Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความเข้าใจเรื่องชีวิต

ความเข้าใจเรื่องชีวิต

Description: ความเข้าใจเรื่องชีวิต.

Search

Read the Text Version

ความเขาใจเร่อืงชีวติ ความเขาใจเร่อืงชีวติ สมเด็จพระญาณสังวรสมเดจ็พระสงัฆราชสกลมหาสังฆปรณิายก ทุกๆคนมีสิทธ์ิทีจ่ะถือวาตนเกดิมา เพอ่ืบาํเพญ็ความดีใหมากขนึ้ และสามารถท่จีะบาํเพญ็ความดีได

ความเขาใจเรอื่งชีวิต สมเดจ็พระญาณสังวรสมเดจ็พระสังฆราชสกลมหาสงัฆปรณิายก







ความเข้าใจเร่อื งชีวติ สมเดจ็ พระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก กISอBงNอำ� น97ว8ย-ก6า1ร6บ-�ำ3เ4พ8็ญ-6ก0ุศ6ลพระศพสมเด็จพระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสังฆปริณายก วดั บวรนิเวศวิหาร กันยายน ๒๕๕๗ จ�ำนวน ๒๐,๐๐๐ เล่ม ทสมป่ี เรดึกจ็ ษพาระวันรตั พระเทพปรยิ ตั วิ มิ ล พกอระงรบารชรมณุนาี ธิการ พระศากยวงศ์วสิ ทุ ธิ์ รศ.สุเชาวน์ พลอยชุม ผคณุูอ้ ปุ ฉถัตัมรภช์กัยาแรลพะคมิ ุณพ์จนั ทนา ปยิ ะสมบตั กิ ลุ คณุ อนชุ าและคณุ สดุ ารตั น์ บรู พชัยศรี พสามิ ลพะ์ทพี่ิมพการ ๙/๖๐๙ ต. กระทุ่มลม้ อ. สามพราน จ. นครปฐม ๗๓๒๒๐ โทร. ๐-๒๔๒๙-๒๔๕๒, ๐๘-๖๕๗๑-๑๖๘๕

ค�ำนำ� นบั แตเ่ จา้ พระคณุ สมเดจ็ พระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก สน้ิ พระชนมเ์ มอ่ื วนั ท่ี ๒๔ ตลุ าคม ๒๕๕๖ และเชิญพระศพมาประดิษฐาน ณ ต�ำหนักเพ็ชร เม่ือวันท่ี ๒๕ ตุลาคม ๒๕๕๖ ได้มีพุทธศาสนิกชนและสาธุชนมาถวายความ เคารพพระศพเป็นจ�ำนวนมาก ทั้งกลางวันและกลางคืนต่อเน่ืองมา ตง้ั แตบ่ ดั นนั้ จนบดั น้ี แสดงถงึ พระบารมธี รรมของเจา้ พระคณุ สมเดจ็ ฯ ท่ีปกแผ่ไปยังพุทธศาสนิกชนและสาธุชนทุกหมู่เหล่า และแสดงถึง ความเคารพนับถือที่พุทธศาสนิกชนและสาธุชนทุกหมู่เหล่ามีต่อ เจ้าพระคุณสมเด็จฯ อันเป็นแรงบันดาลใจให้บุคคลเหล่าน้ัน ไม่ว่า จะอยู่ใกล้ไกลเพียงไร ก็ต้ังใจเดินทางมาถวายความเคารพพระศพ อย่างเนืองแน่นต่อเนื่อง ด้วยความส�ำนึกในพระเมตตาคุณและ พระกรณุ าคณุ ของเจ้าพระคุณสมเดจ็ ฯ เพื่อให้พุทธศาสนิกชนและสาธุชน ผู้มาถวายความเคารพ พระศพได้มีสิ่งอนุสรณ์ อันเน่ืองด้วยเจ้าพระคุณสมเด็จฯ ไว้เป็นที่ ระลกึ ทางวดั บวรนเิ วศวหิ ารจงึ ไดจ้ ดั พมิ พพ์ ระนพิ นธข์ องเจา้ พระคณุ สมเด็จฯ พร้อมด้วยพระรูป น้อมถวายเป็นพระกุศลและแจกเป็น ปฏิการแกท่ กุ ท่าน ดังท่ปี รากฏอยูใ่ นมือของทา่ นทัง้ หลายบดั นี้ วัดบวรนเิ วศวหิ าร ๑๓ กันยายน ๒๕๕๗



พระประวตั ิ สมเดจ็ พระญาณสังวร สมเดจ็ พระสังฆราช สกลมหาสังฆปรณิ ายก (สุวฑฺฒนมหาเถร เจรญิ คชวตั ร) วันท่ี ๒๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๒ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนา สมเด็จ พระญาณสังวร วัดบวรนิเวศวิหาร เป็น สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก นับเป็นสมเด็จ พระสังฆราชพระองค์ท่ี ๑๙ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ลุถึงปี พ.ศ. ๒๕๕๖ นับเป็นสมเด็จพระสังฆราช ท่ีทรงด�ำรงต�ำแหน่ง ยาวนานกว่าสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ใด ๆ ในอดีตที่ผ่านมา คอื ๒๔ ปี วันที่ ๓ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นวนั คลา้ ยวันประสตู ิ ของเจา้ พระคณุ สมเดจ็ พระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหา สงั ฆปรณิ ายก ทรงเจรญิ พระชนมายุ ๑๐๐ พรรษาบรบิ รู ณ์ นบั เปน็ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ท่ีเจริญพระชนมายุ ย่ิงยืนนานกว่าสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ใด ๆ ในอดีตท่ีผ่านมา ทั้งทรงด�ำรงต�ำแหน่งต่าง ๆ ทางคณะสงฆ์ยาวนานกว่าพระองค์ อื่น ๆ คือ ทรงด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต ๒๕ ปี ทรงด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศวิหาร ๕๒ ปี นับเป็น บุญบารมีในทางปรหิตปฏิบัติของเจ้าพระคุณสมเด็จพระสังฆราช ซง่ึ ยากทจี่ ะมีเป็นสาธารณะแกบ่ คุ คลท่ัวไป

[ข] สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหา สังฆปริณายก มีพระนามเดิมว่า เจริญ นามสกุล คชวัตร ทรงมี พระชาติภูมิ ณ จังหวัดกาญจนบุรี ประสูติเม่ือวันท่ี ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๖ ทรงบรรพชาเปน็ สามเณรเมอื่ พระชนมายุ ๑๔ พรรษา ณ วดั เทวสงั ฆาราม กาญจนบรุ ี แลว้ เขา้ มาอยศู่ กึ ษาพระปรยิ ตั ธิ รรม ณ วดั บวรนเิ วศวหิ าร จนพระชนมายคุ รบอปุ สมบท และทรงอปุ สมบท ณ วัดบวรนิเวศวิหารเม่ือวันท่ี ๑๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๗๖ โดยสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ ทรงเป็น พระอุปัชฌาย์ ได้ประทับอยู่ศึกษา ณ วัดบวรนิเวศวิหารตลอดมา จนกระทงั่ สอบไดเ้ ปน็ เปรียญธรรม ๙ ประโยค เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๘๔

[ค] เจา้ พระคณุ สมเดจ็ พระญาณสงั วร ทรงดา� รงสมณศกั ดมิ์ าโดย ล�าดับดังน้ี ทรงเป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ พระราชาคณะช้ันราช และพระราชาคณะชั้นเทพ ในราชทินนามที่ พระโศภนคณาภรณ์ ทรงเป็นพระราชาคณะชั้นธรรมท่ี พระธรรมวราภรณ์ ทรงเป็น พระราชาคณะช้ันเจ้าคณะรองที่ พระสาสนโสภณ ทรงเป็นสมเด็จ พระราชาคณะท่ี สมเด็จพระญาณสังวร และทรงได้รับพระราชทาน สถาปนาเปน็ สมเดจ็ พระสงั ฆราช ในราชทนิ นามที่ สมเดจ็ พระญาณ- สังวร สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร ทรงเป็นผู้ใคร่ในการ ศึกษา ทรงมีพระอัธยาศัยใฝ่รู้ใฝ่เรียนมาต้ังแต่ทรงเป็นพระเปรียญ โดยเฉพาะในดา้ นภาษา ทรงศกึ ษาภาษาตา่ ง ๆ เชน่ องั กฤษ ฝรงั่ เศส เยอรมัน จีน และ สันสกฤต จนสามารถใช้ประโยชน์ได้เป็นอย่างดี กระทง่ั เจา้ พระคณุ สมเดจ็ พระสงั ฆราชเจา้ กรมหลวงวชริ ญาณวงศ์ พระอุปัชฌาย์ทรงเห็นว่า จะเพลินในการศึกษามากไป วันหน่ึง ทรงเตือนว่า ควรท�ากรรมฐานเสียบ้าง เป็นเหตุให้พระองค์ทรงเริ่ม ทา� กรรมฐานมาแตบ่ ดั น้นั และท�าตลอดมาอยา่ งต่อเนอ่ื ง จึงทรงเป็น พระมหาเถระทีท่ รงภมู ธิ รรม ทัง้ ด้านปริยตั ิและด้านปฏิบัติ เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร ทรงศึกษาหาความรู้ สมยั ใหมอ่ ยเู่ สมอ เปน็ เหตใุ หท้ รงมที ศั นะกวา้ งขวาง ทนั ตอ่ เหตกุ ารณ์ บา้ นเมอื ง ซงึ่ เปน็ ประโยชนต์ อ่ การสงั่ สอนและเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา เป็นอย่างมาก และทรงนิพนธ์หนังสือทางพระพุทธศาสนาได้อย่าง

[ฆ] สมสมยั เหมาะแกบ่ คุ คลและสถานการณใ์ นยคุ ปจั จบุ นั และทรงสงั่ สอน พระพทุ ธศาสนาทั้งแกช่ าวไทยและชาวตา่ งประเทศ ในดา้ นการศึกษา ไดท้ รงมีพระดำ� รทิ างการศกึ ษาที่กวา้ งไกล ทรงมีส่วนร่วมในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนาแห่งแรก ของไทย คือ มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัยมาแต่ต้น ทรงรเิ รมิ่ ให้มีส�ำนักฝึกอบรมพระธรรมทูตไปต่างประเทศขึ้นเป็นคร้ังแรก เพือ่ ฝกึ อบรมพระธรรมทูตไทย ที่จะไปปฏิบตั ศิ าสนกิจในตา่ งประเทศ ทรงเปน็ พระมหาเถระไทยรปู แรก ทไ่ี ดด้ ำ� เนนิ งานพระธรรมทตู ในต่างประเทศอย่างเป็นรูปธรรม โดยเร่ิมจากทรงเป็นประธาน กรรมการอ�ำนวยการสำ� นกั ฝกึ อบรมพระธรรมทตู ไปตา่ งประเทศเปน็ รูปแรก เสด็จไปเป็นประธานสงฆ์ในพิธีเปิดวัดไทยแห่งแรกใน ทวีปยุโรป คือวัดพุทธปทีป ณ กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร ทรงน�ำพระพุทธศาสนาเถรวาทไปสู่ทวีปออสเตรเลียเป็นคร้ังแรก โดยการสรา้ งวดั พุทธรังษขี น้ึ ณ นครซดิ นยี ์ ทรงให้ก�ำเนดิ คณะสงฆ์ เถรวาทข้ึนในประเทศอินโดนีเซีย ทรงช่วยฟื้นฟูพระพุทธศาสนา เถรวาทในประเทศเนปาล โดยเสด็จไปให้การบรรพชาแก่ ศากยะ กุลบตุ รในประเทศเนปาลเปน็ ครัง้ แรก ท�ำใหป้ ระเพณีการบวชฟ้ืนตวั ข้ึนอีกครั้งหน่ึงในเนปาลยุคปัจจุบัน ทรงอุปถัมภ์การสร้างวัด แคโรไลนาพุทธจักรวนาราม สหรัฐอเมริกา ทรงเจริญศาสนไมตรี กับองค์ดาไลลามะ กระทั่งเป็นที่ทรงคุ้นเคยและได้วิสาสะกัน หลายคร้ังและทรงเป็นพระประมุขแห่งศาสนจักรพระองค์แรกท่ี ไดร้ บั ทลู เชญิ ใหเ้ สดจ็ เยอื นสาธารณรฐั ประชาชนจนี อยา่ งเปน็ ทางการ ในประวตั ิศาสตรจ์ นี

เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร ทรงเป็นนักวิชาการ และนักวิเคราะห์ธรรมตามหลักการของพระพุทธศาสนา ที่เรียกว่า ธมั มวิจยะ เพ่อื แสดงให้เหน็ วา่ พุทธธรรมนนั้ สามารถประยุกต์ใช้กบั กจิ กรรมของชวี ติ ไดท้ กุ ระดบั ตงั้ แตร่ ะดบั พน้ื ฐานไปจนถงึ ระดบั สงู สดุ ทรงมีผลงานด้านพระนิพนธ์ท้ังที่เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ จ�ำนวนกว่า ๑๐๐ เรื่องประกอบด้วยพระนิพนธ์แสดงค�ำสอนทาง พระพทุ ธศาสนาทั้งระดับต้น ระดบั กลาง และระดับสงู รวมถึงความ เรียงเชิงศาสนคดีอีกจ�ำนวนมาก ซ่ึงล้วนมีคุณค่าควรแก่การศึกษา สถาบันการศึกษาของชาติหลายแห่งตระหนักถึงพระปรีชาสามารถ และคุณค่าแห่งงานพระนิพนธ์ ตลอดถึงพระกรณียกิจที่ทรงปฏิบัติ จงึ ไดท้ ลู ถวายปรญิ ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ กติ ตมิ ศกั ดเิ์ ปน็ การเทดิ พระเกยี รติ หลายสาขา รวม ๑๓ มหาวทิ ยาลยั

[จ] นอกจากพระกรณียกิจตามหน้าที่ต�ำแหน่งแล้ว ยังได้ทรง ปฏิบัติหน้าท่ีพิเศษ อันมีความส�ำคัญยิ่งอีกหลายวาระ กล่าวคือ ทรงเป็นพระอภิบาลในพระภิกษุพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลปัจจุบัน เม่ือครั้งทรงพระผนวช เม่ือ พ.ศ. ๒๔๙๙ พร้อมท้ังทรงถวายความรู้ในพระธรรมวินัย ตลอดระยะเวลาแห่ง การทรงพระผนวช ทรงเป็นพระราชกรรมวาจาจารย์ ในสมเด็จ พระบรมโอรสาธริ าช เจา้ ฟา้ มหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกมุ าร เมอื่ ครั้งทรงผนวชเป็นพระภิกษุ เมือ่ พ.ศ. ๒๕๒๑ เจา้ พระคณุ สมเดจ็ พระญาณสงั วร ไมเ่ พยี งแคส่ รา้ งศาสนธรรม คือค�ำสอนมอบไว้เป็นมรดกธรรมแก่พุทธศาสนิกชน และแก่โลก เท่าน้ัน แต่ยังได้ทรงสร้างวัตถุธรรมอันน�ำสุขประโยชน์สู่ประชาชน ท่ัวไป มอบไว้เป็นมรดกของแผ่นดินอีกเป็นจ�ำนวนมาก อาทิ วัดญาณสงั วราราม ชลบุรี วัดรชั ดาภเิ ษก กาญจนบรุ ี วัดวงั พุไทร เพชรบุรี วัดล้านนาญาณสังวราราม เชียงใหม่ พระบรมธาตุเจดีย์ ศรีนครินทราสถิตมหาสันติคีรี เชียงราย โรงพยาบาลสมเด็จ พระปิยมหาราชรมณียเขต กาญจนบุรี ตึกสกลมหาสังฆปริณายก ในโรงพยาบาลและโรงเรียนในถ่ินธรุ กันดาร ๑๙ แห่ง โรงพยาบาล สมเด็จพระสังฆราช พระองค์ท่ี ๑๙ ท่าม่วง กาญจนบุรี ตึกวชิรญาณวงศ์ ตึกวชิรญาณสามัคคีพยาบาร ตึก ภปร ใน โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์ โรงเรียนสมเดจ็ พระปยิ มหาราชรมณียเขต กาญจนบรุ ี และวดั ไทยในตา่ งประเทศอีกหลายแห่ง

[ฉ] เจา้ พระคณุ สมเดจ็ พระญาณสงั วร ทรงดำ� รงตำ� แหนง่ หนา้ ที่ สำ� คญั ทางการคณะสงฆใ์ นดา้ นต่าง ๆ มาเป็นลำ� ดบั เปน็ เหตใุ ห้ทรง ปฏิบตั ิพระกรณยี กิจเป็นประโยชน์ต่อพระศาสนา ประเทศชาติ และ ประชาชน เป็นอเนกประการ นับได้ว่าทรงเป็นพระมหาเถระท่ี ทรงเพียบพร้อมด้วยอัตตสมบัติและปรหิตปฏิบัติ และทรงเป็น ครฐุ านียบุคคลของชาติ ท้ังในด้านพทุ ธจกั รและอาณาจักร เจา้ พระคณุ สมเดจ็ พระญาณสงั วร ทรงเปน็ ทเี่ คารพสกั การะ ตลอดไปถงึ พุทธศาสนกิ ชนในนานาประเทศ ดว้ ยเหตุนี้ ทางรัฐบาล สาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมยี นมาร์ จงึ ไดท้ ลู ถวายตำ� แหนง่ อภธิ ชมหา รัฐคุรุ อันเป็นสมณศักดิ์สูงสุดแห่งคณะสงฆ์เมียนมาร์ เม่ือ พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่ประชุมผู้น�ำสูงสุดแห่งพุทธศาสนาโลก เมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๕ ได้ทูลถวายต�ำแหน่ง “พระประมุขสูงสุดแห่ง พระพทุ ธศาสนาโลก” ถึง พ.ศ. ๒๕๔๓ พระสุขภาพของเจ้าพระคุณสมเด็จ พระญาณสังวรถดถอยลง เนื่องจากทรงเจริญพระชนมายุมากข้ึน ไมอ่ ำ� นวยให้ทรงปฏิบตั ิพระศาสนกจิ ตา่ ง ๆ ได้โดยสะดวก จงึ เสด็จ เข้าประทับรักษาพระองค์ ณ ตึกวชิรญาณสามัคคีพยาบาร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย เมอ่ื วันที่ ๒๐ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๔๓ ในชว่ งแรก ๆ ยงั เสดจ็ กลบั ไปประทบั ณ วดั บวรนเิ วศ- วหิ าร เปน็ ระยะ ๆ คร้ังละ ๓-๔ วัน และเสด็จไปสดับพระปาติโมกข์ ณ พระอุโบสถวัดบวรนิเวศวิหาร ทุกวันธรรมสวนะเดือนเพ็ญและ



[ซ] เดอื นดบั กระทั่งพระสุขภาพไมอ่ �ำนวย คณะแพทยผ์ ้ถู วายการรกั ษา พยาบาลจึงกราบทูลให้งดการเสด็จไปสดับพระปาติโมกข์ดังกล่าว ตัง้ แต่ พ.ศ. ๒๕๕๐ เปน็ ตน้ มา ถงึ วันท่ี ๑๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ พระอาการประชวร โดยท่วั ไปทรดุ ลง คณะแพทย์จึงไดถ้ วายการผา่ ตดั พระอันตะ (ล�ำไส)้ และพระอันตคุณ (ล�ำไสน้ ้อย) หลงั การผ่าตดั ทรงมีพระอาการท่ัวไป เป็นทีพ่ อใจของคณะแพทย์ ถึงวันท่ี ๒๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เร่ิมมีพระอาการความดันพระโลหิตลดลง แต่มีการกระเตื้องขึ้นเป็น ระยะ ๆ กระทั่งถึงวันท่ี ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ความดัน พระโลหติ ลดลงถงึ ๒๐ และคงตวั อยรู่ ะยะหนงึ่ ถงึ เวลา ๑๙.๓๐ น. ความดนั พระโลหิตลงถงึ ๐ ในทันทีทันใด คณะแพทยไ์ ดอ้ อกแถลงการณใ์ นเวลาตอ่ มาวา่ เจา้ พระคณุ สมเดจ็ พระญาณสังวร สมเดจ็ พระสังฆราช สกลมหาสงั ฆปริณายก สนิ้ พระชนมด์ ว้ ยการตดิ เชอ้ื ในกระแสพระโลหติ เมอื่ วนั ที่ ๒๔ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เวลา ๑๙.๓๐ น. สิรพิ ระชนมายุได้ ๑๐๐ พรรษา กบั ๒๑ วนั วันที่ ๒๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ได้เชิญพระศพจาก โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย มายังพระต�ำหนักเพ็ชร วัดบวรนิเวศวิหาร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณา โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ มเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าชฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร เสดจ็ พระราชดำ� เนินแทนพระองค์มาถวายน�้ำสรงพระศพ ณ พระตำ� หนัก

เพ็ชร วัดบวรนิเวศวิหาร แล้วเชิญพระศพประดิษฐานในพระโกศ กดุ ัน่ ใหญ่ ประดิษฐานภายใต้เศวตฉัตร ๓ ช้นั บนพระแทน่ แวน่ ฟา้ ปดิ ทองประดบั กระจก แวดลอ้ มด้วยฉตั รเครื่องสงู ๓ คู่ ประดับพมุ่ ตาดทองดอกไม้แจกัน และเทียนไฟฟ้ารายรอบพระโกศบนพระแท่น แวน่ ฟา้ ทง้ั สองชั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีพระพิธีธรรมสวดพระอภิธรรมถวายพระศพ ทั้งกลางวันและ กลางคืน พรอ้ มทง้ั มปี ระโคมย่า� ยามถวายพระศพ เป็นเวลา ๗ วนั ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ บา� เพญ็ พระราชกศุ ลสัตตมวาร (๓๐ - ๓๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๖) ปัญญาสมวาร (๑๑ - ๑๒ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๖) และสตมวาร (๓๐ - ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๗) ถวายพระศพตามราชประเพณีโดยลา� ดับ

[ญ] นับแต่ได้เชิญพระศพประดิษฐาน ณ พระต�ำหนักเพ็ชร วัดบวรนิเวศวิหาร เมื่อวันท่ี ๒๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เปน็ ต้นมา ไดม้ พี ระบรมวงศานุวงศ์ ผู้นำ� ประเทศ ทตู านทุ ตู ประเทศ ตา่ ง ๆ และองคก์ รศาสนา พรอ้ มทง้ั พทุ ธศาสนกิ ชน ทง้ั ภายในประเทศ และต่างประเทศ มาถวายสักการะเคารพพระศพอย่างเนืองแน่น อย่างมเิ คยปรากฏมาก่อน อาทิ คณะทูตานุทูตกว่า ๒๓ ประเทศ มาร่วมในการบ�ำเพ็ญ พระราชกศุ ลสตั ตมวาร (๗ วนั ) ในวนั ที่ ๓๐ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๖ พระราชกศุ ลปัญญาสมวาร (๕๐ วัน) วันที่ ๑๑ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ และ พระราชกศุ ลสตมวาร (๑๐๐ วนั ) วนั ท่ี ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๗ พระราชทานพระศพเจ้าพระคุณสมเด็จฯ วันที่ ๘ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๕๖ สำ� นักวาติกันโดยสภา ประมขุ บาทหลวงโรมนั คาธอลกิ แหง่ ประเทศไทย ไดป้ ระกอบพธิ มี สิ ซา ถวายพระกุศลแด่พระศพเจ้าพระคณุ สมเด็จฯ วันท่ี ๑๒ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๕๖ คณะสงฆ์แหง่ นกิ าย เนนบุตซึซู แห่งประเทศญี่ปุ่น ได้ประกอบพิธีสวดถวายพระกุศลแด่ พระศพเจา้ พระคณุ สมเด็จฯ วนั ท่ี ๑๕ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ฯพณฯ เชอรร์ งิ ตอ็ ปเกย์ นายกรฐั มนตรแี หป่ ระเทศภฏู าน พรอ้ มดว้ ยภรยิ าและคณะไดม้ าถวาย สกั การะเคารพพระศพเจา้ พระคุณสมเดจ็ ฯ

[ฎ] วันที่ ๑๒ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ พระมหาคณาจารย์จนี ธรรมสมาธิวัตร เจ้าคณะใหญ่จีนนิกาย พร้อมด้วยคณะสงฆ์จีน ได้ประกอบพิธกี งเต็กนอ้ มถวายพระกุศลแด่เจา้ พระคุณสมเด็จฯ วนั ที่ ๗ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๕๗ พระมหาคณานมั ธรรม- ปญั ญาธวิ ตั ร เจา้ คณะใหญอ่ นมั นกิ าย พรอ้ มดว้ ยคณะสงฆอ์ นมั นกิ าย ไดป้ ระกอบพธิ กี งเต็กนอ้ มถวายพระกศุ ลแดเ่ จ้าพระคุณสมเดจ็ ฯ วันที่ ๑๗ - ๒๔ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๗ รัฐบาลอินเดีย โดย รัฐมนตรีกระทรวงวัฒนธรรม ประเทศอินเดีย และ ฯพณฯ เอกอคั รราชทตู อนิ เดยี ประจำ� ประเทศไทย ไดป้ ระกอบพธิ วี ชั รยานบชู า ถวายพระกุศลแด่พระศพเจ้าพระคุณสมเดจ็ ฯ อยา่ งเตม็ รูปแบบตาม ลัทธวิ ชั รยานแหง่ ทิเบต วนั ท่ี ๑๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๗ คณะสงั ฆเถรวาทแห่ง อินโดนีเซีย พร้อมด้วยพุทธศาสนิกชนอินโดนีเซียจ�ำนวนกว่า ๑๐๐ คน ไดบ้ ำ� เพญ็ กุศลถวายพระศพเจา้ พระคณุ สมเดจ็ ฯ นอกจากนี้ ยงั ไดม้ ผี นู้ ำ� องคก์ รทางศาสนาในประเทศตา่ ง ๆ สง่ สารแสดงความอาลยั เน่ืองในการส้ินพระชนม์ของเจ้าพระคุณ สมเด็จฯ จ�ำนวนมาก อาทิ องค์ทะไลลามะ พระสังฆราช พระสงั ฆนายก องคก์ รระหว่างประเทศ และองคก์ รพุทธศาสนาจาก นานาประเทศ กล่าวได้ว่า เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จ พระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก ทรงดำ� รงอยใู่ นฐานะพระสงั ฆบดิ ร ของพุทธบรษิ ทั ท่ัวโลกโดยแท้





สารบัญ ๑ ๙ วงจรชีวิต ๑๘ เราเกิดมาท�ำไม ? ๒๔ ภาพชวี ิตของแตล่ ะคน ๓๐ ชวี ติ ตอ้ งการอะไร ๓๖ ศกึ ษาชวี ติ ท้งั สองด้าน ๔๒ สิ่งอนั เปน็ ทร่ี ักของชีวิต ๕๗ แง่คิดเก่ียวกับชีวติ ๖๖ จุดหมายของชวี ิต ๗๑ พ่ึงผดิ ที่ ชวี ิตยอ่ มมภี ยั ๗๔ ความสุขอย่ทู ีไ่ หน ๘๒ เงื่อนไขของความสขุ สุจริตธรรม เหตแุ ห่งความสขุ ทแี่ ท้จรงิ



วงจรชีวติ ปัญหาข้อหนึ่งท่ีคนชอบตั้งปัญหาถามกันตั้งแต่สมัย ดกึ ดำ� บรรพม์ าจนถงึ ทกุ วนั นี้ คอื ตายเกดิ หรอื ตายสญู พระพทุ ธเจา้ ได้ตรัสรู้ความจริงในข้อน้ี จึงสิ้นปัญหาในสิ่งที่รู้แล้วดังที่ได้ ตรัสไว้ว่า กมฺมํ เขตฺตํ กรรมเป็นเหมือนนา วิญฺาณํ พีชํ วิญญาณเหมือนพืชที่หว่านลงในนา ตณฺหา สิเนโห ตัณหา เหมือนยางเหนียวมีอยู่ในพืช อันจะท�ำให้พืชนั้นปลูกงอกงาม ขึ้นได้ เพราะฉะน้ัน เมื่อยังมีกรรม วิญญาณ และตัณหาอยู่ ก็ยังจะต้องไปเกิดในภพต่าง ๆ และในการเกิดหมายถึงในการ ตง้ั ครรภข์ องมารดานนั้ ไดม้ กี ลา่ วไวว้ า่ เพราะประชมุ แหง่ องค์ ๓ จึงมีการตั้งครรภ์ คือ มารดาบิดาสันนิบาต หมายความว่าอยู่ ด้วยกนั ๑ มารดามรี ะดู หมายความวา่ อยู่ในระดู ๑ คันธพั พะ ทา่ นอธบิ ายวา่ สตั วผ์ เู้ ขา้ ถงึ ในครรภ์ คอื สตั วผ์ จู้ ะเกดิ ปรากฏขน้ึ ๑ เพราะความประชมุ แหง่ องค์ ๓ เหล่านี้ ครรภจ์ งึ ตัง้ ขึน้ มารดา 1

บรหิ ารครรภ์ ๙-๑๐ เดือนกค็ ลอดบตุ รและโดยปกติก็เลีย้ งดว้ ย โลหิต คอื น้ํานมของตน องค์ที่ ๓ น่าจะเป็นปัญหาท่ีวิชาการแพทย์ในปัจจุบัน ไม่อาจอธิบายได้ เพราะเป็นเร่ืองทางวิญญาณจิตใจโดยตรง แต่เรอ่ื งทที่ า่ นผู้หนึง่ ไดก้ รณุ าเลา่ ให้ฟงั ตอ่ ไปน้ี น่าจะเปน็ ตวั อยา่ ง ซ่งึ อธิบายองค์ท่ี ๓ นั้นไดเ้ ร่อื งหน่งึ คือท่านเลา่ ว่า ได้มีอุบาสิกาผู้หนึ่งได้ปฏิบัติทางจิตใจถึงขั้นรู้เห็นอะไร ได้ จงึ ได้ตรวจดดู ้วยใจ กไ็ ดเ้ หน็ พระอาจารยท์ า่ นหนึ่ง เป็นผู้ทรง ศีลบริสุทธิ์ บรรลภุ มู ธิ รรมช้ันสูง จงึ ไดเ้ ดินทางไปหาพระอาจารย์ ท่านน้ันซ่ึงไม่เคยรู้จักกันมาก่อน แสดงตนเป็นศิษย์ของท่าน ต่อมาอุบาสิกาผู้นั้นในขณะที่ก�ำลังนั่งปฏิบัติในวันหนึ่ง ก็ได้เห็น ปรากฏว่ามีสายสีขาวเหมือนอย่างสายใยออกไปจากจิตของตน เป็นสายยาวออกไป ก็ส่งจิตตามไปดูว่าสายน้ันจะไปที่ไหน ก็ได้ เห็นว่าสายน้ันได้ไปเข้าท้องหลานสะใภ้ของตน จึงได้ไปถาม 2

พระอาจารยว์ า่ จะทำ� อยา่ งไร พระอาจารยไ์ ดส้ อนใหท้ ำ� จติ ตดั สาย นั้นใหข้ าด อุบาสกิ าผนู้ ั้นได้พยายามปฏิบตั ทิ �ำจติ ตัดสายน้นั แตก่ ็ ไม่สามารถจะตัดใหข้ าดได้ จนล่วงเขา้ เดอื นทสี่ ามจึงตดั ได้ขาดใน วันหนง่ึ แล้วก็รบี ไปกราบเรยี นอาจารย์ว่าตดั สายนัน้ ได้ขาดแล้ว ปรากฏว่าหลานสะใภ้ผู้นั้นต้ังครรภ์ได้สามเดือนแล้ว แท้งไป เรื่องน้ีเล่าไว้เพื่อเป็นเครื่องพิจารณาว่าจะต้องมีผู้ไปเกิด (ซ่ึงอาจจะเตรยี มไปเกิดใหม่ตั้งแตย่ ังไมต่ ายจากชาตนิ )ี้ ความเชื่อของคนในโลกนี้ว่าตายเกิด น่าจะมากกว่า ตายสญู มากนัก และเมือ่ เชื่อว่าตายเกิด จึงมคี ติความเชือ่ ตา่ ง ๆ ท่ีเกี่ยวกับเร่ืองเกิดอีกมาก เช่น ความสัมพันธ์เก่ียวข้องกัน ระหว่างบุคคลต้ังแต่สองคนขึ้นไปจนถึงกลุ่มใหญ่ในอดีตชาติ ซึ่งให้เกิดผลสืบมาถึงปัจจุบันชาติ และความเช่ือว่ามีสิ่งหรือ เคร่อื งกำ� หนดใหเ้ กดิ มาเพอื่ ทำ� หน้าทอี่ ย่างหนึ่ง เป็นตน้ ซ่ึงก็เปน็ เรือ่ งสบื เนอื่ งมาจากอดีตน้นั เอง 3

แม้ความเชื่อในเรื่องอวตารก็แสดงว่ามีอดีต ค�ำว่า อวตาร ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ค�ำแปลว่า “การลงมาเกิด การแบ่งภาคมาเกิด” ตามค�ำแปลหลังแสดงว่า ไม่ได้มาทั้งหมด แต่แบ่งภาคคือแบ่งส่วนใดส่วนหนึ่งมาเกิด คือ ยังมี ตวั เดมิ อยใู่ นทขี่ องตน สมมติวา่ สวรรค์ชั้นหนง่ึ ส่วนทมี่ า เกดิ นนั้ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของตวั เดมิ เมอื่ สนิ้ วาระในโลกนแี้ ลว้ กก็ ลบั ไป รวมเข้ากับตัวเดิม จะแปลความอย่างนี้ หรือจะแปลความว่า แบ่งภาค กค็ อื แบง่ ภาค (สว่ น) ของเวลามาเกดิ หมายความวา่ เวลาของตนในทน่ี น้ั สมมตวิ า่ สวรรคช์ น้ั หนง่ึ นนั้ ยงั ไมห่ มด ยงั จะอยู่ ตอ่ ไปอกี นาน หรอื อยไู่ ปเป็นนริ ันดร ตามความเชื่อของบางลัทธิ เช่น พระนารายณ์ของฮินดู แต่แบ่งเวลาส่วนหนึ่งลงมาเกิด ในมนษุ ย์ โดยตัวเดมิ นัน้ แหละลงมาเกิด ไม่ใช่แบง่ ตัวเลก็ ตวั นอ้ ย ลงมา เม่ือท�ำธุระเสร็จแล้ว ตัวเดิมก็กลับไปยังที่ของตน ค�ำว่า แบง่ ภาค จงึ ยงั มปี ญั หาจนกวา่ จะมผี รู้ มู้ าแสดงใหเ้ ชอื่ วา่ อยา่ งไรแน่ 4

คัมภีร์พระพุทธศาสนาแสดงเร่ืองน้ีไว้อย่างไร ถ้าจะให้ ตอบตามคมั ภรี ์ กค็ วรจะกลา่ วกอ่ นวา่ คมั ภรี ต์ า่ ง ๆ แตง่ กนั หลาย ยคุ หลายสมยั ปรากฏว่ามคี ตคิ วามเช่ือตา่ ง ๆ แทรกเขา้ มาเป็น อันมาก แตก่ ย็ ังไมพ่ บเรอื่ งแบง่ ภาคมาเกิด เร่ืองท�ำนองแบ่งภาคเวลา มีอยู่เรื่องหนี่งในอรรถกถา ธรรมบท ถึงดังนั้นก็ไม่ทิ้งหลักกรรมและการตั้งความปรารถนา นทิ านธรรมบทน้นั มคี วามย่อวา่ เทพธดิ าองคห์ นงึ่ กำ� ลังชมสวน กับเทพบุตรผู้สามีกับหมู่เทพธิดาท้ังปวง จุติลงมาเกิดเป็น นางมนษุ ย์ในขณะนน้ั ระลึกชาติได้ จึงต้ังความปรารถนาไปเกดิ อยูก่ ับสามตี ามเดิม และไดท้ ำ� บุญกศุ ลตา่ ง ๆ ถึงแก่กรรมแลว้ ก็ ไปเกดิ ในสวนสวรรค์นั้นอกี ขณะทไี่ ปเกดิ นน้ั หมเู่ ทพก็ยงั ชมสวน กันอยู่ แสดงว่าเวลานานหลายสิบปีในมนุษย์เท่ากับครู่หน่ึง ของสวรรค์ เรื่องนี้เข้าท�ำนองแบ่งภาคแห่งเวลามาเกิดอยู่บ้าง เหมือนกัน แต่ก็กล่าวว่าได้อธิษฐานใจต้ังความปรารถนา (นับว่าเป็นตัณหาอย่างหนึ่ง) และท�ำบุญกุศลเพื่อให้ไปเกิดเป็น 5

เทพ (นบั ว่าเปน็ กรรมทเี่ ปน็ ชนกกรรม คือกรรมที่ใหเ้ กิด) จงึ เขา้ หลักพระพุทธพจน์ที่แปลความว่า “ตัณหายังคนให้เกิด โลกคือ หมสู่ ัตว์ยอ่ มเปน็ ไปตามกรรม” ทางพระพทุ ธศาสนา ปญั หาเรอ่ื งตายแลว้ เกดิ อกี หรอื ไม่ เป็นเรื่องประกอบเท่านั้น เพราะมุ่งสอนให้คนละความไม่ดี ทำ� ความดใี นชาตนิ ี้ หรอื กลา่ วอกี อยา่ งหนง่ึ วา่ ในปจั จบุ นั แตส่ ว่ น มากกอ็ ดสงสยั มิไดใ้ นเรือ่ งตายเร่ืองเกิด และกล่าวไดว้ ่าส่วนมาก เชอื่ วา่ ตายแลว้ เกดิ อกี หรอื วา่ ตายไมส่ ญู วญิ ญาณยงั ไปทอ่ งเทยี่ ว หรือไปเป็นอะไรอย่างหน่ึง หรือไปเกิด อีกพวกหน่ึงซ่ึงน่าจะ น้อยกวา่ เหน็ ว่าตายสูญไมม่ อี ะไรไปเกิด ลองวจิ ยั ดวู า่ ความเชอ่ื ความเหน็ ของทงั้ สองฝา่ ยนฝ้ี า่ ยไหน จะถกู ทแี รกตอ้ งถามกอ่ นวา่ เปน็ ความเชอื่ ความเหน็ วา่ อยา่ งนน้ั หรือเป็นปัญญาซึ่งเป็นความรู้จริง ก็คงจะได้ค�ำตอบว่าเป็น ความเชื่อความเห็นเสียโดยมาก คือเป็นเรื่องท่ีไม่รู้ด้วยตนเอง แตก่ ม็ คี วามเชอ่ื วา่ ตายเกดิ อกี ฝา่ ยหนง่ึ ไมเ่ ชอื่ เพราะเวลาคนตาย 6

กไ็ มเ่ หน็ มอี ะไรไปเกดิ สน้ิ ลมแลว้ ทกุ ๆ อยา่ งกท็ อดทง้ิ อยใู่ นโลกนี้ จึงไม่เชื่อว่าตายเกิด หรือเห็นว่าตายสูญทีเดียว ด้วยความไม่รู้ น้ันแหละ ตกว่าความเชื่อไม่เช่ือหรือความเห็นอย่างไรในเรื่องนี้ เกิดขึ้นจากความไม่รู้ แล้วก็ลงความเห็นเอาเองอย่างคาดคะเน หรือเดา เหมือนอย่างเข้าไปในห้องมืดสนิทมองไม่เห็นอะไรเลย คนหนงึ่ เชอ่ื วา่ หอ้ งนน้ั มคี นซอ่ นอยู่ อกี คนหนง่ึ ไมเ่ ชอื่ วา่ มี ทง้ั สอง คนมรี ะดบั เทา่ กนั คอื มองไมเ่ หน็ เหมอื นกนั ใชค้ วามคาดคะเนหรอื เดาเอาเชน่ เดยี วกนั สรุปความในตอนน้ีว่า เร่ืองตายเกิดหรือไม่เกิด ใคร จะเช่ือหรือไม่อย่างไรไม่ส�ำคัญ ข้อส�ำคัญอยู่ที่ว่าความจริงเป็น อย่างไร ตายแล้วเกิดอีกหรือไม่เกิด ปัญหาจึงมีว่า ใครจะเป็น ผู้บอกได้ จะรู้จริงได้อย่างไร ตอบได้ว่า ผู้บอกมีอยู่แล้ว คือ พระพุทธเจา้ ทา่ นตอบไวใ้ นหลกั อริยสจั จ์สี่ ถอดความมาสน้ั ๆ วา่ มตี ัณหา (ความอยาก) ก็มชี าติ (ความเกิด) สนิ้ ตัณหากส็ ้นิ ชาติ ถอดค�ำออกมาใหเ้ ขา้ เรือ่ งนว้ี ่า ยงั มีตัณหา ตายแลว้ เกิดอีก สิ้นตัณหาแล้วไม่เกิด ท่านบอกไว้ดังนี้ แต่จะรู้จริงด้วยตนเอง 7

ได้น้ัน มีผู้แนะว่าต้องท�ำสมาธิจนได้ดวงตาช้ันใน มองเห็น ความจริงได้ด้วยตนเอง จงึ จะส้นิ สงสยั ถ้ายงั ไม่ได้ดวงตาชัน้ ใน อย่างดีกต็ ้องอาศัยศรทั ธาตอ่ พระพทุ ธเจ้าไปก่อน ในคร้ังพุทธกาล มีแม่ทัพใหญ่ผู้หนึ่งชื่อท่านสีหะไปเฝ้า กราบทูลถามว่า จะทรงอาจบัญญัติแสดงผลทานท่ีมองเห็นได้ ในปัจจุบันได้หรือไม่ พระพุทธเจ้าตรัสว่าได้ คือ ๑. เป็นท่ีรัก ของชนมาก ๒. เป็นท่ีคบหาของคนดี ๓. มเี สียงพดู ถึงในทาง ดงี าม ๔. กล้าเข้าหม่คู นช้ันต่าง ๆ เหลา่ น้เี ปน็ ผลทานทีม่ องเห็น ไดใ้ นปัจจุบัน และ ๕. ตายไปสคุ ติ (ไปด)ี โลกสวรรค์ ข้อหลังนี้ เป็นผลภายหน้า ท่านแม่ทพั สีหะกราบทูลวา่ ๔ ข้อตนไม่ตอ้ งถึง ความเช่ือต่อพระพุทธเจ้าเพราะรู้ได้ด้วยตนเอง ส่วนข้อหลังไม่รู้ แต่ก็ถึงความเช่ือต่อพระพุทธเจ้าในข้อนั้น ท่านแม่ทัพเป็นทหาร กราบทลู ตรง ๆ รู้วา่ รู้ ไมร่ ู้วา่ ไม่รู้ แต่ก็มศี รัทธาต่อพระพทุ ธองค์ มั่นคง ฉะน้ัน ถึงไม่รู้แต่มีผู้รู้เป็นผู้น�ำทางและมีความเช่ือฟังผู้รู้ ก็ย่อมเดินถูกทางแน่ 8

เราเกิดมาท�ำไม ? เราเกิดมาท�ำไม ? ปัญหานี้ถ้าตั้งขึ้นคิดก็น่าจะจน เพราะขณะเมอื่ ทกุ คนเกิดนน้ั ไม่มใี ครรู้ มารู้เมอ่ื เกิดมาและพอรู้ เดียงสาแล้วว่า มีตัวเราขึ้นคนหน่ึงในโลก แต่ทุก ๆ คนย่อมมี ความไม่อยากตาย กลัวความตาย อยากจะด�ำรงชีวิตอยู่นาน เท่านาน นอกจากน้ียังมีความอยากในสิ่งต่าง ๆ อีกมากมาย คล้ายกับว่าความที่ต้องเกิดมานี้ไม่อยู่ในอ�ำนาจของตนเอง มีอ�ำนาจอย่างหน่ึงท�ำให้เกิดมา ตนเองจึงไม่มีอ�ำนาจ หรือไม่มี ส่วนทจ่ี ะตงั้ วัตถุประสงค์แหง่ ความเกิดของตนว่า เกดิ มาเพื่อท�ำ สิ่งน้ันส่ิงน้ี หรอื เพอ่ื เปน็ อย่างนั้นอยา่ งน้ี ดคู ลา้ ย ๆ กับจะเปน็ ด่ังที่ว่ามานี้ ที่ว่าดูคล้าย ๆ ก็เพราะความไม่รู้ หรือจะเรียกว่า “อวิชชา” ก็นา่ จะได้ แต่ถา้ จะยอมจนต่อความไมร่ ู้ ก็ดจู ะมักงา่ ย มากไป นา่ จะลองท�ำตามหลกั อันหนงึ่ ทว่ี ่าอนมุ านและศกึ ษา คือ ส่ิงท่ีประจักษ์แก่สายตาก็รู้ได้ง่าย แต่ส่ิงที่ไม่ประจักษ์แก่สายตา 9

ก็ใช้อนุมาน โดยอาศยั การสันนิษฐานและใชศ้ กึ ษาในถอ้ ยคำ� ของ ท่านผตู้ รสั รู้ พระพุทธเจ้าผู้ตรัสรู้ได้ตรัสไว้แปลความว่า “ตัณหา (ความอยาก) ยังคนใหเ้ กิด” และว่า “โลกคอื หมู่สตั ว์ ยอ่ มเปน็ ไปตามกรรม” ลองอนมุ านดตู ามคำ� ของทา่ นผตู้ รสั รนู้ ้ี ดใู นกระแส ปจั จบุ นั กอ่ นวา่ สมมตวิ า่ อยากเปน็ ผแู้ ทนราษฎร กส็ มคั รรบั เลอื ก ต้ังและท�ำการหาเสียง เม่ือได้ชนะคะแนนก็ได้เป็นผู้แทนราษฎร น้ีคือความอยากเป็นเหตุให้ท�ำกรรม คือท�ำการต่าง ๆ ตั้งต้น แตก่ ารสมัคร การหาเสียง เป็นต้น ซง่ึ เปน็ เหตุใหไ้ ดร้ บั ผล คอื ได้ เปน็ ผแู้ ทน หรอื แมไ้ มไ่ ดเ้ ปน็ ถา้ จะตดั ตอนเอาเฉพาะความเกดิ มา ในช่วงแหง่ ชวี ติ ตอนน้ี กจ็ ะตอบปญั หาขา้ งต้นน้นั ไดว้ า่ “เกดิ มา เพื่อเป็นผู้แทน” ตัวอย่างนี้เป็นรายละเอียดเฉพาะเร่ือง ถ้าจะ ตอบให้ครอบคลุมท้ังหมดก็ควรตอบได้ว่า “เกิดมาเพ่ือสนอง ความอยากและสนองกรรมของตนเอง” ถา้ จะแยง้ วา่ ตอบอยา่ งนนั้ 10

ฟงั ไดส้ ำ� หรบั กระแสชวี ติ ปจั จบุ นั แตเ่ มอื่ เกดิ มาทแี รกยงั มองไมเ่ หน็ เพราะไมร่ ูจ้ รงิ ๆ ถ้าแย้งดังนก้ี ็ตอ้ งตอบว่า ฉะนนั้ จงึ วา่ ตอ้ งใช้ วิธอี นมุ านโดยสนั นิษฐาน ถา้ รู้จริงแล้วจะตอ้ งอนมุ านทำ� ไม และ ก็อาศัยค�ำของท่านผู้ตรัสรู้เป็นหลัก ดังจะลองอนุมานต่อไปว่า จรงิ อยู่ เมือ่ เกดิ มาไม่รู้ แต่เมือ่ รขู้ ึ้นแล้วกม็ ีความกลวั ตาย อยาก ด�ำรงชีวิตอยู่นานเท่านาน แสดงว่า ทุกคนมีความอยากที่เป็น ตัวตัณหาน้ีประจ�ำจิตสันดาน ความอยากเกิดย่อมรวมอยู่ใน ความอยากดำ� รงอยู่น้ี เพราะความตายเปน็ ความสิน้ สดุ แห่งชวี ิต ในภพชาติอันหน่ึง ๆ เมื่อยังมีความอยากด�ำรงอยู่ประจ�ำอยู่ใน จิตสันดาน ก็เท่ากับความอยากเกิดอีก เพื่อให้ด�ำรงอยู่ตามที่ อยากน้ัน ทงั้ ก็ต้องเกดิ ตามกรรมเป็นไปตามกรรม ฉะนนั้ จงึ สรปุ ไดว้ า่ “เราเกดิ มาดว้ ยตณั หา (ความอยาก) และกรรม เพ่ือสนองตัณหาและกรรมของตนเอง” ตัณหาและ กรรมจึงเป็นตัวอ�ำนาจหรือผู้สร้างให้เกิดมา ใครเล่าเป็นผู้สร้าง 11

ตัวอ�ำนาจนี้ ตอบได้ว่าคือตนเอง เพราะตนเองเป็นผู้อยากเอง และเป็นผู้ท�ำกรรม ฉะนั้น จึงกล่าวได้ว่า ตนเองนี้แหละเป็น ผสู้ ร้างตนเองใหเ้ กดิ มา แตผ่ ถู้ อื ทางไสยกลา่ ววา่ ชวี ติ ของคนเรานี้ มพี รหมลขิ ติ คอื พระพรหมกำ� หนด เหมอื นอยา่ งเขยี นมาเสรจ็ วา่ จะเปน็ อยา่ งไร แต่ผู้ถอื ทางพทุ ธมกั ใชว้ า่ กรรมลขิ ิต คือกรรมกำ� หนดมา โดยผล ก็เป็นอย่างเดียวกัน คือมีสิ่งก�ำหนดให้เป็นอย่างน้ันอย่างน้ี นา่ พิจารณาว่าทางพระพทุ ธศาสนาแสดงไวจ้ ริง ๆ อยา่ งไร ได้มีพระพุทธภาษิตตรัสไว้ว่า “มา กตเหตุ อย่าถือว่า เพราะเหตุแห่งกรรมที่ได้ท�ำไว้” คืออย่าถือว่าทุก ๆ อย่างท่ีจะ ไดร้ บั มเี พราะเหตแุ ห่งกรรมทีไ่ ด้ท�ำไวแ้ ลว้ เพราะถ้าถอื อย่างนัน้ ก็จะไม่ต้องท�ำอะไรขึ้นใหม่ รออยู่เฉย ๆ อย่างเดียวเพ่ือให้ กรรมเกา่ สนองผลตา่ ง ๆ ข้นึ เอง ถือเอาความดงั นก้ี ็เท่ากับไมใ่ ห้ ถือกรรมลิขติ น่ันเอง 12

มปี ัญหาว่า ถ้าเช่นนน้ั พระพุทธศาสนาแสดงเรื่องกรรม ไว้ท�ำไม พิจารณาดูจะตอบได้ว่า แสดงเรื่องกรรมไว้เพ่ือให้รู้ ว่ากรรมเป็นเหตุให้วิบากคือผล ต้ังแต่ให้ถือก�ำเนิดเกิดมา และ ติดตามให้ผลต่าง ๆ แก่ชีวิต ท�ำนองกรรมลิขิตน่ันแหละ แต่ กระบวนของกรรมที่ท�ำไว้มีสลับซับซ้อนมาก ทั้งเก่ียวกับเวลาที่ กรรมใหผ้ ล และขอ้ ทส่ี ำ� คญั ทส่ี ดุ คอื เกยี่ วกบั ความประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ ของแตล่ ะบคุ คลในปจั จบุ นั คอื ทางพระพทุ ธศาสนาสอนใหไ้ มเ่ ปน็ ทาสของกรรมเกา่ เชน่ เดยี วกบั ใหไ้ มเ่ ปน็ ทาสของตณั หา แตใ่ หล้ ะ กรรมชวั่ กระทำ� กรรมดี และชำ� ระจติ ใจของตนใหบ้ รสิ ทุ ธส์ิ ะอาด ตามหลกั พระโอวาท ๓ หรอื กลา่ วโดยทว่ั ไป มกี จิ อะไรทค่ี วรทำ� กท็ ำ� โดยไมต่ อ้ งนงั่ รอนอนรอผลของกรรมเกา่ อะไร ความพจิ ารณาเพอ่ื ใหร้ กู้ รรมและผลของกรรมนน้ั กเ็ พอื่ ใหจ้ ติ เกดิ อเุ บกขา ในเวลาทเี่ กดิ เหตกุ ารณเ์ หลอื ทจ่ี ะชว่ ยแกท่ งั้ คน ทเี่ ปน็ ทร่ี กั และทชี่ งั กบั เพอื่ จะไดป้ ฏบิ ตั ติ นตามหลกั พระโอวาท ๓ ขอ้ นน้ั ทง้ั คนเรามจี ติ ใจทเ่ี ปน็ ตน้ เดมิ ของกรรมทกุ อยา่ ง ไมว่ า่ เกา่ 13

หรือใหม่ เพราะจะต้องมีจิตเจตนาขึ้นก่อนแล้วจึงท�ำกรรมอะไร ออกไป ฉะน้นั จงึ สามารถและทำ� อธิษฐาน คือตั้งใจวา่ จะประสงค์ ผลอนั ใด เมอ่ื ประกอบกรรมใหเ้ หมาะแกผ่ ลอนั นนั้ กจ็ ะไดร้ บั ความ ส�ำเร็จ และจึงสามารถตอบปัญหาว่า “เราเกิดมาท�ำไม” ได้ อกี อยา่ งหนง่ึ วา่ “เราเกดิ มาตามทต่ี งั้ ใจไวว้ า่ จะมาทำ� ” เปน็ อนั ไม่ พน้ ไปจากคำ� ตอบทวี่ า่ “เราเกดิ มาเพอื่ สนองตณั หาและกรรมของ ตนเอง” แตค่ นดี ๆ ย่อมมีอธิษฐานใจทีด่ ี ดังพระโพธิสัตวท์ รง อธษิ ฐานพระหทยั เพอื่ บำ� เพญ็ พระบารมี ความเกดิ มาของพระองค์ ในชาตทิ ง้ั หลาย จงึ เพอื่ บำ� เพญ็ บารมคี อื ความดตี า่ ง ๆ ใหบ้ รบิ รู ณ์ อันท่ีจริง ทุก ๆ คนมีสิทธิ์ที่จะถือว่าตนเกิดมาเพ่ือ บ�ำเพ็ญความดใี หม้ ากขึ้น และสามารถท่จี ะบ�ำเพญ็ ความดไี ด้ ความสำ� นกึ เขา้ ใจตนเองไวว้ า่ “เราเกดิ มาเพอ่ื ท�ำความ ดี” ดังน้ี ย่อมมีประโยชน์ไม่มีโทษ เพราะจะท�ำให้ขวนขวาย ท�ำความดีและศึกษาเพ่ิมความรู้ของตนอยู่เสมอ แต่ชีวิตของ 14

คนเราก็ยังเน่ืองด้วยกรรมเก่า และยังเนื่องด้วยกิเลสในจิตใจ ส่ิงท่ีทุกคนได้มา ตั้งต้นแต่ร่างกายและชีวิตนี้ เป็นวิบากคือ ผลของกรรมและกิเลสของตนเอง แต่ยังมีอีกส่วนหน่ึง คือ ความดีที่แต่ละคนได้อบรมสั่งสมมา อันเรียกว่า “บารมี” คือ ความดีที่เก็บพอกพูนขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งจะส่งเสริมจิตใจให้เกิด ความเหน็ ท่ีถกู ต้องและดำ� เนนิ ไปในทางทีถ่ ูก ท่านกล่าวไว้ว่า มนุษย์เราเกิดมาด้วยอ�ำนาจของกุศล คอื กศุ ลจติ และกศุ ลกรรม ไมว่ า่ จะเกดิ มายากดมี จี นอยา่ งไร เพราะ มนุษยภูมิเป็นผลของกุศล ทุกคนจึงชื่อว่ามีกุศลหนุนให้มาเกิด ด้วยกันท้ังนั้น ฉะน้ัน จึงได้ชื่อว่า มนุษย์ ท่ีแปลอย่างหนึ่งว่า ผมู้ ใี จสงู คอื มคี วามรสู้ งู ดงั จะเหน็ ไดว้ า่ คนเรามพี นื้ ปญั ญาสงู กวา่ สัตว์ดิรัจฉานมากมาย สามารถรู้จักเปรียบเทียบในความดี ความช่ัว ความควรท�ำไม่ควรท�ำ รู้จักละอาย รู้จักเกรง รู้จัก ปรับปรุงสร้างสรรค์สิ่งท่ีเรียกว่า “วัฒนธรรม” “อารยธรรม” “ศาสนา” เป็นต้น แสดงว่ามีความดีที่ได้สั่งสมมา โดยเฉพาะ 15

ปัญญา เป็นรัตนะอันส่องแสงสว่างน�ำทางแห่งชีวิต ถึงดังนั้น คนเราก็ยังมีความมืดท่ีมาเกิดก�ำบังจิตใจให้เห็นผิดเป็นชอบ ความมดื ทีส่ �ำคัญนนั้ ก็คอื กิเลสในจติ ใจและกรรมเก่าทัง้ หลาย อะไรคือกรรมเก่า ? ไม่มีอธิบายอ่ืน จะอธิบายอย่าง มองเห็น เช่นพระพุทธาธิบายที่ตรัสไว้ความว่า “กรรมเก่า คือ ตา หู จมกู ลิ้น กาย และมนะ (ใจ)” กล่าวคอื ร่างกายที่ประกอบ ดว้ ยอายตนะทงั้ หกนแ้ี หละเปน็ ตวั กรรมเกา่ เปน็ กรรมเกา่ ทที่ กุ ๆ คนมองเห็น นอกจากน้ี ยังเป็นวัตถุที่ตั้งแห่งกรรมใหม่ทั้งปวง อกี ดว้ ย เพราะกรรมทที่ ำ� ขน้ึ ในปจั จบุ นั จะเปน็ กายกรรม วจกี รรม มโนกรรมก็ตาม ก็อาศัยกรรมเก่าน้ีแหละเป็นเครื่องมือกระท�ำ ท้ังกรรมเก่าน้ียังเป็นชนวนให้เกิดเจตนาท่ีท�ำกรรมใหม่ ๆ ท้งั หลายดว้ ย เพราะตา หู เปน็ ตน้ มใิ ชว่ า่ จะมีไวเ้ ฉย ๆ ต้องดู ต้องฟัง แล้วก็ก่อกิเลส เช่น ราคะ (ความติดความยินดี) โทสะ (ความขัดเคือง) โมหะ (ความหลงใหล) ให้เกิดข้ึน 16

ขณะทรี่ า่ งกายเจรญิ ในวยั หนมุ่ สาว ซงึ่ กลา่ วไดว้ า่ กรรมเกา่ กำ� ลงั เติบโตเป็นหนุ่มสาว ตา หู เป็นต้นก็ย่ิงเป็นสื่อแห่งราคะ โทสะ และเป็นส่ือแห่งกรรมต่าง ๆ ตามอ�ำนาจของจิตใจที่ก�ำลัง ละเลงิ หลง จงึ จำ� ตอ้ งมกี ารควบคมุ ปกครอง จะปลอ่ ยเสยี หาไดไ้ ม่ ถ้าตนเองควบคุมตนเองได้ กเ็ ปน็ วเิ ศษท่สี ุด แต่ถ้าควบคุมตนเอง ไมไ่ ด้ กต็ อ้ งมผี ใู้ หญ่ เชน่ มารดาบดิ าและผใู้ หญอ่ นื่ ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง ควบคุม ให้อยู่ในระเบียบวินัยท่ีดีงาม ให้เกิดความส�ำนึกว่า “เราน่ีเกิดมาเพอ่ื ทำ� ความดี” 17

ภาพชีวิตของแต่ละคน ค�ำวา่ “ชีวติ ” มไิ ดม้ ีความหมายเพยี งความเปน็ อยูแ่ หง่ ร่างกาย แต่หมายถึงความสุขความทุกข์ความเจริญความเสื่อม ของบุคคลในทางต่าง ๆ ด้วย บางคนมีปัญหาว่า จะวาดภาพ ชีวิตของตนอย่างไรในอนาคต หรืออะไรควรจะเป็นจุดมุ่งหมาย ของชีวิต และจะไปถึงจุดที่มุ่งหมายน้ันหรือที่นึกวาดภาพไว้นั้น ด้วยอะไร ปัญหาท่ีถามคลุมไปดังน้ี น่าจะตอบให้ตรงจุดเฉพาะ บุคคลได้ยาก เพราะไม่รู้ว่าทางแห่งชีวิตของแต่ละบุคคลตามที่ กรรมก�ำหนดไว้เป็นอย่างไร และถ้าวาดภาพของชีวิตอนาคตไว้ เกินวิสัยของตนที่จะพึงได้พึงถึง แบบท่ีเรียกว่าสร้างวิมานบน อากาศ ก็จะเกดิ ความส�ำเร็จขนึ้ มาไมไ่ ดแ้ น่ หรือแม้วาดภาพชวี ติ ไวใ้ นวสิ ยั ทจี่ ะพงึ ถงึ แตข่ าดเหตทุ จี่ ะอปุ การะใหไ้ ปถงึ จดุ หมายนน้ั กย็ ากอกี เหมือนกนั ที่จะเกดิ เป็นความจรงิ ขึน้ มา 18

ภาพของชีวิตที่วาดไว้ก็จะเทียบได้กับแบบแปลนของ สง่ิ ทจ่ี ะสรา้ งขน้ึ ในกระดาษพมิ พเ์ ขยี ว คนทไ่ี มม่ บี า้ นคดิ จะสรา้ งบา้ น อยู่ของตนเอง จะต้องมีที่ทางมีทุนก่อสร้าง ทีแรกก็จะต้องมี แบบแปลนในแผ่นกระดาษตามที่ตนชอบ แต่ก็ต้องตามควรแก่ กำ� ลังทรพั ยข์ องตน ถา้ อยากจะไดบ้ ้านที่ใหญโ่ ตเกนิ ก�ำลงั มากไป ก็จะท�ำไม่ได้แน่ แต่ตัวอย่างนี้มีจุดมุ่งหมายชัดเจนอยู่แล้วว่า จะสรา้ งบา้ น สว่ นปญั หาขา้ งตน้ ทวี่ า่ อะไรควรจะเปน็ จดุ หมายของ ชวี ติ น้ัน ยงั ไมม่ จี ดุ หมายชัดเจน จงึ ว่าเปน็ ปญั หาทถี่ ามคลุมตอบ ไดย้ าก เหมอื นอยา่ งจะถามวา่ จะสรา้ งอะไรจงึ จะดี ซง่ึ ตอบไดย้ าก ถา้ มีจุดหมายแนน่ อนวา่ จะสรา้ งบ้านอยู่ กพ็ อจะชว่ ยกันคิดว่าจะ สร้างแบบไหน ด้วยเครอ่ื งอปุ กรณ์อะไรบ้าง อนั จดุ หมายแหง่ ชวี ติ ของคนนนั้ มตี า่ ง ๆ กนั บางคนมี จุดหมายของตนเอง คือมีความคิดเองว่าจะเรียนจะท�ำงานอะไร ทางไหน บางคนมีผู้อื่น เช่น ผู้ปกครองหรือมิตรสหายแนะน�ำ 19

บางคนก็เป็นไปตามท่ีคิดไว้ต้ังแต่ต้น บางคนก็เป็นไปในทางอ่ืน เพราะมเี หตกุ ารณบ์ างอย่างมาท�ำให้เปลยี่ นไปเสีย เมอ่ื เรว็ ๆ นมี้ นี กั เรยี นทส่ี ำ� เรจ็ การศกึ ษาจากทแ่ี หง่ หนงึ่ พร้อมกันเม่ือหลายปีมาแล้ว นัดมาบ�ำเพ็ญกุศลพร้อมกันใน วัดหน่ึง บัดนี้นักเรียนเหล่าน้ันมีอายุเกิน ๖๐ ด้วยกันแล้ว ท่ีรับราชการก็เกษียณอายุราชการแล้ว และก็ไม่ใช่นักเรียนแล้ว ต่างได้ผ่านการสร้างชีวิตของตนมาด้วยกันแล้ว มีอายุแห่งชีวิต อยู่ในระยะพักในบั้นสุดท้าย กล่าวได้ว่าทุกคนได้มาถึงจุดสูงสุด แห่งการสร้างชีวิตของตนแล้ว จะสร้างให้ดียิ่งข้ึนไปอีกก็คง ไม่ได้มากเท่าไร ลองส�ำรวจดูแต่ละคนมีทางชีวิตไปคนละทาง คอื ท�ำงานต่าง ๆ กันไปถงึ ระดบั ทสี่ งู ตา่ํ ตา่ ง ๆ กนั ทัง้ ทางทรพั ย์ ทางยศทางเกยี รตชิ อ่ื เสยี ง ชวี ติ จรงิ ของแตล่ ะคนเมอ่ื อายหุ ลงั จาก ๖๐ ปี ยอ่ มเปน็ เครอ่ื งตัดสินวา่ ภาพของชีวติ ที่วาดไวเ้ มอื่ เป็น นักเรียนนัน้ ผิดหรอื ถูกเพียงไหน 20

ภาพชีวิตท่ีทุกคนวาดไว้เม่ือเป็นเด็กหรือในวัยรุ่น กับ ชีวติ จรงิ เม่ืออายุ ๖๐ อาจตา่ งกนั มาก ทุกคนขณะอยใู่ นวยั เดก็ หรือในวัยรุ่นอาจจะวาดภาพชีวิตอนาคตของตนเองไว้ด้วยตน หรือบางทีผู้ใหญ่ช่วยคิดแนะน�ำให้ โดยปกติก็ต้องสังเกตดูสติ ปญั ญาความถนดั ความชอบ และตอ้ งพจิ ารณาถงึ กำ� ลงั สนบั สนนุ ต่าง ๆ ตลอดถึงอัธยาศัย นิสัย การศึกษาตั้งแต่ในเบื้องต้น คือปฐมศึกษากับมัธยมศึกษา เป็นเคร่ืองช่วยช้ีบอกได้ว่าทาง อนาคตจะไปได้อย่างไร ผู้ท่ีมีพื้นสติปัญญาต่ํา เรียนได้แค่ ปฐมศกึ ษา กจ็ ะต้องไปท�ำงานด้านใช้ก�ำลงั กายมากกว่าใช้สมอง แต่เมื่อจับอาชีพถูกทาง มีความขยันหม่ันเพียร รู้จักเก็บหอม รอมริบ ก็อาจตั้งตัวได้ดีเหมือนกัน ผู้ท่ีมีสติปัญญาปานกลาง เรียนได้จบมัธยมศึกษาหรือเรียนจบทางการช่างเป็นต้นต่าง ๆ ก็สามารถท�ำงานใช้วิชาได้บ้าง เมื่อต้ังใจท�ำการงานให้ดีและ ประพฤตติ นดดี งั กลา่ ว กต็ ง้ั ตนไดด้ ตี ามสภาพ สว่ นผทู้ ม่ี สี ตปิ ญั ญา ดี ท้ังมีปัจจัยสนับสนุน เรียนส�ำเร็จอุดมศึกษาทางใดทางหนึ่ง 21

จะสามารถท�ำงานได้ประณีตกว่า อาจต้ังตนได้ดีมาก แต่ความ ส�ำเร็จผลอย่างดีน้ัน นอกจากต้องอาศัยก�ำลังสติปัญญาวิชา ความรู้ดังกล่าว ยังต้องอาศัยปัจจัยอุปถัมภ์อย่างอ่ืนอีก ฉะน้ัน คนท่ีบรรลุความส�ำเร็จ เช่น เป็นพ่อค้าใหญ่ เป็นข้าราชการ ช้ันผู้ใหญ่ เป็นชาวนาชาวสวนที่มีฐานะม่ันคง เป็นต้น จึงมิใช่ เป็นผู้ท่ีมาจากมหาวิทยาลัย จากวิทยาลัยเทคนิค หรือจาก โรงเรยี นมธั ยมเสมอไป ใครจะถงึ ความสำ� เรจ็ แคไ่ หนเพยี งไหนนน้ั เมอื่ ไดผ้ า่ นบางตอนของชวี ติ ไปแลว้ กพ็ อจะคดิ คาดคะเนเอาไดว้ า่ จะไปได้สูงเพียงไหน เว้นไว้แต่มีเหตุพิเศษท้ังในด้านสนับสนุน ทง้ั ในดา้ นตดั รอน เชน่ บางคนถกู ลอ็ ตเตอรที่ ่ี ๑ กเ็ ปลย่ี นเปน็ มง่ั มี ข้ึนทนั ที หรอื บางคนกำ� ลงั จะดี แตม่ เี หตุมาตัดรอน เชน่ ประสบ อบุ ตั เิ หตหุ รอื มโี รครา้ ยมาตดั รอน จงึ เปน็ เหตตุ ดั รอนผลดที น่ี า่ จะได้ มเี รอ่ื งเลา่ เกย่ี วแกผ่ ทู้ เ่ี รยี กไดว้ า่ ตายฟรี คอื ตายเปลา่ อยู่ รายหนงึ่ วา่ มีคนผูห้ นึ่งซื้อลอ็ ตเตอรี่ไวฉ้ บบั หนึง่ ต่อมาล็อตเตอรี่ ออก ปรากฏวา่ รางวลั ท่ี ๑ ตรงกับเลขล็อตเตอร่ที ผี่ นู้ ัน้ ซ้อื เกบ็ ไว้ 22

เขาเห็นตัวเลขเข้าก็ดีใจจนสิ้นใจไปในขณะนั้นเอง แต่ความจริง เขาหาไดถ้ กู รางวัลที่ ๑ ไม่ เพราะลอ็ ตเตอรีท่ เ่ี ขาซื้อไว้ ใชง่ วดที่ ออกคราวนัน้ เหตุการณพ์ เิ ศษตา่ ง ๆ เช่นนีม้ ีอยูเ่ หมอื นกนั ฉะนนั้ ชวี ติ จรงิ ของทกุ ๆ คน จงึ ไมแ่ นอ่ ยา่ งทค่ี าดคดิ ไว้ หรอื อยา่ งทนี่ า่ จะเปน็ เมอ่ื ถงึ เขา้ แลว้ นนั้ แหละจงึ เปน็ การแนน่ อน เหมือนอย่างเม่ือเกษียณอายุราชการแล้ว จึงจะรู้ว่าความเจริญ ทางราชการของตนไปได้สูงแค่ไหน ทั้งน้ีก็ต้องเว้นแต่ท่านผู้รู้ แตท่ า่ นผรู้ ไู้ มต่ อ้ งการชวี ติ เหมอื นอยา่ งทคี่ นเปน็ อนั มากตอ้ งการแลว้ 23

ชีวติ ต้องการอะไร ชวี ติ นต้ี อ้ งการอะไร ? อาจจะเปน็ ปญั หาเดยี วกบั ปญั หา ท่ีว่าควรจะวาดภาพชีวิตอนาคตอย่างไร หรืออาจจะต่างกันก็ได้ สดุ แตค่ วามประสงคข์ องผถู้ าม อาจจะมงุ่ ถงึ ผลทางวตั ถหุ รอื ทาง โลกทว่ั ๆ ไปก็ได้ อาจจะหมายถงึ ผลทีพ่ ิเศษไปกว่าน้ันกไ็ ด้ วา่ ถึงผลทางวัตถุหรือทางโลกทว่ั ๆ ไป ทกุ คนก็นา่ จะ มีทางของตน หรอื มีความคิดเหน็ ของตนเอง เกยี่ วแกก่ ารเรียน อาชีพการงาน เป็นต้น แต่ถ้าหมายถึงผลท่ีพิเศษไปกว่าน้ัน ก็น่าคิดวา่ นอกจากสิง่ ตา่ ง ๆ ที่เป็นบุคคลเป็นวตั ถุเป็นชื่อเสียง เป็นตน้ ท่โี ลกต้องการแล้ว ชีวิตนต้ี อ้ งการอะไรอีก เพราะสิง่ ทโี่ ลก ตอ้ งการทงั้ ปวงกด็ คู ลา้ ย ๆ กนั เชน่ ตอ้ งการวชิ า ตอ้ งการอาชพี ต้องการภริยาสามี ต้องการบุตรบุตรี ต้องการทรัพย์ ต้องการ ยศ ต้องการช่ือเสียง เป็นต้น เช่นเดียวกับชีวิตต้องแก่เจ็บตาย ซึง่ เหมอื นกันทกุ ๆ ชวี ิต 24

ชวี ติ และเหตกุ ารณข์ องชวี ติ ทำ� ใหค้ นมคี วามเหน็ ตอ่ ชวี ติ ต่าง ๆ กัน บางคนร่ืนเริงยินดีอยู่กับชีวิต มักจะเป็นคนวัยรุ่น กำ� ลงั มรี า่ งกายเจรญิ มองเหน็ อะไรในโลกยม้ิ แยม้ แชม่ ชนื่ ไปทง้ั นนั้ บางคนระทมอยู่กับชีวิตจนถึงคิดหนีชีวิตก็มี เพราะความไม่ สมหวังน้อยหรือมาก บางคนก็ดูเฉย ๆ ต่อชีวิต แต่มิใช่เฉย เพราะรู้สจั จะของชวี ิต หากเฉย ๆ เพราะไม่รู้ ทงั้ ไม่ต้องการทจี่ ะ ศึกษาเพอื่ รู้ จงึ อยู่ไปท�ำไปตามเคยวันหนึง่ ๆ โดยมากน่าจะอยู่ ในลักษณะนี้ ไม่สู้จะเป็นสุขหรือเป็นทุกข์อะไรมากนัก เพราะไม่ อยากจะคิดรู้อะไรมากนัก หรือเพราะไม่มีอะไรจะท�ำให้เป็นสุข หรือเป็นทุกข์มากนัก สรุปลงว่ายินดีต่อชีวิตบ้าง ยินร้ายต่อ ชีวิตบ้าง หลงงมงาย เชน่ ท่ีมคี วามเฉย ๆ เพราะไม่รู้ดังกลา่ ว นั้นบ้าง คนท่ัว ๆ ไปย่อมเป็นดังนี้ จะต้องพบทั้งความยินดี ทั้งความยินร้าย ท้ังความหลงใหลในชีวิต จะต้องพบทั้งสุข ท้ังทุกข์ ทั้งได้ท้ังเสีย ขณะเป็นเด็กหรือเป็นวัยรุ่นอาจจะมีสุข มีสนุกร่ืนเริงมาก แล้วจะค่อย ๆ พบทุกข์เข้ามาแทนสุข น้อย 25

หรือมากตามวัยท่ีเพิ่มข้ึน ตามเหตุการณ์ของชีวิตท่ีต้องการ พบมากขนึ้ จะตอ้ งพบทงั้ ความยม้ิ แยม้ ทงั้ ความระทม หรอื จะตอ้ ง ท้ังหวั เราะท้งั ร้องไห้ น้นั แหละเป็นชีวติ หรอื เปน็ โลก ว่าถึงชาวโลกทั่วไป เม่ือได้มีประสบการณ์จากโลกทั้ง สองดา้ นแลว้ จงึ จะรจู้ กั โลกดขี น้ึ แตก่ ม็ อี ยสู่ องจำ� พวกเหมอื นกนั คอื พวกหน่งึ แพโ้ ลก คอื ตอ้ งเปน็ ทุกขน์ ้อยหรือมาก ไมส่ ามารถ จะแกท้ ุกขไ์ ด้ คล้ายกับรอให้โลกชว่ ย คือใหเ้ หตกุ ารณข์ า้ งดีตาม ที่ปรารถนาเกิดขึ้น อีกพวกหนึ่งไม่แพ้โลก คือไม่ยอมเป็นทุกข์ ถงึ จะตอ้ งเปน็ ทกุ ขบ์ า้ งอยา่ งสามัญชน กไ็ ม่ยอมให้เปน็ มากหรอื เป็นนานนัก พยายามแก้ทุกข์ได้ ไม่ต้องรอให้เหตุการณ์ข้างดี ที่ปรารถนาต้องการเกิดช่วย ซึ่งเป็นการไม่แน่ แต่ท�ำความรู้จัก โลกนั่นแหละให้ดีขึ้น ตามท่ีพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนไว้ เช่นว่า “สูจงมาดูโลกน้ี... ที่พวกคนเขลาติดอยู่ แต่ผู้รู้หาข้องอยู่ไม่” คือศึกษาท�ำความรู้ชนิดท่ีไม่ติดข้องให้เกิดขึ้น ด้วยปล่อยโลกให้ 26