Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การผลิตผัก

Description: การผลิตผัก.

Search

Read the Text Version

LINE421 I การผลิตผัก (Vegetable production) Hort 359421 สารบญั บทท่ี I. ความสาํ คัญของผัก (Importance of Vegetable) 1. ความสาํ คญั ทางคณุ คาอาหาร 2. ความสําคัญทางเศรษฐกจิ 2.1 การสงออกและนําเขาผกั (Import and Export of Vegetable) 2.2 การบริโภคผัก (Vegetable Consumption) - การบรโิ ภคผักตอคนตอ ป (Vegetable Consumption per Capita) - การบรโิ ภคผกั ตอ ปข องแตละประเทศ (Annual Consumption of Vegetable Per Capita by Country) - แนวโนม การซ้อื ผกั เมื่อเทยี บกบั อาหารอ่ืนๆ (Trends of Purchasing) - สัดสวนการผลิตผักกินใบ กินผล และกินราก (Ratio of Vegetable Production Base on Classification) บทที่ II. การผลิตผัก (Vegetable Production) 1. การผลติ ผัก (Vegetable Production) แหลง ผลิตผกั สด (Production Area) - ผักกินใบ (Leaf Vegetable) - ผักกินผล (Fruit Vegetable) - ผักกนิ หัว (Root Vegetable) - ผกั กินดอก (Flowe Vegetable) 2. พนื้ ทีผ่ ลติ ผกั (Area of Produciton) 3. ฤดกู าลผลติ ผกั (Season of Vegetable produciton) 4. ผลผลติ และปรมิ าณผกั ท่ผี ลิตได (Yield and Amount of Harvesting) 5. จดุ ยนื ของผกั ในการเกษตร (Position of Vegetable in Agriculture) 6. การเปลย่ี นวิธกี ารผลติ ผัก (Change of Produciton Method)

2 บทที่ III. การเจรญิ เติบโตของผัก (Growth and Development of Vegetable) 1. ลักษณะการเจรญิ เติบโตของผกั (Vegetable Growth and Development) 2. ปจจยั ท่ีมอี ิทธพิ ลตอการเจรญิ เติบโตของผัก (Factors Affecting Growth and Development of Vegetable) บทที่ IV. วธิ ีการผลติ ผกั (Method of Vegetable Produciton) มณฉี ตั ร นกิ รพันธุ 1. การเตรียมแปลงปลกู (Land Preparation) 2. การเตรียมกลา (Seedling Preparation) 3. การยา ยปลกู (Transplanting) 4. การดูแลรักษา (Taking Care) 5. การจดั การ (Manangement) บทท่ี V. โรคผัก (Vegetable Disease) มณฉี ัตร นกิ รพันธุ บทท่ี VI. การจัดจําแนกผัก (systematic of Vegetable) มณฉี ัตร นิกรพันธุ - Family Graminaeae - Family Solanaceae - Family Cruciferae - Family Compositae - Family Cucurbitaceae - Family Leguminosae - Family Convolvulaceae - Family Liliaceae บทท่ี VII. การตลาด (Marketing) มณฉี ัตร นกิ รพันธุ 1. หนวยงานท่ีเกีย่ วของกบั ผกั (Agricultural Associations and Shipping Agents) 2. ตลาดทีเ่ กย่ี วของกับผัก (Margets Dealing with Vegetable) 3. มาตรฐานและความตอ งการ (Standard and Requirement) 4. ราคาผัก (Price of Vegetable) - ราคาผักแตละชนิด - ความแตกตา งของราคาผกั ในทองถิ่นตา งๆ

3 5. การเคลื่อนยายของผัก (Circulation of Vegetable หรือ Shipment of Vegetable) บทที่ VIII การเกบ็ เก่ียวและการจัดการหลังการเก็บเกยี่ ว (Harvesting and Post-harvest Handling procedures) 1. การเก็บเกี่ยว (harvesting) 2. การจัดการหลงั การเกบ็ เก่ยี ว (Post-harvest Handling procedures) 3. สภาพการเก็บรกั ษา (Storage Conditions) หมายเหตุ : เอกสารประกอบการสอนวิชา Hort 359421 ยังไมเ สรจ็ สมบูรณ จึงเสนอเฉพาะ บทที่ 4, 5 และ 6

VEG421L4 การผลิตผกั (Vegetable production) Hort 359421 บทท่ี 4 วธิ ีการผลติ ผัก (Methods of Vegetable Production) มณฉี ตั ร นิกรพันธุ การปลูกผักใหไดผ ลผลิตไมว า ในรปู ผักสดหรอื เมล็ดพนั ธุ จําเปนตอ งมกี ารจัดการ ในแปลงทีด่ ี ผกั จงึ จะใหผลผลิตตามทต่ี อ งการ ดังนัน้ ในบทนี้จึงบรรยายในหวั ขอ ตา งๆ ไดแก 1. เวลาและสถานทที่ ี่เหมาะสม (suitable time and location) 2. การเตรยี มแปลงปลกู (land preparation) 3. การยายปลกู (transplanting) 4. การดูแลรักษา (crop management) 5. การเก็บเก่ียว (harvest) ทั้งนเ้ี นือ่ งจากพชื ผักแตล ะชนิดมีความตองการการดแู ลและการจดั การที่แตกตา ง กัน ดงั นั้น จงึ ไดแ ยกออกเปน ผกั แตล ะชนดิ ไดแก 1. การผลิตมะเขือเทศสด 2. การปลกู และดแู ลรกั ษาพรกิ เพือ่ ผลสดและผลแหง 3. การผลติ เมล็ดพนั ธุแตงโมลกู ผสม 4. การผลติ เมลด็ พนั ธแุ คนตาลูปลกู ผสม 5. การผลติ เมล็ดพันธสุ ควาชลูกผสม

2 การผลติ มะเขือเทศสด แหลงผลิตมะเขือเทศผลสดแหลง ใหญใ นประเทศไทยไดแก ภาคตะวันออก เฉยี งเหนือและภาคเหนอื พืน้ ทีเ่ กบ็ เกยี่ วของแตละภาคประมาณ 23,646 ไร ในภาคตะวนั ออก เฉยี งเหนือ และประมาณ 9,427 ไรใ นภาคเหนือ ตวั เลข พ.ศ. 2531 สวนภาคอ่นื ๆ มีปลกู เพียง เลก็ นอ ย รวมตวั เลขการผลิตมะเขอื เทศผลสดได 69,564 ตัน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมสี ภาพ ภูมอิ ากาศทเี่ หมาะสําหรับการปลูกมะเขือเทศเน่อื งจากมอี ากาศหนาวเย็นในฤดหู นาวแลว ความชน้ื ในอากาศก็นอ ยทําใหโรคทางใบของมะเขอื เทศไมค อยระบาด สวนภาคเหนือแมจ ะมี สภาพภูมิอากาศทเ่ี หมาะสมสาํ หรบั มะเขอื เทศในแงอ ณุ หภมู ิตํา่ แตค วามชนื้ ในอากาศสูงกวา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือจงึ ทาํ ใหโรคทางใบ โดยเฉพาะอยางยง่ิ โรคใบไหม (late blight) ระบาด คอนขางรนุ แรง ถงึ แมว า มีปญ หาน้ีภาคเหนอื ก็ยงั เปน แหลงผลิตท่ดี ีไดถ าหากมกี ารจดั การท่ี เหมาะสม ฤดกู าลผลิตในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือกระทาํ ในฤดหู นาว แตใ นภาคเหนอื สามารถ ปลกู ไดท้ังฤดหู นาว ฤดูรอนและฤดูฝน การปลกู นอกฤดูซง่ึ หมายถงึ ฤดรู อนและฤดฝู นตอ งเลอื กท่ี ปลูกบนทีส่ ูง เชน บนภูเขาสงู ที่อุณหภมู ิตาํ่ กวา พื้นราบ จากการสาํ รวจขอ มลู จากกสิกรปลูกมะเขอื เทศ ในอําเภอตางๆ ของจงั หวดั เชียงใหม จังหวดั แมฮอ งสอนและจงั หวัดลําปางเพื่อเปรียบเทียบตนทุนและผลตอบแทนจากการ ปลกู มะเขอื เทศในฤดหู นาว ฤดรู อ น และฤดูฝน พบวา ตนทนุ เฉลยี่ ไรละ 3,765.46 บาท 14,361.89 บาท และ 16,622.26 บาท ตามลาํ ดบั (ศราวธุ 2528) เมื่อวิเคราะหผลตอบแทนสรปุ ไดว า เม่ือเปรยี บเทียบการปลกู มะเขือเทศในฤดหู นาว ฤดรู อนและฤดูฝนน้นั การปลกู ในฤดูฝนให กาํ ไรมากท่ีสุด ผลมะเขอื เทศท่ผี ลิตถกู นาํ สูตลาดสดและสง โรงงานแปรรูป เนอื่ งจากพันธทุ ใ่ี ชใน การผลติ เปน พันธุส ําหรบั สง โรงงาน ดังนน้ั แหลงผลิตมะเขอื เทศสดสาํ หรับสงโรงงานบางแหงได คัดมะเขือเทศท่ดี สี วนหน่งึ ขายตลาดสด และนํามะเขือเทศที่เหลือสงโรงงาน ซ่งึ วิธกี ารดังกลาวทํา ใหโ รงงานไดรบั มะเขือเทศท่ีคณุ ภาพดอย แตใ นระยะหลังๆ นี้ โรงงานแปรรูปหลายแหง ไดล ดขนาด ของกิจการและบางแหงตอ งเปด ตวั เอง เนอื่ งจากมปี ญหาในการขายมะเขอื เทศบด มะเขือเทศท่ี ผลติ แทบทัง้ หมดก็ถกู นาํ เขา ตลาดสด ซง่ึ เปน ตลาดใกลแ หลงผลิตตลาดกลางไดแก ปากคลอง ตลาด ตลาดส่ีมุมเมอื ง ทกี่ รงุ เทพ และตลาดเพอื่ สง ออกทจ่ี งั หวัดนครศรธี รรมราช เพอื่ นาํ สงยัง ประเทศมาเลเซียและสงิ คโปร คนไทยนิยมรับประทานมะเขอื เทศสดพันธุส ําหรับโรงงานเพราะชอบความแขง็ ของเนือ้ และความกรอบ และไมนิยมรบั ประทานพันธุสําหรบั รบั ประทานสด เพราะมคี วามนิ่มและ เนื้อมะเขือเทศนอ ย สวนผคู ากต็ อ งการคา เฉพาะผลมะเขอื เทศพนั ธุสําหรบั สงโรงงานเพราะ เสียหายนอ ยระหวา งการขนสง ดังนนั้ พนั ธสุ าํ หรับสงโรงงานจึงไดร บั ความนยิ มท่ัวไป มผี ูบรโิ ภค

3 บางกลมุ ซ่ึงมีอยจู าํ นวนนอ ยและเปนชาวตา งประเทศเปนสว นใหญตอ งการมะเขือเทศสาํ หรับ บรโิ ภคสด พนั ธุสาํ หรับรบั ประทานสดกต็ อ งสงจากตา งประเทศ สาํ หรับคณะเกษตรศาสตร มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม ผลติ ผลมะเขอื เทศสาํ หรับรับประทานสด พนั ธุ Floradel ทกุ ปในฤดหู นาว มาเปน เวลาถึง 15 ป และโครงการหลวงกม็ กี ารผลติ เชน เดียวกนั เปนเวลาหลายป ก็ไมป รากฏวา ความตอ งการบริโภคถกู กระตุน ใหม ีความตองการมากขน้ึ แหลง ผลิตมะเขือเทศสดและการดแู ลรักษา การผลิตมะเขอื เทศกระจายทั่วไปท้งั ประเทศทกุ ภาค แตแหลง ใหญม ใี นภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือและภาคเหนอื ตามที่กลาวแลวขางตน มะเขือเทศที่ผลติ ในภาคอื่นๆ สวนใหญ เปน มะเขอื เทศพ้ืนเมืองหรือมะเขอื เทศพันธุสีดา ซึง่ ผลิตสาํ หรับปอนตลาดของหมบู า น แตก ารผลติ ของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื และภาคเหนอื เปน การผลิตผลสดพันธุฤดูหนาว มีพนั ธพุ นื้ เมืองและ พนั ธุส ีดาเพียงเลก็ นอ ย และเปน การผลิตขนาดใหญเ พือ่ สงโรงงาน และสง ตลาดท่ีอยูหางไกล รวม ทงั้ ผลติ เพ่ือการสงออก ตวั เลขพืน้ ทป่ี ลูกและผลผลติ ที่ไดจากแตล ะภาคไดแ สดงไวใ นตารางท่ี 4-1 การผลติ มะเขอื เทศสวนใหญใชพ ้ืนทีน่ า มสี ว นนอ ยที่ผลิตบนภูเขาทจี่ ําเปนตอ งปลกู ตามความ ลาดชนั ของพนื้ ที่ แตก ารปลกู ในนาเปน วธิ ีการที่สะดวกและประหยัดแรงงานมากทีส่ ดุ และยงั สะดวกตอการใหน ํ้า การกําจัดวัชพชื กม็ ีนอย นอกจากนีอ้ นั ตรายจากไสเดือนฝอยและโรคเห่ยี วเฉา เน่ืองจากเชอื้ แบคทเี รยี กน็ อ ยกวา การปลกู ในพื้นทท่ี ่ีไมใ ชนาขาว การปลกู บนไหลเขาท่ีไมใ ชน าพบ ไดในภาคเหนอื การจดั การใหน าํ้ กแ็ ตกตางออกไป ระบบการใหนํ้าแบบฝนเทียม (springler irrigation) ถกู นํามาใชแทนการใหน าํ้ แบบรอ ง (furrow irrigation) แตว ิธกี ารใหน้ําแบบฝนเทียมนี้ ทําใหมเี ชื้อ โรคราทใ่ี บมากกวาระบบใหน้าํ แบบอ่ืนๆ นอกจากนม้ี กี ารใหนาํ้ กึง่ ตามรอ ง โดยปลอย ใหน ้าํ ไหลตามรองตลอดเวลาเนอื่ งจากพ้นื ท่ีมคี วามลาดเอยี งมาก การใหน ้ําแบบตามรอ งจรงิ ๆ ทํา ไมไ ด แหลง ผลิตใหญๆ ทีอ่ ยูห างไกลจากตลาด เปนแหลงปอนมะเขอื เทศสดของทั้ง ประเทศ จําเปนตองมีการเกบ็ ผลมะเขอื เทศตง้ั แตย งั หาม (mature green) ทัง้ นมี้ ีเหตุผลหลาย ประการไดแก การขนสง ท่ีตองขนสงบนถนนทส่ี ภาพเปนหลมุ เปนบอ ถา หากเก็บผลสุกความ เสยี หายจะมีมาก และการขนสง กนิ เวลาหลายวนั กวามะเขือเทศถงึ มอื ผูบริโภคถาหากเกบ็ ผลสกุ ก็ คงเนา กอ นถงึ ตลาด ผลของการเกบ็ มะเขอื เทศจากแหลง ใหญๆ เหลานี้กไ็ ดมะเขอื เทศท่ีมคี ุณภาพ ไมดนี ักในการบรโิ ภค แตผ ูบริโภคกไ็ มมีทางเลือกเนอ่ื งจากสภาพภมู อิ ากาศของแหลงผลิตใกลๆ บา นไมอ ํานวยโดยเฉพาะในฤดรู อ นและฤดฝู น ตองอาศัยแหลง ผลิตบนภเู ขาซงึ่ อยูในภาคเหนอื ได แก สะเมิง แมส รวย ดอยเตา และฝางเปน ตน

4 ตารางที่ 4-1 พ้นื ทเี่ กบ็ เก่ียวและผลผลิตมะเขอื เทศสดของภาคตา งๆ ในประเทศไทย พ.ศ.2531/32 ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ภาค พ้ืนทเ่ี กบ็ เกยี่ ว(ไร) ผลผลติ สด(ตนั ) ผลผลิตตอ ไร( ตัน/ไร) ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เหนือ 9,427 17,709 1,879 ตะวันออกเฉียงเหนอื 23,646 47,239 1,998 กลาง 1,813 1,124 620 ตะวนั ออก 473 627 1,326 ตะวันตก 1,988 2,786 1,401 ใต 113 79 698 ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 37,460 69,564 1,857 ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- สถิติการปลกู พชื ผกั รายพชื ปการเพาะปลูก กรมสงเสรมิ การเกษตรและสหกรณ 2530/31-2531/32 ฤดูกาลผลติ มะเขือเทศสด ฤดูหนาวเปน ฤดูกาลสําหรับการปลูกมะเขือเทศ อุณหภมู ิของภาคเหนอื และภาค ตะวันออกเฉยี งเหนอื ในฤดูกาลน้กี เ็ หมาะสมสําหรบั การเจริญของมะเขอื เทศมากกวาภาคอนื่ ๆ มะเขอื เทศชอบอากาศเย็น นยิ มปลกู ในนาหลังจากเก็บเกีย่ วขาวประมาณเดือนพฤศจิกายนใน ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือและประมาณเดอื นธันวาคมในภาคเหนือ ในภาคตะวันออกเฉยี ง เหนือปลูกไดกอ นภาคเหนอื เลก็ นอย ฤดหู นาวนี้มเี วลาเพยี งไมก เ่ี ดือนและส้ินสุดประมาณเดอื น กมุ ภาพันธ ระยะเวลาสําหรับมะเขือเทศคอนขางสนั้ การปลกู จงึ ตองทําวิธกี ารยายกลา ไม สามารถปลกู จากเมล็ดในดนิ โดยตรงเหมอื นตา งประเทศ แมวา การปลูกจากเมลด็ เคยมีการ ทดลองแลววากระทาํ ไดในภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ก็ตาม และระยะเกบ็ เก่ียวผลมะเขอื เทศใน ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื เก็บผลไดนานกวาภาคเหนอื ประมาณ 14-15 คร้ัง สว นภาคเหนือเกบ็ ผล ไดประมาณ 10 ครัง้ เมอื่ เกบ็ อาทติ ยล ะครง้ั ฤดรู อนและฤดฝู น ไมเ หมาะสาํ หรับการปลูกมะเขือเทศ แตเ น่ืองจากมีความ ตองการผลมะเขือเทศสดนอกฤดูกาล จงึ มีการปลูกโดยใชพนั ธมุ ะเขือเทศทนรอน เชน พันธสุ ดี า สี ดาทิพย L22 SVRDC4 ปลูกเพ่อื สง ขายตลาดใกลแหลงผลิตในภาคตา งๆ และมีปรมิ าณไม มาก แตใ นภาคเหนือมีทางออกทด่ี ีกวา สามารถเลือกพื้นทบี่ นภูเขาท่มี อี ากาศเยน็ และใชพันธุฤดู

5 หนาว เชน VF 134-1-2 Peto94 P502 และ P600 ได สวนใหญน ิยมใชพ ันธุ VF 134-1-2 การ ปลูก นอกฤดบู นภูเขานฤ้ี ดกู าลยาวนานกวาฤดูหนาวมาก ผลมะเขอื เทศอาจเกบ็ เกี่ยวไดมาก กวา 20 ครัง้ หากเกบ็ อาทิตยล ะคร้งั ดงั นนั้ ผลผลติ ของมะเขือเทศนอกฤดบู นภเู ขานีจ้ ะสงู กวาในฤดู หนาว ตน ทนุ การผลิตและผลตอบแทนของมะเขือเทศในฤดูกาลตา งกนั จากการสาํ รวจขอมลู ของกสกิ ร 190 ราย ทีอ่ ําเภอฮอด จอมทอง สนั ปาตอง สันทราย แมรมิ ฝาง ของจงั หวัดเชียงใหม ที่อาํ เภอแมส ะเรียง จงั หวัดแมฮ องสอน และอาํ เภอเมือง จงั หวดั ลาํ ปาง โดยนาย ศราวธุ เลาหะวสิ ุทธิ์ พ.ศ. 2528 เปรียบเทยี บขอ มลู ของกสกิ รทปี่ ลกู มะเขือเทศในฤดหู นาว ฤดูรอนและฤดูฝน พบวาการปลูกในฤดูรอ นและฤดูฝนตน ทุนสงู กวาในฤดู หนาวมาก ตน ทุน 14,361.89 บาท 16,622.26 บาท และ 3,765.46 บาท ตามลําดบั (ตารางท่ี 4-2) แตผ ลผลติ ตอไรใ นฤดูรอนและฤดูฝนสงู กวา ฤดูหนาว เพราะปลกู บนภเู ขาท่เี วลาการเกบ็ เกี่ยว ยาวกวาฤดูหนาว ผลผลิตเฉลยี่ 4,023 ก.ก. 4,872 กก.และ 2,879 ก.ก.ตอไร ตามลําดับ เมื่อขาย ผลผลติ และหักคา ใชจ ายแลว ฤดูฝน ใหกําไรสทุ ธมิ ากที่สุด รองลงไปไดแก ฤดรู อ น สวนฤดหู นาว นัน้ ขาดทุน เมอื่ พจิ ารณาตามกาํ ไรสุทธิแลว การปลูกในฤดหู นาวไมควรทําอยางย่ิง แตกย็ ังมกี สกิ ร จํานวนมากยังปลกู อยู ท้ังนี้เนอื่ งจากคา ใชจ ายทีเ่ ปน ตนทนุ การผลติ น้นั คาํ นวนจากคา วสั ดอุ ุปกรณ การเกษตร คา แรงงาน คา ภาษที ี่ดิน คาเส่อื มราคาของอปุ กรณการเกษตรและดอกเบยี้ ซงึ่ กสกิ รไม ไดจ ายเปนเงนิ สดท้ังหมด ซ่ึงดเู หมอื นวามเี งนิ เหลือจากการขายผลมะเขอื เทศฤดูหนาวและกสิกรก็ ไมมีทางเลือกพืชอ่นื ท่ีดกี วา นี้ จึงยังมกี ารปลกู มะเขอื เทศฤดหู นาว สวนการปลูกในฤดรู อนและฤดู ฝนมคี วามจาํ กดั ในเรอ่ื งพ้ืนทป่ี ลกู ระยะทางท่หี างไกลการคมนาคมทีไ่ มสดวกทาํ ใหก สิกรสวนใหญ ไมนยิ มทํา ตารางที่ 4-2 อัตราผลตอบแทนจากการปลูกมะเขอื เทศฤดูหนาว ฤดูรอนและฤดฝู น ในภาคเหนอื พ.ศ. 2526-27 ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- รายการ ฤดหู นาว ฤดูรอ น ฤดูฝน ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ตนทนุ การปลูก (บาท/ไร) 3,765.46 14,361.89 16,622.26 ผลผลติ ตอ ไร (ก.ก.) 2,879.00 4,023.00 4,872.00 ราคาทีก่ สกิ รขายได (บาท/ก.ก.) 1.16 3.95 5.87 กาํ ไร (ขาดทนุ ) สุทธิ (บาท) (425.82) 1,528.96 11,976.38

6 ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- การเพาะกลา การปลูกและเกบ็ เกีย่ วมะเขือเทศสด ก. การเพาะกลา มะเขือเทศ การเพาะกลามะเขือเทศมวี ิธีการเพาะหลายแบบ เชน เพาะเมล็ดในแปลงทเ่ี ตรียม ดนิ ไวเ รียบรอยและยา ยกลาหลงั จากเพาะแลว 25 วนั หรอื เพาะเมล็ดในกะบะเพาะชํา เมอ่ื กลามี ใบจรงิ โผลข น้ึ มากย็ า ยกลาลงถุงเพาะชําหรือยา ยลงในแปลงเพาะ วธิ กี ารเพาะเมล็ดในแปลงเพาะ แลวยายหลงั จากเพาะแลว 25 วัน นยิ มใชส าํ หรบั การเตรียมกลามะเขอื เทศเพอ่ื การปลูกในพื้นท่ี กวาง และเปนการคา เนอ่ื งจากวิธีน้ใี ชต นทุนนอ ยกวาวธิ ีการอน่ื สวนการเพาะเมลด็ ในกะบะเพาะ ชาํ แลว ยา ยกลาเลก็ ๆลงถงุ เพาะชาํ หรือในแปลงใชส ําหรับงานวิจยั หรอื งานทดสอบทตี่ อ งการความ ปราณตี โดยไมตอ งคาํ นงึ ถึงตน ทนุ หรือเมลด็ พันธุม นี อยหายาก จําเปนตอ งใหไดจ ํานวนกลา มากที่ สดุ วิธีนีไ้ มเ ปลอื งเมล็ดเหมอื นวิธีการแรก วิธแี รกตอ งใชเ มลด็ ประมาณ 40 กรัม/ไร สว นวิธหี ลงั ใช เมล็ดเพยี ง 20 กรมั /ไร เมลด็ มะเขือเทศ 1 กรมั จะมีปรมิ าณ 200-300 เมล็ด ข. การเตรยี มดนิ เพาะชาํ การเตรียมดินเพาะชําทําไดโดยเตรียมดินดํา ปุยคอกเกา หรอื ปุยหมัก เกา ขี้เถา แกลบอยางละเทาๆ กันมาผสมกัน รอนดนิ ผสมเอาเศษวสั ดแุ ละกอนดินใหญๆ ท้งิ รอนโดยใชต ะแกรงรอ นทรายขนาดรูใหญใสป ยุ 0-46-0 อตั รา 1 กํามอื ตอดนิ ผสม 3 ปบ ดนิ เพาะ ชาํ น้ีเตรียมสําหรับใสใ นกะบะเพาะชํา หรือถุงเพาะชําขนาด 2.5 x 4 นิ้ว เจาะรูขางถุงใหร ะบายนาํ้ ได กรณที ีเ่ พาะในแปลงตอ งไถแปลงและข้ึนแปลงอยา งดไี มใ หม ีดนิ กอ นใหญๆ เหลือบนหนาแปลง เพาะ ผสมปยุ คอกและปุย 0-46-0 ลงคลกุ กับดนิ หนา แปลง ปยุ คอกใชอัตรา 1 บุง ก๋ีตอแปลงเพาะ ขนาด 1 x 5 เมตร และปยุ 0-46-0 ประมาณ 4 กาํ มือ หวา นและคลกุ กบั ดนิ ในแปลงเพาะชํา เมอื่ เตรยี มดินเสร็จ อบดนิ ดวยแมททิลโบรไมด 1 คนื การอบตอ งใชพ ลาสตกิ คลมุ แปลงหรอื ถุงดิน หรือกะบะเพาะ โดยรอบขอบปลาสติกใชดินถมกดใหแ นนอยาใหก าซรว่ั เจาะ กระปอ งแมททิวโบรไมดภ ายใตป ลาสตกิ ทง้ิ ไว 1 คนื หลงั จากเปด ปลาสตกิ แลว ทิง้ ไว 3-7 วนั จึงจะ ใชไ ด ถาใชก อนทกี่ า ซระเหยหมด ตนกลาจะงอกผิดปกตแิ ละอัตราการงอกตํ่า ค. การเพาะเมล็ดมะเขอื เทศ เพาะเมลด็ ลงในแปลงหรือในกะบะกอ นเพาะควรคลุกเมลด็ ดว ยยารโิ ดมิล ถา เพาะในแปลงควรเพาะเปน หลมุ หางกนั 10 x 10 ซ.ม. หยอดเมล็ดหลมุ ละ 4-5 เมล็ด เมือ่ ตน กลา งอกคอยถอนออกใหเหลอื 1 ตน หากเพาะในกะบะเพาะเปน แถวหา งกนั 5 ซ.ม. ระยะแรกตอ งใช

7 ตาขายครอบตน กลาทัง้ ในแปลงและในกะบะเพอ่ื ปอ งกนั แสงแดดจัด ฝนและนาํ้ คาง เมือ่ กลา โต ขึ้นคอ ยรือ้ ตาขา ยออก ง. การดูแลรักษาตน กลา รดน้าํ สม่ําเสมอเวลาเชา และเยน็ ฉีดยาฆาแมลงและยาฆาเชือ้ ราทกุ 5 วัน ใน อัตราที่เขียนไวบนฉลาก ใชต าขา ยคลุมตนกลา ในระยะ 2 อาทติ ยแรก หลังจากน้ันรื้อออกใหไ ดร ับ แสงแดดเต็มที่ กลา มอี ายุได 25 วนั ยา ยลงปลูกได ถาหากมีความจําเปนตองท้ิงกลา ไวในแปลง อาจชะลอการลงปลกู ไดโดยใชป ุยโปแตสเซ่ยี มในอตั รา 1 ชอ นโตะ ตอ นํ้า 20 ลิตรฉีด ถาหาก ตองการเรง ตนกลา ใหเจรญิ มากขน้ึ ใชปุยไนโตรเจน 46-0-0 อัตรา 1 ชอ นโตะ ตอน้ํา 20 ลิตรฉีด จ. การปลูกและดแู ลรักษา เตรยี มแปลงปลกู มะเขอื เทศ อาจปลูกแปลงเดย่ี วหรอื ปลูกแปลงคูก ็ได กสิกรนยิ ม ปลูกแปลงคสู ําหรับการผลติ มะเขือเทศสด แตก ารปลูกแปลงเดย่ี วก็มีความสะดวกในการจดั การ และการใหน ้าํ ขนาดแปลงเดย่ี ว 75 ซ.ม. ขนาดแปลงคู 1.5 เมตร ควรไถดนิ และตากดินกอ นปลกู ใสปนู ขาวในอตั รา 100 ก.ก./ไร เมือ่ ข้นึ แปลงแลว ใสป ุย 15-15-15 ประมาณ 1 ชอนโตะ (15 กรัม) รองกน หลมุ ใสยาฆา แมลงฟูราดาน 30-40 เกล็ดรองกน หลมุ รายละเอียดของการปฏิบตั ดิ ูจาก ตารางที่ 4-3 มคี วามแตกตา งเฉพาะปุยท่ี ใชร ะยะปลกู 40 x 75 ซ.ม.ใหน้าํ ตามรอ งสมา่ํ เสมอ เรง ปยุ ไนโตรเจน 46-0-0 ทกุ สองอาทิตย ในอัตรา 1 ชอ นโตะ ตอตน ประมาณ 3 ครง้ั ใชยาฆาแมลง และยาฆา เชื้อราฉดี ทุกๆ 5-7 วนั ตดิ ตอ กันจนกระทงั่ ผลใกลจะสุก งดการฉีดยา 15 วันกอ นเก็บผล ฉ. การเก็บเก่ยี วมะเขือเทศสด การเกบ็ ผลมะเขือเทศสดมักเก็บผลทมี่ สี ีเปลี่ยนจากสีเขยี วเปน สีขาวปนชมภู สาํ หรบั การสง ตลาดสด เพื่อปองกันการชอกชาํ้ สญู เสียเน่ืองจากการขนสง เมื่อเก็บแลว บรรจเุ ขง หรือตะกรา ไมไผ สาํ หรับการสง โรงงานจะเกบ็ สกุ แดงแลวบรรจลุ ังไมห รือตะกราปลาสติกสง โรงงาน การเกบ็ ผลอาทิตยล ะครง้ั จนกวา จะหมด การผลติ เมลด็ พันธมุ ะเขือเทศ การผลิตเมลด็ พันธุมะเขอื เทศในประเทศไทยมเี ฉพาะการผลิตเมล็ดลูกผสมเทา นัน้ สว นการผลติ เมลด็ พันธุแทยังไมไดความนิยมจงึ ไมมกี ารผลติ พันธแุ ทเลย การผลติ เมลด็ พันธุ ลูกผสมเร่ิมครง้ั แรกในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื หรอื อสิ าน ตั้งแตป ระมาณ พ.ศ. 2528 โดยมบี รษิ ัท เมล็ดพนั ธุจ ากประเทศสหรฐั อเมริการว มกับบรษิ ัทอดมั สอ นิ เตอรเ นชัน่ แนลจาํ กดั ทาํ การทดลอง ผลิตเมลด็ พนั ธุมะเขอื เทศลกู ผสมที่จงั หวัดขอนแกน จังหวัดเชียงใหมและจงั หวดั เชียงราย ซ่ึง

8 ปรากฏผลวาการผลติ ทจ่ี ังหวดั ขอนแกนดที สี่ ดุ การผลิตในภาคเหนอื เชน จังหวัดเชยี งใหม อาํ เภอ ฝางและจงั หวัดเชียงรายมีปญหาโรคทางใบมาก การผลติ เมลด็ พันธุจงึ ไดถูกเผยแพรไ ปยงั กสิกรใน ภาคอสิ านและไดร บั ความนิยมเปน อยางมากตัง้ แตตอนนัน้ จนถึงปจจุบนั น้ี กสกิ รนิยมผลติ เมลด็ พันธมุ ะเขือเทศเนอื่ งจากผลตอบแทนสูงกวา การปลกู พชื อ่นื มาก ในปจ จบุ ันน้มี บี ริษทั ตา งๆทที่ าํ การผลติ เมล็ดพันธุล ูกผสมมะเขอื เทศในภาคตะวันออกเฉียงเหนอื จาํ นวนมากไมตาํ่ กวา 10 บริษทั การผลิตกระจายอยูบ รเิ วณจังหวัดขอนแกน กาฬสินธุ สกลนครและอุดรธานี การผลติ เมลด็ พันธมุ ะเขือเทศในภาคอนื่ ๆมีบาง เชน ในภาคเหนอื มีบางบรษิ ัททาํ การผลิตในจังหวัดเชียงใหม ลาํ พูน ลําปางและนา น การผลติ ไดผ ลดีพอใช แตสภู าคอิสานไมได ในเร่ืองผลผลติ เมล็ดพนั ธตุ อพนื้ ที่ โรคใบไหม (late blight) ซ่งึ มีมากกวาภาคอสิ าน และโรคทาง ใบอ่ืนๆและแรงงานทีค่ อนขา งมจี ํากดั ประกอบกบั ความอดทนของกสิกรมนี อยกวา ทางภาคอิสาน และมีโอกาสเลือกงานมากกวาเชน การแกะสลักไม การทาํ งานในโรงงานอุตสาหกรรมและการ ทอผาพ้นื เมอื ง สิง่ เหลา น้ีทาํ ใหความสนใจในการผลิตเมล็ดพันธนุ อ ยลง ความตอ งการเมลด็ พันธมุ ะเขือเทศในตา งประเทศในปจ จุบันน้ีลดลงมากจนแทบ ไมม ีการผลติ เลยยกเวน บางบริษทั ท่ยี งั คงมีโควตา เมล็ดพนั ธทุ ตี่ า งประเทศสงั่ มา ทัง้ นี้เนือ่ งจาก เศรษฐกจิ ของประเทศสหรัฐอเมรกิ าและยโุ รปซง่ึ เปน ตลาดสาํ คญั ของสนิ คาชนิดนไ้ี ดรับความ กระทบกระเทอื นอยา งมาก ความตอ งการเร่ิมลดลงต้งั แต พ.ศ.2534 ผลผลติ มะเขือเทศขายไม ออกเพราะผบู รโิ ภคลดลงทําใหเมลด็ พนั ธขุ ายไมได ประกอบกับแหลงผลติ เมล็ดพันธุจาก ประเทศอื่น เชน ประเทศจีน ประเทศอินเดยี และประเทศเวยี ตนาม ไดเขา มาแขง ขนั กับประเทศ ไทย จึงทําใหก ารผลติ เบนทศิ ทางไปตางประเทศหมดเพราะแรงงานของประเทศเหลาน้ันถกู กวา และสภาพของอณุ หภูมิและภมู อิ ากาศบางแหงเหมาะสมตอ พนั ธมุ ะเขอื เทศมากกวา ประเทศไทย เหตกุ ารณเ ชน นี้ไดเ คยเกดิ ขึน้ ในประเทศไตหวันมากอ น กอนท่กี ารผลิตเมล็ดพนั ธจุ ะยายมาใน ประเทศไทยในขณะน้ไี ดเบนทศิ ทางการผลติ ไปประเทศอนื่ จนกวาจะมีความผันผวนในการเมอื งที่ เกดิ ขนึ้ ระหวา งประเทศผูซ ้ือและประเทศอนื่ ทกี่ ลาวถึง จงึ จะทําใหไมสามารถผลติ ในประเทศเหลา นน้ั และเมล็ดพนั ธถุ กู นาํ กลบั มาผลติ ในประเทศไทยตามเดมิ ยกตัวอยา งเชน การเกิดกรณีสังหาร ประชาชนในประเทศจีนที่เทยี นอันเหมนิ ไดกระตนุ การผลติ เมลด็ พันธใุ นประเทศไทยใหมากขึ้น ระยะหน่ึง แหลงผลิตเมลด็ พนั ธุมะเขือเทศ ดงั ท่ไี ดก ลา วมาแลว วาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ผลติ มากท่สี ดุ และภาคเหนอื รอง ลงมา ทงั้ หมดมเี พียงสองภาคเทาน้ันทผ่ี ลิตเมล็ดพนั ธุลูกผสมมะเขือเทศเพอ่ื การสงออกทง้ั หมด สว นการผลิตเมล็ดพันธมุ ะเขือเทศพน้ื เมืองเชน พนั ธุสดี า และพนั ธมุ ะเขือเทศพนื้ เมอื ง เมล็ดพนั ธุ

9 มะเขือเทศทนรอ น เชน L22 SVRDC4 มีการผลติ ประปรายทกุ ภาคแตเ ปนจาํ นวนเล็กนอยเพื่อใช ในทองทเี่ ทา น้ัน ฤดกู าลผลิตเมล็ดพนั ธมุ ะเขือเทศ ทาํ การผลิตไดเฉพาะในฤดูหนาวเทา นั้น สวนฤดอู ืน่ ทาํ ไมไดเลยเพราะผลผลิต เมล็ดพันธุตา่ํ มวี นั ปลูกทีเ่ หมาะสมสาํ หรบั ภาคเหนือที่ผูเขียนไดทดลองแลว 10 พฤศจิกายนเปน วนั ปลกู ทเี่ หมาะสมท่ีสุด ดรู ายละเอียดการทดลองที่จะพดู ถึงในตอนตอไป และจากประสพการณ ของผเู ขียน การยายปลกู ตงั้ แต 10-30 พฤศจกิ ายน เหมาะสมทีส่ ุด ไมค วรปลกู ชา กวานีส้ ําหรบั ภาค เหนือ สว นภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือปลูกเร็วกวาภาคเหนือประมาณเดอื นตุลาคม การปฏิบัตใิ นการปลูกเพือ่ ผลติ เมลด็ พันธุ การปลูกมะเขือเทศเพ่อื ผลติ ผลสดและพันธลุ กู ผสมเพอื่ ผลิตเมลด็ พันธุ ใชว ธิ ีการ ปลกู และดแู ลเหมอื นกนั และวธิ กี ารเหลา นี้ก็ใชในการปลูกพอและแมพ ันธุเพือ่ ผลผลิตเมลด็ พนั ธุ ลูกผสมดว ย แตก ารดูแลและวธิ ีการปฏบิ ัติตอ การผลิตเมลด็ พนั ธุน ัน้ ตองการความรูความชํานาญ และเนนหนักในการปฏบิ ตั ิมากกวา การปลูกเพ่อื ผลติ ผลมะเขอื เทศจําหนาย การปลกู พนั ธแุ ทแ ละ พนั ธุล กู ผสมเพอื่ ผลสดน้นั ไมต อ งการการดูแลเอาใจใสและเทคโนโลยมี ากเทากบั การผลติ เพ่ือเมลด็ พันธุ ดงั นนั้ จึงขอกลาวเฉพาะการปฏบิ ตั แิ ละดแู ลมะเขือเทศเพือ่ ผลติ เมล็ดพันธุ ใชไดผ ลในการ ปฏบิ ตั งิ านจริงของบรษิ ัทแหง หน่งึ (ตารางที่ 4-3) วนั ปลูกที่เหมาะสมมีความสําคัญมากสําหรับการปลกู เพอ่ื ผลิตเมล็ดพนั ธุ แต สําหรับการผลติ เพ่อื ผลสดนั้นวันปลูกไมค อ ยสาํ คญั นัก แตอ ยา งไรก็ดีฤดูหนาวเปนฤดูทีเ่ หมาะสม ท่สี ุด จากการทดลองวนั ปลกู ท่เี หมาะสมท่ีผเู ขยี นไดทดลอง ณ มหาวิทยาลัยเชียงใหม โดย ทดลองปลูกวันที่ 10 พฤศจิกายน 30 พฤศจิกายน และ 20 ธนั วาคม พบวา การปลูกวนั ที่ 10 พฤศจิกายน ใหผ ลผลิตเมล็ดพันธแุ ละผลสดสงู ทส่ี ดุ ตารางที่ 4-4 การปลกู วันท่ี 30 พฤศจกิ ายน ทาํ ใหผ ลผลิตทั้งเมลด็ พันธุและผลสดลดลง เนื่องจากมโี อกาสไดรับความรอ นในเดือนกุมภาพนั ธ จึงไมค วรปลกู มะเขอื เทศชากวา วนั ที่ 30 พฤศจกิ ายน เพราะผลผลติ ของวนั ปลกู ท่ี 20 ธันวาคม ลดตาํ่ ลงมาก ตารางที่ 4-3 การปฏบิ ัตแิ ละดูแลมะเขือเทศเพื่อผลติ เมลด็ พันธุลูกผสม ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- วนั ที่ – โปรแกรมการทํางาน ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1 –เตรียมแปลงปลูกใสปุย 15-15-15 1 ชอนแกง คารโบฟรู านปลายดามชอนรองกนหลุม

10 5 –ใสน้าํ กอนปลกู 1 คนื อยาใหนา้ํ ทวมแปลง 6 –ปลกู ระยะระหวา งตน 40 ซม. ระยะระหวางแถว 75 ซม. ปลกู ตน ตัวผูกอ นตนตวั เมีย ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- วนั ท่ี – โปรแกรมการทํางาน ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- –10 วัน 14 –ใสป ุยครัง้ ท่ี 2 ปยุ 15-15-15 คร่งึ ชอนโตะ ตอ ตน 16 –พน ยาแมนโคเซบ 2 ชอ นแกง+เมวินฟอส 1 ชอ นแกง+ยาเปย กใบ 1 ชอ นแกงตอนา้ํ –20 ลิตร (ชอ นทีใ่ หม ากบั ขวดยาเปน ชอ นแกง) 17 –แตง หนอ ตน ตัวเมยี เดด็ หนอ ลางสดุ ข้นึ มาใหเหลอื 3-4 หนอ ตอตน 19 –ทําคา งมัดตนตัวเมีย 20 –พน ยาคอปเปอร 2 ชอ น + ยาเปยกใบ 1 ชอน ตอนํ้า 20 ลิตร 23 –พนยาเมวนิ ฟอส 1 ชอ น + แมนโคเซบ 2 ชอน + ยาเปย กใบ 1 ชอ นตอ นาํ้ 20 ลติ ร 24 –เด็ดดอกชอ แรกทง้ิ ทดลองตอนดอกตัวเมีย 27 –พนยาคอปเปอร 2 ชอ น + ยาเปย กใบ 1 ชอน ตอ นาํ้ 20 ลิตร 28 –ใสปุย 13-13-21 อตั ราคร่ึงชอนตอ ตน ใสขางแปลงหา งตน 1 คบื 29 –เร่ิมตอนดอกทกุ วัน ตอนเฉพาะ 3-5 ดอกแรกของชอท่เี หลือเด็ดทง้ิ 30 –เรม่ิ ผสมเกสรทุกวนั ตดั กลีบเลี้ยง 2 กลีบ, พน ยาแมนโคเซบ 2 ชอน, + เมทโทมิล –1 ชอน + ยาเปยกใบ 1 ชอ น ตอนา้ํ 20 ลติ ร 34 –พน ยาคอปเปอร 2 ชอ น + ยาเปย กใบ 1 ชอ น ตอ นาํ้ 20 ลติ ร 37 –พน ยาแมนโคเซบ 2 ชอน + เมทโทมลิ 1 ชอน + ยาเปย กใบ 1 ชอ นตอ น้ํา 20 ลิตร 41 –พนยาคอปเปอร 2 ชอน + ยาเปยกใบ 1 ชอ น ตอ นา้ํ 20 ลติ ร 44 –พน ยาคอปเปอร 2 ชอ น + เมทโทมิล 1 ชอน + ยาเปยกใบ 1 ชอ น ตอนาํ้ 20 ลติ ร 48 –ใสปุย 13-13-21 อัตราคร่งึ ซอ นโตะตอตน ใสขางแปลงหางตน 1 คบื 50 –พน ยาคอปเปอร 2 ชอน + ยาเปย กใบ 1 ชอ น ตอนา้ํ 20 ลติ ร 53 –หยุดผสมเกสร ตรวจสอบ ดอกท่อี อกมาใหม ทําลายทิ้งทุกดอก 54 –พน ยาแมนโคเซบ 2 ชอน + เมทโทมิล 1 ชอ น + ยาเปย กใบ 1 ชอนตอน้าํ 20 ลิตร 55 –ตัดยอดและหนอเกิดใหมท ง้ิ 57 –พน ยาคอปเปอร 2 ชอน + ยาเปย กใบ 1 ชอน ตอ นํ้า 20 ลิตร 61 –เช็คผลและดอกท่ไี มไ ดผ สม ทาํ ลายใหห มด พน ยาแมนโคเซบ 2 ชอน + เมทโทมิล – 1 ชอ น + ยาเปย กใบ 1 ชอน ตอ น้ํา 20 ลิตร

11 62 –เริ่มเก็บผลสุกผา และหมกั เมลด็ ในถังพลาสตกิ 1 คืน ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- วนั ที่ – โปรแกรมการทํางาน ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 63 –ลา งเมลด็ ตอนเชา ตากแดด 2 แดด (ตากบนตาขายสีฟา ) เกบ็ เมลด็ ใสถ ุงพลาสติก –เอาลมออกใหห มด มัดปากถุงใหแนน เก็บไวในทีเ่ ยน็ 64 –พนยาคอปเปอร 2 ชอน + เมทโทมลิ 1 ชอ น + ยาเปย กใบ 1 ชอน ตอน้าํ 20 ลติ ร * การเกบ็ เกสร (เช้ือผสม) เพ่อื ใหมเี มลด็ ตอผลมาก ตอ งเก็บในถงั ปูนและอยใู นท่ีรม * การใชยาฆา เชื้อรา และฆา แมลงในการผลติ เพ่อื เมลด็ พันธมุ ีการใชมากเพราะไมตอ งคาํ นงึ ถงึ พิษตกคางในผลสด แตถาเปนการผลิตเพ่ือบริโภคผลสด ควรลดการใชย าลงครงึ่ หน่ึง และไมควรพน ยากอนเกบ็ เกยี่ วผลสดประมาณ 2-3 อาทติ ย - แมนโคเซบ (mancozeb) ยาฆาเช้ือรา เชน เทนเอ็ม 45 - คอปเปอร (copper) ยาฆาเชือ้ รา เชน โคไซด - เมวนิ ฟอส (mevinphos) ยาฆาแมลง เชน ฟอสดอล - เมทโทมิล (methomyl) ยาฆาแมลง เชน สกาย - คารโบฟูราน (carbofuran) ยาฆา แมลง เชน ฟรู าดาน ตารางที่ 4-4 นาํ้ หนกั ผลสด นาํ้ หนกั เฉล่ียผลสด จาํ นวนเมล็ดตอผล และนา้ํ หนักเมลด็ มะเขือเทศท่ี ไดจากการปลกู เวลาตา งๆ กัน ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- วันปลูก น.น.ผลสด น.น.ผล จาํ นวนเมลด็ /ผล น.น.เมลด็ (ตัน/ไร) (กรัม/ผล) (ก.ก./ไร) ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 10 พ.ย. 12.4 125 120 29.2 30 พ.ย. 6.8 105 104 17.4 20 ธ.ค. 2.6 39 111 9.6

12 VEG421l4.02 การปลูกและดูแลรักษาพรกิ เพ่ือผลสดและผลแหง การปลกู และดแู ลรกั ษาพรกิ เพอื่ ผลสดและผลแหง เปนวิธกี ารที่ไมพิถีพิถัน และ ละเอยี ดเหมือนการปลกู เพอื่ ผลติ เมลด็ พันธุ พรกิ อาจปลูกโดยใชเมล็ดหยอดลงในหลุมปลกู โดยตรง หรอื โดยการยายกลา ทําไดท ง้ั 2 แบบ แตค วามนยิ มปลกู แบบยา ยกลา มมี ากกวา เพราะการดแู ล รกั ษาตน กลาทาํ ไดง ายและใชพ้ืนที่เพยี งเลก็ นอย ไมเปลอื งเมล็ดพันธุ และยาฆาแมลง เมอ่ื ยา ยกลาลงแปลงแลว กต็ อ งดูแลรักษา โรค แมลง วัชชพชื ปยุ การใหน้ําใหถูกตอ ง ผลผลติ ของ พรกิ ทไี่ ดจ งึ จะมคี ุณภาพดี และมีปรมิ าณมาก ดงั นนั้ ข้ันตอนการปลกู จึงแบง ไดดังน้ี ก. การเตรียมเมล็ด ข. การเตรยี มแปลงเพาะกลา ค. การเพาะกลา และการดแู ลรักษาตน กลา ง. การเตรียมแปลงปลูก จ. การยา ยกลาและการดูแลรักษา ฉ. การเก็บเก่ยี วผลสด และกระเทาะเมล็ด ช. การจดั มาตรฐานผลสด ญ. การตลาด ณ. การแปรรปู และวิธีการแปรรปู ก. การเตรยี มเมลด็ ควรใชเมล็ดพนั ธทุ ่ีดี มเี ปอรเ ซนตความงอกสูง มลี กั ษณะตรงตามพนั ธุ อาจเปน เมลด็ ทีไ่ ดจากการคดั เลอื กตนทด่ี ี หรอื เปน เมลด็ ทซ่ี ือ้ มาจากรานขายเมลด็ พันธุ นําเมลด็ บรรจุใน ถงุ พลาสติกที่เจาะรไู วเพื่อใหนํา้ ซมึ เขา ได แชถงุ เมล็ดพนั ธลุ งในน้ําซ่ึงมสี วนผสมของสารเคมปี อ ง กันเชื้อรา เชน ไดเทนเอม็ 45 หรือ รดิ โดมลิ หรือเบนเลท ควรแชไ วหน่ึงคนื นําเมล็ดออกจากถงุ หอ เมล็ดไวในถุงผาท่เี ปยกนาํ้ ทง้ิ ไวประมาณ 2 วัน จะสงั เกตเห็นตุมสีขาวเล็กๆ จึงนาํ ไปเพาะถา หาก เปนการหยอดเมล็ดลงหลุมปลูกโดยตรงอาจจะแชเ มลด็ ดงั ทกี่ ลาวมาแลว หรือไมแชเ มลด็ ก็ได ข. การเตรียมแปลงเพาะกลา แปลงเพาะกลา มักถูกเตรียมข้ึนใกลๆ แปลงปลกู เพื่อความสะดวกในการขนยาย กลา ควรเลอื กบริเวณทเี่ นนิ ท่นี ํา้ ไมข ังโดยเฉพาะในฤดฝู น คลุกปยุ คอก และข้ีเถา แกลบลงในดิน แปลงเพาะในอตั ราสว นที่สมควรเพ่ือใหแปลงเพาะมดี นิ รวนซยุ อตั ราสวนท่ีใชแลว แตส ภาพดนิ ใน

13 แปลง โดยปกติจะใชอ ัตราสว น ปุย คอก ขเี้ ถาแกลบ และดนิ ในอัตรา 1:1:1 ควรหวานปุย N-P-K เลก็ นอ ย ผสมลงในดนิ แปลงเพาะคลกุ เคลาใหท ัว่ ถงึ ดนิ แปลงเพาะทีก่ สิกรเตรียมมกั ไมใ ชการ อบดนิ ดวยแมททลิ โบรไมด แตก ารอบนห้ี ากทาํ ไดกไ็ มส้นิ เปลอื งมากนกั และยงั แกป ญหาแมลง และวัชชพืช ทเ่ี กดิ ในแปลงกลาไดหลายๆ อยา งพรอมกนั เชน ไสเดือนฝอย มด ปลวก ควรเตรียม ฟางขาวสําหรบั คลมุ ตน กลา ไวดวย ค. การเพาะกลา และการดูแลรกั ษาตน กลา หวานเมล็ดทเี่ ตรยี มไวใ นขอ ก. ลงในแปลงใหห างกนั ประมาณ 4 x 5 เซนตเิ มตร เมื่อหวา นแลวใชดนิ กลบบางๆ แลวจึงใชฟ างคลุมหนา แปลง เมลด็ ใชเวลางอกประมาณ 5-7 วนั ควรใชตาขา ยคลมุ แปลงอกี ทีหน่งึ เพื่อปอ งกันฝนตกบนตนกลา โดยตรง ในฤดฝู นมีความจําเปน ตองคลมุ แปลงเพาะกลาดว ยตาขายสีฟาหรอื ฟางขา วมดั เปนแผงโปรง ๆ การคลมุ นที้ ําใน 2 สปั ดาห แรกของการเพาะเทา นัน้ แลวร้อื ออก ใหต น กลา ไดรบั แสงแดดเตม็ ท่ี ดูแลใหนาํ้ ตน กลา สมาํ่ เสมอ รดน้ําตอนเชาและเยน็ ฉดี ยาปอ งกนั แมลงและเชือ้ ราทกุ ๆ อาทิตยจ นกระท่งั ยา ยปลูก กอนยา ย ปลูกตองงดการใหนํา้ ลงเพอ่ื ใหตน กลาชนิ ตอ สภาพแหง ทาํ ใหต นกลา แขง็ แรงและมีความทน ทาน เมื่อกลา มีอายุ 40-45 วัน ก็ยายปลูกได ง. การเตรยี มแปลงปลกู แปลงปลกู พรกิ ตองเลอื กแปลงทีไ่ มม นี ้าํ ขัง ถาหากระบบการใหนํา้ เปนระบบให ตามรอ ง พนื้ ทคี่ วรมีความสม่าํ เสมอ พรกิ ไมช อบนา้ํ ขงั ดงั นั้นการเตรียมแปลงก็แลวแตลกั ษณะภมู ิ อากาศ ภมู ิประเทศและการปฏบิ ตั ิในแปลงเชน การปลกู พรกิ ในฤดหู นาวซ่งึ ปลกู ในนา ก็มกี ารไถ และยกรอ ง รองทีย่ กควรมีความยาวขนานทางทศิ เหนือและใต การปลูกลกั ษณะนม้ี ักใหน าํ้ ตาม รอ ง แตบ างทองที่เชนบา นหัวเรือ จงั หวดั อุบลราชธานี การปลูกไมย กรองเลย แตใหน าํ้ แบบฝก บวั รดนํ้า แปลงพรกิ ฤดฝู นจําเปนตอ งยกรอ งเสมอ ระดบั พนื้ ท่อี าจไมเรียบสมํ่าเสมอเหมอื นท่ีนา แต ตอ งมคี วามลาดเท พอสมควรใหน ํ้าระบายได เชน การปลกู พริกแถบอําเภอจอมทอง จงั หวัด เชยี งใหมซ ่ึงอาศัยนาํ้ ฝนเปนหลกั ระยะปลกู ถาเปนพรกิ เล็กใชระยะระหวางแถว 60 เซนติเมตร และระยะระหวา ง ตน 50 เซนตเิ มตร สําหรบั พรกิ ใหญระยะระหวางแถว 100 เซนติเมตร และระยะระหวา งตน 50- 60 เซนตเิ มตร เมือ่ เตรยี มแปลงและขดุ หลุมเรียบรอยแลว ตองรองกนหลุมดวยปยุ คอก หรอื ปยุ หมักในอตั รา 3-4 ตันตอไร หรอื ประมาณหลมุ ละ 1 กิโลกรมั ปยุ คอกอาจเปน ขวี้ ัว ข้ีควาย ขีห้ มู ขีเ้ ปด หรอื ข้ไี กกไ็ ด แตตองเปนปยุ คอกเกา ถาเปนปุย ขีเ้ ปด และข้ไี ก ตอ งลดอัตราการใชปยุ คอกลง

14 ใสป ยุ วิทยาศาสตรส ูตร 15-15-15 อัตรา 50 กโิ ลกรมั ตอไร หรือหลุมละ 15 กรมั (1 ชอนโตะ ) ใส ยาคาโบฟรู านซง่ึ มขี ายในชือ่ ฟูราดานตามอตั ราท่ีระบุไวใ นฉลาก เมอื่ ใสปุยและยาเสร็จแลวคลกุ ดินใหเ ขากัน จึงจะยา ยกลา ลงปลูกได ในกรณีที่ผเู ตรยี มหลุมปลูกเปน แรงงานที่จา งมา มักไมเ อา ใจใสก ารคลุกปยุ และยาในหลมุ ใหด ี ทําใหต นกลา นี้ยายลงถูกปุยและยาอาจทําใหตายได ก็ควร หลีกเล่ียงโดยใสป ยุ วทิ ยาศาสตรแ ละยาคาโบฟูรานลงใกลๆ หลมุ ปลูกหางกนั ประมาณ 5-10 เซนติเมตร คาโบฟรู านชวยควบคุมแมลงและไสเดือนฝอยใหกับกลาพรกิ เปนอยา งดี แตอตั รา การใชควรระมดั ระวงั หากใชอ ัตราสงู เกนิ ไปเพยี งเลก็ นอยตน กลา แสดงอาการขอบใบไหม และใบ เหลือง ตน จะแกรน็ ชงักการเจรญิ เติบโต วธิ กี ารปฏิบัติในแปลงควรใสย าคาโบฟรู านในขวดกาแฟ และเจาะฝาขวดเปน รู ปดฝาขวดใหแ นน โรยยาคาโบฟูรานลงในหลมุ คลา ยใสพรกิ ไทย วิธกี ารนจี้ ะ ชว ยไมใหการใสย ามากเกนิ ไป การใสปูนขาวในแปลงปลูกมักไมคอ ยปฏิบัตบิ อยนักในแปลงเกษตรกร แตควร ใสป นู ขาวในกรณีท่ีดนิ เปน กรดมากๆ การใสป นู ขาวควรใสต้ังแตเ ริ่มไถแปลง จะทาํ ใหปูนขาวคลุก กับดนิ ไดท่ัวถึง จ. การยายกลา และการดูแลรกั ษา เมือ่ กลามีอายุ 40-45 วัน ทําการยา ยปลกู ได วธิ ีการยา ยปลูกทาํ แบบงายๆ โดย รดนํา้ ใหช มุ แลว จึงถอนตน กลาไมตอ งใหตดิ ดิน หากตองการปองกันโรคราก็ชุบรากตนกลา ในน้ําที่ มียาฆาเชอ้ื ราแมนโคเซป (mancozeb) ซง่ึ มขี ายในช่อื ไดเทนเอม็ 45 กอนนําลงปลูกในหลุมที่ เตรียมไว กอ นยา ยกลา ลงหลมุ ควรรดนํ้าในหลุมปลกู ใหชมุ ฉีดยาควบคมุ วัชพืชแลวจงึ ยา ย วิธียา ย ใชน วิ้ จิ้มลงไปในดินแลวปก ตนพริกลงไป ใชม อื กดดินตรงโคนใหแ นนอยาใหตนพริกลม ปลกู หลมุ ละ 2 หรือ 3 ตน แลว แตความพอใจ พรกิ ใหญนยิ มปลกู หลมุ ละ 1-2 ตน สว นพริกเลก็ นยิ มปลูก หลมุ ละ 2-3 ตน การใหน ํา้ ไมม ีกฎเกณฑเ ฉพาะตัว ตอ งดคู วามชมุ ชนื้ ของดนิ และสภาพทดี่ ินเปน หลัก แตควรใหจ นชุมชืน้ ท่ัวถงึ และสม่าํ เสมอ การใหน าํ้ อาจใหประมาณ 10 วันตอครั้ง พริกไม ชอบดนิ ทีม่ ีนา้ํ ขงั หรอื แฉะตลอดเวลา การใหน ้ําอาจใหนํา้ ตามรองหรอื รดดวยฝก บัว สวนกรณพี รกิ ฤดฝู นมักไมม แี หลง น้ําสาํ หรบั รดอาศัยการตกของฝน ดงั น้ันผลผลิตของพรกิ ฤดูฝนก็ข้ึนอยกู ับการ กระจายตัวของฝน และจาํ นวนฝนทตี่ ก หากฝนทงิ้ ชวงกเ็ กดิ ความเสยี หายตอ ผลผลติ ได การใสปยุ นอกจากปุย รองพ้ืนและปยุ คอกท่ใี สแ ลวในกน หลมุ ปลูก เมื่อพริกเริ่ม ออกดอกหรือหลังจากยา ยกลา 30 วนั ใสปยุ 15-15-15 อตั ราประมาณ 50 กิโลกรัมตอ ไร หากใน ระยะแรกตน กลาทย่ี า ยแคระแกร็นกอ็ าจใชปยุ ยูเรยี หรอื แอมโมเนียมไนเตรทเรงการเจริญเตบิ โตได ในอัตราประมาณ 20 กโิ ลกรัมตอ ไร อกี คร้ังหน่ึง

15 การกําจดั วัชพชื น้นั ถามีการฉดี ยาควบคมุ วัชพชื กอ นยายกลากล็ ดแรงงานที่ตอ ง กาํ จัดวชั พืชโดยใชจอบไดมาก การกาํ จัดวชั พืชควรทาํ ในระยะแรกกอ นทใ่ี บและทรงพมุ แผก วาง คลุมดิน ถาทาํ หลังจากนน้ั จอบจะทาํ ความเสยี หายใหก บั รากเพราะรากพริกหากินในระดับผิวดนิ เปนสวนใหญ การถางหญา ดว ยจอบ ควรทาํ ประมาณ 2 ครั้ง หลังยายกลา 30 วัน และ 60 วัน การกําจัดเพล้ยี ไฟ ไรขาว และโรคทางใบทเ่ี กิดจากเช้อื รา ใชสารเคมีแมทโทมิล (methomyl) มขี ายในชอื่ การคาวา เลนเนท และสกายฉีดปอ งกนั และควบคุมเพลี้ยไฟและไรขาว สว นเช้ือราใชสารเคมแี มนโคเซปซง่ึ ใชช ่อื การคาวา ไดเทนเอม็ 45 หรอื พวกคอปเปอร(copper) ใช ชื่อการคาวา โคไซด ฉีดควบคุม การฉีดมกั ทาํ ประมาณ 3 ครง้ั หลงั ยายกลา 30 วนั 60 วนั และ 90 วัน หากตองการใหไดผลดคี วรฉีดสารเคมีเหลา นีท้ กุ ๆ 10-15 วนั แตตน ทนุ การผลิตก็จะสูงข้ึน การปลูกพรกิ ฤดฝู นบางแหงฉีดสารเคมีนอยมากหรอื ไมฉดี เลย เนื่องจากตอ งการลดตนทนุ การ ผลิต ผลสดท่ีไดก็มีความเส่ียงในเรอ่ื งคุณภาพและปริมาณการผลิต การฉดี สารเคมีเหลานี้ควรงด การฉดี พนทกุ ชนดิ กอ นเกบ็ เก่ียว 15-20 วัน เพ่ือไมใ หม ีสารพรกิ ตกคา งในผลพรกิ ตารางการปฏิบัติงานในการปลกู และดูแลตนพรกิ อาจสรปุ ไดดงั ตารางท่ี 18 ดงั นี้ ตารางที่ 4-5 ตารางการปฏิบตั งิ านในการผลติ พริกสด ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- อายพุ ืช การปฏิบตั ิงาน ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 0 - 40 วนั –เพาะกลา 40 - 45 วนั –ยา ยกลาลงปลกู ในแปลง 70 - 75 วัน –ถางหญา ใสป ยุ 15-15-15 หรือ13-13-21 พน สารเคมีปอ งกนั –กาํ จัดเพลยี้ ไฟ ไรขาว และเช้ือรา 100 - 105 วัน –ถางหญา ใสป ยุ 15-15-15 หรือ13-13-21 พนสารเคมปี องกนั –กาํ จัด เพลี้ยไฟไรขาว และเช้อื รา เรมิ่ เก็บเกีย่ วผลสด ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ฉ. การเกบ็ เกีย่ วผลสดและกระเทาะเมลด็ หลังจากยา ยกลาพรกิ ลงแปลงแลวประมาณ 2 เดอื นกวา กเ็ ริ่มเกบ็ เก่ียวผลผลติ พริกสดได แรงงานทใ่ี ชในการเกบ็ เก่ยี วมักเปน แรงงานจาง แรงงานหนึง่ คนจะเก็บพริกได ประมาณ 30-40 กโิ ลกรัม เลือกเก็บผลพรกิ ทแี่ กจ ัดท้งั สีเขียวและสแี ดง โดยไมใหกระทบกระเทอื น ตอยอดดอกและผลออน พรกิ ถูกนาํ ไปแยกเกรดและสีในภายหลัง การเก็บทง้ิ ชวง

16 ประมาณ 10-15 วนั ตอครั้ง หลงั การเก็บเกยี่ วแตล ะครั้งใหพ นปุยทางใบซ่งึ มีจําหนายท่ัวไปใน อตั ราทเี่ ขยี นไวบนฉลาก ในฤดปู ลกู หนง่ึ ๆ เก็บเก่ียวผลพริกประมาณ 4-5 คร้ัง หากตอ งการเก็บผลพรกิ ที่จะนาํ ไปทําเมลด็ พันธุ ตอ งเก็บในแปลงท่มี ตี นพริก ลกั ษณะตรงตามพันธแุ ละเปน พนั ธุเ ดียวกนั ถามตี น ทแ่ี ปลกปลอมในแปลงตอ งคัดท้ิง เนอื่ งจาก พรกิ มีการผสมพนั ธรุ ะหวา งตน ได และเก็บผลทแ่ี ดงแกจดั จากตน ทมี่ ลี กั ษณะทดี่ ี มักเกบ็ ผลทาํ พันธุในครงั้ ที่ 3 ของการเกบ็ ผล นาํ ผลทแี่ ดงแกจดั ไปกระเทาะเมล็ดซง่ึ อาจทาํ ได 2 วธิ ี ไดแ ก แบบ ตากแหง และแบบแชน ํ้า แบบตากแหงกท็ าํ คลา ยๆ การทําพรกิ แหงโดยตากแดดโดยตรงหรอื ใส ถุงผาแลวอบทอ่ี ณุ หภมู ไิ มเกิน 40 ํซ จนกระท่ังผลแหงกรอบ ทบุ ใหเ ปลอื กและเมล็ดแยกออกจาก กนั แลวจงึ ฝดแยกเมลด็ จากเปลือก วธิ กี ารกระเทาะวิธนี ้ีคอ นขางลาํ บากสําหรบั ผูป ฏิบตั เิ พราะฝุน พริกกระจายไปท่วั แตเ มลด็ ที่ไดมีความงอกดี อกี วธิ กี ารหน่ึงไดแ กก ารแชน้ํา ทาํ ไดโดยนาํ ผลที่แดง สุกไปบม ใหนิ่ม เดด็ กานผลออก โขลกดว ยครกจนเมล็ดแยกจากเปลือก วธิ กี ารนีเ้ มล็ดมีโอกาส แตกมากกวาวิธีกระเทาะแบบตากแหง เม่ือโขลกเสร็จนําไปแชน ํา้ เมล็ดดีจมอยกู นอาง เปลือกเนอ้ื และเมล็ดเสียลอยตัวขน้ึ ลางแบบน้ี 2-3 ครัง้ จนไดเ มล็ดทสี่ ะอาด นําไปตากแดดใหแหง แลว จึงฝดทําความสะอาด เมล็ดทไี่ ดก ็นาํ ไปใชเปนเมล็ดพนั ธุ พรกิ ผลสดและผลแหง ออกสูต ลาดจากแหลงตา งๆ ของประเทศเกอื บตลอดทงั้ ป พอจะสรุปไดตามรปู ที่ 4-1 (ขอ มลู ไดจ ากการวบรวมเอกสารตา งๆ) เวลาทแ่ี สดงไวในตารางเปน การกะโดยประมาณเทา นนั้ พริกออกสตู ลาดมากในชว งปลายฤดูฝนและฤดูหนาว ทาํ ใหร าคา พริกในชว งทอ่ี อกสตู ลาดมากมรี าคาตํ่า ราคาของพริกสดมีการเคลอื่ นไหวเร็วกวาราคาพรกิ แหง ตลาดปากคลองตลาดและตลาดส่ีมุมเมอื งรงั สิตเปนทร่ี วมของพรกิ จากแหลง ตางๆทั่วประเทศ และ เปน ทก่ี ําหนดราคาข้นึ ลงของพริกสดและพรกิ แหง ตลาดหวั อิฐที่จงั หวัดนครศรธี รรมราชเปน ตลาด รวมของพริกทส่ี ง ออกไปยังประเทศมาเลเซยี ช. การจัดมาตรฐานผลสด เกษตรกรไมน ิยมคดั เกรดพรกิ มกั ขายพริกคละสี และคุณภาพการคดั ทําโดยพอ คา เปน สวนใหญ ท้งั น้เี พ่ือใหเ หมาะสมตอตลาดทส่ี ง ขาย การคัดเกรดพรกิ สดและพริกแหงจัดแยก ไดดังนี้ (สํานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร 2536)

พริกสด เกรด 1 17 เกรด 2 สแี ดงสดไมม ตี าํ หนิ ผลสวย มกี านตดิ พรกิ พวกน้เี ตรียมสาํ หรับสง ขาย ตา งประเทศ เกรด 3 สแี ดง ชนดิ คละ มตี าํ หนิ เปนโรคกงุ แหงท่ีผลพริกพวกนถ้ี ูกสง ขาย โรงงานทาํ ซอสพริกหรอื พริกแกง โรงงานทาํ พรกิ แหง พริกแหง เกรด 1 สีคละ มีทง้ั สแี ดงและสเี ขียว ไมไ ดค ดั ชนิดใดออกเลย คณุ ภาพคละกัน เกรด 2 มีตาํ หนิและไมม ตี าํ หนิ เกรด 3 สแี ดงสด ไมมีตําหนิ ผิวเรียบ ผลตรง สแี ดง มีตาํ หนิ อาจมีสีแดงคล้าํ ปน ผวิ ยน ผลงอ สแี ดงซดี มีตาํ หนิ ผลหัก อาจมสี ีแดงคลา้ํ และสีดําปน พรกิ พวกนถี้ ูกสง ขายโรงงานทาํ พริกปน รูปท่ี 4-1 ผลผลติ พริกสดและพรกิ แหงที่ออกสตู ลาดในชว งตางๆ จากแหลง ปลูกหลายแหง จงั หวัด เดอื น ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ภาคเหนอื เชียงใหม นครสวรรค เพชรบรู ณ อตุ รดิตถ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ชัยภูมิ นครราชสีมา เลย ศรสี ะเกษ อุบลราชธานี ภาคกลาง พระนครศรีอยุธยา ลพบรุ ี นครปฐม

จังหวัด 18 ภาคตะวนั ออก เดือน จันทบรุ ี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ระยอง ภาคกลาง นครปฐม ภาคตะวนั ตก ประจวบครี ีขันธ ราชบุรี ภาคใต ชุมพร ณ. การตลาด พอ คาคนกลางเปน ผูทําการรวบรวมผลผลติ พรกิ จากแหลงผลิตไปยังตลาดปาก คลองตลาด และตลาดสมี่ ุมเมอื ง มีพอคา หลายระดบั เชน พอคา ทอ งทนี่ ําพริกจากไรเกษตรกรไป ขายยังตลาดภายในจงั หวัดหรอื สงขายใหแ กพอคาทองถนิ่ พอคา ทองถนิ่ รบั ซ้อื และขายตอใหก บั พอคาขายสง ในตัวจังหวัดหรอื ในกรงุ เทพท่ีปากคลองตลาดและตลาดสมี่ ุมเมอื ง พอคา ขายสง ขายใหกับโรงงานแปรรูป และพอคา ขายปลีกแลวจงึ ถงึ ผูบรโิ ภค ดังน้นั การสง ขายพรกิ จาก เกษตรกรถึงมอื ผูบริโภคตองผานพอ คา ระดับตา งๆ 4 กลมุ ดวยกนั จากการสาํ รวจวิถตี ลาดของพรกิ เลก็ และพริกใหญ ของจังหวัดเชยี งใหม พบวา พอ คารวบรวมทอ งท่ีมีบทบาทสาํ คญั ในการรวบรวมพริกรอ ยละ 88.3 ของผลผลติ พริกเล็กสดใน จงั หวดั (สาํ นักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2536) สวนพรกิ ใหญ รอ ยละ 64.6 ถูกรวบรวมโดยพอคา รวมรวมทอ งท่ี พอคา รวบรวมทอ งทขี่ ายใหกับพอคารวบรวมทองถิ่น พริกถูกแปรรูปเปนพริกแหง โดยพอ คา รวบรวมทอ งถนิ่ กอ นสงขายใหพอ คาขายสง ด. การแปรรปู และวธิ ีการแปรรปู พริกสดถกู แปรรูปเพ่อื ทาํ ซอ ส และอาหารรปู ตางๆ โดยโรงงานทําซอส โรงงาน น้ําพริกแกง โรงงานดอง และโรงงานทาํ พรกิ แหง พอคารอซ้ือพริกพวกนี้เม่อื มรี าคาถูกตอน กลางฤดูหรือเขา โรงงานตา งๆ โดยเฉพาะการซอื้ เพอื่ ทาํ พริกแหง ตอ งซ้ือในชวงทีฝ่ นตกนอ ยทาํ ให

19 เปอรเซนตข องนา้ํ ในผลต่าํ และสะดวกในการทาํ พรกิ แหง พรกิ สดประมาณ 3-5 กิโลกรัม ทําพรกิ แหง ได 1 กโิ ลกรัม กรณีการแปรรูปเปนพรกิ แหงน้ี เกษตรกรหลายแหงนิยมแปรรปู เอง และขายให พอคา ในรูปที่แปรแลว พริกใหญข องจังหวดั เชียงใหมบ างสวนถูกแปรรูปเปนพรกิ แหงโดย เกษตรกร การแปรรปู ทําในแหลงปลกู พรกิ โดยมีวิธกี ารงายๆ ดงั น้ี 1. ใชไ มไ ผสานยกพนื้ เรียงพรกิ บนยกพน้ื 2. สมุ ไฟใตยกพน้ื ประมาณ 2 คนื 2 วันติดตอ กัน และพลกิ กลับผลพริกให ใหไ ดร บั ความรอนโดยทว่ั ถึง 3. นาํ ไปตากแดดอกี 3 วัน ตอ งพลกิ กลับผลพรกิ เปนบางครง้ั เพอื่ ใหแหง สนิท 4. บรรจุกระสอบปา นรอพอ คามาซื้อ พรกิ เล็กแปรรปู เปน พรกิ แหงโดยไมใชฟ น แตต ากแดดและพลิกกลบั ผลพริก ประมาณ 4-5 แดด บางจังหวดั เชน จังหวดั นาน นยิ มตากพริกบนหลังคาสังกะสี มองเหน็ เปนสแี ดง ไปทัว่ พอ คา ทอ งถน่ิ ทําการแปรรูปพรกิ แหง โดยวิธีการอบในเตาทีใ่ ชเชอื้ เพลิง เชน ถาน ลิกไนท ซึง่ จะแปรรูปในปรมิ าณครง้ั ละมากๆ พริกทีแ่ ปรรปู สวนใหญเปน พรกิ สแี ดงท่ีมตี าํ หนสิ งขายตลาดสดไมได หรือพรกิ ลน ตลาดสด สว นพรกิ สเี ขยี วที่แปรรปู เปน พรกิ แหงมนี อยมาก เมอ่ื แปรรูปแลวมีสขี าว มีบางกรณี ใชป น ผสมกบั พริกไทยปน เพอื่ ใหราคาพริกไทยถกู ลง วิธีการแปรรปู พริกแหงทีก่ ลาวมาแลว ซ่ึงกระทาํ โดยเกษตรกรและพอ คาไดข าด ขน้ั ตอนการแปรรูปที่ถูกตองตามกรรมวธิ ี วธิ ที ถี่ ูกตอ งน้นั ควรคัดเลอื กพรกิ ท่ีไมม ีตาํ หนิ สแี ดงจดั ทงั้ ผล ลางนํ้าใหสะอาด แชใ นน้ํายาคลอรนี เขม ขน 100 สวนในลา นเพือ่ ฆาเชื้อโรคเปน เวลา 30 นาที แลว ลวกหรอื ตมในนาํ้ เดอื ด 10 นาที จึงนาํ ไปอบท่ีอุณหภมู ิ 50-70 ํซ หนึ่งวันแลวตากแดด ใหแหง หรือใชต ูอบแหง แสงอาทติ ย (วิชัย 2536) เกษตรกรไมอาจทําตามขน้ั ตอนท่ีถกู ตอ งไดเพราะ ตนทุนพริกแหง จะมีราคาสูง

20 การผลิตเมล็ดพนั ธุแ ตงโมลกู ผสม การผลิตเมล็ดพันธุแ ตงโมลูกผสมในประเทศไทย มีการทาํ การผลติ อยางแพร หลายในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ และภาคเหนือ สาํ หรบั ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือมีการผลติ ใน ปริมาณที่มากกวา ภาคเหนอื เมล็ดพันธลุ ูกผสมทผ่ี ลิตไดม ีคุณภาพดี สว นใหญห รอื แทบทั้งหมด เปน เมลด็ พันธทุ ี่ผลิตเพื่อสงจําหนา ยตางประเทศ ประเทศท่ีนาํ ลูกผสมเหลานมี้ าผลิตในประเทศ ไทยไดแ ก ประเทศสหรัฐอเมริกา ยโุ รปและเกาหลี แตเ ดมิ ประเทศไตห วนั เปนแหลงผลิตเมล็ดพนั ธุ ลูกผสมแตงโมและพืชผักอ่นื ๆ แหลงผลิตน้ไี ดเ ปลี่ยนเปน ประเทศไทย เมื่อคา ครองชพี และคาแรง งานของประเทศไตหวนั สูงขึ้น ในปจจบุ นั นีก้ ารผลติ แตงโมลูกผสมในประเทศไทยมีแนวโนม ลด ลงเนือ่ งจากมปี ระเทศคูแขง ที่มคี า ครองชีพและคาแรงงานตาํ่ กวา เชน ประเทศ เวยี ต นาม ประเทศจีน และประเทศอนิ เดีย ถงึ แมว ากสกิ รในประเทศไทยมคี วามตองการผลิตเมล็ด พันธุล กู ผสมเปน อยางมากก็ไมอ าจสกู บั การผลติ ทม่ี ตี นทุนตํา่ ของประเทศเพื่อนบา นได ฤดกู าลผลติ เมล็ดพันธุแ ตงโม เมล็ดพันธุแตงโมผลติ ดีที่สดุ ในฤดูหนาวเร่ิมปลกู ประมาณเดือนธนั วาคมสําหรบั ภาคเหนือ สว นภาคตะวันออกเฉยี งเหนือปลูกกอนเลก็ นอ ย ฤดูหนาวเปน ฤดูที่เหมาะสมในการ ผลติ เมล็ดพันธลุ ูกผสม และพันธุผสมเปดเพราะมอี ากาศแหง ฝนแทบไมมีเลย ทําใหก ารผสม เกสรเปนไปไดอ ยา งดี ถึงแมว าแตงโมเปน พชื ทีช่ อบอากาศรอน แตก ารตดิ ของเมลด็ และการ เจริญของเมลด็ เปนไปไดด ใี นฤดูท่ีอุณหภูมิต่ํา ถาหากอากาศรอนการเจรญิ ของเมลด็ จะไมส มบูรณ ทําใหผ ลผลิตเมลด็ พนั ธตุ าํ่ ในฤดูฝนการผลติ เมลด็ พนั ธุแตงโมกท็ ําได แตผลผลติ เมล็ดพนั ธแุ ละคณุ ภาพของ เมลด็ ไมดเี ทา ฤดหู นาว เร่ิมปลกู ไดประมาณเดือนพฤษภาคมและมถิ นุ ายน ความเสย่ี งทเี่ กิดขึ้นใน ฤดูฝนมมี าก ถาหากฤดใู ดมีฝนตกชกุ มากกวาปกติ หรือมีน้าํ ทว มอาจทาํ ใหไมไดผลผลติ เมล็ดพันธุ เลย จึงไมแ นะนําใหผ ลิตเมล็ดพนั ธแุ ตงโมลกู ผสมในฤดนู ้ี ยกเวน มีความจําเปนจรงิ ๆ การเลอื กพน้ื ที่ผลิตเมล็ดพนั ธุแตงโมลูกผสม การผลิตเมลด็ พันธุแตงโมลูกผสมในฤดหู นาว ควรเลือกพืน้ ท่ีทเี่ ปนนาขาวที่มี การระบายนาํ้ ดี นาขาวหลงั การเก็บเกย่ี วขาวเหมาะสําหรับการผลติ เมลด็ พนั ธแุ ตงโม และพชื ผัก ผสมพันธชุ นดิ อื่น เชน มะเขอื เทศ พริก และแตงกวา เพราะโรคพืชหลายชนดิ ลดปริมาณลง เนอื่ งจากถกู น้าํ ขงั เปนเวลานานในฤดทู ํานา เชน โรคเหี่ยวเฉาอันเนื่องจากเชือ้ แบคทีเรยี และ ไสเ ดอื นฝอย เปนตน

21 สถานท่ผี ลิตเมล็ดพนั ธลุ ูกผสมควรเปน ทีท่ ่หี า งไกลความเจรญิ ไมม โี รงงาน อตุ สาหกรรม อาชีพเสริมมนี อ ย มแี รงงานมากและราคาถูก มแี หลง นาํ้ ธรรมชาตถิ า เปน ไปไดม ี อุณหภูมิตาํ่ ในฤดูปลกู วธิ ีการผลิตเมล็ดพนั ธุแตงโมลูกผสม รายละเอียดเกี่ยวกับการปลกู แตงโมลูกผสมมดี ังนี้ 1. วันปลูก ธันวาคม-กุมภาพนั ธ ดที ่สี ุด 2. วนั เก็บเกี่ยว 75-120 วันแลว แตสายพนั ธุ 3. เมล็ดพันธุพ อและแมทต่ี องใช ตวั เมีย 40-50 กรมั /ไร ตัวผู 10 กรัม/ไร 4. ผลผลิต ประมาณ 60 กก./ไร 5. จํานวน 1,200-1,400 ตน /ไร 6. จาํ นวนผล 2-3 ผลตอตน 7. ระยะปลูก ระยะระหวางตน 50-60 ซม. ระยะระหวา งแถว 75 ซม. ก. การเพาะเมล็ด นําเมลด็ ใสถุงซิป เจาะรใู หทัว่ นําไปแชนา้ํ นาน 4-6 ชั่วโมง จากนั้นนาํ มาสลดั นํ้าออก ใชผา ขนหนูชบุ นํ้าพอหมาดๆ พนั ทบั ไวเปนคๆู เสรจ็ แลว นาํ มาใสถงุ พลาสติก นาํ ไปบม ในตูอ บ หรือไมก ็อาจใชห ลอดไฟกไ็ ด ถา เปน ฤดูหนาวใชหลอดไฟ 40 W ถา เปน ฤดฝู น ใชห ลอด ไฟ 25 W ใสในกลองกระดาษ บม นาน 24 ชว่ั โมง หมนั่ กลบั เมล็ดทกุ ๆ 4 ช่วั โมง พอราก เร่มิ งอก 1/3 ซม. แลวจึงยายลงถุงดินทเ่ี ตรยี มไว ข. การเตรียมถงุ ดนิ ใชด นิ รว น 3 สวน ขีว้ ัวเกา 1 สว น ปุย 46-0-0 หนึ่งกํามือ ผสมทง้ั 3 อยางใหเขากนั แลว กรอกลงในถุงพลาสตกิ ขนาด 3\" x 4\" หรอื 4\" x 4\" เจาะรดู า นขางถุงเพ่อื เปนการระบาย นาํ้ การใสถ งุ ดินตอ งใสใหเ หลือปากถุงไว 1 เซนตเิ มตร กอนยา ยเมล็ดทีง่ อก 1/3 ซม. ลง ถุง ตองรดนํ้าถงุ ดนิ ท่เี รียงเปนระเบียบแลว กอ น 3 ช่ัวโมง จากน้นั นําเมลด็ ท่ีงอกแลวใส ในถวย ควรพรมน้าํ ดว ยกนั รากแหง ใชไ มกดลงไปในถุง แลวนําเมลด็ ดา นรากจมิ้ ลงไป ใช ดินกลบอกี ทีใหเ หลอื ปากถงุ 1/2 ซม. จากนัน้ รดนํ้าหลังยา ยกลา แลวใชต าขา ยสีฟา คลุม แปลง 2-3 ชัน้ ถาเมลด็ งอกใบจรงิ 2 ใบ แตกออกมา ใหร ดปุยยูเรียสูตร 46-0-0 1 ชอ น แกงตอ น้ํา 20 ลิตร หลังรดปยุ ยูเรยี ใหกบั ตนกลาในแตล ะคร้งั ตองรดน้าํ เปลาตามทกุ ครงั้

22 ค. การเตรียมแปลงปลูก ควรเลอื กแปลงปลูกทห่ี า งจากแตงโมพนั ธอุ ่นื ประมาณ 2 กิโลเมตร แปลงปลูกอาจเปนที่ นาหลงั จากเกบ็ เก่ยี วหรือทสี่ าํ หรับปลูกพชื ไร หรือสวนผลไมทต่ี น ไมยังเลก็ เชน สวนลําไย และลิ้นจี่ เปนตน การเตรยี มแปลงปลกู ควรจะกวา ง 5.5 เมตร ระยะระหวางตน ใช 40 ซม. กอ นการยายปลูก ควรรองกนหลุมดว ยข้ีไก หรอื ข้วี ัวเกาๆ 1 ตน/ไร ปยุ 15-15-15 50 กก./ ไร ฟรู าดาน 1 กก./ไร บอแรกซ 1 กก./ไร แตงโมอายุ 10-12 วัน กน็ ําไปปลูกลงแปลงได ตน กลาท่อี อกดอกไมค วรนําไปปลกู (รปู ที่ 4-2) ง. การคลมุ ดนิ ควรใชฟางแหงคลมุ ดนิ เพือ่ ชว ยรกั ษาความชน้ื ในดนิ ชว ยควบคมุ วชั พืชปองกนั อณุ หภมู ิ ไมใ หส งู เกนิ ไป ทั้งยงั ชวยรกั ษาไมใ หผลแตงโมสัมผัสดินโดยตรง ควรคลมุ ฟางใหท ว่ั แปลง เฉพาะแถวทปี่ ลูกแตงโมคลุมแปลงดวยพลาสตกิ สเี งนิ ความกวา งประมาณ 1-1.20 เมตร จ. การใหน ํ้า ควรใหนาํ้ แกด ินใหชมุ ชืน้ อยเู สมอ แตอ ยาใหข งั แฉะ โดยเฉพาะชว งออกดอกติดผล ไม ควรใหนํ้าแบบสปริงเกอร จะทาํ ใหเกดิ โรคทางใบมาก ควรใหน้ําตามรอ งโดยใชกระบวยตกั นํา้ รด อยา ใหใกลโคนตนเกนิ ไป เพราะนํ้าอาจกระแทกถกู ตน แรงเกินไป ทาํ ใหตน ช้ําหกั ได ฉ. การใหปุย 1. หลงั จากยายตน กลาปลูก 5-7 วนั ใหใสปยุ ยเู รีย สตู ร 46-0-0 อตั รา 3-5 กรัม/ ตน โดยเจาะรูขางตน เพ่ือใสป ยุ ลงในรูทีเ่ จาะ 2. หลังยายตน กลา ปลูก 20 วนั ใหใสป ยุ 15-15-15 อตั รา 10 กรมั /ตน 3. หลังจากผลมีขนาดเทาไขไ ก ใหใสปยุ 13-13-21 อตั รา 10 กรัม/ไร ช. การจัดเถา และการตดั แตง หลังจากท่ปี ลกู แตงโมลงในแปลง มใี บจริง 4-5 ใบ ใหเดด็ ยอดทิ้งจดั เถาใหเ หลอื เพียง 4 เถา/ตน ใหร ิดก่ิงแขนงในชว ง 1 ฟตุ จากลําตน เดิม การจดั ทาํ จะทาํ ไดเ มอ่ื แตงโมมเี ถายาว 30-60 ซม. ควรจดั ใหเ ถาเลือ้ ยไปทางเดียวกนั เพ่อื ความเปนระเบยี บเรยี บรอ ย เนื่องจาก แตงโมทีเ่ จรญิ เติบโตตามธรรมชาติ จะมเี ถาพนั กนั แนนไปหมด ดอกก็จะกระจัดกระจาย ไมเปนระเบยี บ ยากแกการผสมเกสร จะทําใหผ ลผลิตตํา่ ควรจะจดั เถาในเวลาตอนบา ย

23 เพราะเถาออนจัดไดงาย ไมควรจดั เถาในเวลาเชาเด็ดขาด เพราะก่งิ อวบนา้ํ หกั เปราะได งาย ด. การผสมเกสร กอ นผสมเกสรตอ งตรวจเช็คตน ตวั ผูและตนตัวเมยี วามีลกั ษณะตรงตามพันธหุ รอื ไมแ ละมี ตนทมี่ ีลักษณะแปลกปลอมปนอยดู ว ยหรอื ไม หากมีกต็ อ งกําจดั ออก ตน ทีแ่ ปลกปลอม น้ันถา ปนอยใู นกลมุ ตนตัวเมยี กส็ ามารถกําจดั เวลาไหนกไ็ ด แมวา จะใกลเ ก็บเกี่ยวผลก็ กาํ จัดไดโดยไมม ปี ญ หา แตถาตนทีแ่ ปลกปลอมปนอยใู นกลุมตนตัวผตู องรีบกําจัดกอนทาํ การผสมเกสร หากไมกาํ จัดจะมปี ญ หาเพราะไมทราบวา ดอกตัวผจู ากตน น้ันนําไปผสม ตวั เมียตน ใด วิธีการปองกันอาจทาํ ไดโ ดยปลูกตนตวั ผขู า งตน ตัวเมยี ในแปลงเดียวกนั และ ใชด อกตัวผูผสมดอกตวั เมยี ในแปลงเดียวกนั เทา น้นั ถา หากมีความผดิ พลาดเกดิ ข้นึ ใน กลมุ ตน ตัวผู กส็ ามารถกําจัดเมล็ดที่ไดจ ากแปลงดังกลา ว แตว ธิ กี ารน้ที าํ ใหเ กดิ ความยงุ ยากในการจดั การ เนอื่ งจากการปฏิบัติในแปลงตอตน ตัวผูและตนตัวเมียนัน้ ตา งกัน ในการปฏิบัติจริงในแปลงปลูกตอ งแยกตนตัวผจู ากตนตวั เมียเพ่ือความสะดวกในการจดั การ การตรวจพอ และแมพันธตุ องใชล กั ษณะของตน ใบ ดอกและผล ประกอบกัน จะใช ลกั ษณะลายทรี่ งั ไขของดอกตวั เมยี เพยี งอยา งเดียวไมไ ดเ พราะลายของผลเปน ลกั ษณะ เดน ขมลกั ษณะผลทีไ่ มม ีลาย ดังนนั้ ลกั ษณะลายของรังไขหรอื ผล อาจเกดิ ไดจ ากยนี ที่ เหมือนกนั (homozygous) และยนี ทแี่ ตกตา งกนั (heterozygous) ยนี ทีแ่ ตกตางกัน ของผลลายจึงไมควรใชเปนพอพันธเุ พราะถาผสมกบั ตวั เมียท่ีมลี กั ษณะยีนผลไมล าย ลูก ผสมท่ีไดจะมีผลลาย และผลไมล ายในอัตรา 1:1 ซึ่งทาํ ใหกสกิ รผูใชเมลด็ ลูกผสมเสอื่ ม ศรทั ธาตอ พนั ธทุ ่ใี ชตน ตัวเมียทต่ี ดิ ผลแรกตามธรรมชาติ ใหเ ดด็ ผลทง้ิ หลังจากเดด็ ทิง้ ดอก ตวั เมยี จะออกใหม ระยะเวลาทงิ้ ชว งของดอกตวั เมยี ของแตงโมใชเวลาประมาณ 5-6 วนั ควรใชด อกตัวเมยี ท่ีขอที่ 4 หรอื 5 เวลาที่เหมาะสมแกก ารผสมพันธไุ ดแก เวลาเชา ประมาณ 08.00-11.00 น. และเวลาบา ย 16.00 น. เปนตนไป ทั้งนเี้ นอ่ื งจากเปอรเซน็ ต การติดผลในชว งเวลาดงั กลาวจะติดผลดกี วา การผสมพันธเุ วลาทอี่ ากาศรอนหรอื มแี สง แดดจดั ผลตดิ ดีทส่ี ดุ ถา ผสมกอ น 09.00 น. หลังจากนน้ั เปอรเซน็ ตการติดผลลดลงและ ไมต ิดผลเลยในชว งบาย การผสมตอนเยน็ จะตดิ ผลไมดีเทาตอนเชา การผสมเกสรดวยมอื มเี ปอรเ ซ็นตการติดผลประมาณ 50% ดังน้นั ตอ งผสมดอกตวั เมยี ประมาณ 4 ดอก เพ่ือใหต ดิ ผล 2 ผลตอ ตน ผลทีต่ ิดควรเปน ผลที่ติดอยูสว นกลางของเถา เถาควรปลอ ยใหเ จริญตามธรรมชาตไิ มตอ งเดด็ ก่งิ แขนง อกี ผลหนงึ่ ของเถาจะอยสู ว น ปลายของเถา ผลนีจ้ ะมขี นาดเลก็ กวาผลทต่ี ิดสวนกลางของเถา ขนาดของผลไมมีความ

24 สัมพนั ธม ากกับจาํ นวนเมลด็ ที่ ติดตอ ผล ถา ผลติดจํานวนหลายผลและเปน ผลเลก็ ๆ จะ ใหเมลด็ มากกวาผลขนาดใหญ แตต ิดผล จํานวนนอ ย จากประสบการณของผูเขยี นแตง โมมักตดิ ผลประมาณไมเกนิ 2 ผลตอ ตน ถา ดอกทีผ่ สมพนั ธุของแตละเถาในตนเดยี วกนั ผสมวันเดียวกัน หรือหางกนั 1 วนั โอกาสทด่ี อกนนั้ จะเจริญและติดผลเปนไปไดมาก เชน ผสมดอกขอที่ 6 ของเถา 2 เถา ซ่ึงอยใู นตนเดียวกัน มีโอกาสตดิ ผลไดท้งั 2 ผล แตถา ผสมดอกขอ ท่ี 6 ของเถาหนงึ่ และขอท่ี 8 ของอีกเถาหนึง่ ในตน เดียวกัน โอกาสติด ผลเปน ไปไดใ นขอท่ี 6 แตด อกของขอที่ 8 มักไมตดิ ผล สิ่งท่ตี องระมดั ระวงั ในการผสมเกสรแตงโม ไดแ กการปองกันไมใหเกสรตัวผูท ่ไี มใ ชตวั ผทู ี่ ตองการ ผสมกับดอกตัวเมยี นอกจากจะปอ งกนั ไมใหแ มลง มดหรอื สตั วท ่อี าจนาํ เกสรตัว ผขู องแตงโมจากพนั ธอุ ่นื ท่ีไมต องการ หรอื เกสรตัวผขู องตนตัวเมีย ผสมกบั ดอกตวั เมยี แลวยังตอ งคาํ นึงถึงดอกตวั เมยี ทม่ี เี กสรตวั ผเู จรญิ ภายในดอกเดยี วกนั หรอื เรยี กวาดอก กระเทย เปอรเ ซ็นตข องดอกกระเทยในตน ตัวเมียมีประมาณ 2-5% หรืออาจสูงกวาน้ถี า สภาพสงิ่ แวดลอ มไมเหมาะสม เชน อากาศรอนหรือขาดนํา้ ดอกกระเทยนีถ้ าพบตอ ง กาํ จัดทนั ที ทง้ั นีจ้ ากการทดสอบนาํ เกสรตวั ผใู นดอกกระเทยเพาะเลยี้ งบนอาหารเลยี้ ง เกสร พบวา เกสรตัวผใู นดอกกระเทยสามารถงอกไดถงึ 90% เปรียบเทยี บกบั เกสรตัวผูจาก ดอกตัวผซู ึ่งงอกได 95% แสดงใหเหน็ วาดอกกระเทยสามารถติดผลเองไดโ ดยเกสรภายใน ดอก ทําใหไดเ มล็ดพันธุท่ีผสมตวั เอง ระยะเวลาของการผสมเกสรมีประมาณ 7 วนั ระยะเร่มิ ตน 2 วันแรกมดี อกตัวเมยี บานบา ง อีก 2 วันถดั มาเปนชว งทมี่ กี ารบานของดอกมาก อีก 2-3 วนั สุดทา ยมีดอกบานบา ง หากมี การผสมพันธใุ นแปลงใหญควรจดั วันปลูกใหแ ตกตางกนั เพอื่ ปอ งกนั ไมใหชวงบานของ ดอกพรอ มกันทาํ ใหผ สมพันธุไมทนั ดอกตัวเมยี และดอกตัวผมู ชี วงเวลาทผ่ี สมพนั ธไุ ดส นั้ มากประมาณ 1 วนั หากพน จาก 1 วนั แลว ปรากฏเปน เมือกท่ีเกสรแสดงวาใชไมได ถา ผสมพันธเุ รียบรอยแลวควรทําเครือ่ งหมายไวทีป่ ฏิทิน เพราะอีก 30 วันหลงั จากนีจ้ ะเกบ็ เก่ยี วผลแตงโมได ต. วิธกี ารผสมพนั ธุ แตงโมเปน พชื ผสมขาม ตองอาศยั ผึง้ และแมลงอนื่ ๆ ในการชวยผสมเกสร แตใ นการผลติ เมล็ดพนั ธุล กู ผสมตองปองกนั ไมใ หแ มลงเหลาน้ผี สมเกสร เพราะจะทาํ ใหไมไดเ มล็ด ลูกผสมจากสายพันธุพอ ที่ตองการ ดงั น้ันตองเตรยี มดอกตัวเมยี ทพ่ี รอ มจะบานในวันรงุ ขึน้ และครอบดอกตวั เมียดวยปลอกพลาสตกิ ควรคลุมปลอกตอนบา ย ดอกตวั เมยี น้ันควร เปนดอกของขอ ท่ี 4 หรอื 5 และดอกที่ 8 หรอื 9 ของเถา เถาหนึ่งจะผสม 2 ดอก ตน

25 แตงโมตน หนึ่งเตรยี มดอกตัวเมีย 2 เถา หรอื ประมาณ 4 ดอก (ดอกตวั ผูท ่ีบานในตน ตวั เมยี ใหเดด็ ทิง้ ท้งั หมด การเตรยี มดอกตัวผูส าํ หรบั ผสมพันธุก ค็ ลายกบั ดอกตัวเมีย โดยเลือกดอกตัวผูทจ่ี ะบานในวันรงุ ขนึ้ โดยเลือกดอกท่ตี ูม เก็บดอกตวั ผูใสในถังโฟมทม่ี ี กระดาษ หนังสอื พมิ พชบุ น้าํ ใหชมุ ปด ฝาใหสนิท เกบ็ ไว 1 คืน เพอ่ื ใชในวันรุง ขึน้ ผสมเกสรโดยใชดอกตวั ผูทบ่ี านแลวจากถงั โฟม จบั ตรงกลบี ดอกโดยควํ่าลงบนยอดเกสร ตัวเมยี ที่บาน ใหละอองเกสรตวั ผูจ บั ใหท่ัวยอดเกสรตวั เมีย ใชถงุ กระดาษครอบดอกตัว เมียทผ่ี สมพันธแุ ลว พรอมใสเคร่อื งหมาย เชน สายยางยืดท่ดี อก และใบท่ีอยชู ิดดอก กอนผสมพันธคุ วรตรวจดดู อกตวั เมียกอนวา ไมใชดอกกระเทย แตงโมติดผลและใหเ มล็ด ดี ถา หากติดผลประมาณขอท่ี 5-6 และรองลงมาไดแ กข อ ที่ 10-11 ผลแตงโมท่ีติดผลตาม ธรรมชาตใิ หป ลิดท้งิ ถ. การเก็บเก่ยี ว พนั ธุหนักหลงั ผสม 30-35 วัน ก็เกบ็ เกีย่ วได พนั ธุเบาหลงั ผสม 20-25 วนั กเ็ กบ็ เก่ียวได ทั้งน้ีขึน้ อยูกบั สายพันธุ อายุการเกบ็ เกยี่ วตง้ั แตห ยอดเมลด็ จนถึงเกบ็ เกี่ยวประมาณ 75-120 วัน ขึน้ อยกู บั สาย พันธุ แตงโมเมอ่ื อายุครบเตม็ ทีจ่ ะทําการเกบ็ เกย่ี ว โดยดึงเถาจากตน เม่อื รวู าแตงโมแก เต็มที่ ทง้ิ แปลงประมาณ 1-2 วัน แลว จงึ เก็บเกี่ยว สงั เกตความแกของแตงโมเมอ่ื ใบทต่ี ดิ กบั ผลแตงโมแหง และเมื่อผาผลแตงโมเมลด็ แตงโมมสี ีดํา แสดงวา เมล็ดแกจัด ผลแตงโม ท่ีเนา ในแปลงใหแคะเมล็ดลา งตากทันที สวนผลแตงโมท่ดี ีใหเกบ็ ไวประมาณ 1 สปั ดาห เกบ็ ไวใ นทร่ี มมีอากาศถา ยเทดี การบม ทําใหส ขี องเมลด็ และคณุ ภาพดขี นึ้ แตมขี อเสยี ที่ ผลแตงโมมกั เนาในชว งน้ี ทําใหเ สยี หายได เมลด็ ท่ีไดจากแตงโมที่เนาคุณภาพมักไมด ี ให แยกเมล็ดพวกนี้ออกจากเมล็ดที่ไดจากผลแตงโมที่ดี เพื่อเกบ็ ไวจ าํ หนา ยในเกรดที่ตํ่ากวา เมล็ดแตงโมจากผลท่ีดี การบมแตงโมไมค วรใหถูกแสงแดด ควรเก็บไวใ นที่รม หลังจากผาเสรจ็ แลว เอาแชไว 1 คนื หลังจากนน้ั นาํ มาลางใหส ะอาด นาํ ไปตากในที่เตรยี มไว ตากบนตาขายสฟี า การตาก ควรตากในแดดที่ออ น 2-3 แดด จึงเกบ็ เมล็ด การแคะเมล็ด แตงโม แคะไดโดยใชมือ หรอื ใชเ คร่อื งจกั ร ควรใชม อื แคะมากกวาเคร่อื งจกั ร เพราะเคร่ืองจักรอาจทําใหเมล็ด เสยี หายได เมล็ดแตงโมทไี่ มดีจะถกู คดั ออกไดหลายวธิ ี เชน ผลแตงโมท่ีไมแ กเต็มท่ี ควรคัดออกหรอื แยกเมลด็ ออกตางหาก เมลด็ แตงโมท่ไี มเจริญเต็มทีม่ ีแตเ ปลอื กนอกถกู คดั ออกตอนลาง

26 เมล็ด เมล็ดพวกน้จี ะลอยนาํ้ เมล็ดทม่ี าจากผลเนา เปลอื กเมล็ดแตก ไมมสี ีดาํ สนิท และไม มีความมันของผิว เมลด็ เหลา นี้อาจแยกในขั้นตอนสดุ ทายโดยใชเคร่อื งเปาเมลด็ การ ทดสอบความเปน ลกู ผสมของเมลด็ ควรทาํ กอ นสงเมลด็ ออกจําหนา ย โดยการปลูกแตง โมลูกผสมเปรยี บเทียบกับพอ และแมพันธุ หากลูกผสมแสดงความเปน ลูกผสม 98- 99% ก็เปน ทย่ี อมรบั ได จงึ คลกุ เมลด็ ดวยยาฆาเช้ือรากอนจําหนาย ท. โรคแมลงและวธิ ีปอ งกันกําจดั โรคทีส่ ําคญั ไดแ กโรคเถาเหย่ี ว, โรคเถาแตก, โรคราน้ําคาง, โรคใบไหม, โรคแอนเทรคโนส และโรคลําตน เนา ปอ งกันโดยใชย า ไดเทนเอม็ -45, คปู ราวติ , โคไซด และยารดิ โดมิล (จะใชใ นเวลาจําเปน จริงเมอื่ เปน โรคใบไหม) ฉีดพน ทุกๆ 3-5 วัน (ไมค วรใชย าผสมกนั ใหใ ชช นดิ ใดชนิดหน่ึง ฉีดพนในแตล ะครัง้ เทา นนั้ ) แมลงทสี่ ําคัญทเ่ี ขา ทําลายไดแก เพลีย้ ไฟ เพล้ียออ น ไร เตา แตง เตา ลาย และแมลง วันทอง การปองกนั โดยใชยา สกาย, แลนเนท, เซฟวิน 85, ฟอสดอล E, ฟอสไดน ฉีดพนทุกๆ 5-7 วนั (ไมควรใชย าผสมกัน ใหใชช นดิ ใดชนดิ หน่ึงฉีดพนในแตละครง้ั เทาน้นั ) สาํ หรบั แมลงวันทองใชสารเมธิลยูจีนอล ผสมกับยาฆาแมลง เชน แลนเนท หรอื สกาย ใสไ วในภาชนะวางเปนจุดๆ ในแปลง

5.5 เมตร 27 5.5 เมตร 30 ซม. 30 ซม. X 30 ซม. 30 ซม. X X X 30 ซม. X X X X X X X 40 ซม. (ระหวางตน) X X XX X รูปท่ี 4-2 ขนาดแปลงปลกู แตงโม

28 VEG421L4.03 การผลิตเมล็ดพนั ธแุ คนตาลูปลกู ผสม ฤดูกาลผลติ เมล็ดพันธแุ คนตาลปู ฤดกู าลท่ีเหมาะสาํ หรับการผลิตเมลด็ พันธแุ คนตาลูป กเ็ ชนเดียวกับการผลติ เมลด็ พนั ธุ แตงโม ไดแก ฤดูหนาว ตั้งแตเ ดอื นพฤศจิกายนถึงเดอื นมนี าคม แตงแคนตาลูปตองการอากาศเยน็ และมี ความชน้ื ตาํ่ สว นใหญก สกิ รนิยมปลกู หลงั ฤดกู ารเก็บเกย่ี วขา วประมาณเดอื นพฤศจิกายนหรอื ธันวาคม ในฤดฝู นแตงแคนตาลปู เติบโตไดดี แตไมแนะนาํ ใหปลกู เพ่อื ผลติ เมล็ดพนั ธเุ พราะชว งท่ี ผสมพันธุตอ งการอากาศแหง และผลแตงมกั เนา เสียหายงา ยในฤดฝู น แตการปลกู เพ่อื เกบ็ ผลสด จาํ หนายสามารถทําไดใ นฤดูฝนแมวา ตน ทนุ การผลติ สงู กวาฤดูหนาวเพราะตอ งพนยาฆา แมลง และ กําจดั เชื้อรามากกวา ปกติ การเลือกพืน้ ทีผ่ ลติ เมลด็ พนั ธุแคนตาลปู ลกู ผสม หลักการในการเลอื กพื้นทผ่ี ลิตเมลด็ พนั ธุแคนตาลปู ลูกผสมกเ็ ชน เดยี วกบั การเลอื กพื้น ที่ผลติ เมลด็ พนั ธแุ ตงโมลูกผสม โดยเลือกพืน้ ทที่ หี่ างไกลความเจริญ มแี รงงานมาก คา จางแรงงานตํ่า มี โอกาสในการทาํ อาชีพอื่นนอ ย พชื ที่ปลกู ในนาหลังการปลูกขาวมนี อย และมีฤดูหนาวทอ่ี ุณหภูมติ ่าํ ความชน้ื ต่ํา มรี ะบบการชลประทานดี หรือมีแหลง น้าํ ธรรมชาติ และมีดนิ ดี ตะวนั ออกเฉียงเหนือมีความเหมาะสมในเร่ืองดังกลาวมากกวาภาคเหนือ จงึ ทําใหการ ผลติ เมล็ดพันธุแคนตาลปู มีมากทส่ี ุดในภาคอสิ าน ภาคเหนอื กส็ ามารถผลิตเมล็ดพันธุแคนตาลูปปลูก ผสมท่ีมคี ณุ ภาพได แตจะมีปญ หาเร่ืองการยอมรับของกสกิ รเพราะโอกาสในการประกอบอาชีพอืน่ ของ ภาคเหนือมมี าก วิธกี ารผลติ เมลด็ พนั ธแุ คนตาลปู ลูกผสม ก. การเพาะเมลด็ นําเมล็ดใสถุงซิป เจาะรูใหท ั่ว นําไปแชน ํ้านาน 4-6 ช่วั โมง จากนนั้ นํามาสลดั นํ้าออก ใชผาขนหนูชบุ นา้ํ พอหมาดๆ พนั ทับไวเ ปนคๆู เสรจ็ แลวนํามาใสถ ุงพลาสตกิ นาํ ไปบม ในตูอบ หรอื ไมก ็ อาจใชห ลอดไฟกไ็ ด ถาเปนฤดหู นาวใชหลอดไฟ 20 W ถา เปนฤดูฝนใชหลอดไฟ 25 W ใสใ นกลอ ง กระดาษ บมนาน 24 ชั่วโมง หมัน่ กลบั เมล็ดทุกๆ 4 ชั่วโมง พอรากเรมิ่ งอก 1/3 ซม. แลว จงึ ยา ยลงถุง ดนิ ทเี่ ตรยี มไว

29 ข. การเตรยี มถงุ ดนิ ใชดินรว น 3 สว น ข้วี ัวเกา 1 สว น ปยุ 15-15-15 หนง่ึ กาํ มอื ผสมทง้ั 3 อยา งใหเขากัน แลว กรอกลงในถุงพลาสติก ขนาด 3\"x4\" หรือ 4\"x4\" เจาะรูดานขางถงุ เพ่อื เปนการระบายนํ้า การใสถ งุ ดนิ ตองใสใ หเหลอื ปากถงุ ไว 1 เซนติเมตร กอนยายเมล็ดท่งี อก 1/3 ซม. ลงถงุ ตองรดน้าํ ถุงดินท่ีเรยี ง เปน ระเบยี บแลว กอน 3 ช่ัวโมง จากน้ันนําเมลด็ ท่งี อกแลว ใสใ นถวย ควรพรมนาํ้ ดว ยกนั รากแหง ใชไ ม กดลงไปในถงุ แลวนาํ เมล็ดดา นรากจ้ิมลงไป ใชด ินกลบอีกทีใหเ หลอื ปากถงุ 1/2 ซม. จากนนั้ รดน้ําหลงั ยายกลา แลวใชตาขา ยสีฟาคลุมแปลง 2-3 ช้ัน ถาเมล็ดงอกใบจรงิ 2 ใบ แตกออกมา ใหร ดปยุ ยเู รีย สตู ร 46-0-0 1 ชอนแกงตอน้ํา 20 ลิตร หลงั รดปุยยเู รียใหก บั ตนกลาในแตละครั้ง ตอ งรดนํ้าเปลาตาม ทกุ ครงั้ ค. การเตรยี มแปลงปลูก ควรเลือกแปลงปลกู ท่ีหา งจากแตงแคนตาลูปพันธอุ ื่นประมาณ 2 กิโลเมตร แปลงปลกู อาจเปนท่ีนาหลังจากเก็บเก่ียวหรอื ท่สี าํ หรบั ปลกู พืชไร หรือสวนผลไมท ่ตี นไมย งั เล็กเชน สวนลําไย และ ลนิ้ จ่ี เปน ตน การเตรยี มแปลงปลูกควรจะกวาง 4 เมตร ระยะระหวางตน ใช 40 ซม. ระยะปลกู น้ีใชใน กรณีท่ไี มข ึ้นคา ง แตถา หากจะใชค า งแปลงปลูกอาจใชแ ถวเด่ียวหรือแถวคูก็ได ขนาดแปลงก็จะเปลย่ี น แปลงไปโดยใชแปลงปลูกขนาดกวาง 1-1.5 เมตร ระยะระหวา งตน 40 ซม. การใชคางทาํ ใหค าใชจ า ย ในการผลิตเมล็ดพนั ธุสูงขนึ้ แตก ็มขี อดหี ลายประการ เชน ลดการเปน โรคทางใบ และโรคนเ้ี กดิ กับผล จํานวนตน ตอ พนื้ ที่ปลูกก็ไดจาํ นวนมากขึน้ กวาการไมใชค าง กอ นการยา ยปลูก ควรรองกน หลุมดวย ขีไ้ ก หรอื ข้วี ัวเกาๆ 1 ตนั /ไร ปุย 15-15-15 50 กก./ไร ฟรู าดาน 1 กก./ไร บอแรกซ 1 กก./ไร แตงแคนตาลูปอายุ 10-12 วัน ก็นาํ ไปปลกู ลงแปลงได ตนกลา ท่ีออกดอกไมควรนําไปปลูก ง. การคลมุ ดนิ ควรใชฟางแหงคลมุ ดนิ เพ่ือชว ยรักษาความชื้นในดนิ ชวยควบคุมวัชพชื ปองกนั อุณหภูมิ ไมใ หส งู เกินไป ทั้งยงั ชว ยรักษาไมใ หผลแคนตาลูปสัมผัสดินโดยตรง ควรคลมุ ฟางใหทว่ั แปลงเฉพาะ บรเิ วณที่เถาแตงแคนตาลปู เลอ้ื ย เพอ่ื ปองกันเถา และผลแคนตาลปู ไมใหสมั ผสั ดินโดยตรง บนรอ งที่ ปลกู ตนแคนตาลูปคลุมดนิ ดว ยพลาสตกิ สีเงินแทนการคลุมดว ยฟางจะ ทําใหการเจริญเติบโตของตน ดี กวาการใชฟางในแงการเจริญเติบโตที่สมํ่าเสมอ

30 ช. การจดั เถา และการตดั แตง หลงั จากท่ีปลูกแตงแคนตาลปู ลงในแปลง มใี บจรงิ 4-5 ใบ ใหเ ดด็ ยอดทิ้งจัดเถาให เหลอื เพยี ง 4 เถา/ตน ใหร ิดกิ่งแขนงในชวง 1 ฟุตจากลาํ ตน เดมิ การจดั ทําจะทาํ ไดเม่อื แตงแคนตาลูป ยาว 30-60 ซม. ควรจดั ใหเ ถาเลื้อยไปทางเดียวกนั เพือ่ ความเปนระเบยี บเรียบรอ ย เนือ่ งจากแตง แคนตาลปู ท่ีเจรญิ เติบโตตามธรรมชาติ จะมีเถาพนั กนั แนน ไปหมด ดอกก็จะกระจัดกระจายไมเปน ระเบยี บ ยากแกก ารผสมเกสรของแมลง จะทาํ ใหผลผลิตตํา่ ควรจะจัดเถาในเวลาตอนบา ยเพราะเถา ออนจัดไดง า ย ไมควรจัดเถาในเวลาเชาเด็ดขาดเพราะก่งิ อวบนา้ํ หกั เปราะไดง า ย การปลูกแบบ ขึน้ คา งใหม ัดเถากบั คางดว ยเชอื กฟาง การจัดและแตง เถาทาํ เฉพาะกบั ตนตวั เมยี เทา นัน้ สว นตนตวั ผู ปลอ ยใหมกี ารแตกเถาตามธรรมชาติ ด. การผสมเกสร กอนผสมเกสรตอ งตรวจเชค็ ตน ตวั ผู และตนตัวเมียวา มลี ักษณะตรงตามพนั ธหุ รอื ไม และมีตนทมี่ ลี ักษณะแปลกปลอมปนอยดู ว ยหรอื ไม หากมกี ต็ อ งกําจัดออก ตน ที่แปลกปลอมนั้นถาปน อยูใ นกลมุ ตนตัวเมียกส็ ามารถกาํ จัดเวลาไหนกไ็ ด แมวา จะใกลเก็บเกี่ยวผลก็กําจดั ไดโดยไมมปี ญ หา แตถ าตน ทแี่ ปลกปลอมปนอยูใ นกลมุ ตน ตัวผูต อ งรีบกาํ จดั กอนทาํ การผสมเกสร หากไมก าํ จดั จะมปี ญหา เพราะไมทราบวาดอกตัวผูจากตน นัน้ นําไปผสมตัวเมียตน ใด วิธกี ารปองกันอาจทําไดโ ดยปลูกตน ตวั ผู ขา งตนตวั เมยี ในแปลงเดียวกัน และใชดอกตัวผูผ สมดอกตัวเมยี ในแปลงเดียวกันเทา นัน้ ถา หากมี ความผิดพลาดเกิดขึ้นในกลุม ตน ตัวผู กส็ ามารถกาํ จัดเมลด็ ท่ไี ดจ ากแปลงดงั กลาว แตวธิ ีการนท้ี ําใหเ กิด ความยงุ ยากในการจัดการ เนอื่ งจากการปฏิบตั ิในแปลงตอ ตนตัวผูแ ละตนตัวเมียน้ันตางกัน ในการ ปฏิบัติจริงในแปลงปลกู ตองแยกตนตัวผจู ากตน ตวั เมียเพอ่ื ความสะดวกในการจัดการ แตงแคนตาลปู มีการออกดอกจดั ได 3 ประเภทดวยกันไดแก แอนโดรโมนเี ซียส (andromonoecious) ไดแก ดอกตวั ผูและดอกกระเทย อยูบ นตน เดยี วกนั ดอกตวั ผอู อกดอกเด่ยี วหรอื หลายดอกตามขอ สว นดอกกระเทยออกดอกเดย่ี วมกั อยูท่กี ิ่งแขนงมากกวา เถาหลัก ดอกสีเหลอื งมี 5 กลบี เกสรตัวผู 3 อนั พนั ธุก ารคาสว นใหญเ ปนแตงแคนตาลูปท่อี อกดอกแบบนี้ พนั ธแุ คนตาลปู ทีม่ ี ดอกตัวผูแ ละดอกตัวเมยี แยกกนั แตอยบู นตน เดยี วกนั ก็มี ไดแกกลมุ โมนีเซียส (monoecious) สวนอกี ประเภทหนึง่ ไดแ ก แบบใจนีเซียส (gynoecious) มีแตดอกตัวเมียเทานั้น ตอ งทราบขอ มูลกอนปลกู วา แมพ ันธุตวั เมียออกดอกแบบไหน จงึ จะสามารถจดั การไดอยางเหมาะสม พนั ธุการคาสวนใหญมีการ ออกดอกแบบประเภทแรกไดแก แอนโดรโมนีเซียส ควรใชด อกกระเทยของกิง่ แขนงขอ ที่ 4 หรือ 5 ในการ ผสมพันธุ เวลาทเ่ี หมาะสมแกการผสมพนั ธไุ ดแก เวลาเชา ประมาณ 08.00-11.00 น. และเวลาบา ย 16.00 น. เปน ตนไป ท้งั นเ้ี นื่องจากเปอรเซน็ ตก ารติดผลในชวงเวลาดังกลา วจะ

31 ติดผลดีกวา การผสมพันธุเ วลาที่อากาศรอน หรอื มแี สงแดดจัด ผลติดดที ส่ี ดุ ถา ผสมกอ น 9.00 น. หลัง จากน้ันเปอรเ ซ็นตก ารติดผลลดลงและไมติดผลเลยในชวงบาย การผสมตอนเยน็ จะตดิ ผลไมด ี เมื่อ ผสมพนั ธุดอกกระเทยแลว ตัดก่งิ แขนงออกใหเ หลอื แค 2 ใบ ปลอ ยใหต ิดผล เถาละ 1 ลกู ตน หน่งึ จะได ประมาณ 2-4 ลูก กรณปี ลอยเถาเลอื้ ย แตถ าปลูกขน้ึ คา งควรปลอยใหตดิ ผลตนละ 2 ลกู โดยใหตดิ ผล ที่กง่ิ แขนงของขอ ที่ 7 ของเถาหลกั เด็ดปลายยอดเถาหลักท้ิงเมื่อมีใบประมาณ 20 ใบ การตัดแตงก่งิ นี้ ทําใหการเล้ยี งผลทตี่ ดิ ดีกวาไมม ีการตัดแตง ส่งิ ที่ตองระมดั ระวังในการผสมเกสรแตงแคนตาลปู ไดแ กการปองกันไมใหเ กสรตัวผูท่ี ไมใ ชต ัวผูท่ีตอ งการ ผสมกับดอกตวั เมีย นอกจากจะปองกันไมใ หแ มลง มดหรือสัตวท ่ีอาจนําเกสรตัวผู ของแตงแคนตาลูปจากพันธอุ ่นื ท่ไี มตอ งการ หรอื เกสรตัวผขู องตนตวั เมีย ผสมกับดอกตัวเมียแลวยงั ตอ งคํานึงถึงดอกตัวเมียท่ีมีเกสรตวั ผูเจรญิ ภายในดอกเดยี วกัน หรอื เรียกวา ดอกกระเทย การเตรยี ม ดอกตวั เมยี ตองตรียมกอ นดอกตัวเมยี บาน 1-2 วัน โดยทาํ การตอนเกสรตวั ผอู อกจากดอกกระเทยโดย ใชค มี แลวคลมุ ดอกดว ยปลอกพลาสติกหรือถุงกระดาษ การเตรยี มควรทาํ ตอนบาย เถาหนึ่งควรเตรียม ดอกตวั เมยี 2 ดอก สว นใหญจ ะตดิ ผลเพยี งเถาละ 1 ผลเทาน้นั ดอกตัวเมยี ท่ีเตรียมไวจะใชในการผสม เกสรโดยใชด อกตวั ผทู ม่ี เี กสรแตะทีด่ อกตัวเมยี ใหเกสรสเี หลอื งติดยอดเกสรตวั เมีย (stigma) แลว จึง คลุมดอกดวยถุงกระดาษอีกสีหน่ึงพรอ มทงั้ ใชยางยืดสวมท่ดี อกและใบของขอ ดอกทท่ี ําการผสม พันธุ เพ่ือเปน เครอ่ื งหมายวา ไดผสมพันธุเ รียบรอ ยแลว อนงึ่ ดอกตวั ผูท ีใ่ ชในการผสมพนั ธุเปนดอกจากตนตัวผู โดยเลือกดอกตวั ผทู จี่ ะบานใน วันรงุ ข้ึนโดยเลอื กดอกที่ตมู ลา งน้ําแลว เก็บดอกตูมน้ใี นถงั โฟมท่ีมีกระดาษหนงั สือพิมพชื้นๆ รองอยกู น ถัง ปดฝาถงั ใหม ิดชิดเกบ็ ไวห นึง่ คนื วนั รงุ ขน้ึ ดอกสวนใหญจ ะบาน ใชดอกบานนัน้ ผสมเกสรโดยดึงกลบี ดอกออกแลว แตะเกสรตวั ผลู งบนเกสรตวั เมยี ของดอกท่ีตองการ ดอกตวั เมียหน่งึ ดอกตอ งใชเกสรตวั ผู จาก 3-4 ดอก ต. การดแู ลรกั ษา การใสป ยุ แถวแคนตาลปู คลายกบั การปลกู แตงโม โดยใสปุย 15-15-15 รองกนหลุม ในอัตรา 50 ก.ก./ไร หรือ 1 ชอนโตะ/ตน คร้งั ท่ี 2 ใสปยุ 46-0-0 เพ่ือเรง กลาใหเ จริญ ใสเ มื่อยา ยกลาได ประมาณ 1 อาทิตย คร้งั ที่ 3 ใสป ุย 13-13-21 หรือ 15-15-15 ในอตั รา 50 ก.ก./ไร หรอื 1 ชอ นโตะ /ตน ใสเ มอื่ หลงั ยา ยกลา ประมาณ 1 เดือน ครงั้ ท่ี 4 ใสป ุย 13-13-21 หรือ 15-15-15 ในอัตราเทา เดิม ใสเม่อื แตงมีผลเทา ไขไ ก หรือตน แตงมอี ายุไดประมาณ 45 วัน การฉดี ยาฆาแมลงและโรค จาํ เปน มากสําหรบั แตงชนิดนีเ้ พราะเปนพนั ธุจาก ตา งประเทศ โรคทางใบเปนโรคที่เปนมาก ควรฉดี ยาปองกันเช้อื ราและแมลงทุกอาทิตย โรคทพ่ี บใน ประเทศไทยไดแ สดงไวในตารางที่ 4-6 (Giatgong P. 1980 และ กมล 2529)

32 ตารางที่ 4-6 โรคแตงแคนตาลปู ที่พบในประเทศไทย ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เช้อื สาเหตุ ช่อื โรค (ภาษาไทย) ช่อื โรค (ภาษาอังกฤษ) ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- Alternaria cucurbitae โรคใบแหง Leaf blight Let. & Roum – – Alternaria cucumerina โรคใบแหง Leaf blight Cercospora melonis Cooke โรคใบจุด Leaf spot Cercospora citrullina โรคใบจุด Leaf spot Erwinia Tracheiphilla – – (E.F. Sm.) Holland โรคเหี่ยว Bacterial wilt Erysiphe cichoracearum โรคราแปง Powdery mildew Fusarium sp. โรคเหี่ยว Wilt Fusarium roseum โรคผลเนา Fruit rot Meloidogyne sp. โรคราปม Root knot Oidium sp. โรคราแปง Powdery mildew Phoma sp. โรคลําตนเนา Stem rot Phomopsis sp. โรคใบไหม Leaf blight Pseudoperonospora – – Cubensis (Berk. & Curt) – – Rostow โรคราน้าํ คา ง Downy Mildew Pythium spp. โรคโคนเนาและผลเนา Damping-off Sclerotium rolfsii Sacc. โรคลําตนเนา Stem rot Virus โรคใบดา ง Mosaic ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาจาก 1. Piya Giatgong. 1980. Host index of plant diseases in Thailand. Ministry of Agriculture and Cooperatives, Bangkok, Thailand. pp. 124. 2. กมล เลศิ รตั น พิศาล ศรธี ร และวีระ ภาคอทุ ยั พ.ศ. 2529. เอกสารวิชาการเร่อื งแตงเทศ คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน 27 หนา .

33 ถ. การเก็บเกยี่ ว เมอื่ ผสมพนั ธแุ ตงแคนตาลปู แลวประมาณ 30-45 วนั แตงแกพ รอมที่จะเก็บได โดยดู ลักษณะการแกไ ดจากรอยแยกระหวา งขว้ั ผลและกา นผล ถาเร่ิมมรี อยแยกแสดงวา ยังไมแ กเ ตม็ ที่ เรียก ระยะน้ีวาฮาฟสลปิ (half slip) การเกบ็ เมล็ดควรเกบ็ ผลแตงท่มี ีอายมุ ากกวา น้ีเรียกวา ฟสู ลิป (full slip) ผลจะหลุดจากข้วั เอง แสดงวาแกเ ตม็ ที่ หากไมใ ชวิธนี ้ีจะใชว ิธีดจู ากสีของผลท่ีเปล่ยี นจากสีเขียวเปนสี เขียวออน หรอื สเี หลืองทอง หรือสเี หลอื งแลวแตพ นั ธแุ ตงแคนตาลปู น้นั ๆ หรอื ใชว ิธดี มกลนิ่ เมือ่ มีกล่นิ หอมแสดงวา ผลแกหรือดูจากผวิ ตาขา ยของผล ถา มรี องนูนชดั เจนแสดงวา แกจดั แตอยางไรก็ดีความ ชํานาญในการเลือกเกบ็ ผลแกมคี วามสําคัญมาก เมือ่ เกบ็ ผลแลวนาํ ไปวางไวใ นทรี่ มประมาณ 1-2 วนั เพอื่ รอการแคะเมล็ด ซึ่งสวนใหญแคะเมลด็ ดว ยมือ แตการใชเครอ่ื งโมผลและสลดั เมลด็ แยกจากเน้อื เปลือกของผลจะชวยทนุ แรงและคาใชจา ยไดมาก เมล็ดพนั ธถุ กู หมักไวห นึ่งคนื กอ นลา งเมลด็ และ ตากแดดประมาณ 3-4 แดด จึงสง จาํ หนา ย การผลติ เมล็ดพันธสุ ควา ชลูกผสม ฤดกู าลผลติ เมลด็ พนั ธสุ ควา ช ฤดหู นาวเปนฤดูกาลเดียวทีก่ ารผลติ เมล็ดพันธุสควา ชใหผ ลดี เริ่มปลูกประมาณเดอื น ตลุ าคมหรือพฤศจิกายน และเก็บเกย่ี วประมาณเดอื นมนี าคม สควา ชตองการอากาศเยน็ กวา แตงโม และมะเขือเทศ ดงั นน้ั การผลติ เมล็ดพนั ธสุ ควา ชบนพนื้ ทภี่ ูเขาทอ่ี ากาศเย็นจัดจะไดผลดีกวาการผลติ บนพนื้ ทีร่ าบ ผูเขียนไดทดลองผลติ เมลด็ พนั ธลุ ูกผสมสควา ชบนดอยภูคา จังหวัดนา น ซ่ึงมคี วามสงู จาก ระดบั นํา้ ทะเลประมาณ 1,000 เมตร โดยผลติ ในฤดหู นาว พบวา สควา ชเจรญิ เตบิ โตดีมาก ใหผลผลิต เมล็ดพันธุส งู และเมลด็ สมบรู ณ มคี ณุ ภาพดี การเลอื กพนื้ ทผ่ี ลิตเมล็ดพันธุสควา ชลูกผสม ควรเลอื กพื้นท่ีที่เปน นาขา ว ที่มีการระบายนาํ้ ดี พ้นื ทอี่ ่ืนท่ีไมใชน าก็สามารถใชป ลูกได เพยี งแตการลงทุนถางวัชพืชและเตรยี มดินอาจสูงกวาการใชพ ื้นทนี่ าหลังเกบ็ เกี่ยวขาวแลว และตอ งระวัง พนื้ ที่ที่มีไสเดือนฝอย ปญ หาไสเดือนฝอยมกั พบนอ ยมากในพ้นื ท่นี า นอกจากนสี้ ถานที่ผลิตควรมี แหลงนํา้ ธรรมชาติ เพื่อลดคา ใชจายในการสูบนาํ้ กสิกรท่ีอยใู นแหลง ผลติ เมล็ดพนั ธุ ควรเปน กสิกรทม่ี ี ทางเลอื กอาชพี อืน่ นอย มีรายไดต่าํ อยทู ี่ๆ การคมนาคมไมส ะดวก และมีแรงงานมาก เพราะถา กสิกรมี ทางเลือกอาชพี อืน่ กสกิ รมกั จะไมผ ลิตเมลด็ พนั ธุลกู ผสมเพราะใชเ วลาและความเอาใจใสม ากกวาการ ปลกู พชื ชนดิ อน่ื

34 วิธีการผลติ เมล็ดพันธุสควาชลูกผสม เน่ืองจากธรรมชาติการออกดอกของสควา ชคลายกับการออกดอกของแตงโม ดังนัน้ การผลิตเมลด็ พันธลุ ูกผสมจงึ ใชหลักการเดียวกับแตงโม ก. การเพาะเมลด็ นําเมล็ดใสถงุ ซปิ เจาะรใู หทวั่ นาํ ไปแชนํ้านาน 4-6 ชว่ั โมง จากน้นั นาํ มาสลัดนํา้ ออก ใชผ าขน หนูชุบน้าํ พอหมาดๆ พนั ทับไวเปน คๆู เสร็จแลว นํามาใสถ ุงพลาสติก นาํ ไปบมในตูอบ หรอื ไมกอ็ าจใช หลอดไฟกไ็ ด ถา เปนฤดหู นาวใชห ลอดไฟ 20 W ถาเปน ฤดูฝน ใชหลอดไฟ 25 W ใสใ นกลองกระดาษ บม นาน 24 ช่ัวโมง หม่นั กลบั เมล็ดทุกๆ 4 ชวั่ โมง พอรากเร่มิ งอก 1/3 ซม. แลวจึงยา ยลงถงุ ดินทีเ่ ตรียม ไว ข. การเตรียมถุงดิน ใชดินรวน 3 สว น ข้วี ัวเกา 1 สวน ปยุ 15-15-15 หนึง่ กํามือ ผสมทงั้ 3 อยางใหเ ขากนั แลวกรอก ลงในถงุ พลาสตกิ ขนาด 3\"x4\" หรอื 4\"x4\" เจาะรูดานขางถุงเพื่อเปน การระบายนาํ้ การใสถุงดนิ ตองใส ใหเหลือปากถงุ ไว 1 เซนติเมตร กอนยายเมล็ดท่ีงอก 1/3 ซม. ลงถงุ ตอ งรดนาํ้ ถงุ ดินท่ีเรยี งเปน ระเบียบแลว กอ น 3 ชวั่ โมง จากนั้นนาํ เมล็ดท่งี อกแลวใสใ นถว ย ควรพรมน้ําดวยกนั รากแหง ใชไมกดลง ไปในถุง แลวนาํ เมลด็ ดานรากจิ้มลงไป ใชด นิ กลบอีกทใี หเ หลือปากถุง 1/2 ซม. จากน้ันรดน้ําหลังยาย กลา แลวใชต าขายสฟี า คลมุ แปลง 2-3 ชน้ั ถาเมลด็ งอกใบจริง 2 ใบ แตกออกมา ใหรดปุย ยูเรียสตู ร 46- 0-0 1 ชอนแกงตอ น้าํ 20 ลิตร หลังรดปยุ ยเู รยี ใหก ับตน กลาในแตล ะครงั้ ตองรดนา้ํ เปลา ตามทุกครั้ง ค. การเตรยี มแปลงปลกู ควรเลอื กแปลงปลูกท่ีหา งจากสควา ชพนั ธอุ ืน่ ประมาณ 2 กโิ ลเมตร แปลงปลกู อาจเปน ท่ีนา หลงั จากเกบ็ เก่ียวหรือท่ีสาํ หรบั ปลกู พชื ไร หรือสวนผลไมท ต่ี น ไมยังเล็กเชน สวนลําไย และลน้ิ จ่ี เปนตน การเตรยี มแปลงปลูกสาํ หรบั สควา ชพนั ธุเถาเลื้อยควรจะกวา ง 5.5 เมตร ระยะระหวา งตน ใช 40 ซม. สว นสควาชพันธตุ นใชแ ปลงกวา ง 1.5 เมตร ระยะระหวา งตน ใช 40 ซม. กอนการยา ยปลกู ควร รองกน หลุมดวยขไี้ ก หรือขีว้ ัวเกาๆ 1 ตนั /ไร ปยุ 15-15-15 50 กก./ไร ฟูราดาน 1 กก./ไร บอแรกซ 1 กก./ไร สควาชอายุ 10-12 วนั กน็ ําไปปลูก ลงแปลงได ตน กลาทอ่ี อกดอกไมควรนาํ ไปปลกู

35 ง. การคลุมดนิ ควรใชฟ างแหงคลุมดินเพอ่ื ชวยรักษาความชื้นในดิน ชว ยควบคมุ วชั พชื ปอ งกนั อณุ หภูมิไมใ ห สูงเกนิ ไป ทงั้ ยังชว ยรกั ษาไมใ หผลสควาชสัมผัสดินโดยตรง ควรคลุมฟางใหท ่วั แปลง สาํ หรบั สควา ชเถา เล้ือยคลมุ แปลงดวยพลาสตกิ สีเงนิ ความกวา งประมาณ 1-1.2 เมตร สําหรบั สควา ชตนใหใชฟาง ขา วคลมุ แปลงเฉพาะแถวท่ปี ลกู เทานั้น หรือจะใชพ ลาสตกิ สเี งนิ แทนฟางขา วกไ็ ด จ. การใหน้าํ ควรใหนํ้าแกด ินใหชมุ ชน้ื อยูเสมอ แตอยา ใหข ังแฉะ โดยเฉพาะชวงออกดอกตดิ ผล ไมค วรให น้ําแบบสปรงิ เกอร จะทําใหเ กดิ โรคทางใบมาก ควรใหนาํ้ ตามรอ งโดยใชก ระบวยตักนํ้ารด อยาใหใกล โคนตน เกนิ ไป เพราะนาํ้ อาจกระแทกถูกตนแรงเกนิ ไป ทาํ ใหตน ช้าํ หกั ได ฉ. การใหปยุ 1. หลงั จากยายตน กลา ปลูก 5-7 วัน ใหใสป ยุ ยเู รีย สตู ร 46-0-0 อตั รา 3-5 กรัม/ตน โดย เจาะรขู า งตน เพื่อใสปุยลงในรูที่เจาะ 2. หลังยายตน กลาปลกู 20 วัน ใหใสปยุ 15-15-15 อตั รา 10 กรัม/ตน 3. หลงั จากผลมีขนาดเทาไขไ ก ใหใ สป ยุ 13-13-21 อัตรา 10 กรมั /ไร ช. การจัดเถา และการตัดแตง ทําการจัดเถาใหแกส ควาชเถาเลอ้ื ยเม่อื ยายกลา ลงแปลง และมใี บจรงิ 4-5 ใบ ใหเดด็ ยอดท้งิ จัดเถาใหเหลอื เพยี ง 4 เถา/ตน ใหร ดิ กิง่ แขนงในชวง 1 ฟุตจากลําตน เดมิ การจดั ทําจะทําได เม่ือสควาชมเี ถายาว 30-60 ซม. ควรจดั ใหเ ถาเลอื้ ยไปทางเดียวกนั เพื่อความเปนระเบียบเรียบรอย เนอื่ งจากสควาชทเ่ี จริญเตบิ โตตามธรรมชาติ จะมีเถาพันกนั แนน ไปหมด ดอกก็จะกระจดั กระจายไม เปน ระเบียบ ยากแกการผสมเกสร จะทาํ ใหผ ลผลติ ตํา่ ควรจะจดั เถาในเวลาตอนบา ยเพราะเถาออนจดั ไดง า ย ไมค วรจดั เถาในเวลาเชา เดด็ ขาด เพราะกง่ิ อวบน้ํา หกั เปราะไดงา ย แตถาเปนสควาชตน ไมต อ งมี การจดั เถา ด. การผสมเกสร กอนผสมเกสรตอ งตรวจเชค็ ตนตวั ผแู ละตน ตัวเมียวา มลี ักษณะตรงตามพันธุห รอื ไมและมตี นทมี่ ี ลักษณะแปลกปลอมปนอยดู ว ยหรือไม หากมีก็ตองกําจดั ออก ตนทแ่ี ปลกปลอมน้นั ถาปนอยูในกลมุ ตน ตวั เมียก็สามารถกาํ จดั เวลาไหนก็ได แมวา จะใกลเก็บเก่ียวผลก็กําจัดไดโ ดยไมม ปี ญ หา แตถ าตนทแี่ ปลก ปลอมปนอยใู นกลุมตนตวั ผตู อ งรีบกําจัดกอนทาํ การผสมเกสร หากไมกาํ จดั จะมีปญหาเพราะไมท ราบ วา ดอกตวั ผูจากตนนัน้ นาํ ไปผสมตัวเมยี ตน ใด วธิ กี ารปอ งกันอาจทาํ ไดโดยปลูกตนตัวผูข างตนตวั เมียใน

36 แปลงเดียวกนั และใชด อกตวั ผูผสมดอกตัวเมยี ในแปลงเดยี วกันเทานัน้ ถา หากมีความผดิ พลาดเกดิ ขน้ึ ในกลุม ตน ตวั ผู ก็สามารถกําจดั เมล็ดทไี่ ดจากแปลงดังกลาว แตวธิ กี ารนีท้ าํ ใหเกดิ ความยงุ ยากในการจดั การ เนื่องจากการปฏิบตั ิในแปลงตอ ตนตวั ผูแ ละตน ตวั เมยี น้ันตา งกนั ในการปฏบิ ตั จิ รงิ ในแปลงปลูก ตอ งแยกตนตวั ผจู ากตนตวั เมียเพ่ือความสะดวกในการจัดการ การตรวจพอ และแมพนั ธตุ อ งใชลกั ษณะ ของตน ใบ ดอกและผล ประกอบกนั การผสมเกสรดวยมือมเี ปอรเ ซ็นตก ารตดิ ผลประมาณ 50% ดังนนั้ ตอ งผสมดอกตัวเมยี ประมาณ 4 ดอก เพอ่ื ใหตดิ ผล 2-4 ผลตอตน ผลที่ติดควรเปน ผลทีต่ ิดอยูสว นกลางของเถา เถาควรปลอยใหเ จริญ ตามธรรมชาตไิ มตองเด็ดกงิ่ แขนง อีกผลหนึ่งของเถาจะอยสู ว นปลายของเถา ผลน้จี ะมขี นาดเลก็ กวาผล ทีต่ ิดสวนกลางของเถา ขนาดของผลไมมคี วามสมั พนั ธม ากกบั จาํ นวนเมล็ดที่ตดิ ตอ ผล ถาผลติด จํานวนหลายผลและเปน ผลเลก็ ๆ จะใหเมลด็ มากกวาผลขนาดใหญ แตติดผลจํานวนนอย กรณี สควาชเปนชนดิ ตนกผ็ สมดอกตัวเมยี ประมาณ 4 ดอกตอ ตนเชนกนั ใหเ ด็ดดอกตัวเมียดอกแรกทิง้ หลงั จากเด็ดทงิ้ ดอกตวั เมียจะออกใหม ระยะเวลาทง้ิ ชวงของดอกตัวเมียของสควา ชใชเวลาประมาณ 5-6 วนั ควรใชดอกตัวเมยี ทขี่ อที่ 4 หรือ 5 สาํ หรบั สควา ชเถาเวลาท่ีเหมาะสมแกการผสมพนั ธไุ ดแ ก เวลาเชา ประมาณ 08.00-11.00 น.และเวลาบาย 16.00 น. เปน ตนไป ทง้ั นีเ้ นอ่ื งจากเปอรเซ็นตการตดิ ผลในชวงเวลาดงั กลาวจะตดิ ผลดกี วาการผสมพันธเุ วลาที่อากาศรอ นหรอื มีแสงแดดจดั ผลตดิ ดที ีส่ ดุ ถา ผสมกอ น 09.00 น. หลงั จากนั้นเปอรเซ็นตการติดผลลดลงและไมต ดิ ผลเลยในชว งบา ย การผสมตอน เยน็ จะติดผลไมดเี ทา ตอนเชา สง่ิ ท่ีตองระมัดระวงั ในการผสมเกสรสควา ช ไดแกการปองกันไมใหเ กสรตัวผทู ีไ่ มใ ชต ัวผู ทต่ี อ งการ ผสมกบั ดอกตวั เมยี นอกจากจะปองกันไมใหแ มลง มดหรือสัตวท ่ีอาจนาํ เกสรตวั ผูข อง สควาชจากพนั ธอุ ่ืนท่ีไมตอ งการ หรือเกสรตวั ผูของตนตวั เมยี ผสมกบั ดอกตัวเมยี แลว ยังตองคาํ นงึ ถงึ ดอกตัวเมียท่ีมเี กสรตวั ผูเ จรญิ ภายในดอกเดยี วกัน หรือเรยี กวาดอกกระเทย เปอรเ ซน็ ตของดอกกระเทย ในตนตัวเมยี มปี ระมาณ 2-5% หรืออาจสงู กวา นี้ถาสภาพส่ิงแวดลอ มไมเ หมาะสม เชน อากาศรอน หรอื ขาดนาํ้ ดอกกระเทยนี้ถา พบตองกําจัดทนั ที ระยะเวลาของการผสมเกสรมปี ระมาณ 7 วนั ระยะเร่มิ ตน 2 วันแรกมดี อกตัวเมียบาน บา ง อกี 2 วนั ถัดมาเปนชว งท่มี ีการบานของดอกมาก อีก 2-3 วันสดุ ทายมดี อกบานบาง หากมกี ารผสม พันธุใ นแปลงใหญค วรจัดวันปลูกใหแตกตา งกัน เพ่ือปองกนั ไมใ หชวงบานของดอกพรอ มกนั ทําใหผสม พนั ธไุ มท นั ดอกตวั เมียและดอกตัวผูม ชี ว งเวลาทีผ่ สมพนั ธไุ ดสน้ั มากประมาณ 1 วัน หากพน จาก 1 วนั แลว ปรากฏเปนเมอื กท่ีเกสรแสดงวา ใชไ มได ถา ผสมพันธเุ รียบรอ ยแลว ควรทําเครือ่ งหมายไวท ปี่ ฏทิ ิน เพราะอกี 30 วันหลงั จากน้ีจะเก็บเกยี่ วผลสควาชได

37 ต. วธิ กี ารผสมพันธุ สควาชเปน พืชผสมขาม ตองอาศยั ผึ้งและแมลงอ่นื ๆ ในการชว ยผสมเกสร แตใ นการผลิตเมลด็ พนั ธลุ กู ผสมตองปองกนั ไมใหแ มลงเหลานี้ผสมเกสร เพราะจะทาํ ใหไ มไดเมลด็ ลูกผสมจากสายพันธพุ อ ทต่ี อ งการ ดังนน้ั ตอ งเตรียมดอกตวั เมียท่ีพรอมจะบานในวนั รุง ข้นึ มดั กลีบดอกใหตดิ กันโดยใชย างยดื หรอื ใชถุงคลมุ ดอกตวั เมยี กไ็ ด สําหรบั สควา ชเถาเลือ้ ยดอกตัวเมยี ควรเปน ดอกของขอ ท่ี 4 หรอื 5 และ ขอที่ 8 หรอื 9 ของเถา เถาหนง่ึ จะผสม 2 ดอก ตน หนงึ่ ผสมประมาณ 4 ดอก สวนสควา ชตน ควรผสม ดอกตวั เมยี ดอกท่ี 2 ขึ้นไป และผสมประมาณตนละ 4 ดอก การเตรยี มดอกตัวผูสําหรบั ผสมพนั ธุก ค็ ลา ยกบั ดอกตวั เมยี โดยเลือกดอกตัวผทู ่จี ะบาน ในวนั รงุ ขึน้ โดยเลือกดอกที่ตูม เก็บดอกตวั ผูใสในถงั โฟมทีม่ กี ระดาษ หนงั สอื พิมพชุบน้ําใหช ุม ปด ฝาให สนทิ เก็บไว 1 คนื เพ่ือใชใ นวนั รงุ ขึ้น ผสมเกสรโดยใชดอกตวั ผูท ่บี านแลวจากถังโฟม เดด็ ตรงกลบี ดอกออก และแตะเกสร ตัวผบู นยอดเกสรตัวเมยี ทบ่ี าน ใหละอองเกสรตัวผจู บั ใหท ั่วยอดเกสรตวั เมีย ใชถ งุ กระดาษครอบดอก ตัวเมยี ท่ีผสมพันธุแ ลว พรอมใสเ ครอ่ื งหมายเชน สายยางยดื ที่ดอก และใบทอี่ ยชู ดิ ดอก หรอื มัดกลีบ ดอกตัวเมียดว ยยางยืดแทนการใชถ ุงกระดาษก็ได กอนผสมพนั ธดุ อกตวั เมีย ควรตรวจดกู อนวา ไมใช ดอกกระเทย และดอกตัวผบู นตน ตวั เมียตองเดด็ ทงิ้ ใหหมด ผลสควาชเถาเลือ้ ยหลงั ผสมพนั ธแุ ลว และ ผลสควาชตนหลงั ผสมพันธุแ ลว ถ. การเก็บเกย่ี ว พนั ธุหนกั หลงั ผสม 30-35 วนั ก็เก็บเกยี่ วได พนั ธุเ บาหลงั ผสม 20-25 วัน กเ็ ก็บเก่ยี วได ทง้ั นข้ี ้ึนอยูกับสายพันธุ อายุการเก็บเกย่ี วตง้ั แตหยอดเมล็ด จนถงึ เก็บเกยี่ วประมาณ 75-120 วัน ขึน้ อยูก บั สายพันธุ สควาชเม่อื อายคุ รบเตม็ ทจ่ี ะทาํ การเกบ็ เกย่ี ว โดยดงึ เถาจากตน เมอ่ื รวู าสควาชแกเต็มที่ ทงิ้ ไวใ นแปลง ประมาณ 1-2 วนั แลว จึงเกบ็ เกีย่ ว ถาผลแกจ ัดไมตองท้ิงไวในแปลงก็ไดสงั เกตความแกของสควา ชเมือ่ ใบทตี่ ิดกับผลสควา ชแหงและเม่ือผา ผลสควา ชเมลด็ สควาชมีสเี หลือง แสดงวาเมล็ดแกจ ัด ผลสควา ชท่ี เนา ในแปลงใหแ คะเมล็ดลางตากทนั ที สวนผลสควาชทด่ี ีใหเก็บไวป ระมาณ 1 สปั ดาห เกบ็ ไวในที่รม มี อากาศถายเทดี การบม ทาํ ใหส ขี องเมลด็ และคุณภาพดีขึน้ แตม ีขอเสยี ทีผ่ ล สควาชมกั เนา ในชว ง น้ี ทาํ ใหเ สียหายได เมลด็ ทีไ่ ดจ ากสควา ชทเี่ นา คณุ ภาพมกั ไมดี ใหแยกเมลด็ พวกนี้ออกจากเมลด็ ทไี่ ด จากผลสควา ชทด่ี ี เพือ่ เก็บไวจ ําหนา ยในเกรดท่ีตาํ่ กวา เมล็ดสควาชจากผลท่ดี ี

38 ท. การประเมนิ พันธุล กู ผสม เมือ่ ไดเมลด็ พันธลุ กู ผสมสควา ชแลว จําเปน ตองทาํ การประเมินพนั ธวุ า เมล็ดลกู ผสมทไี่ ดน น้ั เปน ลกู ผสมจริง หรือเปนเมล็ดพันธุท่ีไดจากพนั ธุตนแมทผ่ี สมตวั เอง หรือผสมกับพอ พันธอุ ืน่ ซ่ึงไมใชพอพันธุ ที่ตองการ วธิ ีการนจี้ าํ เปนตอ งทําในผักลูกผสมทกุ ชนิด เชน มะเขอื เทศลูกผสมพริกลูกผสม แตงโม ลูกผสม แตงกวาลูกผสม และสควา ชลกู ผสม วิธกี ารทําไดโ ดยนําสายพนั ธุพอและแมป ลกู เปรียบเทยี บ กบั เมล็ดลกู ผสม บางคร้งั ไมตอ งปลกู พอ พันธกุ ไ็ ด ปลกู ประมาณ 50-100 ตน ตอ สายพันธุ สังเกตุดู ความแตกตา งของใบ ดอก ผล และความสมํา่ เสมอของลักษณะดงั กลา ว พนั ธุลกู ผสมควรมี ใบ ดอก ผล ทเ่ี หมอื นกัน และมคี วามสมา่ํ เสมอสูง แตถา ลกู ผสมมี ใบ ดอก หรือผล เหมอื นพันธุแม แสดงวา เมลด็ ไดจากการผสมตัวเองของแมพันธุ แตถาลกู ผสมมี ใบ ดอก หรอื ผล แตกตา งจากพันธุพ อ และแม และยงั ตางจากลูกผสมตนอน่ื แสดงวาอาจมีพอ พันธอุ นื่ ทีไ่ มใชพอพันธทุ ี่ตอ งการเขา มาผสมดอก ดงั กลา ว และถา ลกู ผสมมลี ักษณะตางๆ เหมือนพันธพุ อ แสดงวามเี มลด็ พอพนั ธแุ ทปะปนเขามา เนอ่ื ง จากมคี วามผดิ พลาดเกดิ ขึน้ เมื่อปลกู ลกู ผสมแลว จะเห็นความแตกตา งอยา งเดน ชัด เชน สควาชลกู ผสม มใี บทีแ่ ตกตางจากใบของแมพนั ธุอยางเหน็ ไดช ัด ดงั นนั้ การวิเคราะหพนั ธลุ ูกผสมทาํ ไดงาย ไมตองรอ ใหต นตดิ ผล และดลู ักษณะของผลก็ได แตห ากใบของแมพ ันธุแ ละลกู ผสมคลายกนั จนแยกไมอ อก ใหปลกู จนผลตดิ และเจรญิ ดลู ักษณะของผล เชน แตงโมลูกผสมมีลายไมเหมือนแมพ ันธแุ ละมีสผี ิว ของผลจางกวา ตวั อยา งทสี่ อง ผลแตงกวาลูกผสมมีผลสเี ขียวเขม สวนแมพ ันธมุ ีผลสีจาง การบมสควาชไมควรใหถูกแสงแดด ควรเก็บไวใ นทีร่ ม หลังจากผา เสรจ็ แลว เอาแชไว 1 คืน หลังจากนน้ั นํามาลางใหสะอาด นําไปตากในทีเ่ ตรียมไว ตากบนตาขา ยสฟี า การตากควรตากใน แดดท่อี อน 2-3 แดด จงึ เก็บเมล็ด การแคะเมล็ดสควา ช แคะไดโดยใชมอื หรือใชเครอ่ื งจกั ร ควรใชมอื แคะ มากกวา เครือ่ งจกั ร เพราะเคร่ืองจกั รอาจทาํ ใหเมล็ดเสยี หายได เมลด็ สควา ชที่ไมดจี ะถูกคัดออกไดหลายวิธี เชน ผลสควา ชท่ไี มแ กเ ตม็ ท่ี ควรคดั ออก หรอื แยกเมลด็ ออกตา งหาก เมล็ดสควาชทไ่ี มเ จรญิ เตม็ ทมี่ ีแตเ ปลือกนอกถกู คัดออกตอนลางเมล็ด เมลด็ พวกนีจ้ ะลอยนาํ้ เมลด็ ท่ีมาจากผลเนา เปลอื กเมล็ดแตก และเมล็ดมสี ีเหลอื งไมสมา่ํ เสมอ เมล็ด เหลาน้ีอาจแยกในขน้ั ตอนสดุ ทายโดยใชเครอ่ื งเปาเมลด็ ธ. โรคแมลงและวิธีปองกันกําจัด โรคท่สี ําคัญไดแก โรคเถาเหย่ี ว, โรคเถาแตก, โรคราน้าํ คา ง, โรคใบไหม, โรคแอนเทรคโนส และโรคลาํ ตน เนา ปอ งกนั โดยใชย า ไดเทนเอม็ -45, คูปราวิต, โคไซด และยารดิ โดมิล (จะใชใ นเวลาจาํ เปนจริงเม่ือ เปนโรคใบไหม) ฉีดพนทุกๆ 3-5 วัน (ไมค วรใชย าผสมกนั ใหใชชนิดใดชนิดหน่งึ ฉดี พน ในแตละครง้ั เทา นน้ั )

39 แมลงท่สี ําคญั ท่เี ขาทาํ ลายไดแก เพลยี้ ไฟ เพล้ยี ออ น ไร เตา แตง เตา ลาย และ แมลงวนั ทอง การปอ งกนั โดยใชยา สกาย, แลนเนท, เซฟวนิ 85, ฟอสดอล E, ฟอสไดน ฉดี พน ทกุ ๆ 5-7 วนั (ไมค วรใชย าผสมกนั ใหใ ชช นิดใดชนิดหนึง่ ฉดี พน ในแตล ะครงั้ เทานน้ั ) สาํ หรบั แมลงวันทองใชสารเมธิลยจู นี อล ผสมกบั ยาฆาแมลง เชน แลนเนท หรอื สกาย ใสไวในภาชนะวางเปนจุดๆ ในแปลง

VEG421L5 การผลิตผกั (Vegetable production) Hort 359421 บทที่ 5 ศัตรผู กั และคุณสมบัตทิ ส่ี าํ คญั ของผกั (Vegetable diseases and important characteristics) มณีฉัตร นิกรพนั ธุ เน่ืองจาก ผกั ท่บี รโิ ภคในประเทศไทย สวนใหญเ ปน ผกั ที่นําเมล็ดพันธมุ าจาก ตางประเทศ ดงั นนั้ ความตา นทานตอโรคและแมลงของผกั พวกนี้จึงมนี อยกวาผักพืน้ เมอื ง ปญ หา ของโรคและแมลงของผกั แตล ะชนดิ ก็มคี วามแตกตา งกนั ไดแ ก 1. ศตั รมู ะเขือเทศ 2. ศัตรูพรกิ และความเผ็ดของพรกิ ปญ หาโรคแมลง และอื่นๆ ในมะเขือเทศ ก. โรคในมะเขือเทศ โรคมะเขือเทศท่เี กดิ เนื่องจากเชอ้ื รา แบคทเี รยี และไวรัส มมี ากมายหลายโรคที่ รายงานไวโดย (ตารางที่ 5-1) Giatgong (1980) อนงึ่ ภายในกลุมที่รายงานมโี รคทีส่ าํ คัญและ ระบาดมากในการปลูกมะเขือเทศในประเทศไทยไดแกโรคเหยี่ ว (bacterial wilt) เกิดจากเชอ้ื แบคทีเรยี ทาํ ความเสียหายใหก ับการปลูกมะเขอื เทศในภาคเหนือและภาคอิสาน และพันธุ มะเขือเทศท่ีใชปจจุบนั นก้ี ไ็ มม ีพันธุใดท่ีมีความตา นทานตอ โรคนเี้ ลย การแกไ ขก็ทาํ ไดโดยเลีย่ งจาก แหลงทเี่ ปนโรค หรือปลกู มะเขอื เทศในนาขาวซึ่งนาถูกแชน้าํ มาเปนเวลาหลายเดอื นเปนตน โรคใบไหม (late blight) เกิดจากเช้ือรา ทําความเสียหายใหก ับมะเขอื เทศในภาคเหนอื มากกวา ภาคอิสาน พันธทุ ่ีปลกู อยูก ไ็ มม พี ันธุใ ดทีต่ านทานตอโรคนี้ จะแกไขก็โดยการจดั การในแปลง พนยา ฆา เชอ้ื ราทุกๆ 5 วนั และกําจัดแหลง ผลติ เชื้อราบนตน มะเขอื เทศและพชื ทอี่ ยูขางเคยี ง โรคใบหงิก (leaf curl) เกดิ จากเชอื้ ไวรัส ทาํ ความเสียหายใหท้งั ในภาคเหนือและภาคอิสาน และไมม ีพันธุต า น ทานเชนกัน ตอ งหลกี เล่ยี งโดยปลูกมะเขอื เทศในบริเวณท่ีไมมีพชื อืน่ ๆ ในตระกูลเดียวกัน หรือ พชื ทเ่ี ปน ที่อยอู าศยั ของแมลงหวี่ขาวทีเ่ ปนตัวนาํ โรคดังกลา ว และฉดี ยาฆาแมลงทุกๆ 5 วนั เปนตน ความเสยี หายเนอ่ื งจากโรคไดพูดถงึ ภาคเหนอื และภาคอิสาน สว นภาคอน่ื ๆ มกี ารปลกู มะเขอื เทศนอย แตก ารเปน โรคกค็ ลา ยๆ กนั นอกจากโรคทัง้ สามท่ีไดกลา วแลวยงั มีโรคอื่นๆ ทไี่ ด รายงานไวอ กี หลายโรคดังตอ ไปน้ี

2 ตารางที่ 5-1 เชือ้ ทีท่ ําใหเ กดิ โรคในมะเขือเทศ ช่อื ภาษาองั กฤษ และชอื่ ภาษาไทย ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เชอ้ื ท่ที าํ ใหเ กิดโรค ช่ือโรคภาษาอังกฤษ ช่อื โรคภาษาไทย ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- Alternaria solani(Ell+Martin) Sor. Fruit rot โรคผลเนา Bacterium solanacearum Bacterial wilt โรคเหยี่ ว Cercospora fuligena Roldan Leaf spot โรคใบจุด Cercospora Leaf mold Cladosporium falvum Cooke Leaf spot โรคใบจุด Corynespora cassicola (Berk+Curt)Wei. Leaf spot โรคใบจดุ Fusarium oxysporum Schlecht. f.sp. Lycopersici (Sacc.) โรคเห่ียว Snyder+Hansen Fusarium wilt โรคเหย่ี ว Macrosporium lycopersici Plow. Leaf blight โรคใบแหง Meloidogyne incognita (Kefoid+White) Root knot Chit. nematode โรครากปม Meloidogyne sp. Root knot nematode โรครากปม Oidiopsis sp. Powdery mildew โรคราแปง Phytophthora infestans (Mont.)de Bary var. infestans Waterh. Late blight โรคใบไหม Pseudomonas solanacearum E.F. Sm. Bacterial wilt โรคเหย่ี ว Pythium sp. Damping-off โรคเนาคอดนิ Sclerotium rolfsii Sacc. Root rot โรครากเนา Stemphyllium solani Weber Leaf blight โรคใบแหง โรคใบไหม Virus Mosaic โรคใบดาง Virus Leaf curl โรคใบหงิก ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

3 ข. แมลงในมะเขือเทศ แมลงทีท่ าํ ความเสยี หายใหก บั มะเขือเทศไมนอ ยกวา โรคและมแี มลงหลายชนิด ดว ยกัน แตการปรบั ปรุงพนั ธุต า นทานแมลงไดร ับความสนใจนอยกวาการปรบั ปรุงพันธุต า นทาน โรค และมักจะใชยาฆาแมลงในการควบคุมปองกนั ความเสียหายเน่อื งจากแมลง พันธมุ ะเขือเทศ ทใี่ ชในปจ จบุ นั นีท้ ่ีมีความตา นทานแมลงแทบไมม เี ลยซึ่งตางจากพนั ธุต านทานโรคมอี ยมู ากมาย หลายพนั ธุ ท้งั นมี้ ใิ ชเน่ืองจากแหลง พันธมุ ะเขือเทศตา นทานแมลงไมม ี แตเน่ืองจากความยากใน วธิ กี ารปรับปรงุ พนั ธุทใ่ี ชไ ดผ ลในการพฒั นาพันธุจงึ มีความพยายามนอ ยมากทางดานนี้ ประกอบ กับการใชยาฆาแมลงไดผลท่แี นน อนและสิ้นเปลืองนอย หนอนเจาะผลมะเขือเทศ (tomato fruitworm) หรอื มชี อ่ื วิทยาศาสตรว า Heliothis armigera ซึ่งเปน หนอนเจาะฝกขาวโพด หนอนเจาะสมอฝา ย และหนอนเจาะฝก ถัว่ เหลือง ทาํ ลายอตุ สาหกรรมมะเขอื เทศทัง้ ผลผลิตสด และผลติ เมลด็ พันธุ แมแ มลงมกั ไขไ วท ีก่ ลีบ เลย้ี งของดอกมะเขอื เทศเม่ือเจรญิ ขึ้นก็เจาะผลมะเขอื เทศเขาไปอาศยั อยภู ายในผล ถาหากไม ทําลายในระยะเปนไขหรอื ตวั ออนตอนอยนู อกผลแลว การทาํ ลายหลังจากนน้ั มกั ไมไดผ ลแมวา ใช ยาฆา แมลงชนิดดดู ซมึ ในการผลิตเมลด็ พนั ธุมักพบปญหานีม้ ากเพราะระหวางท่ผี สมพนั ธุ ดอกมะเขือเทศกสกิ รไมม ีเวลาวางและไมต องการฉดี ยาฆา แมลงในระยะเดือนที่ผสมพนั ธุเนอ่ื งจาก มงี านผสมพันธุมากตลอดวัน ประกอบกบั ยาฆา แมลงมีกลนิ่ เหมน็ และเปนอันตรายตอ กสกิ รดงั นน้ั จึงเปนชวงท่แี มลงวางไขบ นกลีบเล้ยี งดงั กลา ว ดังน้ันควรฉีดยาฆาแมลงสมา่ํ เสมอจงึ แกป ญ หา ไดมีมะเขอื เทศบางชนดิ Lycopersicon hirsutum f.glabratum ซ่ึงเปน พนั ธปุ า และมสี ารภายใน ตนทที่ าํ ลายตัวออ น (larva) ของหนอนเจาะผล แมลงหวี่ขาวกเ็ ปนแมลงท่ีทาํ ลายมะเขือเทศคอนขางรุนแรงในแถบรอ น เนือ่ ง จากเปนตวั นําเช้ือไวรัส ทีท่ าํ ใหเ กดิ โรคใบดางและใบหงกิ การปลกู มะเขือเทศนอกฤดู ในฤดรู อ น และฤดูฝน ประสพปญ หาจากโรคไวรสั บางครงั้ ทําลายถงึ 100% ในฤดหู นาวความรนุ แรงลดลง เพราะอณุ หภูมิไมเ หมาะตอ การขยายพันธุแ มลงหวี่ขาว การควบคมุ จํานวนแมลงโดยใชย าฆา แมลงคอนขา งไดผ ลมาก แหลง พนั ธตุ า นทานแมลงหว่ีขาวหาไดจาก Lycopersicon hirsutum และ Lycopersicon pennellii ศูนยว ิจัยพืชผักแหง เอเชีย (Asian Vegetable Research and Development Center) ประเทศไตหวัน ไดร ว มมือกับมหาวทิ ยาลยั Cornell ในการพัฒนาพนั ธุ มะเขอื เทศตานทานแมลงโดยใช Lycopersicon pennellii แตป ญ หาทปี่ ระสพไดแกความยากใน การผสมพันธุข ามชนดิ (interspecific hybridization) ลูกผสมตอ งเล้ียงในสภาพปลอดเชื้อ และยัง ตอ งใชเ วลาอีกนาน ในการพัฒนาพนั ธมุ ะเขอื เทศใหม ีลกั ษณะตามทีเ่ ราตอ งการ โดยมยี ีนตา นทาน แมลงจากพันธปุ าของ Lycopersicon pennellii

4 นอกจากแมลงท่ีกลา วแลว ขางตน ยงั มแี มลงอน่ื เชน แมลงปกแขง็ (flea beetle) Epitrix hirtipennis, spidermite (tetranychus telarus L.) และ pinworm (Keiferia Lycopersicella) เปนตน อาจทาํ ความเสยี หายไดถ า ไมค วบคุมโดยยาฆา แมลง นอกจากแมลงยังมไี สเ ดอื นฝอย (nematode) ซง่ึ เกิดจาก Meloidogyne incognita และชนิดอน่ื ของไสเดือนฝอยซงึ่ มีถงึ 7 ชนิดดวยกัน ที่ไดรบั รายงานวาทําลาย มะเขือเทศ การควบคุมไสเ ดือนฝอยโดยยาฆาแมลงท่ใี หใ นดนิ เชน ฟรู าแดนหรอื อืน่ ๆ ไมสามารถ ควบคมุ ไดผลดี ควรหลกี เลยี่ งแหลง ทีม่ ีไสเ ดอื นฝอยในดนิ โดยใชทีใ่ นนามากกวาทีบ่ นเนินเขา หาก มีความจาํ เปน กต็ องจัดการโดยขังนํา้ แชด ินเปนเวลานานจึงจะใชได ความตานทานไสเ ดอื นฝอย หาไดจ าก Lycopersicon peruvianum (PI 128657) และใชว ิธีการผสมกลบั (backcross) กับ พันธทุ ี่ดีเพอื่ ถา ยทอดยนี ยนี ตานทานไสเดอื นฝอย Mi ยีน มคี วามตานทานตอไสเดอื นฝอยถึง 4 ชนิดดวยกนั ไดแ ก Meloidogyne incognita, M.javanica,M.arenaria และ M.acrita ค. ปญ หาอนื่ ในมะเขอื เทศ ปญหาที่ประสพมากในการปลูกมะเขือเทศในเขตรอ นไดแก อุณหภูมิทสี่ งู ทาํ ให การออกดอก ตดิ ผลและการเจรญิ ของผลไมไ ดผ ล หรือไดผลผลติ ตา่ํ แลวแตค วามรนุ แรงของ อณุ หภมู ิ อณุ หภูมิสงู ทาํ ใหส ภาพทางสรรี วิทยาโดยเฉพาะท่ีเกย่ี วกับการสบื พนั ธผุ ดิ ปกติ ผลมะเขอื เทศท่ไี ดม นี อ ยมากคณุ ภาพก็ไมดี สขี องมะเขอื เทศก็พฒั นาไมไดส ีตามทตี่ อ งการ ศูนยว ิจัยพืชผักแหงเอเชียไดใ หความสนใจในเร่ืองนม้ี าก และไดพัฒนาพันธุมะเขือเทศทนรอนและ แจกจายไปยังประเทศตางๆ ในเอเชียมาเปนเวลากวาสบิ ป โดยมหี นวยงานราชการในประเทศ ตางๆ ทําการวจิ ัยและพฒั นาพันธรุ ว มอยูด ว ยในประเทศไทย มมี หาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม มหาวทิ ยาลัยขอนแกน มหาวิทยาลัยสงขลา วทิ ยาลัยเกษตร กรรมตางๆ กรมวิชาการเกษตร และกรมสง เสรมิ การเกษตรและสหกรณ ไดพ ยายามคนควาได พนั ธุทนรอ นจากความรวมมอื นีห้ ลายพนั ธไุ ดแ ก L 22 และ SVRDC 4 เปน ตน แตพ นั ธุเหลานมี้ ี คุณภาพไมด ีพอ สําหรับสง โรงงานหรอื อตุ สาหกรรมการผลิตมะเขือเทศสด ใชไดเฉพาะการ บริโภคผลสดในทอ งทเี่ ทา นน้ั จงึ ยงั มคี วามตองการพันธุทนรอนทม่ี คี ณุ ภาพดี เชน เดยี วกับพนั ธุ การคาซึง่ เปนพนั ธฤุ ดูหนาว อาจสรปุ ไดว าพันธุทนรอนทีด่ ี ควรมีความตานทานตอโรคและแมลงเมอื งรอนดวย เชน ความตานทานตอโรคเห่ียว (bacterial wilt) ความตา นทานตอ โรคไวรัส ความตานทานตอโรค ใบไหม (late blight) ความตานทานตอ ไสเดือนฝอย ความตานทานตอ แมลงหวีข่ าวและ หนอนเจาะผล

5 โรคพรกิ แหลงพันธุกรรมท่ีตานทานโรคและการปองกันกาํ จดั โรคพริกทพี่ บโดยทว่ั ไปในประเทศไทยไดแ ก โรคตนเนา โรคเห่ยี ว โรคใบจุด โรค ราแปง โรคกุง แหง โรคยอดและก่ิงแหง โรคผลเนา โรคตากบและโรคใบหงกิ โรคเหลา นี้ ทาํ ความเสียหายใหกับการผลติ พริกมากพอควร หากไมมกี ารปองกันและกาํ จัดที่ถกู ตอง สาเหตเุ กดิ จากเชอื้ โรคตางๆ หลายชนดิ ตามตารางที่ 5-2 (Giatgong. 1980) โรคกุงแหงเปนโรคท่ที ําความ เสียหายใหม ากกวา โรคอ่ืนๆ เพราะทําใหผ ลพรกิ เนา และคณุ ภาพของผลลดลง และโรคก็ระบาด คอ นขา งมากในแตละหมบู า นโดยเฉพาะหมบู า นทเ่ี กบ็ เมลด็ พันธใุ ชเอง หรอื แลกเปลย่ี นกันภายใน บรเิ วณหมบู านท่มี ีโรคน้รี ะบาด เช้อื โรคติดไปกบั เมล็ดทาํ ใหก ารควบคุมยาก วิธกี ารปองกนั กําจดั มกั ใชเ มลด็ พันธจุ ากแหลง อนื่ ท่ีไมเ ปนโรค ใชย าปอ งกนั กําจัดเชอ้ื ราฉีดพน ทาํ ความสะอาดแปลง ปลูกและกาํ จดั แหลงเพาะเช้อื โรค ตลอดจนการใชพ ันธุตา นทานโรค ซง่ึ มยี ีนควบคมุ ความ ตานทานตามตารางท่ี 7-3 รายละเอียดของโรคตางๆ มดี ังตอไปนี้ ก. โรคกุงแหง เกดิ จากเชอื้ ราหลายชนดิ ไดแก Colletotrichum piperatum, Colletotrichum capsici และ Colletotrichum gloeosporiodes (ลักษณา 2536 และ Giatgong. 1980) เปนโรค ที่ระบาดรวดเร็ว และมกั เปนขณะท่ีผลพริกเจริญเติบโตเกือบเตม็ ที่ สังเกตเหน็ ไดชดั บนผลพรกิ เปน จดุ สีน้าํ ตาลชาํ้ ๆ บางแผลมีเสนใยของราสีดาํ ปนอยู แผลขยายวงกวา งออก ทาํ ใหเกิดผลเนา เมื่อสงั เกตเหน็ โรคแลว กาํ จดั ไมท ัน คณุ ภาพและผลผลติ ลดลงอยางมาก มกั ระบาดลกุ ลามทั้ง หมบู าน ควรทําการปอ งกันกําจดั กอ นโรคเกดิ การระบาด โดยใชเ มล็ดพนั ธจุ ากพริกท่ไี มเปนโรคนี้ แชเมล็ดในยาฆา เชอื้ รากอ นปลกู ดว ยยาไดเทนเอ็ม 45 และหลังจากปลกู ควรพน ยาฆาเชือ้ รา ทุกๆ 7-15 วันตอครงั้ พันธุพริกทต่ี า นทานตอ โรคนี้ เชน พริกเหลือง และพริกหยวก (ลักษณา 2536) และมีรายงานวา พรกิ Capsicum annuum cvs. Chinese Giant, Yolo Y,Hungarian Yellow Wax, Spartan Emerald, และ Paprika ตา นทานตอโรคกุงแหงท่ี เกดิ จากเชอื้ Colletotrichum capsici (Bassett. 1986) (ตารางท่ี 5-3) โรคกุงแหง ที่เกดิ จากเชือ้ Colletotrichum gloeosporiodes มรี ายงานวา จาก การถา ยเชอ้ื นีใ้ นพันธพุ รกิ 89 พนั ธุ มี พันธตุ า นทาน เชน พนั ธุ Janghong เปน ตน (Choi, et al. 1990)

6 ข. โรคผลเนา เกดิ จากเชอื้ สาเหตุ Alternaria solani, Colletotrichum capsici, Diaporthe phaseolorum, Phomopsis sp. และ Vermicularia capsici เชื้อราเหลานีม้ กั เกิดหลังจากท่ผี ล พรกิ เกิดบาดแผลเนอื่ งจากแมลง ยกเวนเชอ้ื Colletotrichumcapsici ซง่ึ ทาํ ใหเ กดิ แผลทผี่ ลได โรคผลเนา นีบ้ างครงั้ เรยี กวาโรคกุงแหงเทียม การปองกนั ไมใ หเ กดิ บาดแผลท่ีผล และปองกนั การ ขาดธาตแุ คลเซยี ม และโปแตสเซยี มจะลดการเปน โรคน้ไี ดม าก ค. โรคยอดและดอกเนา หรอื โรคพรกิ หัวโกรน เกดิ จากเชอ้ื รา Choanephora cucurbitarum โรคนแ้ี สดงอาการในระยะผลิต ดอกออกผล ยอดและใบออนเนาเปน สีนํา้ ตาลไหม ยอดพรกิ แตกยอดตอ ไปไมได ปอ งกันและ กาํ จดั โดยใชยากําจัดโรคราเชน ซาพรอลและพรอนโต (ลกั ษณา 2536) พนทกุ 5-7 วนั จะชวย ปอ งกันได การพนควรพนยาฆาเชอ้ื ราในดนิ ดวย และใชป นู ขาวลดความเปน กรดของดิน ง. โรคใบจุด เกดิ จากเชื้อ Cercospora capsici Cercospora unamunoi, Cladosporium capsici และ Alternaria sp. แผลทเ่ี กดิ จากเช้อื เหลา น้เี ปน จดุ สีน้าํ ตาล และอาจมี เชอ้ื ราอยตู รงกลางของวงเปน สเี หลอื ง ถา เปน มากใบพืชจะเหลอื งและรว ง การปอ งกนั กาํ จดั โดยใช ยากําจัดเช้ือราเดอโรซานและรอฟรลั กใ็ ชไดผล (ลักษณา 2536) การใชพ นั ธตุ า นทานโรคก็เปน วธิ ี การปอ งกันท่ีดีท่ีสุด พันธตุ านทานโรคใบจดุ นีม้ ีรายงานจากประเทศอนิ เดยี วา พนั ธุตานทานตอ เช้ือรา Cercospora capsici ไดแ กพันธุ California Wonder, Canape (F1), Merrimack Wonder และ Capsicum microcarpum (ตารางที่ 5-2) (Bassett. 1986) โรคตากบ ซึง่ เกดิ จาก Anthracnose พบในพรกิ ยักษ จ. โรคกลา เนา เกิดจากเชือ้ รา Fusarium sp., Pythium sp., Phytophthora sp. และ Rhizoctonia ทําใหต น กลาเหี่ยวแหงตาย เชือ้ ราอาศัยในดนิ หรอื ตดิ มากับเมลด็ เชื้อรามัก ทาํ ลายลาํ ตน สว นทอ่ี ยตู ิดดนิ ตน พืชแสดงอาการคลา ยขาดนาํ้ ปองกันและกําจัดโดยคลกุ เมลด็ กบั ยาฆา เช้อื รา เชน ไดเทนเอ็ม 45 หรือ รโิ ดมิล และพนยาใหต น กลา

7 พริกท่ีโตแลวมีโอกาสเปนโรคเนาตายได ถา ความชนื้ ในดินสูง หรอื มีฝนตกชุก มี เช้อื สาเหตุอกี เชอื้ หนึ่งไดแก Sclerotium rolfsii การปองกันกาํ จัดโรคน้เี มอ่ื ระบาดแลวไมค วรทํา เพราะสนิ้ เปลืองมาก โดยเฉพาะในแปลงปลกู ใหญๆ ควรถอนตน ท่เี ปน โรคเผาทําลายทง้ิ หากมี ความจําเปน ตอ งรักษาตนพชื อาจใชเ ทอราคลอราดโคนตน ตารางท่ี 5-2 โรคพริกและเชอ้ื สาเหตุ _______________________________________________________________________________ เชือ้ สาเหตุ ชื่อภาษาองั กฤษ ช่อื ภาษาไทย _______________________________________________________________________________ Alternaria solani (Ell.& G.Martin)Sor. Fruit rot โรคผลเนา Alternaria sp. Leaf blight โรคใบแหง Cercospora capsici Heald & Wolf Frogeye leaf spot โรคใบจุดตากบ Cercospora unamunoi Castellani Leaf spot โรคใบจุด Choanephora cucurbitarum (Berk. & Rav.) Thaxt Wet rot, Blossom rot โรคยอดและดอกเนา โรคพรกิ หวั โกรน Cladosporium capsici Leaf spot โรคใบจดุ ,โรคยอด และกง่ิ แหง Colletotrichum capsici (Syd.) Butler & Bisby Fruit rot โรคผลเนา Colletotrichum piperatum Anthracnose โรคกุงแหง Diaporthe phaseolorum (Cke. & Ell.) Sacc. Fruit rot โรคผลเนา Erwinia carotovora (Jones) Holland Bacterial soft rot โรคเนา เละ

8 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เชื้อสาเหตุ ชือ่ ภาษาอังกฤษ ชื่อภาษาไทย ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- Fusarium oxysporum Schlecht. f. sp. vasinfectum (Atk.) Snyd. & Hans. Fusarium wilt โรคเห่ยี วหรอื โคนเนา Gloeosporium sp. Anthracnose โรคแอนแทรคโนส Helicotylenchus dihystera - ไสเดอื นฝอยทาํ ลายราก Microdiplodia capsici Leaf spot โรคใบจุด Oidiopsis sp. Powdery mildew โรคราแปง Pratylenchus sp. Root lesion nematode ไสเ ดือนฝอย Phomopsis sp. Fruit rot โรคผลเนา Phyllosticta sp. Leaf spot โรคใบจุด Phytophthora capsici Leonian Phytophthora blight โรคใบแหง Pseudomonas solanacearum E.F. Sm. Wilt โรคเหี่ยว Pythium aphanidermatum (Edson) Fitzp. Stem rot โรคลําตนเนา Pythium sp. Damping - off โรคเนา คอดิน Rhizoctonia solani Kuehn Damping - off โรคเนา คอดิน Sclerotium rolfsii Sacc. Southern blight - Vermicularia capsici Ripe rot โรคผลเนา Virus (Cucumber Mosaic Virus, CMV) - โรคใบลีบ Virus Mosaic โรคใบดาง ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- แหลง ท่มี า : Giangong. 1980.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook