สถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมทส่ี าคัญอ่ืน ๆ เช่น โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ รา้ งเจดยี ค์ รอบพระมหาธาตุ ณ เมืองศรีสัชนาลัย มี ข้อความปรากฏในหลักศิลาจารึกตอนหนึ่งว่า \"...๑๒๐๗ ศกปีกุน ให้ขุนเอาพระธาตุออกทั้งหลายเห็น กระทา บูชาบาเรอแก่พระธาตุได้เดือนหกวัน จึงเอาฝังในกลางเมืองศรีสัชนาลัยก่อพระเจดีย์เหนือหกเช้าจึงแล้ว ต้ัง เวียงผาล้อมพระธาตุสามเช้าจึงแลัว..\" และได้ทรงให้สร้างโบสถ์ วิหาร ให้สกัดศิลาแลงเป็นแท่งมาเป็นกาแพง ล้อมเขตวัด เช่น ที่วัดช้างล้อม อันเป็นวัดท่ีทรงสร้างขึ้นคร้ังแรกในเมืองศรีสัชนาลัยโดยมีเจดีย์ทรงกลมแบบ ลงั กาเปน็ ประธานของวดั และต่อมาจงึ ใช้เปน็ แบบในการสรา้ ง ณ วัดในเมืองสโุ ขทยั และเมืองกาแพงเพชร ดา้ นการเมืองการปกครอง และการบริหารรัฐกจิ ลักษณะการปกครองในสมัยของพ่อขุนรามคาแหงหรือราษฎรมักเรียกกันติดปากว่าพ่อขุนรามคาแหง นั้น พระองค์โปรดการสมาคมกับไพร่บ้านพลเมืองไม่เลือกช้ันวรรณะ ถ้าแม้ว่าใครจะถวายทูลร้องทุกข์ ประการใดแล้ว ก็อนุญาตให้เข้าเฝ้าใกล้ชิดได้ไม่เลือกหน้าในทุกวันพระมักเสด็จ ออกประทับยังพระแท่นศิลา อาสน์ ทาการส่ังสอนประชาชนให้ตั้งอยู่ในศีลธรรม การปกครองของพ่อขุนรามคาแหงได้ใช้ระบบปิตุ ราชาธิปไตยหรือ \"พอ่ ปกครองลกู \" ดังข้อความในศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหงว่า คาพูด\"....เม่ือช่ัวพ่อกู กูบาเรอ แกพ่ ่อกู กูได้ตัวเนื้อตัวปลา กูเอามาแก่พ่อกู กูได้หมากส้มหมากหวาน อันใดกินอร่อยดี กูเอามาแก่พ่อกู กูไปตี หนังวังช้างได้ กูเอามาแก่พ่อกู กูไปท่อบ้านท่อเมือง ได้ช้างได้งวง ได้ป่ัวได้นาง ได้เงือนได้ทอง กูเอามาเวนแก่ พ่อก.ู .\" ข้อความดังกล่าวแสดงการนับถือบิดามารดา และถือว่าความผูกพันในครอบครัวเป็นเรื่องสาคัญ ครอบครัวท้ังหลายรวมกันเข้าเป็นเมืองหรือรัฐ มีเจ้าเมืองหรือพระมหากษัตริย์เป็นหัวหน้าครอบครั ว ปรากฏข้อความในศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหงว่าพ่อขุนรามคาแหงมหาราชทรงใช้พระราชอานาจใน การยุติธรรมและนิติบัญญัติไว้ดังต่อไปน้ี 1) ราษฎรสามารถค้าขายได้โดยเสรี เจ้าเมืองไม่เรียกเก็บจังกอบหรือ ภาษผี า่ นทาง 2) ผ้ใู ดลม้ ตายลง ทรพั ย์มรดกก็ตกแกบ่ ุตร และ 3) หากผใู้ ดไมไ่ ด้รบั ความเป็นธรรมในกรณีพิพาท ก็มีสิทธิไปส่ันกระดิ่งที่แขวนไว้หน้าประตูวังเพ่ือถวายฎีกาต่อพระมหากษัตริย์ได้ พระองค์ก็จะทรงตัดสินด้วย พระองคเ์ อง
นอกจากนี้ พ่อขุนรามคาแหงมหาราชยังทรงใช้พุทธศาสนาเป็นเคร่ืองช่วยในการปกครอง โดยได้ทรง สรา้ ง \"พระแทน่ มนังคศลิ าบาตร\"ขนึ้ ไวก้ ลางดงตาล เพ่ือให้พระเถรานุเถระแสดงพระธรรมเทศนาแก่ประชาชน ในวันพระ ส่วนวนั ธรรมดาพระองคจ์ ะเสด็จประทับเปน็ ประธานใหเ้ จ้านายและข้าราชการปรกึ ษาราชการการ ด้านศาลยุตธิ รรม กระด่งิ พ่อขุนรามคาแหง ในด้านทางศาลก็ให้ความยุตธิ รรมแก่อาณาประชาราษฎรโดยทวั่ ถงึ กันไมเ่ ลือกหน้าทรงเอาพระทัยใสใ่ น ทุกข์สุขของอาณาประชาราษฎรถ์ ึงกับสง่ั ให้เจ้าพนักงานแขวนกระด่ิงขนาดใหญ่ไว้ที่ประตพู ระราชวงั ดา้ นหน้า แมใ้ ครมที กุ ข์ร้อนประการใดจะขอให้ทรงระงบั ดับเข็ญแลว้ ก็ให้ล่ันกระดิง่ ร้องทุกข์ไดท้ ุกเวลา ในขณะพิจารณา สอบสวนและตดั สินคดี พระองค์ก็เสด็จออกฟงั และตดั สนิ ด้วยพระองคเ์ องไปตามความยตุ ธิ รรม การชลประทาน โปรดใหส้ ร้างทานบกักน้าท่เี รียกวา่ “สรดี ภงส์” เพือ่ นานา้ ไปใชใ้ นตวั เมอื งสุโขทัยและบริเวณใกล้เคยี ง โดยอาศัยแนวคันดนิ ที่เรยี กวา่ “เขื่อนพระร่วง” ทาใหม้ นี ้าสาหรับใช้ในการเพาะปลูกและอุปโภคบรโิ ภคในยาม ทบ่ี า้ นเมืองขาดแคลนน้า
ศิลาจารึกพอ่ ขนุ รามคาแหง กาเนิดอักษรไทย การค้นพบหลักศิลาจารึกพอ่ ขุนรามคาแหง วันที่ 17 มกราคม พ.ศ.2376 ปีมะเส็ง เบญจศก ศักราช 1995 พระบาทสมเด็จฯ พระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ซ่ึงทรงผนวชมาตั้งแต่รัชกาลท่ี 2 ประทับอยู่ ณ วัดราชาธิราชเสด็จขึ้นไปธุดงค์ทางมณฑลฝ่าย เหนือถึงเมอื พษิ ณโุ ลก สวรรคโลก และเมืองสุโขทยั เมื่อเสด็จไปถึงเมืองสุโขทัยครั้งนั้นทอดพระเนตรเห็นศิลา จารึก 2 หลักคือ ศิลาจารึกของพ่อขุนรามคาแหง (หลักท่ี 1 ) และศิลาจารึกภาษาเขมรของพระมหาธรรม ราชาลิไทย (หลักท่ี 4) กับแท่นมนังศิลาอยู่ท่ีเนินปราสาท ณ พระราชวังกรุงสุโขทัยเก่า ราษฎร เช่นสรวง บชู านบั ถือกนั ว่าเป็นของศักด์ิสิทธิ์ เปน็ ท่นี ับถือกลัวเกรงของหม่มู หาชน ถ้าบุคคลไม่เคารพเดินกรายเข้าไปใกล้ ใหเ้ กิดการจับไข้ไม่สบาย ทอดพระเนตรเห็นแล้วเสด็จตรงเข้าไปประทับแผ่น ณ ศิลานั้น ก็มิได้มีอันตราส่ิงหนึ่ง ส่ิงใดด้วยอานาจพระบารมี พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวดารัสถามว่าของทั้งสามสิ่งน้ันเดิมอยู่ท่ี ไหน ใครเป็นผู้เอามารวบรวมไวต้ รงนนั้ ก็หาไดค้ วามไม่ ชาวสโุ ขทยั ทราบทูลว่าแตว่ ่าเห็นรวบรวมอยู่ตรงน้ันมา ตั้งแต่ครั้งปู่ย่าตายายแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพิจารณาดูเห็นว่าเป็นของสาคัญจะทิ้งไว้เป็นอันตราย เสีย จึงโปรดเกล้าฯ ให้ส่งมากรุงเทพฯเดิมเอาไว้ท่ีวัดราชาธิวาส ทั้งสามส่ิง พระแท่นมนังคศิลานั้นก่อทาเป็น แทน่ ทปี่ ระทบั ไว้ตรงใตต้ น้ มะขามใหญ่ ขา้ งหน้าพระอุโบสถ ครั้นเสด็จมาประทับ ณ วัดบวรนิเวศ โปรดฯ ให้ ส่งหลักศิลาทั้งสองน้ันมาด้วย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพยายามอ่านหลักศิลาของพ่อขุน รามคาแหงเอง แล้วโปรดฯ ให้สมเด็จพระมหาสมณะเจ้าพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ พร้อมด้วยล่ามเขมรอ่าน แปลหลักศิลาของพระธรรมราชาลิไทย ได้ความทราบเรื่องทั้งสองหลัก ครั้งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจา้ อยู่หวั ได้ เสวยราชย์ เมอื่ พ.ศ. 2394 ตอ่ มาจึงโปรด ฯ ให้ยา้ ยพระแท่นมนังคศิลามาก่อแทน่ ประดิษฐานไว้ หน้าวิหารพระคนั ธารราฐในวดั พระศรรี ัตนศาสดาราม...
วันพ่อขนุ รามคาแหง สานักงานสภาจงั หวดั สโุ ขทัย ได้มีหนังสือเสนอต่อ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี ขอให้มีการกาหนด “วันพ่อ ขุนรามคาแหงมหาราช” ขึ้น ในเดอื นธันวาคม พ.ศ. 2531 โดยถอื วนั ทีพ่ ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดี ศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะดารงพระราชอิสริยยศสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดาเนินเพ่ือทรงประกอบพระราชพิธีเปิดพระบรมราชานุสาวรีย์พ่อขุน รามคาแหงมหาราช วนั ที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2526 เป็น “วนั พ่อขนุ รามคาแหงมหาราช” ต่อมาคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ คณะกรรมการชาระประวัติศาสตร์ไทย และจัดเอกสารทาง ประวัติศาสตร์และโบราณคดี ได้พิจารณาเร่ืองการกาหนดวันสาคัญทางประวัติศาสตร์ใหม่ ตามหลักฐานทาง ประวตั ศิ าสตร์ โดยเสนอว่าควรเปน็ วนั ท่ีพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพบหลักศิลาจารึกของพ่อ ขุนรามคาแหงมหาราช วันท่ี 17 มกราคม พ.ศ. 2376 มีการเสนอต่อท่ีประชุมคณะรัฐมนตรี ในการกาหนดวันสาคัญทางประวัติศาสตร์ของชาติ ซึ่ง คณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ คณะกรรมการชาระประวัติศาสตร์ไทยและจัดพิมพ์เอกสารทาง ประวตั ิศาสตร์และโบราณคดี ได้พิจารณาเห็นชอบด้วย จึงกาหนดให้ วันที่ 17 มกราคม ของทุกปีเป็น “วันพ่อ ขนุ รามคาแหงมหาราช” พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจา้ อยู่หัว ภายหลังเมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสวยราชย์เมื่อปี พ.ศ. 2394 ได้โปรดให้เอามา ก่อแทนประดิษฐานไว้ท่ีหน้าวิหารพระคันธาราฐในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม อยู่มาจนถึงในรัชกาลปัจจุบันนี้ เมื่องานพระราชพิธีบรมราชาภิเศกสมโภชใน พ.ศ. 2545 จึงโปรดให้ย้ายไปทาเป็นแท่นเศวตฉัตรราช บัลลังก์ ประดิษฐานไวใ้ นพระท่นี ่ังดสุ ิตมหาปราสาทปรากฏอยู่ในทุกวันนี้
วัดบวรนเิ วศ สว่ นศิลาจารกึ พ่อขุนรามคาแหงน้นั ครน้ั พระบาทสมเดจ็ ฯ พระจอมเกลา้ เจา้ อยูห่ วั เสดจ็ มาประทับอยู่ ณ วัดบวรนเิ วศ โปรดให้ส่งหลักศิลานั้นมาด้วย ภายหลังเม่อื ได้เสวยราชย์ พระจอมเกล้าอยู่หวั โปรดฯ ใหย้ ้ายจากวัดบวรนิเวศ เอาเข้าไปต้ังไวศ้ าลาราย ในวัดพระศรรี ตั นศาสดารามข้างดา้ นเหนอื พระอุโบสถหลงั ทสี่ องนับแต่ทางตะวันตก อยู่ ณ ทีน่ ีต้ ่อมาชา้ นาน จนปลายเดือนมนี าคม พ.ศ. 2466 จึงไดย้ า้ ยเอามารวมไว้ทหี่ อพระสมดุ เรื่องหลักศิลาจารกึ พ่อขุนรามคาแหง ทีน่ ักปราชญช์ าวยุโรปแตง่ ไว้ในหนงั สือตา่ งๆ น้ัน มีอย่ใู นบญั ชีท้าย คานาภาษาฝรั่งแลว้ สว่ นนักปราชญ์ไทยแต่ข้ึนนั้นได้เคยพิมพใ์ นหนังสือวชิรญาณเลม่ ท่ี 6 หนา้ 3574 ถงึ 2577 ในหนงั สอื เรอื่ งเมอื งสโุ ขทยั ในหนังสอื พระราชนพิ นธเ์ ร่ืองเท่ยี วเมอื งพระร่วง และใน ประชมุ พงศาวดารภาคทหี่ น่ึง จากการสันนิษฐาน ผ้แู ต่งอาจมีมากกว่า 1 คน เพราะเนือ้ เรื่อง ในหลกั ศลิ าจารกึ แบง่ ไดเ้ ปน็ 3 ตอน
ศลิ าจารกึ พ่อขุนรามคาแหง ด้านที่ 1 ศลิ าจารกึ พอ่ ขุนรามคาแหง ด้านท่ี 1 ตอนที่ 1 ต้งั แตบ่ รรทดั ท่ี 1 ถึง 18 กล่าวถงึ พระราชประวัติของพ่อขนุ รามคาแหง และพระราช ภารกจิ ของพระองค์ ใชค้ าว่า “กู” เปน็ พืน้ เขา้ ใจว่า พอ่ ขุนรามคาแหงคงจะทรงแต่งเกยี่ วกบั พระราชประวตั ิ ของพระองค์เอง
ศลิ าจารกึ พ่อขนุ รามคาแหง ดา้ นท่ี 1 รูปคาปจั จบุ นั
ศิรารึกพ่อขนุ รามคาแหงด้านที่ 2 ศิลาจารึกพอ่ ขนุ รามคาแหงดา้ นที่ 2 ตอนท่ี 2 เป็นการบนั ทกึ เรื่องราวเหตุการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีของเมืองสุโขทัย เช่นเรื่องราวของการสร้างพระแท่นมนังคศิลาอาสน์ วัดมหาธาตุ เมืองศรีสัชนาลัย และการประดิษฐ์ตัว อักษรไทย ใช้คาว่าพ่อขุนรามคาแหง โดยเร่ิมต้นว่า \"เม่ือช่ัวพ่อขุนรามคาแหงเมืองสุโขทัยน้ีดี......\" จึงเข้าใจว่า จะต้อง เป็นผ้อู ื่นแต่ง เพมิ่ เตมิ ภายหลังตอนที่ 2 เล่าเหตุการณต์ า่ ง ๆ
ศลิ าจารกึ พ่อขนุ รามคาแหงดา้ นท่ี 2 รูปคาปจั จบุ นั
ศิลาจารกึ พอ่ ขุนรามคาแหงด้านที่ 3 ศิลาจารึกพอ่ ขนุ รามคาแหงดา้ นที่ 3 ตอนท่ี 3 กลา่ วถึงอาณาเขตของเมอื งสโุ ขทยั สรรเสรญิ และยอพระเกียรตคิ ุณของพ่อขุนรามคาแหง โดยเริม่ ต้นวา่ \"พอ่ ขุนรามคาแหง น้นั หาเป็นท้าวเปน็ พระยาแก่ไทยทงั้ หลาย......\" ศาสตราจารย์ยอร์ช เซเดย์ ผู้แปลอักษรพ่อขุนรามคาแหงได้ ท่านได้สนั นิษฐานวา่ ความในตอนท่ี 3 คงจารึกหลงั ตอนที่ 1 และตอนที่ 2 จึงเข้าใจวา่ ผู้อืน่ แต่งต่อในภายหลัง
ศลิ าจารกึ พ่อขนุ รามคาแหงดา้ นท่ี 3 รูปคาปจั จบุ นั
ศลิ าจารึกพอ่ ขนุ รามคาแหงดา้ นท่ี 4 ศลิ าจารึกพอ่ ขนุ รามคาแหงด้านท่ี 4
ศิลาจารกึ พ่อขนุ รามคาแหงดา้ นท่ี 4 รูปคาปจั จบุ นั
ลักษณะหลกั ศิลาจารึกพอ่ ขุนรามคาแหง หลกั ศิลาจารกึ พอ่ ขนุ รามคาแหง หลักศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหงมีลักษณะเป็นแท่งหินรูปส่ีเหลี่ยม ยอดกลมมน สูง 1 เมตร 11 เซนติเมตร กว้าง 35 เซนติเมตร หนา 35 เซนติเมตร เป็นหินชนวนสีเขียว มีจารึกท้ังสี่ด้าน ด้านที่ 1 มี 35 บรรทัด ดา้ นท่ี 2 มี 35 บรรทดั ดา้ นที่ 3 มี 27 บรรทัด และดา้ นที่ 4 มี 27 บรรทดั ในการจารึกอักษรไทยคร้ังแรกนั้น ได้ใช้พยัญชนะไม่ครบท้ัง 44 ตัว คือมีเพียง 39 ตัว โดยขาด ตัว ฌ ฑ ฒ ฬ และตัว ฮ ไม่ครบชุดพยัญชนะเหมือนท่ีใช้สอนวิชาภาษาไทยในปัจจุบัน ในบรรดาตัวอักษร 44 ตัว ที่มีมาแตส่ มัยโบราณ มีอยู่ 2 ตัว ท่ีเราเลิกใช้ไปแล้ว คือ ฃ (ขอขวด) และ ฅ (คอคน) ท่ีเราเลิกใช้ก็เพราะเสียง 2 เสยี งน้ีเปลี่ยนไปแล้วกลายเป็นเสียงเดียวกันกับ ข (ขอไข่) ค (คอควาย) การเขียนสระในศิลาจารึกสุโขทัย หลักท่ี 1 ต่างจากการเขียนสระในปจั จบุ นั มาก ท้ังรูปรา่ งสระ และวธิ กี ารเขยี น กลา่ วคือ เขยี นสระอยู่ในบรรทัด
เช่นเดยี วกบั พยญั ชนะ รปู วรรณยกุ ต์ทใี่ ช้เขียนกากับในยุคสุโขทัย มีเพียง 2 รูป คือไม้เอก และไม้โท แต่ไม้โท ใชเ้ ปน็ เครอ่ื งหมายกากบาทแทน ตัวหนังสือท่ีทรงประดิษฐ์ข้ึนใหม่น้ี มีการจัดวางรูปแบบตัวอักษรใกล้เคียง กบั อกั ษรของประเทศตะวนั ตก คือ เขยี นจากซ้ายไปขวา วางสระและวรรณยุกต์ไว้ในบรรทัดเดียวกันหมด เพื่อ ความสะดวกในการอ่านและเขียน(ต่างจากวิธีการเขียนของชาวจีนและอาหรับ ซ่ึงเขียนจากขวามาซ้าย) และ ต่อมาได้มีการแก้ไขเพ่ิมเติมในรัชสมัยของพระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระเจ้าสิไทครองราชย์ปี พ.ศ.1891- พ.ศ. 1912 ) ซึ่งเปน็ พระราชนดั ดาของพ่อขนุ รามคาแหงดว้ ยการนาสระไปไว้ข้างบนบ้างข้างล่างบ้าง ตามแบบอย่าง หนังสือขอมท่ีไทยได้ใช้กันมาแต่ก่อนจนเคยชิน เช่น สระ อิ อี อือ นาไปเขียนไว้บนพยัญชนะส่วนสระ อุ อู เขียนไวใ้ ตพ้ ยัญชนะ (ส่วน สระ อะ อา อา แตเ่ ดมิ เขียนไว้หลังพยัญชนะอยู่แล้ว เช่นเดียวกับสระ เอ แอ โอ ไอ ซ่ึงเขียนไว้หน้าพยัญชนะมาแต่เดิม) และได้ทรงเพ่ิมไม้หันอากาศ เพื่อใช้แทนตัวอักษร เช่น คาว่า \"อนน\" เปล่ยี นเปน็ เขียนว่า \"อัน\" เป็นตน้ และรปู แบบตัวอักษร ก็เปล่ียนแปลงไปบา้ งเล็กน้อย ลายสอื ไทยท่ีพ่อขนุ รามคาแหงทรงคดิ ขน้ึ นี้ ประเทศขา้ งเคียง เช่น อาณาจักรล้านนา ลา้ นชา้ ง อโยธยา สพุ รรณภูมิ ได้นาไปใช้กนั อย่างแพร่หลายแต่ต่อมาครัน้ เม่ืออาณาจักรสุโขทยั เส่ือมอานาจลง ทางลา้ นช้างได้ เปล่ยี นไปใช้อักษรลาว ส่วนทางลา้ นนาเปลีย่ นไปใช้อักษรไทยลื้อ และเมื่อสมเด็จพระรามาธบิ ดีที่ 1 (พระเจา้ อู่ ทอง ครองราชย์ปี พ.ศ. 1893- พ.ศ.1912) ทรงต้ังอาณาจักรเป็นอสิ ระกับสรา้ งพระนครศรีอยุธยาเป็นราชธานี ในปี พ.ศ.1893 ก็ไดเ้ อาแบบอกั ษรไทยสโุ ขทยั มาใช้ ซงึ่ มีการแก้ไขดัดแปลงกันมาตามลาดบั จนเปน็ อยา่ งทเี่ หน็ และใชก้ ันแพรห่ ลายเชน่ ในปัจจุบัน
สระ วรรณยกุ ต์ และตัวเลข สมยั พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช
การแก้ไขอักษรขอมของพอ่ ขนุ รามคาแหง มดี ังนี 1. ตัวอักษรขอมท่ีมีหนามเตยและเชิง พ่อขุนรามคาแหงทรงเห็นว่ารุงรังมิได้เป็นประโยชน์ใน ภาษาไทย ตัวอักษรตัวเดียวควรเขียนด้วยเส้นเดียวไม่ควรยกปากกาบ่อย ๆ ทาให้อักษรไทยเขียนได้ง่ายและ รวดเร็ว พยัญชนะแต่ละตัวต่อเป็นเส้นเดียวตลอด ในขณะท่ีพยัญชนะขอมต้องเขียนสองหรือสามเส้นต่อหนึ่ง พยญั ชนะ 2. เพิ่มพยัญชนะบางตัวท่ีมิได้มีในภาษาขอม เช่น ฃ ฅ ซ ฏ ด บ ฝ ฟ อ (ในภาษาเขมร ตัว บ ใช้เป็น ทง้ั ป และ บ ตัว ฎ ใชเ้ ปน็ ท้งั ฎ และ ฏ) 3. เพ่ิมสระทที่ รงประดิษฐข์ ้นึ ไดแ้ กส่ ระอึ สระอือ สระแอ สระเอือ ฯลฯ สระออ และสระอือ ไม่ต้องมี อ เคียง เช่น เขียน พ่ชื่ แทน พ่อช่ือ สระ อิ อี อือ อุ อู นามาเขียนข้างหน้าติดกับพยัญชนะต้น เช่น อี ป น แทน ปนื ฯลฯ 4. สระอกั ษรขอมมีความสงู ไม่เทา่ กัน แตส่ ระของพ่อขนุ รามคาแหงสูงเท่ากันหมด และสูงเท่ากบั พยัญชนะทุกตวั หางของ ศ ส ก็ขดี ออกไปข้าง ๆ สว่ น ป และ ฝ หางสงู กว่าอักษรตัวอน่ื ๆ เพียงนดิ เดยี ว สระ กับพยญั ชนะรวมทงั้ สระโอ สระไอ ไม้ลาย และสระไอไม้ม้วน 5. สระขอมวางไวร้ อบดา้ นพยัญชนะ ทั้งขา้ งหนา้ ข้างหลัง ข้างลา่ ง แต่พ่อขุนรามคาแหงทรงดดั แปลง ให้สระอยบู่ นบรรทดั เดยี วกับพยญั ชนะท้ังหมดและอยู่หนา้ พยญั ชนะเปน็ ส่วนมาก ท่ีอยู่หลังมีแตส่ ระ อะ อา อา ที่มาเขยี นไว้รอบตัวอยา่ งปัจจุบนั นเี้ รามกั มาแก้กันในชั้นหลัง วิธีเรยี งอกั ษรของพอ่ ขุนรามคาแหงคลา้ ย ๆ กับวธิ ี เรียงตวั อกั ษรของฝร่ังผดิ แต่ที่ของฝรั่งเรียงสระไว้ขา้ งหลงั ตัวพยญั ชนะแต่ศลิ าจารึกของพ่อขนุ รามคาแหงสระ บางตัวอย่ขู า้ งหลงั เช่น อา อา อะ บางตวั อยู่ขา้ งหนา้ เชน่ อิ อี อือ อุ อู เอ แอ ไอ ใอ โอ
คณุ ค่าของศลิ าจารกึ พ่อขนุ รามคาแหง 1. ดา้ นภาษาและสานวนโวหาร จารึกของพ่อขุนรามคาแหงเป็นหลกั ฐานที่สาคญั ทส่ี ดุ ทแี่ สดงใหเ้ หน็ ถึงกาเนิดของวรรณคดแี ละอักษรไทย เช่น กลา่ วถงึ หลกั ฐานการประดิษฐอ์ กั ษรไทย ด้านสานวนการใช้ถ้อยคาในการเรียบเรยี งจะเหน็ ว่า - ถ้อยคาสว่ นมากเป็นคาพยางค์เดียวและเป็นคาไทยแท้ เช่น อ้าง โสง นาง เป็นตน้ - มคี าที่มาจากภาษาบาลีสนั สกฤตปนอยูบ่ ้าง เชน่ ศรีอนิ ทราทิตย์ ตรีบูร อรัญญิก ศรัทธา พรรษา เปน็ ตน้ - ใช้ประโยคส้นั ๆ ให้ความหมายกระชบั เช่น แมก่ ูชือ่ นาง\"เสอื ง พ่ีกชู ่ือบานเมอื ง” ขอ้ ความบางตอน ใชค้ าซ้า เช่น \"ป่าพร้าวก็หลายในเมอื งน้ี ป่าลางก็หลายในเมืองนี้” - นิยมคาคล้องจองในภาษาพูด ทาให้เกิดความไพเราะ เช่น \"ในน้ามปี ลา ในนามีข้าว เจา้ เมอื งบเอาจกอบในไพร่ลู่ทาง เพอ่ื นจูงวัวไปค้า ขี่ม้าไปขาย\" - ใชภ้ าษาทเ่ี ปน็ ถ้อยคาพ้นื ๆ เป็นภาษาพูดมากกว่าภาษาเขียน 2. ด้านประวตั ิศาสตร์ ใหค้ วามรูเ้ ก่ียวกบั พระราชประวตั ิพ่อขนุ รามคาแหง จารกึ ไว้ทานองเฉลมิ พระ เกยี รติ ตลอดจนความรู้ดา้ นประวัติศาสตร์ โบราณคดี และสภาพสังคมของกรุงสโุ ขทยั ทาให้ผูอ้ ่านรู้ถึงความ เจรญิ รุ่งเรอื งของกรงุ สุโขทัย พระปรชี าสามารถของพ่อขุนรามคาแหง และสภาพชวี ิตความเปน็ อยู่ของชาว สุโขทยั 3. ดา้ นสังคม ให้ความร้ดู า้ นกฎหมายและการปกครองสมยั กรงุ สโุ ขทัย วา่ มกี ารปกครองแบบพ่อ ปกครองลูก พระมหากษตั ริย์ดูแลทุกข์สุขของราษฎรอย่างใกล้ชดิ 4. ด้านวฒั นธรรม ประเพณี ให้ความร้เู ก่ียวกบั วฒั นธรรม ประเพณีอนั ดีงามของชาวสุโขทยั ที่ ปฏิบัตสิ ืบมาจนถงึ ปจั จบุ ัน เช่น การเคารพบูชาและเลีย้ งดูบิดามารดา นอกจากนน้ั ยังได้กล่าวถงึ ประเพณที าง ศาสนา เช่น การทอดกฐนิ เม่ือออกพรรษา ประเพณีการเลน่ รื่นเริงมกี ารจุดเทียนเล่นไฟ พ่อขนุ รามคาแหงโปรด ให้ราษฎรทาบุญและฟังเทศน์ในวันพระ เช่น \"คนเมืองสุโขทัยนีม้ กั ทาน มักทรงศีล มักอวยทาน.......ฝูงท่วยมี ศรัทธา ในพระพุทธศาสนา ทรงศลี เม่ือพรรษาทกุ คน\" พ่อขุนรามคาแหงมหาราช ทรงประดิษฐ์อักษรไทยโดยจัดทาศลิ าจารึกขึน้ เป็นครัง้ แรกแลนับวา่ ก่อใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ กท่ างประวัตศิ าสตร์เปน็ อย่างมาก อนั เปน็ รากฐานของหนงั สือไทยที่เราได้ใชก้ ันอยใู่ นทุก วนั นี้
วันพ่อขุนรามคาแหงมหาราช สานกั งานสภาจงั หวัดสุโขทยั ไดม้ หี นังสือเสนอต่อ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี ขอให้มีการกาหนด “วันพ่อ ขนุ รามคาแหงมหาราช” ข้นึ ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2531 โดยถือวันท่ีพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดี ศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะดารงพระราชอิสริยยศสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดาเนินเพื่อทรงประกอบพระราชพิธีเปิดพระบรมราชานุสาวรีย์พ่อขุน รามคาแหงมหาราช วันที่ 17 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2526 เป็น “วนั พอ่ ขุนรามคาแหงมหาราช” ต่อมาคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ คณะกรรมการชาระประวัติศาสตร์ไทย และจัดเอกสารทาง ประวัติศาสตร์และโบราณคดี ได้พิจารณาเร่ืองการกาหนดวันสาคัญทางประวัติศาสตร์ใหม่ ตามหลักฐานทาง ประวตั ิศาสตร์ โดยเสนอว่าควรเป็นวันท่ีพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพบหลักศิลาจารึกของพ่อ ขุนรามคาแหงมหาราช วนั ท่ี 17 มกราคม พ.ศ. 2376 มีการเสนอต่อที่ประชุมคณะรัฐมนตรี ในการกาหนดวันสาคัญทางประวัติศาสตร์ของชาติ ซ่ึง คณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ คณะกรรมการชาระประวัติศาสตร์ไทยและจัดพิมพ์เอกสารทาง ประวัตศิ าสตรแ์ ละโบราณคดี ได้พิจารณาเห็นชอบด้วย จึงกาหนดให้ วันที่ 17 มกราคม ของทุกปีเป็น “วันพ่อ ขุนรามคาแหงมหาราช” ...............................................................
แหลง่ ขอ้ มูลอา้ งอิง เจา้ พระยาพระคลงั (หน). (2515). ราชาธิราช. พระนคร : บรรณาการ. ชนม์สวสั ดิ์ ชมพนู ุช.2514.พระราชประวตั ิ 9 มหาราช.กรุงเทพฯ: พิทยาคาร ตรี อมาตยกลุ . (2523, 2524, 2525 และ 2527). \"ประวตั ศิ าสตร์สุโขทัย.\" แถลงงานประวตั ศิ าสตร์ เอกสาร โบราณคดี, (ปีท่ี 14 เล่ม 1, ปที ี่ 15 เล่ม 1, ปที ่ี 16 เล่ม 1 และปที ่ี 18 เล่ม 1) ประชมุ ศิลาจารกึ ภาคท่ี 1. (2521). คณะกรรมการพจิ ารณาและจัดพิมพเ์ อกสารทางประวัติศาสตร์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สานักเลขาธิการคณะรฐั มนตรี. ประเสรฐิ ณ นคร. (2534). \"ประวตั ศิ าสตร์สุโขทยั จากจารึก.\" งานจารึกและประวตั ศิ าสตร์ของประเสริฐ ณ นคร. มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ กาแพงแสน. ประเสรฐิ ณ นคร. (2544). \"รามคาแหงมหาราช, พอ่ ขนุ \". สารานุกรมไทยฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน, (เลม่ 25 : ราชบณั ฑติ ยสถาน-โลกธรรม). กรุงเทพฯ : สหมิตรพร้นิ ติง้ . ประเสรฐิ ณ นคร. (2534). \"ลายสือไทย\". งานจารกึ และประวัติศาสตรข์ องประเสริฐ ณ นคร. มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ กาแพงแสน. อดุ ม ประมวลวทิ ย์. (2508)\" \"50 กษตั ริย์ไทย\". สานักพิมพโ์ อเดยี นสโตร์. th.wikipedia.org/wiki/พ่อขุนรามคาแหงมหาราช. www.prachin.ru.ac.th/พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช/ประวัติ www.info.ru.ac.th/province/Sukhotai/mpkr.htm www.youtube.com/watch?v=lImrIkj0oK8 www.m-culture.go.th/.../king-ramkhamhaeng www.silpa-mag.com http://www.info.ru.ac.th/province/Sukhotai/srjsd http://www.info.ru.ac.th/province/Sukhotai/srjsd33-3.htm hilight.kapook.com/view ขอขอบคุณภาพและเน้ือหาจากเวบ็ ไซต์ต่างๆ
มหาราชพระองค์ท่ี 4 สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช ผู้เรียบเรยี งนายประสาร ธาราพรรค์ หน่งึ อาสนธ์ ริ าชไท้ ทรงธรรม ทองสุกมกุ ดาสรรพ์ ก่องแกว้ กระหนกรัตนจ์ ารสั วรร โณภาส อยา่ ฝนื ขน้ึ แลน่ แลว้ อวดอ้าง ทรอิงอร นฤบดี นยั หนงึ่ พงึ่ เฟ่าทา้ ว ท่านไท้ อย่าใกลน้ กั ศกั ดิศรี ทวโิ ทษ ทะนงจะจงมี นเรนทร์พรอ้ ง ถามถงึ อย่าไกลนัยเนตรให้ โคลงพาลีสอนน้อง พระราชนพิ นธใ์ นสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
พระราชประวตั ิสมเด็จพระนารายณ์มหาราช สมเด็จพระนารายณ์มหาราช เป็นกษัตริย์องค์ท่ี 28 แห่งอาณาจักรอยุธยา พระองค์ทรงได้รับยกย่อง ให้เปน็ มหาราช ท้ังน้ีเพราะถือวา่ รัชสมัยของพระองคเ์ จรญิ รงุ่ เรืองในทางวรรณคดีและการต่างประเทศ แต่สมัย ของพระองคเ์ ปน็ สมยั ทีป่ ัญหายงุ่ ยากทางการเมอื งภายในอย่างสูง และเข้าไปเก่ียวข้องกับการเมืองต่างประเทศ ในลักษณะทล่ี ่อแหลมจนเกือบทาให้สยามตกอยใู่ ต้อิทธิพลของฝร่ังเศส สมัยของพระองค์เป็นสมัยที่มีข้อมูลทาง ประวตั ศิ าสตรม์ ากท่ีสุดของอยธุ ยา สมเด็จพระนารายณ์มหาราช เป็นพระมหากษัตริย์ท่ีมีบทบาทสาคัญแตกต่างจากวีรกษัตริย์พระองค์ อื่น พระองค์ทรงมีความเฉลียวฉลาดปราดเปรื่อง เป็นที่ยกย่องสรรเสริญ พระปรีชาสามารถแผ่ไปไกลถึง ตา่ งประเทศ สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ทรงทานุบารุงให้บ้านเมืองรุ่งเรืองยิ่งกว่าสมัยใดในกรุงศรีอยุธยา มี ความสามารถพิเศษในการปกครอง มีข้าราชการและเหล่าทหารหาญตามคัมภีร์พิชัยสงครามคือ หัวศึก ได้แก่ เจ้าพระยาโกษาเหลก็ มอื ศึก ไดแ้ กพ่ ระยาเดโชชัย ตีนศึก ได้แก่พลช้างม้าครบถ้วน ตาศึก ได้แก่พระพิมลธรรม หศู กึ ไดแ้ กเ่ จา้ พระยาวิชาเยนทร์ ปากศึก ได้แก่พระวิสุตรสุนทร (โกษาปาน) กาลังศึก ก็คือผู้คนช้างม้า เสบียง อาหารอุดมสมบูรณ์ในรชั สมยั ของพระองค์
พระราชสมภพ สมเด็จพระนารายณ์มหาราช เสด็จพระบรมราชสมภพ เม่ือวันจันทร์ เดือนย่ี ปีวอก พ.ศ. 2175 เป็น พระราชโอรสในสมเดจ็ พระเจ้าปราสาททอง กับพระนางศิริธิดา ต่อมาภายหลังยกเป็นพระราชเทวี และมีพระ ขนษิ ฐารว่ มพระมารดาคือสมเดจ็ เจ้าฟ้าศรสี ุพรรณ กรมหลวงโยธาทิพ หรือพระราชกลั ยาณี พระราชบิดาและพระราชมารดาเป็นเครือญาติกัน หม่อมหลวงมานิจ ชุมสายระบุว่า พระมารดาของ พระนารายณเ์ ปน็ \"...พระขนิษฐาต่างมารดาของพระเจ้าปราสาททอง\" แตง่ านเขยี นของนิโคลาส์ เดอ แซร์แวส ระบุว่า มารดาเป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม ส่วนพระราชบิดาคือสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ฟาน ฟลีต ระบุว่า เป็นลูกของน้องชายพระราชมารดาในสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม พระองค์มีพระนมที่คอย อปุ ถัมภอ์ ารุงมาแต่ยงั ทรงพระเยาว์ คือ เจ้าแม่วัดดุสิต ซ่ึงเป็นญาติห่าง ๆ ของพระเจ้าปราสาททองเช่นกัน กับ อีกท่านหนึ่งคือพระนมเปรม ท่ีฟร็องซัว อ็องรี ตุรแปง (François Henry Turpin) ระบุว่าเป็นเครือญาติของ สมเดจ็ พระนารายณ์ สมเด็จพระนารายณม์ หาราช เป็นพระอนชุ าตา่ งพระมารดาในสมเด็จเจ้าฟ้าไชย และยังมีพระอนุชาต่าง พระมารดาอีก ได้แก่ เจา้ ฟ้าอภยั ทศ (เจ้าฟา้ ง่อย), เจ้าฟ้าน้อย, พระไตรภูวนาทิตยวงศ์, พระองค์ทอง และพระ อินทราชานอกจากน้ีพระองค์ยังทรงมีพระขนษิ ฐารว่ มพระชนนีองค์หนงึ่ คือ สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้า ศรีสุวรรณ กรมหลวงโยธาทิพในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาเล่าว่าเม่ือแรกเสด็จพระบรมราชสมภพน้ัน พระองคม์ พี ระนามเดิมว่า \"เจ้าฟา้ นรนิ ทร์\" แตเ่ มือ่ ขนึ้ พระอู่ พระญาตเิ ห็นพระโอรสมีสี่กร พระราชบิดาจึงโปรด เกล้าฯ พระราชทานนามใหม่ว่า \"พระนารายณ์\" ส่วนในคาให้การชาวกรุงเก่าและคาให้การขุนหลวงหาวัด เล่า ว่าเม่ือเพลิงไหม้พระท่ีน่ังมังคลาภิเษก พระโอรสเสด็จไปช่วยดับเพลิง ผู้คนเห็นเป็นส่ีกร จึงพากันขนานพระ นามวา่ พระนารายณ์ พระราชประวัติของสมเดจ็ พระนารายณน์ ้ันเกีย่ วกับเร่ืองปาฏิหาริย์อยู่มาก แสดงให้เห็น ถงึ อิทธพิ ลของพราหมณ์ เม่ือเทียบกับกษัตริย์องค์ก่อนๆ ด้วยเหตุน้ีเองพระราชประวัติของพระองค์จึงกล่าวถึง ปาฏิหาริย์มหศั จรรยต์ ามลาดับ คอื เมอื่ พระนารายณ์ทรงมพี ระชนมไ์ ด้ 5 พรรษา ขณะเล่นน้า พระองค์ทรงถูก อสนบี าตฟา้ ผ่า พวกพีเ่ ลยี้ ง นางนม สลบหมดสิ้น แต่พระองค์ไม่เป็นไรแม้แต่น้อย เมื่อพระนารายณ์ทรงมีพระ ชนม์ได้ 9 พรรษา พระองคท์ รงถกู อสนบี าตทีพ่ ระราชวังบางปะอนิ แต่พระองคก์ ็ปลอดภยั ดี
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช พระนามเต็มตามหนังสือพระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา \"สมเด็จพระบรมราชาธิราชธิบดีศรีสรรเพชญ บรมมหาจักรพรรดิศวรราชาธิราชราเมศวร ธรรมธราธิบดี ศรสี ฤฎริ ักษสังหารจกั รวาฬาธิเบนทร์ สรุ ิเยนทราธิบดีดินทร หรหิ รนิ ทรธาดาธบิ ดี ศรีวบิ ลุ ยคุณอกนิฐ จิตรรุจีตรี ภูวนาทิตย์ ฤทธิพรหมเทพาดิเทพบดินทร์ ภูมินทราธิราช รัตนากาศมนุวงศ์องค์เอกาทศรสรุทร์ วิสุทธยโศดม บรมอาชวาธยาศรัย สมุทัยตโรมนต์ อนนตคุณวิบุลยสุนทรบวรธรรมมิกราชเดโชไชย ไตรโลกนาถบดินทร์ วริ นทราธิราชชาติพิชติ ทิศพลญาณสมันตมหันตวิปผาราฤทธิวิไชย ไอศวรรยาธิบัติขัตติยวงศ์ องค์ปรมาธิบดีตรีภู วนาธเิ บศร โลกเชษฐวสิ ทุ ธ มกุฎรตั นโมฬี ศรปี ทมุ สุรยิ วงศ์ องคส์ รรเพชญ์พทุ ธางกรู บรมบพิตร\" พระโหราธิบดี การศกึ ษา สมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงรับการศึกษาจากพระโหราธิบดี ซึ่งเป็นข้าราชการระดับสูงใน พระราชวัง และพระอาจารย์พรหม พระพิมลธรรม รวมท้ังสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์และพระสงฆ์ท่ีมีสมณ ศักดิ์ระดับสงู ในพระนคร การครองราชย์ ตราพระราชลญั จกรสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์เป็นโอรสของพระเจ้าปราสาททองกษัตริย์องค์ที่ 25 และเมื่อพระราชบิดาสวรรคตพระ เชษฐาของพระองค์คือ เจ้าฟ้าไชย ก็ข้ึนครองราชย์ได้เพียง 2 วัน พระนารายณ์ทรงร่วมสมคบกับ พระศรีสุ ธรรมราชา ซ่ึงเป็นพระเจ้าอา ชิงราชสมบัติ โดยขอให้ชาวต่างชาติในอยุธยา เช่น ฮอลันดา ญ่ีปุ่น เปอร์เซีย ช่วยให้พระศรีสุธรรมราชาข้ึนครองราชย์สมบัติแทน สมเด็จพระศรีสุธรรมราชาทรงแต่งตั้งให้พระองค์ดารง ตาแหน่งพระมหาอุปราชและให้เสด็จไปประทับที่พระราชวังบวรสถานมงคล หลังจากสมเด็จพระศรีสุธรรม ราชาข้ึนครองราชย์สมบัติได้ 2 เดือนเศษ พระองค์ทรงชิงราชสมบัติจากสมเด็จพระศรีสุธรรมราชาอีกครั้ง สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเสด็จขึ้นครองราชย์สมบัติ เม่ือเวลาสองนาฬิกา วันพฤหัสบดี แรม 2 ค่า เดอื น 12 จุลศักราช 1018 ปีวอก (ตรงกับวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2199) มีพระนามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า สมเด็จพระรามาธบิ ดี เปน็ พระมหากษัตริย์ลาดับที่ 27 แหง่ กรงุ ศรอี ยธุ ยา ขณะมีพระชนมายุ 25 พรรษา พระนารายณ์ราชนิเวศ ลพบุรี หลังจากประทับในกรุงศรีอยุธยาได้ 10 ปี พระองค์จึงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเมืองลพบุรีขึ้นเป็นราชธานี แหง่ ที่ 2 เม่ือปี พ.ศ. 2209 และเสดจ็ ไปประทบั ท่ีลพบุรีทุก ๆ ปี แต่ละครั้งจะประทับเป็นเวลานานหลายเดือน สมเด็จพระนารายณ์มหาราช มิเคยได้เป็นพระมหากษัตริย์ \"ทรงธรรม\" หรือ \"ธรรมราชา\" ในสายตาของทวย ราษฎรเ์ ลยแม้แต่นอ้ ย ดังปรากฏใน คำใหก้ ำรชำวกรงุ เก่ำ ทมี่ ีการเปรียบเทียบพระองค์กับสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว บรมโกศ ก็จะพบว่าเชลยไทยช่ืนชมพระมหากษัตริย์พระองค์หลังเสียมากกว่า นอกจากนี้ยังปรากฏในเอกสาร ของชาวตะวันตกที่ยืนยันความไม่เป็นที่นิยมของราษฎรอย่างชัดแจ้ง ท้ังน้ีก็เพราะตลอดรัชสมัยของพระองค์ ลว้ นมกี ารสงครามทัง้ กับต่างประเทศและการปราบกบฏภายในประเทศ ชาวนาจึงต้องถูกเกณฑ์ไปรบหรืออาจ ทนทุกข์เพราะความแรน้ แคน้ ของภาวะสงคราม ยงั ความทุกข์สทู่ วยราษฎร์และไม่มีประโยชน์อนั ใดตอ่ ชาวนา
พระราชกรณียกจิ ของสมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช วดั พระศรีสรรเพชญ์ สมเด็จพระนารายณ์ทรงมีทศพิธราชธรรมอันประเสริฐ แก่อาณาประชาราษฎร์ทั้งปวง ให้มีการลด ส่วยสาอากรแก่ราษฎร 3 ปี ทรงบาเพ็ญกุศลหลายประการ ทั้งยังส่ังให้จัดการถวายพระเพลิงสมเด็จ พระพุทธเจ้าหลวง (สมเดจ็ พระศรสี ธุ รรมราชา) ส่วนพระเมรสุ ูงสองเน้นสิบเอ็ดวา ประดับประดาด้วย ฉัตรทอง ฉัตรนาค ฉัตรเงิน ฉัตรเบญจรงค์และธงทิวโอ่อ่าโอฬารสมพระเกียรติเสร็จสรรพทุกประการ หลังถวายพระ เพลิงแล้ว พระอัฐิธาตุก็ได้อันเชิญไปประจุไว้ที่วัดพระศรีสรรเพชญ์ สมเด็จพระนารายณ์มหาราช แม้ว่าจะไม่ ตอ้ งทาศกึ มากมายอยา่ งพระนเรศวร แตน่ ้าพระทัยของพระองค์มีความกล้าหาญเดด็ เด่ยี วเช่นเดียวกัน พระองค์ ทรงมคี วามคิดรอบคอบใช้พระสติตริตรองปัญหาที่เผชิญหน้าอย่างดีท่ีสุด มีเหตุการณ์ในรัชสมัยของพระองค์ที่ จะยกมากล่าวไว้เรื่องหน่ึง คือในราวเดือนยี่ ปีเดียวกับการพระราชทานถวายเพลิงศพนั่นเอง มีอาแดงแก่นซ่ึง เป็นข้าบาทของพระไตรภูวนาทติยวงศ์ ได้นาเอาความเท็จทูลยุแหย่แก่พระไตรภูวนาทติยวงศ์ ทานองว่า ข้าหลวงของพระนารายณ์กล่าวหาว่า พระไตรภูวนาทติยวงศ์เข้าข้างสมเด็จพระศรีสุธรรมราชามาก่อน คร้ัน ส้นิ พระชนม์พระศรีสุธรรมราชาแลว้ กห็ ันมาประจบพวกข้าหลวงเหล่านั้น อาแดงแก่นทูลยุยุงพระไตรภูวนาทติ ยวงศ์หลายครั้ง จนกระท่ังพระไตภูวนาทติยวงศ์คิดซ่องสุมผู้คนไว้นอกพระนคร เม่ือข้าหลวงเอาเน้ือความมา กราบทูลสมเด็จพระนารายณ์ตามความจริงทุกประการ พระองค์ทรงทราบโดยตลอดว่าบัดน้ีพระไตรภูวนาทติ ยวงศ์ทาการซ่องสุมผุ้คนแน่นอนแล้ว จึงสั่งให้มหาดเล็กเอาเงินหลวงร้อยช่ังให้แก่พระไตรภูวนาทติยวงศ์ โดย บอกวา่ ใหเ้ อาไปแจกราษฎรทง้ั ปวงทว่ั กัน ต่อมาพระยาพิชัยสงคราม พระมหามนตรี มากราบทูลอีกว่าพระยา พัทลุงและพระศรีภูริปรีชา คิดอ่านกับพระไตรภูวนาทติยวงศ์จะคิดร้ายกับแผ่นดิน สมเด็จพระนารายณ์ก็ทรง ตรัสว่าจะฟังเนื้อความนี้ดูจงม่ันแม่นเสียก่อน สมเด็จพระนารายณ์ทรงเป็นกษัตริย์ท่ีพระสติรอบคอบคือ ไม่ ยอมปักใจชอ่ื ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง คร้ันความจริงปรากฏว่าพระไตรภูวนาทติยวงศ์คิดร้ายกับพระองค์จริง ดังคาของ เสนาบดีและข้าหลวงผู้จงรักภัคดีและซ่ือสัตย์ และทูลขอให้พระนารายณ์สาเร็จโทษตามพระราชประเพณี แต่
พระองคท์ รงมีน้าพระทัยกวา้ งขวาง จงึ ตรสั แก่เสนาบดีและข้าหลวงผู้ซ่ือสัตย์ว่า “เราจะสาเร็จโทษที่น้ีหาได้ไม่ แต่เราจะไปพระนครหลวงแล้วเราจะทรงม้าต้น ให้องค์ไตรภูวนาทติยวงศ์ขี่ม้าออกไปกลางทุ่งพระนคร ถ้าองค์ ไตรภูวนาทติยวงศ์จะคิดทาร้ายแก่เรา ๆ ก็มิเข็ดขาม จะยุทธด้วยองค์ไตรภูวนาทติยวงศ์ท่ีนั่นและเอาบุญญาธิ การแห่งเราเป็นที่พ่ึง” พระนารายณ์ทรงมีน้าพระทัยล้าเลิศเช่นน้ีและพระองค์ก็ทรงปฏิบัติดังที่ตรัสไว้ น้า พระทยั อนั กว้างขวางเชน่ นีเ้ ปน็ ทีป่ ระจกั ษ์ชัดหลายครงั้ หลายคราว บรรดาข้าราชบริพาร เสนาบดีและมุขมนตรี ท้ังหลายต่างก็พากันชน่ื ชมในบารมีของพระองคโ์ ดยทว่ั หนา้ กนั พระพทุ ธสหิ ิงค์ สมเด็จพระนารายณ์ทรงเป็นกษัตริย์นักรบด้วยพระองค์หนึ่ง แม้อาจจะไม่เหมือนพระมหากษัตริย์ นกั รบองค์สาคัญอื่น ๆ แตพ่ ระองคก์ ท็ รงเป็นผู้จดั การดา้ นกองทัพและปฏิบตั ิภารกิจในการสงครามอย่างได้ผลดี ย่ิงเมืองเชียงใหม่ซึ่งเสียไปคร้ังพระเจ้าปราสาททอง ได้มีหนังสือแจ้งมายังกรุงศรีอยุธยาว่า พวกฮ่อยกเข้าล้อม จะตีเอาเมืองเชียงใหม่ ชาวเชยี งใหม่หมดที่พ่ึง จึงเส่ียงทายต่อหน้าพระพุทธรูปท่ีมีชื่อว่า “พระพุทธสิหิงค์” คือ เสี่ยงทายว่าถ้าเมืองใดจะเป็นที่พ่ึงพิงได้ขอให้สาแดงนิมิตมาให้เห็น และปรากฏว่า พระพุทธสิหิงค์หันพระ พักตร์มาทางกรุงศรีอยุธยา ต่อมาพระนารายณ์ก็ยกทัพขึ้นไปตีเมืองเชียงใหม่กลับคืนมาได้ เมื่อปี พ.ศ. 2205 ทัง้ ยงั ไดอ้ ัญเชญิ พระพุทธสิหงิ ค์กลบั คนื มายังกรุงศรอี ยุธยาอีกดว้ ย เมื่อปี พ.ศ. 2206 มีพวกมอญอพยพมาจากพม่า เข้ามาทางด่านเจดีย์สามองค์จานวนประมาณ 5000 คน ซ่ึงเคยยกไปเผ่าเมืองเมาะตะมะ ต่างพากันหนีเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารของพระนารายณ์ พระองค์ก็ ทรงโปรดเกล้าให้ครอบครัวมอญเหล่านั้นต้ังบ้านเรือนอยู่บริเวณ ตาบลสามโคกบ้าง ที่คลองดูจามบัง ท่ีใกล้วัด ตองปูบัง ทง้ั ยังไดพ้ ระราชทานสิง่ ทีจ่ าเป็นอ่ืน ๆ ด้วย ต่อมา เจ้าเมืองอังวะ ได้ยกทัพตามพวกมอญที่หนีเข้ามา
รับราชการและต้งั หลกั แหลง่ ในกรุงศรอี ยุธยาคืน กองทัพของพระเจ้าอังวะยกมาทางด่านเจดีย์สามองค์ สมเด็จ พระนารายณ์จงึ ใหพ้ ระยาศรหี าราชเดโชกับพระยาโกษาเหลก็ ยกทพั ไปและตีทัพเมืองอังวะแตกพ่ายกลับไป ทั้ง ไดก้ วาดต้อนเชลยกลับเขา้ มายังกรุงศรอี ยุธยาเป็นจานวนมาก ด่านเจดียส์ ามองค์ ในปี พ.ศ. 2207 พระเจ้าแผ่นดินเมืองอังวะถูกลอบปลงพระชนม์ บ้านเมืองระส่าระสาย สมเด็จพระ นารายณ์ทรงเหน็ วา่ พมา่ เคยยกทัพโจมตไี ทยและรบกวนพวกมอญท่เี ขา้ มาพ่งึ พงิ พระบรมโพธิสมภารอยู่บ่อย ๆ พระองคเ์ หน็ เปน็ โอกาสดจี งึ จัดทัพไทยและทพั มอญยกไปทางเมอื งยาปูน ดา่ นแม่ละเมาะทางด่านเจดีย์สามองค์ และทางเมอื งทะวาย กองทัพกรุงศรอี ยุธยายกไปรวมพลท่ีเมืองเมาะตะมะ จากนั้นก็บุกโจมตีเมืองหงสาวดีและ เมอื งแปร ฝ่ายพม่ายกทัพหนจี ากเมอื งองั วะลงมาตั้งรบั ทเ่ี มอื งพุกาม ทพั ไทยได้ลอ้ มเมืองพุกามไว้จนกระทั่งถึงปี พ.ศ. 2208 จึงไดย้ กทัพกลบั กรุงศรีอยุธยา พระองค์ทรงปกครองบ้านเมืองให้เจริญก้าวหน้าทันสมัย และติดต่อค้าขายกับต่างประเทศอย่าง กว้างขวางสมเด็จพระนารายณ์ทรงปรับปรุงกิจการบ้านเมืองท้ังด้านการทหาร และการปกครองอย่างดียิ่ง ใน รัชสมัยของพระองค์มีการเปล่ียนแปลงท่ีสาคัญ ๆ อย่างมากมาย พระองค์ทรงพิจารณาเห็นว่า เม่ือบ้านเมือง สงบราบคาบปราศจากการรุกรานของศัตรูภายนอกแล้ว การจะทานุบารุงให้ประชาราษฎร์มีความเป็นอยู่ที่ดีมี ความสุข จาเป็นจะต้องปรับปรุงแก้ไขอย่างจริงจังเพื่อความเจริญก้าวหน้าและความเจริญรุ่งเรืองของประเทศ โดยเฉพาะดา้ นการตดิ ตอ่ คา้ ขายกับต่างประเทศ สมเด็จพระนารายณ์เป็นผู้มีบทบาทสาคัญย่ิงในประวัติศาสตร์ ของชาติไทย
การต่างประเทศ ความสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศในสมยั สมเดจ็ พระนารายณ์รุ่งเรอื งข้นึ มาอีกคร้ัง โดยมีการติดตอ่ ทั้งดา้ น การคา้ และการทตู กบั ประเทศต่าง ๆ เช่น จนี ญปี่ ่นุ อิหร่าน อังกฤษ และฮอลันดา มชี าวต่างชาตเิ ขา้ มาในพระ ราชอาณาจกั รเป็นจานวนมาก ในจานวนน้ีรวมถงึ เจา้ พระยาวชิ าเยนทร์ ชาวกรกี ที่รับราชการตาแหน่งสงู ถึงที่ สมุหนายกขณะเดียวกนั ยังโปรดเกลา้ ฯ ใหแ้ ตง่ คณะทตู นาโดย พระโกษาธบิ ดี(ปาน) ไปเจรญิ สัมพันธไมตรกี ับ ราชสานักฝรงั่ เศส ในรชั สมัยพระเจ้าหลยุ ส์ที่ 14 ถงึ 4 ครงั้ ดว้ ยกนั ผู้ทเี่ ขียนเก่ยี วกับกรงุ ศรอี ยธุ ยา และสยาม มากทีส่ ุดในสมยั นี้ก็คอื มองซเิ ออร์ เดอ ลาลูแบร์ ราชทูตไทยเข้าเฝา้ พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเป็นพระมหากษัตริย์ผู้เป็นท่ีเลื่องลือพระเกียรติยศในพระราโชบายทาง คบค้าสมาคมกับชาวต่างประเทศ รักษาเอกราชของชาติให้พ้นจากการเบียดเบียนของชาวต่างชาติและรับ ผลประโยชน์ทั้งทางวิทยาการและเศรษฐกิจที่ชนต่างชาตินาเข้ามา นอกจากนี้ ยังได้ทรงอุปถัมภ์บารุงกวีและ งานด้านวรรณคดีอันเป็นศิลปะที่รุ่งเรืองท่ีสุดในยุคนั้น เม่ือสมเด็จพระนารายณ์เสด็จเถลิงถวัลย์ราชสมบัติ ณ ราชอาณาจักรศรีอยุธยาแล้ว ปัญหากิจการบ้านเมืองในรัชสมัยของพระองค์เป็นไปในทางเกี่ยวข้องกับชาว ต่างประเทศเป็นสว่ นใหญ่ ดว้ ยในขณะนัน้ มีชาวตา่ งประเทศเข้ามาค้าขาย และอยู่ในราชอาณาจักรไทยมากว่า ที่เคยเป็นมาในกาลก่อน ที่สาคัญมาก คือ ชาวยุโรปซึ่งเป็นชาติใหญ่มีกาลังทรัพย์ กาลังอาวุธ และผู้คน ตลอดจน มีความเจริญรุ่งเรืองทางวิทยาการต่าง ๆ เหนือกว่าชาวเอเซียมาก และชาวยุโรปเหล่าน้ีกาลังอยู่ใน สมยั ขยายการคา้ คริสต์ศาสนา และอานาจทางการเมอื งของพวกตนมาสดู่ ินแดนตะวนั ออก
เจ้าพระยาวชิ เยนทร์ (คอนสแตนติน ฟอลคอน) ฝรั่งเศสเป็นชาติที่เข้ามาสู่กรุงศรีอยุธยาเป็นชาติแรกคร้ัง “หลวงวิชเยนทร์” เมื่อคร้ังที่มีเจ้าของเรือ กาปั้นของฝร่ังเศสได้บรรทุกสินค้าเข้ามาขายในกรุงศรีอยุธยา ขณะน้ันสมเด็จพระนารายณ์จึงให้มีการต่อเรือ กาปั้นใหญ่ข้ึนลาหน่ึง เม่ือเรือลานั้นต่อเสร็จเรียบร้อยแล้ว ก็ถึงเวลาท่ีจะนาลงจากอู่ต่อเรือ สมเด็จพระ นารายณบ์ อกให้ลา่ มถามชาวฝรง่ั เศสคนนั้นว่า เมืองฝรงั่ เศสเอาเรือกาปั้นลงจากอู่เขาทาอย่างไรจึงเอาลงได้ง่าย ฝรั่งเศสพ่อค้ารายน้ันเป็นคนฉลาด มีสติปัญญามากรู้และชานาญด้านการรอกกว้าน จึงบอกให้ล่ามกราบทูล สมเด็จพระนารายณว์ า่ เขารับอาสาท่ีจะนาเรือลาน้ีออกจากอู่ด้วยตัวเอง พ่อค้าฝร่ังเศสนายน้ันจัดการผูกรอก กว้าน และจักรมัดผันชักกาปั้นลาน้ันออกจากอู่ลงมาสู่ท่าโดยสะดวก จึงให้พระราชทานรางวัลมากมายท้ังยัง แต่งต้ังให้เป็น “หลวงวิชเยนทร์” หลวงวิชเยนทร์ ได้รับพระราชทานที่บ้านเรือนและเคร่ืองยศ ให้อยู่ทา ราชการในพระนคร และนั่นเป็นการแสดงถึงพระปรีชาสามารถของสมเด็จพระนารายณ์ ซ่ึงต้องการเรียนรู้ส่ิง ใหม่จากชาวต่างประเทศและสร้างความสัมพันธ์อันดีกับชนชาติอื่น เป็นการเปิดประตูรับความรู้ใหม่จากโลก ภายนอก โดยไม่จากัดขอบเขตอย่เู ฉพาะภายในประเทศเท่าน้ัน หลวงวชิ เยนทร์รับราชการสนองพระเจ้าอยู่หัว ด้วยความจงรกั ภกั ดี มวี ิรยิ ะอุตสาหในราชกจิ ต่าง ๆ ของบา้ นเมือง มคี วามชอบจนได้เล่ือนตาแหน่งเปน็ “พระยาวชิ เยนทร์” ในปี พ.ศ. 2230 (ค.ศ. 1687) ออกญาพระเสดจ็ สุเรนทราธบิ ดี พระยาพระคลัง และออกพระศรีพิพัทธ์ รตั นราชโกษาไดล้ งนามในสนธิสัญญาทางการค้ากบั ประเทศฝร่ังเศสในรัชสมัยของพระองค์น้ัน ชาวฮอลันดาได้ กีดกันการเดินเรอื ค้าขายของไทย คร้งั หน่ึงถึงกับสง่ เรอื รบมาปิดปากแม่น้าเจ้าพระยา ขู่จะระดมยิงไทย จนไทย ต้องผ่อนผันยอมทาสัญญายกประโยชน์การค้าให้ตามท่ีต้องการ แต่เพ่ือป้องกันมิให้ฮอลันดาข่มเหงไทยอีก สมเด็จพระนารายณ์จึงทรงสร้างเมืองลพบุรีไว้เป็นเมืองหลวงสารอง อยู่เหนือขึ้นไปจากกรุงศรีอยุธยา และ เตรยี มสรา้ งป้อมปราการไวค้ อยต่อต้านขา้ ศกึ
ราชทูตสยามนาโดยโกษาปานเข้าเฝา้ พระเจา้ หลยุ ส์ที่ 14 ทพี่ ระราชวังแวร์ซาย ณ วันที่ 1 กนั ยายน พ.ศ. 2229 ฝ่ายสมเด็จพระนารายณ์กาลังมีพระทัยระแวงเกรงฮอลันดายกมาย่ายี และได้ทรงทราบถึงพระเดชานุ ภาพของพระเจ้าหลุยส์ท่ี 14 ในยุโรปมาแล้ว จึงเต็มพระทัยเจริญทางพระราชไมตรีกับพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ไว้ เพ่ือให้ฮอลันดาเกรงขาม วันหน่ึงสมเด็จพระนารายณ์มีพระราชโองการตรัสถามพระยาวิชเยนทร์ว่า ในเมือง ฝรั่งเศสมีของวิเศษประหลาดประการใดบ้าง พระยาวชิ เยนทร์จึงกราบทูลว่า “ในเมืองฝร่ังเศสมีช่างทานาฬิกา ยนต์ ปนื ลม ปืนไฟ กล้องส่องทางไกลเป็นใกล้ กระทาของวิเศษอื่น ๆ ก็ได้ทุกอย่าง มีท้ังเงินทองภายในวังของ พระเจ้าแผ่นดินฝรั่งเศส ให้มีการหลอมเงินเป็นท่อน 8 เหลี่ยม ใหญ่ประมาณ 3 ลา ยาว 7 ศอก ถึง 8 ศอก กองอยู่บนรมิ ถนนเป็นอนั มาก เหมือนดุจเสาอันกองไว้ กาลงั คนแต่ 13 คน หรือ 14 คนจะยกท่อนเงินน้ันขึ้นไม่ ไหว ภายในท้องพระโรงชั้นในน้ันคาดพื้นด้วยแผ่นศิลา มีสีต่าง ๆ จาหลักลายฝังด้วยเงินทองและแก้ต่าง ๆ สี เปน็ ลดาวลั ย์ และต้นไมด้ อกไมภ้ ูเขาและรูปสัตวต์ า่ ง ๆ พืน้ ผนงั กป็ ระดับดว้ ยกระจกภาพกระจกเงาอันวิจิตร น่า พศิ วง เบ้อื งบนเพดานน้ันใช้แผ่นทองบ้างดุจแผ่นทองอังกฤษ ตัดเป็นเส้นน้อย ๆ แล้วผู้เข้าเป็นพวกพู่ห้อยย้อย และแขวนโคมแก้วมสี ันฐานต่าง ๆ มีสีแก้วและสีทองรุ่งเรืองโอภาสงดงามย่ิงนัก” สมเด็จพระนารายณ์ทรงฟัง คาสรรค์เสริญยกย่องความวิเศษของเมืองฝรั่งเศสอย่างยืดยาวแล้ว พระองค์ก็หาได้เช่ือทันทีทันใดไม่ พระองค์ ทรงดาหรขิ น้ึ วา่ ใครจะเหน็ ความจรงิ จงึ ดารสั แกพระยาโกษาธิบดี (เหลก็ ) “เราจะแตง่ กาป้ันไปเมืองฝรั่งเศส จะ ให้ผู้ใดเป็นนายกาป้ันออกไปสืบดูของวิเศษยังจะมีสมจริงเหมือนคาของพระยาวิชเยนทร์ หรือประการใด” พระยาโกษาธบิ ดี (เหล็ก) จึงกราบทูลว่าผู้ท่ีจะเป็นนายกาปั้นนั้นไม่มีใครนอกจากนายปาน ซ่ึงเป็นน้อยชายตน สามารถทจี่ ะไปสบื ขอ้ ราชการ ในเมอื งฝรัง่ เศสตามพระประสงค์ของสมเด็จพระนารายณ์ ดงั นั้นพระองค์จึงเรียก นายปานเข้าเฝ้าเพื่อสอบถามความสมัครใจอีกครั้งหนึ่ง “อ้ายปานมึงมีสติปัญญาอยู่ กูจะให้เป็นนายกาป้ันไป ณ เมืองฝร่ังเศส สืบดูสมบัติพระเจ้าฝรั่งเศส ยังจะสมดังคาพระยาวิชเยนทร์กล่าว หรือ จะมิสมประการใด จะ ใคร่เห็นเท็จและจริงจะได้หรือมิได้” นายปานน้องชายพระยาโกษาธิบดี (เหล็ก) กราบทูลพระกรุณารับอาสา จะไปเมืองฝรั่งเศสตามพระราชดาริของสมเด็จพระนารายณ์ ได้จัดแจงเตรียมหาคนดีมีวิชามาคนหน่ึง ซึ่งเคย เรียนพระกรรมฐานชานาญในการเพ่งกระสิณมีความรู้วิชามากแต่เป็นนักเลงสุรา พระนารายณ์ก็ยินยอมให้ไป ด้วย นายปานก็มีความยินดี จากน้ันก็จัดหาพวกฝรั่งเศสมาเป็นต้นหนถือท้ายและกลาสีเรือ พระยาโกษาธิบดี
นาคณะเดินทางเจริญสมั พนั ธไมตรที ีจ่ ะไปยัง ประเทศฝร่ังเศส เข้าเฝ้าพระนารายณ์ก็ทรงแต่งพระราชสาสน์ให้ นายปานเป็นราชฑูตแห่งกรุงศรีอยุธยา และประกอบด้วยข้าหลวงอ่ืนเป็นอุปฑูต ให้จาทูลพระราชสาสน์นา เคร่ืองราชบรรณาการออกไปเจรญิ ทางพระราชไมตรที ่ีเมืองฝรั่งเศส ตามพระราชประเพณี พระราชทานรางวัล และเคร่ืองยศแก่ทูตานุฑูต โดยควรแก่ฐานุศักด์ิ นับตั้งแต่นั้น นายปานจึงได้รับแต่งตั้งเป็นพระยาโกษาปาน ราชฑูตของกรุงศรอี ยธุ ยากก็ ราบบังคมลาสมเด็จพระนารายณ์ พาพรรคพวกลงเรือกาปั่นใหญ่ ใช้เวลา 4 เดือน ก็ถึงบริเวณใกลป้ ากนา้ เมืองฝร่ังเศส บังเอิญขณะน้ันเกิดพายุใหญ่เรือถูกซัดเข้าไปในกระแสน้าวน ต้องแล่นเรือ เวียนอยู่ 3 วัน จึงแล่นถึงปากน้าฝร่ังเศสจากน้ันจึงได้ขึ้นฝั่งอได้มีโอกาสเข้าเฝ้าพระเจ้ากรุงฝรั่งเศส พระยา โกษาปาน ก็ไปปฏิบัติหน้าที่ฑูตไทยเป็นอย่างดีและได้รับการยกย่องจากฝร่ังเศสรวมทั้งชาวต่างประเทศอื่น ๆ พระยาโกษาปานเปนราชฑูตไทยคนแรก และประเทศไทยเป็นประเทศแรกในเอเซียท่ีส่งราชฑูตเจริญ สมั พนั ธไมตรีกับฝร่ังเศส คณะราชทูตไทยทีเ่ ดนิ ทางไปฝรั่งเศส ในรัชสมัยของพระองค์น้ัน กรุงศรีอยุธยา ได้ส่งคณะทูตไปเข้าเฝ้าพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ยังประเทศ ฝร่ังเศส รวมทั้งสิ้น 4 ชดุ ดว้ ยกนั คณะทูตชุดแรก ทีไ่ ปเจริญสัมพันธไมตรี กับประเทศฝรั่งเศส ใน พ.ศ.2223 มี พระพพิ ฒั นาราชไมตรี เป็นราชทูต หลวงวิสารสุนทรเปน็ อุปทตู และขุนนครศรีวชิ ัย เปน็ ตรีทูต โดยมีบาทหลวง เกม (Gayme) บาทหลวงชาวฝรัง่ เศส ที่เขา้ มาเผยแผศ่ าสนาคริสตใ์ นอยธุ ยา และสามารถพูดภาษาไทยไดด้ ีทา หนา้ ทเ่ี ป็นล่าม คณะทูตชดุ นอี้ อกเดนิ ทางจากอยธุ ยาโดยเรือสินค้าของฝร่ังเศสที่ชื่อ “โวดูส์” ถึงเมืองบันตัมในหมู่เกาะ ชวา และได้พักอยู่ท่ีนั่นเป็นเวลา 6 เดือน จากนั้นจึงโดยสารเรือฝร่ังเศส อีกลาหน่ึงชื่อ “โซเลย์ดอริอองต์” (Soleil d’ Orient) ออกเดินทางจากเมืองบันตัม ใน พ.ศ.2225 หลังจากน้ันเรือลานี้ได้หายสาบสูญไปใน มหาสมุทรอินเดียโดยไม่ทราบสาเหตุ ในเวลาต่อมา สมเด็จพระนารายณ์ โปรดให้ตั้งคณะทูตขึ้นอีกชุดหนึ่งซ่ึง เป็นขา้ ราชการช้นั ผู้น้อย มีขนุ พไิ ชยวาณิช กบั ขุนพิชิตไมตรีเดินทางออกไปสืบข่าวยังประเทศฝรั่งเศส ในการไป ครั้งน้ี โปรดฯ ให้นานักเรียนไทยไปด้วย 4 คน เพื่อศึกษาวิชาการต่างๆ และฝึกหัดขนบธรรมเนียมตาม แบบอย่างของชาวฝร่ังเศส อกี ทัง้ ทรงขอให้ทางฝรั่งเศส แต่งทูตผู้มีอานาจเต็มเข้ามาทาสัญญาพระราชไมตรีอีก ด้วย คณะทูตชุดนี้มิได้เข้าเฝ้าพระเจ้าหลุยส์ท่ี 14 อย่างเป็นทางการ เพราะมิได้อัญเชิญพระราชสาส์นของ สมเดจ็ พระนารายณไ์ ปด้วยเป็นแตเ่ พยี งถอื ศุภอกั ษรของเสนาบดีไป
ขา่ วคณะทตู ไทย ชุดก่อนท่ีไดห้ ายสาบสูญไปมิทราบข่าวคราว และได้แจ้งพระราชประสงค์ของสมเด็จ พระนารายณ์ว่าทรงใคร่ขอให้ทางฝร่ังเศส ส่งคณะทูตมายังอยุธยาเพ่ือทาสัญญาค้าขายด้วยคณะบาทหลวง ฝร่ังเศส ท่ีเคยเข้ามาสอนศาสนาในอยุธยาได้กราบทูลพระเจ้าหลุยส์ท่ี 14 ว่าหากมีพระราชสาส์นเช้ือเชิญให้ สมเด็จพระนารายณท์ รงเข้ารตี นับถอื ศาสนาคริสต์โรมันคาทอลิกแล้ว สมเด็จพระนารายณ์ ก็คงไม่ขัดพระราช อัธยาศัย อีกท้ังประชาชนอยุธยาทั้งหมดก็จะหันมานับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกตามด้วยอย่าง แนน่ อน ภาพเชอวาลเิ ยร์ เดอ โชมงต์เขา้ เฝ้าสมเดจ็ พระนารายณ์ เพ่ือถวายพระราชสาสน์ ของพระเจา้ หลยุ ส์ที่ 14 พระเจา้ หลยุ สท์ ี่ 14 ทรงมีความมุง่ มัน่ ในการเผยแผ่คริสต์ศาสนาอยู่แล้ว จึงทรงเห็นชอบตามคากราบ ทูลของบาทหลวง และทรงแต่งต้ังให้เชอวาลิเอร์ เดอ โชมองต์ เป็นเอกอัครราชทูต และมีบาทหลวงเดอชัวซีย์ เป็นผู้ชว่ ยทตู เชญิ พระราชสาสน์ ของพระองค์มาถวายสมเด็จพระนารายณ์ คณะทูตของพระเจ้าหลุยส์ท่ี 14 ได้ เดินทางโดยเรือรบฝร่ังเศส 2 ลา ออกจากท่าเมืองเบรสต์เมื่อวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ.2228 และเข้ามาถึงปากน้า เจ้าพระยาในวันท่ี 23 กันยายน ปีเดียวกัน สมเด็จพระนารายณ์โปรดให้ประกอบพิธีต้อนรับอย่างมโหฬาร ใน การท่ีคณะทตู ฝรัง่ เศสเขา้ เฝ้าครง้ั น้ี สมเด็จพระนารายณ์โปรดให้สิทธิพิเศษไม่ต้องถอดรองเท้าและหมอบคลาน เหมือนกับ ทูตของประเทศอ่ืน และหลังจากที่ เชอวาลิเอร์ เดอ โชมองต์ เข้าเฝ้าถวายพระราชสาส์นของพระ เจ้าหลยุ สท์ ี่ 14 แลว้ สมเดจ็ พระนารายณ์ ยังโปรดฯ ใหค้ ณะทตู เขา้ เฝา้ เป็นพเิ ศษอีก หลายครงั้ โดยมีฟอลคอน หรือเจ้าพระยาวิชาเยนทรร์ อรับอยดู่ ้วย เจ้าพระวิชาเยนทร์ก็สนับสนุนให้อยุธยาและฝร่ังเศส ทาสนธิสัญญาเป็นพันธมิตรกัน แต่เชอวาลิเอร์ เดอ โชมองต์ มิได้ให้ความสนใจในเรื่องดงั กล่าว คงมุ่งแต่จะเกล้ียกล่อมให้สมเด็จพระนารายณ์เปลี่ยนไปนับถือ คริสตศ์ าสนาตามพระราชดาริ ของพระเจ้าหลยุ ส์ที่ 14 สมเดจ็ พระนารายณ์ กลับมิได้ทรงตอบตกลงแต่อย่างใด ในขณะเดียวกันทรงมีพระประสงค์ที่จะผูกสัมพันธ์กับฝรั่งเศส จึงทรงยอมให้บาทหลวงฝรั่งเศสสอนศาสนา สอนหนังสอื และตั้งโรงพยาบาล ตามแบบยุโรปได้โดยเสรี
กระบวนพยุหยาตราทางชลมารคในปี พ.ศ. 2228สมยั ท่ีคณะราชทตู ฝร่งั เศสอยใู่ นอยุธยา เชอวาลิเอร์ เดอ โชมองต์ กบั คณะทตู ฝรั่งเศสไดพ้ านกั อยู่ในกรุงศรีอยุธยาประมาณ 2 เดือนเศษ จึงได้ เดินทางกลับประเทศฝร่ังเศส สมเด็จพระนารายณ์ทรงฝากฝังคณะราชทูตชุดที่สามของพระองค์ท่ีมีพระวิสุทธ สุนทร หรือโกษาปาน หลวงกัลยาณราชไมตรี และขุนศรีวิสารวาจา ซ่ึงทรงแต่งตั้งเมื่อวันท่ี 28 ตุลาคม พ.ศ. 2228 ใหเ้ ป็นราชทตู อุปทูต และตรีทูต ตามลาดับ ไปกับเรือที่จะนาคณะทูตฝรั่งเศสกลับด้วย คณะทูตไทยชุด นี้ ได้เดินทางออกจากกรุงศรีอยุธยาโดยเรือลัวโซและมาลิน เม่ือวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ.2228 พร้อมกับคณะ ทูตของพระเจา้ หลุยส์ที่ 14 ไปถึงท่าเมืองเบรสต์ เมื่อวันท่ี 18 มิถุนายน พ.ศ.2229 เน่ืองด้วยขณะน้ัน พระเจ้า หลุยส์ที่ ๑๔ ทรงพระประชวรอยู่ ทางฝร่ังเศสจึงยังมิได้กาหนดวันเข้าเฝ้า และเจ้าพนักงานได้นาคณะราชทูต ไทย ชมเมืองต่างๆ แล้วจึงเดินทางมายังกรุงปารีส เม่ือวันท่ี 12 สิงหาคม พ.ศ.2229 ก่อนถึงกาหนดเข้าเฝ้า ถวายพระราชสาสน์ แด่พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 เพียงไม่กี่วัน คณะทูตไทย ซึ่งมีพระวิสุทธสุนทร เป็นราชทูต ได้ พานกั อยู่ในประเทศฝร่ังเศสเป็นเวลา 8 เดือนกับ 12 วัน จึงได้ทูลลาพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 กลับอยุธยา พระเจ้า หลุยส์ท่ี 14 ได้โปรดฯ ให้เดินทางกลับไปพร้อมราชทูตของพระองค์อีกชุดหนึ่ง ประกอบด้วย โกลด เซเบเรต์ เดอ บุลเล (Claude Ceberert de Boullay) ผู้อานวยการผู้หน่ึงของบริษัทอินเดียตะวันออกของฝร่ังเศสเป็น ราชทตู คนทหี่ นง่ึ และซมิ อง เดอ ลา ลูแบร์ ซ่งึ เป็นเนติบัณฑิตฝรั่งเศส นักคณิตศาสตร์ นักปรัชญา และนักแต่ง เพลง เปน็ ราชทูตคนที่สอง คณะทตู ชดุ น้ี เดนิ ทางมาถึงอยุธยาเม่อื วนั ที่ 27 กนั ยายน พ.ศ.2230
เรือนรบั รองคณะราชทตู ฝรั่งเศสรมิ แม่นา้ เจา้ พระยา สรา้ งข้นึ เปน็ การชวั่ คราวกย็ ังเป็นเรอื นกย็ กใตถ้ ุนสูงเพื่อกันนา้ ทว่ ม เม่ือ เซเบเรต์ ซ่ึงเป็นอัครราชทูตคนที่หน่ึงของคณะทูต ฝรั่งเศสทาสนธิสัญญาเก่ียวกับสิทธิพิเศษของ บรษิ ทั อนิ เดียตะวนั ออกของฝรง่ั เศสและลงนามกนั เรียบรอ้ ยแลว้ จงึ ไดเ้ ดินทางกลับฝรั่งเศส เมื่อช่วงปลาย พ.ศ. 2230 สว่ นลาลูแบร์ นนั้ ยังคงพานกั อย่ใู นกรงุ ศรีอยธุ ยา ต่อไปอีกหน่ึงเดือน เพ่ือรวบรวมข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวกับ อยุธยา เมื่อได้หลักฐานตามต้องการแล้ว จึงได้เดินทางกลับประเทศฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ.2231 สมเดจ็ พระนารายณ์ โปรดฯ ให้บาทหลวงตาชารด์ อญั เชิญพระราชสาส์น ของพระองค์ ไปถวายพระเจ้าหลุยส์ ท่ี 14 และสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 11 ที่กรุงโรม พร้อมท้ังมีข้าราชการชั้นผู้น้อยกากับเคร่ืองราชบรรณการ ไปด้วย 3 คน คือ ขุนวิเศษ ขุนชานาญ และขุนภูเบนทร์ ร่วมด้วยนักเรียนไทยติดตามไปเพื่อศึกษาวิชาการ ต่างๆ อีกหลายคน เรอื ของคณะทูตชุดลาลูแบร์เดินทางออกจากปากแม่น้าเจ้าพระยาในวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2231 และถึงฝรั่งเศสในเดือนกรกฎาคมปีเดียวกัน ความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างอยุธยา และฝรั่งเศสถือว่า รงุ่ เรืองอย่างยิง่ ในสมยั ของสมเดจ็ พระนารายณ์ ศาสนาคริสตังในยุคนั้นดูเหมือนจะเป็นที่รังเกียจของชนชาติต่าง ๆ ในแถบตะวันออก ตัวอย่างของ เรื่องนีไ้ ดแ้ ก่ การทท่ี างการญป่ี ุ่นทาการขัดขวางการสอนศาสนาคริสตังในประเทศนั้น ซึ่งทาให้ผู้ที่นับถือศาสนา คริสตังต่างพากันเดินทางมายังเมืองไทยเป็นจานวนมาก สมเดจ็ พระนารายณ์ทรงเปิดโอกาสให้ราษฎรเลือกนับ ถือศาสนา โดยอิสระ คนไทยก็ไม่มีความรังเกียจต่อศาสนาใด ๆ พวกศาสนานั้น ๆ ก็ยึดเอาเมืองไทยเป็น ศูนยก์ ลางสาหรับกิจการเผยแพร่คริสตศ์ าสนา นอกจากนแ้ี ล้วชาวฝรง่ั เศสก็พยายามหาทางตอบแทนคุณความ ดขี องคนไทยด้วยเช่นกนั สมเดจ็ พระนารายณ์ทรงสรา้ งความสัมพันธไมตรีกับประเทศฝรั่งเศสดาเนินไปด้วยดี มีการแลกเปลี่ยน ดา้ นความรตู้ ่าง ๆ หลายสาขา โดยเฉพาะด้านศาสนา ฝรั่งเศสได้ส่งบาทหลวงที่มีความรู้ทางวิชาการอย่างสูงมา สอนศาสนาครสิ ตังในกรงุ ศรอี ยธุ ยา สาหรบั ประโยชน์ท่ไี ดจ้ ากนกั สอนศาสนาน้ัน นับว่ามีอยู่หลายประการ คือ ทาให้เกิดผลดีในสังคมเช่นการต้ังโรงเรียนให้การศึกษา การต้ังโรงพยาบาล หรือการสงเคราะห์ชุมช นท่ีขาด แคลนและเด็กกาพรา้
แต่ต่อมาพระเพทราชาพระมหากษัตริย์รัชกาลถัดมาทรงระแวงว่าฝร่ังเศสมีแผนการท่ีจะยึดกรุงศรี อยุธยา จึงมีพระราชประสงค์ที่จะขับไล่ฝรั่งเศสออกไปจากพระราชอาณาจักรและหันไปแสวงหาความ ช่วยเหลือจากฮอลันดา การณ์คร้ังน้ีทาให้ความสัมพันธ์ทางการทูตกับฝรั่งเศสต้องหยุดชะงักลงในท่ีสุด สมเด็จพระนารายณเ์ ปน็ ผู้สร้างเมืองลพบุรขี ้นึ เปน็ ราชธานแี ห่งทสี่ อง สมเดจ็ พระนารายณเ์ ป็นพระมหากษัตริย์ท่ีมีความคิดก้าวหน้า มองการณ์ไกลได้ว่ากรุงศรีอยุธยาอยู่ใน ชัยภูมิท่ีล่อแหลมต่ออันตราย เพราะเมื่อคราวท่ีเรือรบ ฮอลันดาปิดอ่าวไทย บทเรียนคร้ังน้ันทาให้พระองค์คิด ย้ายเมืองหลวงของกรุงศรีอยุธยาไปอยู่ที่ลพบุรี ทรงสร้างเมืองลพบุรี สร้างนารายณ์ราชนิเวศน์เป็นพระราชวัง ประทับของพระองค์ จัดสร้างการประปาและชลประทานที่อานวยความสะดวกข้ึน นอกจากเมืองลพบุรี แล้ว พระองคก์ ็ทรงสร้างเมอื งนครราชสมี าและปอ้ มค่ายตา่ ง ๆ อกี มากมาย การท่ีพระองค์โปรดให้สร้างเมืองลพบุรีเป็นราชธานีท่ีสอง และโปรดประทับท่ีเมืองลพบุรีปีละ 8 - 9 เดือนนั้นเป็นการนาความเจริญ รุ่งเรืองมาสู่เมืองลพบุรี เพราะมีการนาเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้าสู่เมืองลพบุรี อาทิ ระบบประปา หอดูดาว สร้างกาแพงเมือง ประตูเมือง และป้อมปืนเมืองลพบุรี จึงคึกคักมีชีวิตชีวา ตลอด รัชกาลของพระองค์ มีการคล้องช้าง มีชาวต่างชาติ คณะทูตเข้ามาเจริญสัมพันธไมตรี มีบาทหลวงเข้ามาส่อง กล้องดูดาว ดูสุริยุปราคา จันทรุปราคา เมื่อพระองค์สวรรคต เมืองลพบุรีก็ถูกทิ้งร้างอยู่ระยะหน่ึง แต่ยังมี อนสุ รณ์สถาน ของสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช ณ เมืองลพบรุ ี เปน็ มรดกตกทอด ให้ชาวเมอื งลพบรุ ี ได้ ภาคภมู ใิ จ
ดา้ นวรรณกรรม สมเด็จพระนารายณ์มิใช่เพียงทรงพระปรีชาสามารถทางด้านการทูตเท่าน้ัน หากทรงเป็นกวีและทรง อุปถมั ภ์กวใี นยุคของพระองคอ์ ย่างมากมาย กวีลือนามแห่งรัชสมยั ของพระองค์ก็ได้แก่ พระโหราธิบดี หรือพระ มหาราชครู ผู้ประพนั ธห์ นังสือจนิ ดามณี ซ่ึงเป็นตาราเรียนภาษาไทยเล่มแรก และตอนหน่ึงของเร่ืองสมุทรโฆษ คาฉนั ท์ (อกี ตอนหน่ึงเป็นพระราชนิพนธข์ องสมเดจ็ พระนารายณ์) กวีอีกผหู้ นึ่งคือ ศรีปราชญ์ ผู้เป็นปฏิภาณกวี เป็นบุตรของพระโหราธิบดี งานชิ้นสาคัญของศรีปราชญ์ คือ หนังสือกาศรวลศรีปราชญ์ และอนุรุทรคาฉันท์ ดว้ ยพระปรชี าสามารถดงั ได้บรรยายมาแล้ว สมเด็จพระนารายณจ์ งึ ไดร้ ับการถวายพระเกียรตเิ ปน็ มหาราช พระองค์หนง่ึ วรรณกรรมท่ีปรากฏหลักฐานว่าแต่งขึ้นในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์ พระราชนิพนธ์โคลง เรื่องทศรถ สอนพระราม พระราชนิพนธ์โคลง เร่อื ง พาลสี อนนอ้ ง พระราชนิพนธโ์ คลง เรอ่ื งราชสวัสดิ์ สมุทรโฆษคาฉันท์ ส่วนตอนต้นเชื่อกันว่าพระมหาราชครูเป็นผู้แต่งแต่ถึงแก่อนิจกรรมเสียก่อน สมเด็จพระนารายณ์จึงพระราช นิพนธ์ต่อ โดยเร่ิมที่ตอน พิศพระกุฎีอำศรมสถำนตระกำลกล ไปจนถึง ตนกูตำยก็จะตำยผู้เดียวใครจะแลดู โอ้ แก้วกับตนกู ฤเหน็ และบทพระราชนพิ นธ?โคลงโตต้ อบกบั ศรปี ราชญ์และกวีมีช่อื อน่ื ๆ คาฉนั ทก์ ลอ่ มชา้ ง (ของเกา่ ) เป็นผลงานของขุนเทพกวี สนั นษิ ฐานวา่ แตง่ ในคราวสมโภชขึน้ ระวาง เจา้ พระยาบรมคเชนทรฉัททนั ต์ เมอ่ื พ.ศ. 2203 เป็นต้น ทัง้ ยงั ส่งเสริมงานงานกวี ทาให้มีหนังสื่อเร่ืองสาคัญ ๆ ในรัชสมัยนี้เป็นจานวนไม่น้อย เช่น โคลงเฉลิม พระเกียรติสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ของหลวงศรมี โหสถ หนังสอื จินดามณขี องพระโหราธิบดี (จัดเป็นตารา เรยี นเล่มแรกของประเทศไทย) และอนิรุทธคาฉนั ท์ เป็นตน้
ภาพเหตกุ ารณส์ มเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงเสดจ็ ทอดพระเนตรจนั ทรปุ ราคาเต็มดวง ณ พระทีน่ ง่ั เย็น ทะเลชบุ ศร เมืองลพบรุ ี เมื่อวนั ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2228 การเกดิ จันทรุปราคาในสมยั พระนารายณ์ ในคณะราชทูตท่ีมาเจรญิ สัมพันธไมตรีในครั้งแรกเมือ่ ปีพ.ศ. 2228 ฝรั่งเศสได้ส่งบาทหลวงคณะเจซูอิต จานวน 6 ท่านเดินทางร่วมมาด้วย โดยคณะบาทหลวงดังกล่าวเป็นนักวิชาการท่ีมีความรู้ด้านภูมิศาสตร์ และ ดาราศาสตร์ โดยในช่วงเวลาที่อยู่ในราชอาณาจักรสยาม คณะบาทหลวงเจซูอิตได้สังเกตการณ์และบันทึก จนั ทรุปราคาไวถ้ งึ 2 ครัง้ ซ่งึ เกิดข้นึ ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2228 และเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2229 ตามลาดับ โดยในครั้งแรกนั้นมีภาพเขียนบันทึกเหตุการณ์สมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงเสด็จทอดพระเนตร จนั ทรปุ ราคาเต็มดวง ณ พระที่น่ังเย็น ทะเลชุบศร เมืองลพบุรี เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2228 เวลา 03.00 นาฬิกา โดยในคร้ังน้ันบาทหลวงคณะเจซูอิตได้เตรียมกล้องโทรทรรศน์ยาว 5 ฟุตไว้ให้สมเด็จพระนารายณ์ มหาราชทรงทอดพระเนตรที่ช่องพระบัญชรท่ีเปิดออกสู่ลานพระระเบียง นอกจากนี้มีผู้คนราว 46,000 ถึง 47,000 คนซ่ึงทาการล้อมป่าและภูเขาในการล่าช้าง ได้ชมจันทรุปราคาเต็มดวงด้วย โดยคราสจับเต็มดวงเมื่อ เวลา 4:22:45 นาฬิกา นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงได้ทอดพระเนตรด้วยกล้องส่องดาวขนาด 12 ฟุตอีกด้วย สมเด็จพระนารายณ์มหาราชแสดงความพระราชหฤทัยเป็นพิเศษเม่ือได้ทอดพระเนตรเห็นจุดจ่างๆ บนดวง จนั ทรจ์ ากกลอ้ งส่องดาว และโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อประจักษ์ว่าแผนท่ีอุปราคาท่ีหอดูดาวท่ีกรุงปารีสทาขึ้นน้ัน ความถูกตอ้ งตามที่เป็นจรงิ ทุกประการ
พระทน่ี ัง่ ไกรสรสหี ราช (พระทนี่ ่งั เย็น) พระท่ีนั่งไกรสรสหี ราช (พระทีน่ ั่งเย็น หรอื ตาหนักทะเลชุบศร) ต้ังอยูท่ ี่ตาบลทะเลชุบศร อาเภอเมือง ลพบุรี ถอื เปน็ สถานทีซ่ ง่ึ มคี วามสาคญั ทางประวัตศิ าสตร์เป็นอยา่ งมาก เนอ่ื งจากในอดตี พระทน่ี ั่งแหง่ นเี้ คยเปน็ ท่ีประทับอกี แหง่ หนง่ึ ของ สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ณ เมืองลพบุรี องค์พระท่ีน่ังต้ังอยู่บนเกาะกลางทะเล ชุบศร วัดสันเปาโล ในปจั จบุ ัน
หอดูดาวแห่งแรกของประเทศไทย การเจรญิ สมั พันธไมตรกี บั ฝร่ังเศสน้ัน เกิดขนึ้ ในช่วงหา้ ปสี ุดท้ายของการครองราชย์ โดยในช่วงเวลา ดงั กล่าวสมเด็จพระนารายณ์มหาราชโปรดทจี่ ะประทบั ท่เี มืองลพบุรี โดยจะเสด็จประทับนาน 8 ถึง 9 เดือนต่อ ปี ดังน้ันในช่วงพ.ศ. 2228 ถึง 2230 ท่ีบาทคณะหลวงจซูอิตได้เข้ามาดาเนินกิจกรรมและเผยแพร่ศาสนาและ ความรู้ด้านดาราศาสตร์ในราชอาณาจักรสยาม พระองค์จึงทรงโปรดเกล้าพระราชทานสร้างหอดูดาว (พร้อม กบั โบสถ์และทพ่ี ัก) ให้แก่บาทคณะหลวงจซูอิต ณ วัดสันเปาโล เมืองลพบุรี ซ่ึงถือได้ว่าสถานท่ีดังกล่าวเป็นหอ ดูดาวแหง่ แรกของประเทศไทย ภาพสเกตของหอดดู าวทรง 8 เหลย่ี ม ณ วัดสนั เปาโล ลพบุรี การเกดิ สรุ ิยุปราคาในสมยั พระนารายณ์ เส้นทางสุริยปราคาเต็มดวง 30 เมษายน 2231
นอกจากจะเกิดปรากฏการณ์จันทรุปราคาถึงสองครั้งในรัชสมัยของพระองค์แล้ว ในปีค.ศ. 1688 (พ.ศ. 2231) ยังได้เกิดปรากฏการณ์สรุ ยิ ปุ ราคาข้ึนในวนั ท่ี 30 เมษายน สุรยิ ุปราคาเต็มดวงในครงั้ นน้ั สงั เกตเห็นได้ใน ประเทศอินเดีย จีน ไซบีเรีย และทางตอนเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ ในขณะที่ประเทศไทยไม่ได้อยู่ใน เสน้ ทางเงามืด จงึ สังเกตเห็นไดเ้ ปน็ สุรยิ ปุ ราคามดื บางส่วนสมเดจ็ พระนารายณ์มหาราชทรงเสด็จทอดพระเนตร สุริยปุ ราคา ณ พระท่ีนั่งเย็น ทะเลชุบศร เมืองลพบุรี โดยมีภาพวาดบันทึกเหตุการณ์ดังกล่าว โดยปัจจุบันภาพ ต้นฉบับน้ีเก็บรักษาอยู่ในพิพพธภัณฑสถานแห่งชาติ ณ กรุงปารีส โดยในภาพจะเห็นบาทหลวงใช้เทคนิครับ ภาพดวงอาทิตย์มาปรากฏบนฉากสีขาวนอกกล้อง เพ่ือให้สังเกตภาพดวงอาทิตย์ได้ โดยไม่เป็นอันตรายแก่ นัยน์ตา และจากภาพจะเห็นขุนางไทยท่ีน่ังในแถวซ้ายมือคนแรกน้ันกล่าวกันว่าเป็นพระเพทราชา และ สันนิษฐานได้ว่าขุนนางไทยแต่งกายชุดขาวท่ีกาลังหมอบสังเกตคราสอย่างใกล้ชิดท่ามกลางคณะบาทหลวง ฝรั่งเศสก็คือ ออกญาวชิ าเยนทร์ ภาพเหตกุ ารณส์ มเดจ็ พระนารายณม์ หาราชทรงเสดจ็ ทอดพระเนตรสุรยิ ปุ ราคา ณ พระที่น่งั เยน็ ทะเลชบุ ศร เมอื งลพบุรี เมื่อวันท่ี 30 เมษายน พ.ศ. 2231 การทหาร ในสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้ทรงปราบปรามเมืองน้อยใหญ่ให้เป็นมาสวามิภักด์ิ ท้ังหัว เมอื งทางเหนอื เชน่ เชียงใหม่ ลาพูน ส่วนศึกกับพม่าแม้จะมีอยู่ในเวลานี้ แต่ก็ทรงจัดทัพตีพ่ายกลับไปอยู่เนือง กิจการของกองทัพนับว่ารุ่งเรืองและยิ่งใหญ่ สมเด็จพระนารายณ์เองก็ทรงชานาญในการศึก คล้องช้าง และ ทรงซอื้ อาวุธจากตา่ งชาตสิ าหรับกิจการของกองทพั ดว้ ย
พระอัครมเหสี พระราชโอรส พระราชธิดา ภาพพิมพ์สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช พิมพ์ท่ีฝรงั่ เศส เม่ือ 300 กวา่ ปมี าแลว้ สมเด็จพระนารายณม์ หาราช มีพระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวที่เกิดกับพระอัครมเหสี คือ สมเด็จเจ้า ฟ้าสุดาวดี ที่ได้รับการสถาปนาพระอิสริยยศเป็น \"กรมหลวงโยธาเทพ\" ถือเป็นเจ้าฟ้าต่างกรมคู่แรก พร้อมกับ สมเด็จเจ้าฟ้าศรีสุพรรณ พระขนิษฐาพระราชธิดาพระองค์ดังกล่าวมีพระราชอานาจสูงมาก โดยจากหลักฐาน ของลาลูแบร์ได้กล่าวว่าเจ้าฟ้าพระองค์นี้ \"...ดารงอิสริยยศเย่ียงพระมเหสี...\" และบางคร้ังชาวตะวันตกก็เรียก แทนว่าเป็น \"ราชินี\" และหากมีผู้ใดเสกสมรสด้วยกับเจ้าฟ้าพระองค์นี้ก็ย่อมได้รับสิทธิธรรมเหนือราชบัลลังก์ มากขน้ึ ด้วย นอกจากน้ียังมีปรากฏในพงศาวดารว่าทรงมีพระโอรสลับคือ หลวงสรศักดิ์ (ต่อมาคือ พระเจ้าเสือ) ที่ แพร่หลายมากที่สุดในราชสานัก ใน คำให้กำรขุนหลวงหำวัด ระบุว่า เกิดจากพระราชชายาเทวี มีนามเดิมว่า เจ้าจอมสมบุญ ภายหลังได้มอบราชบุตรดังกล่าวกับเจ้าพระยาสุรศรี (พระเพทราชา) ส่วน คำให้กำรชำวกรุง เกำ่ ระบวุ ่า เกดิ กับนางนกั สนมทช่ี อื่ กุสาวดี เมื่อนางต้ังครรภ์ก็ได้ส่งนางไปอยู่กับเจ้าพระยาสุรสีห์ (คือพระเพท ราชา) สว่ น พระรำชพงศำวดำรฯ ฉบับสมเด็จพระพนรัตน์ (แก้ว) กลับให้ข้อมูลที่ต่างออกไปว่า มีพระนามเดิม ว่า มะเดอื่ เกดิ จากพระราชธิดาเจา้ เมอื งเชยี งใหม่ ภายหลงั ทรงให้พระเพทราชาไปดแู ล ด้วยทรงละอายพระทัย ที่เสพสังวาสกับนางลาว
แผนทีป่ ระเทศไทยสมยั สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ในพงศาวดารของไทยปรากฏว่าพระองค์ไม่ทรงยกย่องพระโอรสลับพระองค์ใดท่ีเกิดกับพระสนมมีสิทธิ ในการสืบราชบัลลังก์ แต่ทรงหมายพระทัยให้มีพระราชโอรสที่ประสูติแต่พระอัครมเหสีสืบราชสมบัติเสีย มากกวา่ ดงั ปรากฏใน คำให้กำรชำวกรุงเก่ำ ว่า “ครั้นต่อมาพระนารายน์ทรงพระปริวิตกด้วยหาพระราชโอรส สบื ราชตระกลู มไิ ด้ จงึ รบั ส่ังให้พระอรรคมเหษีตัง้ สัตยาธิษฐานขอพระโอรส แต่นางนักสนมทั้งปวงน้ันมิได้รับสั่ง ขอ ดว้ ยไมว่ างพระไทยกลัวจะเปนขบถอย่างพระสีสิงห์ [พระศรีศิลป์] ที่สุดนางนักสนมคนใดมีครรภ์ขึ้นก็ให้รีด เสยี มไิ ด้เกิดโอรสธิดาได้”สว่ นใน คำใหก้ ำรขุนหลวงหำวดั ซึง่ ถา่ ยมาจากคาใหก้ ารชาวกรุงเก่าก็อธิบายไว้ดุจกัน แตไ่ ด้ขยายความดงั กลา่ ววา่ “อนั พระนารายณ์นั้นได้ขัดเคืองพระศรีศิลปกุมารแต่คร้ังน้ันมาว่าเปนขบถ เพราะ เหตุว่ามใิ ช่ลกู ของพระองคท์ ่ีเกดิ กบั พระมเหษี จงึ จะไม่เปนขบถ...อนั พระมเหษีนน้ั ก็มีแต่พระราชธิดา มิได้มีเปน กุมาร พระองค์จึงรักษาศีลาจารวัตรปฏิบัติโดยธรรมสุจริต จะขอให้ได้พระโอรสอันเกิดในครรภ์พระมเหษี ก็ มิไดด้ ง่ั พระทัยปราร์ถนา จึงทรงพระโกรธ คร้ันเม่ือทรงพระโกรธขึ้นมา จึงตรัสกับพระสนมกานัลทั้งปวงว่า ถ้า ใครมีครรภ์ข้ึนมาแล้วจะให้ทาลายเสีย กูมิให้ได้สืบสุริยวงศต่อไป ต่อเมื่อเกิดในครรภ์พระมเหษี กูจึงจะมอบ โภคัยศวรรยท้ังปวงให้ตามใจกูปรารภ คร้ันพระสนมกานัลรู้ตัวว่ามีครรภ์ก็ต้องทูลพระองค์ ครั้นทราบก็ให้ ทาลายเสียอยา่ งน้นั เปนหนกั หนา”
ลา ลูแบร์ ราชฑูตคนสาคัญท่เี ข้ามาในราชอาณาจักรอยุธยาสมยั พระนารายณ์ นอกจากน้ีบาทหลวงเดอ แบส และพระราชพงศาวดารฯ ฉบับพระพนรัตน์ (แก้ว) ได้กล่าวถึงเร่ืองท่ี สมเด็จพระนารายณ์ทรงรับเลี้ยงดูเด็กเล็กเลี้ยงดูในพระราชวังหลายคนโดยเลี้ยงดุจลูกหลวง แต่หากเด็กคนใด ร้องไห้อยากกลับไปหาพ่อแม่เดิมก็ทรงอนุญาตส่งตัวคืน แต่ลาลูแบร์ได้อธิบายเพ่ิมเติมว่า \"...พระองค์ทรงพอ พระทัยที่จะเล้ียงไว้จนกระท่ังเด็กน้ันมีอายุได้ 7 ถึง 8 ขวบ พ้นนั้นไปเม่ือเด็กสิ้นความเป็นทารกแล้วก็จะไม่ โปรดอีกต่อไป...\" แต่มีเพียงคนเดียวที่โปรดปรานคือ พระปีย์ ท้ังยังโจษจันกันว่าน่ีอาจเป็นพระโอรสลับของ สมเด็จพระนารายณ์ก็มี ขณะที่สมเด็จพระนารายณ์เองก็ทรงวางเฉยกับเรื่องพระปีย์เป็นโอรสลับเสียด้วยใน พระรำชพงศำวดำร ฉบับพระรำชหัตถเลขำ กล่าวว่า พระองค์มีพระราชโอรสหนึ่งพระองค์พระนามว่า เจ้าฟ้า นอ้ ย เม่ือโสกนั ตแ์ ล้วพระราชทานนามวา่ เจา้ ฟา้ อไภยทศ แตใ่ นจดหมายเหตุและคาให้การขุนหลวงหาวัดกล่าว ต้องกันว่า สมเด็จพระนารายณ์มหาราชไม่มีพระราชโอรส เจ้าฟ้าอไภยทศพระองค์น้ีเป็นพระราชอนุชาของ พระองค์ เสดจ็ สวรรคต ในปี พ.ศ. 2231 สมเด็จพระนารายณ์ทรงมีอาการประชวรหนัก พระองค์ไม่มีราชโอรสเป็นรัชทายาท ผลของการดาเนินนโยบายตา่ งประเทศท่ีของพระองคท์ าให้คนไทยเกิดความรู้สึกต่อต้านชาติฝร่ังข้ึน ในบรรดา ขุนนางไทยและพระสงฆ์ ขุนนางไทยไม่พอใจเจ้าพระยาวิชาเยนทร์ฟอนคอนท่ีมีอิทธิพลมากมายในราชสานัก และมีอิทธิพลต่อพระนารายณ์เอง และชาวต่างชาติอื่นก็ไม่พอใจสิทธิพิเศษของฝร่ังเศสและเจ้าพระยาวิ ชาเยนทร์ฟอลคอน ส่วนในด้านพระสงฆ์เกิดการหวั่นวิตกว่า พระนารายณ์จะหันไปนับถือคริสต์ศาสนา ดังนั้น เม่ือพระนารายณ์ทรงประชวร พระเพทราชา เจ้ากรมช้าง ก็กลายเป็นศูนย์กลางความรู้สึกของคนในชาติ ใน คร้งั น้ันพระเพทราชาได้รับแต่งต้ังให้รักษาการแทน ส่วนพระนารายณ์ยังมิทันมอบพระราชสมบัติให้ผู้ใด ไม่ว่า จะเป็นพระอนุชาทั้งสอง คือเจ้าฟ้าอภัยทศและเจ้าฟ้าน้อย หรือโอรสบุญธรรมคือพระปีย์ (พระนารายณ์ไม่ พระโอรส มีแต่พระธิดา) พระเทพราชาก็ยดึ อานาจจับฟอลคอนประหารชีวิตท่ีทะเลชุบศร พระปีย์ ถูกลอบทา ร้าย สมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงทราบข่าวด้วยความสะเทือนพระทัย จะทาอะไรก็ไม่ได้เพราะอยู่ใน อาการประชวรอยา่ งหนัก รู้สึกปรเิ วทนาว่าอยุธยาถึงคราวจะวิบัติในคร้ังนี้ พระเพทราชาและขุนหลวงสรศักด์ิ ลงมือกระทาการกบฏ เพราะคิดว่าอย่างไรเสียสมเด็จพระนารายณ์คงสวรรคตอย่างแน่นอน จึงกระทาการทุก
อยา่ งตามอาเภอใจ เชอ้ื พระวงศ์และขา้ ราชการท่ีอยู่ฝ่ายตรงข้ามถูกกาจัดไปหมดส้ิน จากน้ันก็หันมากาจัดพวก ฝรัง่ พระทนี่ ั่งสุทธาสวรรย์ สมเดจ็ พระนารายณ์สวรรคต เมอื่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2231 ณ พระทน่ี ัง่ สทุ ธาสวรรย์ ครองราชสมบัติ เปน็ เวลา 32 ปี มีพระชนมายุ 56 พรรษา พระเทพราชาก็ขึ้นครองราชสมบัติ และพระอนุชาของพระนารายณ์ ก็ถกู สาเร็จโทษ เปน็ อนั สน้ิ ราชวงศ์ปราสาททอง และเร่มิ ตน้ ราชวงศ์บา้ นพลหู ลวง พระเทพราชาเจรจาให้ทหาร ฝรั่งเศสถอยออกไปจากเมืองหลวงเมื่อ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2231 นับเป็นการสิ้นสุดการติดต่อความสัมพันธ์ ทางการต่างประเทศของอยุธยาในลักษณะล่อแหลม แต่กลับไปใช้การติดต่อการค้าในลักษณะปกติตามท่ีเคย เป็นมาแต่ครง้ั โบราณกาล ตลอดระยะเวลา 32 ปีที่พระองค์เปน็ พระมหากษตั ริยค์ รองกรุงศรีอยุธยา พระองค์ได้สร้างประโยชน์แก่ ชาติไทยไว้หลายด้าน วิทยาการใหม่ ๆ จากต่างประเทศถูกนามาใช้ปรับปรุงความเจริญรุ่งเรืองของบ้านเมือง ซึ่งพระกรณียกิจของพระองค์ไม่เคยมีพระมหากษัตริย์พระองค์ใดเคยทาได้เช่นนี้มาก่อนพระเกียรติคุณของ สมเด็จพระนารายณ์เปนที่ยกย่องสรรเสริญแก่ประชาชาติไย พระนามของพระองค์เป็นที่เลื่องลือไปไกล พระ ปรีชาสามารถของพระองค์ แม้แต่จดหมายเหตุของต่างประเทศ ยังได้บันทึกเกียรติประวัติของพระองค์ไว้ด้วย หลายแหง่ พระราชกรณียกจิ อันสาคัญของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เป็นแบบอย่างแห่งการเจริญก้าวหน้าใน สมัยต่อ ๆ มา เมืองลพบุรีท่ีพระองค์สร้างขึ้นเป็นมรดกชิ้นสาคัญ เป็นเสมือนประตูชัยแห่งความก้าวหน้าเปิด กว้างไว้สาหรับอนาคตอันรุ่งโรจน์ของชาติ คุณงามความดีอันใหญ่ของพระองค์ ประชาชาติไทยจึงถวายพระ นามเทดิ พระเกียรติอนั สูงสง่ ของพระองค์ว่า “สมเด็จพระนารายณม์ หาราช” .................................................................
แหลง่ ข้อมลู อา้ งองิ กรรณกิ า จรรย์แสง .เงำสยำม ยำมผลัดแผน่ ดินพระนำรำยณ์. กรุงเทพฯ:มตชิ น, 2554. คำใหก้ ำรขุนหลวงหำวัด. นนทบรุ ี:มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช. 2547. คำให้กำรชำวกรุงเก่ำ. นนทบุรี:มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2547. จารุณี ฐานรตาภรณ์ (มีนาคม 2550). \"กรุงเทพมหานครกับภมู หิ ลงั การสร้างวงั \". วารสารยตุ ธิ รรม ปรทิ ศั น.์ สืบค้นเมอ่ื 21 มถิ ุนายน 2557. ชมนาด เสวิกลุ , สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช, อักษราพิพัฒน์, 2538. เดอะ แบส (เขยี น), สนั ต์ ท. โกมลบุตร (แปล). บนั ทึกควำมทรงจำของบำทหลวง เดอะ แบส เก่ียวกับ ชีวิตและมรณกรรมของก็องสตงั ซ์ ฟอลคอน. นนทบุรี:ศรปี ัญญา. 2550. เดอ ลาลูแบร์ (เขยี น), สันต์ ท. โกมลบตุ ร (แปล). รำชอำณำจกั รสยำม. กรุงเทพฯ:กา้ วหน้า. 2510. ธติ มิ า พิทักษ์ไพรวนั . สมเดจ็ พระนำรำยณ์ และโกษำปำน. กรงุ เทพฯ:คุรุสภาลาดพร้าว, 2531. นิธิ เอียวศรวี งศ.์ กำรเมืองไทยสมัยพระนำรำยณ์. พมิ พ์คร้ังที่ 7. กรงุ เทพฯ:มตชิ น, 2549. \"พงศาวดารกระซิบเรื่องโอรสลบั สมเดจ็ พระนารายณ์\". ศลิ ปวัฒนธรรม 30:11. พระรำชพงศำวดำรกรุงศรีอยุธยำ และพงศำวดำรเหนอื . กรงุ เทพฯ:องค์การค้าของคุรุสภา. 2504. ภาสกร วงศ์ตาวัน. ไพร่ขุนนำงเจำ้ แย่งชิงบัลลังกส์ มยั อยธุ ยำ. กรงุ เทพฯ:ยปิ ซี, 2553. แม้นมาส ชวลติ , การปฏิวัตปิ ลายแผน่ ดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราชและการลม่ สลายของ กรุงศรีอยุธยา,กรมศลิ ปากร, 2548. วรชาติ มีชูบท. \"โรงเรียนยพุ ราชพระราชวงั สราญรมย์\". จดหมายเหตุวชิราวุธ. 2557. สมศรี เอย่ี มธรรม. ประวัติศำสตรไ์ ทยสมยั กรุงศรอี ยธุ ยำ. กรุงเทพฯ:กรมศลิ ปากร. 2522 สมยศ จันทะวงษ์, สรุ ยิ ุปราคากบั วกิ ฤติการณ์ความอยู่รอดของสยามในสมัยสมเดจ็ พระนารายณ์ มหาราช, นิตยสารอุตสาหกรรมทหาร, กนั ยายน – ธันวาคม, 2538.. สันต์ ท. โกมลบุตร. ประวตั ศิ ำสตร์ธรรมชำตแิ ละกำรเมืองแห่งรำชอำณำจักรสยำม. นนทบุรี:ศรปี ญั ญา. 2550. สุทธศิ ักดิ์ ระบอบ สขุ สุวานนท์ (กนั ยายน 2552). \"พงศาวดารกระซิบเรอ่ื งโอรสลับสมเดจ็ พระนารายณ\"์ . ศิลปวฒั นธรรม 30:11, หน้า 99, 116. อารี สวสั ดี, จดหมายเหตดุ าราศาสตรจ์ ากฝรงั่ เศสเกี่ยวกับราชอาณาจักรสยามในรัชสมยั สมเด็จ พระนารายณม์ หาราช, สมาคมดาราศาสตร์ไทย, 2543. th.wikipedia.org/wiki/สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช library.tru.ac.th/inlop/lppep/337-lppe0104.html www.ayutthayastudies.aru.ac.th/content/view/434/32/ https://www.facebook.com/KingnaraiLopbur ……………………………………………..
มหาราชพระองคท์ ี่ 5 สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช ผู้เรียบเรียงนายประสาร ธาราพรรค์ เบ้ืองนั้นนฤนาถผู้ สยามมินทร์ เบี่ยงพระมาลาผิน หอ่ นพอ้ ง ศสั ตราวุธอรินทร์ ฤๅถูก องคเ์ อย เพราะพระหัตถห์ ากปอ้ ง ปัดดว้ ยขอทรง บดั มงคลพา่ ห์ไท้ ทวารัติ แวง้ เหว่ียงเบย่ี งเศยี รสะบดั ตกใต้ อุกคลกุ พลกุ เงยงัด คอคช เศิกแฮ เบนบ่ายหงายแหงนให้ ท่วงท้อทีถอย พลอยพล้าเพลยี กถ้าท่าน ในรณ บดั ราชฟาดแสงพล- พ่ายฟอ้ น พระเดชพระแสดงดล เผดจ็ คู่ เข็ญแฮ ถนัดพระอังสางข้อน ขาดดา้ วโดยขวา ลิลติ ตะเลงพา่ ย ตอนยทุ ธหัตถี ประพนั ธโ์ ดยสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานชุ ติ ชโิ นรส
พระราชประวตั สิ มเดจ็ พระนเรศวรมหาราช ประสาร ธาราพรรค์ รอ้ ยกรอง พระนเรศวร องคร์ าชนั ย์ ผกู้ ลา้ หาญ สร้างตานาน วรี กษตั รยิ ไ์ ทย สดุ สูงส่ง ก้เู อกราชไทย พน้ พมา่ ชาติยืนยง ธ ดารง คงชาตไิ ทย ได้งดงาม ปเี ถาะ พ.ศ. 2098 ทรงพระราชสมภพ ไทยน้อมนบ ภบู ดนิ ทร์ ถิ่นสยาม ทรงประสูติ ทีพ่ ิษณโุ ลก เฉลิมพระนาม ทุกเขตคาม ล้วนแซซ่ ้อง ก้องวิวัฒน์ ราชโอรส ในสมเด็จพระมหาธรรมราชา พระราชมารดา พระวสิ ทุ ธิกษัตริย์ พระพ่นี าง พระสพุ รรณกัลยา งามเด่นชดั รว่ มร่มฉตั ร พระเอกาทศรถ องค์อนชุ า ปี 2106 เกิดสงคราม เพราะช้างเผือก หนทางเลอื ก ทางอยู่รอด แก้ปัญหา แพส้ งคราม ใหบ้ เุ รงนอง มากรีธา หมดปัญญา พลีชา้ งเผือก ไทยพ้นภยั พระมหาธรรมราชา เป็นเจ้าเมอื ง พษิ ณโุ ลก ไทยวปิ โยค ถูกพมา่ ยดึ ครองได้ ปี 2107 พระนเรศวร ต้องคลาไคล เสด็จไป หงสาวดี เป็นตวั ประกนั ประวตั ิศาสตร์ กลา่ วขาน การตไี ก่ ทรงมีชัย ไก่ชนะ การแข่งขัน พระมหา อปุ ราชา แพพ้ นัน ไก่ไทยนั้น สร้างชอ่ื ไว้ ไทยช่ืนชม วนั อาทิตย์ เดือน 9 ปี 2112 อยธุ ยาแตก ไทยต้องแหลก กรงุ ย่อยยับ สดุ ขน่ื ขม พระมหนิ ทราธิราช หมดอานาจ ไทยทกุ ข์ตรม ความร่นื รมย์ หมดสิ้นไทย ไม่กลบั มา บเุ รงนอง ปรับเปลย่ี นแปลง กษตั ริยใ์ หม่ หวังทาให้ ประเทศไทย ไร้กงั ขา แต่งต้ังให้ พระมหา ธรรมราชา ครองพารา อยธุ ยา สืบต่อไป ทรงขอรอ้ ง บุเรงนอง ไทค้ นื กลบั โดยทรงปรับ เชลยใหม่ หวังแก้ไข ยกพระสุพรรณ กลั ยา แลกเปลย่ี นไป เพียงหวงั ให้ ไดพ้ ระนเรศ คงกลบั คืน พระนเรศวร อยพู่ มา่ ถึงหกปี เรยี นวิถี เพ่ือเมืองไทย จักพลกิ ฟน้ื ทรงอดทน เพยี งหวังไทย ชาติยั่งยืน เอกราชคืน ผนื ดนิ ไทย ไดแ้ นน่ อน พระนเรศวร ทรงกลับมา อยุธยา แตท่ วา่ มีปัญหา มากซับซ้อน ศึกเขมร มีหลายครง้ั หลากหลายตอน แก้ศึกกอ่ น ต้องผ่อนผนั ไทยมนั่ คง พิษณโุ ลก เป็นเมืองขน้ึ ของพมา่ ทรงปรชี า สามารถ ดงั ประสงค์ ตีเมอื งคัง สาเร็จได้ ดงั จานง ทาให้ทรง มชี ่ือเสียง เล่ืองลอื ไกล
ศกึ ต่อมา ร่วมหงสา ตอี ังวะ ไทยพร้อมจะ เกณฑ์ทพั ไป ไม่หวั่นไหว เดินทัพถงึ เมืองแครง เรอ่ื งร้อนใจ ทรงทราบได้ เจา้ หงสา คดิ รอนราญ พระยาเกียรติ พระยาราม บอกการศกึ หงสาตรกึ วางแผนการ จักรา้ งผลาญ จกั เขน่ ฆ่า องคน์ เรศ ตามแผนการ ความคดิ อา่ น ทรงรับรู้ แกไ้ ขพลนั พระนเรศวร ทรงทราบถึง เหตุเรือ่ งร้าย ทรงม่นั หมาย แกไ้ ขไทย ใหส้ ุขสันต์ ทรงประกาศ อิสรภาพ ไทยโดยพลัน ทว่ั เขตขัณฑ์ ไทยเอกราช ชาติเปรมปรีดิ์ ตรงปวี อก เดือนหก แรมสามคา่ พน้ เคราะหก์ รรม เปน็ เมืองข้ึน ไร้ศกั ด์ิศรี 26 เมษา 2127 ไทยยินดี ทกุ ชวี ี พ้นเป็นทาส ของม่านมอญ องคน์ เรศวร กรธี าทัพ ตหี งสา พระอุปราชา ทรงปิดเมอื ง เอาไว้ก่อน ตีหงสา คงไมไ่ ด้ อย่างแน่นอน จาตอ้ งผ่อน กองทัพไทย กลับอยธุ ยา เจ้าหงสา สง่ั สุกรรมา ออกตามตี หวงั ชวี ี ภูบดี ส้นิ ชนั ษา แมน่ ้าสะโตง องค์ราชัน ข้ามฟากมา เพียงหวงั ว่า นาคนไทย พน้ เภทภัย ใชพ้ ระแสงปืน ยงิ สกุ รรมา ถึงชพี วาย ผลสุดท้าย ศึกสงบ เลิกรบได้ ปี 2129 ศกึ พม่า กลับมาใหม่ หวังยดึ ได้ อยธุ ยา มาครอบครอง พระนเรศวร ทรงคาบดาบ ปล้นคา่ ยพมา่ ทรงหาญกลา้ สรา้ งขวญั ไทย ให้ผยอง ถงึ แม้ไม่ ยดึ คา่ ยได้ ตามหมายปอง ชนยกย่อง เทดิ องค์ไท้ ไว้นริ ันดร์ 29 กรกฎา 2133 พระมหาธรรมราชา สวรรคต พระทรงยศ ขน้ึ ครองราชย์ ไทยสขุ สนั ต์ ครองอยธุ ยา เสริมกาลัง มัน่ โดยพลัน ให้ไทยนน้ั พร้อมเข้มแข็ง แกรง่ มั่นคง ปี 2135 พระมหาอปุ ราชา มาราวี หวังโจมตี อยุธยา เป็นผุยผง ทาลายไทย ใหพ้ นิ าศ ไม่ดารง มุ่งหมายปลง ใหห้ มดสิ้น แผ่นดนิ ไทย พระนเรศวร ทราบข่าวศึก ไม่นกึ พรั่น เตรียมป้องกนั รบั ศกึ พม่า อยา่ งยิ่งใหญ่ ทรงเดนิ ทัพ จากอยธุ ยา โดยทันใด มงุ่ หมายให้ ปะทัพพม่า ท่สี ุพรรณ ตาบลมะขามหวาน ในคนื นน้ั ทรงสุบิน ทกุ ท่วั ถ่ิน น้าไหลบา่ นมิ ติ ฝนั ไดพ้ บเจอ จระเข้ ต่อสู้กนั ทรงหมายม่ัน ฆ่าจระเข้ ถึงชีพวาย ทรงตอ่ สู้ มุ่งหวังชัย สุดเข้มแขง็ ทรงกล้าแกร่ง ไม่ย่อท้อ ม่ันมุ่งหมาย ทรงเขน่ ฆ่า จระเข้ ล้มมลาย นา้ แห้งหาย โหรทานาย ธ โชคดี พระบรมสารีริกธาตุ ลอยรอบทพั ไทยสามรอบ ไทยนบนอบ ส่ิงศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิ เสริมศักด์ศิ รี หนองสาหร่าย ทัพประจัญ พรอ้ มราวี องค์ภูมี ทรงกลา้ หาญ เพอ่ื ชาติไทย 18 มกรา แรม 2 ค่า ปี 2135 องค์ราชา พรอ้ มทาศึก ไม่หวั่นไหว ชา้ งทรงพา ท่ามกลางพมา่ โดยทันใด ทรงแก้ไข ยามคับขนั ใช้ปัญญา ทรงไสช้าง ทา้ ชนชา้ ง กษตั ริย์ตะเลง มิกลวั เกรง ยุทธหัตถี ก้องท่ัวหล้า ทรงมีชัย เหนือองค์ มงั กะยอชวา มอญพม่า แตกพา่ ยแพ้ กลบั พกุ าม ศกึ สดุ ท้าย ตีอังวะ หวังมชี ัย ทรงหมายใจ ตีพม่า ให้เข็ดขาม ถงึ เมืองหาง ทรงประชวร หลายช่วั ยาม โรคลกุ ลาม สดุ แก้ไข ไร้ชีวนั 25 เมษา 2148 ธ สิ้นพระชนม์ ไทยทุกคน สดุ โศกเศร้า สดุ โศกศัลย์ จารพระคุณ ติดตราตรงึ ไทยทว่ั กนั นิจนริ ันดร์ เทิดองคไ์ ท้ ทกุ ใจเอย ........................................................................................
พระราชประวัตสิ มเดจ็ พระนเรศวรมหาราช พระราชประวัติ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช หรือ สมเด็จพระสรรเพชญ์ท่ี 2 เป็นกษัตริย์องค์ท่ี 19 แห่งอาณาจักร อยุธยา มีพระนามเดิมว่า พระองค์ดา เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระมหาธรรมราชาและพระวิสุทธิกษัตริย์ (พระราชธิดาของสมเด็จพระศรีสุริโยทัยและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ) เสด็จพระราชสมภพเม่ือ ปีเถาะ พ.ศ. 2098 ท่ีพระราชวังจันทน์ เมืองพิษณุโลกมีพระเชษฐภคินีคือ พระสุพรรณกัลยา มีพระอนุชาคือ สมเด็จพระ เอกาทศรถ (องคข์ าว) และเปน็ พระราชนดั ดาของสมเดจ็ พระศรีสุริโยทยั พระองค์จึงมีพระชาติ ท้ังราชวงศ์พระ ร่วงแห่งกรุงสุโขทัยทางพระราชบิดา และราชวงศ์อยุธยาทางพระราชมารดา พระองค์ทรงมีพระพ่ีนาง พระ นามว่า พระสุวรรณเทวีหรือพระสุพรรณกัลยา และพระน้องยาเธอ พระนามว่า สมเด็จพระเอกาทศรถ พระ นเรศวรเปน็ ทรี่ ้จู กั ในฐานะ วีรกษัตรยิ ์ ผู้มคี วามปรชี าสามารถในการสงคราม ผู้กอบกู้ เอกราชให้กับอยุธยา ทรง ไดร้ ับการยกย่องให้เป็น 1 ในบรรดากษตั รยิ ์ไทยท่ีทรงเป็น “มหาราช” พระนามสมเดจ็ พระนเรศวรใช่หรือไม่ “สมเด็จพระนเรศวร” เป็นพระนามท่ีพระราชพงศาวดาร กรงุ ศรอี ยุธยา กลุ่มฉบับความพสิ ดารใช้เรยี ก พระราชโอรสองค์ใหญ่ ในสมเดจ็ พระมหาธรรมราชาธริ าชเจ้า กษตั ริยศ์ รีอยธุ ยา ผู้ข้ึนเสวยราชสมบัติตอ่ จาก พระราชบดิ าใน พ.ศ. 2133 แต่แท้จรงิ แลว้ พระนามนหี้ าใช่พระนามทางการของพระองค์ไม่กษตั ริย์ศรีอยุธยาผู้ นี้มีพระนามร่วมสมัยวา่ “พระนเรศ” หรือ “พระนริศ” (นร + อศี ) แปลว่า “พระราชา” แตภ่ ายหลัง ผู้ชาระ พระราชพงศาวดารฯ กลุม่ ฉบับความพสิ ดาร อนั มีพระราชพงศาวดารฯ ฉบับพระจักรพรรดิพงศ์ (จาด) เป็น
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
Pages: