Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การผลิตผัก

Description: การผลิตผัก.

Search

Read the Text Version

37 ตารางที่ 6-9 คุณคาทางอาหารโดยเฉลี่ยของพรกิ เผ็ด และพริกหวาน (ตอสวนทบ่ี ริโภคได 100 g) _________________________________________________________________________________ สว นประกอบ พรกิ หวาน พริกเผด็ _________________________________________________________________________________ พลังงาน (Kcal) 26.0 116.0 โปรตนี (g) 1.3 6.3 เสนใย (g) 1.4 15.0 แคลเซ่ียม (mg) 12.0 86.0 เหล็ก (mg) 0.9 3.6 แคโรตีน (mg) 1.8 6.6 ไทอามนี (mg) 0.07 0.37 ไรโบเฟรวนิ (mg) 0.08 0.51 ไนอาซนิ (mg) 0.8 2.5 วติ ามินซี (mg) 103.0 96.0 คณุ คาทางอาหารโดยเฉล่ยี (ANV) 6.61 27.92 ANV ตอนํ้าหนักแหง 100 g 82.6 8.07 นา้ํ หนกั แหง (g) 8.0 34.6 ของเหลือท้ิง (%) 13.0 13.0 _________________________________________________________________________________ ประวตั ิ พริกมีแหลงกําเนิดในอเมริกาเขตรอน ตง้ั แตก อนโคลมั บัส พบทวีปอเมริกา พันธุพ ริก ทป่ี ลูกในปจ จบุ ันถกู นํามาจากตวั อยางทเ่ี ก็บมาเพียงเลก็ ๆ นอยๆ เม่อื เทียบกับการกระจายตวั ของ พนั ธกุ รรมในธรรมชาติ พริกพันธุปลกู แบงไดเ ปน 3 กลุม ใหญๆ ไดแ ก Capsicum baccatum และ C.pubescens R. and P. ซง่ึ แยกออกจากกนั ไดช ัดเจนโดยลักษณะทางพฤกษศาสตร และอกี กลมุ หน่ึงท่รี วมๆ กนั อยู ปจจุบนั ยอมรบั ใหแ ยกเปน อีก 3 ชนิด (species) ดว ยกันไดแ ก C.annuum L., C.frutescens L, และ C.chinense Jacq. (Pickersgill. 1988) อธบิ ายแยกชนิดไดด ังนี้

38 ก. Capsicum annuum L. เปน ชนิดท่ปี ลกู มากและมีความสําคัญมากทส่ี ดุ เมอ่ื เทยี บกบั พรกิ ชนดิ อนื่ ๆ มีแหลง ด้งั เดมิ อยใู นอเมริกากลางไดแ ก ประเทศเมก็ ซิโกและประเทศใกลเคียง มีหลักฐานวาถกู นําไปเผยแพร ในยุโรป โดยการเดินทางครงั้ ท่ี 2 ของโคลมั บสั ใน ค.ศ. 1494 (IBPGR Secretariat. 1983) หลังจาก น้ันไดก ระจายไปยงั ทวีปเอเซียและทวปี อัฟรกิ า เมื่อเวลาผานไปหลายรอยป พนั ธพุ รกิ ทกี่ ระจายอยู แถบ Old World น้อี าจเรียกไดว า เปน แหลงกาํ เนิดท่สี อง (secondary centres) ได เชน ในตอนกลาง ของทวปี ยุโรป ทวีปอัฟริกาและทวปี เอเซยี พรกิ ในชนดิ นีเ้ หน็ ชัดวา แตกตางจากชนดิ อืน่ ไดแ กการท่ดี อกและผลเดยี่ วๆ และมีกลบี ดอกสีขาว จากการสาํ รวจในประเทศไทย พบวา พริก C.annuum ท่ใี ชเ ปนพันธุปลกู มีมาก สาย พนั ธทุ ี่สุดเมือ่ เทียบกับพริกชนิดอ่นื รวบรวมได 31 สายพนั ธุ (Worayos. 1986) ช่อื สายพันธุเรยี กตาม ชือ่ พ้ืนเมือง ไดแก พริกชฟ้ี า พรกิ ช้ีฟา ใหญ พรกิ จนิ ดา พริกแดง พริกฟกทอง พริกข้ีหนู พริกขห้ี นูชฟี้ า พริกข้ีหนจู นิ ดา พริกหวานและพรกิ ยกั ษ เปน ตน ชื่อทใ่ี ชเ รยี ก เชน พริกชี้ฟา และพริกขี้หนู ใชเรยี กใน พรกิ ชนิดอ่นื ดวย เชน C.chinense และ C.frutescens ข. Capsicum chinense Jacq. เปนพริกทม่ี ีความสาํ คญั ในการใชเปนพันธปุ ลูกมากในแถบภูเขาแอนดีสอเมรกิ าใต การ กระจายพันธุของพริกชนิดนม้ี มี ากในบริเวณอเมซอน (Pickersgill. 1969b) พรกิ ในกลมุ นีท้ ม่ี ผี ลใหญ เนอ้ื หนา ใชร ับประทานสด พริกทีเ่ นื้อบางใชทาํ พริกแหง สวนพริกผลเลก็ มีกลิ่นและรสเผ็ดจดั เชอ่ื วา มี รสเผ็ดท่ีสุดในพริกท่ีปลกู ท้ังหมด พรกิ ชนดิ นกี้ ระจายไปยังอฟั ริกา โดยเสน ทางการคาของชาวโปรตุเกส แตพ ริกนี้ไมเปน ท่ีนยิ มในเอเชยี แถบรอ น ในประเทศไทย สายพันธพุ ริกที่เก็บรวบรวมมีพรกิ ชนดิ นี้อยู 18 สายพนั ธุ (Worayos. 1986) มีชือ่ เรยี กวา พรกิ ข้หี นู พริกขห้ี นแู ดง พริกกลาง พริกเลบ็ มอื นาง พริกขี้หนหู อม พริกสวนและพริกใหญ เปนตน พริกพวกน้ีมลี ักษณะทางพฤกษศาสตรค ลายกับ C.annuum และ C.frutescens สกี ลีบดอกสีเขียวออน (greenish white) มดี อก 2 หรือมากกวา 2 ดอกตอ ขอ เม่ือผลแก จะมรี อยคอดทก่ี ลบี เลย้ี งตดิ กบั กา นของผล ดรู ายละเอยี ดเพ่มิ เติมในลักษณะประจําของพรกิ ชนดิ น้ี

39 Capsicum baccatum L. พรกิ ชนิดน้ีมีถิ่นกําเนดิ ในประเทศโบลิเวีย (Heiser. 1976) มีหลกั ฐานทางโบราณคดี ของประเทศเปรวู าพรกิ ชนิดน้ี C.baccatum var. pendulum ปลูกโดยคนโบราณกอนคริสตศตวรรษถงึ 2500 ป (Pickersgill.1969a) การกระจายของพริกชนดิ นพี้ บในประเทศเปรู ประเทศโบลเิ วยี ประเทศ อาเจนตนิ า และประเทศบราซลิ ตอนใต ตอ จากนน้ั ไดก ระจายไปยงั ตอนใตของประเทศสหรัฐอเมริกา ฮาวาย และประเทศอนิ เดยี ในศตวรรษที่ 17 มกี ารกระจายของพริกชนิดนี้ถึงยุโรป พริกนี้ไมเปน ทน่ี ยิ ม ปลูกในทวีปเอเชยี และอฟั รกิ า ทงั้ นี้อาจเปน เพราะ C.annuum และ C.frutescens ไดร ับความนิยมอยู แลว จากการรวบรวมพนั ธุพรกิ ในประเทศไทยสงสยั วา มีพรกิ ชนดิ น้ีปลกู อยสู ายพนั ธุห นงึ่ (Worayos. 1986) พรกิ พวกน้ีมีความแตกตางจากพริกชนดิ อนื่ ที่มดี อกสีขาวและมจี ดุ สีเหลอื งท่ีกลบี ดอกขาว ใน กลุม พรกิ น้ียงั มี C.pendulum และ C.microcarpum ทถี่ ูกจดั ใหอยใู น C.baccatum ดวย Capsicum frutescens L. ถ่ินกาํ เนิดของพรกิ ชนิดนีอ้ ยูใ นอเมริกาใตเชนเดียวกับชนดิ อ่นื และพบหลักฐานทาง โบราณคดีในประเทศเปรูกอนคริสตศตวรรษถึง 1200 ป (Pickersgill. 1969a) พบวามีการกระจาย พันธุอยใู นประเทศบราซิลตอนใตไ ปถึงตอนกลางของทวีปอเมริกา หมูเกาะ West Indies ทวปี อัฟริกา และทวีปเอเซยี พนั ธทุ ่ีปลูกในอเมริกาเปน ชนิดผลโต เรียกวา Tabasco pepper ซ่งึ เปน พนั ธุทร่ี ูจักกัน แพรห ลาย นอกจากนยี้ ังมพี ันธุผลโตอ่นื ๆ อีก มีปลกู แถบทะเล คาลิเบียน ทวปี ยุโรปและทวปี เอ เชีย แตพนั ธุท่ีนิยมในทวปี เอเซียเปน พรกิ ผลเลก็ มีความเผ็ดมาก บางแหงใชพรกิ พวกนี้ในการสกดั สาร oleoresin ในประเทศไทย มีรายงานวามีพริกชนดิ น้ี 3 สายพนั ธุ ไดแ ก พรกิ ช้ีฟา พรกิ เกษตร และ พริกขาว (Worayos. 1986) พรกิ ชนดิ นีม้ ีลกั ษณะเดนท่มี ดี อกเด่ยี ว แตพ ริกพันธปุ า ของ C.frutescens มี 2-3 ดอก ในแตล ะขอ ดอกมีสเี ขียวออ น (greenish white) ผลพริกของพนั ธปุ าใชบ รโิ ภคไดและมีรส เผด็ Capsicum pubescens Ruiz & Pavon พริกชนดิ น้เี ปนพรกิ ที่ปลกู บนพ้ืนท่สี ูง เนื่องจากทนตอความหนาวได พบวา ปลกู อยใู น แถบภูเขาแอนดสี และบนทส่ี งู ของอเมรกิ ากลาง แตกพ็ บพรกิ ชนิดน้ีในที่ราบเชนเดยี วกับ C.annuum, C.baccatum และ C.chinense (Eshbaugh. 1979 และ Pickersgill. 1971) แหลง กําเนิดของพรกิ น้เี ขา ใจวาเปน ประเทศโบลเิ วีย (Eshbaugh, 1980) พริกพวกนี้ไมค อ ยติดผลไดงา ยเชน พรกิ ชนดิ อื่นเมือ่ ปลูกในแถบรอน พันธุท่ีใชปลกู มีลักษณะการกระจายนอ ยกวาพรกิ ชนิดอืน่ ทก่ี ลา วมา

40 แลวขางตน ผลของพรกิ มีเนื้อหนา มเี ปอรเซนตข องนา้ํ สงู แตม ีรสเผด็ ลกั ษณะเดมิ ของพรกิ ชนิดนไี้ ด แก กลีบดอกสมี วง ไมมีจดุ และเมล็ดสดี ํา จากการสํารวจและรวบรวมพันธุพ รกิ ในประเทศไทย อาจมี พริกชนดิ นอ้ี ยูเ พยี งสายพนั ธุเดยี วเรยี กวา พรกิ ขาวดาํ (Worayos. 1986) แหลงกําเนดิ ของพริกทัง้ 5 ชนิดที่กลาวมาแลว พอสรุปไดว ากาํ เนิดในแถบรอ นของ โลกใหม (New World tropics) และแถบอบอุนของโลกใหม (New World subtropics) และไมม ีหลกั ฐานปรากฏวากําเนดิ ในโลกเกา (Old World) เลย โคลัมบัสไดเ ปนคนแรกท่นี ําพันธุพริกไปยัง ประเทศสเปน ในศตวรรษท่ี 16 ประมาณ ค.ศ.1493 พนั ธพุ ริกไดกระจายจากแถบทะเลเมดิเตอร เรเนยี นไปยงั ประเทศอังกฤษ ใน ค.ศ.1548 และจึงกระจายไปในยโุ รปตอนกลางในศตวรรษที่ 16 นนั้ ตอมาชาวโปรตุเกสไดนาํ พริกไปยังประเทศอนิ เดียกอน ค.ศ.1885 และยังมีรายงานวา ประเทศจีนปลกู พรกิ ตงั้ แตศตวรรษที่ 18 ลักษณะทางพฤกษศาสตร พรกิ ในลาํ ดับ (Genus) นเ้ี รยี กวา nightshade family Solanaceae มีประมาณ 20- 30 ชนิด (species) ไดแ ยกพันธพุ ริกท่ปี ลกู เปน 5 ชนดิ ดวยกนั ไดแก C.annuum L; C.frutescens L., C.chinense Jacquin, C.baccatum และ C.pubescens Ruiz & Pavon. และยงั มพี รกิ อกี 2 ชนิด ไดแ ก C.pendulum Willdenow และ C.microcarpum Cavanilles ซึง่ ถูกจดั ใหอยูใ นพริก C.baccatum ดงั น้นั พนั ธพุ รกิ ผลใหญในพริกชนดิ นเี้ รียกวา C.baccatum L. var. pendulum (Willd.) Eshbaugh และพนั ธพุ รกิ ผลเลก็ เรยี กวา C.baccatum L. var baccatum พริกมดี อกทงั้ ดอกเดย่ี วและดอกชอ ชอละ 2-3 ดอก กานชอดอกตัง้ ตรง (erect) หรอื โนมลง (pendent) ออกดอกทงั้ ป เปน พชื ยืนตน ดอกเปนดอกสมบรู ณมเี กสรตวั ผู (stamen) แยกจากเกสรตัวเมีย (stigma) (รปู ที่ 6-11) โดยธรรมชาติการผสมพนั ธแุ ลว พริกเปนพืชผสมตวั เอง แตการผสมขามเกิดไดในเปอรเซนตท ่สี งู ศูนย IBPGR ไดจดั ทาํ คูม ือสําหรบั การแยกพรกิ ชนดิ ตางๆ ออกจากกัน โดยอาศัย ลกั ษณะและสขี อง ดอก ผล (IBPGR Secretariat. 1983) ซึ่งกค็ ลายกับลักษณะทีแ่ สดงไวในตาราง ท่ี 6-10 มีดงั น้ี

41 1. เมล็ดสีดาํ กลีบดอกสีมวง.. ……………………………………...............................C.pubescens 1. เมลด็ สนี ้าํ ตาลออน กลีบดอกขาวหรอื เขียวออน 2. กลบี ดอกมีจุดเหลอื งทโี่ คน กลีบ......................…………………………………...C.baccatum 2. กลีบดอกไมมีจดุ เหลืองทโ่ี คนกลบี 3. กลบี ดอกสีมว ง 4. ดอก เดีย่ ว......................…………………………………………………..….C. annuum 4. ดอกมี 2 ดอกขึน้ ไปในแตละขอ.......... ……………………………………….C.chinense 3. กลีบดอกสีขาวหรอื เขียวออ น 5. กลบี เลี้ยงของผลคอดตรงจุดตอ กับกานผล.. ………………………………...C.chinense 5. กลบี เลี้ยงของผลไมคอดตรงจุดตอ กับกา นผล 6. ดอกเดี่ยว 7. กลีบดอกสขี าว กลีบดอกตรง กานดอกหอ ย.. …………………………………………………............C.annuum 7. กลบี ดอกสีเขียวออน กลบี ดอกโคง ไปดานหลงั กา นดอกตัง้ ..... ………………………………………….C.frutescens 6. ดอก 2 ดอกขนึ้ ไป 8. กลบี ดอกสีขาว.......... ……………………………………………….....C.annuum 8. กลบี ดอกสเี ขียวออ น 9. กา นดอกตงั้ กลบี ดอกโคง

42 ไปดา นหลัง......... ………………………………………………...C.frutescens 9. กา นดอกหอย กลบี ดอกตรง....... ………………………………………………….C.chinense การแยกพรกิ ทั้ง 5 ชนดิ นน้ั อาศยั ลักษณะของดอกและผล (ตารางท่ี 6-10) (Bassett. 1986) C.annuum มลี ักษณะประจําไดแก ดอกสขี าว อบั ละอองเกสรตวั ผูสีฟา ถงึ สีมวง กลีบเลยี้ ง มีหยกั คอดท่ีจุดตอ กับกานที่ขอ มีดอกเพียงดอกเดยี วตอ ขอ แตบางครัง้ อาจมี 2 ดอกตอขอ C.frutescens มีดอกสีเขียวออ น กลบี เลย้ี งไมหยกั และไมค อดท่ฐี านของผล อับละอองเกสรตวั ผูส ีฟา สว นใหญม ีดอกเพียงดอกเดียวตอขอ แตบางคร้ังอาจมี 2 ดอกตอ ขอ พันธปุ าของพรกิ ชนิดนี้บางพันธุ อาจมดี อก 5 ดอกตอขอ C.chinense ดอกมสี ีขาวหรอื เขยี วออ น อับละอองเกสรตวั ผสู ฟี า กลีบ เลี้ยงหยกั และคอด ดอกมี 1-3 ดอกตอขอ C.pendulum มีดอก สขี าวและจดุ สีเหลืองทก่ี ลีบดอก อบั ละอองเกสรตวั ผมู ีสเี หลอื ง ยาวและโคง ผลหอยลง กา นของใบแบนคลายใบ C.pubescens ดอกใหญ สมี วง ใบมขี นออ นๆ ผลสเี หลอื งถงึ สม และเมล็ดสดี ํา

43

44 รูปที่ 6-11 ลกั ษณะใบ ดอก และผลของพริก A. C.annuum ไดแก พริกหวาน A1 กิ่งและใบ A2 ดอก A3 ดอกตัดตามยาว A4 ผล A5 ผลตัดตามยาว B. C.frutescense ไดแก พรกิ ขห้ี นู B1 กงิ่ ใบ ดอก และผล B2 ใบ B3 ดอก B4 ดอกตดั ตามยาว B5 ผล B6 ผลตดั ตามยาว (ตาม Purseglove. 1968) ตารางท่ี 6-10 ลักษณะทางพฤกษศาสตรข องพริกชนิดตางๆ ชนิด สกี ลีบดอก จุดท่ีกลีบดอก รปู รา งกลีบดอก สีอับละออง หยักที่ สีเมล็ด จํานวน (Species) ขาว ไมม ี เกสร กลบี ดอก นา้ํ ตาลออ น ดอกตอขอ C.annuum เรยี งตวั รอบจุด ฟา-มวง มี ศนู ยกลาง 1 C.frutescens C.chinense เขยี วออ น- ไมมี “---------------- ฟา ไมมี น้ําตาลออ น 1-5 C.galapogense ขาว ไมม ี 1-5 C.chacoense ขาว-เขียว ไมม ี “ ไมม ี นํ้าตาลออน 1 C.schottianum ออ น “---------------- ฟา 1 C.baccatum ขาว 5-7 C.praetermissum “ 1-2 C.eximium “---------------- เหลือง ไมม ี นํา้ ตาลออน 1 C.pubescens 2-3 ขาว ไมมี “ มี น้ําตาลออ น 1 “---------------- เหลอื ง “ ขาว เหลือง “---------------- เหลอื ง ไมมี “ ขาว เขยี ว-เหลอื ง “---------------- เหลอื ง มี นํา้ ตาลออน “ มี นํา้ ตาลออน “---------------- เหลอื ง “ มี นา้ํ ตาลออ น “---------------- เหลือง “ “---------------- มว ง มี ดาํ

45 C.cardenasii “ มี น้ําตาลออน 1-2 “---------------- ฟา ออน “ ลกั ษณะตน พริกเปน พชื ไมพมุ ลาํ ตนตรง แตกกงิ่ กา นสาขาแบบรศั มี และก่ิงแขนงแตกสาขาแบบ ทวคี ณู จาก 2 ก่งิ เปน 4 กิง่ และ 8 ก่ิง เปนตน บอยครั้งมกี ง่ิ แขนงแตกจากระดับใตด นิ เจริญคลาย เปน ตนใหมอ ยรู วมกันเปน กระจกุ ตนมีขนาดพมุ ลกั ษณะตางๆ กนั เชน พุมเตี้ย และพมุ สูง ลกั ษณะใบ ใบเปนใบเด่ียวมีขนาดตา งๆ กัน กานใบมคี วามยาวประมาณ 0.5-2.5 ซม. ใบ กวางมรี ปู ไข ขอบใบเรยี บปลายใบแหลม ใบบางและสว นใหญไ มม ีขน ลกั ษณะราก มีรากแกวแข็งแรง แตม ักจะชงักการเจริญเนอ่ื งจากการยายกลา มรี ากแขนงแตก มากมาย และมคี วามยาวถงึ 1-1.5 เมตร รากฝอย พบอยา งมากบริเวณรอบๆ ตน ลักษณะดอก ดอกเปนดอกเดย่ี ว เกดิ ทีข่ อ อาจมีหลายดอกเกดิ จากขอ ติดๆกันจนดูคลายเปนดอก ชอ กานดอกมคี วามยาว 1.5 ซม. กลบี เลย้ี งสนั้ ประมาณ 2 มม. มี 5 กลีบ กลบี ดอกมี 5 กลีบ เสนผาศูนยก ลาง 8-15 ซม. แตกลบี ดอกและกลีบเล้ยี งอาจมี 4-7 กลีบกไ็ ด กลบี ดอกมสี ขี าวหรือ เขยี วออน หรอื มวง เกสรตวั ผมู ี 5-6 อนั อยทู ฐี่ านของกลีบดอก อับละอองเกสรมีสีฟาหรอื สีนาํ้ เงินออ น แยกตัวเปนกระเปาะยาวๆ รงั ไขม ี 2 สวน หรือมากกวา นี้ กา นชูเกสรตวั เมียสขี าวหรอื มว ง ลกั ษณะของผล ผลพริกไมแตกเปน ชนดิ berry มีเมลด็ มากมีท้งั ผลหอ ย หรอื ผลตงั้ ผลเกดิ ท่ีขอ ขนาด รูปราง สี ความเผ็ด มตี างๆ กัน ความยาว 1-30 ซม. ผลออนมีสีเขียวหรอื มวง ผลสกุ มีสแี ดง สม เหลือง นาํ้ ตาล ครมี หรือมวง ความเผ็ดมีระดบั ตางๆ กนั ฐานของผลเปนฐานรปู ถวย หรอื รปู จาน รองถว ยซ่ึงใชใ นการแยกประเภทของพรกิ เมลด็ มสี ีเหลืองซีด ความยาว 3-5 มม.

46 การผสมพันธุพ ริก ลักษณะทางพฤกษศาสตรของดอกพรกิ ซึ่งมเี กสรตวั ผู และตวั เมยี อยใู นดอกเดยี วกนั สงเสรมิ ใหพ ริกมีการผสมตวั เอง สวนใหญใ นสภาพธรรมชาติ พรกิ มกี ารผสมขา มมาก จากการ ทดลองในประเทศอิตาลี พบวา การผสมขา มมีตั้งแต 1 ถงึ 46 เปอรเซนต (Belletti and Quagliotti.1989) การผสมขามเกิดจากแมลงเปน สวนใหญ และมีสว นนอยทเี่ กดิ จากลม ดงั นั้นพรกิ จงึ มีความแปรปรวนในลักษณะของตน ดอก ผล รปู รางผล สแี ละความเผด็ ของผลพรกิ การ ผสมขามนี้ เกดิ ระหวา งพริกชนิดเดยี วกันแตตางพนั ธ(ุ intra-specific cross pollination) และเกิดระหวางพรกิ ตาง ชนิดกนั ได (inter-specific cross pollination) การผสมพันธพุ รกิ เกดิ ไดทกุ เวลาในชว งเวลากลางวัน ท้งั น้ดี อกพริกทเ่ี จรญิ เตม็ ที่จะบานเมื่อไดร ับแสงอาทิตย สว นใหญดอกบานภายใน 3 ชวั่ โมงหลังจาก พระอาทิตยข ้ึน (Erwin. 1932) การตดิ เมล็ดตดิ ดีในชว งเวลาเชาหรือเย็น เมื่ออุณหภมู ขิ องอากาศไมสูง เกนิ ไป การจดั จาํ แนกพรกิ โดยลักษณะทางพชื สวน Erwin. 1932 ไดแยกพริกโดยอาศัยลกั ษณะของฐานของดอกและกลบี เลี้ยง ไดม งุ ใน การจาํ แนกชนิดพริกเฉพาะใน C.annuum และมี C.frutescens คอื กลุม Tabasco อยดู วย ท้งั นเ้ี นื่อง จาก พรกิ ท่ีปลูกในประเทศสหรัฐอเมริกามี C.annuum แทบทั้งสน้ิ การแยกไดพ ริก 2 กลมุ ไดแก กลุม ท่ีมฐี านรองดอกเปนรูปถวย ในกลุมน้มี ี Tabasco และ Cayenne group และอีกกลุม เปน กลมุ ท่ีมีฐาน ของดอกเปน รปู จานรองถว ย ประกอบดวย Cherry Celestial Perfection Tomato และ Bell group ตอมาพริกมคี วามแปรปรวนภายในชนิดมากขึ้น และมีพริกชนิดอืน่ ถูกนาํ ไปปลูกในประเทศสหรฐั อเมรกิ า Smith, et al. 1987 จงึ ไดเ สนอการจดั จําแนกประเภทของพริกใหมโดยใชลักษณะของผลพรกิ ในการจาํ แนกดังนี้ (รูปที่ 6-12)

47 1. พรกิ ผลโต ผวิ เรียบ เนื้อหนา ไดแ ก 1.1 Bell group ผลโตขนาดความยาว 7.5-12.5 ซม. และเสน ผาศูนยกลาง 4-6 ซม. รูปรางเปนสเี่ หล่ยี มปลายตัด หรอื รูปรางเรยี วยาว รสไมเผด็ ผลออนมสี เี ขียว เมือ่ เจริญเตม็ ท่มี ีสแี ดง แตบ างพนั ธอุ าจมีผลออ นสเี หลอื ง และผลแกม ีสีเหลืองสมกม็ ี ตวั อยาง เชน พันธุ California Wonder และ Yolo Wonder Keystone Giant เปน ตน ใชส าํ หรบั ทําสลดั และพิซซา 1.2 Pimento group ผลโตเปนรูปหัวใจ ปลายแหลม ความยาว 3.75-12.5 ซม. เสนผา ศูนยกลาง 4-6 ซม. ผวิ เรียบ เนื้อหนา รสไมเ ผด็ ตวั อยา งเชน Pimiento Pimiento Perfection และ Pimiento L. ใชส ําหรบั ทาํ สลัด และซุป 2. พริกผลโต และเสนผาศูนยกลางใหญ ผวิ เรียบ เนอ้ื บาง ไดแก 2.1 Ancho group ความยาวของผล 10-15 ซม. เสนผาศนู ยก ลาง 4-6 ซม. ปลาย แหลม เน้อื บาง กา นของผลจมเขาไปในผล ทาํ ใหด ูเปนรูปถวย รสไมเ ผ็ด มบี างพันธุ มีรสเผด็ เลก็ นอย ไดแ ก Mexican Chili และ Ancho Poblano ใชส าํ หรับทําพริกยัด ไส และพรกิ แหง 3. พริกผลยาว เรยี ว ไดแ ก 3.1 Anaheim Chili group ความยาวของผล 12.5-20 ซม. เสน ผาศูนยก ลาง 3.2-5 ซม. ผลยาวเรียว ปลายแหลม เนื้อหนาปานกลาง รสไมเ ผ็ดจนถงึ เผ็ดเล็กนอ ย เชน Sandia New Mexico #9 Anaheim Chili Mild California Paprika และ พรกิ หยวก (ผูเขยี น) ใชสาํ หรับทําพรกิ แหง พริกปน หรอื ทาํ พริกสด กระปอง 3.2 Cayenne group ผลยาวผอม ความยาว 12.5-25 ซม. เสนผาศูนยกลาง 1.9-2.5 ซม. ผลออนมสี ีเขยี ว ผลมีรอยยน รูปรางผลไมส มดุลย เน้ือบาง มีรสเผด็ เชน Cayenne Long Thin และ Cayenne Large Thick พรกิ ผลใหญ เชน พรกิ สนั ปา ตอง พริกมัน พริกบางชา ง พรกิ สงิ คโปร พริกชี้ฟา ใชบริโภคสดหรอื ตากแหง ควร จดั ใหอยูในกลมุ นี้ (ผูเ ขยี น)

48 3.3 Cuban group ความยาวของผล 10-15 ซม. เสน ผา ศนู ยก ลาง 2.5-3.75 ซม. ผลยาว เนอ้ื บาง รูปรางของผลไมส มดลุ ย เชน Cuban Cubanelle และ Pepperoncini ใชสาํ หรับดอง 4. พริกผลยาว ถงึ 7.5 ซม. ผลออน มสี เี ขยี ว 4.1 Jalapeno group ความยาวของผล 5-7.5 ซม. เสนผา ศูนยก ลาง 3.75-5 ซม. ผล กลมยาว ผนงั หนา ผลออ นสเี ขียวเขม ผวิ เรยี บ ผลแกอาจมผี ิวลาย เนื่องจาก คอรค (corky network) รสเผ็ดจดั เชน พันธุ Jalapeno และ Mild Jalapeno ใช สําหรบั บรโิ ภคสด บรรจุกระปอง พรกิ แหง และทําซอ ส 4.2 Serrano group ความยาวของผล 5-6.25 ซม. เสนผา ศูนยก ลาง 1.25 ซม. ผลรูปราง ผอมยาว สวนกลางของผลคอดกวาสวนอ่ืน และเรยี วแหลมถงึ ปลาย รสเผด็ จดั เชน พนั ธุ Serrano ใชส าํ หรบั บรโิ ภคสดเทานั้น 4.3 Small hot group ความยาวของผลสน้ั กวา 7.5 ซม. รสเผ็ดจัด เชนพนั ธุ Red Chili Chile Arbol Japanese Chili Santaka และ Hontaka กลมุ พรกิ ขี้หนผู ลใหญ ไดแ ก หว ยสีทน หวั เรือ จินดา ยอดสน บา นใน ไสป ลาไหล สรอย นิ้วมือ นาง นอยผลยาว ชอ มข. เดือยไก พรกิ ขห้ี นูผลเลก็ ไดแก ขห้ี นูสวน ข้ีหนูหอม กระเหรยี่ งและขน้ี กเปนตน ควรจดั ไวใ นพรกิ กลุมนี้ (ผเู ขยี น) ใชสําหรบั บรโิ ภคสด 5. พรกิ ผลเล็ก ความยาว ถึง 5 ซม. รูปรา งกลมรี เนือ้ หนา 5.1 Cherry group แยกไดเ ปน 2 กลมุ ไดแก 5.1.1 รสไมเผด็ เชนพนั ธุ Sweet Cherry 5.1.2 รสเผด็ เชน พนั ธุ Large Red Cherry Small Red Cherry พริกกลมุ นี้ท้ังชนิดเผ็ดและไมเ ผ็ด ใชสําหรับ ดองและทาํ สลดั 6. พริกผลออ นสเี หลอื ง 6.1 Small wax group ความยาวของผล 7.5 ซม. หรอื ส้นั กวาน้ี แยกไดเปน 2 กลุมไดแ ก 6.1.1 รสไมเ ผด็ เชนพันธุ Petite Yellow Sweet และ Tam Rio Grande Gold 6.1.2 รสเผด็ เชนพนั ธุ Floral Gem Cascabella และ Caloro

49 6.2 Long wax group ความยาวของผล 8.8 ซม. หรอื มากกวา ปลายแหลมหรอื ปลายทู 6.2.1 รสไมเ ผด็ เชน พนั ธุ Sweet Banana Hungarian Sweet Wax และ Long yellow Sweet 6.2.2 รสเผ็ด เชน พนั ธุ Hungarian Yellow Wax พรกิ ทั้ง 2 กลุม นใ้ี ชบ ริโภคสด ทําพรกิ ดอง และทําซอ ส 7. พริกผลเรียว ผลออ นสเี หลอื ง เมื่อแกจดั สีแดง ความยาวของผล 2.5-3.75 ซม. รสเผด็ มาก ชอ่ื ชนดิ C.frutescens 7.1 Tabasco group เชน พนั ธุ Greenleaf Tabasco และ Tabasco ใชสําหรบั ทาํ พรกิ ดอง และทําซอ ส การจาํ แนกพริกในประเทศไทยโดยใชก ารแยกชนดิ ทางพฤกษศาสตร แมวาพรกิ ไมใ ชพ ืชท่มี ีรากฐานแตดง้ั เดิมในประเทศไทย แตพรกิ เปน ท่ียอมรบั และ ปลูกโดยทวั่ ไปมคี วามหลากหลายของพันธพุ ริกทป่ี ลกู กันทวั่ ไป มีกลมุ นกั วิทยาศาสตรห ลายกลุม ได พยายามศึกษาลกั ษณะทางพฤกษศาสตร เพ่อื แยกชนดิ ของพริก ไดแ ก อักษร 2523 พยนตแ ละคณะ 2526 และ Worayos. 1986 สรุปการแยกพริกทพี่ บในประเทศไทยไดต ามตารางที่ 6-11 จะเหน็ ไดว า การแยกชนิดของพรกิ ในแตละรายงานไมตรงกนั อกั ษร 2523 จัดจําแนกพริกอยใู นชนดิ C.frutescens พยนตและคณะ 2526 ไดจ ัดพริกในประเทศไทยวา มเี พยี ง 2 ชนิดไดแ ก C.annuum และ C.frutescens สวน Worayos. 1986 ไดร ายงานวา มี 3 ชนดิ ใหญๆ ไดแ ก C.annuum, C.frutescens และ C.chinense และมีบางพนั ธทุ ่ีเขาใจวา อาจเปน ชนดิ C.pubescens และ C.baccatum พรกิ สวนใหญท่ีพบจดั อยใู น C.annuum มากกวา ชนิดอน่ื ๆ ท้ังหมด การแยกชนิด ของแตล ะรายงานไมต รงกนั เนอื่ งจากใชช ื่อทองถิ่นของพริก เชนพรกิ ชฟี้ าถกู จดั อยูใน C.annuum C.chinense และ C.frutescens ผูเขยี นมคี วามเห็นวา ควรมกี ารจดั จําแนกพริกชนิดตางๆ ใหม จาก การจําแนกน้ีผูเ ขียนเคยใหนกั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรีและโททดลองทํา พบวา พริกที่ปลกู มี 3 ชนดิ ได แก C.annuum C.chinense และ C.frutescens ในกลมุ พริกพวกน้ี C.annuum พบมากที่สดุ สวน C.chinense และ C.frutescens มบี างเปน จาํ นวนนอย

50

51 รปู ท่ี 6-12 รูปรา งของผลพรกิ กลมุ ตา งๆ (จาก Smith, et al. 1987) A. Bell, B. Pimiento, C. Roumanian Sweet, D. Anaheim Chili, E. Mexican Chili หรอื Ancho, F. Caloro, G. Jalapeno, H. Long Thin Cayenne, I. Sweet Cherry, J. Serrano และ K. Tabasco ตารางท่ี 6-11 การแยกชนดิ พนั ธุพริกในประเทศไทย ชนิด ช่อื พนั ธุ เอกสารอางอิง Capsicum annuum ชฟี้ า ช้ฟี าใหญ จินดา แดง Worayos. 1986 ฟก ทอง แฟนซี กะเหรย่ี ง ข้นี ก ขห้ี นู ขห้ี นูช้ฟี า ขีห้ นจู นิ ดา ข้ีหนูขาว กลาง กน ชี้ หลวง เมือง หวาน หวขี าว ยกั ษ หยวก แยม

52 มนั สิงคโปร ชี้ฟา หยวก พยนตและคณะ 2526 ไสป ลาไหล เดอื ยไก จนิ ดาแท ขี้หนดู ง น้วิ มอื นาง ขาว Capsicum chinense ขาวชี้ฟา เขียวชฟ้ี า ข้หี นู ขี้หนแู ดง Worayos. 1986 ข้หี นหู อม ลาว เล็บมือนาง สวน สวนเขียว หวเี มือง Capsicum frutescens ช้ีฟา เกษตร ขาว Worayos. 1986 พ้นื เมือง นอย ชี้ฟา ทนฝน พยนตและคณะ 2526 นอ ยผลยาว กนช้ี กนปน ข้ีหนู ขีน้ ก ชี้ฟา ซอม อกั ษร 2523 ตมุ แต หนมุ มวง มะตอ ม มวง มะยม หยวก ยักษ หลวง แลง Capsicum pubescens ขาวดํา (ไมแ นใ จ) Worayos. 1986 Capsicum baccatum ข้หี นงู า (ไมแนใ จ) Worayos. 1986 ลักษณะทางพนั ธุกรรมและความสามารถในการผสมขามชนิด พริกมโี ครโมโซม n=12 Ohta (1962) ไดใหลักษณะของโครโมโซมพรกิ หลายชนดิ ดงั รปู ที่ 6-13 พริกทง้ั 6 ชนดิ นมี้ โี ครโมโซม 9 โครโมโซมทเี่ หมือนกัน ความแตกตา งของพรกิ ทัง้ 6 ชนดิ ดไู ดจากโครโมโซมท่ีเหลือ ถา โครโมโซมทง้ั 3 โครโมโซมมีความแตกตางกันนอ ย การผสมขามชนดิ เกิดขึน้ ไดง าย เชน C.frutescens ผสมกับ C.pendulum ถา โครโมโซมท้งั 3 โครโมโซมมคี วาม แตกตางกันมาก การผสมขามชนดิ เกิดข้นึ ไดย าก จากการศึกษาของ Pickersgill. 1967, 1971 และ 1980 ได รายงานวา การผสมพนั ธขุ า มชนิดของพรกิ เกดิ ไดเสมอ และไมม ีพรกิ ชนิดใดท่ไี มส ามารถ ผสมกนั ได แมกระท่งั พรกิ กลุมดอกสขี าว และกลมุ ดอก สมี วง ซึง่ เปนกลุมทแี่ ยกกนั อยา งเหน็ ชัดเจน

53 ก็ยงั สามารถผสมขา มชนิดได ความสามารถในการผสมขามชนิด แสดงไวในรูปที่ 6-14 การผสมขา ม ชนิดเกดิ ไดมากยิ่งขึ้นถา ใชเ ทคโนโลยีเขาชว ย เชน ใชพริกชนดิ ใดชนดิ หนึง่ เปน สะพานสาํ หรับการผสม กับพริกชนดิ อน่ื ๆ ตัวอยางที่เหน็ ไดแกการใช C.chinense เปนสะพานสาํ หรับ C.annuum และ C.frutescens ซึ่งท้งั 2 ชนิดหลงั น้สี ามารถผสมขามชนดิ และเมล็ดลูกผสมทีไ่ ดมางอกไดบ างไมได บาง พริกทั้ง 3 ชนดิ สามารถ ถา ยทอดยนี ซึ่งกนั และกนั และนาํ ไปผสมกบั พริกชนดิ อ่นื ได นอกจากนี้ การใชวธิ ีผสมพนั ธุ 2 ครงั้ (double fertilization) ก็ใชไดผ ลเชนการผสมระหวาง C.annuum และ C.baccatum var. pendulum อกี วิธีการหนึง่ ไดแ ก การใชกา ซไนตรสั ออ กไซด (nitrous oxide, N2O) รมดอกตัวเมียของ C.annuum ที่ความดัน 6 บรรยากาศ เปนเวลา 4 ชัว่ โมง กอนผสมพนั ธุกบั เกสร ของ C.baccatum การใชว ิธเี ลย้ี งตวั ออนในสภาพปลอดเชอื้ ก็เปน อกี วธิ กี ารหนงึ่ ท่ีชวยใหก ารผสมขาม ชนดิ เกิดขน้ึ ไดเชน การผสมระหวา ง C.chinense และ C.pubescens การผสมพนั ธพุ ริกขา มชนิด และปญ หาทีเ่ กิดเนอื่ งจากพนั ธุกรรม ไดมีผูศึกษาและ รวบรวมไวหลายทาน อาทิ เชน Pickersgill. 1991 และ 1992 ประโยชนข องการผสมขามชนดิ ไดถ ูก นาํ ไปใชในการปรับปรงุ พันธุพ ริกตา นทานโรคไวรัส (Stevamovic, et al. 1992) ลูกผสมทไี่ ดจ ากการ ผสมขามชนดิ นส้ี ามารถแสดงที่มาของยีน โดยใชค วามแตกตา งของไอโซไซม (isozyme) ของลูกผสม ไดเชน Andrzejewski, et al. 1989/1990 ไดศึกษาไอโซไซมของลูกผสมขามชนิดของพรกิ และพอแม พันธุ พบวา การแยกไอโซไซมส มารถใชแสดงท่มี าของยีนของลกู ผสมวามาจากพอ หรอื จากแมพันธใุ ด แตไอโอไซมก ็ไมสามารถใชไดเสมอไปในพอและแมท กุ พันธุ

54 รปู ท่ี 6-13 โครโมโซมของพริก 6 ชนดิ (ตามรายงานของ Ohta. 1962)

55 ลกู ผสม F1 งอกปกติ ลกู ผสม F1 เจรญิ ไดโดยการเลย้ี งในสภาพปลอดเช้อื ผลและเมล็ดเจริญแตเมล็ดไมมีชวี ิต ลกู ผสม F1 บางสวนมีชีวิต ลูกผสม F1 สวนใหญมชี ีวิต ลูกศรบอกทิศทางของพันธุแ ม รปู ที่ 6-14 ความสามารถในการผสมขามชนิดของพรกิ (ตามรายงานของ Pickersgill. 1980, Lippert, et al. 1966)

55 CRUCI6.3 6.3 ผกั ตระกลู กระหลํ่า (Family Cruciferae) พชื ผักตระกูลนีเ้ ปนตระกลู ใหญ มีประมาณ 300 สกุล (genera) แบง ยอ ยได ประมาณ 3,000 ชนดิ (species) มีถนิ่ กาํ เนดิ ในประเทศอบอนุ เชน แถบเมดเิ ตอรเ รเนียน มี ประมาณ 40 ชนดิ และมีบางชนดิ ที่มีกาํ เนิดในประเทศจนี เชน ผกั กาดขาวปลี ผักกาดกวางตงุ ผกั ฮอ งเต และผกั หางหงษ ผักทีม่ ถี ิ่นกําเนิดในยุโรปถกู นํามาปลูกในเขตรอนไดดี และเปนทน่ี ิยม บรโิ ภค เชน ผักกาดหวั ผกั กาดเขียวปลี ผกั กาดขาวปลี กระหล่ําปลี กระหลา่ํ ดอก และบลอค เคอร่ี เปนตน พืชในตระกลู นที้ ี่ใหน้าํ มนั ไดแก rape รากแกวของพชื ตระกูลน้มี ีหลาย ชนิดทขี่ ยายขนาดเปนรากทอ่ี วบนํา้ เชน ผกั กาดหัว และเทอรนบิ เปน ตน (ตารางที่ 6-12) และ Williams. (1985) ได รวบรวมผักชนดิ ตางๆ ในตระกลู น้ี แหลง กาํ เนดิ และการกระจาย ของพืชตระกลู นแ้ี สดงไวในรูปท่ี 6-15 ตารางท่ี 6-12 ชื่อวิทยาศาสตร ชอ่ื ท่วั ไป แหลง กําเนิด และสว นทีบ่ ริโภคของพืชตระกูลกระหล่ํา ชื่อวทิ ยาศาสตร ชื่อภาษาอังกฤษ ช่อื ภาษาไทย แหลง กําเนดิ สวนทีบ่ ริโภค (n) ผักกาดกวางตุง เอเซียตะวันออก ใบและกา นใบ Brassica -- ใบและกานใบ campestris (10) -- -- - subs. chinensis Pak choi -- - เมล็ดสกดั น้ํามนั L. -- - subs. japonica - ผักกาดขาวปลี ประเทศจนี ใบและกา นใบ subs. narinosa - -- - subs. - nipposinica Turnip rape subs. oleifera Choy sum subs. parachinensis subs. pekinensis(Lour) Olsson Chinese cabbage subs. perviridis Tender green

Komatsuna 56 - - - - Mustard - spinach - ช่ือวทิ ยาศาสตร ชอื่ ภาษาอังกฤษ ชื่อภาษาไทย แหลง กาํ เนดิ สวนทบ่ี รโิ ภค (n) Turnip - ประเทศจีน ใบและกานใบ subs. Rapa และเลีย้ งสัตว -- subs. Sarson -- - - ประเทศเอธิโอเปย - trilocularis - ใบและกานใบ subs. utilis Ethiopian เมลด็ สกัดนาํ้ มนั mustard Brassica ใบและกานใบ carinata (17) เมล็ดสกัดนาํ้ มัน Brassica juncea Indian - ยุโรปตะวันออก L. mustard จนถงึ ประเทศจนี เลี้ยงสตั ว Czern + Cross Chinese ใบและกานใบ (18) mustard - ประเทศองั กฤษ เลยี้ งสตั ว - ยุโรป เมล็ดสกดั นํา้ มัน Bฺ rassica napus Rapekale เครือ่ งเทศ (19) Swede turnip - ยุโรป - เอเซียไมเนอร ใบและกานใบ var. biensis เลีย้ งสัตว var. ใบและกา นใบ napobrassica เลยี้ งสัตว var. oleifera Oilseed rape - เมดเิ ตอรเ รเนยี น Bฺ rassica nigra Black คะนา ประเทศจนี (8) mustard Brassica Kale, collard oleracea(9) var. acephala var. alboglabra Chinese kale Bailey

57 var. botrytis Cauliflower กระหลํา่ ดอก ประเทศอติ าลี ใบ กา นใบและ กระหลาํ่ ตอนใต ชอ ดอกฝอ var. capitata Cabbage เมดิเตอรเ รเนียน ใบและกานใบ เลยี้ งสัตว var. gemmifera ใบและกา นใบ Zenk. Brassels กระหลา่ํ ดาว เมดเิ ตอรเ รเนียน กระหลํ่าปม เมดเิ ตอรเ รเนียน ลาํ ตน ทข่ี ยายขนาด sprout ใชเลย้ี งสตั ว var. gongylodes Kohl rabi กา นและชอ ดอก var. italica Broccoli บลอ คเคอร่ี ประเทศอติ าลี รากทข่ี ยายขนาด Turnip - - Plenck Brassica rapa (10) ชือ่ วิทยาศาสตร ชอ่ื ภาษาอังกฤษ ช่อื ภาษาไทย แหลงกาํ เนดิ สวนที่บรโิ ภค (n) Chinese ผักกาดหัว เมดิเตอรเ รเนยี น รากทข่ี ยายขนาด Raphanus radish ผกั กาดหวั ประเทศจีน sativus L.(9) tongipinnatus ประเทศจีน รากที่ขยายขนาด var. radicola Radish ใชเล้ียงสตั ว เมล็ด ประเทศจนี สกัดน้ํามนั Raphanus Rat tail ผกั ข้ีหดู เมดเิ ตอรเ รเนยี น ปุยพชื สด caudatus - ฝก และเมล็ดทอี่ อน Sinapis alba White mustard เมลด็ สกัดนํา้ มัน

58

59 รูปท่ี 6-15 แหลงกาํ เนิดและการกระจายของพืชตระกลู กระหล่ํา ลักษณะทางพฤกษศาสตร และชีววทิ ยาของพชื ตระกูลกระหลํ่า (Brassica L.) ในกลุม นีม้ พี ืชประมาณ 40 ชนดิ มีทง้ั พชื ฤดเู ดียว สองฤดู และมากกวา สองฤดู มี ถิ่นกําเนิดบรเิ วณทะเลเมดิเตอรเ รเนยี น ยกเวนบางชนิดเชน ผักกาดขาวปลี ผักกาดกวางตงุ ผกั ฮอ งเต ผกั หางหงษท ่ีมถี ิน่ กาํ เนิดในประเทศจีน สวนผักกาดเขียวปลอี าจมถี นิ่ กาํ เนิดในทวปี อัฟริกา แลว ถูกนําไปยังทวีปเอเซีย ในกลุมนีห้ ลายชนิดมรี ากแกว ทอี่ วบน้าํ ใชเปน อาหารเชน ผักกาดหัว เทอรนิบ และแรดิช ลักษณะทางสัณฐานวิทยา โดย Purseglove (1968) ระบวุ า ลําตน ต้ังตรง ไมมีขน หรือมขี น สว นลางของใบมกั มหี ยัก (pinnatifid) สวนบนของใบมี ปลายใหญ (lyrate) ชอดอกเปนชอ แบบ raceme กลีบเลย้ี งตรง กลบี ดอกยาว มักเปน สี เหลือง แตมีสีขาวและ สีมว งบา ง เกสรตวั ผมู ี 6 อัน เกสรตวั เมยี มปี ลายยอดขยายใหญ ผลเปน ฝก (silique) ปลายฝก มกั ไมติดเมลด็ และไมแตกเมอื่ แกเ มล็ดมีแถวเดียว เมลด็ อยใู นฝกมีกระเปาะรูป กลมหุม ใบเล้ยี งเปน รูป หัวใจ การแยกสกลุ (genus) ของพืชตระกลู นอี้ าศัยลกั ษณะของผลเปน หลักสําคัญ ได แก ผลมีความกวา ง ความยาวพอๆ กนั หรือมคี วามยาวมากกวา ความกวาง (Pureseglove. 1968) A. ผลเปน แบบ silicula (ความกวางพอๆ กับความยาว) B. ไมล ม ลกุ เปนพุมมีอายหุ ลายป ใบรปู ไขยาวถึง 60 ซม. ไมมีหยกั Armoracia BB. ไมล มลกุ ทรงชะลดู อายุปเดยี ว ฐานใบมหี ยักเล็กๆ Lepidium AA. ผลเปนแบบ siliqua (ความยาวมีมากกวา ความกวา ง) B. ผลไมแตกเมอื่ แก Raphanus

60 BB. ผลแตกเมื่อแก C. ไมล ม ลุกเจริญในนาํ้ Nasturtium CC. ไมลมลกุ ไมเ จรญิ ในนํา้ Brassica ในสกลุ Brassica แยกชนดิ โดยอาศัยลกั ษณะชอดอกและผลไดด ังนี้ (Purseglove. 1968) A. ตน สีฟา-เขียวหรือเหลืองเขียว ใบหนาไมม ีขน ดอกใหญ 1.2-1.5 ซม. oleracea B. ชอ ดอกยาว 10-25 ซม. ดอกบานเมื่อพรอ มผสมพนั ธุ ใบออ น ไมมขี น B. BB. ชอดอกสนั้ 5 ซม. มีชอ ดอก ใบออนมีขนเล็กนอ ย C. รากทรงชลดู ไมลงหวั B. napus CC. รากลงหวั B. napobrassica AA. ตนสีเขียว ใบบาง มขี นเล็กนอ ย ดอกส้ันกวา 1.2 ซม. B. ปลายของผล siliqua (หรือ silique) เปนรปู กรวย หรอื เรียว ไมยาว เทา ความยาวของผล C. ผล siliqua เมอ่ื แก ขยายตัวออก B. rapa D. มีรากขยายใหญ DD. รากไมขยายใหญ E. ใบหยัก ใบทไี่ มโคง จรดกนั B. juncea EE. ใบหยกั ใบทโ่ี คง จรดกนั B. campestris EEE. ใบไมมีหยัก B. chinensis CC. ผล silliqua เม่อื แกไ มแ ตก B. nigra BB. ปลายของผล siliqua แบน ยาวพอๆ กบั ความยาวของผล B. alba

61 พืชตระกลู กระหลา่ํ ที่บริโภคแยกได 6 ชนดิ ซึ่งมคี วามสมั พนั ธกัน 3 ชนดิ เปน ชนดิ ที่มีโครโมโซม 2 ชดุ (diploid) ไดแ ก B. nigra bb (n = 8) B. oleracea cc (n = 9) และ B. campestris aa (n = 10) และอีก 3 ชนดิ เปน ลูกผสม (amphidiploid) ของชนดิ ทีม่ โี ครโมโซม 2 ชุด ไดแก B. carinata bbcc (n= 17) B. juncea aabb (n = 18) และ B. napus aacc (n = 19) (รปู ที่ 6-16) (Williams. 1985) ฺ B. nigra (Bbb) bbcc) B. juncea b =8 B. carinata (ABaabb) ab = 18 (BC bc = 17 B. campestris (A aa) B. oleracea (C cc) a = 10 c =9 R. sativus

62 (R rr) r =9 B. napus (AC aacc) ac = 19 รูปที่ 6-16 แสดงจาํ นวนโครโมโซมและจโี นม (genome) ของพืชตระกูลกระหลํา่ 6 ชนิด พืชในตระกลู Brassica นี้ มีหลากหลายพันธุ มีรูปรางและการใชท แ่ี ตกตาง กัน ใชไ ดท งั้ ในรูปนํา้ มัน ปรุงรสอาหารเชน มัสตารด นํา้ มันพืช (rapeseed oil) จัดอยใู น อันดับ 5 ของโลกท่ใี ชเปน นา้ํ มนั สาํ หรับบรโิ ภค และน้ํามันสําหรับอตุ สาหกรรม ในประเทศท่ี อากาศหนาวเกินกวา จะปลูกขาวโพดหรอื ถวั่ เหลืองกใ็ ชพืชในตระกลู นี้เปนอาหารสัตว เชน แกะ และวัว ความสมั พันธข องตระกูลนี้ท้ัง 6 ชนิด มีผทู าํ การศึกษาคน ควา และผสมขามชนดิ เพอื่ ถา ยยนี จากกลุมหนึ่งไปยงั อกี กลมุ หน่งึ (Morinaga. 1934, U. 1935, Yarnell. 1956, McNaughton and Ross. 1978) กลมุ ทีม่ ีโครโมโซม 2 ชุด (diploid) ของ Brassica มักผสมตวั เองไมต ดิ (self incompatibility) เปน สวนใหญ เนือ่ งจากยีนที่ตําแหนง s-locus ซ่ึงมยี ีนหลายตัว (multiple allelic series of gene) แสดงออกในลกั ษณะของยนี เปนคู (sporophytic phenotypic expression) ในบางคร้ังจะพบการผสมตวั เองได (self compatibility) ในพชื กลมุ นเ้ี ชน กระหลํ่าดอก กลมุ ทีเ่ ปนลูกผสม (amphidiploid) ระหวางกลมุ โครโมโซม 2 ชุด มักผสม ตวั เองไดเ ปน สวนใหญ ถงึ แมว า มยี ีนท่ีผสมตวั เองไมไ ด (S allelles) อยูดวย เชน ผกั กาดเขียว ปลี Brassica oleracea L.

63 พืชตระกลู กระหลํา่ ชนิดนม้ี ีถ่นิ กําเนดิ แถบเมดเิ ตอรเ รเนียน ตอนใตข องประเทศ องั กฤษ และตอนใตเ ยือ้ งไปทางทิศตะวันตกของทวปี ยโุ รป (Purseglove. 1968) พืชพวกนถี้ กู นาํ มาปลูกอยา งนอ ย 4500 ปม าแลว มีความหลากหลายและแตกตางกันในลักษณะตน และดอกมีชอ ดอกยาว กลีบเลี้ยงตรง กลบี ดอกยาว 1.2 - 1.5 ซม. หรอื ประมาณสองเทา ของกลบี เลี้ยง มสี เี หลอื ง เกสรตัวผตู รง มี 6 อัน ผลเปนฝกยาวประมาณ 5 - 10 ซม. ทรงกลมปลายไมต ิดเมลด็ และเรยี วเล็ก เมล็ดมปี ระมาณฝกละ 8 - 16 เมล็ด และเมล็ดอยูในกระเปาะแยกจากกัน เมลด็ มีสดี ําและสนี ํ้าตาล เทา มเี สนผาศูนยก ลางประมาณ 2 - 4 มม. กลุม Brassica oleracea L. อาจแยกเปนพนั ธุ (variety) ตา งๆ โดย อาศยั ลักษณะของลาํ ตน ชอ ดอกและดอก (Purseglove. 1968) A. ลําตนยืดตัวในปแ รก B. ลาํ ตน แตกแขนงและมีใบ var. acephala BB. ลําตน ไมแ ตกแขนง ตาขา งหยุดชะงกั และมใี บหอ เปน หัว var. gemmifera (swollen) var. AA. ลาํ ตน ไมย ืดตัวในปแ รก B. ลาํ ตนสรา งหัว (tuberous) gongylodes BB. ลําตน ไมส รา งหัว var. C. ตายอดหยุดชะงกั มใี บหอ หัว ชอ ดอกในปแ รกไมม ี capitata CC. ชอดอกพฒั นาในปแรกรวมกนั แนน สรา งกาน ชอ ดอกขนาดใหญรวมกันและไมมีสี

64 สว นดอกไมพ ฒั นาและมใี บ ซึ่งเปลย่ี นเปนกลบี (bract) อยูต ิดชอ ดอก var. botrytis EE. ชอ ดอกออนไมรวมกนั แนน มสี เี ขยี ว var. italica ดอกพฒั นา ลกั ษณะรูปราง และสณั ฐานวทิ ยาของพชื ในชนิดน้ี มีความแตกตา งกนั มาก (รูปที่ 6-17) (Williams. 1985) และมลี กั ษณะทางพนั ธกุ รรมในนิวเคลียส (genome) ที่แตก ตา งกนั (ตารางที่ 6-13) (Williams. 1985) จโี นม (genome) หมายถึง นิวคลอี ิคเอซดิ (nuclieic acid) ทอ่ี ยูในนวิ เคลยี ส นวิ คลอี ิคเอซดิ สว นใหญเ ปนโครโมโซม

65 รปู ที่ 6-17 ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของ B. oleracea (Ccc) (อกั ษรแสดงจโี นมของพืช cc-kales, cc.al-คะนา , cc.b-กระหล่าํ ดอก, cc.c-กระหลา่ํ ปล,ี cc.co-Portuguese cabbage, cc.g-กระหล่ําดาว, cc.go-กระหลาํ่ ปม, cc.i-บลอคโครี,่ cc.m- marrow stem kale, cc-จโี นมพน้ื ฐานของ B. oleracea, cc.p-kale, cc.ra-thousand-head kale, cc.s-savoy cabbage, cc.sa-collards, และ cc.se-borecole) ตารางท่ี 6-13 จโี นมของ Brassica oleracea (Ccc) พนั ธุ (variety) จีโนม ชอื่ ทวั่ ไป Acephala cc.a kales kale, Alboglabra cc.al Chinese Kailan, คะนา Botrytis cc.b cauliflower, heading broccoli, กระหลํา่ ดอก capitata cc.c cabbage, กระหล่าํ costata cc.co Portuguese cabbage gemmifera cc.g brussel sprouts, กระห ลํา่ ดาว gongylodes cc.go kohl rabi, กระหลาํ่ ปม italica cc.i broccoli, calabrese medullosa cc.m marrow stem kale oleracea cc base population palmifolia cc.p kale (Jersey kale)

ramosa 66 thousand-head kale sabauda savoy cabbage sabellica cc.ra collards selensia cc.s borecole cc.sa cc.se Brassica oleracea var. acephala DC. พชื ชนดิ นไ้ี มป ลูกในประเทศไทย ไมห อ หัวเหมอื นกระหล่ําปลี แตกกิง่ แขนงและมี ใบมาก ทัง้ ใบเรยี บและใบหยกั ใชเปน อาหารคนและสัตว Brassica oleracea var. alboglabra Bailey ผกั คะนามีถิ่นกําเนดิ อยูในทวปี เอเซยี นิยมปลกู ในประเทศไทย ไมห อหัว บรโิ ภค ใบและกานใบ แยกพนั ธทุ ี่ใชในประเทศไทยได 2 แบบ ไดแ ก คะนาพันธุใบ และคะนาพันธกุ า น พันธุใบมีใบใหญ สวนพนั ธกุ า นมใี บเล็ก ผบู รโิ ภคนิยมบริโภคพันธุกา นมากกวา พนั ธใุ บ เวลา ประกอบอาหารมกั นิยมตดั สว นท่ีเปนใบทิ้งเหลือแตใ บออนๆ คะนา มีชอ ดอกแบบ raceme (ชยั พฤกษ, 2519) มีดอกสมบรู ณเพศ กลีบเลีย้ งมี สเี ขียวหรอื เขยี วปนเหลอื ง มี 4 กลบี กลบี ดอกมสี ีขาวและสเี หลือง มี 4 กลีบ เกสรตวั ผูเ ปนแบบ tetradynamous มี 6 อนั อันยาว 4 อัน และอันส้นั 2 อัน รังไขเ ปนแบบ superior ovary มี 2 เซล ดอกเปน แบบ indeterminate เริ่มบานจากดอกขา งลา งในชอขึน้ ไป ผลของ คะนาเปนแบบ silique เมื่อผลแกแ ละแหงจัดจะเรม่ิ แตกตรงรอยตะเข็บ (suture) เมลด็ คะนามี ลักษณะกลมเล็ก มสี ีนาํ้ ตาลเขม หรอื สีดําเม่อื แกเ ต็มท่ี การผสมเกสรอาศยั แมลงชว ยในการผสม แมวา คะนา มีดอกสมบรู ณเพศ แตมยี ีนท่ี ทําใหผ สมตวั เองไมต ดิ (self incompatibility) ทําใหมกี ารผสมขา มเปนสว นใหญ แต สามารถทาํ ใหผสมตัวเองตดิ ไดโดยใชวิธกี ารผสมดอกตูมดวยมอื เนอื่ งจากในดอกตมู ยงั ไมม ี สารท่ที ําใหผ สมตวั เองไมต ิดสงั เคราะหขึ้น แตในดอกทเ่ี จรญิ เต็มท่ีแลวสารดงั กลา วทาํ ใหเกสรตัวผู ชะงกั การเจรญิ บนเกสรตวั เมยี โรคคะนาทพ่ี บในประเทศไทย (Giatgong, 1980) ไดแก โรคใบจดุ (leaf spot) เกิดจากเชอ้ื Alternaria brassicae (Berk.) Sacc. โรครานาํ้ คา ง (downy mildew) เกดิ จากเชื้อ Peronospora parasitica pers. ex. Fr. และโรคเนาคอดนิ

67 (damping-off) เกดิ จากเชอ้ื Pythium sp. นอกจากนยี้ งั มใี สเดอื นฝอย (Hoplolaimus sp.) ท่ีเปน ศตั รสู ําคญั ดว ย Brassica oleracea var. botrytis L. กระหลํ่าดอกเปน ผักทนี่ ิยมบริโภคในประเทศไทย ใชสว นของชอ ดอกมีสีขาวทมี่ ี ดอกฝออยูบนกานดอกท่ขี ยายตวั หนา ปลายยอดของตน มีชอดอกรวมกันอยูเ ปนชอ เดยี ว ระหวา งที่ เจริญนั้นใบจะหุมชอ ดอกเสมอ ทําใหชอ ดอกมสี ขี าว แหลง กําเนดิ อยูประเทศอติ าลีตอนใต และได ใชปลูกในแถบทะเลเมดิเตอรเ รเนียน กอนกระจายไปในประเทศยโุ รป ในศตวรรษที่ 16-18 มีทัง้ พืช ฤดูเดยี ว และสองฤดู อาจเรยี กบรเิ วณประเทศยุโรปวาเปนแหลง กาํ เนดิ ที่ 2 กไ็ ด จากนนั้ ก็มี แหลง กําเนิดทสี่ ามในประเทศอนิ เดีย และออสเตรเลยี ในศตวรรษที่ 18-20 ที่ประเทศอินเดยี ไดมี พนั ธกุ ระหลํา่ ดอกสําหรับประเทศรอน ซง่ึ ไดกระจายไปทั่วทวปี เอเซยี ตอนใต พนั ธุกระหลา่ํ ดอก เมืองรอ นทีไ่ ดก ระจายไปแถบเมดเิ ตอรเรเนยี น ทาํ ใหพันธเุ กาแกใ นประเทศแถบนัน้ หมดไปเปนการ สญู เสียแหลงพันธกุ รรม แมว า พนั ธุกระหลํา่ เมืองรอนมกี ารกาํ เนดิ ชา กวา พนั ธอุ ื่นๆ ท้งั หมด แตพันธุ เมืองรอนนีม้ มี ากมายหลายชนิด โรคกระหล่ําดอกท่พี บในประเทศไทย มีหลายโรค (ตารางท่ี 6-14) (Giatgong, 1980). ตารางที่ 6-14 โรคกระหลํ่าดอกที่พบในประเทศไทย

68 เชอ้ื สาเหตุ ชอื่ โรคภาษาอังกฤษ ช่อื โรคภาษาไทย Alternaria brassicae (Berk.) Leaf blight โรคใบแหง Sacc. A. brassicicola (Schw.) Wiltsh. Leaf spot โรคใบจุด Erwinia carotovora (Jones) Leaf rot โรคเนาเละ Holland Fusarium oxysporum Schlecht. f. sp. conglutinans (wr.) Wilt โรคเหย่ี ว Meloidogyne incognita Root knot โรครากปม (Kefoid & white) Chit Peronospora parasitica Downy โรครานา้ํ คา ง Pers. ex. Fr. mildew Pythium sp. Damping off โรคโคนเนา Rhizoctonia solani Kuehn Canker โรคแคงเคอร Xanthomonas campestris Black rot โรคเนา ดํา (Pam.) Brassica oleracea var. capitata L. กระหล่าํ ปลี เปนผกั ทใ่ี ชบริโภคมาต้ังแตสมัยโบราณอยา งนอ ย 2500 ปก อน ครสิ ศตวรรษ (Purseglove, 1968) ชาวโรมันเปนผนู าํ ไปยังประเทศอังกฤษ เปน พืชสองฤดู และขณะนเี้ ปนทีร่ จู ักท้งั โลกและนยิ มบริโภค ใชส ว นของหวั ซงึ่ ประกอบดว ยใบหอหุมกนั แนนมีทัง้ รปู หวั กลม และรูปหวั แหลม มใี บเรียบ (smooth) และใบเปนหยกั (savoy) สีของใบมที ั้งสี เขยี วและสีมวง การบรโิ ภคนิยมทง้ั ในรปู ผกั สด ผักดอง (sauerkraut) สาํ หรับประเทศไทยนยิ ม บริโภคสด พนั ธทุ ่ีใชใ นประเทศไทย และประเทศในเขตรอ นตองเปนพนั ธพุ ิเศษทมี่ ีคณุ สมบัติทน รอน สวนใหญเปนพันธลุ ูกผสมของประเทศญป่ี ุน เปนสวนใหญ พันธจุ ากประเทศยุโรปไดร บั ความ นิยมนอยกวา มาก เพราะพันธจุ ากประเทศยุโรปมักมีปญ หาเกีย่ วกบั การหอหัวในสภาพอากาศรอน

69 โรคกระหล่ําปลีมีหลายโรคท่พี บในประเทศไทย (ตารางท่ี 6-15) (Giatgong. 1980). ตารางที่ 6-15 โรคกระหลํา่ ปลที พ่ี บในประเทศไทย เชอื้ สาเหตุ ชอื่ โรคภาษาอังกฤษ ชอื่ โรคภาษาไทย Alternaria brassicola (Schw.) Leaf spot โรคใบจดุ Wiltsh Criconemoides sp. - ใสเดอื นฝอย Erwinia carotovora (Jones) Soft rot โรคเนาเละ Holland Wilt โรคเห่ยี ว Fusarium Anthracnose โรคแอนแทรคโนส oxysporumSchlecht. f. sp. Root knot โรครากปม conglutinans (Wr.) Downy mildew โรครานํา้ คาง Gloeosporium concentricum (grev.) Berk. & Br Black leg โรคแขงดาํ Meloidogyne sp. Damping-off โรคโคนเนา Peronospora parasitica Pers. Canker โรคแคงเคอร ex. Fr. Phoma lingam (Tode ex. Fr.) Black rot โรคเนาดํา Desm. Pythium sp. Rhizoctonia solani Kuehn. Xanthomonas campestris (pam.) Dowson Brassica oleracea var. gemmifera Zenk. กระหล่ําดาวเปนพืชสองฤดู ทีม่ ตี าขางเจริญเติบโตเปน หัวเล็กๆ ประกอบดวยใบ หอหุมคลา ยกระหล่าํ ปลหี ัวเล็กๆ ขนาดเสน ผา ศนู ยก ลางประมาณ 3 ซม. ตน กระหลาํ่ ดาวสูง ประมาณ 1 เมตร เปนพชื ทย่ี งั ไมไดร บั ความนิยมในประเทศไทย แตส ามารถเจรญิ เติบโตไดด บี นพนื้ ทสี่ งู เชน บนภูเขาของภาคเหนอื

70 Brassica oleracea var. gongylodes กระหลา่ํ ปมเปน พืชสองฤดทู ่มี ลี ําตนขยายขนาดเปนหวั กลม เสน ผา ศูนยก ลาง ประมาณ 5-10 ซม. มสี ีเขียวหรอื สมี ว ง ตนเตี้ยประมาณ 20 ซม. มใี บเล็กกา นใบเรยี ว ไมนิยมบรโิ ภค ในประเทศไทย แตส ามารถเจริญเตบิ โตไดดบี นพื้นทส่ี งู และบนพืน้ ทีร่ าบของภาคเหนือ Brassica oleracea var. italica Plenck บล็อคเคอรี่ มดี อกคลา ยกระหลาํ่ ดอก แตดอกไมแนนเหมือนกระหล่ําดอก และ นิยมบรโิ ภคดอกทพี่ ัฒนาเปนดอกออ นกอ นท่จี ะบาน นิยมบริโภคในประเทศไทย และสามารถเจรญิ เติบโตไดด ีบนพ้ืนทีส่ ูงและพืน้ ทร่ี าบของภาคเหนอื สําหรับภาคอนื่ ที่มคี วามหนาวเย็นนอยมักปลูก ไมไ ดผลดี Brassica campestris ผักชนิดนี้แบงยอย (subspecies) ไดห ลาย subspecies ตามตารางที่ 6- 12 ลกั ษณะสัณฐานวทิ ยาของพชื ผกั ในกลุมนี้ แสดงไวในรูปที่ 6-19 (Williams, 1985) ซแึ่ สดง จีโนมของพืช แตละชนดิ (ตารางที่ 6-16) เชน B. campestris ใชจ โี นม Aaa A แสดงถึงไซโตพลาสซมึ ของ B. campestris ซงึ่ ไมเฉพาะเจาะจง สว น a หมายถงึ จาํ นวน โครโมโซมซง่ึ เทากบั 10 ในบางกรณี พบวา พชื ชนิดนีม้ จี ีโนม Rlaa หมายถงึ นิวเคลียสของ B. campestris ซงึ่ อยใู น Rl (cms) ไซโตพลาสซมึ ที่ไดจ าก Raphanus sativus

71 รูปท่ี 6-19 ลักษณะสัณฐานวทิ ยาของ Brassica campestris (Aaa) (อักษรแสดงจีโนมของพชื aa-จีโนมพืน้ ฐานของ B. campestris, aa.c-ผักกาด กวางตงุ , aa.na-norinosa, aa.n-nipposinica, aa.o-turnip rape, aa.pa-choy sum, aa.p-ผักกาดขาวปล,ี aa.pe-tender green, aa.r- turnip, aa.t sarson, และ aa.u-utilis) ตารางท่ี 6-16 จโี นมของ Brassica campestris (Aaa) ชนดิ (species) จโี นม ชอ่ื ท่วั ไป campestris chinensis aa base population narinosa aa.c pak choi, ผกั กวางตงุ nipposinica aa.na - oleifera aa.n - parachinensis aa.o pekinensis aa.pa turnip rape, toria aa.p choy sum chinense cabbage, petsai, ผักกาด ขาวปลี

72 perviridis aa.pe tender green, komatsuna, rapifera aa.r mustard spinach trilocularis aa.t turnip utilis aa.u sarson - ผักชนดิ น้มี ีถิ่นกําเนิดในประเทศจีน และมีการเพาะปลูกต้งั แตโบราณกอน คริสศตวรรษ มีรูปรางหลายหลากแบบแบง ไดด งั น้ี Brassica campestris subsp. chinensis ผักกาดกวางตุง มกี ําเนิดในประเทศจีน เปนผกั ท่สี าํ คญั ในประเทศจีน โดยเฉพาะ จีนตอนใต และเอเซียตะวนั ออกเฉยี งใต เชน ในประเทศไทย เปน ผักทีส่ ําคญั ใชบ ริโภคท้งั ตน กา น ใบ และดอก พันธุทใี่ ชใ นประเทศไทยมี 2 แบบ ไดแ ก ผักกาดกวางตุง กานเขียว และกา นขาว พนั ธุ กานเขียวไดรับความนยิ มมากกวา พนั ธุก า นขาว พันธทุ ี่ใชทั้งหมดเปนพันธุผสมเปด เมลด็ พันธุมี ราคาถกู และนาํ เขาจากตา งประเทศ เมล็ดพันธุคดั อยางดแี ละมีราคาแพงกม็ ีจําหนาย แตก สกิ รไม คอยนยิ มซือ้ มกั นิยมใชเมล็ดพนั ธุราคาถูก ในประเทศจนี มีผกั ชนิดนที้ ีม่ ีรปู แบบตางๆ กนั แตไ มค อ ยไดร ับความสนใจในการ เกบ็ สายพนั ธุ แหลง รวบรวมสายพันธุใหญม ใี นประเทศญ่ีปนุ และไตหวัน Brassica campestris subsp. pekinensis ผกั กาดขาวปลีมีถิ่นกาํ เนิดในประเทศจนี แตไมพ บพันธุป าของผักกาดขาวปลีเลย (Li. 1981) พันธดุ ง้ั เดมิ ของผกั กาดขาวปลีน้นั ไมหอหวั ชอ่ื var. dissoluta ถูกบันทึกไวใ น ศตวรรษท่ี 5 พนั ธุน ี้อาจมาจากการผสมขามระหวา ง ผกั กาดกวางตงุ (subsp. chinensis) และ เทอรนปิ (subsp. rapifera) (รปู ท่ี 6-20) จากนั้นไดพ ฒั นามีการหอ หวั บา งไปเปน var. infarcta และไดพ ัฒนาเปน พนั ธหุ อหัวและมีปลายใบไมหอ หวั เปน var. laxa แลว จงึ พัฒนา เปนพันธหุ อหัว var. cephalata จากการปรบั ตัวและพฒั นาตามภูมอิ ากาศจงึ ไดพันธซุ ่ึงมีหวั รปู รางตางๆ กันไดแก หัวรปู ไข คลายพันธุ ผักกาดขาวปลที ่ีใชในปจ จุบัน (f ovata) ไดพ ันธหุ วั ปา นคลายผกั กาดขาวปลที ่ีใชในปจจบุ ัน (f depressa) และหวั ทรงยาวคลายผัก

73 กาดหางหงษ (f cylindrica) จากการผสมพันธุร ะหวางสายพันธุเหลาน้ที ําใหไ ดลูกผสม 5 แบบ ดว ยกันที่ใชในปจจุบันนี้

74 รูปที่ 6-20 การพฒั นาของผักกาดขาวปลี (Brassica campestris ssp. pekinensis) A. var dissoluta, B. var infarcta, C. var laxa, D. var cephalata D1. f ovata, D2. f depressa, D3. f cylindrica, CD1. var laxa x f ovata, CD3. var laxa x f cylindrica, D1D2. f ovata x f depressa, D1D3. f ovata x f cylindrica D2D3. f depressa x f cylindrica Brassica juncea มีชอ่ื เรยี กวา Indian mustard, brown mustard, leaf mustard และ Chinese mustard ภาษาไทยเรียก ผกั กาดเขียวปลี Indian mustard หรอื brown mustard ปลูกมากในเอเซยี เชน อนิ เดีย ปากสี ถาน จีน บงั คลาเทศ และเนปาล ปลกู เพือ่ สกัดนา้ํ มนั แบงพชื ชนิดน้ีได 3 แบบไดแก ก. Oleiferous ใชเ มล็ดสกัดนํ้ามนั ปลูกมากในอินเดยี ข. Semi oleiferous บรโิ ภคใบออ นและสกดั นาํ้ มันจากเมลด็ ค. Rapiferous หรือ leafy type บริโภคใบและใชเ ล้ียงสัตว กลมุ ข. และ ค. ปลกู ตอนเหนือและตะวนั ออกของอินเดีย จนี เนปาล และ เอเซียตะวนั ออกเฉยี งใต เน่อื งจาก B. juncea เปนพืชท่ีไดม าจากการพัฒนาของ B.

75 nigra และ B. campestris และเปน ลูกผสมทเ่ี รียกวา allopolyloid (รปู ท่ี 6-16) จึงเขาใจวามกี ําเนดิ บรเิ วณยุโรปตะวันออกถงึ ประเทศจนี ผักกาดเขียวปลี หรอื leaf mustard หรอื Chinese mustard ไดรบั ความนิยมปลูกในประเทศจีนตงั้ แตส มยั โบราณ เขาใจวา ประเทศจนี เปน แหลงกาํ เนิดของผักกาด เขียวปลีสายพนั ธตุ า งๆ (ตารางท่ี 6-17) (Williams,1985) บรเิ วณท่เี ปน แหลงกาํ เนดิ ไดแ กตําบล ซีชวน ซึง่ เปนทที่ มี่ ีการดองผัก (tsa-tsai) ท่ีมชี ื่อเสียง ตารางที่ 6-17 จโี นมของ Brassica juncea (ABaabb) ช่ือพันธุ (variety) ชอื่ ท่ัวไป จโี นม Brassica juncea (18) aa.bb leaf mustard var. bulbifolia - - var. capitata aa.bb.c head mustard, ผักกาด var. crispifolia เขยี วปลี aa.bb.cr var. faciliflora aa.bb.f var. foliosa cut leaf mustard var. integrifolia - var. lapitata broccoli mustard - - aa.bb.l var. muticeps - aa.bb.m large petiole mustard multishoot mustard

var. napiformis 76 - var. oleifera aa.bb.o - var. rapifera oil seed mustard, aa.bb.r var. rugosa raya aa.bb.ru var. spicea root mustard aa.bb.sp var. tsa-tsai leaf mustard aa.bb.t mustard big stem mustard ผกั กาดเขียวปลถี กู แบง เปน กลมุ ตามสภาพภมู ิศาสตรไดด งั น้ี ก. กลุม Hakarashina มีใบประกอบ (pinnate leaf) พบใน ประเทศอินเดยี ทวปี เอเชยี ตอนกลาง และทวปี ยุโรป ข. กลุม Nekarishina มีรากที่ขยายใหญ (enlarge root) พบใน มองโกลเลีย แมนจเู รีย และตอนเหนอื ของประเทศจนี ค. กลุม Hsueh li lung และ Nagan sz kaai มีใบเรยี บคลา ย หนงั (leathery leaf) และมีก่งิ กาน พบในตอนกลาง และตอนเหนือ ของประเทศจนี ง. กลมุ Takana มใี บอวบนา้ํ พบในจนี ตอนใต และตอนกลางของ ประเทศ จนี และเอเชยี ตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศไทยนิยมบริโภค ผกั กาดเขยี วปลีในกลุมนี้ และไมปรากฏมีกลุม อนื่ ทีก่ ลา วมาขา งตน ปลูก ในประเทศไทยเลย Raphanus sativus มแี หลงกําเนดิ ในแถบเมดเิ ตอรเรเนียน แตนยิ มปลกู ทั่วไปในทวปี เอเซยี มากกวา ใน ยุโรป จนไดช อ่ื วา เปนผักคนจน (poor man’s vegetable) ปจ จุบนั มีแหลงพันธกุ รรมใน ทวปี เอเซยี ซง่ึ มีมากกวา ในยโุ รป (IBPGR, 1981) มีหลากหลายพันธุ และใชบรโิ ภคในลกั ษณะ ตางๆ กัน เชน บริโภคหวั ใบ ฝกออ น และสกัดน้ํามัน (ตารางที่ 6-18) (Williams, 1985) บางพันธุใชเปน อาหารสัตวกม็ ี ในประเทศไทยมปี ลูก 2 พันธุ ไดแ ก var. radicola เรียกช่ือ ภาษาไทยวา ผกั กาดหัว ชอ่ื ภาษาอังกฤษ Chinese radish นยิ มบริโภคทั่วประเทศ และ var. caudatus เรียกช่ือวา ผกั ข้ีหดู หรอื rat tail radish นิยมบรโิ ภคในภาคเหนอื ของประเทศ ตารางท่ี 6-18 ผักกาดหัว Raphanus sativus พนั ธุต างๆ สวนท่ีใชบ รโิ ภค และจโี นม

77 พนั ธุ (variety) ชือ่ ทว่ั ไป จีโนม สวนท่ใี ชบ รโิ ภค rr Raphanus sativus rat tail radish, ผกั ขห้ี ดู (9) - rr.c ฝก ออน - ใบและฝก ออ น var. caudatus oil radish rr.o เมลด็ สกัดน้าํ มัน var. mougri radish, dikon, rr.r รากทข่ี ยายขนาด var. oleifera Chinese radish var. radicola ผักกาดหัว ธรรมชาติการผสมพันธขุ องผกั ตระกูลกระหลํา่ ผกั ตระกลู กระหล่ํา สว นใหญเปน พืชผสมขาม (cross pollinated crop) มีบางชนดิ ที่สามารถผสมตัวเอง เปน พชื ผสมตัวเอง (self pollinated crop) เชน ผกั กาด เขียวปลี และผักขห้ี ดู เปน ตน ผักทผี่ สมขา มในตระกูลน้มี คี ณุ สมบตั พิ ิเศษบางอยางที่ชวยใหก าร ผสมขามเกิดไดม ากข้ึน จึงมกี ารนาํ เอาคณุ สมบัติพิเศษอนั เน่ืองจากพนั ธกุ รรมนมี้ าใชประโยชนใ น การผลติ เมล็ดพนั ธุ ลูกผสม ซ่ึงใชก ันอยา งแพรหลาย และไดรับความนยิ มมาก เนื่องจากลกู ผสม มีคุณภาพดีกวาพนั ธุแ ทม ากจนทาํ ใหพนั ธุแทถูกทดแทนโดยพนั ธลุ กู ผสม ทําใหแ หลง ของพนั ธุ กรรมถูกทําลายไปบางสว น ประเทศญีป่ นุ เปน ประเทศที่มีการศกึ ษาเก่ยี วกับพนั ธุกรรมการผสมตัว เองไมไ ด (self incompatibility) ในกระหลํา่ ปลีตง้ั แต พ.ศ. 2473 (Kakizaki. 1930) ตอ มาใน พ.ศ. 2477 Dr. S. Shinohara ไดเ ริ่มผลิตลูกผสมกระหลํา่ ปลเี ปนการคา โดยเริ่ม

78 ตนทีบ่ รษิ ทั ซากาตา (Shinohara. 1942, 1953 และ 1981) การทําครั้งแรกทาํ แบบงายๆ โดย หาตนกระหล่าํ ปลที ผ่ี สมตัวเองไมไ ด และขยายพันธโุ ดยไมอ าศัยเพศ เมื่อไดต นที่ผสมตัวเองไม ไดสองสายพนั ธกุ ็นาํ มาปลกู สลบั กนั โดยอาศยั การผสมขา มตามธรรมชาติ เมอ่ื ไดเมลด็ พันธุลกู ผสม ช่วั ท่ีหน่งึ ครั้งแรกของโลกไดใหช ่ือวา Suteki cabbage ตอมา Dr. N.U. ไดทําการวจิ ัย เกีย่ วกบั พนั ธกุ รรมการผสมตวั เองไมได และขยายพนั ธขุ องพอ และแมโดยใชเ มลด็ และไดล ูกผสม กระหลา่ํ ปลพี ันธุ O-S Cross ซง่ึ เปน ลกู ผสมทเ่ี กดิ จากสายพนั ธุแท 2 สายพันธุ ซึ่งท้ัง 2 สายพันธนุ เ้ี ปน พันธเุ ดยี วกัน ช่ือ Succession จุดประสงคของการทาํ ลูกผสมนเี้ พอ่ื ใหเกดิ ความ สมา่ํ เสมอภายในพนั ธเุ ดียวกนั ลูกผสมชั่วท่ี 1 ทไ่ี ดจากวธิ กี ารนีเ้ รียกวา inter-strainic hybrid ตอมาไดม กี ารศึกษาเพ่ือผลิตเมล็ดพนั ธลุ กู ผสมช่ัวทห่ี นึ่งของกระหลํ่าปลีโดยใช สายพนั ธุท ต่ี า งกนั โดย Ito (1954) และ Haruta (1962) ท่ีบรษิ ัทตากิอิไดพ นั ธลุ กู ผสมกระหลา่ํ ปลีทดี่ ีมาก ไดแกพ นั ธุ Nagaoka hybrid Shikidori Cabbage ซงึ่ พนั ธุนี้มคี วามทน ทานตอ สภาพภมู ิอากาศ และดิน จึงไดปลกู ทั่วไปในประเทศญ่ีปนุ เมือ่ ไดร ับความสาํ เรจ็ ในการ ผลิตลูกผสมชั่วท่ี 1 น้ี ทมี งานของบริษทั ตากอิ ไิ ดศกึ ษาและผลิตเมล็ดพนั ธลุ กู ผสมช่ัวที่ 1 ในผัก ตระกลู กระหลา่ํ ไดแ ก ผกั กาดขาวปลี กระหล่าํ ดาว บลอคเคอร่ี เทอรน ปิ และผกั กาดหวั จากการศึกษาเกี่ยวกบั ลกู ผสมชวั่ ที่ 1 ของผกั ตระกูลกระหลาํ่ ของนักวิจยั ชาวญปี่ ุน ทําใหก ระหลํา่ ไดรับความนิยมอยา งแพรหลายในประเทศตางๆ ของเอเซยี เมลด็ พนั ธผุ ักตระกูล กระหล่าํ ท่ใี ชใ นประเทศไทยสวนใหญสงั่ มาจากประเทศญปี่ ุนแทบทงั้ ส้นิ มีบางสว นและเปน สวนนอยทส่ี งั่ มาจากยโุ รป หรอื สหรัฐอเมริกา ทงั้ นเ้ี นื่องจากพนั ธุจากประเทศญป่ี ุนไดร บั ความ นยิ มมากกวา และมคี วามตา นทานตอ สภาพอากาศรอ นไดดกี วา ยกตัวอยางเชน กระหล่ําปลีพนั ธไุ ฮ ยาดอริ สั่งมาจากประเทศญ่ีปนุ ไดร ับความนยิ มในประเทศไทยมากกวาพันธอุ ื่นมาเปนเวลา 30 ป พันธุผกั กาดขาวปลขี องญ่ีปนุ ก็ไดร บั ความนิยมมากในประเทศไทยเชน กัน ผูเขยี นไดเร่มิ งานวจิ ัยการผลิตเมลด็ พนั ธุล กู ผสมชว่ั ที่ 1 ของผักตระกลู น้ตี ง้ั แต พ.ศ. 2525 โดยไดร ับเงนิ สนับสนนุ จาก International Development Research Center ประเทศแคนาดา รวมเวลาประมาณสิบกวาป ปจ จุบนั ไดพันธุล ูกผสมชวั่ ที่ 1 ของผกั กาดขาวปลี ผกั กาดเขียวปลี และผกั กาดหัวท่ดี กี วา พนั ธุก ารคาหลายพันธทุ จี่ าํ หนายภายใน ประเทศ ซ่งึ เปนเมล็ดทส่ี ั่งเขา หลายพันธุ (มณีฉตั ร. 2537, โชคชยั และคณะ. 2540, ตระกลู และ คณะ. 2540) เมล็ดพนั ธุผกั เหลาน้ีสามารถทาํ การผลติ เมล็ดพนั ธุบ นพืน้ ทภี่ ูเขาในภาคเหนือ ไดเมลด็ ท่มี ีคณุ ภาพดเี ทา เทยี มกับเมลด็ ทส่ี ่ังเขา มาจําหนาย (Wivutvongvana et al. 1987 และ Nikornpun. 1992)

79 ลกั ษณะทางสัณฐานวทิ ยาของดอกและผล ลกั ษณะทางสณั ฐานวิทยาของใบ ดอก และผล ของผักตระกลู กระหลาํ่ ไดระบไุ ว ใน Purseglove (1968) ตระกูลนที้ ้งั หมดจัดอยูในกลุม พืชลม ลกุ สวนใหญมกี าํ เนดิ จากแถบอบ อนุ ใบไมม หี ูใบ(exstipulate) เปน ใบเด่ยี วเรยี งตัวแบบสลบั (alternate) ดอกมที ั้งสองเพศ ในดอกเดยี วกนั และมคี วามสมดุลยของสว นประกอบของดอก (รปู ที่ 6-21) ซึ่งติดอยกู บั ฐานรอง ดอกใตเกสรตัวเมีย (hypogynous) กลบี เลี้ยงมี 4 กลบี กลีบดอกมี 4 กลีบ เกสรตัวผมู ี 6 อนั เรยี งตัวรวมกนั 4 อัน (tetradynamous) อยูวงในมีกานเกสรตัวผยู าวกวา อกี 2 อนั ทีอ่ ยูว งนอก เกสรตวั ผูม ี 2 ชอง และแตกตามยาวซง่ึ อยดู า นใน (introrse longitudinal dehiscence) รงั ไขอยูสูงกวาฐานรองดอก (superior) มรี ังไข 2 อนั ประกบกันและแยกแต ละชองออกจากกนั โดยมเี ย่ือบางๆ กั้น กานเกสรตัวเมยี ส้ันท่ีปลายมีลักษณะเปน 2 หยกั ผลเปนฝก ถา มีความยาวมากกวาความกวา งเปนผลชนิด siliqua หรอื silique เชน ผลของผกั กาด กวางตุง ผกั กาดหวั และผักกาดขาวปลี แตถาผลมีความยาวพอๆ กับความกวางเรยี กวา silicula ผลสวนใหญแ ตกเมื่อแก โดยแตกจากสวนลา งของฝกไปยงั สวนบน มีผลของผักตระกูลน้ที ่ผี ลไม แตกเมอ่ื แก เชน ผกั กาดหวั เมลด็ ผักตระกูลนีไ้ มม อี าหารสาํ รอง (endosperm)

80 รูปที่ 6-21 ลักษณะดอก ผล และตน ผกั กวางตุง การผสมพันธตุ ัวเองไมไ ด การปรับปรงุ พันธุผกั ตระกลู นีอ้ าศัยการผสมพันธตุ วั เองไมไดหลายลกั ษณะมาใช ประโยชน เพ่อื ลดการใชแรงงานในการตอนเกสรตัวผู (emasculation) ของสายพันธุตัวเมีย การผสมพนั ธตุ วั เองไมไ ด (self incompatibility) ของผกั ตระกูลกระหลา่ํ เกดิ จากหลาย สาเหตดุ วยกนั ซ่งึ ปรากฏวาสง่ิ เหลา น้กี ลับมีประโยชนในดา นการผลติ เมลด็ พนั ธุลกู ผสมของผกั ใน ตระกลู นี้ สาเหตุการผสมพันธุตัวเองไมไ ดน ้ันเนอื่ งจากกรรมพันธุมดี งั นี้ 1. การผสมพนั ธตุ ัวเองไมไดเน่ืองจาก S ยีน 2. การผสมพันธตุ วั เองไมได เน่ืองจากเกสรตัวผเู ปน หมัน (male sterility) 2.1 เกสรตวั ผูเปน หมนั เน่ืองจากไซโตพลาสซมึ (cytoplasmic male sterility) (cytoplasmic 2.2 เกสรตวั ผูเ ปนหมันเนอื่ งจากยนี และไซโตพลาสซึม genic male sterility) 2.3 เกสรตวั ผูเ ปน หมนั เน่อื งจากยนี (genic male sterility)

81 1. การผสมพันธตุ วั เองไมไ ดเ นอ่ื งจาก S ยนี การผสมพันธตุ วั เองไมไ ดเ นื่องจาก S ยนี ของพชื ตระกูลน้ีมีปฏกิ ิริยาทีเ่ รยี กวา sporophytical reaction (Shinohara. 1981) เกสรตัวผูไมสามารถงอกบนยอดเกสร ตัวเมีย (stigma) เนอื่ งจากสารยับยง้ั ทถ่ี ูกสังเคราะหขน้ึ ในยอดเกสรตวั เมีย โดยเฉพาะในเนอ้ื เย่ือ ทห่ี อหมุ ยอดเกสรตวั เมีย (papillae cell) สารนส้ี ังเคราะหจากสว นของตนตวั เมยี ทม่ี ี โครโมโซม 2 ชุด (2n) แมก ระท่งั เกสรตัวผซู ่งึ มโี ครโมโซมชุดเดียว (n) ก็มปี ฏิกิรยิ านีเ้ ชนเดยี วกบั เกสรตวั เมยี เนอ่ื งจากเย่อื หุมเกสรมาจากเซลของตัวแมซ่งึ มโี ครโมโซม 2 ชดุ (Bateman. 1952) ผักตระกูลกระหล่าํ มกี ารผสมพนั ธตุ ัวเองไมไ ดจ ัดเปน 4 กลมุ ดวยกัน (รปู ท่ี 6-22) ปฏิกริ ยิ าท่ี กลา วมาขา งตน มคี วามแตกตา งจากปฏกิ ิรยิ าทีเ่ รยี กวา gametophytical reaction ซ่ึง โครโมโซมเพียง 1 ชุดของเกสรตวั ผเู ปนตวั กําหนดวาจะผสมพนั ธุไดหรอื ไม เช น เกสรตวั ผูข อง ผักท่มี ยี นี SaSb มีเกสรตัวผูท ี่มี Sa และ Sb เม่อื ผสมกบั ตนทมี่ ียนี Sa Sa จะติด ถา Sa Sa เปนตัวเมีย เพราะเกสรตัวผทู ม่ี ียีน Sb สามารถผสมได แตถา Sa Sa เปนตัวผูจ ะไมส ามารถผสม กบั ตน Sa Sb ได เพราะเกสรตัวผูมเี ฉพาะ Sa แตอยา งไรกด็ ี gametophytical reaction นไ้ี มส ามารถใชอ ธบิ ายสงิ่ ท่เี กิดขนึ้ ในผกั ตระกูลกระหล่าํ ไดเพราะมกี ารผสมตวั เองไม ไดถ ึง 4 กลุม การแยกกลมุ ของผักตระกลู กระหลาํ่ 4 กลุม (Shinohara. 1981) (รูปท่ี 6- 22) โดยใชป ฏกิ ิริยา sporophytical reaction ของเกสรตัวผูและเกสรตัวเมยี ดงั รูปท่ี 6- 22 และเมอื่ Haruta (1962) ไดท ดสอบการผสมตวั เองไมไ ดของผักหลายชนิด ไดแ ก กระหลํา่ ดาว กระหลาํ่ บล็อคเคอรี่ พบวา กระหลํา่ ดาวจัดอยใู นกลุมท่ี 1 กระหลํา่ ปลีกลุม ที่ 1, 2 และ 3 บล็อคเคอรี่กลุมท่ี 2 ผักกาดขาวปลีกลมุ ที่ 2 และ 4 เทอรนิปกลมุ ที่ 2 และ 4 สวนผกั กาดหัว กลุมท่ี 2 และ 4 อาจอธิบายปฏกิ ริ ิยาของกลุมตางๆ ไดด งั นี้ กลุมท่ี 1 ในเกสรตวั ผูแ ละตัวเมยี มยี ีน Sb ท่ีมลี ักษณะเดน ขม ยีน Sa (Sa < Sb) ซึ่ง ปฏกิ ิรยิ า sporophytic น้ีมที ้งั ในตวั ผูและตัวเมีย การผสมพันธุเกดิ ขึ้นในกลุม นี้ในกรณีทีย่ ีน ตา งกนั เทา นน้ั เชน SaSa↔SbSb และ SaSa↔SaSb สวน SbSb ไมส ามารถผสม กบั Sa Sb เลย จากการทดสอบพบวา มีกระหล่าํ ปลี และกระห ลํา่ ดาวหลายพนั ธทุ ่ีมี ปฏกิ ริ ิยาอยใู นกลุมน้ี

82 กลุมที่ 2 เกสรตัวผมู ีการแสดงออกของยนี Sb ขม Sa สว นเกสรตวั เมยี มกี ารแสดงออก ของ ยนี Sa และ Sb เทาๆ กนั ดงั นนั้ ตน ที่มียนี Sa Sa สามารถผสมกับตนทมี่ ียนี Sb Sb ไมวาเปนตวั ผหู รือตวั เมยี แตไ มส ามารถผสมกบั ตวั เมยี ทมี่ ียีน Sa Sb เพราะยนี Sa แสดงออกในตวั เมีย แตถา Sa Sb เปน ตัวผูสามารถผสมกบั ตวั เมยี Sa Sa ได เพราะ ยีน Sb ในตวั ผูข ม ยีน Sa สวน Sb Sb ไมสามารถผสมกบั Sa Sb ไมว า Sb Sb เปน ตัวผูหรือตวั เมยี ผักที่พบในกลมุ น้ีไดแ ก กระหล่ําปลี ผักกาด ขาวปลี ผกั กาดหัว บล็อคเคอร่ี และเทอรนปิ เปน ตน กลุมนเี้ ปนกลุมที่ใหญท ่สี ดุ เม่อื เทียบกบั กลุมอ่ืน กลมุ ที่ 3 เกสรตวั ผูมีการแสดงออกของยีน Sa และ Sb สวนตัวเมยี มกี ารแสดงออกของ Sb ขม Sa ดงั นน้ั ตน ท่มี ยี ีน Sa Sa สามารถผสมกบั ตนที่มยี ีน Sb Sb ไมวาเปน ตวั ผูหรอื ตวั เมยี และสามารถผสมกบั Sa Sb กรณีที่ Sa Sb เปนตัวเมยี เทานัน้ เพราะ Sb ขม Sa ในตวั เมยี สวนตน ทีม่ ยี ีน Sb Sb และ Sa Sb ไมสามารถผสม พันธกุ ัน ไมว าจะ เปนตวั ผูหรือตวั เมีย ผักท่พี บในตระกลู นท้ี ี่มีปฏกิ ริ ิยาในกลุม น้มี ีนอยมาก พบวา มกี ระหล่าํ ปลเี พยี ง 2 พันธุท่อี ยใู นกลุมน้ี พนั ธกุ รรม I II III IV Sa Sa SaSa SaSa SaSa ตวั เมยี ตวั ผู SbSb SbSb SbSb SbSb กระหล่าํ ปลี SaSb SaSb SaSb SaSb กระหล่าํ ดาว บล็อคเคอร่ี Sa < Sb Sa : Sb Sa < Sb Sa : Sb Sa : Sb Sa : Sb Sa < Sb Sa < Sb 1 พนั ธุ 3 พันธุ 3 พนั ธุ 1 สายพันธุ - 3 สายพันธุ 3 พนั ธุ - 1 พันธุ - - 2 สายพันธุ - - - - - - - 1 พันธุ

ผักกาดขาวปลี 83 -- เทอรน ปิ - 3 พนั ธุ ผกั กาดหัว - 1 สายพันธุ - 3 สายพนั ธุ - 2 พนั ธุ - 1 พนั ธุ - 3 สายพันธุ - 1 สายพนั ธุ - 1 พันธุ - 2 พันธุ - 1 สายพันธุ - 4 สายพนั ธุ - 2 พันธุ - 2 สายพนั ธุ รปู ท่ี 6-22 การแยกกลุมการผสมตัวเองไมไดข องผักตระกูลกระหลา่ํ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook