะต้องรบพุ่งกับเมือง ตองอแู ละเมอื งแปรก่อน จึงจะผ่านข้นึ ไปถงึ เมอื งองั วะได้ ไปทางเมืองเชียงใหม่เดินทางในพระราชอาณาจักรไป จนในแดนไทยใหญ่ พวกไทยใหญ่ที่เข้ากับไทยก็มีมาก โดยจะมีบางเมืองท่ีจะต่อสู้ก็จะไม่แข็งแรงเท่าไรนัก เพราะเจา้ เมอื งองั วะก็เพิ่งได้เมืองเหล่าน้ีไว้ในอานาจ ท่ีสมเด็จพระนเรศวรเสด็จทางเมืองเชียงใหม่ คงเป็นด้วย เหตุเหล่าน้ี เห็นจะเอาเมอื งเชียงใหม่เป็นที่ประชุมพล และเกณฑ์กองทัพมอญทัพชาวลานนาเข้าสมทบกองทัพ ไทย จานวนพลเบ็ดเสร็จคงจะราวสัก 200,000 คน แต่รายการท่ีมีในหนังสือพระราชพงศาวดารน้อยนัก ปรากฏแต่ว่าสมเด็จพระนเรศวรกับสมเด็จพระเอกาทศรถเสด็จออกจากพระนครเม่ือ ณ วันพฤหัสบดี เดือนย่ี แรม 8 คา่ ปีมะโรง พ.ศ. 2127 เสด็จโดยกระบวนเรือไปตั้งทัพชัย ณ ตาบลพระหล่อ แล้วยกกองทัพบกไปทาง เมืองกาแพงเพชร คร้ันเสด็จไปถึงเมืองเชียงใหม่หยุดพักจัดกระบวนทัพอยู่เดือน 1 แล้วให้กองทัพสมเด็จพระ เอกาทศรถยกไปทางเมืองฝาง ส่วนกองทัพหลวงยกไปทางเมืองหาง สมเด็จพระนเรศวรฯทรงนากองทัพไทย ออกจากเชียงใหม่พร้อมกับพระเจ้าเชียงใหม่และลูกพระเจ้าเชียงใหม่ท้ังสามไปโดยทัพหลวงยกพยุหโยธาไป ทางเมืองหางและโปรดให้สมเด็จพระเอกาทศรสทรงนาทัพอีกส่วนหนึ่งไปทางเมืองฝางนอกจากน้ันในตานาน พระธาตุเมืองน้อย อาเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน ซึ่งมีชายแดนอยู่ติดกับพื้นท่ีอาเภอเวียงแหง สมเด็จพระ นเรศวรมหาราชได้ใช้เสน้ ทางเดินทพั ไปยังประเทศพม่าโดยผ่านเมืองน้อย ซ่ึงตอนน้ันเป็นชุมชนของชนเผ่าลัวะ (ปัจจุบันมีเจดีย์โบราณศิลปะล้านนาปรากฏให้เห็น สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในช่วงสมัยสุโขทัย-อยุธยา) เมื่อ สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชเสด็จถึงเขตเมืองหาง ทรงทัพหลวงท่ีตาบลทุง่ แกว้ หรอื ท่งุ ดอนแก้ว แรมทัพในตาบล น้ี และเกิดทรงพระประชวรขึน้ สมเดจ็ พระนเรศวร ทรงพระประชวรดว้ ยพระโรคอนั ใด และจากสาเหตุอะไร สาหรับพระราชประวัติในส่วนน้ี กเ็ ปน็ อีกสว่ นหนึ่งทยี่ ังมีการถกเถยี งกันว่าแทจ้ ริงแล้วสมเด็จพระนเรศวร ทรงพระประชวรด้วยพระโรคอนั ใด และจากสาเหตุอะไร จึงมกี ารคน้ ควา้ และนาเสนอไว้อยูส่ องถงึ สาม ประเดน็ โดยขอ้ มลู จากวิกิพเี ดยี ระบุวา่ สมเดจ็ พระนเรศวรทรงพระประชวรเปน็ หวั ระลอก (ฝี) ขึ้นที่พระพักตร์ แลว้ กลายเปน็ บาดทะพิษ (บาดทะยัก) พระอาการหนัก อยา่ งไรก็ดใี นความจดจาของคนไทย ก็มขี ้อมูลหลายทาง เชน่ วา่ สมเด็จพระนเรศวรทรงประชวรจาก อาการฝที ี่พระนลาฏ บางตานานบอกวา่ เป็นฝรี ะลอก ขนึ้ ที่พระพกั ตร์ แลว้ เกิดเปน็ พิษ (อาจจะเปน็ สิวหัวช้างที่ อกั เสบแล้วติดเช้อื ) ขณะท่ีหลายกระแสก็ระบวุ า่ โดยคาดเดาวา่ อาจจะโดนผง้ึ ตอ่ ยแลว้ แพ้พษิ
ท้ังนี้ บางแหล่งระบุว่า หลักฐานท่ีค่อนข้างเป็นทางการ หาอ่านได้จากพระราชพงศาวดารฉบับพระ ราชหัตถเลขาซ่ึงชาระสมัยรัชกาลที่ 4 กล่าวว่าเป็นทรงฝีที่พระนลาฏ ขณะที่พงศาวดารฉบับเก่าๆ หลาย แหล่งระบุวา่ 'ทรงพระประชวร' เทา่ นน้ั ส่วนในมุมเร่ืองแมลงพิษ มีระบุไว้ใน 'คาให้การขุนหลวงหาวัด' ฉบับหลวง เน้ือหาตอนหนึ่งกล่าวไว้ ดังน้ี \"อันองค์พระนเรศร์น้ันเสด็จอยู่เมืองห่าง (หาง) เพราะเหตุฉนี้จ่ึงถวายพระนามเรียกองค์พระนารายน์ เมืองห่าง เปนกรุงหยุดพักอยู่กลางทางของพระองค์ คร้ันเสร็จการมงคลพิธีแล้วพระองค์ก็ยกไปเมืองหงษา จ่ึง ทรงช้างพระที่น่ังสุวรรณปฤษฎางค์ ก็พ้นเมืองทางไกลได้เจ็ดวัน จ่ึงพ้นไปน่าเขาเขียวดงตะเคียนใหญ่ จึ่งมีศาล นางเทพารักษ์อยู่ที่ต้นตะเคียนใหญ่ มีอานุภาพศักดิสิทธิยิ่งนัก เสนาจ่ึงทูลเชิญเสด็จให้ลงจากช้างพระท่ีน่ังเมื่อ จักมีเหตุมานน้ั พระนเรศรจ์ ง่ึ ถามเสนาว่า เทพารักษ์นเ้ี ปนเทพารักษผ์ ูช้ ายฤๅผู้หญิง เสนาจ่ึงทูลว่า อันเทพารักษ์ เปนนาง ศักดิสิทธยิ ิง่ นัก พระนเรศร์จง่ึ ตรัสว่าอนั เทพารกั ษน์ ี้เปนแตน่ างเทพารักษ์ดอก ถ้าจักเปนเมียเราก็จักได้ เราไม่ลงจากช้าง คร้ันพระนเรศร์ตรัสดังนี้แล้ว ก็ทรงช้างพระท่ีน่ังผ่านน่าศาลนางเทพารักษ์นั้นไป จึ่งเห็นเปน ตวั แมลงภู่บินตรงมานา่ ชา้ งแล้วก็เข้าต่อยเอาทีอ่ ุณาโลม องค์พระนเรศรน์ นั้ ก็สลบอยู่กบั หลังช้างพระท่ีนั่ง แล้วก็ เสด็จสู่สวรรคตทต่ี รงน่าเขาเขียวเสนาทั้งปวงจ่ึงเชิญพระศพ แล้วก็กลับมายังพลับพลาเมืองห่าง ส่วนพระเอกา ทศรถน้ันก็ยกพลไปถึงแดนเมืองหงษา จึ่งตีบ้านกว้านกวาดได้มอญลาวหญิงชายเปนอันมาก แล้วจักยกเข้าตี เมืองหงษา ก็พอเสนาอามาตย์ให้ม้าใช้เร่งรีบไปทูลความพระนเรศร์สวรรคต พระองค์คร้ันทราบด่ังนั้นก็เร่งรีบ ยกพลโยธาทพั กลับมายังเมอื งหา่ ง คร้ันถึงแล้วก็เสด็จเข้าไปสู่ยังสถานพระเชษฐา จ่ึงกอดพระบาทพระพ่ียาเข้า แล้ว ก็ทรงพระกรรแสงโศกาอาดูรร่าไรไปต่าง ๆ พระองค์ก็กอดพระเชษฐาเข้าแล้วก็สลบลงอยู่กับที่ แต่ทรง พระกรรแสงแล้วสลบไปถึงสามคร้ัง ครั้นพระองค์ก็ได้สมฤดีคืนมาแล้ว พระองค์จึ่งมีพระบัณฑูรตรัสสั่งให้หา พระโกษฐทองทั้งสองใบท่ีใส่พระศพ แลว้ จึ่งเชิญข้นึ สบู่ นพระราชรถ แลว้ กแ็ ห่แหนเปนกระบวนมหาพยุหยาตรา อย่างใหญ่มาจนถงึ กรงุ อยุทธยาธานี\"
สถานทีส่ มเด็จพระนเรศวรสวรรคต ศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ท่ีเมอื งแหง จังหวดั เชียงใหม่ เรื่องสถานทสี่ วรรคต ซึ่งยงั คงถกเถียงกันวา่ แทจ้ ริงแล้วทรงสวรรคตที่เมืองหางท่ีพม่า หรือในเวียงแหง เชียงใหม่กันแน่ ท้ังน้ีข้อมูลทั่วไประบุว่า เม่ือสมเด็จพระนเรศวรทรงยกทัพออกจากเชียงใหม่แล้ว ได้เสด็จ ต่อไปยังเมืองหาง และสวรรคตท่ีน่ันในปี 2148 แต่ต่อมา มีนักวิชาการช่ือ ชัยยง ไชยศรี ซึ่งเป็นอาจารย์ ประจามหาวิทยาลัยราชภัฏเชยี งใหมไ่ ด้เสนอทฤษฎีประวัตศิ าสตร์ \"พื้นทส่ี วรรคตสมเด็จพระนเรศวรมหาราช อยู่ทเี่ มอื งแหง\" หรอื อาเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่ แทนท่ีจะเป็น \"เมืองหาง\" ในพม่า ซ่ึงนับว่าเป็นข้อมูลที่ ส่ันสะเทือนวงวิชาการ และประวัติศาสตร์ไทยไม่น้อย โดยเวียงแหงเป็นอาเภอเล็ก ๆ อยู่ทางทิศเหนือของ จงั หวดั เชยี งใหม่ วารสารพฆิ เนศวร์ ชัยยง ไชยศรี
ทว่าประเด็นพ้ืนที่สวรรคตของมหาราชผู้ย่ิงใหญ่พระองค์น้ีกลับคลุมเครือไม่ชัดเจน ในบทความเร่ือง พื้นท่ีสวรรคตสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ของชัยยง ไชยศรีในวารสารพิฆเนศวร์ซ่ึงจัดพิมพ์โดย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ กล่าวถึงการบันทึกสถานท่ีสวรรคตของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชจาก พงศาวดารไทยท่ีบันทึกมาตั้งแต่สมัยอยุธา ซ่ึงสมเด็จพระนารายณ์มหาราช โปรดฯให้ชาระข้ึนใน พ.ศ.2223 เป็นการบันทึกภายหลังที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเสด็จสวรรคตแล้ว 75 ปี นับว่าเป็นพงศาวดารไทยท่ี บนั ทึกใกลก้ บั เหตุการณ์ท่เี กดิ ข้ึนจริงมากท่ีสุด โดยได้บันทึกพ้ืนที่สวรรคตว่าอยู่ในเมืองหลวง ตาบลทุ่ง ดอนแกว้ ขณะทม่ี หาราชวงษ์พงศาวดารพม่า โดยพม่าได้บันทึกพื้นที่สวรรคตของสมเด็จพระนเรศวรไว้ชัดเจน ว่า “…ครั้นลุจุลศักราช 974 พระเจ้าอยุธยา พระนเรศทรงเสด็จยกกองทัพ 20 ทัพ มาทางเชียงใหม่จะไปตี เมืองอังวะ คร้นั เสด็จถงึ เมืองแหง แขวงเมอื งเชียงใหม่ ทรงประชวรในเร็วพลันกส็ วรรคตในท่ีนนั้ ” ตานานพงศาวดารของพมา่ นอกจากน้ันในตานานพงศาวดารของพม่าได้กล่าวไว้ว่า “พระเจ้าอังวะ ตั้งแข็งเมืองไม่ยอมข้ึนกับกรุง หงสาวดี พระเจ้าหงสาวดีจึงได้ยกกองทัพไปตีเมืองอังวะ โดยได้ชักชวนให้กรุงศรีอยุธยา กรุงศรีสัตนาคนหุต และเมืองเชียงใหม่ยกกองทัพไปชว่ ย กรุงศรีสตั นาคนหตุ และเมืองเชยี งใหม่ยกทัพไปตามกาหนด แต่สมเด็จพระ นเรศวรมหาราชทรงถ่วงเวลาแกล้งเดินทัพไปช้า ๆ เพ่ือรอให้ทัพหงสาวดีตีกรุงอังวะเสียก่อน หากทัพพระเจ้า หงสาวดีเพลี่ยวพล้าแก่ทัพอังวะ สมเด็จพระนเรศวรจะได้ตีตลบหลังกองทัพหงสาวดี”นอกจากนั้นในตานาน พระธาตุเมืองน้อย อาภอปาย จ.แม่ฮ่องสอน ซ่ึงมีชายแดนอยู่ติดกับพ้ืนที่อาเภอเวียงแหง มีการกล่าวอ้างถึง สถานที่เสด็จเดินทัพผ่านบริเวณบ้านเมืองน้อยเพื่อเข้าไปตีพม่าว่า สมเด็จพระนเรศวรมหาราชได้ใช้เส้นทาง เดนิ ทพั ไปยังประเทศพม่าโดยผา่ นเมอื งนอ้ ย ซึ่งตอนน้ันเปน็ ชุมชนของชนเผ่าลัวะ (ปัจจุบันมีเจดีย์โบราณศิลปะ ลา้ นนาปรากฏให้เหน็ สันนิษฐานว่าสรา้ งขนึ้ ในชว่ งสมัยสโุ ขทัย-อยุธยา)
เมื่อสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเสด็จถึงเขตเมืองหาง ทรงทัพหลวงท่ีตาบลทุ่งแก้วหรือทุ่งดอนแก้ว แรมทพั ในตาบลน้ี ขณะนนั้ สมเดจ็ พระนเรศวรทรงพระประชวร รับสั่งใหข้ า้ หลวงไปอัญเชญิ สมเด็จพระเอกาทศ รสเสด็จจากเมืองฝางไปเข้าเฝ้าในวันเสาร์ข้ึน 6 ค่าเดือน 6 ปีมะเส็งเบญจศก (พ.ศ.2136) ในวันจันทร์ ข้ึน 8 ค่าเดือน 6 ปีมะเส็ง พ.ศ. 2148 ก็เป็นเวลาท่ีสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเสด็จสวรรคต ขณะนั้นทรงมีพระ ชนมพรรษาได้ 50 ปีเสดจ็ อยู่ในราชสมบัติได้ 15 พระพรรษาสถานท่ีสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเสด็จสวรรคต ได้ทรงเปน็ พระสถูปเจดยี ์ขึ้นทีเ่ มอื งหางในรัฐฉานประเทศพม่า ปัจจุบันพระสถูปเจดีย์อันเก่าแก่ได้ถูกทาลายลง หมดส้ิน ไม่มีแม้แต่ซากอิฐเหลือให้เห็น จนประมาณเม่ือปี พ.ศ.2502 ขณะน้ันรัฐบาลพม่าเริ่มปราบปรามชน กลุ่มน้อยชาวไทยใหญ่ท่ีต่อต้านรัฐบาลพม่าเพ่ือแยกการปกครองเป็นอิสระแต่พม่าไม่ยอม ชนกลุ่มน้อยชาวไท ใหญ่จึงได้ก่อการกบฏขึ้นทั่วทุกหนทุกแห่งในรัฐไทยใหญ่ ได้มีการจัดต้ังกองทัพกู้อิสรภาพของชาวไทยใหญ่ขึ้น เพอื่ ส้รู บกับฝา่ ยรัฐบาลพมา่ กองมขู นุ หอคาไตย เม่ือเวลาที่จะออกศึกสู่รบกับฝ่ายรัฐบาลพม่า กองทัพกู้อิสรภาพชาวไทยใหญ่เหล่านี้จะต้องไป บวงสรวงสักการะดวงวิญญาณของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชท่ีสถูปเจดีย์ของพระองค์เสียก่อน ปรากฏว่าใน การสู้รบทุกครั้งฝ่ายกองทัพกู้อิสรภาพชาวไทยใหญ่มักจะประสบชัยชนะฝ่ายรัฐบาลพม่าอย่างง่ายดาย ทาให้ พม่าเคียดแค้นเป็นหนักหนา จึงได้ใช้ระเบิดทาลายพระสถูปเจดีย์เหล่านี้เสียหมด หนาซ้ายังใช้รถแทร็กเตอร์ เกรดทาลายจนราบเรียบไม่เหลือซากให้คณะกู้อิสรภาพไทยใหญ่มาสักการะได้อีกต่อไป ทาให้คนไทยพลอย ไม่ได้มีโอกาสเห็นสถานที่ซ่ึงวีรบุรุษของชาติสวรรคตอีกเลยบริเวณที่ประดิษฐานพระสถูปเจดีย์สมเด็จพระ
นเรศวรมหาราชนี้เรียกว่า “กองมูขุนหอคาไตย” เป็นภาษาไทยใหญ่หมายถึง “พระเจดีย์ของพระเจ้าแผ่นดิน ไทย” บริเวณนี้อยู่ห่างจากชายแดนไทย-พม่า ทางด้านตะวันตกของอาเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่เป็น ระยะทางประมาณ 40 กิโลเมตร เหนือบริเวณนี้ข้ึนไปเล็กน้อย ปัจจุบันคือเมืองแกน เป็นเมืองท่ีสมเด็จพระ นเรศวรทรงพระประชวรพระนาภีอย่างหนัก ทรงตั้งทัพอยู่ ณ ที่น่ัน คาว่า “แกน” เป็นภาษาล้านนาและไทย ใหญ่แปลว่า “เจ็บปวดอย่างรุนแรง” เลยเมืองแกนน้ีไปอีกเล็กน้อยเป็นเมืองหาง เมืองงายเป็นเมืองที่สมเด็จ พระนเรศวรมหาราชทรงกรีฑาทัพผ่านเป็นคร้ังสุดท้าย ก่อนที่พระองค์จะเสด็จสวรรคตท่ีเมืองหาง มีผู้พบเสา พะเนยี ดอยเู่ ปน็ จานวนมากปรากฏอยู่ ต่อมาทางการได้เก็บรวบรวมและนาไปไว้ที่บริเวณพระสถูปแห่งน้ีพร้อม กับซากอฐิ จากพระเจดยี ส์ วรรคตของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทเี่ มอื งหาง อย่างไรกต็ าม ประเด็นเรอ่ื งเส้นทางเดนิ ทพั และสถานที่สวรรคตของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช อาจยัง ไม่ชัดเจน เน่ืองจากเร่ืองราวในพงศาวดารต่าง ๆ ท้ังที่เขียนจากไทยและพม่ายังมีข้อมูลบางส่วนไม่ตรงกัน โดยเฉพาะช่ือเมืองที่สวรรคต บ้างก็กล่าวว่าทรงเสด็จสวรรคตท่ีเมืองหาง ขณะท่ีบางตานานบอกว่าสวรรคตท่ี เมืองแหน จึงเป็นท่ีน่าสนใจว่าท้ายที่สุดแล้วสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กษัตริย์นักรบของแผ่นดินสยาม สวรรคตที่เมอื งไหนกันแน่ เรื่องวัน สวรรคตนี้มีรายละเอียดกล่าวต่างกัน พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขากล่าวว่า เสด็จสวรรคตวันจันทร์ ขึ้น 8 ค่า เดือน 6 เพลาชายแล้ว 2 บาท ปีมะเส็ง ซ่ึงผู้เชี่ยวชาญทางประวัติศาสตร์ คานวณแล้วตรงกับวันจันทร์ที่ 25 เมษายน 2148 ในหนังสือ A History of Siam ของ W.A.R. Wood กล่าว วา่ สวรรคตวันท่ี 16 พฤษภาคม ค.ศ. 1605 (พ.ศ. 2148) พระชันษาได้ 50 ปี เสวยราชสมบัตไิ ด้ 15 ปี
ราชการสงครามในสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เป็นเหตุการณ์ที่ย่ิงใหญ่และสาคัญย่ิงของชาติไทย พระองค์ได้กู้อิสรภาพของไทยจากการเสียกรุงศรีอยุธยาคร้ังแ รก แ ละได้ทรงแผ่อานาจ ของราชอาณาจักรไทย อย่างกว้างใหญ่ไพศาล นับตั้งแต่ประเทศพม่าตอนใต้ท้ังหมด นั่นคือ จากฝ่ัง มหาสมุทรอินเดียทางด้านตะวันตก ไปจนถึงฝ่ังมหาสมุทรปาซิฟิ กทางด้านตะวันออก ทาง ด้านทิศใต้ตลอดไปถึงแหลมมลายู ทางด้านทิศเหนือก็ถึงฝั่งแม่น้าโขงโดยตลอด และยังรวมไปถึงรัฐไทย ใหญ่บางรัฐพระองค์ได้ทาสงครามเข้าไปในประเทศท่ีเป็นข้าศึกของไทย ในทุกทิศทาง จนประเทศไทยอยู่ เป็นปกติสุขปราศจากศึกสงคราม เป็นระยะเวลายาวนาน พระราชกรณียกิจน้อยใหญ่ท้ังส้ิน ทง้ั ปวงของพระองค์ เปน็ ไปเพ่อื ประโยชนข์ องบ้านเมอื งและคนไทยทง้ั มวล ตลอดพระชนม์ชีพของพระองค์ จ ะ อ ยู่ ใ น ส น า ม ร บ แ ล ะ ช น บ ท โ ด ย ต ล อ ด มิ ไ ด้ ว่ า ง เ ว้ น แ ม้ แ ต่ เ มื่ อ เ ส ด็ จ ส ว ร ร ค ต ก็ เสด็จสวรรคตในระหว่างเดินทัพไปปราบศัตรูของชาติไทย นับว่าพระองค์ได้ทรงสละพระองค์ เพ่ือชาติ บ้ า น เ มื อ ง โ ด ย สิ้ น เ ชิ ง ส ม ค ว ร ที่ ช า ว ไ ท ย รุ่ น ห ลั ง ต่ อ ม า ไ ด้ ส า นึ ก ใ น พ ร ะ ม ห า ก รุ ณ า ธิ คุ ณ ของพระองค์ และจดจาวีรกรรมของพระองค์ เทิดทูลไว้เหนอื เกลา้ ฯ ไปตราบชว่ั กาลนาน ..........................................................................................
แหล่งขอ้ มลู อา้ งอิง กิตติ วฒั นะมหาตม.์ ตานานนางกษัตริย์. กรงุ เทพฯ:สร้างสรรคบ์ ุ๊คส์, 2553 จันทร์ฉาย ภคั อธิคม. กรุงศรีอยุธยาในเอกสารหลักฐานสเปน. กรุงเทพฯ : สมาคมสงั คมศาสตร์ 2532 . ชาดา นนทวฒั น์. การเมืองไทยสมยั สมเดจ็ พระนเรศวร. --กรุงเทพฯ : แสงดาว, 2549. ประพฤทธิ์ ศกุ ลรตั นเมธี. “ความสมั พันธไ์ ทย – จีน ในรชั สมยั พระนเรศวรมหาราช” . 2540. ภาสกร วงศต์ าวัน. ไพร่ ขนุ นาง เจา้ แยง่ ชงิ บลั ลงั กส์ มัยอยธุ ยา. ยปิ ซี:กรงุ เทพฯ, 2553. พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบบั หมอบรดั เล. มนตรี คมุ้ เรือน. มหากาพย์กู้แผ่นดนิ บทอวสาน: มหาสงครามยุทธหัตถี. กรุงเทพฯ : คลเี นทีฟ, 2550. รงั สรรค์ วฒั นะ. อนทุ ินของการเปน็ มหาวิทยาลยั นเรศวร. กรงุ เทพฯ: สานกั พิมพ์พัฒนาศึกษา, 2547. วิบลู ย์ วจิ ิตรวาทการ. ตานานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช. -- กรุงเทพฯ : สรา้ งสรรค์บคุ๊ ส์, 2549. สมเด็จฯ กรมพระยาดารงราชานภุ าพ. ไทยรบพมา่ เลม่ 1. --กรุงเทพฯ : อักษรเจรญิ ทัศน์, 2546. สรสั วดี ออ๋ งสกุล. ประวตั ศิ าสตร์ล้านนา. พมิ พ์ครั้งท่ี 6. กรุงเทพฯ:อมรนิ ทร์, 2552. สงิ ฆะ วรรณสัย, ปริวรรต, โคลงเรอ่ื ง มังทรารบเชียงใหม่. อานนท์ จติ รประภาส. พระนเรศวรมหาราชชาตินักรบ. -- กรุงเทพฯ : ไทยควอลติ ีบ้ ุ๊คส์ (2006), 2551. www.brighttv.co.th www.facebook.com www.personnel.nu.ac.th www.welovesuphan.com www.lib.ru.ac.th www.komchadluek.net www.msn.com www.oic.go.th www.silpa-mag.com hilight.kapook.com th.wikipedia.org › wiki th.wikipedia.org/wiki th.wikisource.org › wiki › http://oknation.nationtv. https://sites.google.com. http://thaiheritage.net/king/naresuan/naresuan https://www.google.co.th/ prawati-smdec-phra-nresw thaiheritage.net ขอขอบคุณภาพและเน้อื หาจากเว็บไซต์ต่างๆ …………………………………………………….
มหาราชพระองคท์ ่ี 6 สมเด็จพระเจา้ ตากสินมหาราช ผ้เู รยี บเรยี งนายประสาร ธาราพรรค์ ๏ เมอ่ื นน้ั พระทรงจตศุ ีลยกั ษา คร้นั เหน็ นวลนางสดี า เสน่หาปลาบปล้ืมฤทัย อั้นอดั กาหนดั ในนาง พลางกาเริบราคร้อนพสิ มัย พิศเพง่ เล็งแลทรามวัย มไิ ดท้ จ่ี ะขาดวางตา ชชิ ะโอ้วา่ สีดาเอ๋ย มางามกระไรเลยเลิศเลขา ถึงนางสบิ หกห้องฟ้า จะเปรยี บสดี าไดก้ ็ไม่มี แต่กผู ูร้ ู้ยศธรรม์ ยังหมายมน่ั ม่งุ มารศรี สาอะไรกบั อ้ายอสุรี จะมพิ าโคติกาตาย โอ้อนจิ จาทศกณั ฐ์ สูเ้ สยี พงศพ์ นั ธ์ฉิบหาย มา้ รถคชพลวอดวาย ฉบิ หายเพราะนางสีดา ตวั กผู หู้ ลีกลดั ตดั ใจ ยังให้หุนเห้ียนเสน่หา ทีไ่ หนมันจะไดส้ ติมา แตว่ ิญญาณ์กูยังแดยนั ……………………………………………………….. รามเกยี รต์ิ ตอน ท้าวมาลวี ราชวา่ ความ พระราชนพิ นธใ์ นสมเด็จพระเจา้ ตากสนิ มหาราช
พระราชประวตั สิ มเด็จพระเจา้ ตากสนิ มหาราช ผู้รอ้ ยกรองนายประสาร ธาราพรรค์ พระเจา้ ตาก ธ เกง่ กาจ ขวญั ใจราษฎร์ ทรงกชู้ าติ พน้ พมา่ นา่ สรรเสรญิ ทรงสร้างเมือง กรงุ ธน ใหเ้ จรญิ ทรงกล้าเกิน คากลา่ วใด ไรเ้ ทียมทนั พระราชสมภพ วันท่ี 17 เดอื นเมษา เป็นเดอื นหา้ วันอาทติ ย์ จติ สุขสนั ต์ ปสี องพนั สองรอ้ ยเจด็ สิบเจ็ดนั้น พระทรงธรรม กอ่ กาเนิด เพอื่ ปวงไทย นามเดมิ สนิ ลูกขุนพัฒ นางนกเอย้ี ง ขนุ นางเลย้ี ง ฟมู ฟกั จนยิ่งใหญ่ เป็นทหาร ฝากฝีมือ กลา้ เกรยี งไกร ท้ายสดุ ได้ เป็นพระยา วชิรปราการ ครนั้ ถึงปี สองพนั สามร้อยเกา้ ไทยสุดเศรา้ ทกุ ขเ์ ภทภยั แผ่ไพศาล ทพั พม่า กรฑี า มารุกราน หวงั ประหาร เข่นฆ่าไทย ให้มลาย สมเด็จพระเจา้ เอกทศั ทรงครองราชย์ เหล่าทวยราษฎร์ ทหารไทย ใจเหอื ดหาย มปี ญั หา ในการศกึ อยา่ งมากมาย ถึงแตกพ่าย มอญพม่า รุมราวี พระเจา้ ตาก อยู่กรงุ ศรี จาตีฝา่ รวมคนกลา้ สพู้ มา่ จาถอยหนี วนั ท่ีสาม มกรา จากธานี รวมคนดี มฝี ีมือ กูช้ าติไทย วนั ท่ี 7 เมษา สุดวิปโยค ไทยเศร้าโศก กรงุ ศรีแตก แหลกมอดไหม้ ปีสองพนั สามร้อยสบิ ทกุ ข์ทวั่ ไทย กรุงสูญไป หมดส้นิ ไทย ไร้พักพิง พระเจ้าตาก จากกรงุ ศรี ไพร่พลพร้อม ต่างยินยอม มอบกายใจ ใหท้ ุกสง่ิ เดินทัพผา่ น นครนายก รกชัฏยงิ่ ไมห่ ยดุ นง่ิ มงุ่ ทัพไป ปราจนี บรุ ี ผ่านนาเกลือ พัทยา สัตหบี ทรงเรง่ รีบ สรู่ ะยอง ผอ่ นผันหนี ถงึ ระยอง กรมการเมอื ง จกั ต่อตี มีเหตทุ ่ี จกั นาพา ฆา่ กนั ตาย ยดึ ระยอง ประกาศตน ข้ึนเปน็ เจ้า มีผเู้ ข้า รว่ มก้ชู าติ ราษฎร์หลากหลาย เดนิ ทพั สู่ จนั ทบุรี ใช่งา่ ยดาย ทรงมงุ่ หมาย ยดึ เมอื งจันท์ น้นั แน่นอน มีขนุ ราม หมนื่ ซอ่ ง จอ้ งกอ่ เหตุ รว่ มวางเลศ เจ้าเมืองจนั ท์ คดิ สั่งสอน หวังกาจดั พระเจ้าตาก อย่างยอกยอ้ น หวงั ตัดตอน กาลังทพั จบั ภูมี พระเจา้ ตาก ทรงรู้เลศ เหตรุ า้ ยนั้น พระองค์พลัน วางกลทพั สมศกั ดศิ์ รี ทบุ หม้อข้าว หากนิ ใหม่ ในบุรี ทุกชวี ี ต่างมงุ่ หมาย ตอ้ งไดเ้ มือง จันทเ์ สียเมือง สิบสี่ มิถุนา ธ มุ่งหา กลการทัพ อยา่ งต่อเนื่อง เมืองจนั ทด์ ี มดี ินแดน แสนรุง่ เรอื ง ช่วยประเทือง ไทไ้ รท้ ุกข์ สขุ อรุ า ตจี ันทไ์ ด้ ธ มุ่งหมาย ตีตราดตอ่ ตราดรว่ มขอ กู้ชาติดว้ ย ช่วยหนกั หนา ตะวันออก ทุกหวั เมอื ง รวมประชา ต่างร่วมมา ก้ชู าติไทย ให้กลบั คนื
พระเจา้ ตาก เตรยี มการศกึ เพอ่ื กู้ชาติ รวมเหล่าราษฎร์ ท้งั จีนไทย ไรข้ ัดขนื ทรงหวังใช้ ฐานเมืองจนั ท์ มั่นย่งั ยืน ลว้ นราบรื่น เตรียมเรือไว้ ใหพ้ ร้อมเพรียง เตรยี มเรอื รบ ประมาณ ร้อยลาเศษ ธ ทรงเดช ฝีมอื ดี มชี ื่อเสียง คนอาสา มาสมทบ รบคู่เคยี ง ไมม่ เี กี่ยง เพยี งกชู้ าติ ราษฎร์รว่ มใจ มที หาร ห้าพันเศษ พรอ้ มการรบ ทกุ ส่งิ ครบ เตรยี มเดนิ ทพั ไมห่ วนั่ ไหว ออกจากจันท์ เดอื นตุลา ธ คลาไคล ปกี ุนได้ หมายโมงยาม ตามฤกษ์ดี เดอื นสิบสอง ตีกรุงธน ปราบทองอนิ เสี้ยนหนามสนิ้ ล่องนาวา ยังกรุงศรี ตีพม่า แตกพ่ายไป ไรร้ าวี ตวั สกุ ้ี แมท่ พั ใหญ่ ถงึ วายชนม์ ธ ทรงกู้ เอกราช ชาตคิ นื ได้ กชู้ าตไิ ทย คืนกลับใหม่ ได้อกี หน วันท่ี 6 พฤศจิกา ชน่ื กมล พน้ ทกุ ข์ทน กลับเป็นไทย ในเจ็ดเดอื น พระเจ้าตาก ม่งุ หมายมั่น สร้างชาตใิ หม่ ทุ่มกายใจ รวมชาติไทย ไมค่ ลายเคล่อื น สร้างชาตไิ ทย เพื่อคนไทย มลิ มื เลอื น จิตใจเตือน กตญั ญุ ุตา ให้ตราตรึง 28 ธันวา ปราบดาภเิ ษก ข้นึ ครองราชย์ ธ หมายมาด รวมชาตไิ ทย ใหเ้ ปน็ หนง่ึ วางแผนงาน การศึก อยา่ งลึกซึ้ง รวมคนซง่ึ คดิ กู้ไทย ให้เปรมปรีดิ์ เจา้ พมิ าย ชุมนมุ แรก ทรงตีได้ รายตอ่ ไป ตเี ขมร เจา้ นครศรี ตพี ษิ ณุโลก ตเี จ้าฝาง ทรงราวี ศึกทม่ี ี ชยั เกรกิ กอ้ ง เปน็ ตานาน รบพม่า ทบ่ี างแก้ว ราชบุรี พระภมู ี ปราบมอญมา่ น อยา่ งห้าวหาญ ชนะศึก ไทยรวมใจ ร่วมรอนราญ สมคั รสมาน รวมชาตไิ ทย ใหร้ ่มเย็น ศึกสุดทา้ ย ศึกพม่า อะแซหวนุ่ ก้ี ผลไมม่ ี แพช้ นะ ไร้ทุกข์เข็ญ ศกึ สงบ อีกหลายปี ไร้ลาเคญ็ ธ ทรงเปน็ ศูนย์รวมไทย ไรต้ รอมตรม ทรงสรา้ งเมอื ง กรุงธนบุรี ใหร้ ่งุ โรจน์ ธ ทรงโปรด สร้างเมอื งใหม่ ไทยสขุ สม ค้าขายจนี เสริมศาสนา ไทยอุดม ทรงนิยม วัฒนธรรม นาจติ ใจ การปกครอง ทรงแก้ไข กฎหมายใหม่ เศรษฐกิจไทย เจรญิ ไกล อยา่ งไดผ้ ล คมนาคม ขดุ คลองใหม่ เพ่อื ปวงชน สรา้ งถนน สะดวกไป ไทยสราญ อาณาเขต อาณาจักร ธนบุรี พน้ื ทีม่ ี กว้างขวางใหม่ ใหญ่ไพศาล ทรงรบทพั จับศกึ อย่างยาวนาน สร้างผลงาน แผก่ าจาย ขจรไกล ในช่วงท้าย ปลายชีวติ พระเจา้ ตาก แปลกอยา่ งมาก เปน็ เร่ืองยาก สรปุ ได้ สวรรคต ท่ีกรุงธน หรือท่ใี ด เพราะอะไร ตอบไมไ่ ด้ มาเนน่ิ นาน กบฏพระยาสรรค์ สาเหตุนา สน้ิ ชีวา เจ้าพระยา มหากษตั ริยศ์ กึ สัง่ ประหาร อ้างองค์ตาก วปิ ลาส เป็นเหตกุ ารณ์ ท่ีกล่าวขาน ประวตั ศิ าสตร์ไทย ใหจ้ ดจา 6 เมษา 2325 วนั สนิ้ พระชนม์ ไทยหมองหม่น ทกุ ข์ทัว่ ไทย น่าใจหาย มีเร่อื งราว ติดตามมา สดุ เลวร้าย ชีพวางวาย ต้องล้มตาย หลายพระองค์ บางกระแส ทรงหนีภัย ไปนครศรี ไปบวชที่ วดั เขาขนุ พนม ดังประสงค์ มหี ลักฐาน อีกมากมาย ท่แี ม่นตรง แตย่ ังคง ถกเถียงกัน ไม่ม่ันใจ พระเจ้าตาก กู้อิสรภาพ ทรงสรา้ งชาติ ประวตั ศิ าสตร์ จารกึ ไว้ ยคุ สมยั พระเกียรตคิ ุณ ทรงเล่อื งลือ ท่ัวถ่ินไทย ทุกหวั ใจ เทดิ คุณไท้ ไวน้ ริ นั ดร์ ……………………………………………………………………
พระราชประวตั สิ มเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราช พระราชประวัตสิ มเด็จพระเจ้าตากสนิ มหาราช มกี ารถกเถียงจากอดีตถึงปัจจุบันท้ังยังหาข้อสรุปไม่ได้ โดยเฉพาะในช่วงประวัติศาสตร์ปลายรัชสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี ท่ีมีการบันทึกไว้บางเรื่องบางเหตุการณ์ไม่ กระจา่ ง ยงั หาขอ้ ยุติไม่ไดจ้ นถึงทุกวันน้ี ผู้เขียนเป็นผู้หนึ่งซึ่งสนใจในประวัติศาสตร์ยุคกรุงธนบุรีรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเป็น อยา่ งย่งิ สนใจและศกึ ษาถึงปัญหาที่ข้องใจเคลือบแคลงท่ีสุด คือ ในช่วงปลายรัชกาลพระองค์เสียสติฟั่นเฟือน จนถึงแก่ “สัญญาวิปลาส” จนเป็นภัยต่อพระพุทธศาสนาและไม่อาจปกครองบ้านเมืองรวมทั้งอาณา ประชาราษฎรใ์ หเ้ กิดความสงบรม่ เยน็ จนทรงถูกสาเร็จโทษ เปน็ จรงิ หรือไม่ ! และวาระสุดท้ายแห่งพระชนม์ชีพ พระองค์วันส้ินพระชนม์เมื่อไรหายังข้อยุติไม่ได้ อาทิ พระราชพงศาวดารกล่าวว่าพระองค์ส้ินพระชนม์ตรงกับ วันท่ี 6 เมษายน 2325 จดหมายเหตุโหรกล่าวว่าพระองค์สิ้นพระชนม์วันที่ 10 เมษายน 2325 จดหมายเหตุ ของบาทหลวงฝรง่ั เศสกล่าวว่าพระองค์ส้ินพระชนม์วันท่ี 7 เมษายน 2325 และสถานที่ท่ีพระองค์ส้ินพระชนม์ ท่ีไหนแน่ อาทิ ท่ีธนบุรี หรือ ท่ีนครศรีธรรมราช หรือท่ีเพชรบุรี บทความเรื่องนี้ได้รวบรวมความคิดอย่าง หลากหลายในปัญหาดังกลา่ วขา้ งตน้ เพือ่ ให้ผู้อ่านทีส่ นใจรว่ มกันคิดวิเคราะหว์ า่ คาตอบใดน่าเชอ่ื ถอื มากท่ีสุด การรวบรวมเรียบเรยี งพระราชประวัตพิ ระเจ้าตากสินมหาราชข้าพเจ้าใช้เวลารวบรวมเน้ือหา ใช้เวลา ในการเรยี บเรยี งเนิน่ นานหลายปี โดยหวงั ว่าจะกอ่ ประโยชนใ์ ชเ้ ป็นแหลง่ สืบค้นหลักฐานเกี่ยวพันเก่ียวเน่ืองกับ ประวัตศิ าสตร์ในสมัยกรงุ ธนบรุ ไี ด้อกี แนวทางหนงึ่ พระราชประวัติของพระเจ้าตากฯ เนื้อหาจะนาเสนอตั้งแต่ประสูติเริ่มรัชการจนถึงพระราชประวัติ ปลายรชั สมยั ทมี่ ปี ัญหาคือสวรรคตเม่ือไร อย่างไร ซึ่งจะนาแนวคิดอย่างหลากหลายมาเสนอผู้อ่านให้วิเคราะห์ เสาะหาความจรงิ ซึ่งคงแลว้ แต่ผู้อ่านจะสรุปความคดิ เอาเองในปลายพระราชประวัตขิ องพระองค์
ศาลพระเจ้าตาก ทีว่ ัดลมุ่ จังหวดั ระยอง สมเดจ็ พระเจา้ ตากสินมหาราชทรงพระราชสมภพ สมเด็จพระเจา้ ตากสนิ มหาราช ทรงพระราชสมภพ ณ วนั อาทิตยข์ ึ้นสิบห้าค่าเดือนห้า ปีขาล ฉ้อศก จุลศักราช 1096 เวลาประมาณ 11.00 น. ณ กรุงศรีอยุธยา ตรงกับวันอาทิตย์ท่ี 17 เดือนเมษายน พุทธศักราช 2277 พระบรมราชลคั นาสถิต ราศีกรกฎ เสวยฤกษ์ที่ 8 ประกอบด้วยราชาแห่งฤกษ์ ดวงพระราชสมภพ สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช มีพระนามเดิมว่า “สิน” ช่ือภาษาจีนว่า “เจ้ิงเจา”(ภาษาแต้จ๋ิว) หรอื “เจิง้ กว๋ั อิง”(ภาษาจนี กลาง) บิดาเปน็ ชาวมณฑลกวางตุง้ ชื่อ”ไหฮอง” หรือ ”แต้หยง”(ภาษาแต้จิ๋ว)หรือ” เจ้ิงหยง”(ภาษาจีนกลาง)มีภูมิลาเนาเดิมอยู่ท่ีหมู่บ้านหัวฟู่ อาเภอเฉิงไห่ มณฑลกวางตุ้ง ประเทศจีน ชาวบ้าน หัวฟู่ตั้งสมญานามพระบิดาของพระองค์ว่า “ต๋านักเลง” ตอ่ มาได้อพยพมาอยุธยา ประกอบอาชีพพ่อค้าและรับ ราชการเป็นนายอากรบอ่ นเบย้ี มบี รรดาศกั ดิ์เป็นท่ีรจู้ กั กนั ในนาม “ขนุ พฒั นน์ ายอากรบ่อนเบ้ยี ” คุณหญงิ จานงศรี รตั นนิ (หาญเจนลกั ษณ์ ในหนังสือ “ดุจนาวากลางมหาสมุทร” ของคุณหญิงจานงศรี รัตนิน (หาญเจนลักษณ์) มีการระบุไว้ ชัดเจนว่า บิดาของสมเดจ็ พระเจา้ ตากสินนั้น แซ่แต้ ช่ือวา่ แต้ย้ง (เจิ้งหยง) เป็นชาวแต้จ๋ิวที่ถือกาเนิดในอาเภอ เท่งไฮ่ ในหมู่บ้านทีอ่ ยู่ไมไ่ กลจากโจย่ โคย่ มากนัก แต้ย้งและชาวเทง่ ไฮห่ ลายคน ได้หนีความยากจนในบ้านเกิด ของตนเองด้วยการลงเรือสาเภารอนแรมมาสยามประเทศในสมัยอยุธยาตอนปลาย ปัจจุบันท่ีเมืองแห่งนี้มี สุสานสมเดจ็ พระเจ้าตากสนิ มหาราชต้งั อยู่ ซง่ึ กช็ ว่ ยยนื ยันความเป็นเช้อื จนี ของพระเจ้ากรุงธนบุรไี ด้อีกทางหนง่ึ กล่าวได้ว่า ในส่วนของเน้ือหาท่ีกล่าวถึงบิดาของสมเด็จพระเจ้าตากสินที่กล่าวว่า “จีนมีช่ือไหยฮอง เป็นขุนพัฒน์นายอากร บ่อนเบ้ีย” น้ันมีนักวิชาการจานวนมากท่ีมีข้อคิดเห็นโต้แย้งไปในลักษณะที่ว่า ช่ือ “ไห ยฮอง” น้ันไม่น่าจะเปน็ ชือ่ เรยี กจรงิ ๆ หากแตน่ า่ จะเปน็ ชื่อทเ่ี รยี กซ้อนกับถ่ินกาเนิดของจีนผู้น้ีมากกว่ากล่าวคือ เรยี กกันว่า “จนี ไหยฮอง” ไปจนเพ้ียนไปเป็น “นายไหยฮอง” ในท่ีสุด การเป็นนายอากรบ่อนเบ้ียของพระราช บิดาของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีน้ีก็มีความน่าสนใจอยู่ไม่น้อย หากว่าจีนไหยฮองคนนี้เดินทางเข้ามากรุงศรี อยธุ ยาเพื่อหนคี วามแร้นแค้นอดอยากยากจน น่ันย่อมหมายความวา่ เป็นบคุ คลท่ถี อื ว่าเปน็ ผ้มู ีต้นทุนทางชีวิตต่า ในสมัยกรุงศรีอยุธยาชาวต่างชาติโดยเฉพาะชาวจีนที่เดินทางเข้ามาในกรุงศรีอยุธยาส่วนมากมาทางานรับจ้าง หรือใช้แรงงานเป็นหลัก หากว่าจีนไหยฮองผู้นี้มีความก้าวหน้าในชีวิตจนสามารถเป็นถึงขุนพัฒน์ นายอากร บอ่ นเบย้ี ไดใ้ นช่วงเวลาไมน่ านหรอื เพียงช่วั คนเดียว ย่อมตอ้ งมอี ะไรทีแ่ ปลก
สสุ านพระเจา้ ตากท่เี มอื งเถง่ ไห่ ในขณะที่นักประวัติศาสตร์อีกหลายคนพยายามสืบค้นถึงพระราชประวัติของพระองค์ในเชิงลึก ซ่ึง โดยทั่วไปกล่าวไว้ว่า พระยาตากคนนี้มีเชื้อสายจีน บิดาเป็นชาวจีนชื่อนาย “ไหยฮอง” แต่ชื่อของบิดาน้ี น่าสนใจว่าชื่อไหยฮองไม่น่าจะเป็นช่ือจริงเหตุเพราะช่ือว่าไหยฮองกลับมาเป็นชื่อของอาเภอเล็กๆ อาเภอหน่ึง ในจังหวดั แตจ้ วิ๋ ซ่งึ ออกสาเนยี งแตจ่ วิ๋ ว่า “ไฮฮ้ ง” หรอื จีนกลางวา่ “ไห่เฟิง” เป็นอาเภอลา่ งสุดและเล็กที่สุดของ ซัวเถาและทาให้เชื่อกันต่อมาว่าพระราชบิดาของพระองค์คงเกิดที่น่ี ซ่ึงในช่วงเวลานั้นอาจเป็นแผ่นดินที่ แรน้ แคน้ อยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ จนทาใหพ้ ระราชบิดาของพระองคต์ ้องเดินทางมายงั กรงุ ศรีอยุธยา คณุ พระสารสาสนพ์ ลขันธ์
อย่างไรก็ตามมีนักประวัติศาสตร์บางคนอย่างเช่น คุณพระสารสาสน์พลขันธ์ ซึ่งแต่งหนังสือ ภาษาอังกฤษเล่มหน่ึงชื่อ “My Country Thailand” เมื่อปี พ.ศ. 2485 ได้พยายามปฏิเสธความมีเชื้อสายจีน ของพระเจ้าตากสิน โดยกล่าวว่าพระเจ้าตากสินนั้นเป็นไทยแท้ไม่มีเลือดจีนปนเลย ซึ่งก็เป็นอีกแง่มุมหนึ่งทาง ประวตั ิศาสตร์ทีน่ า่ สนใจ ส่วนมารดาทชี่ อื่ ว่า นางนกเอีย้ งน้นั เห็นจะเป็นคนสยามชาวบา้ นแหลมเพชรบุรีกล่าวไดว้ า่ ไดว้ า่ นางเป็น ผมู้ ีบุญวาสนามากเพราะมีชีวติ อยู่จนถึงบุตรชาย (นายสนิ ) ได้ใช้ความสามารถกอบกู้เอกราชและขึ้นครองราชย์ สมบัติเป็นพระมหากษัตริย์อยู่ถึง 8 ปี นางได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นกรมพระเทพามาตย์ ซ่ึงปรากฏชัดอยู่ใน พระราชพงศาวดารแล้ว นางนกเอ้ียงหรือกรมพระเทพามาตย์น้ีสิ้นพระชนม์เมื่อ พ.ศ. 2317 ภายหลังสมเด็จ พระเจา้ ตากสินทรงครองราชย์ได้ 7 ปี พระวรกายของพระเจ้าตากสินนั้น ได้สัดส่วนเป็นสี่เหล่ียมดุจดั่งพุทธลักษณะของพระพุทธเจ้า คือ วัด ตงั้ แต่ปลายเท้าถึงสะดอื ไดส้ ่วนเท่ากบั วัดจากปลายสะดือถงึ ผมตกหนา้ ผาก และไดส้ ัดส่วนเท่ากับวัดจากราวนม ถึงปลายน้ิวมือข้างซ้ายกับข้างขวา สะดือเป็นหลุมลึกพอจุหมากสงทั้งเปลือกได้สองลูก ซ่ึงผิดจากสามัญชนคน ทงั้ หลาย เม่อื เวลาพระองคป์ ระสตู มิ ฟี ้าผ่าลงกลางเสาเรือน และต่อมาเม่ือคลอดได้สามวันก็เกิดเหตุอัศจรรย์ขึ้น อกี คร้ัง เมอ่ื พบว่ามงี เู หลือมขนาดใหญ่ตวั หนง่ึ เขา้ ไปนอนขดอยใู่ ต้กระด้งรอบกายที่เด็กชายสินนอนอยู่ กล่าวกัน ว่าตามธรรมเนียมของจนี น้ันหากเกิดเหตุดังกล่าวถือว่าเป็นเร่ืองไม่ดี จาเป็นต้องนาเด็กน้ันไปฝังเสียท้ังเป็น แต่ น่ันเป็นธรรมเนียมของชาวจีน แม้ว่าบิดาเป็นชาวจีนแต่วิธีการดังกล่าวก็ไม่สามารถกระทาได้ท่ีกรุงศรีอยุธยา หากยงั คงเชือ่ เร่ืองโชคลางดังกลา่ วอาจทาไดอ้ ย่างมาก เพียงแตน่ าเดก็ น้นั ไปทิ้งเสียในที่เงียบๆ น่าสังเกตว่าเร่ือง ท่ีมีงูเหลือมมาขดรอบเด็กโดยไม่ทาร้ายแต่อย่างใดเป็นเรื่องแปลก พอดีเช้าวันนั้น เจ้าพระยาจักรีออกมาใส่ บาตรพระสงฆ์แลว้ ทราบเรอ่ื ง ด้วยความสงสารจึงได้ออกปากขอเด็กคนน้ันมาเลี้ยงไว้เองในฐานะบุตรบุญธรรม ความจริงหากพระยาจักรีรับทราบขา่ วเรื่องที่จะนาเด็กคนนี้ไปท้ิงหรือทาการอย่างใดอย่างหนึ่งกับเด็ก ก็น่าจะ
ทราบถึงเหตแุ ละผลความจาเป็นทีจ่ ะต้องกระทาดังกลา่ วด้วยแล้วไยจึงรับเด็กคนน้ีไว้ อาจเป็นด้วยความสงสาร เมือ่ พระยาจกั รีรับบุตรของจีนผู้นี้ไว้เป็นบุตรบุญธรรมแล้วตัวเจ้าพระยาจักรีเองกลับเจริญรุ่งเรืองด้วยลาภและ ทรัพย์สมบัติเป็นอันมากและด้วยเหตุดังกล่าวข้างต้นพระยาจักรีจึงตั้งชื่อบุตรบุญธรรมของตนว่า “สิน” ซึ่ง หมายความถึงทรัพยส์ ินเงินทองท่ีไดม้ าพรอ้ มกับบุตรบญุ ธรรมและเป็นสิง่ มงคลกับตัวเองด้วย วดั โกษาวาส หรือวัดเชิงทา่ อยุธยา คร้ันเมื่อเด็กชายสินอายุได้ 9 ปี พระยาจักรีได้นาไปฝากไว้กับพระอาจารย์ทองดี มหาเถร ท่ีวัดโกษา วาสหรือวัดคลัง ในกรุงศรีอยุธยา อันเป็นประเพณีบ้านเมืองสมัยนั้น เพ่ือให้ได้รับการศึกษาศิลปะวิทยาการ ต่างๆ กล่าวกันว่า เด็กชายสินได้เรียนท้ังหนังสือขอมและหนังสือไทยจากพระอาจารย์ทองดีจนเจนจบแล้ว จึง เรยี นคมั ภีรพ์ ระไตรปฎิ ก ซ่งึ ถอื เป็นวทิ ยาการชนั้ สูง ช่วงเวลานน้ั บ้านเมอื งไม่ไดอ้ ดุ มสมบรู ณด์ ังอดตี รายได้สว่ นใหญ่มาจากการพนัน แม้กระทั่งจีนไหยฮอง บิดาตัวจริงของเด็กชายสินก็เป็นนายอากรบ่อนเบ้ีย ทาให้เด็กชายสินน้ันชื่นชอบการเล่นการพนันไปด้วย รา้ ยแรงถงึ ขนั้ ทเ่ี ด็กชายสินตงั้ ตวั เปน็ เจ้ามือบ่อนถัว่ ในวัดเสยี เอง เรื่องนี้รถู้ ึงพระอาจารยท์ องดีจึงได้ลงโทษเด็กชายสินด้วยการมัดมือคร่อมไว้กับบันไดท่าน้าของวัดเพื่อ เป็นการสั่งสอนและประจานความผิด จากนั้นพระอาจารย์ทองดีก็ไปสวดมนต์ในโบสถ์จนถึงพลบค่าจึงเลิก ประกอบกบั เป็นชว่ งเวลาทนี่ ้าขึน้ พอดี เมื่อพระอาจารย์นึกข้ึนได้ก็ตกใจรีบชวนพระลูกวัดไปที่ท่าน้า เพราะเชื่อ ว่าอย่างไรเสยี เด็กชายสินนน้ั กค็ งจะตายเสยี แลว้ แตเ่ ม่ือไปถึงบนั ไดท่าน้า กลับไม่พบเด็กชายสินแต่อย่างใด ทุก คนตา่ งชว่ ยกนั ค้นหา ทว่ากลับพบเด็กชายสินนั้นนอนอยู่ที่ริมตลิ่ง บันไดท่าน้าน้ันจะถอนขึ้นมาด้วยวิธีการใดก็ ตาม แตอ่ ภินหิ ารบรรพบุรุษก็กล่าวไว้ว่า บันไดนั้นถอนหลุดขึ้นมาด้วย “อานาจบุญญาธิการ” ที่เด็กชายสินจะ ไดเ้ ปน็ พระเจ้าแผ่นดนิ ตอ่ ไป
ภายหลังจากที่เดก็ ชายสินนน้ั ได้เขา้ พิธีโกนจกุ ตามประเพณี ในขณะทที่ าพธิ ีมงคลตดั จกุ อยู่นน้ั ไดม้ ผี ง้ึ หลวงมาจับเพดานเบญจาทรี่ ดนา้ และจับอยูถ่ ึง 7 วัน จงึ บินไปโดยทิศานุทิศเป็นศภุ นิมิตท่ีประหลาด แล้วพระ ยาจกั รกี ็ไดน้ าเดก็ ชายสินนน้ั ไปถวายตวั เป็นมหาดเลก็ ในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัวบรมโกศคู่กับหลวงนาย ศักด์ิ บตุ รของเจา้ พระยาจกั รีเอง ศาลสมเด็จพระเจา้ ตากสินที่วัดโกษาวาส สมเด็จพระเจา้ ตากสินบวชทว่ี ัดโกษาวาส อยธุ ยา เม่ือพระชนมายุยี่สิบเอ็ดปีได้ผนวชบวชเป็นพระภิกษุ ณ วัดโกษาวาส พร้อมกับนายทองด้วง (พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จุฬาโลก) บุตรชายของพระอกั ษรสนุ ทรศาสตร์ เสมียนตรากรมมหาดไทย ซ่ึง ในช่วงท่พี ระองค์ผนวชพร้อมกับนายทองด้วง(รัชกาลท่ีหน่ึง) มีเกร็ดประวัติศาสตร์เล่าขานสืบกันมาคือ ขณะที่ พระภิกษุท้ัง 2 องคอ์ อกบณิ ฑบาตพรอ้ มกัน ไดม้ ซี นิ แส หมอดูคนจีนทานายทายทักตามหลักนรลักษณ์ว่า “ทั้ง สองพระองคจ์ ะได้ข้นึ ครองราชย์เป็นกษัตรยิ ์” พระองค์ไดบ้ วชเพียงสามพรรษากไ็ ด้ลาออกจากการผนวชมารับ ราชการตามเดิมในตาแหน่งมหาดเล็กรายงาน ครั้นถึงรัชกาลสมเด็จพระที่น่ังสุริยามรินทร์ หรือ สมเด็จพระ เจา้ เอกทศั ซง่ึ พระองคไ์ มท่ รงพระปรชี าสามารถในการบริหารราชการแผ่นดินและการสงคราม เนื่องจากคราใด เกดิ ศึกสงครามสมเดจ็ พระเจา้ เอกทัศจะต้องไปทลู เชญิ ให้สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรทรงลาผนวชกลับมาบัญชาการ ศกึ เมือ่ บ้านเมอื งผา่ นพ้นวิกฤตเสร็จศกึ พระเจา้ เอกทศั ก็ขอพระราชอานาจคืนทาให้สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรต้อง เสดจ็ ไปทรงผนวช พระเจ้าเอกทศั ทรงโปรดใหพ้ ระเจา้ ตากเล่อื นยศถาบรรดาศักดิ์ข้ึนเป็น “หลวงยกกระบัตร” ไปรับราชการประจาที่เมอื งตากและเมอ่ื เจา้ เมอื งตากเดมิ ได้ถึงแก่กรรมลง พระองค์ก็ได้เล่ือนข้ึนเป็นพระยาตาก แทน และดว้ ยความสามารถในการรบของพระองค์ทาใหไ้ ด้รับตาแหนง่ พระยาวชิรปราการ
ไทยเสียเอกราชแก่พม่า ดา่ นเจดียส์ ามองค์ ในปีพุทธศักราช 2307 พระเจ้ามังระ แห่งราชวงศ์คองบอง มีพระราชบัญชาให้มังมหานรธา และเนเมียวสีหบดีจัดเตรียมกองทัพเพ่ือจะยกมาตีกรุงศรีอยุธยาโดยตีหัวเมืองสาคัญของกรุงศรีอยุธยาเพ่ือตัด กาลังเสริมที่จะเข้ามาช่วยอยุธยาโดย มังมหานรธาแม่ทัพใหญ่ ตีเมืองทวาย ชุมพร เพชรบุรี ราชบุรี และ กาญจนบุรี และ เนเมียวสีหบดีตีได้หัวเมืองเหนืออาณาจักรล้านนาล้านช้างเชียงใหม่ ลาปาง สวรรคโลก สุโขทัย ตาก กาแพงเพชร พิษณุโลก และนครสวรรค์ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าเอกทัศไม่ได้เตรียมรับศึกจึงไม่ได้ส่ง กองทัพไปช่วยหัวเมืองต่าง ๆ จึงถูกพม่าตีได้โดยง่ายเน่ืองจากการว่างเว้นศึกมานานของไทยทาให้การทหาร และการป้องกันประเทศไม่เข้มแข็ง ทั้งยังเกิดความขัดแย้งทางการเมืองในหมู่พระราชวงศ์ ประการสาคัญที่ ไทยพ่ายแพ้กับพม่า คือ พม่าเปล่ียนยุทธวิธีการสงครามกับไทยใหม่ จากเดิมกรีฑาทัพทาสงครามกับกรุงศรี อยุธยารู้แพ้ชนะโดยตรง โดยพม่าเดินทัพเขา้ ทางด่านเจดยี ์สามองคเ์ พียงทางเดียว แต่ในคราน้ีพระเจ้ามังระดาเนินการศึกอย่างลึกซ้ึง ตีหัวเมืองต่างๆ ของไทยไม่ให้มาช่วยเหลือกรุงศรี อยธุ ยาได้ ทัง้ เตรยี มการทจ่ี ะล้อมกรุงศรีอยุธยาเป็นเวลานานไม่รีบร้อน เตรียมการรับปัญหาฤดูน้าหลากที่จะ สร้างปัญหาการศึกในทุกครั้งที่กรีฑาทัพมาตีกรุงศรีอยุธยา โดยเตรียมเสบียงและพื้นที่พ้นน้าไว้อย่างพร้อม เพรียง มุ่งหมายเพียงตีกรุงศรอยุธยาให้แตกในคราคร้ังนี้ ในเดือนตุลาคม พุทธศักราช 2509 มังมหานรธาแม่ ทัพใหญ่พม่าป่วยและถึงแก่กรรมลง การศึกของพม่าท้ังมวลจึงตกอยู่ในการบัญชาการรบของเนเมียวสีหบดี ชาวกรุงศรีอยธุ ยาจึงถูกล้อมไวภ้ ายในพระนคร
อยุธยาเสยี เอกราชแกพ่ ม่า จากการที่พมา่ ลอ้ มกรุงศรีอยุธยาเปน็ เวลานานประมาณ 1 ปี 2 เดือน คร้ันถึงวันอังคาร เดือน 5 ข้ึน 9 ค่า ปีกุน จุลศักราช 1129 ตรงกับวันท่ี 7 เมษายน พุทธศักราช 2310 เพลาค่า 8 นาฬิกา (2 ทุ่ม) กรุงศรี อยุธยาเสียกับพม่า เนเมียวสีหบดีใช้เวลาในการเก็บของมีค่าจากอยุธยาและรวบรวมเชลยที่จับได้อยู่ประมาณ สบิ วันก็ยกทัพกลับพม่า ได้มอบหมายให้ สุก้ีนายกอง คุมพลสามพันคน ตั้งทัพท่ีค่ายโพธิ์ และให้นายทองอิน คนไทยที่สวามิภกั ด์พิ ม่ารวบรวมผ้คู นตั้งค่ายทบี่ ริเวณเมอื งธนบรุ ี วิหารพระมงคลบพิตร
เมื่อกรงุ ศรอี ยุธยาแตกสมเดจ็ พระเจ้าเอกทัศได้หนีไปซ่อนตัวท่ีบ้านจิกริมวัดสังฆาวาสรงทรงอดอาหาร อยู่ประมาณสิบกว่าวันก็เสด็จสวรรคต สุกี้นายกองได้อันเชิญพระบรมศพมาฝังไว้ท่ีโคกพระเมรุตรงหน้าพระ วิหารพระมงคลบพิตร ส่วนสมเด็จพระเจ้าอุทุมพรที่ทรงผนวชได้ถูกคุมไว้ที่ค่ายโพธ์ิสามต้นและต่อมาได้ถูกคุม ตวั ไปกรุงอังวะพรอ้ มบรรดาเจา้ นายขุนนางและประชาชนจานวนมาก พระเจา้ ตากตฝี ่าวงล้อมกองทพั พม่าออกจากกรุงศรีอยธุ ยา พระเจ้าตากตีฝา่ วงล้อมของพมา่ เตรียมการกู้เอกราช ก่อนที่กรุงศรีอยุธยาแตก พระยาวชิรปราการหรือพระเจ้าตากเกิดการท้อแท้ในการศึกสงครามกับ พม่าในศึกคราคร้ังนี้ เพราะพระเจ้าเอกทัศหาได้สนใจในผลแห่งการศึกสงครามไม่ อาทิก่อนยิงปืนใหญ่เพื่อ ทาลายกาลังข้าศึกทุกครั้งต้องได้รับพระราชานุญาตจากพระเจ้าบรมโกศเสียก่อน เพ่ือให้พระสนมนางในไม่ ตกใจเอาสาลีอุดหูได้ทัน จากการกระทาอันไม่ควรอย่างหลากหลายในการศึกของพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศส่งผล ให้บรรดาแม่ทัพนายกองหมดกาลังใจในการศึก โดยเฉพาะพระเจ้าตากเห็นว่ากรุงศรีอยุธยาคงไม่สามารถ รักษาเอกราชไวไ้ ดแ้ น่นอนดังนั้น ในวันเสาร์ เดอื นย่ี ขนึ้ 9 ค่า ปีจอ อัฐศก จุลศักราช 1128 ตรงกับคืนวันที่ 3 มกราคม พุทธศักราช 2309 พระเจ้าตากในขณะพระชนมายุ 32 พรรษา ได้รวบรวมพล 500 คน ท่ีค่ายทหาร วดั พชิ ยั ตฝี ่าวงลอ้ มพมา่ ออกจากกรงุ ศรีอยธุ ยาไปทางทศิ ตะวนั ออกเฉียงใต้ มุ่งหน้าไปทางตะวันออก เหตุท่ีมา ทางด้านตะวันออกเพราะเป็นเขตที่ปลอดจากการถูกคุกคามของพม่าผู้คนยังทามาหากินอย่างปกติสุข
เส้นทางเดินทัพของพระเจา้ ตากหลังออกจากอยุธยา พระเจา้ ตากไดน้ ากาลังพลฝ่าดา่ นทพั พมา่ จากอยุธยา เดนิ ทัพไปเมืองนครนายก เมืองปราจีนบุรี และ พม่าไดต้ ามมาต่อตีหลายคร้ัง โดยคร้ังแรกพมา่ ตามมาทันท่บี า้ นโพธ์ิสงั หารแต่ถูกกองกาลงั พระเจา้ ตากตแี ตก กลบั ไป คร้งั ท่สี องทีบ่ า้ นพรานนก การศึกครั้งน้ดี ้วยความกล้าหาญของพระองคแ์ ละการตดั สนิ ใจในการศึก อย่างเยย่ี มยอดทาให้ได้ชัยชนะจากพม่า ทาให้คนไทยที่ไดร้ บั ข่าวสารมคี วามยนิ ดีและเข้าสวามิภักดิร์ ่วมการกู้ เอกราชกบั พระเจ้าตากมากย่ิงขน้ึ ศาลเจา้ แม่โพธิ์สาวหาญ ศรมี หาโพธ์ิ ปราจีนบรุ ี
ครั้งทสี่ ามพมา่ ตามมาทันทด่ี งศรีมหาโพธิ์ เขตเมืองปราจีนบุรี ซ่ึงไดต้ านานหญงิ กล้าข้ึน ณ ทแี่ หง่ นี้ โดยมหี ญงิ สาวชาวบ้านศรมี หาโพธ์ิ ได้อาสาระดมชาวบ้านมาช่วยพระเจ้าตากส้รู บกบั พม่าจนตัวตายในที่รบ บริเวณนน้ั จึงได้รบั การเรยี กขานวา่ “บ้านโพสาวหาญ” หรือ “บา้ นโพสังหาร” ตราบจนปัจจุบันนี้ ถงึ แมท้ หาร ของพระเจา้ ตากมจี านวนนอ้ ยกว่ามากแต่ด้วยพระปรชี าสามารถของพระองค์ทาให้ได้รบั ชยั ชนะในที่สุด นบั แต่ น้ันมาพม่าก็ไมไ่ ดต้ ามราวีพระเจ้าตากอีกต่อไป จากเมอื งปราจนี บุรี ผา่ นฉะเชงิ เทรา แลว้ วกลงใต้เดนิ ทางมา ตามฝ่ังทะเลอา่ วไทยทางทศิ ตะวนั ออก ผา่ นเมืองปลาสร้อย(ชลบุรี) บา้ นนาเกลอื บางละมงุ และพักทัพที่ ชายหาดรมิ ทะเล ซึ่งสถานที่นน้ั ไดร้ ับการเรยี กขานว่า “ทัพพระยา” ซง่ึ สนั นิษฐานวา่ คือที่ “พัทยา” นนั่ เอง พระองค์ได้เดินทัพเรื่อยมาถงึ เมอื งระยอง ขุนรามหมื่นซ่องได้ตั้งตัวเป็นใหญท่ ่เี มืองระยอง กรมการเมืองระยอง คดิ จับตวั พระเจ้าตากแต่พระองคร์ เู้ ทา่ ทันเสียก่อนจึงใช้กลอบุ ายเอาชนะขุนรามหม่ืนซ่องตเี มอื งระยองได้ พวก บรวิ ารจึงเรยี กพระองค์ว่า “เจา้ ตาก” ตง้ั แตน่ ั้นมา สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ ตเี มืองจันทบรุ ี ในวันเสาร์ท่ี 14 มิถุนายน พ.ศ.2310 ถึงเวลา19.00 น.พระเจ้าตากจึงได้สั่งให้ทหารไทยและจีนลอบ เข้าเมอื งจันท์ไปอยู่ตามสถานที่ที่ได้วางแผนไว้แล้ว ให้คอยฟังสัญญาณเข้าตีเมืองพร้อมกัน จึงให้โห่ขึ้นให้พวก อ่ืนรู้ เมอ่ื เวลา 03.00 น. เจ้าตากกข็ ้ึนคอชา้ งพงั คีรีบญั ชร ทัง้ ใหท้ หารทุบหมอ้ ข้าวหม้อแกงท้ิงโดยต้ังม่ันในชัย ชนะที่จะไปหาข้าวปลาอาหารม้ือเชา้ กินเอาในเมืองจันท์ เม่ือทัพพร้อมเจ้าตากสั่งให้ยิงปืนสัญญาณพร้อมกับ บอกพวกทหารเข้าตีเมืองจันท์พร้อมกันส่วนพระเจ้าตากก็ไสช้างเข้าพังประตูเมืองจนทาให้บานประตูเมืองพัง ลง ทหารเจ้าตากจึงกรูกันเข้าเมืองได้ พวกชาวเมืองต่างพากันละทิ้งหน้าที่หนีไป ส่วนพระยาจันทบุรีก็พา ครอบครวั ลงเรือหนีไปยงั เมืองบันทายมาศ พระเจ้าตากตเี มอื งจันทบรุ ีได้ เม่อื วันอาทิตย์ เดือน 7 แรม 3 ค่า จุล ศักราช 1129 ปีกุน นพศก เพลา 3 ยามเศษ ตรงกับวันท่ี 15 มิถุนายน พ.ศ. 2310 เวลาประมาณ 03.00 น. หลงั จากเสียกรงุ ศรีอยธุ ยาแล้ว 2 เดือน
หลังจากนนั้ พระเจา้ ตากไดเ้ คลอ่ื นทพั ไปยงั เมืองตราด พวกกรมการและราษฎรเกิดความเกรงกลัวต่าง พากันมาอ่อนน้อมโดยดี ที่ปากน้าเมืองตราดมีเรือสาเภาจีนมาทอดทุ่นอยู่หลายลา เจ้าตากได้เรียกนายเรือมา พบ แต่พวกจีนนายเรือขัดขืนต่อสู้ เจ้าตากจึงนากองเรือไปล้อมสาเภาจีนเหล่าน้ัน ได้ทาการต่อสู้กันอยู่ ประมาณคร่งึ วันเจ้าตากกย็ ึดสาเภาจีนไว้ได้หมด ได้ทรัพย์สินส่ิงของมาเป็นจานวนมาก จีนเจียม ผู้เป็นใหญ่ใน ประชาคมคนจีน ไดย้ อมสวามภิ กั ด์ิ และนาลูกสาวมาถวายให้คนหน่ึง หัวเมืองตะวันออกจึงตกเป็นของพระเจ้า ตากทงั้ หมด พระเจา้ ตากกู้เอกราชให้ชาติไทย พระเจา้ ตากกรีฑาทัพเรอื จากจนั ทบรุ ตี ีกรุงธนบุรี ครั้นสิ้นฤดูฝนปลายเดือนตุลาคม พุทธศักราช 2310 พระเจ้าตาก พร้อมไพร่พลประมาณ 5,000 คน เดินทางโดยเรือรบท่ตี อ่ ไวจ้ านวน 100 ลา ออกจากเมืองจันทบุรีถึงปากน้าเจ้าพระยาในเดือน 12 ข้ึนบกที่ป้อม วชิ ัยประสทิ ธ์ ตีได้เมืองธนบุรี และสามารถจับตวั นายทองอินได้แลว้ นาไปประหารชีวิต พระเจา้ ตากยกพลตีคา่ ยคา่ ยโพธิ์สามตน้ ของพมา่
ภาพจิตรกรรมภายในตาหนักเก๋งพระราชวังเดมิ สมเดจ็ พระเจ้าตากสินทาการรบค่ายโพธิส์ ามต้น พระเจ้าตากได้ยกพลไปอยุธยาตีค่ายโพธ์ิสามต้นของพม่าแตก สุก้ีนายกองตายในที่รบ ตรงกับวัน ศุกร์ เดือน 12 ข้ึน 15 ค่า ปีกุน นพศก จ.ศ. 1129 หรือวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2310 กรุงศรีอยุธยาได้ กลับมาเป็นของไทยอีกครั้ง นับจากวันที่ 7 เมษายน 2310 ซึ่งกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าเป็นระยะเวลาไม่ถึงปี (ประมาณ 7 เดือน) อยุธยาหลังเสยี กรุงแก่พม่า
หลังจากการกู้เอกราชสาเร็จพระเจ้าตากทรงมีบัญชาให้ขุดพระบรมศพสมเด็จพระเจ้าเอกทัศเพื่อทา พระราชพิธีถวายพระเพลิงตามสมควรแก่บ้านเมืองในขณะน้ัน และเม่ือทรงสารวจตรวจตราอยุธยาแล้วก็ทรง เห็นว่ากรุงศรีอยุธยาถูกพม่าทาลายเสียหายยับเยิน บ้านเมืองชารุดทรุดโทรม กาลังผู้คนของพระองค์ไม่ เพยี งพอในการบรู ณะกรุงศรอี ยุธยาใหก้ ลับมาดงั เดมิ อีกท้ังกรงุ ศรอี ยุธยาเป็นเมืองท่ีขา้ ศึกสามารถยกทัพมาตีได้ ทงั้ ทางบกและทางน้า เร่ืองเล่าบางตานานกล่าวว่าพระเจ้าตากทรงใช้จิตวิทยา โดยเล่าว่าทรงพระสุบินว่าพระ เจ้าแผ่นดินองค์ก่อน ๆ ของกรุงศรีอยุธยาทรงมาขับไล่พระองค์ไม่ให้มาอาศัยประทับท่ีอยุธยา เม่ือกรุงศรี อยธุ ยาไมส่ มควรเป็นราชธานจี งึ ทรงตดั สินพระทัยเลือกกรุงธนบุรีเป็นราชธานีแทนเพราะกรุงธนบุรีมีขนาดเล็ก อยใู่ กล้ปากน้ามีลานา้ ลกึ ใกล้ทะเล หากกองทัพของข้าศกึ ยกมาตีกรุงธนบุรมี ีไพร่พลเกนิ กว่าพระองค์จะสู้ศึกได้ก็ อาจยกทัพหนไี ปทางเรอื ต้ังมนั่ ในหวั เมอื งอนื่ ตอ่ ไป และประโยชนข์ องกรงุ ธนบุรที ่ีต้ังติดปากน้าคือสะดวกในการ ติดต่อค้าขายกับต่างประเทศประการสาคัญกาลังทัพของพระองค์เพียงพอในการรักษาเมืองไว้ได้ ทั้งไม่ห่าง จากกรุงศรีอยุธยามากนกั พระเจา้ ตากปราบดาภเิ ษกขนึ้ ครองราชย์ พระเจา้ ตากปราบดาภิเษก พระเจา้ ตากได้ตั้งกรุงธนบุรีเป็นราชธานีและประกอบพิธีปราบดาภิเษกเป็นกษัตริย์ ในวันอังคาร แรม 4 ค่า เดือนอ้าย ปีกุน จุลศักราช 1129 ตรงกับวันที่ 28 ธันวาคม พุทธศักราช 2310 ขณะมีพระชนม์ได้ 33 พรรษา ทรงพระนามว่า “สมเด็จพระบรมราชาที่ 4” หรือ “สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี” ประชาชนทั่วไปเรียก พระนามว่า “สมเด็จพระเจ้าตากสิน” หรือพระเจ้าตากสิน” ชาวจีนเรียกท่านว่า “แต้อ๊วง” แปลว่า ”พระเจ้า แผน่ ดินตระกูลแต้”
พระอัครมเหสี พระมเหสี เจ้าจอมมารดา และเจา้ จอม ในสมเด็จพระเจา้ ตากสินมหาราช มีรายพระนามดังนี้ พระอัครมเหสี สมเด็จพระอัครมเหษี กรมหลวงบาทบรจิ า (สอน) กรมบริจาภักดีสุดารักษ์ พระมเหสี กรมบรจิ าภกั ดศี รสี ุดารักษ์ (พระนามเดิมวา่ เจา้ หญิงฉิม พระธดิ าในพระเจ้า นครศรีธรรมราช) เจ้าจอมมารดาและเจา้ จอม - เจ้าจอมมารดาฉมิ ใหญ่ (สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ เจ้าฟ้าฉมิ ใหญ่ พระราชธิดาใน พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช) - เจ้าจอมมารดาเจ้าหญิงปราง (พระธดิ าในพระเจา้ นครศรีธรรมราช) - เจา้ จอมมารดาเจา้ หญงิ จวน (พระธิดาในพระเจ้านครศรธี รรมราช) - เจา้ จอมมารดาอาพนั (ธดิ าของอปุ ราชจันทรแ์ หง่ เมืองนครศรธี รรมราช) - เจ้าจอมมารดาทิม (ธิดาของท้าวทรงกันดารทองมอญ) - เจา้ จอมมารดาเงิน - เจา้ จอมหม่อมเจ้าบุษบา (พระธดิ าในกรมหมืน่ จติ รสุนทร) - เจ้าจอมหม่อมเจา้ อบุ ล (พระธิดาในกรมหม่นื เทพพิพธิ ) - เจ้าจอมพระองคเ์ จ้าปทมุ (พระราชธดิ าในสมเดจ็ พระเจา้ อุทุมพร) - เจ้าจอมหม่อมเจ้าฉิม (พระธดิ าในเจ้าฟา้ จีด) พระราชโอรส 21 พระองค์ พระราชธดิ า 9 พระองค์ รวมทั้งสนิ้ 30 พระองค์ ในสมเด็จพระเจ้าตาก สนิ มหาราชมีรายพระนาม ดังน้ี - สมเด็จพระมหาอุปราช เจา้ ฟ้ากรมขุนอินทรพทิ ักษ์ (จุ้ย) ประสตู ิในสมเด็จพระอคั ร มเหสี กรมหลวงบาทบรจิ า
- สมเดจ็ เจ้าฟา้ ชายน้อย ประสูตใิ นสมเด็จพระอัครมเหสี กรมหลวงบาทบริจาริกา - สมเดจ็ เจ้าฟ้าชายทัศพงศ์ ประสูติในกรมบรจิ าภกั ดศี รสี ุดารักษ์ (เจ้าหญงิ ฉิม) - สมเดจ็ เจ้าฟา้ ชายนเรนทร ราชกมุ าร ประสตู ใิ นกรมบริจาภักดศี รสี ดุ ารกั ษ์ - สมเดจ็ เจ้าฟา้ ชายทัศไภย ประสตู ิในกรมบรจิ าภักดีศรสี ุดารักษ์ - สมเดจ็ เจ้าฟา้ ชายสพุ นั ธวุ งศ์ กรมขนุ กษัตรานุชติ (หรอื เจา้ ฟ้าอภัยธเิ บศภ์ หรือ เจ้า ฟ้าเหมน็ ) ประสตู ิในสมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ เจ้าฟ้าฉิมใหญ่ - สมเดจ็ เจ้าฟ้าหญิงปญั จปาปี ประสตู ิในกรมบริจาภักดศี รสี ุดารักษ์ - สมเด็จเจา้ ฟ้าชายศลิ า (ไม่ทราบนามพระมารดา) - สมเด็จเจา้ ฟ้าหญิงโกมล (ไมท่ ราบนามพระมารดา) - สมเดจ็ เจา้ ฟ้าหญิงบปุ ผา (ไม่ทราบนามพระมารดา) - สมเด็จเจา้ ฟา้ ชายสิงหรา (ไม่ทราบนามพระมารดา) - สมเด็จเจ้าฟา้ ชายเลก็ (แผ่นดินไหว) ประสตู ิในสมเดจ็ พระอัครมเหสเี อกกรมหลวง บาทบริจาริกา(สอน) - พระองคเ์ จา้ หญงิ สาลีวรรณ ประสตู ใิ นเจา้ จอมมารดาอาพัน - พระองคเ์ จ้าชายอรนกิ า ประสูติในเจ้าจอมมารดาอาพนั จันทโรจวงศ์ - พระองค์เจา้ ชายอมั พวนั ประสูตใิ นเจ้าจอมมารดาทิมธิดาในทา้ วทรงกันดารทอง มอญ - พระองค์เจา้ หญงิ ประไพพักตร์ ประสตู ใิ นเจ้าจอมมารดาเงิน - พระองคเ์ จา้ หญิงสุมาลี (ไมท่ ราบนามพระมารดา) - พระองคเ์ จ้าชายธารง (ไม่ทราบนามพระมารดา) - พระองค์เจา้ ชายละมัง่ (ไม่ทราบนามพระมารดา) - พระองคเ์ จ้าหญิงจามจุรี (ไม่ทราบนามพระมารดา) - พระองคเ์ จา้ หญงิ สังวาลย์ (ไม่ทราบนามพระมารดา) - พระองคเ์ จา้ ชายคนั ธวงศ์ (ไม่ทราบนามพระมารดา) - พระองคเ์ จ้าชายเมฆนิ ทร์ (ไม่ทราบนามพระมารดา) - พระองคเ์ จา้ อสิ นิ ธร (ไม่ทราบนามพระมารดา) - พระองค์เจ้าชายบัว (ไมท่ ราบนามพระมารดา) - พระองคเ์ จ้าชาย (ไม่ปรากฏพระนาม ไม่ทราบนามพระมารดา) - พระองคเ์ จ้าชายหนูแดง พระองค์เจ้าชายหนูแดง ทรงประสตู ใิ นเจ้าจอมมารดา อาพนั จนั ทโรจนว์ งศ์ ธดิ าเจา้ อปุ ราชจนั ทร์เมืองนครศรธี รรมราช - พระองคเ์ จา้ หญงิ สดุ ชาตรี (ไม่ทราบนามพระมารดา) - พระองค์เจา้ น้อย เจา้ พระยานครศรธี รรมราช(น้อย ณ นคร) ประสตู ิในเจ้าจอม มารดาเจ้าหญิงปราง พระธดิ าของพระเจา้ นครศรีธรรมราช (หน)ู (พระขนิษฐาใน กรมบริจาภกั ดศี รีสดุ ารกั ษ์) - พระองคเ์ จ้าทองอิน เจา้ พระยานครราชสมี า(ทองอนิ ท์ ณ ราชสีมา) ประสตู ใิ นเจา้ จอมมารดาเจา้ หญงิ จวน พระธิดาของพระเจา้ นครศรธี รรมราช (หนู)
หลังจากปราบดาภิเษกและสถาปนากรุงธนบุรีแล้ว สมเด็จพระเจ้าตากสินทรงต้ังข้าราชการออกไป รวบรวมผู้คนตั้งบ้านเมืองไว้เป็นกาลังสาหรับเตรียมการสงคราม รวม 11 หัวเมือง ได้แก่ อยุธยา ลพบุรี อ่างทอง ฉะเชงิ เทรา ระยอง จนั ทบรุ ี ตราด นครชยั ศรี สมทุ รสงคราม ราชบรุ ี และเพชรบรุ ี การศกึ สงครามในรัชสมัยสมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ เจา้ พระยามหากษัตริย์ศกึ เจา้ พระยาสุรสหี ์พษิ ณวุ าธริ าช พระยาพชิ ยั (รชั กาลท่ี 1) (สมเด็จพระบวรราชเจา้ มหาสรุ สิงหนาท) สมเด็จพระเจ้าตากสนิ ทรงมีทหารเอกร่วมรบเป็นกาลังสาคัญ 3 ท่าน คือ 1.เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก (นายทองดว้ ง) 2.เจ้าพระยาสุรสีห์พิษณุวาธิราช (นายบุญมา น้องชายนายทองด้วง) 3. พระยาพิชัย(ดาบหัก) ท้งั 3 ท่าน ไดส้ ร้างวรี กรรมชอ่ื เสียงในการศกึ สงครามในสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินไว้หลายคร้งั ปี พุทธศักราช 2310 พระเจ้าอังวะเม่ือทราบข่าวศึกท่ีสมเด็จพระเจ้าตากสินตีค่ายโพธิ์สามต้น ได้มี พระราชบัญชาให้ “แมงกี้มารญ่า” เจ้าเมืองทวาย กรีฑาทัพเข้ามาสังเกตการณ์ แต่ถูกทัพของสมเด็จพระเจ้า ตากสนิ ตแี ตกที่ “บางกุ้ง” ซ่งึ อยูร่ ะหวา่ งเขตแดนเมืองสมทุ รสงครามและราชบุรี ปี พุทธศักราช 2311 สมเด็จพระเจ้าตากสินนาทัพเรือไปตี “ชุมนุมเจ้าพิษณุโลก” แต่ทรงได้รับ บาดเจ็บในการศึกโดยถูกยิงที่พระชงฆ์ (แข้ง) จึงต้องถอยทัพกลับมากรุงธนบุรี และเม่ือรักษาพระองค์หายดี แล้ว ได้มีพระราชบัญชาให้พระมหามนตรี(บุญมา)และ พระราชวรินทร์ (ทองด้วง) เป็นแม่ทัพยกไปตี “ชุมนุม เจ้าพิมาย” ที่เมืองนครราชสีมา (โคราช) และสามารถตีชุมนุมเจ้าพิมายและจับตัว “กรมหม่ืนเทพพิพิธ” หัวหน้าชุมนุมเจา้ พิมายได้ และสมเด็จพระเจ้าตากสินรับส่ังให้นาตัวไปประหารชีวิตเพราะแสดงกิริยากระด้าง กระเดือ่ ง การศึกครงั้ นี้กองทัพไทยยังตไี ดเ้ มืองเสยี มราฐอีกด้วย จากการชนะศกึ คร้ังนี้สมเด็จพระเจ้าตากสินได้ ปูนบาเหน็จแม่ทัพท่ีมีความสามารถ คือ พระมหามนตรี(บุญมา) ได้เลื่อนบรรดาศักดิ์เป็นพระยาอนุชิตราชา พระราชวรนิ ทร์(ทองด้วง) ได้เลือ่ นบรรดาศักดเิ์ ปน็ พระยาอภยั รณฤทธ์ิ พระพชิ ัย ได้เลื่อนเป็น พระยาพิชยั ปี พุทธศักราช 2312 สมเด็จพระเจ้าตากสินมีบัญชาให้ พระยาอภัยรณฤทธ์ (ทองด้วง) กับพระยา อนุชิตราชา (บุญมา)เป็นแม่ทัพไปตีเขมร และตีได้เมืองพระตะบองและเสียมราฐ และปลายปี พุทธศักราช 2312 สมเด็จพระเจ้าตากสินทรงนาทพั ทง้ั ทางบกและทางเรือไปตี “ชมุ นมุ เจา้ นครศรีธรรมราช” ได้สาเร็จ เจ้า เมืองนครศรีธรรมราชอ่อนนอ้ มแตโ่ ดยดี จึงทรงรบั ตวั ไวท้ าราชการในกรุงธนบรุ ี ปี พุทธศักราช 2313 เดือนเมษายน สมเด็จพระเจ้าตากสินโปรดเกล้าฯให้พระยาอนุชิตราชา(บุญมา) เลื่อนข้ึนเปน็ พระยายมราชแทนคนเก่าที่ถึงแก่กรรม โดยให้กรฑี าทัพไปกับพระยาอภัยรณฤทธ์ิ(ทองด้วง)ผู้พี่ ยก
ทพั ไปปราบชุมนมุ เจ้าพระฝาง ส่วนสมเด็จพระเจ้าตากสินเสด็จเป็นทัพหลวง ในคร้ังน้ีสามารถตีเมืองพิษณุโลก และตีชุมนุมเจ้าฝางได้สาเร็จ แต่เจ้าพระฝางหนีรอดไปได้ เม่ือกลับถึงธนบุรี พระองค์ได้ปูนบาเหน็จความดี ความชอบให้แม่ทัพท้ังสองโดยแต่งตั้งพระยายมราช(บุญมา) ได้เลื่อนเป็นระยาสุรสีห์(พระยาสุรสีห์พิษณุวาธิ ราช)เป็นเจ้าเมืองพิษณุโลก ส่วนพระยารณฤทธ์ิ(ทองด้วง) ผู้พ่ีได้เลื่อนข้ึนเป็นพระยายมราชแทน และได้เล่ือน เปน็ เจ้าพระยาจกั รีในเวลาต่อมา ปี พุทธศกั ราช 2316 กองทพั พมา่ ลงมาตเี มอื งพิชยั เป็นครงั้ ท่ี 2 กาเนิดวีรกรรมของ พระยาพชิ ัย เจา้ เมือง ต่อสู้กบั พม่าจนดาบทใ่ี ช้ในการรบหกั ท่านจงึ ไดร้ บั สมญาวา่ “พระยาพิชยั ดาบหัก” พระยาพิชัยดาบหักได้สร้างมรดกอันควรแก่การยกย่องสรรเสริญให้สืบทอดมาถึงปัจจุบันได้แก่ ความ ซื่อสัตย์สุจริต ความกตัญญูกตเวที ความเด็ดเด่ียวเฉียบขาดกล้าหาญ รวมถึงความรักชาติ ต้องการให้ชาติ เจริญรุ่งเรืองมนั่ คงตอ่ ไป การศกึ กับพม่าทบี่ างแกว้ ราชบุรี
ในปี พ.ศ.2317 พระเจา้ ตากสนิ ทาศึกสงครามกับพม่า ที่บางแก้ว เมืองราชบุรี ซ่ึงการศึกคร้ังนี้กองทัพ พระเจ้าตากสามารถล้อมจับเชลยศึกพม่าได้จานวนมาก ยังผลให้คนไทยมีขวัญกล้าแข็ง หายหวาดหวั่นเกรง กลัวพมา่ ไดโ้ ดยเด็ดขาด นับเปน็ สงครามทีส่ ามารถบารงุ ขวญั ของคนไทยได้สาคัญยิ่งครั้งหน่ึง อะแซหวนุ่ กีข้ อดูตัวเจา้ พระยาจักรี ในปี พ.ศ. 2318 เกิดสงครามท่ีสาคัญท่ีสุดในสมัยกรุงธนบุรี คือศึกอะแซหวุ่นกี้ตีหัวเมืองฝ่ายเหนือ เป็นศกึ ใหญ่ท่ีสุด โดยพม่ากรีฑาพลถึง 35,000 คน ส่วนกองทัพไทยมีกาลังพลเพียง 20,000 คน โดยท้ังสอง ฝา่ ยได้ทาการศึกกันที่เมืองพิษณุโลก โดยฝ่ายไทยมีแม่ทัพคือเจ้าพระยาจักรี และ เจ้าพระยาสุรสีห์ คอยรักษา เมืองพษิ ณโุ ลก อะแซหวนุ่ กีผ้ ู้นาทัพพม่าเข้าโจมตีหัวเมอื งฝ่ายเหนอื หลายคร้ัง แต่ยังตีไม่สาเร็จ ทาให้อะแซหวุ่น ก้ีชอบใจประทับใจในฝีมือการรบของเจ้าพระยาจักรีแม่ทัพไทยจนต้อง “ขอดูตัว” ซ่ึงเหตุการณ์อะแซหวุ่นก้ี ขอดตู วั เจา้ พระยาจักรี เร่มิ ปรากฏครั้งแรกในพระราชพงศาวดาร ฉบับสมเดจ็ พระพนรัตน์ และเหตุการณ์ครั้ง นกี้ ไ็ ดถ้ ูกเล่าขานมาจนถงึ ปจั จุบัน ดังนี้ “ครั้นรุง่ ขึ้นเจา้ พระยาจกั รขี ่มี า้ กั้นสัปทน ยกพลทหารออกไปยืนม้าให้อ แซหวุ่นกี้ดูตัว อแซหวุ่นกี้ถามว่า อายุเท่าใด บอกไปว่าอายุได้สามสิบเศษ จึงถามถึงอายุอแซหวุ่นก้ีบ้าง ล่าม บอกว่าอายุได้เจ็ดสิบสองปี แล้วอแซหวุ่นกี้พิจารณาดูรูปดูลักษณะเจ้าพระยาจักรี แล้วสรรเสริญว่า รูปก็งาม ฝมี ือก็เขม้ แขง็ สู้รบเราผู้เป็นผู้เฒ่าได้ จงอุตส่าห์รักษาตัวไว้ภายหน้าจะได้เป็นกษัตริย์เป็นแท้ แล้วให้เอาเครื่อง ม้าทองสารับหนงึ่ กับสกั หลาดพับหนึง่ ดินสอแกว้ สองก้อน น้ามนั ดนิ สองหม้อมาใหเ้ จ้าพระยาจกั รี…” เม่ือพระเจ้าตากทราบข่าวศึกได้ยกทัพไปช่วย แต่เนื่องจากทัพไทยมีไพร่พลน้อยกว่า ต่อมาพิษณุโลก จึงเสียแก่พม่า กองทัพไทยจึงแตกพ่ายและล่าถอยลงมาตั้งม่ันท่ีเมืองพิจิตร ต่อมาเกิดเหตุทางพม่ากรุงอังวะ เปล่ียนรัชกาลใหม่ทาให้อะแซหวุ่นก้ีต้องกรีฑาทัพกลับพม่า และกองทัพไทยถือโอกาสตามตีทัพพม่าในคราล่า ถอยจนสุดเขตแดน สงครามครั้งน้ีกินเวลานานถึง 10 เดือน การสู้รบได้เร่ิมต้นมาตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. 2318 มาส้ินสุดลงจนกลางปี พ.ศ. 2319 นักประวัติศาสตร์ ถือว่าต่างฝ่ายต่างเสมอกัน ไม่มีใครเอาชนะกันได้ถึง แม้วา่ ในท่ีสุดพม่าจะเข้ายึดเมืองพิษณุโลกได้ ก็ได้แต่เมืองเปล่า ไม่สามารถหาเสบียงอาหารมาเล้ียงกองทัพได้
ไม่สามารถทาลายกองทัพไทยได้สาเร็จ จนในที่สุดก็ต้องถอยไปอย่างกะทันหันทันที และด้วยความบอบช้า อยา่ งสาหสั ไพร่พลต้องอดอยากเจ็บปว่ ยล้มตายระส่าระสายกันไปตลอดทาง ส่วนกองทัพพม่าที่ตกค้างอยู่ใน เมืองไทย เพราะไม่สามารถรอถอยกลับไปพร้อมกันได้นั้น ก็ถูกกองทัพไทยบดขย้ีเสียจนแหลกลาญยับเยิน ตัง้ แตน่ น้ั มา พม่าก็ไมไ่ ด้ยกทพั ใหญม่ าตไี ทยอีกเป็นเวลานานถึง 10 ปี สรปุ การศกึ สงครามไทยกบั พม่าในรัชสมยั สมเด็จพระเจ้าตากสนิ มหาราช รัชสมัยกรุงธนบุรีจากปี พ.ศ. 2310 – พ.ศ. 2319 ไทยกบั พมา่ ได้ทาสงครามกันถงึ 10 ครง้ั ดงั น้ี ครง้ั ที่ 1 พ.ศ. 2310 รบกบั พม่าทคี่ ่ายโพธส์ิ ามต้น คร้งั ท่ี 2 พ.ศ. 2310 รบพม่าท่ีบางกุง้ เขตเมืองสมุทรสงคราม ครั้งท่ี 3 พ.ศ. 2313 กองทัพพม่าจากเมืองเชียงใหมล่ งมาตีเมอื งสวรรคโลก ครั้งท่ี 4 พ.ศ. 2314 กองทัพกรงุ ธนบรุ ขี นึ้ ไปตเี มอื งเชียงใหม่ครง้ั แรก แตต่ ีไมส่ าเรจ็ ครัง้ ท่ี 5 พ.ศ. 2315 กองทพั พม่าจากเมืองเชียงใหมล่ งมาตเี มอื งพชิ ัยครั้งที่ 1 ครั้งท่ี 6 พ.ศ. 2316 กองทพั พม่าลงมาตเี มืองพิชัยเปน็ ครั้ง ที่ 2 กาเนดิ วีรกรรมของพระยาพิชยั เจา้ เมือง จนได้รบั สมญาวา่ “พระยาพิชัยดาบหัก” ครั้งท่ี 7 พ.ศ. 2317 กองทัพกรงุ ธนบรุ ีขึ้นไปตเี มอื งเชียงใหม่ ครง้ั ท่ี 2 ได้หัวเมอื งลา้ นนาไทยกลับคืน ครั้งท่ี 8 พ.ศ. 2317 รบพมา่ ที่บางแก้ว เมอื งราชบรุ ี ครั้งที่ 9 พ.ศ. 2318 อะแซหวุ่นกี้ตหี วั เมอื งเหนือ ครั้งท่ี 10 พ.ศ. 2319 พม่ามาตเี มืองเชยี งใหมค่ นื แตไ่ ม่สาเร็จ
ศึกกบั กมั พชู า นามาซ่งึ การเปล่ียนรัชสมัย กัมพูชา เป็นเมืองข้ึน ของไทยเรามาต้ังแต่สมัย กรุงศรีอยุธยา ครั้นกรุงศรีอยุธยาต้องเสียแก่พม่าลง ในปี พ.ศ. 2310 กัมพูชาจึงตั้งตัวเป็นอิสระ แต่แล้วพอเวลาล่วงมาได้ 2 ปี กัมพูชาก็เกิดจลาจล ด้วยสมเด็จ พระนารายณ์ราชา (นักองค์ตน) กษัตริย์กัมพูชาในเวลาน้ัน เกิดวิวาทกันข้ึนกับพระรามราชา (นักองค์นนท์) พระมหาอปุ ราช สมเดจ็ พระนารายณ์ราชาไปขอกาลังญวนมาชว่ ยปราบพระรามราชาสูไ้ มไ่ ด้ จึงหนีมาพ่งึ ไทย ในปี พ.ศ. 2312 สมเด็จพระเจ้าตากสิน ทรงเห็นเป็นโอกาสอันดี ท่ีจะได้ประเทศกัมพูชาเข้ามาอยู่ใน ครอบครองของไทยตามเดิม จึงโปรด ให้แจ้งไปยังสมเด็จพระนารายณ์ราชาว่า “เดี๋ยวนี้กรุงศรีอยุธยากลับตั้ง เป็นปรกติเหมือนแต่ก่อนแล้ว ให้กรุงกัมพูชาจัดส่งต้นไม้เงินต้นไม้ทองกับเครื่องราชบรรณาการเข้ามาถวาย ตามประเพณีดังแต่ก่อน” สมเด็จพระนารายณ์ราชาตอบปฏิเสธ โดยอ้างว่าสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี มิใช่เชื้อ พระวงศ์ ของพระมหากษัตริย์ท่ีครองกรุงศรีอยุธยามาแต่เดิม สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีกริ้วมาก จึงโปรดให้ส่ง กองทัพออกไปตีกัมพูชารวม 2 กองทัพด้วยกัน มีพระยาอภัยรณฤทธ์ิ (พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ) กับ พระยาอนชุ ิตราชา (สมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท) เป็นแม่ทัพยกไปตีเมืองเสียมราฐทัพหนึ่ง กับ ให้พระยาโกษาธิบดี เป็นแม่ทัพยกไปตีเมืองพระตะบองอีกทัพหน่ึง แต่การยังมิทันได้ดาเนินไปถึงข้ันตีนคร หลวงของกมั พชู า กองทัพของพระยาอภัยรณฤทธ์ิกับพระยาอนุชิตราชาก็ถอยลงมาเสียก่อน ด้วยได้มีข่าวลือ ออกไปว่าสมเดจ็ พระเจ้ากรงุ ธนบรุ สี วรรคตเสยี แลว้ ท่เี มืองนครศรีธรรมราช ระหว่างเสด็จลงไปปราบชุมนุมเจ้า นคร สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบรุ จี ึงโปรดให้เรียกกองทพั กลบั หมด ระงับการตีกัมพชู าไว้เสยี ช้นั หน่ึงก่อน ครั้นในปี พ.ศ.2314 ภายหลังท่ีกองทัพกรุงธนบุรีกลับจากข้ึนไปตีเชียงใหม่ครั้งแรกแล้ว ก็โปรดให้จัด กองทัพยกออกไปตี ประเทศกัมพูชาอีกคร้ังหนึ่ง มี เจ้าพระยาจักรี (พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ) เป็น แมท่ พั บกยกออกไปทางเมอื งปราจนี บุรี พาพระรามราชาไปในกองทัพด้วย สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ทรง คุมกองทัพเรือ มีพระยาโกษาธบิ ดี เป็นแม่ทัพหนา้ ยกออกไปทางทะเล เข้าตีเมืองกาแพงโสม เมืองบันทายมาศ และเมืองพนมเปญได้ตามลาดับ ในขณะเดียวกันกองทัพบกก็ตีได้เมือง พระตะบอง เมืองโพธิสัตว์ เมือง บริบูรณ์ จนถึงได้เมืองบันทายเพชรราชธานี ครั้งน้ีกองทัพไทยจึงได้ประเทศกัมพูชา กลับคืนเข้ามาอยู่ใน อารักขาตามเดมิ อีกคร้ังหนึ่ง โดยมีพระรามราชาเป็นเจ้ากรุงกัมพชู าสืบแทนตอ่ มา
แผนที่ประเทศไทย รชั สมัยสมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ ส่วนสมเด็จพระนารายณ์ราชาเจ้ากรุงกัมพูชาองค์เดิมนั้น หนีเข้าไปอยู่ในเขตญวน แล้วต่อมาได้กลับ ขอคืนดีด้วย สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจึงได้ทรงตั้งให้สมเด็จพระรามราชา เป็นกษัตริย์ครองกรุงกัมพูชา ส่วน สมเด็จพระนารายณ์ราชาน้ันโปรดให้เป็นมหาอุปโยราช กับให้นักองค์ธรรมเจ้านายเขมรที่สาคัญอีกองค์หน่ึง เปน็ มหาอุปราช ต่อมาในตอนปลายรัชกาล คอื เมื่อปี พ.ศ. 2323 กัมพูชาเกิดจลาจลขึ้นมาอีก ด้วยได้มีคนร้ายลอบฆ่า มหาอุปราชตาย แล้ว ต่อมาไม่ช้า มหาอุปโยราช ก็เป็นโรคปัจจุบัน สิ้นชีพลงอีกองค์หน่ึง ความหวาดระแวง ระหว่างกันซึ่งเคยมีอยู่แต่เดิมมาแล้วน้ันได้ทาให้ บรรดาขุนนางซึ่งโดยมากเป็นพรรคพวกของมหาอุปโยราช เขา้ ใจวา่ สมเด็จพระรามราชาเปน็ ผู้บงการใหฆ้ า่ เจา้ นายทั้งสององค์นั้น จึง คบคิดกันก่อการกบฏข้ึน จับสมเด็จ พระรามราชาผู้เปน็ กษตั ริยถ์ ว่ งน้าเสีย แล้วอัญเชญิ นักองค์เอง โอรสสมเด็จพระนารายณ์ราชาซ่ึงมีพระชนมายุ เพียง 4 ชันษา ข้ึนครองราชย์แทน ต่อมาโดยมีฟ้าทะละหะ (มู) ขุนนางผู้ใหญ่ ผู้มีอิทธิพล ในเมืองเขมรมากผู้ หน่ึงเป็นผ้สู าเร็จราชการ โดยท่ีฟ้าทะละหะ (มู) ผู้น้ีได้หันไปฝักใฝ่อยู่กับญวน ด้วยหวังจะพ่ึงอิทธิพลญวนช่วย ให้ตนได้เป็นเจ้ากรุงกัมพูชาเสียเองสืบต่อไป ประกอบกับสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ทรงมีพระราชดาริเห็นว่า นักองค์เองน้ันยังเป็นทารกอยู่ ย่อมไม่สามารถจะรักษาตัวให้ตลอดรอดฝ่ังไปได้ และถึงมาตรว่านักองค์เองจะ เอาตัวรอดไปได้ นักองค์เองก็เป็นโอรสของสมเด็จพระนารายณ์ราชา ซึ่งฝักใฝ่กับญวนมาแต่ก่อน ฉะนั้นเม่ือ
เติบใหญ่ต่อไปก็คงจะหันไปฝักใฝ่อยู่กับญวนเหมือนบิดาอีกเช่นกัน อันจะทาให้เมืองไทยเราต้องสูญเสีย อิทธิพลในกัมพูชาไป ดังนั้นจะปล่อยท้ิงให้กัมพูชาตกอยู่ในสถานการณ์เช่นน้ีต่อไปไม่ได้ จึงโปรดให้จัดแต่ง กองทัพมีจานวนพล 20,000 คน ยกออกไปปราบการจลาจลในกัมพูชาอีกคร้ังหนึ่ง โดยมี สมเด็จเจ้าพระยา มหากษัตริย์ศึกฯ (พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า ฯ) ถืออาญาสิทธิ์เป็นแม่ทัพใหญ่ เจ้าพระยาสุรสีห์ เป็นแม่ ทพั หน้า และมีเจ้าฟ้ากรมขุนอินทรพิทักษ์ ซ่ึงเป็นสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอพระองค์ใหญ่ ทรงเป็นกองหนุนร่วม เสด็จไปในกองทพั ด้วย ในครั้งน้ีสมเด็จพระเจ้า กรุงธนบุรีได้ทรงมี พระราชกระแสรับสั่งไปว่า เม่ือตีกรุงกัมพูชาได้แล้ว ให้ สมเด็จเจ้าพระยามหากษตั รยิ ์ศกึ ฯ จัดการอภิเษกเจ้าฟ้ากรมขุนอินทรพิทักษ์ให้เป็นกษัตริย์ ครองกรุงกัมพูชา สืบตอ่ ไป อันจะทาใหด้ ินแดนประเทศกมั พชู าไดผ้ นวกเขา้ มารวมอยู่ในพระราอาณาจักรไทยโดยเด็ดขาด ขจัด ปัญหายุ่งยากทางเมอื งเขรมมใิ ห้อบุ ัตมิ ีข้ึนเปน็ เสี้ยนยอกอกเมืองไทยเราอีกต่อไป เมื่อกองทัพไทยยกออกไปถึงกัมพูชาแล้ว ก็สามารถตีเมือง บันทายเพรชราชธานีได้โดยง่ายดาย เพราะฟ้าทะละหะ (มู) ไม่กล้าสู้รบด้วย ได้แต่ท้ิงเมืองอพยพครอบครัวหนีลงไปอยู่ที่เมืองพนมเปญแล้วร้องขอ กาลงั กองทัพญวนจากไซง่ ่อนมาช่วย ซง่ึ ทางญวนก็ได้สนองคารอ้ งขอน้ันเป็นอนั ดี โดยไดจ้ ัดส่งกาลังขึ้นมาช่วย ทพี่ นมเปญ กองทัพหน้าของไทยในบงั คบั บญั ชาของเจ้าพระยาสุรสีห์ที่ยกตามฟ้าทะละหะ (มู) ไปนั้น พอทราบ วา่ มกี องทัพญวนขึน้ มาตัง้ อยทู่ ี่พนมเปญ เพอ่ื เข้าแทรกแซงเหตกุ ารณใ์ นครัง้ นด้ี ้วย ก็ตอ้ งหยุดชะงัก แล้วรีบแจ้ง เหตุมายงั สมเด็จพระยามหากษัตรยิ ์ศึกฯ แม่ทัพใหญ่ เพ่ือคอยฟังบัญชาต่อไปเสียก่อน แต่แล้วในตอนน้ีเองข่าว จลาจลวุ่นวายทางกรุงธนบุรี ก็ทราบไปถึงกองทัพไทยในกัมพูชา การจึงต้องยุติลงแต่เพียงนั้น โดยที่กองทัพ ไทยกับกองทัพญวนยังหาได้ทันปะทะกันไม่ สมเด็จพระเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกฯ แม่ทัพใหญ่ก็มีบัญชาให้ เลกิ ทัพ กลับมาปราบยคุ เขญ็ ในกรงุ ธนบรุ ี เสียกอ่ น แผนการรวมประเทศกัมพูชา ของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี จึงต้องพลันหยุดชะงักลงแต่เพียงน้ัน พรอ้ มกบั สนิ้ สมัยกรงุ ธนบุรี
ลาดับเหตกุ ารณ์สาคญั ในสมยั กรงุ ธนบุรี (พ.ศ. 2310 – 2325) พ.ศ. 2310 พระเจา้ ตากกู้ชาติสาเร็จ สร้างราชธานใี หม่ ตง้ั กรงุ ธนบรุ ีเป็นราชธานี เ กิ ด ศึ ก ร บ พมา่ ท่ีบางก้งุ เมอื งสมุทรสงคราม พ.ศ. 2311 พระเจ้าตากเริ่มปราบชุมนุมเจ้าพระยาพิษณุโลก แต่ไม่สาเร็จ ปราบชุมนุมเจ้า พมิ ายได้สาเร็จเปน็ ชมุ นุมแรก พ.ศ. 2312 ปราบชุมนมุ เจ้านครสาเร็จ ตีเขมรครง้ั แรก แตไ่ มส่ าเรจ็ พ.ศ. 2313 ปราบชุมนมเจา้ พระฝางสาเรจ็ กองทพั กรุงธนบรุ ขี ้นึ ไปตีเมอื งเชยี งใหมค่ รัง้ แรก พ.ศ. 2314 นายสวน มหาดเลก็ แต่งโคลงยอพระเกียรติ ตเี มืองเขมรครั้งที่ 2 ตีได้หัวเมืองเขมร พ.ศ. 2315 พมา่ ตเี มอื งพชิ ยั ครง้ั แรก พ.ศ. 2316 พมา่ ตเี มืองพิชยั ครง้ั ท่ี 2 พ.ศ. 2317 ตเี มอื งเชียงใหมค่ รง้ั ที่ 2 ได้หัวเมอื งลา้ นนารบพมา่ ท่ีบางแก้ว ราชบุรี พ.ศ. 2318 โปสุพลาและโปมะยุง่วนตีเชยี งใหมค่ ืน แต่ไม่สาเร็จ พ.ศ.2319 พมา่ ตีเมอื งเชียงใหม่ ตเี มืองนางรอง และเมืองนครจาปาศกั ดไิ์ ด้ พ.ศ. 2321 ตีเวียงจนั ทน์ ได้หวั เมอื งลาวทง้ั หมดกลบั มาขนึ้ กบั ไทยคร้งั ทีห่ นง่ึ พ.ศ. 2322 กองทพั ไทยกลับจากเวยี งจนั ทน์ ไดพ้ ระแกว้ มรกตกลบั เข้ามาดว้ ย พ.ศ. 2324 แตง่ ทตู ไปทเ่ี มืองจีน สง่ กองทพั ไปปราบจลาจลในเขมร พ.ศ. 2324 กรงุ ธนบรุ ีเกิดจลาจล สมเด็จพระเจา้ กรุงธนบรุ ี ถูกสาเร็จโทษ ปลายรัชสมยั สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ ทรงเสียสติจรงิ หรอื ไม่ อันส่งผลให้หมดยุคสมยั กรุงธนบุรี ปลายรัชสมัย สมเด็จพระเจ้าตากสิน ประวัติศาสตร์จารึกไว้ว่าสมเด็จพระเจ้าตากสินทรงเสียพระ สติซึ่งในเรื่องน้ี ยังเป็นเร่ืองสืบค้นถกเถียงมาถึงปัจจุบัน มีความคิดหลากหลายท่ีนามาเสนอแสดงอ้างอิง ซ่งึ หลักฐานทางประวัติศาสตรเ์ ทา่ ทค่ี ้นพบในปจั จบุ นั มดี งั น้ี กรมหลวงนรินทรเทวี
1. จดหมายเหตุความทรงจาของกรมหลวงนรินทรเทวี แม้ในปัจจุบันจะมีปัญหาว่ากรมหลวงนรินทร เทวเี ปน็ ผู้บนั ทึก จดหมายเหตุความทรงจาฉบับนี้ท้งั ฉบบั หรือไม่ แตก่ ็เชอื่ กนั ว่าผู้บันทึกเป็นบุคคลร่วมสมัย เป็น หลักฐานท่ีควรพิจารณา ในบันทึกตอนหน่ึงมีว่า“ดูพระจริตฟ่ันเฟ่ืองเฝ้า (นับ) แต่ฆ่าญวน.....พันสี พันลา ยื่น ฟอ้ งวา่ ขุนนางและราษฎรขายข้าวเปลือกลงเรือสาเภา ”โยธาบดีผู้รับทูลฟ้องกราบทูลรับสั่ง ให้เร่งเงินที่ขุนนาง ขายข้าวเกลือ ให้เฆี่ยนเร่งเอาเงิน เข้าท้องพระคลังร้อนทุกเส้นหญ้า สมณาประชาราษฎร์ไม่มีสุขขุคเข็ญเป็น ท่ีสุด ในปลายแผน่ ดิน เงินในคลงั หาย ๒๐๐๐ เหรียญๆละ ๑ บาท ๓ สลงึ ๑ เฟ้ือง แพรเหลือง ๑๐ ม้วน รับส่ัง เรียกหาไม่ได้ ชาวคลัง ต้อง (ถูก) เฆี่ยนใส่ไฟย่าง แสนสาหัส...หลวงประชาชีพ (ถูก) โจทก์ ฟ้องว่าขายข้าว รบั สง่ั ใหต้ ดั ศีรษะ (หลวง ประชาชีพ) หว้ิ เข้ามาถวายที่ เสด็จทอดพระเนตร เหตุกรรมของสัตว์ พื้นแผ่นดินร้อน ราษฎรเหมือนผลไม้ เมอื่ ต้นแผน่ ดินเย็นดว้ ยพระบารมชี ุม่ พ้ืนชน่ื ผล จนมีแกน่ ปลายแผ่นดินแสนร้อนรุม สุมราก โคนโค่นลม้ คมแผน่ ดนิ ด้วยพระบารมแี ต่เพียงน้นั .......” พระบรมรปู ของสมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ ขณะทรงศลี วัดอินทาราม 2. “ไทยรบพม่า”ของสมเด็จฯ กรมพระยาดารงราชานุภาพ ตอนหนึ่งในหนังสือไทยรบพม่ามีว่า “.........ต้ังแต่เลิกสงครามคราวอะแซหวุน่ ก้ีตีหัวเมืองเหนือแล้ว(2319)พระเจา้ กรุงธนบรุ ีมักเสด็จไปนั่งกรรมฐาน ที่วัดบางย่ีเรือ (วัดอินทราม) ซึ่งได้บูรณะปฏิสังขรณ์ขึ้นมาใหม่เนืองๆ แล้วติดพระทัยใน การนั่งกรรมฐานหนัก ข้ึน พระอารมณ์ก็จับฟ่ันเฟือน เกิดมีอาการดุร้ายขึ้นกว่าแต่ก่อน ฤ โดยลาดับมา.....มีสัญญาวิปลาสเกิดสาคัญ พระองคว์ ่าเปน็ พระโสดาบนั ..มรี ับส่งั ถามพระราชาคณะวา่ พระภิกษุสงฆ์อันเป็นปุถุชน จะกราบไหว้คฤหัสถ์ซึ่ง เป็นพระโสดาบันจะได้มิได้ประการใด พระราชาคณะโดยมากพากันกลัวพระอาญาถวายพระพรว่าไหว้ได้ แต่ สมเด็จพระสังฆราช(ศรี) วัดบางหว้าใหญ่ (วัดระฆัง) พระพิมลธรรมวัดโพธาราม (วัดพระเชตุพน) และพระ
พุฒาจารย์ วัดบางหว้าน้อย (วัดอมรินทร์) ถือพระวินัยมั่นคงไม่คร่ันคร้ามต่อพระราชอาญา ถวายพระพรว่าถึง คฤหัสถ์จะเป็นพระโสดาบัน เพศก็ยังต่ากว่าพระภิกษุปุถุชน อันทรงผ้ากาส่าวพัสตร์และ จตุปาริสทธิศีล เพราะฉะน้ันที่พระภิกษุจะกราบไหว้คฤหัสถ์หาควรไม่ พระเจ้ากรุงธนบุรีได้ทรงฟังก็ทรงพระพิโรธ ดารัสว่า พระราชาคณะทงั้ ปวงก็ยงั เหน็ วา่ ไหว้ได้โดยมาก ยังแต่ 3 องค์ก็บังอาจโต้แย้งฝ่าฝืนถวายพระพรให้ผิดพระบาลี จึงมีรับส่ังให้ถอดเสีย จากสมณศักด์ิเอาตัวสมเด็จพระสังฆราชกับ พระราชาคณะ 2 องค์ ท่ี ถูกออกนั้น พระภิกษุประมาณ 500 รูปไปลงพระราชอาญาที่วัดหงส์ ให้ตีหลังสมเด็จพระสังฆราชกับพระราชคณะองค์ละ 100 ที ฐานะเปรียบองค์ละ 50 ที พระอันดับองค์ละ 30 ที แล้วเอาตัวขังไว้ขนอาจมของโสโครกที่วัดหงส์ ทั้งหมด ต้งั แต่นั้นมาพระสงฆก์ ห็ มอบกราบเหมือนข้าราชการฝ่ายฆราวาสทงั้ ปวง.....” นอกจากเรอื่ งเฆีย่ นพระแล้ว สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดารงราชานภุ าพทรงกลา่ วตอ่ ไปวา่ สมเดจ็ กรมพระยาดารงฯ “ครั้นต่อมาพระเจ้ากรุงธนบุรีมีอาการเกิดระแวงว่าข้าราชการพากันลอบลักพระราชทรัพย์ให้โบยตี จาลอง และบางทีเอาตัวผู้ต้องหาข้ึนย่างไฟ จะให้รับเป็นสัตย์ แล้วพระราชทานรางวัลผู้ที่เป็นโจทก์ก็ฟ้องร้อง ยกเปน็ บาเหน็จความชอบในราชการ ก็เลยเป็นเหตุให้คนพาลแกล้งใส่ความฟ้องร้อง ยกเป็นบาเหน็จความชอบ ในราชการ ก็เลยเป็นเหตุให้คนพาลแกล้งใส่ความฟ้องผู้อ่ืนชุกชุมข้ึนทุกที ..... จนมีพวกหากินในกระบวนเป็น โจทก์ข้ึนประมาณ ๓๐๐ คนเศษ พระเจ้ากรุงธนบุรีทรงต้ังตัวสาคัญช่ือพันสี ให้เป็นขุนจิตรจูล พันลาเป็นขุน ประมูลทรัพย์เป็นตาแหน่งหัวหน้าพวกโจทก์ พวกโจทก์ถวายฎีการ้องฟ้องผู้อื่น หนักขึ้นกว่าแต่ก่อน พระเจ้า กรุงธนบุรีทรงวินิจฉัยในเวลาสติฟั่นเฟือน ก็มิได้พิจารณาให้เห็นเท็จและจริง สักแต่ว่าโจทก์สาบานได้ถ้า ผู้ต้องหาไม่รับเป็นสัตย์โดยดีก็เฆี่ยนขับติดไม้ และ ย่างเพลิงจนกว่าจะรับ และปรับโทษ เรียกเร่งเอาเงินตามท่ี โจทก์กล่าวหา ถ้าไม่มีเงินจะเสียก็เฆ่ียนเร่งไปทุกวันจนกว่าจะได้ คนที่ทนพระราชอาญาไม่ไหวก็ล้มตายเจ็บ ลาบากไปตามกัน ที่ถูกลงโทษประหารชีวิตก็มีอยู่เนืองๆ แม้จนบุตรภรรยาญาติพี่น้องของข้าราชการท่ีไปทัพ อยู่ทางนี้ก็ถูกโจทก์ฟ้องต้องรับพระราชอาญา โดยมากกล่าวไว้ในหนังสือพงศาวดารว่าในเวลานั้นท่ีในบริเวณ โรงชาระใน พระราชวังเสียงแต่คนร้องไห้ และ ครวญครางเซ็งแซ่ไปทุกๆ วัน ชาวพระนครก็พาได้ความ ยากแค้นเดือนร้อนไปท่ัวกัน ที่อพยพหลบหนี ออกไปอยู่ตามป่าตามดงก็มีเป็นอันมาก จนท่ีในกรุงธนบุรีมี บ้านเรือนรา้ งว่างเปล่าอยูท่ ุกแหง่ ทุกตาบล.....”
3. พระราชพงศาวดารกรุงธนบรุ ี ฉบบั พนั จันทนมุ าศ ในหลกั ฐานเล่มนี้ มเี รื่องสมเด็จพระเจ้าตากสิน วิปัสสนาแล้ว มอี าการประหลาด มีเร่ืองทรงหวาดระแวงคนจะมาขโมยพระราชทรัพย์ แล้วลงเอยด้วยความ เดือดร้อนอย่างแสนสาหัสของราษฎร เน้ือหาข้อเท็จและสานวนการเขียนเหมือนกับในไทยรบพม่า เชื่อว่า สมเด็จฯกรมพระยาดารงราชานุภาพทรงเอาข้อมูลมาจากพระราชพงศาวดารกรุงธนบุรีฉบับพันจันทนุมาศ (เจมิ ) เพราะพระราชาพงศาวดารฉบบั นี้แต่งขึ้นในสมยั รัชกาลท่ี 1 โดยขา้ ราชการกรมพระอาลักษณ์ของรัชกาล ที่ 1 ซ่งึ ได้รูไ้ ด้เห็นเหตกุ ารณ์ในสมัยนน้ั ในพระราชพงศาวดารฉบบั พระราชหตั ถเลขา เลม่ ท่ี 2 ซึ่งเรียบเรียง โดยกรมหลวงวงษาธิราชสนิท ตรวจแก้โดยรัชกาลที่ 4 วิจารณ์ และ อธิบายเพ่ิมเติมโดยสมเด็จฯ กรมพระยา ดารงราชานุภาพ เปน็ หลกั ฐานทนี่ ิยมใช้อา้ งองิ กันอยา่ งกวา้ งขว้าง ซ่ึงเนือ้ หามขี อ้ เท็จจรงิ เช่นเดียวกับในไทยรบ พมา่ และพระราชพงศาวดารกรงุ ธนบุรี กลา่ วโดยสรุป เหตุการณ์ซึ่งต่อมาจะกลายเป็นข้อถกเถียงอย่างมาก และมักถูกมองว่าเป็นเคร่ืองแสดงถึงพระอาการ สติฟ่นั เฟอื นมากท่สี ดุ น่ันคือ รายละเอยี ดเรอื่ งพระเจ้าตากสินทรงตั้งคาถามกับเหล่าพระราชาคณะว่าพระที่ยัง เปน็ ปถุ ชุ นจะกราบไหว้ฆราวาสทีบ่ รรลโุ สดาบันไดแ้ ลว้ หรอื ไม่ มเี พียงพระราชพงศาวดารฉบับหมอบรัดเลย์และ ฉบบั พระราชหัตถเลขาเทา่ นัน้ ท่ีปรากฏเน้อื ความน้ี โดยพระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขาอธิบายมาว่า เกิดขน้ึ เน่อื งจากพระเจา้ ตากสนิ “มพี ระสตฟิ ั่นเฟือนถึงสัญญาวปิ ลาส สาคญั ตัวเองว่าได้โสดาปัตติผล” จึงได้ต้ัง คาถามทาให้เกดิ การลงโทษพระราชาคณะ การเพ่มิ เหตุการณ์เรื่องการตั้งคาถามและการลงโทษพระราชาคณะ ช้ันผู้ใหญ่ผู้ซึ่งคงความเห็นที่ “ถูกต้อง” นี้ จึงเป็นการเพ่ิมเรื่องเพื่อเน้นให้เห็นถึงความหลงผิดขององค์ พระมหากษัตริย์ท่ีมากเกินกว่าท่ีผู้คนจะรับได้ “...มหาภัยพิบัติบังเกิดในพระพุทธศาสนาควรจะสังเวชย่ิงนัก บรรดาชนท้ังหลายซึ่งเปน็ สัมมาทฐิ นิ บั ถือพระรัตนตรัยนน้ั ชวนกันสลดจติ คิดสงสารพระพุทธศาสนา มีหน้านอง ไปด้วยน้าตา..และเสียงร้องไห้ระงมไปท่ัวเมือง” ยิ่งเม่ือพระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขาระบุ เหตุการณว์ า่ เกดิ ขึ้นในปี พ.ศ.2324 หรือ 1 ปี ก่อนจะสน้ิ รัชกาล เหมือนจะให้เข้าใจว่าเป็น “ฟางเส้นสุดท้าย” ก่อนทจี่ ะเกิดกรณคี วามวุน่ วายโกลาหลต่างๆ ในกรุงรวมทัง้ เกิดกบฏพระยาสรรค์ดว้ ย
ปญั หาการสน้ิ พระชนม์พระเจ้าตาก ยงั หาข้อสรุปยังไมไ่ ด้ถึงปจั จุบัน พระเจ้าตากกบฏพระยาสรรค์ ตน้ เหตุ การเปลย่ี นรัชสมยั ทาไมตอ้ งประหารพระเจ้าตาก พระบรมรูปสมเด็จพระเจ้าตากสินทรงผนวช ในวิหารวัดอนิ ทารามวรวหิ าร พ.ศ. 2324 เกดิ จลาจลท่กี รงุ ศรอี ยธุ ยา สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ ทรงให้พระยาสรรค์ขุนนางท่ีพระองค์ไว้ วางพระทัยอย่างมาก ข้นึ ไประงับการจลาจล ซึ่งสาเหตมุ าจากการขดุ สมบตั ทิ ีไ่ ด้ถูกฝงั เอาไว้ก่อนเสียกรุง ท้ังนี้ผู้ ที่จะไปขุดต้องประมูลเสียเงินให้กับทางการโดยมีพระยาวิชิตณรงค์เป็นผู้รับผิดชอบในการนี้ ทว่าพระยาวิชิต ณรงค์และพวกกลบั กระทาการโดยมิชอบบงั คับรดี ไถเงนิ ราษฎรเอาตามอาเภอใจจนผู้คนเดอื ดร้อนไปท่ัวในที่สุด บรรดาผู้ท่ีไม่พอใจได้รวมตัวกันก่อกบฎโดยมี ขุนสระ ขุนแก้ว และนายบุนนาค บ้านแม่ลาเป็นหัวหน้า คุม พรรคพวกเข้าปล้นจวนพระยาอินทรอภัยผู้รักษากรุงเก่าและสังหารเสีย สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีได้ทรงให้ พระยาสรรค์ไปปราบกบฎนี้แต่ทว่าพระยาสรรค์ก็ได้ไปเข้ากับพวกกบฏเสีย โดยสมเด็จพระเจ้าตากสินไม่ทรง ทราบวา่ หวั หนา้ ทีก่ ่อความวุน่ วายคอื ขุนแก้ว นอ้ งชายของพระยาสรรค์น่ันเอง เมื่อเป็นเช่นน้ี นอกจากพระยา สรรค์จะไม่ปราบพวกก่อความวุ่นวายแล้ว ยังอาศัยช่วงจังหวะที่กลุ่มขุนนางไม่พอใจพระเจ้าตากสิน และ ดาเนินการต่อต้านพระเจ้าองค์ ตัดสินใจร่วมมือกับพวกก่อการจลาจล ยกกาลังมาตีกรุงธนบุรี และเข้ายึด อานาจจากสมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ ได้สาเร็จ พร้อมกับบังคับให้พระองค์ทรงผนวช และจับพระบรมวงศานุวงศ์ มาจองจาไว้ในราชวังแล้วต้ังตนเป็นผู้สาเร็จราชการพร้อมกับประกาศจะถวายราชสมบัติให้สมเด็จพระยามหา กษัตริยศ์ ึกปกครองต่อไป ตอ่ มาพระยาสรรคเ์ ปล่ยี นใจคดิ จะครองราชย์สมบัติเสยี เอง จึงเตรยี มกองกาลังไว้ต่อสู้ กบั สมเดจ็ พระยามหากษตั ริยศ์ กึ ซึง่ จะกลับจากการทาสงครามในเขมรในระหว่างน้ี
พระแท่นบรรทมสมเด็จพระเจ้าตากสินท่วี ดั อินทารามวรวิหาร(วัดใต้) ธนบุรี พระยาสรรคใ์ ห้กรมขุนอนรุ ักษ์สงคราม ยกทัพไปโจมตีค่ายพระยาสุริยอภัย หลานของสมเด็จพระยาม หากษัตริย์ศึกท่ียกทัพมาจากนครราชศรีมา เพื่อมารักษากรุงธนบุรีตามคาสั่งของสมเด็จพระยามหากษัตริย์ศึก ทง้ั สองฝ่ายได้ปะทะกันอยา่ งหนัก กรมขนุ อนรุ ักษ์สงครามเป็นฝ่ายพ่ายแพ้และถกู จับได้ พระยาสรรค์คิดว่าเรื่อง ทีต่ นใหก้ รมขุนอนุรกั ษ์สงครามยกทพั ไปตคี ่ายพระยาสุรยิ อภยั เปน็ ความลับ จึงวางตัวน่ิงเฉยอยู่ในวัง พระยาสุริ ยอภยั ซึง่ รู้ความจรงิ ทงั้ หมดจากกรมขุนอนุรักษส์ งครามเห็นเชน่ นั้น จงึ ได้ควบคมุ สถานการณ์ในวังเอาไว้ แล้วให้ สึกสมเด็จพระเจ้าตากสนิ แลว้ นาไปจองจาเอาไว้ เพื่อรอสมเดจ็ พระยามหากษัตริย์ศกึ ตัดสนิ ความตอ่ ไป สมเดจ็ พระยามหากษัตริย์ศกึ (พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลก)
ภาพที่พระราชวังบางปะอิน พระนครศรอี ยุธยา สมเดจ็ เจ้าพระยามหากษัตริยศ์ ึก (รชั กาลท่ี1) กลบั จากราชการทพั เมืองเขมร สมเด็จพระยามหากษัตริย์ศึกยกทัพกลับจากเขมรมาถึงกรุงธนบุรี เม่ือวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2325 เพ่ือแกป้ ญั หาบา้ นเมือง “...เจ้าพระยามหากษัตริยศ์ กึ ทราบขา่ วมกี ารกบฎเกิดขึน้ ในกรงุ ธนบรุ ี ได้ข่าวว่า สมเด็จ พระเจ้าตากสนิ ถูกจบั และถกู บังคับใหผ้ นวชเปน็ พระภิกษุ ท่านจงึ ใหค้ นสนิทถอื หนงั สอื ไปถึงเจ้าพระยาสุรสีห์ให้ เข้าล้อมกรมขุนอิทรพิทักษ์ ราชโอรสของของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีซ่ึงต้ังทัพอยู่ที่เมืองพุธไธเพชร อย่าให้รู้ ความ และให้พระยาธรรมาซึ่งต้ังทัพอยู่ที่เมืองกาแพงสวายจับกรมขุนรามภูเบศร์ราชนัดดาของสมเด็จพระเจ้า กรุงธนบุรีไว้เสีย แล้วท่านจึงเลิกทัพจากเขมร...” น่ีคือข้อความท่ีบรรยายเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนใน “แผ่นดินพระ เจ้าตาก” พระบรมสาทสิ ลักษณ์สมเด็จพระเจา้ ตากสนิ
พงศาวดารฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) กล่าวถึงการเดินทางกลับของเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก “ว่า ณ วันเสาร์ แรม ๙ ค่า เดือน ๕ เพลา ๒ โมงเช้า พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯ ขณะดารงตาแหน่งเป็นเจ้าพระยา มหากษัตรยิ ศ์ กึ ไดท้ ัพจากเมืองเสียมราฐ เขมร กลับมาท่ีกรุงธนบุรี ประทับ ณ พลับพลาหน้าวัดโพธาราม ฝ่าย ข้าทูลละอองฯ ผู้ใหญ่ผู้น้อยพร้อมกันไปเชิญเสด็จลงเรือพระที่น่ังกราบ...”ถึงตอนนี้ พระราชพงศาวดารฉบับ พระราชหัตถเลขาเลา่ วา่ พระยาสุรยิ อภยั ให้สึกเจา้ แผ่นดนิ ออก แลว้ พนั ธนาการดว้ ยเครื่องสงั ขลกิ พันธ์ พงศาวดารฉบบั พันจนั ทนมุ าศเขยี นความต่อจากตอนท่ีเจ้าพระยาจักรี...ข้ามมาพระราชวังสถิต ณ ศาลาลูกขุน ว่า “...มีหมู่พฤฒามาตย์เข้าเฝ้าพร้อมกัน จึงมีพระราชบริหารดารัสปรึกษาว่า เมื่อพระเจ้าแผ่นดินอาสัตย์และ สุจริตธรรมเสีย ประพฤติการทุจริตฉะน้ีก็เห็นว่าเป็นเส้ียนหนามหลักตออันใหญ่อยู่ในแผ่นดิน จะละไว้มิได้ ขอใหป้ รวิ รรตออกประหารเสีย...” ในพระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา บันทึกเหตุการณ์ว่า “เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกได้ ปรกึ ษากับพวกหมู่มขุ อามาตย์ว่า เม่ือพระเจ้าแผ่นดินเป็นอาสัตย์อาธรรมดังน้ีแล้ว จะคิดอ่านประการใด เหล่า เสนาอามาตย์ต่างพร้อมใจกัน เห็นว่า เป็นเส้ียนหนามหลักตออันใหญ่ในแผ่นดินจะละไว้เสียมิได้ ควรจะให้ สาเร็จโทษเสีย แลเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกกล่าวว่า... “เป็นเจ้าแผ่นดินใช้เราเป็นไปกระทาการสงครามได้ ความลาบาก กินเหง่ือต่างน้า เราก็อุตสาหะกระทาการศึกมิได้อาลัยแก่ชีวิต คิดแต่จะทานุบารุงแผ่นดินให้สิน เสี้ยนหนาม จะให้สมณพราหมณ์และไพรฟ่ ้าประชากรอย่เู ย็นเปน็ สขุ ส้นิ ดว้ ยกนั ก็ไฉนอยู่ภายหลัง ตัวจึงนาบุตร ภรรยาเรามาจองจาทาโทษ แล้วโบยตีพระภิกษุสงฆ์ และลงโทษแก่ข้าราชการและอาณาประชาราษฎรทุกเส้น หญ้า ท้ังพระพุทธศาสนาก็เส่ือมทรุดเศร้าหมองดุจเมืองมิจฉาทิฐิ จึงมีรับส่ังให้เอาตัวไปประหารชีวิตสาเร็จ โทษเสีย...” การประหารชวี ติ ในอดตี ของไทย เพชฌฆาตกับผู้คุมก็ลากตัวพระเจ้าตากขึ้นแคร่หามไปกับทั้งสังขลิกพันธนาการ เจ้าตากจึงว่าแก่ผู้คุม เพชฌฆาตว่า ตัวเราส้ินบุญจะถึงที่ตายอยู่แล้ว ช่วยพาเราไปหาท่านผู้สาเร็จราชการ จะขอเจรจาด้วยสักสอง
สามคา ผู้คุมก็ให้หามเข้ามา ณ ศาลาลูกขุน (เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก) ได้ทอดพระเนตรจึงโบกพระหัตถ์มิให้ นาเข้าเฝ้า ผู้คุมและเพชฌฆาตก็หามออกไปยังนอกพระราชวัง ถึงหน้าป้อมวิชัยประสิทธ์ ก็ประหารชีวิตตัด ศีรษะถึงแกพ่ ิราลยั จึงมรี ับส่งั ให้เอาศพไปฝังไว้ ณ วดั บางย่เี รือใต้ และเจา้ ตากขณะเม่ือส้ินบุญถึงทาลายชีพนั้น อายุไดส้ ี่สบิ แปดปี “สมเดจ็ พระเจา้ ตากสินทรงถกู สาเรจ็ โทษตามคาสั่ง “ประหาร” ในเช้าวันเสาร์ เดือน 5 แรม 9 ค่า ปี ขาล จัตวาศก จลุ ศกั ราช 1144 ตรงกบั วนั ที่ 6 เมษายน พ.ศ.2325 อยูใ่ นราชสมบตั ิ 14 ปี 4 เดือน” เปน็ การสาเรจ็ โทษตามคาสัง่ “ประหาร” การสิ้นพระชนม์ของพระองค์ตามคาสงั่ ประหาร ในครั้งน้ียังเป็นการ ใช้ดาบตัดพระเศยี รเหมือนนักโทษรา้ ยแรงชัน้ สามัญชน วดั บางยี่เรือใต้ หรือวดั อินทาราม วดั บางยี่เรือใต้ หรือวดั อินทาราม เป็นวัดโบราณสมยั อยุธยา ภมู ปิ ระเทศเดิมมลี กั ษณะเป็นป่าสะแก ทึบ ฝั่งตรงข้ามเป็นท่ีลุ่มมีหญ้าและกกข้ึนหนาแน่นอยู่ในน้าต้ืน ๆ คล้ายป่าพรุ ถ้ามีเรือล่องมาในลาคลอง จะต้องออ้ มคุ้งมองเห็นได้ชัด จึงเหมาะเป็นชัยภูมิซุ่มยิงได้ดี จึงเรียกว่า บังยิงเรือ ต่อมาเพ้ียนเป็นบางยี่เรือเดิม ช่อื วัดบางยี่เรอื นอก สมเดจ็ พระเจา้ ตากสินทรงปฏิสังขรณ์ สถาปนาขนึ้ เปน็ พระอารามหลวงชั้นเอกพิเศษ และ ได้ทรงถวายพระเพลิง พระบรมศพพระราชชนนี ณ วัดแห่งน้ี ในวันพฤหัสบดี แรม ค่า เดือน 6 พ.ศ. 2318 ใน ปี พ.ศ. 2323
พระเจดีย์วดั อินทาราม เปน็ สถานที่เก็บพระบรมอัฐิสมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ สมเดจ็ พระเจ้าตากสิน ทรงสงั่ ให้ สมเดจ็ พระยามหากษัตริย์ศึก และเจา้ พระยาสุรสีหย์ กกองทัพไปตี เขมร และมีรบั สัง่ ให้พระเจ้าลูกยาเธอกรมขนุ อนิ ทรพิทกั ษซ์ ่ึงเปน็ พระโอรสองคใ์ หญ่ ทรงเปน็ อปุ ราชเปน็ ทัพ หนนุ อีกท้ังมีรบั สัง่ เมื่อปราบเขมรได้แลว้ ให้ทาการอภเิ ษกกรมขนุ อนิ ทรพิทกั ษ์ ข้ึนปกครองเขมร ในชว่ งน้ี พระองค์มักจะเสดจ็ ออกจากวังมาวปิ สั นากรรมฐานประทับในพระอุโบสถวดั อินทาราม(บางย่ีเรือใต้)อย่เู สมอ และบ่อยคร้ังจะประทบั แรม ณ วดั แหง่ นี้ เม่อื สมเดจ็ พระเจ้าตากสนิ มหาราชเสดจ็ สวรรคต ในปี 2325 ไดน้ า พระศพมาฝังไว้ท่ี วดั อนิ ทารามแห่งน้ี เหตกุ ารณ์ หลังจาก “สมเด็จพระเจา้ ตากสินฯ” สิ้นพระชนม์ ในการเปลี่ยนแผน่ ดนิ ตอ้ งกาจัดเช้ือพระวงศ์และเหล่าขุนนางท่ีจงรักภักดีของพระเจ้าแผ่นดินองค์ก่อน ใหห้ มดส้นิ ไมใ่ ห้เป็นเสี้ยนหนามอีกต่อไป นี่เป็นสัจธรรมท่ีต้องเกิดขึ้นกับผู้ใกล้ชิดกับพระเจ้าตากสินฯ ทุกๆคน ดังที่ปรากฎในพระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขาได้บันทึกเหตุการณ์ไว้ว่า “ฝ่ายกรมขุนอินทรพิทักษ์ และพระยากาแหงสงครามมิทันแจ้งว่าข้างในพระนครผลัดแผ่นดินใหม่ จึงแต่งหนังสือบอกให้ข้าหลวงถือมา กราบทูลใจความว่า เขมรกลับเป็นกบฎเข้าล้อมกองทัพพระเจ้าลูกเธอไว้ ณ เมืองพุธไธเพชร แต่กองทัพ เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกกับกองทัพเจ้าพระยาสุรสิงห์นั้น เลิกหนีไป...คร้ันสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทั้งสอง พระองค์ได้ทรงทราบในหนังสือบอก ก็ทรงพระสรวล ดารัสว่า อ้ายหูหนวกตาบอด มิได้รู้การแผ่นดินเป็น ประการใด กลับบอกกล่าวโทษกู เข้ามาถึงกูอีกเล่า ฝ่ายกรมขุนอินทรพิทักษ์และพระยากาแหงสงคราม...ตี กองทัพเขมรแหกออกมาได้ รีบยกทัพมาถึงเมืองปราจีน คร้ันแจ้งเหตุว่า ผลัดแผ่นดินใหม่แล้ว.............กรม
ขนุ อิทรพิทกั ษแ์ ละพระยากาแหงสงครามกบั คนสนิท 5 คนก็พากันหนีไปอยู่ตาบลเขาน้อยแห่งหนึ่งใกล้เขาปัตวี และกรมการเมอื งปราจนี บอกเข้ามากราบทลู พระกรณุ าใหท้ ราบ ครั้น ณ วันอาทิตย์ เดือน 6 แรม 2 ค่า สมเด็จพระอนุชาธิราชกราบถวายบังคมล ยกพลข้ึนไปหกพัน เศษถึงเมืองสระบุรี ให้แยกกันไปหลายกองเท่ียวค้นในป่า เข้าล้อมจับกรมขุนอินทรพิทักษ์กับพระยากาแหง สงครามและบ่าว 5 คนได้ที่เขาน้อยน้ัน คุมลงมาถวาย ณ กรุงธนบุรี...บ่าว คนนั้นทรงพระกรุณาตรัสว่า เป็น คนมกี ตัญญูไม่ทงิ้ เจา้ โปรดฯ ปล่อยเสยี ไมเ่ อาโทษ ครั้น ณ วันเสาร์ เดือน 6 แรม 8 ค่า ทรงพระกรุณาให้ถามกรมขุนอินทรพิทักษ์ว่า ถ้ายอมอยู่จะเลี้ยง ด้วยหาความผิดมิได้ กรมขนุ อนิ ทรพทิ ักษ์ให้การว่า ไม่ยอมอยู่ จะขอตายตามบิดา สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ังสอง พระองค์จงึ ดารสั ใหน้ ายจยุ้ กรมขนุ อนิ ทรพทิ ักษแ์ ละขุนชนะพระยากาแหงสงครามน้ันไปประหารชีวิตเสีย” เม่ือ สาเรจ็ โทษกรมขนุ อินทรพทิ ักษ์และพระยากาแหงสงครามแล้ว พระราชพงศาวดารได้บันทึกเหตุการณ์ต่อจากน้ี ไปอีกว่า “ถงึ วันจันทร์ เดือน 6 ข้นึ 4 คา่ เพลา 5 โมงเช้า สมเดจ็ พระอนชุ าธิราชเสด็จเดนิ ทัพมาถึงพระนครขึ้น เฝ้าสมเด็จพระเชษฐาธิราช ณ ท้องพระโรง ดารัสปรึกษาราชการแผ่นดินด้วยกันแล้ว เสด็จออกจากที่เฝ้าให้ ตารวจไปจบั ข้าราชการท้งั ปวง บรรดาท่มี ีความผิดขุน่ เคืองกับพระองค์มาแต่ก่อนให้ประหารชีวิตทั้งแปดสิบคน เศษ” เกิดอะไรข้ึนกับกรมขนุ อนุรักษส์ งคราม พระยาสวรรคแ์ ละขนุ นางอ่นื ๆทีร่ ว่ มขบวนการกบฎ? พระบรมราชานสุ าวรีย์ รัชกาลท่ี 1 ที่ อทุ ยานราชภกั ด์ิ พระยาสุริยอภัยพระเจ้าหลานเธอ ให้ตารวจคุมตัวกรมขุนอนุรักษ์สงครามกับขุนนางท่ีมีชื่อซ่ึงเป็น สมัครพรรคพวก 39 คน มีพระยาเพชรพชิ ัย พระยามหาอามาตย์ พระยากลางเมือง หลวงราชวรินทร์ หลวงคช ศักด์ิ เป็นต้น เข้ามาถวายพระที่น่ัง และทราบทูลว่า คนเหล่าท่ีเข้าพวกกรมขุนอนุรักษ์สงครามยกมารบ จึง
ดารัสให้เอาขุนนางท้ัง 39 คนน้ันไปประหารชีวิตเสีย และตัวกรมขุนอนุรักษ์สงครามนั้นให้เอาไว้ก่อน และให้ พิจารณาชาระให้เอาพวกเพ่ือนอีก ให้การซักถึงพระยาสรรค์และหลวงเทพผู้น้องกับเจ้าพระยามหาเสนา พระ ยารามัญวงศ์จักรีมอญ พระยาพิชิตณรงค์ หลวงพัศดีกลาง และคนเหล่าน้ีคบคิดกันในการไปรบพระเจ้าหลาน เธอ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงมีพระราชดารัสให้เอากรมขุนอนุรักษ์สงครามและพระยาสรรค์ หลวงเทพผู้ น้องและขุนนางท้ังส่ีซ่ึงคิดกันน้ัน ให้ประหารชีวิตเสีย พอกองทัพพระยาธรรมามาถึง คุมเอาตัวกรมขุนราม ภูเบศร์เข้ามาถวาย จึงเอาตัวไปประหารชีวิตเสียด้วยกันในวันน้ัน กับท้ังพวกญาติวงศ์เจ้าตากสินบรรดาที่เป็น ชายนั้นทั้งส้ิน...เจ้าฮั้นซึ่งเป็นน้าของเจ้าตากสินและเจ้าส่อนหอกลางซ่ึงเป็นกรมหลวงบาทบริจาอัครมเหสีกับ ญาตวิ งศ์ที่เปน็ หญงิ น้ัน ใหจ้ าไว้ทงั้ สิน้ ” รวมความแล้ว ในการเปลี่ยนแผ่นดินคร้ังนี้ มีผู้ใกล้ชิดและบรรดาขุนนางข้างสมเด็จพระเจ้าตาก สิน รวมท้ังผู้ทเี่ ปน็ เสีย้ นหนามจากการกบฎซง่ึ เปน็ ชายทงั้ สิ้นนน้ั ถูกประหารชีวิตไปคงไม่น้อยกว่า 150 คน ในจานวนน้ี มีญาตวิ งศใ์ นพระราชวงศ์กรุงธนบุรี ถูกสาเร็จโทษไปเพียง 4 พระองค์เท่านั้น เป็นพระเจ้าลูก เธอในพระอัครมเหสี 2 พระองค์ คือ กรมขุนอินทนพิทักษ์กับสมเด็จฯ เจ้าฟ้าน้อย และเป็นพระเจ้าหลาน เธอ 2 พระองค์ คือ กรมขุนอนุรักษ์สงครามและกรมขุนรามภูเบศร์ แต่ยังไม่จบเพียงแค่น้ี และพระราช พงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขายังได้บันทึกเหตุการณ์ต่อไปว่า“สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกรมพระราชวังบวรฯ เสด็จลงมาเฝา้ กราบทลู วา่ บรรดาบุตรชายน้อยๆของพระเจ้าตากสิน และขอรับพระราชทาน เอาใส่เรือไป ล่มน้าเสียให้ส้ิน คาบุราณกล่าวไว้ ตัดหวายย่าไว้หนามหน่อ ฆ่าพ่ออย่าไว่ลูก ซึ่งจะเล้ียงไว้หาประโยชน์ไม่ จะเป็นเสี้ยนหนามไปภายหน้า สมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงทรงอาลัยอยู่ในเจ้าฟ้าสุพันธุวงศ์ (เจ้าฟ้าเหม็น) พระ ราชนดั ดาจงึ ดารัสแก่สมเดจ็ พระอนชุ าธริ าชขอชวี ิตไว้ทง้ั สนิ้ ดว้ ยกนั ” กรุงรัตนโกสนิ ทรใ์ นอดตี
พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ในพ.ศ.2325 ขุนนาง ข้าราชการ และราษฎรได้พร้อมใจกันทูลเชิญสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก เปน็ กษัตริย์ เป็นอันส้ินสุดยุคธนบุรีพร้อมกับมีการสถาปนาราชวงศ์ใหม่คือ“ราชวงศ์จักรี” สมเด็จเจ้าพระยา มหากษตั ริยศ์ ึกได้ปราบดาภเิ ษกข้นึ เปน็ พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมกษัตริย์แห่ง ราชวงศ์จกั รี และให้ย้ายราชธานีมายังฝั่งตะวนั ออกของแม่นา้ เจา้ พระยา และในต่อมาได้พระราชทานนามใหม่ ว่า กรุงรัตนโกสนิ ทร์ เพราะเหตใุ ด พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดงานพระบรมศพ สมเดจ็ พระเจา้ ตากสินฯ หลังประหารผ่านมา 2 ปี ในปี พ.ศ. 2325 หลังเปล่ียนรัชกาล พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มีพระราชกรณียกิจ อยกู่ บั การจดั การศตั รทู างการเมือง โดยในวันที่ 7 เมษายน หลงั การปฏวิ ัติ 1 วัน ก็มกี าร “ชาระบัญชี” กลุ่มคน ทีเ่ ปน็ ปฏิปักษ์ทางการเมือง โดยเฉพาะเจ้านายและขุนนางที่หยิบดาบขึ้นต่อต้านการปฏิวัติ เช่น พระเจ้าหลาน เธอ กรมขุนอนุรักษ์สงคราม พระเจ้าหลานเธอ กรมขุนรามภูเบศ กับขุนนางคนสาคัญอีกเกือบ 40 คน ถูก ประหารทั้งหมด ทั้งมีการปูนบาเหน็จ “ข้าหลวงเดิม” รวมถึงผู้ท่ีมีบทบาทสาคัญในการปฏิวัติ มีการสถาปนา พระราชวงศ์ การแต่งต้ังขุนนาง พระสงฆ์ และเริ่มมีพระราชดาริให้ฐาปนา (ก่อสร้าง) พระราชวังแห่งใหม่ข้ึน ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้าเจ้าพระยา แต่เมื่อเวลาผ่านไปเหตุการณ์ต่างๆ น่าจะสงบลง เริ่มเข้าที่เข้าทาง หมดแล้ว ศัตรูทางการเมืองถูกกาจัดจนสิ้น การแต่งต้ังโยกย้ายข้าราชการสาเร็จลงด้วยดี ไม่น่าจะมี “แรง กระเพ่ือม” หรือความกดดันทางการเมืองจากแผ่นดินก่อน ดังนั้นการรอเวลาถึง 2 ปี เพื่อให้ “อนาคต” พร้อมสมบูรณ์ จึงเป็นจังหวะเวลาที่เหมาะสมและมีเหตุผลยิ่ง ท่ีจะปิดฉาก “อดีต” ให้สนิท ไม่มีข้อครหา ไม่มี เสียงซุบซิบนินทา และไม่มี “สิ่งสาคัญ” ใดในแผ่นดินเก่า หลงเหลือติดค้างมาถึงแผ่นดินใหม่อีก ต่อมาในปี พ.ศ.2327 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 1 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดงานพระบรมศพ สมเด็จพระเจา้ ตากสินฯ โดยรับสัง่ ให้ “ขุดหีบศพ” ข้ึนมา “ฌาปนกจิ ” ทรงเลือกท่ีจะทาอย่าง “สังเขป” โดย
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
Pages: