Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น

ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น

Description: ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น.

Search

Read the Text Version

Page 1 ศาสตรการแพทยแ ผนจีนเบ้ืองตน กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยท างเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2551 ISBN 978-974-16-0792-1

Page 2 ศาสตรการแพทยแ ผนจีนเบื้องตน ทีป่ รกึ ษา สมชัย โกวิทเจรญิ กลุ วชิ ัย โชคววิ ฒั น บรรณาธกิ าร ทศั นีย ฮาซาไนน เย็นจิตร เตชะดํารงสิน ลือชา วนรตั น กองบรรณาธกิ าร โกสนิ ทร ตรรี ัตนว ีรพงษ ชํานาญ สมรมติ ร สมชาย จิรพินิจวงศ จรสั ต้ังอรา มวงศ ธวชั บรู ณถาวรสม สุวดี วองวสพุ งศา วฒั นาพร คมุ บุญ ตอ งตา อชุ ชิน สวาง กอแสงเรอื ง บณั ฑิตย พรมเคยี มออ น อมั พร กรอบทอง กติ ติศกั ดิ์ เกงสกุล สทุ ศั น ภัทรวรธรรม ประพนั ธ พงศค ณิตานนท เบญจนีย เภาพานชิ ย ยพุ าวดี บุญชิต นฐั นชิ า วบิ ลู วรเศรษฐ รวินนั ท กุดทิง เจาของลขิ สิทธ์ิ : กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ ออกแบบปก : ทัศนีย ฮาซาไนน อมั พร กรอบทอง บุญสม รัตนากูล พมิ พค ร้ังที่ 1 : ธันวาคม 2551 จํานวน 1,000 เลม พมิ พท่ี : สํานกั งานกิจการโรงพมิ พ องคก ารทหารผา นศกึ ในพระบรมราชปู ถมั ภ 2/9 ซอยกรุงเทพฯ-นนทบรุ ี เขตบางซอ่ื 31 กรงุ เทพมหานคร 10800 ขอ มลู ทางบรรณานกุ รมของหอสมุดแหงชาติ ลอื ชา วนรตั น, ทัศนยี  ฮาซาไนน, เย็นจติ ร เตชะดาํ รงสนิ (บรรณาธิการ) ศาสตรก ารแพทยแผนจีนเบอ้ื งตน -กรงุ เทพมหานคร สํานกั งานกิจการโรงพมิ พอ งคก ารทหารผานศึกในพระบรมราชปู ถัมภ, 2551. 216 หนา กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยท างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ ISBN 978-974-16-0792-1

Page 3 คาํ นํา ก คาํ นํา ความรูเกย่ี วกบั ศาสตรก ารแพทยแ ผนจนี เปน พื้นฐานของการแพทยแผนจีนทกุ แขนง วิธกี ารตรวจ วนิ จิ ฉัยผูปว ยแตล ะคนมคี วามสาํ คญั ตอ การรกั ษา การเจบ็ ปวยในโรคเดยี วกนั อาจใชว ธิ กี ารรกั ษาตางกัน เน่ืองจากสาเหตุของการเกิดโรคแตกตางกัน ทั้งดานสภาพรางกายและสภาพแวดลอม วิธีการตรวจ วินจิ ฉัยโรคของศาสตรการแพทยแผนจีน จึงเปนศิลปะท่ีดึงดูดความสนใจของผทู เ่ี กี่ยวของ ความสามารถ ของแพทยจ นี ในการรักษาผปู ว ยน้ัน จําเปน ตองอาศัยระยะเวลาในการฝก ฝนใหเ กดิ ความชํานาญภายใต การควบคุมของอาจารยทม่ี ปี ระสบการณส งู แพทยจนี ทีม่ ีความเชย่ี วชาญสามารถตรวจวินจิ ฉยั อาการโรค ไดอยางแมนยําโดยไมจําเปนตองใชอปุ กรณช ว ย ศาสตรการแพทยแ ผนจนี จึงสะดวกในการใชร ักษา และ ในวธิ ีรกั ษาบางประเภท เชน การฝง เขม็ การนวดทยุ หนา ลว นไมตอ งใชอปุ กรณการรกั ษาทซี่ ับซอ น ใชเพยี ง เข็มและมอื ในการนวดกดจดุ กส็ ามารถบรรเทาอาการเจบ็ ปวยไดในเวลาอันส้ัน ปจจบุ ันการแพทยแผนจนี จงึ เปนทีส่ นใจของประชาชนทวั่ ไป และเปนศาสตรท ่แี พทยแ ผนปจ จุบันใหค วามสนใจและศกึ ษาเพอื่ นาํ ไป ผสมผสานและประยกุ ตใชก บั ศาสตรของตน ปจ จุบันศาสตรการแพทยแ ผนจนี มีหลกั สูตรการศกึ ษาระดับปริญญาตรใี นสถาบันการศกึ ษาทั้ง ภาครฐั และเอกชน แตย งั ไมม กี ารจัดทาํ ตาํ รามาตรฐานที่แพรหลาย กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและ การแพทยทางเลอื กจงึ ไดจดั ทําตาํ รา “ศาสตรการแพทยแ ผนจนี เบือ้ งตน” ข้นึ เพ่ือเปนหนังสอื สาํ หรบั ผูสนใจ ศกึ ษาและผูเขารบั การอบรมในหลกั สตู รระยะสน้ั และเพือ่ เปน พ้ืนฐานในการศึกษาศาสตรก ารแพทยแผน จนี ในแนวลกึ ตอ ไป ตํารา “ศาสตรก ารแพทยแ ผนจีนเบอื้ งตน ” เลมน้ี มีเนอ้ื หาเก่ียวกบั แนวคดิ ในการรักษาโรค สาเหตุ ของการเกดิ โรค ระบบอวยั วะทสี่ ําคัญของรางกายตามแนวคดิ ของศาสตรการแพทยแผนจีน วธิ ีการตรวจ วินิจฉยั โรค การวิเคราะหกลมุ อาการโรค การศึกษาสาเหตขุ องโรค และการกําหนดวธิ กี ารรกั ษาทเี่ หมาะสม การจดั ทาํ หนงั สอื เลม นี้ไดรบั ความรว มมอื จากแพทยท ีส่ าํ เรจ็ การอบรมหลักสตู ร “การฝงเข็ม” 3 เดอื นของกระทรวงสาธารณสุขท่ีสนใจในศาสตรการแพทยแ ผนจีน โดยมีคณะผูเช่ยี วชาญดานศาสตร การแพทยแผนจีนเปนที่ปรึกษา ความรูพ้ืนฐานศาสตรการแพทยแผนจีนรวบรวมจากเน้ือหาการอบรม หลกั สตู ร “การฝงเข็ม” และจากตาํ ราอนื่ ๆ นอกจากนั้นยังไดร ับความอนุเคราะหจ ากผูเชีย่ วชาญดา น ศาสตรก ารแพทยแผนจีน ไดแ ก อาจารยจ รัส ตงั้ อรามวงศ และ อาจารยสวาง กอแสงเรอื ง ในการ

Page 4 ข ศาสตรก ารแพทยแผนจีนเบอ้ื งตน ตรวจสอบความถกู ตองของเน้ือหา โดยเฉพาะเนอ้ื หาการตรวจจับชพี จร อาจารยจ รสั ตง้ั อรามวงศ ได กรณุ าเรียบเรียงและใหภ าพประกอบจนมีความสมบรู ณแกผทู ี่สนใจในการศกึ ษาและฝกปฏบิ ตั ติ อไป ใน การจดั ทาํ ตาํ ราเลมน้ี คณะผจู ัดทําไดม ีการประชมุ รว มกนั หลายครั้ง เพ่ือพจิ ารณาความเหมาะสมของเน้อื หา และชว ยกนั แกไ ขเรยี บเรยี งเนอื้ หาท่เี ขาใจยาก เชน ทฤษฎอี นิ -หยาง ทฤษฎปี ญ จธาตุ ใหเปน เนอื้ หาทผ่ี อู าน ทั่วไปสามารถเขา ใจไดง า ย กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยท างเลือกขอขอบคุณคณะทํางานทุกทานโดยเฉพาะ อยางย่งิ อาจารยจรัส ตง้ั อรามวงศ อาจารยสวาง กอแสงเรอื ง ที่ไดเ สียสละเวลาและทมุ เทสติปญญารวมกัน จัดทําตําราเลมน้ีข้ึน ซงึ่ จะเปนประโยชนแกบ ุคลากรทางการแพทย แพทยจนี ตลอดจนนิสติ นักศึกษาและ ประชาชนทวั่ ไป ในการเรยี นรูและสรา งความเขา ใจเบื้องตนเกีย่ วกบั ศาสตรการแพทยแ ผนจนี และนาํ ไป ประยกุ ตใชใ หเ ปนประโยชนตอตนเองและผอู น่ื ตอ ไป (นายแพทยล อื ชา วนรตั น) อธบิ ดกี รมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยท างเลอื ก

สารบัญ Page 5 สารบญั ค คํานํา หนา สารบัญ บทท่ี 1 ประวัตกิ ารแพทยจนี โดยสังเขป ก บทท่ี 2 ทฤษฎอี นิ -หยาง ค ความเปนมาของอนิ -หยาง 1 การจาํ แนกอิน-หยาง 27 การแปรเปลี่ยนไปสโู รคพยาธิ 27 การใชหลกั อิน-หยางในการปองกันและรกั ษาโรค 30 บทท่ี 3 ทฤษฎีปญจธาตุ 32 กาํ เนดิ ทฤษฎปี ญจธาตุ 33 ความเปน มาของปญ จธาตุ 34 ความสัมพนั ธร ะหวางปญ จธาตุ 34 หลักการใชปญจธาตใุ นการรักษาโรค 34 บทที่ 4 ทฤษฎีอวยั วะภายใน 37 อวัยวะตันท้ัง 5 40 อวัยวะกลวงทง้ั 6 42 อวัยวะกลวงพเิ ศษ 45 บทที่ 5 สารจําเปน ชี่ เลอื ด และของเหลวในรา งกาย 64 สารจําเปน 69 ชี่ (ลมปราณ) 72 เลอื ด 72 ของเหลวในรางกาย 74 บทท่ี 6 ทฤษฎีระบบเสนลมปราณ 78 ความรูทวั่ ไปเกยี่ วกับระบบเสนลมปราณ 80 องคประกอบของระบบเสนลมปราณ 82 หนา ทข่ี องระบบเสนลมปราณ 82 82 92

Page 6 ง ศาสตรก ารแพทยแผนจีนเบอื้ งตน สารบัญ (ตอ) หนา การประยกุ ตใ ชท ฤษฎเี สน ลมปราณทางคลนิ กิ 92 ความรูเบอ้ื งตน เกี่ยวกับจดุ ฝง เขม็ 93 บทท่ี 7 สาเหตขุ องโรค 99 ปจ จยั จากลมฟาอากาศทั้งหกทําใหเ กิดโรค 100 อารมณท ้ังเจด็ ทําใหเกดิ โรค 108 สาเหตอุ ื่น ๆ ท่ีทําใหเกดิ โรค 110 ผลของความผดิ ปกตทิ ีเ่ ปนสาเหตขุ องโรค 114 บทที่ 8 การตรวจวนิ จิ ฉยั โรคดว ยศาสตรก ารแพทยแผนจีน 118 ความเปน มาของอิน-หยาง 118 การตรวจวินิจฉยั โรคทางการแพทยแ ผนจนี 118 การมองดู 118 การฟง เสียงและการดมกลน่ิ 135 การถาม 137 การตรวจชีพจร 150 บทท่ี 9 การวเิ คราะหกลมุ อาการของโรค 170 อาการ กลุมอาการ และโรค 170 กระบวนข้นั ตอนทางความคดิ ในการเปยนเจิ้ง 171 การวเิ คราะหโรคตามทฤษฎขี องช่ีและเลอื ด 171 การวิเคราะหโรคดว ยปากงั เปย นเจ้ิง 174 การวิเคราะหกลมุ อาการของอวยั วะตนั ทง้ั 5 181 การวิเคราะหกลมุ อาการตามทฤษฎเี วย ชี่อ๋ิงเซวฺ ี่ย 193 การวิเคราะหก ลมุ อาการของอวยั วะกลวงท้งั 6 196 การวิเคราะหก ลมุ อาการตามทฤษฎเี สนลมปราณท้งั หก 199 การวเิ คราะหก ลมุ อาการซานเจียว 202 การวิเคราะหกลมุ อาการตามทฤษฎีจงิ ล่ัว 204 บรรณานกุ รม 207

Page 7 หมอเทวดา เปย นเชฺวี่ย หมอคนแรกที่เริ่มวชิ าจับชพี จร สถานท่ีถายภาพ: Traditional Chinese Medicine Expo 2008, International Trade Center, ปกกิ่ง ถายภาพโดย ดร.อญั ชลี จูฑะพุทธิ

Page 8

Page 9 ประวัติการแพทยจีนโดยสังเขป 1 บทท่ี 1 ประวตั ิการแพทยจ นี โดยสงั เขป การแพทยจนี มีประวตั ิความเปนมายาวนานหลายพันป พัฒนาการของการแพทยแ ผนจีนแบง ตามยุคตาง ๆ ในประวัตศิ าสตรจ ีนไดเปน 7 ยุค ดงั นี้ 1. ยุคโบราณ 2. ยคุ ราชวงศเ ซี่ย ถึงยุคชุนชวิ 3. ยุคกอ กาํ เนดิ ทฤษฎีการแพทยจ นี 4. ยคุ ราชวงศจน้ิ ราชวงศใ ตกบั เหนือ ราชวงศสุย ราชวงศถงั และยุคหาราชวงศ 5. ยคุ ราชวงศซ ง ถงึ ราชวงศหมงิ 6. ยุคพัฒนาการแพทยแ ละเวชปฏิบตั แิ ผนใหมใ นชวงยคุ ราชวงศหมงิ ราชวงศชงิ กอ นสงครามฝน 7. ยคุ การแพทยสมัยใหม เหตุการณส ําคัญ ๆ ในแตละยุค มดี ังนี้ 1. ยุคโบราณ (古代 Ancient Age) เปนยุคเริ่มตนของการเกษตรกรรม เหตุการณในยุคนี้ปรากฎอยูในตาํ นานและหลักฐาน ทางโบราณคดี ซ่ึงท่สี าํ คัญคอื - ฝูซี (伏羲 Fu Xi) ประดิษฐเขม็ หิน 9 เลม อายุ 4,000-5,500 ป ซ่งึ อาจใชเ พื่อการรักษา โดยวธิ ีฝง เข็ม มผี เู ชื่อวาฝูซีมีการริเริ่มประดษิ ฐตัวอกั ษรภาพขนึ้ ใชดวย - เสินหนง (神农 Shen Nong) เร่ิมนําสมุนไพรมาใชร ักษาโรค - จกั รพรรดิหวงต้ี (黄帝 Huang Di) เปน ผูรเิ ริม่ รว มกับแพทยใ นราชสํานัก ถกปญ หาวชิ า ความรูทางการแพทย วธิ ีรกั ษา รวมท้งั การเขียนใบสัง่ ยา เพือ่ รา งบนั ทึกเปนตาํ ราแพทย 2. ยคุ ราชวงศเ ซ่ีย (夏代 Xia Dynasty) ถงึ ยคุ ชนุ ชวิ (春秋 Chunqiu) (2,100-476 ป กอนคริสตศ ักราช) ตามหลกั ฐานทางโบราณคดี คนจีนรูจักทําเหลา ตง้ั แตก ลางยคุ หินใหม ในยคุ วฒั นธรรมหยางเสา (仰韶 Yang Shao) ราว 4,000-10,000 ปมาแลว การรจู กั การทาํ เหลามีผลตอ การแพทย คอื การ นํามาใชใ นการทํายา โดยเฉพาะยาดองเหลาตา ง ๆ ในยุคน้ีเริ่มมีการทํายาตมโดยมกี ารผลติ ภาชนะสําหรับ

Page 10 2 ศาสตรก ารแพทยแผนจีนเบอื้ งตน ตมยา ยาตมเปนจุดเดนของการแพทยแผนจีน เพราะมีประโยชนสําคัญ 4 ประการ คือ - สะดวกตอการรับประทาน และทําใหด ูดซมึ งาย - เพ่ิมสรรพคณุ ลดพิษ และผลขา งเคียง - สะดวกในการปรับขนาดตัวยาตา ง ๆ - ทาํ ใหการนาํ แรธ าตตุ า ง ๆ มาประกอบยาไดง า ยขึน้ การรจู กั ทาํ ยาตมทําใหก ารแพทยจ ีนพฒั นาแนวทางการใชย าผสมมาอยางตอ เนื่อง อิทธพิ ลของ พอ มดหมอผเี ริ่มเสอื่ มลงต้ังแตย ุคนี้ ดงั จะเหน็ ไดจากในยุคชุนชวิ พอมดหมอผถี ูกจดั ใหอ ยูในฝา ยพธิ ีกรรม (Minister in Charge of Protocol) ในขณะทแ่ี พทยขน้ึ ตอ อคั รมหาเสนาบดี (Prime Minister) ในสมัยราชวงศโจว (周代 Zhou Dynasty) แพทยหลวงในยคุ นั้นแบง เปน 4 ประเภท คือ โภชนากร แพทยท วั่ ไป ศลั ยแพทย และสัตวแพทย นอกจากน้ี ยังพบเอกสารโบราณชือ่ ซานไหจงิ (山海经 หรือ คมู ือภูเขาและแมน าํ้ ) ซึง่ เน้ือหา หลักเปน เรอ่ื งทางภมู ศิ าสตร แตไ ดกลา วถึงยาสมนุ ไพรไวราว 120 ชนดิ ท้ังจากพืช สตั ว และแรธ าตุ 3. ยคุ กอกําเนดิ ทฤษฎกี ารแพทยจ นี (中医理论体系的初步建立 Origin of Traditional Chinese Medicine Theory) จากยุคจนั้ กว๋ั (ยคุ รณรฐั 战国) ถึงยคุ สามกก (三国 San Guo) (475 ป กอ นครสิ ตศกั ราช ถงึ ค.ศ. 265) เปน ยคุ เร่ิมอารยธรรมสําคัญ ในยคุ จัน้ ก๋ัวมกี ารใชว ัว ควาย ปยุ และอุปกรณที่ทําจากเหลก็ ในการทําเกษตรกรรม มีการประดิษฐเครอื่ งวดั แผนดินไหว และที่สาํ คัญคือการทาํ กระดาษ เปนยุคกาํ เนิด ลทั ธขิ งจอื่ (孔子 Kong Zi) และลทั ธิเตา (道教 Dao Jiao) รวมทง้ั เรม่ิ เสน ทางสายไหม สาํ หรับอารยธรรมทางการแพทย พบตาํ ราการแพทยเขียนบนผาไหมและไมไผ จากสุสาน หมา หวางตุย (马王堆 Ma Wangdui) แหงราชวงศฮ นั่ ซ่งึ มรี ายละเอียด คอื ตาํ ราบนผนื ผาไหม มถี งึ 10 เลม คอื - หาสิบสองโรคและตํารับยา - ตํารารักษาสุขภาพ - ตาํ รารักษาเบด็ เตลด็ - ภาพการบริหารลมหายใจ - ตําราโรคทางสูตกิ รรม - กุญแจชว ยยอ ยและเสริมสขุ ภาพ

Page 11 ประวตั กิ ารแพทยจนี โดยสงั เขป 3 - ลกั ษณะชพี จรในผูป วยหนัก - การคลาํ ชพี จร - ตําราดงั้ เดิมเรื่องการรมยาบนเสนลมปราณ 12 เสน บนแขนขา - ตําราด้งั เดมิ เรื่อง 12 เสน ลมปราณสําหรบั รมยา หนังสอื บนซกี ไมไ ผ มีจาํ นวนทั้งส้นิ 200 ชน้ิ มเี น้อื หาประกอบดวยตํารา 4 เลม คือ - สบิ คําถาม - ประสานอนิ หยาง - ตาํ รายาตา ง ๆ และขอหามใช - หลกั การบรหิ ารประเทศ ตาํ รา 4 เลม นี้ ประกอบดว ยตวั อกั ษร 4,000 ตวั สรุปหลกั การสําหรับสุขภาพและการรกั ษา โรค 4 ประการ คอื - ใหป ฏิบตั ติ ามกฎธรรมชาติ 4 ฤดูกาล และหลกั อินหยาง โดยมีสองสงิ่ ท่ตี รงขา มกันใน ธรรมชาติคอื หญงิ เปน ฝายลบ และชายเปนฝา ยบวก - ใหความสาํ คัญกับอาหารและการรบั ประทานใหเปนเวลา ควบคุมอารมณทง้ั ความสนกุ สนาน ความโกรธ ความเศราเสียใจ และความสขุ - บรหิ ารรางกายโดยชีก่ ง - ปรับและควบคุมกจิ กรรมทางเพศ ในยุคน้มี คี ัมภรี ทางการแพทยท ส่ี ําคญั 3 เลม ไดแ ก 1) คัมภีรห วงตเ้ี นย จ งิ 《黄帝内经 Huang Di Nei Jing》หรือ เนย จ ิง《内经 Nei Jing》 แบง เปน 2 ภาค คือ ซเู ว่ิน《素问 Su Wen》หรอื Plain Questions หรอื คําถามงา ย ๆ และ หลงิ ซู 《灵枢 Ling Shu》หรือ Miraculous Pivot หรอื แกนมหัศจรรย เช่อื วา เปน ผลงานของปราชญ หลายคนในยคุ จนั้ กั๋ว แตต งั้ ชอื่ วาเปน คัมภรี ห วงตเี้ นยจิงตามประเพณี และเพ่ือเพม่ิ ความนาเช่ือถอื ของ ตํารา เนอ้ื หามที ั้งส้ิน 81 เรอื่ ง กลา วถงึ การเรยี นวิชาแพทย จรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ หลักพน้ื ฐาน เรื่องอนิ -หยาง (阴阳 Yin Yang) และธาตุทั้งหา หรอื อสู ิง (五行 Wu Xing) คอื ไม ไฟ ดิน ทอง และน้ํา ตลอดจนหลักธรรมชาติ 6 ประการ คือ การปองกันและการรักษา สาเหตุและอาการของโรค ผลของฤดูกาล ผลของภูมศิ าสตร ผลจากอตุ ุนยิ ม การฝง เขม็ และการรมยา

Page 12 4 ศาสตรการแพทยแผนจนี เบ้ืองตน คัมภรี หวงตเี้ นย จงิ คัมภรี หวงตี้เนย จ งิ ภาคซเู ว่นิ นอกจากนีย้ งั กลา วถึงหลกั การวนิ จิ ฉัยโรค 4 ประการ คือ การสังเกต การฟง และการดม การถาม และการคลาํ และจับชพี จร ความสาํ เรจ็ ของคัมภรี เ นยจ ิง เกิดจากสาระสาํ คญั สรปุ ได คอื - ทฤษฎอี นิ หยาง และธาตุทงั้ หา - แนวคดิ องครวม - แนวคดิ เร่อื งอวัยวะ เสนทางการทํางานของอวัยวะ (Channels) และเสนทางคูขนาน (Collaterals) ซึง่ เปนรากฐานสาํ คัญของวิชาฝง เขม็ และรมยา - แนวคิดเร่อื งการปองกนั โรค - การปฏิเสธส่ิงลล้ี บั และหมอผี คัมภีรห วงต้ีเนยจิง ภาคหลงิ ซู กลาวไวช ัดเจนวาโรคเกดิ จาก สาเหตุตาง ๆ และไมม เี ลยทเี่ กิดจากเทวดาหรือภตู ผี 2) คมั ภรี เสนิ หนงเปนเฉา จงิ 《神农本草经》หรือ Classic of Shen Nong’s Materia Medica หรอื ตาํ ราเภสัชวิทยาดั้งเดมิ ของเสินหนง มอี ายรุ าว 1,780 ป ประกอบดว ยตาํ รา 3 เลม กลาวถงึ ตวั ยา 365 ชนดิ ไดแ ก พชื 252 ชนิด สัตว 67 ชนิด และแรธ าตุ 46 ชนดิ มีการแบงยา ออกเปน 3 ระดับ ตามความปลอดภัย คือ - ช้ันดี (Top grade) เปนยาที่มคี วามปลอดภัยในการใช - ช้ันปานกลาง (Middle grade) เปน ยาท่ีไมมีอนั ตรายหากใชอยางถกู ตอง - ช้นั ตํ่า (Low grade) เปน ยาที่อันตรายโดยเฉพาะหากรับประทานมากเกินไป

Page 13 ประวัตกิ ารแพทยจีนโดยสงั เขป 5 ตามคัมภีรเ สนิ หนงเปนเฉาจิง ยงั รเิ รมิ่ หลักทฤษฎยี าจนี โดยแบง ยาออกเปน 4 จาํ พวก (รอ น เยน็ อุน และกลาง) 5 รส (เปรย้ี ว เค็ม เผ็ด หวาน และขม) 7 ผลลพั ธ (ตวั ยาเดยี่ ว เสรมิ ฤทธ์กิ ัน เสริมฤทธ์ิฝายเดียว ถกู ขม ลดทอนหรอื กําจัดพิษ ลดทอนฤทธิ์ และใหผลตรงขา ม) หลกั การรักษาอาการ ฝายเย็นดว ยยารอ น และรักษาอาการฝา ยรอนดว ยยาเยน็ อยางไรกต็ าม ในยุคราชวงศฮนั่ (汉代 Han Dynasty) ลทั ธเิ ตามีอทิ ธิพลสูง ทาํ ใหม กี ารมุง แสวงหายาอายุวัฒนะมากกวา เร่ืองการรักษาโรค ตวั ยาทใ่ี ชป ระกอบเปน ยาอายวุ ัฒนะจงึ ถูกจดั เปนยาช้ันดี เสินหนงเปน เฉาจิง จางจงจิ่ง 3) ซางหานจา ปง ลนุ 《伤寒杂病论》หรอื Treatise on Febrile and Miscellaneous Diseases หรือ ตําราไขและโรคเบด็ เตล็ด เขยี นโดย จางจง จ่งิ (张仲景 Zhang Zhongjing) ตอนปลายยุค ราชวงศฮ ั่นตะวนั ออก (ค.ศ. 25-220) โดยรวบรวมความรทู างการแพทยใ นอดตี และประสบการณของตนเอง แตงตํารา 16 เลม แยกโรคตามอาการ และอาการแสดง ทีส่ ําคญั คือ เลกิ เชือ่ วา เทวดาและสงิ่ ศกั ดิส์ ทิ ธเ์ิ ปน ตน เหตุทําใหเกิดโรค และบรรยายวธิ ีการรักษา 8 วธิ ี ไดแก การขบั เหง่ือ การทาํ ใหอาเจียน การระบาย การ ประสาน การใหค วามอุน การลดความรอ น การบํารุง และการสลาย ในยุคนมี้ ีแพทยทมี่ ชี ื่อเสียง ไดแ ก 3.1 เปยนเชวยี่ (扁鹊 Bian Que) หรอื ฉินเยฺว่ียเหริน (秦越人 Qin Yueren) เปน แพทย ท่ีเขียนตาํ ราแพทยไวหลายเลม เปน ผตู อ ตานความเชอ่ื เรอ่ื งหมอผอี ยา งแขง็ ขัน ซือหมา เชยี น (Si Maqian) นักประวัติศาสตรคนสําคัญในยุคราชวงศฮ่ันยกยองวา เปยนเชวี่ยเปนหมอคนแรกที่เร่ิมวิชาจับชีพจร เปย นเชวีย่ ไดร บั ฉายาวา เปน หมอเทวดา (Divine Doctor)

Page 14 6 ศาสตรก ารแพทยแผนจีนเบือ้ งตน 3.2 อหี ยนิ่ (伊尹 Yi Yin) หรือ ฉางกง (仓公 Cang Gong) เปนผบู นั ทึกเร่อื งชีพจรไว 20 ชนดิ (ปจ จบุ นั รวมได 28 ชนิด) เปน ผูรเิ ร่ิมการบันทกึ ประวัตคิ นไข เปน ผูต อตา นเรอื่ งยาอายวุ ัฒนะ อยางแขง็ ขนั และกลายอมรบั ความผดิ พลาดในการวนิ จิ ฉัยและการรักษาโรคของตน 3.2 ฮวั ถวอ (华佗 Hua Tuo) เปนแพทยทีไ่ ดรับการยกยอ งวา เปน ศัลยแพทยผ บู ุกเบิก มี ชวี ิตอยใู นยคุ สามกก เปนคนที่ไมสนใจยศตําแหนง มงุ รกั ษาคนธรรมดาสามัญ ตอมามโี อกาสรักษาโจโฉ จนไดร บั ตาํ แหนงเปนแพทยป ระจําตวั ของโจโฉ แตทนคิดถึงบานไมได จงึ เดนิ ทางกลับบาน และไมยอม เดินทางกลับมาตามคําสั่ง โจโฉจึงสั่งจับและใหป ระหารชีวิต กอนตาย ฮวั ถวอมอบตาํ ราใหผูคุม แตผูคุม กลัวความผิดไมก ลารับไว ฮวั ถวอจึงเผาตาํ ราท้ิง ทําใหต าํ ราของฮวั ถวอสูญสน้ิ ไป ฮัวถวอมศี ษิ ยเอก 3 คน แตง ตําราแพทยไ ว 2 เลม มีตาํ ราอกี หลายเลมท่ีระบวุ า ฮวั ถวอเปนผูแตง อยางไรกต็ าม เช่ือวา แตง โดยบคุ คลอนื่ แตใสช่อื ฮวั ถวอเปน ผเู ขียน เช่อื วา ฮวั ถวอใชย าหมาฝสู า น (麻沸散 Ma Fu San) เปน ยา ระงบั ความรสู กึ ชนิดรบั ประทานใหแกค นไขก อนผา ตัด นอกจากน้ี ฮวั ถวอยังสนใจเรอ่ื งสขุ อนามัยสว น บุคคล การบาํ รุงสุขภาพ และการบริหารรางกายโดยเลียนแบบทา ทางของสัตว 5 ชนดิ คือ เสือ กวาง หมี ลิง และนก ตามประวัตกิ ลา ววา แมฮ ัวถวอจะมอี ายุรอ ยป สุขภาพก็ยังดี และหวผู ู (吴普 Wu Pu) ศษิ ย คนหนงึ่ ของฮัวถวอ ซ่งึ ปฏิบตั ิตนโดยการบรหิ ารรา งกายเลยี นแบบสัตว 5 ชนดิ เมือ่ มอี ายถุ งึ 90 ป หู ตา และฟน กย็ ังดี ฮัวถวอมคี วามชาํ นาญเร่ืองฝง เข็มและรมยา โดยพยายามใชย านอยชนดิ และฝงเข็มนอ ยจดุ เปยนเชว่ยี อีหยน่ิ (ฉางกง) ฮวั ถวอ

Page 15 ประวัติการแพทยจีนโดยสังเขป 7 4. ยุคราชวงศจ้นิ (晋 代 Jin Dynasty) ราชวงศหนานเปยเฉา (ราชวงศใตก บั เหนอื 南北 朝代 Southern and Northern Dynasties) ราชวงศส ยุ (隋代 Sui Dynasty ราชวงศถ งั (唐代 Tang Dynasty) และยคุ อไู ต (หาราชวงศ 五代 Five Dynasties) (ค.ศ. 265-960) เปนยคุ ทีก่ ารแพทยและเภสัชกรรมของจีนมีการพัฒนาอยางเตม็ ที่ โดยไดร บั อทิ ธิพลจากลทั ธิ ขงจ่ือ ลทั ธิเตา และศาสนาพทุ ธ ทัง้ สามลทั ธศิ าสนาลว นไมเชอ่ื เร่ืองพระเจา แตม อี ิทธพิ ลตอ การแพทยจ นี แตกตางกัน พทุ ธศาสนาเผยแผเขาสูจ ีนตามเสนทางสายไหม ตงั้ แตย ุคราชวงศฮน่ั จนถึงราชวงศเหนอื กบั ใต ราชวงศถงั เปนยคุ แรกที่พุทธศาสนารุงเรืองที่สดุ มกี ารสรา งวดั วาอารามมากมาย และมกี ารแปล พระไตรปฎ กเปนภาษาจนี ประชาชนทั่วไปศรัทธาในพุทธศาสนาอยางกวา งขวาง ขณะเดยี วกนั ถือกนั วา เหลาจือ่ ศาสดาของลทั ธเิ ตาซงึ่ มชี ่อื เดิมวา หลต่ี า น เปน บรรพบรุ ุษเกา แกของคนในตระกูลหรอื แซห ล่ี ซ่งึ เปนแซเ ดยี วกบั กษัตริยร าชวงศถ งั จงึ ทาํ ใหลัทธเิ ตา ไดรบั ความศรทั ธาเปนพิเศษ และทําใหค วามนยิ มใน เร่ืองยาอายุวัฒนะและเร่ืองคาถาอาคมแพรห ลายขน้ึ ดว ย หลงั ยุคจิน้ ตะวันตก มีความนิยมนําโลหะหนกั มาทาํ เปนยาอายวุ ัฒนะกันมาก แตแทนทจี่ ะทาํ ใหอ ายุยนื กลับเปนอันตรายตอผใู ช ในยุคนี้มพี ัฒนาการทางการแพทยจ นี ทส่ี ําคญั ดงั นี้ 1) การพัฒนาเรือ่ งการจับชีพจร ตําราทีส่ าํ คัญคือ มา ยจงิ 《脉经》หรือ Pulse Classic หรือ ชีพจรคลาสสคิ แตง โดย หวางซเู หอ (王叔和 Wang Shuhe) แบงชพี จรไว 24 ชนดิ ตามทฤษฎี การแพทยจีนเชอื่ วา หลงั จากเลอื ดไหลผา นปอดแลว จะไปรวมศูนยท ี่ตาํ แหนงชพี จรทีข่ อมือ โดยชพี จรท่ี ขอ มอื ซายจะบง บอกภาวะของหวั ใจ ลาํ ไสเ ลก็ ตับ ถงุ นา้ํ ดี และไต ชีพจรทีข่ อมือขวาจะบงบอกภาวะของ ปอด ลําไสใหญ มาม กระเพาะอาหาร และไต 2) การพัฒนาเรอ่ื งปจจยั การเกดิ โรคและอาการของโรค ในป ค.ศ. 610 จกั รพรรดิฉาวเหวยี น ฟาง (巢元方 Chao Yuanfang) มพี ระราชโองการใหเขยี นตํารา จูปง เหวียนโฮว ลนุ 《诸病源候论》 หรอื General Treatise on the Causes and Syndromes of Diseases หรอื ตาํ ราทัว่ ไปเร่ืองสาเหตแุ ละ อาการของโรค เปนหนังสอื 50 เลม แบงเปน 67 บท 1,720 หัวขอ เปนตาํ ราท่ไี มก ลาวถงึ ตาํ รบั ยาเลย ตวั อยางที่นาสนใจ เชน การบรรยายอาการของโรคเบาหวานวา “จะกระหายน้าํ มาก ปสสาวะบอย บางครั้ง เปนแผลท่ผี ิวหนังงา ย ผปู ว ยมกั ชอบกินอาหารมันและหวาน ทําใหเกิดความรอนภายใน” บรรยายเรอื่ ง โรคหิดและวิธีการรักษา โดยรูวาสาเหตุเกิดจากเช้ือหิด และรูวาพยาธิลาํ ไสเกิดจากการรบั ประทานเนือ้ ววั และเนือ้ ปลาดบิ เปนตน

Page 16 8 ศาสตรการแพทยแผนจนี เบ้ืองตน หวางซูเหอ ฉาวเหวยี นฟาง ถาวหงจ่ิง 3) ความกา วหนา ทางเภสชั วทิ ยาและการปรงุ ยา มพี ฒั นาการในดานตา ง ๆ ดงั นี้ 3.1 การปรบั ปรงุ ตาํ รายา มีการปรับปรุงตาํ รายาเสนิ หนงโดย ถาวหงจง่ิ (陶弘景 Tao Hongjing) (ค.ศ. 452-536) ถาวหงจิง่ ไดตรวจสอบตํารายาเสินหนง และเขยี นขนึ้ ใหมเ ปน ตาํ รา เปน เฉา จงิ จจ๋ี ู《本草经集注》หรอื Collective Notes to Classic of Materia Medica หรอื การรวบรวม บนั ทกึ เกยี่ วกับตํารายาคลาสสิค เปน หนังสอื 7 เลม กลา วถึงยาเพม่ิ เติมจากเดิมที่มีอยู 365 ขนาน เพมิ่ อกี 365 ขนาน รวมเปน 730 ขนาน มีการจัดหมวดหมูย าใหมตามความแรงของสรรพคณุ ยา รเิ ริม่ หลัก “ยาตางกลุมอาจใชร กั ษาโรคเดียวกนั ได” และกลาวถงึ วธิ กี ารเกบ็ สมนุ ไพร เชน ควรเก็บสมนุ ไพรชว งตน ฤดใู บไมผ ลหิ รือปลายฤดใู บไมร ว ง เพราะชว งเวลาดงั กลาว ดอก ผล ก่งิ และใบ จะโตเตม็ ที่และสกุ ถาวหงจง่ิ ยังเขยี นตาํ ราไวอ กี หลายเลม ไดแ ก จปู งทงเหยา ยง 《 诸 病 通 药 用 》หรือ Effective Recipes หรือ ตํารบั ยาทีไ่ ดผล เปน เฉา จิงจี๋จู《本草经集注》หรือ Chinese Herbs in Verse หรือ ความเรยี งเรื่องสมนุ ไพรจีน โจว โฮว ไปอ ฟี าง《肘后百一方》Supplement of a Hundred Formulae to Keep up Ones Sleeve หรือ ภาคผนวกของรอยสูตรตํารับเพ่ือเก็บไวในแขนเสื้อ เปยจ๋ี โฮวฟาง《备急后方》หรือ Formulae for Keeping Good Health and Longevity หรือ สตู รตาํ รบั เพ่อื รักษาสุขภาพและทาํ ใหอายยุ นื อายวุ ฒั นะคลาสสคิ (Classic of Longevity) และ วิธีเลน แรแปร ธาตุ (Methods of Alchemy) ถาวหงจง่ิ เปน นกั ปราชญท ี่มีแนวคิดผสมผสานทัง้ พทุ ธ ขงจอ่ื และเตา แต เขาทํางานเพียงคนเดียวเทา น้ัน และตาํ ราของถาวหงจงิ่ ยงั มีความเชือ่ ในเรือ่ งยาอายุวัฒนะ นอกจากตําราของถาวหงจิ่งแลว ในยุคราชวงศถังยังจดั ทาํ ตาํ รายาหลวงขนึ้ เผยแพรท ่วั ประเทศ ชอ่ื ซนิ ซวิ เปน เฉา《新修本草》หรือ The Newly Revised Compendium of Materia Medica (ค.ศ. 659) เปนหนงั สือ 54 เลม แบง เปน 3 ภาค

Page 17 ประวัติการแพทยจนี โดยสังเขป 9 - ภาคแรก เรอื่ งตํารายา วา ดว ยธรรมชาติ รส แหลง กําเนิด วิธเี ก็บและเตรยี มยา และขอ บง ใช - ภาคสอง เร่อื งลกั ษณะยา วาดว ยลกั ษณะของยาแทจากภาคตา ง ๆ ของประเทศ - ภาคสาม เปน รูปภาพคลาสสคิ ของยา ซินซิวเปนเฉา นับเปนตาํ รายาหลวงฉบับแรกของโลกท่ีเก่ียวกับตัวยาสมุนไพร กอนตํารายา นูเรมเบิรก (Nuremberg Pharmacopoeia) ซ่ึงเผยแพรใ น ค.ศ. 1542 เปน เวลาถงึ 800 ป ตาํ รายาฉบับ นี้กลาวถึงวัสดอุ ดุ ฟน ซ่งึ ทาํ จากตะก่ัว เงนิ และปรอท เปนเวลาถึง 1,000 ปกอนท่เี บลล (Bell) ทนั ตแพทย ชาวองั กฤษจะคดิ คนโลหะผสมเงินและปรอทเพอ่ื ใชอดุ ฟน นอกจากตํารา 2 ฉบบั ทีก่ ลาวมาแลว ยงั มีความกา วหนา ทางเภสชั วทิ ยาอนื่ ๆ ไดแ ก การ รวบรวมตํารับยาจากตา งประเทศ และการจัดทําตํารายา สอื อูเปน เฉา 《食物本草》หรอื Compendium of Materia Medica for Dietaric Treatment หรอื ตาํ รายาฉบับยอเพอื่ โภชนบาํ บัด 3.2 การพัฒนาการรกั ษาเฉพาะโรค ไดแ ก - การรักษามาลาเรียดว ยสมนุ ไพรฮอมดง (常山 Changshan หรอื Radix Dichroae) - การรักษาโรคเหน็บชา (Beriberi) โดย เฉนิ ฉางช่ี (陈藏器 Chen Cangqi) พบวา การกนิ ขา วขาวเปนเวลานานจะทําใหเปน โรคเหน็บชา และ ซุนซือเหม่ียว (孙思邈 Sun Simiao) พบวา การกนิ ขาวกลองชว ยรกั ษาโรคเหนบ็ ชาได - การรกั ษาโรคคอพอกดว ยสาหรา ยทะเล (Marine Algae) สาหรา ยทะเลสีนํา้ ตาล (Kelp) และตอ มธัยรอยดจากสัตว - การรกั ษาโรคตามวั ในทีม่ ดื (Night Blindness) ดวยตบั สัตว - การรกั ษาวัณโรคดวยรกสตั ว 3.3 การนาํ วิชาเลนแรแปรธาตุมาใชใ นการพัฒนาเภสชั เคมภี ัณฑ เกดิ จากความพยายาม แสวงหายาอายวุ ฒั นะต้ังแตย ุคตนราชวงศฉิน ทาํ ใหม กี ารพฒั นาวชิ าเลนแรแปรธาตุ สงผลใหม ีการพัฒนา เภสัชเคมภี ัณฑใ นยุคเรม่ิ แรก 3.4 การพัฒนาการปรงุ ยา มีตํารา เหลยก งเผา จอื้ ลนุ 《雷公炮炙论》หรือ Leis Treatise on Medicinal Preparation หรอื ตําราการปรุงยาของเหลย  แนะนําการปรงุ ยา เพ่ือเพิ่มสรรพคณุ ลดพษิ และอาการขา งเคียง รวมทง้ั การปรุงยาเพอื่ ใหใ ชไ ดงา ย และเก็บรักษาไดนาน 4) การพัฒนาเวชปฎบิ ตั ิ ในยคุ ราชวงศจ ิ้น ราชวงศส ุย และราชวงศถงั มแี นวโนมการพฒั นา แพทยใหม ีความชาํ นาญเฉพาะทางแขนงตา ง ๆ ดงั นี้

Page 18 10 ศาสตรก ารแพทยแผนจีนเบอ้ื งตน 4.1 ตําราเวชศาสตรฉ กุ เฉนิ มกี ารรวบรวมและเขียนตาํ ราช่อื สอื โฮวจ้ิวจูฟาง《时后救 卒方》หรือ Emergency Formulae to Keep up Ones Sleeve หรอื ตาํ รายาฉกุ เฉนิ สําหรับเกบ็ ไวใ น แขนเส้ือ โดยเกอหง (葛洪 Ge Hong) ซง่ึ นบั เปนตาํ ราปฐมพยาบาลเลม แรกของโลก ต้งั แตเมอื่ 1,600 ป มาแลว 4.2 ตําราฝง เขม็ และรมยา มีตําราฝง เข็มและรมยาชื่อ เจินจิ่วเจี่ยอ่ีจิง《针灸甲乙 经》 หรือ A-B Classic of Acupuncture and Moxibustion หรอื ตํารา เอ-บี คลาสสิค เขยี นในยคุ ราชวงศ ฉนิ โดย หวงฝูมี่ (皇甫谧 Huang Fumi) (ค.ศ. 215–282) เปนหนังสือ 12 เลม 128 บท แบง เปน 2 ภาค ภาคแรกเปนทฤษฎีพื้นฐาน ภาคสองเปน เวชปฏบิ ัติ นับเปน ตาํ ราสาํ คัญของการแพทยจีนในเร่อื ง ฝงเขม็ นับจากคมั ภีรเ นย จงิ ตอ มาในยุคราชวงศฉนิ ตะวนั ออก เปากู (鲍姑 Bao Gu) ภรรยาของเกอ หง เปนแพทยหญงิ คนแรกของจีนท่ีชาํ นาญเรื่องฝงเข็มและรมยา 4.3 ตาํ ราเฉพาะเร่ืองทางศลั ยศาสตร มตี ําราช่ือ หลิวเจวยี นจื่อกุยอฟี๋ าง《刘涓子鬼遗 方 》หรอื Liu Juanzi’s Remedies Left Over by Ghosts หรือ ตาํ ราผีบอกของหลวิ เจวยี นจอื่ รวบรวมโดย กง ช่งิ ซวน (龚庆宣 Gong Qingxuan) ในยคุ ราชวงศฉ ี เปนตําราเลม แรกทมี่ เี นือ้ หาเฉพาะ เร่อื งทางศลั ยศาสตร เปน หนงั สือ 10 เลม เกย่ี วกบั การรกั ษาบาดแผล ฝ ผวิ หนังอกั เสบ การบาดเจบ็ และโรคผวิ หนังตาง ๆ มตี าํ รบั การรกั ษา 140 ตาํ รับ ประกอบดวยเร่อื งการหามเลอื ด การระงบั ปวด ยา สมาน การบรรเทาพษิ และการระงับความรสู ึก เกอหง หวงฝูม่ี 4.4 ตาํ ราเฉพาะเรอื่ งการบาดเจ็บ มีตําราชือ่ เซยี นโซวหลซ่ี างซมู ี่ฟาง《仙授理伤续秘 方》หรอื Secret Formulae to Treat Traumatic Injury Given by Celestials หรือ ตํารบั ลบั จาก เทวดาในการรกั ษาการบาดเจ็บ เขียนโดยนกั พรตเตา ช่อื ล่ินเตาเหริน (蔺道人 Lin Daoren) (ค.ศ.

Page 19 ประวตั ิการแพทยจีนโดยสังเขป 11 790-850) เปนตาํ รารักษาการบาดเจ็บเลมแรก กลา วถงึ การวนิ ิจฉยั และรักษาโรคกระดกู หกั ทงั้ ชนดิ มีแผล ปดและเปดมกี ารแนะนาํ ใหใชฝน ชวยระงบั ความรสู กึ เจบ็ ปวดในขณะดงึ จดั กระดกู ใหเ ขา ที่ 4.5 ตําราเฉพาะเรอื่ งทางสตู ศิ าสตร มตี ําราช่ือ จิงเส้ียวฉานเปา《 经 效 产 宝 》หรือ Tested Prescriptions in Obstetrics หรือ ตาํ รับที่ทดสอบแลวทางสูติศาสตร (ค.ศ. 852) เขียนโดย จานยิน (昝殷 Zan Yin) ในคาํ นําของตําราบรรยายไววา ในปต า จง (大中 Dazhong) ซึ่งตรงกบั ค.ศ. 847 อัครมหาเสนาบดี (PrimeMinister) ไปหมินจง (Bai Minzhong) ตระหนกั ถึงปญหาการคลอด ยากทพี่ บมากข้ึน จงึ สงคนออกไปตระเวนหาแพทยท่ีชาํ นาญทางสตู ิกรรม ไดพบกับจานยนิ จงึ นําตวั ไปให อคั รมหา-เสนาบดีสัมภาษณดวยตนเอง จานยนิ ตอบคําสัมภาษณโ ดยรวบรวมเปนตาํ ราให 3 เลม อคั ร มหาเสนาบดีไปพอใจวาเปน ตาํ ราทีส่ น้ั กระชบั ดี จึงต้งั ชอ่ื หนงั สอื ให ตํารานปี้ ระกอบดว ยเน้ือหา 52 บท 317 ตาํ รบั - เลมแรก เปนตํารารกั ษาภาวะขาดประจําเดือน ตกขาวและความผดิ ปกตริ ะหวา งตัง้ ครรภ - เลม สอง วาดว ยความผดิ ปกตใิ นการคลอด - เลมสาม วา ดวยความผดิ ปกตหิ ลงั คลอด 4.6 ตําราเฉพาะเร่ืองกุมารเวชศาสตร มตี ําราช่อื หลูซฺยงจิง《颅匈经》หรือ Manual of the Fontanel and Head หรือ คมู ือกระหมอ มและศีรษะ เปนตําราทไ่ี มทราบชอื่ ผเู ขยี น นบั เปน ตาํ รา กุมารเวชศาสตรเ ลมแรกในยุคราชวงศส ยุ และราชวงศถงั เปน หนังสือ 2 เลม เลมแรก เปนเรื่องชพี จร ผดิ ปกติลักษณะตา ง ๆ ท้งั ในผใู หญและในเด็ก เลม สอง อธบิ ายสาเหตุและการรักษา 5) ระบบการศกึ ษาและการบริหารการแพทย ในยคุ นม้ี พี ฒั นาการท่สี าํ คัญ คอื ค.ศ. 581 ในยคุ ราชวงศสยุ มกี ารกอตั้ง ไทอ เี ว่ยี น (太医院 Imperial Medical Institute หรือ สถาบันแพทยหลวง) ซ่งึ ประกอบดวย 3 แผนก คือแผนกยา การนวด และเวทมนต (Incantation) ค.ศ. 618 ในยุคราชวงศถ งั กจิ การแพทยหลวงซง่ึ เดิมจํากัดขอบเขตงานอยเู ฉพาะในวงั หลวง ไดข ยาย ออกไปทว่ั ประเทศ มีการเรม่ิ กจิ การโรงเรยี นแพทย เพิม่ ระยะเวลาการฝก อบรมเปน แพทยแ ละผเู ชี่ยวชาญ เฉพาะทาง เชน - อายุรแพทยทง้ั ระบบ เนนโรคภายใน (内科 Internal Medicine) ใชเ วลา 7 ป - อายุรแพทยภ ายนอก (外科 External Medicine) ใชเวลา 5 ป - กุมารแพทย ใชเ วลา 5 ป - แพทยร กั ษาโรคตา หู คอ จมูก ใชเ วลา 2 ป

Page 20 12 ศาสตรก ารแพทยแผนจีนเบื้องตน มรี ะบบการสอบประจาํ เดือน ประจาํ ภาค และประจําป สอบทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏบิ ัติ มี กรรมการจากภายนอกมารวมในการสอบไลป ระจําป ผูเขา เรียนแพทยมกั เปน บตุ รหลานขา ราชการ สวนที่ เรียนเภสชั ศาสตรม กั เปนบตุ รหลานชาวบาน การศึกษาการแพทยของจนี ในยคุ นี้มีความเปนระบบมากกวา ระบบของโรงเรียนแพทยส มยั แรกในอีกสองศตวรรษตอมาของยุโรป เชน ที่ซาเลอรโน ประเทศอติ าลี (ค.ศ. 846) ในยุคราชวงศถ งั มีแพทยท่มี ีชื่อเสยี ง คือ 5.1 ซุนซือเหมี่ยว (孙思邈 Sun Simiao) (ค.ศ. 581-682) ขณะมีอายุ 71 ป (ค.ศ. 652) ไดแ ตงตาํ รา เชยี นจินเอ้ยี วฟาง《千金要方》หรือ Thousand Ducat Formulae หรือ ตาํ รบั ยา พันเหรียญทอง เปนหนังสือ 30 เลม ตอมายังแตงตออีก 30 เลม ชื่อ ตาํ รา เชียนจินอ้ีฟาง《千金翼 方》หรอื Supplement to the Thousand Ducat Formulae หรือ ภาคผนวกตํารับยาพนั เหรียญทอง นักประวตั ศิ าสตรก ารแพทย เรียกตําราชุดนีว้ า “สารานุกรมชุดแรกวาดวยเวชปฏิบตั ิในประวัตศิ าสตร การแพทยแผนโบราณของจนี (The First Encyclopedia of Clinical Medicine in the History of Traditional Chinese Medicine)” ตําราชดุ น้มี จี ดุ เดนท่ีสําคญั ดังน้ี - กลา วถงึ ตวั ยาถึง 4,000 ชนดิ ในฉบบั เดมิ และอกี 2,000 ชนิดในภาคผนวก - ใหความสนใจกับการดแู ลสขุ ภาพของแมแ ละเด็ก - ใหความสําคญั กบั โภชนบําบดั มงุ เร่ืองการสรางเสริมสขุ ภาพ โดยให “ทาํ งานเบา ๆ เปน ประจาํ อยา หักโหมทํางานหนักเกนิ กําลงั ” ใหความเอาใจใสกบั ตํารับยาพน้ื บา น สงเสริมการศกึ ษาเร่อื ง จริยธรรมวชิ าชพี ซนุ ซอื เหม่ียวไดรบั ยกยอ งเปน “เภสัชยราชา (Medicine King)” 5.2 หวางถาว (王焘 Wang Tao) (ค.ศ. 670-755) ไดร วบรวมตาํ ราจากแพทยร าว 70 คน มาเขยี นใหม ใชเวลา 10 ป เสรจ็ ใน ค.ศ. 752 คือตํารา ไวไถม่ีเอีย้ วฟาง《外台秘要方》หรอื Arcane Essentials from Imperial Library หรอื ตาํ ราสาระล้ลี ับจากหอ งสมุดราชสาํ นกั เปนหนงั สอื 40 เลม 450 หัวขอ 1,104 เรอื่ ง ยา 6,700 ตํารบั การรมยา 7 ชนิด ใน 19 เรื่อง จุดฝงเขม็ 663 จดุ ใน 19 เร่อื ง และเปนคร้งั แรกที่มกี ารบนั ทึกเรื่องการชมิ ปส สาวะในผูป ว ยเบาหวาน

ประวตั ิการแพทยจนี โดยสงั เขป Page 21 13 ซุนซือเหมีย่ ว หวางถาว ไวไถมีเ่ อ้ยี วฟาง 5. ยุคราชวงศซ ง (宋代 Song Dynasty) ถงึ ราชวงศเ หวียน (元代 Yuan Dynasty) (ค.ศ. 960-1368) ในยุคราชวงศซง เหนือ (ค.ศ. 960-1127) มกี ารคนพบทางวทิ ยาศาสตรท ่ีสาํ คัญคอื การ คนพบดนิ ปน เขม็ ทิศ และการพมิ พ คารล มารกซ (Karl Marx) (ค.ศ. 1818-1883) ไดกลาวถงึ การ คนพบทั้งสามสง่ิ นใี้ นหนังสือ การประยุกตทางการแพทยธ รรมชาตแิ ละวิทยาศาสตร (The Application of Medicine, Nature and Science) วา “ดินปนไดร ะเบิดชนชั้นนักรบออกเปนเสย่ี ง ๆ และเข็มทิศได ถูกใชเปด ตลาดโลกและสรางอาณานิคม ขณะที่การพมิ พไดกลายเปน เครอ่ื งมือของการศึกษาใหม และ เครือ่ งมือของการฟน ฟูวิทยาศาสตร และเปนคานงัดท่แี ขง็ แรงทส่ี ุดซึง่ เปน พนื้ ฐานสาํ คญั ในการสรางและ พัฒนาจิตวิญญาณ” ในยุคดังกลาวจีนเร่ิมมกี ารพมิ พธ นบตั รใช และมกี ารพฒั นาทงั้ ทางดานดาราศาสตร และกลศาสตรอ ยางกวา งขวาง อยา งไรก็ตามในยคุ ราชวงศซง มกี ารปะทะทางความคิดอยา งรนุ แรง ระหวาง แนวคิดดง้ั เดมิ ตามลทั ธขิ งจ่อื กับความรใู หม ๆ (New learning) เหลา น้ี ในยคุ น้ี มพี ัฒนาการทางการแพทยหลายประการ ไดแ ก 1) การชาํ ระและพิมพเผยแพรต าํ ราแพทย มีการดาํ เนินการตามลาํ ดับ ดงั นี้ ค.ศ. 971 พระจกั รพรรดมิ พี ระราชโองการใหม โี ครงการพบปะสงั สรรคของนักปราชญผ ูเช่ยี วชาญ ทางการแพทย (The Imperial Edict of Visiting Scholars with Outstanding Medical Skills) ค.ศ. 981 มีพระราชโองการใหเ สาะหาตําราแพทย โดยการซื้อหามาเปนจาํ นวนมาก ค.ศ. 1026 มกี ารสะสมตาํ ราแพทยและตาํ รับยาเพ่ิมเติมอกี มาก ค.ศ. 1057 จัดต้งั เส้ยี วเจ้ิงอีซจู หฺ วี (校正医书局 The Proofing Bureau for Medical Books หรอื สาํ นกั งานชําระตาํ ราแพทย) ในสถาบนั แพทยฮ น่ั หลนิ ( 翰 林 医 官 院 The Hanlin

Page 22 14 ศาสตรก ารแพทยแผนจีนเบ้ืองตน Medical Officers Academy) ใชเ วลา 10 ป ระหวางป ค.ศ. 1068-1077 ชําระตาํ ราแพทยโ บราณ เชน คัมภรี ซ เู ว่นิ ถกู แกไขกวา 6,000 คาํ และมีคาํ อธิบายเพ่มิ เติมกวา 2,000 แหง ตาํ ราตาง ๆ ไดร บั การ ชาํ ระและเผยแพร ทําใหไดรับความเช่อื ถอื เปน ตาํ ราอางองิ ตอ มาเปนเวลากวา 1,000 ป 2) การกอตั้งสาํ นักเภสัชวิทยาแหงชาติ มีการพัฒนาทั้งการผลิตและจําหนายยา เปล่ียน ชื่อโรงงานผลิตยา (熟药所 Drug Processing Workshop) เปน ตาํ รับเวชปราณีการุณโอสถสถาน (Medical Grace Formulae Benevolent Dispensary) และเปลย่ี นชื่อสถานจาํ หนา ยยา เปน เวชการณุ โอสถสถาน (Medical Benevolent Dispensary) 3) การพัฒนาระบบการศึกษาแพทย สถาบนั แพทยหลวงไดพฒั นาระบบการศึกษาแพทย โดย แบงนักศกึ ษาออกเปน 3 ระดับ มีการสอบเลอ่ื นช้นั ทุก 2 ป และแบงโรงพยาบาลของโรงเรยี นแพทยเ ปน 3 แผนก ไดแ ก - แผนกอายุรศาสตร สูตศิ าสตร และกุมารเวชศาสตร - แผนกฝง เขม็ และรมยา - แผนกโรคภายนอก ซึ่งรวมถงึ ศลั ยศาสตร การรกั ษาการบาดเจ็บและการจัดกระดกู 4) การพัฒนาสตู รตํารบั ยาและเภสชั วิทยา มกี ารพฒั นาตําราทางเภสัชวิทยา และสูตรตํารบั ยาจํานวนมาก ไดแก - ตํารายา เปน เฉา กงั มูช าํ ระใหมปไ คเปา (Kai Bao Newly Revised Compendium of Materia Medica) ซึง่ ตรงกบั ค.ศ. 973 โดย หลวิ หาน (刘翰 Liu Han) ผูเ ช่ียวชาญทางเภสชั วิทยา หมา จื้อ (马志 Ma Zhi) แพทยหลวง และไจซ วฺ ี่ (翟煦 Zhai Xu) กับจางหวฺ า (张华 Zhang Hua) ซง่ึ เปน สมาชกิ ราชบัณฑติ ยสถาน (Imperial Academy) - ตํารา จิงสอื่ เจง้ิ เลย เ ปยจเ๋ี ปน เฉา《经史证类备急本草》หรอื Classic and Historical Classified Materia Medica for Emergency หรอื ตาํ รับยาแบบดง้ั เดิมและการแบง ประเภทตาม ประวัติเพ่อื โรคฉกุ เฉิน (ค.ศ. 1056-1093) แตงโดย ถงั เซ่นิ เวย (唐慎微 Tang Shenwei) เปน หนงั สอื 32 เลม มีตวั ยา 1,558 ชนิด โดยเปน ยาใหม 476 ชนิด - ตํารา ไทผ งิ เซิ่งหุยฟาง《太平圣惠方》หรอื Peaceful Holy Benevolent Formulae หรือ ตาํ รับยาการณุ สวรรคสนั ติ (ค.ศ. 987-992) รวบรวมโดย หวางหฺวานอ่หี นง (Wang Huanyinong) ตามพระราชโองการของจกั รพรรดิราชวงศซง เปน หนงั สือ 100 เลม 1,670 เรอ่ื ง และ 16,834 ตํารับ

Page 23 ประวตั ิการแพทยจนี โดยสังเขป 15 - ตาํ รา ไทผ งิ หยุ หมินเหอจี้จหฺ วฟี าง《太平惠民和剂局方》หรือ Formulae of the Peaceful Benevolent Dispensary หรือ ตํารบั ยาของการณุ สนั ตโิ อสถสถาน (ค.ศ. 1102-1106) ตอมา มกี ารแกไ ขปรบั ปรุงเปลย่ี นช่อื ใหมเ ปน ตาํ รับสําหรบั โอสถสถาน (Formulae of the Dispensary) เปน หนังสอื 5 เลม 21 เรื่อง และ 297 ตํารบั ยา ปจจุบนั ไดม กี ารแกไขเพิม่ เตมิ เปน 10 เลม 14 เรื่อง 788 ตํารบั ยา ทงั้ นตี้ ํารบั ยาในตํารานี้จะประกอบดวยตัวยาหลายชนิด - ตาํ รา เซิ่งจจ่ี งล《ู 圣济总录》หรอื The Complete Record of Holy Benevolence หรือ บันทกึ ฉบับสมบูรณแ หง สวรรคก ารณุ ย (ค.ศ. 1111–1117) รวบรวมโดยคณะแพทยแหงราชวงศซง เปนหนงั สอื 200 เลม ประมาณ 20,000 ตํารบั และ 66 กลมุ 5) การพัฒนาการแพทยเฉพาะทางแขนงตาง ๆ ไดแ ก 5.1 สาเหตุของโรค มี ตาํ ราเรื่องสาเหตขุ องโรค คอื คําอธบิ ายเรอ่ื งโรค กลมุ อาการและ ตาํ รายาเก่ียวกับการผนวกรวมสาเหตโุ รคสามกลุม 《三因极一病证方论》หรือ Discussion of Illness, Syndromes and Formulae Related to the Unification of the Three Groups of Pathogenic Factors เขยี นโดย เฉินเอย๋ี น (陈言 Chen Yan) 5.2 การฝง เขม็ และรมยา ในป ค.ศ. 1027 มีการหลอ รูปบรอนซขนาดเทาคนจริงจาํ นวน 2 รูป แสดงจุดฝงเข็ม 657 จุด และเปดดูอวัยวะภายในได รูปหน่ึงวางไวใหนักศึกษาใชเปนอุปกรณ การเรียนในโรงเรียนแพทย อีกรูปหนึ่งเก็บไวท่ีพระตําหนักเหรินจ่ี (仁济殿 Ren Ji Palace) ใน วัดตาเซยี งกวั๋ (大相国Ta Xiangguo Temple) นอกจากนยี้ ังมีการเขียนตาํ ราฝง เขม็ และรมยาเผยแพร อกี หลายชดุ 5.3 วชิ านรเี วชวทิ ยา มตี าํ ราท่สี ําคญั ไดแ ก - ตํารา สอื ฉานลนุ 《十产论》หรอื Treatise on Ten Obstetric Problems หรือ ตําราเรือ่ งสบิ ปญหาทางสตู ศิ าสตร (ค.ศ. 1078) เขยี นโดย หยางจอื่ เจี้ยน (杨子建 Yang Zijian) - ตาํ รา ฟูเหรนิ ตาฉวนเหลยี งฟาง《妇人大全良方》หรอื Complete Effective Formulae for Woman หรอื ตาํ รับทไี่ ดผ ลสมบรู ณส ําหรับสตรี (ค.ศ. 1237) เขยี นโดย เฉนิ จอื้ หมงิ (陈 自明 Chen Ziming) อธบิ ายความผดิ ปกติ 260 เร่อื ง 24 กลมุ โดย 19 กลมุ เปนเร่อื งทางนรเี วช ท่ี เหลืออีก 5 กลุมเปนเรือ่ งทางสูติศาสตร 5.4 วิชากุมารเวชศาสตร มีตําราช่ือ เส่ียวเออรเหยาเจิ้งจ๋ือจฺเหวีย《小儿药证直诀》 หรือ Key to Syndrome Identification and Treatment of Diseases in Infants หรอื กญุ แจการ

Page 24 16 ศาสตรการแพทยแผนจนี เบ้อื งตน วินจิ ฉยั กลุมอาการและการรกั ษาโรคในทารก เขยี นโดย เฉยี นอ่ี (钱乙 Qian Yi) (ค.ศ. 1032-1113) เปน หนังสอื 3 เลม ดงั น้ี - เลมแรก เปนเรื่องการรักษาโรคตามการวินิจฉัยกลุมอาการ และภาวะชพี จร - เลมสอง เปน กรณศี กึ ษาผูปว ย 23 ราย ทีผ่ ูเขยี นเคยรกั ษา - เลมสาม เปน รายการยาท่ใี ชบอ ย ความเขา กนั ของยา และการบริหารยา เฉยี นอีเ่ นนการวินิจฉัยโรคดวยการดู (Inspection) โดยการสงั เกตลักษณะผิวหนงั สภาพ ของใบหนา และดวงตา นอกจากน้ี มีการพัฒนาวธิ ีการวนิ จิ ฉัยโรคโดยการสังเกตหลอดเลือดดําใตผวิ หนงั บนน้วิ ช้ีของเดก็ โดย หลวิ ฝา ง (刘昉 Liu Fang) เขียนในตํารา เส่ียวเออ รปง เหวยี นฟางลนุ 《小儿病 源方论》หรือ A Newly Compiled Book on Pediatrics หรอื ตาํ รารวมเลมใหมในกุมารเวชศาสตร อธิบายลกั ษณะ 3 ประการของหลอดเลอื ดดําหลงั นว้ิ ชเ้ี ดก็ ตอมาไดมกี ารพฒั นาพบลักษณะตา ง ๆ เพิม่ เปน 10 ประการ ทบ่ี งบอกโรคของอวยั วะภายในตาง ๆ เฉียนอ่ี เสี่ยวเออ รเ หยา เจง้ิ จ๋ือจเฺ หวีย 5.5 ศลั ยศาสตรและวทิ ยาการบาดเจบ็ หรอื ซางเคอเสวฺ ยี (伤科学 Traumatology) มี ตําราชื่อ ไวเ คอจิงเอ้ยี ว《外科精要》หรือ Essentials of External Diseases หรอื ตาํ ราเรอื่ งสําคัญ เก่ียวกับโรคภายนอก (ค.ศ. 1263) เขียนโดย เฉินจอ้ื หมิง (陈自明 Chen Ziming) และมีการบันทกึ เกีย่ วกับโรคมะเรง็ เปนครั้งแรกในตํารา เวยจ ีเ้ ปาซู 《卫济宝书》หรอื Treasured Book for Health Care หรือ ตําราขมุ ทรพั ยเ พอ่ื การดูแลสขุ ภาพ นอกจากนี้ มีการรักษากระดกู สนั หลงั หกั โดยการแขวน ถว งนาํ้ หนกั กอ นท่แี พทยชาวอังกฤษชื่อ เดวสิ (Davis) จะกลา วถึงวิธกี ารจัดใหเขา ท่โี ดยการแขวน (Reduction by Suspension) เปนเวลาถงึ 600 ป และมกี ารใชเฝอ กไม 4 ช้นิ เพือ่ รกั ษากระดกู หัก

Page 25 ประวตั ิการแพทยจีนโดยสงั เขป 17 5.6 การพฒั นาดานนติ เิ วชศาสตร มตี าํ รานิติเวชศาสตรช ่ือ สีว่ านจล๋ี 《ู 洗冤集绿》หรอื Records of Washing Away the Injustice หรือ บนั ทกึ การขจัดความอยตุ ธิ รรม เขยี นโดย ซงฉือ (宋 慈 Song Ci) (ค.ศ. 1186-1249) เปนหนงั สอื 4 เลม ดงั น้ี - เลม แรก เปนเรือ่ งพ้นื ฐานนิตเิ วช การผาศพพสิ ูจน และการวเิ คราะหเหตุการณข อง การบาดเจ็บ - เลมสอง แยกแยะสาเหตุของการมบี าดแผลและการตาย วา บาดแผลเกดิ กอ นหรอื หลงั ตาย เปน การฆาตวั ตายหรือฆาตกรรม - เลม สาม วาดวยยาพษิ ทง้ั จากสัตวหรือแรธ าตุ ที่ใชฆา ตัวตายหรอื ฆาตกรรม - เลมส่ี วาดว ยวธิ ีแกพ ษิ และภาวะฉกุ เฉินตาง ๆ 6. ยุคพัฒนาการแพทยและเวชปฏบิ ัตแิ ผนใหม ชว งยุคราชวงศหมงิ (明代 Ming Dynasty) และราชวงศช ิง (清代 Qing Dynasty) กอ นสงครามฝน (ค.ศ. 1368-1840) เหตกุ ารณใ นยคุ นท้ี ่มี ีผลกระทบตอพัฒนาการแพทยข องจนี ไดแ ก ในป ค.ศ. 1371-1435 ขนั ที เจ้งิ เหอ (郑和 Zheng He) หรอื ซันเปา กง (三宝公 San Bao Gong) ไดออกเดินทางทอ งทะเล ไปตลอดทะเลจนี ใตถึงอนิ เดยี และกวา 30 ประเทศในตะวันออกกลางและแอฟรกิ า ทําใหป ระเทศจีนได แลกเปล่ียนวิทยาการและการแพทยกับประเทศตาง ๆ แตขณะเดียวกัน ก็มีการปดก้ันควบคุมบรรดา ปญญาชน โดยในราชวงศหมงิ และราชวงศช งิ ไดจัดระบบการสอบคัดเลอื กขา ราชการ มกี ารสอบถึง 8 ภาค และมีความพยายามปด กัน้ ขดั ขวางกระแสทุนนิยมโดยการใชนโยบายปดประเทศดว ย พัฒนาการดานตาง ๆ ทางการแพทยท ่ีสาํ คัญในยุคน้ี มีดงั น้ี 1) การพฒั นาตาํ ราการแพทยแ ละเภสัชตาํ รบั ไดแก - ตํารายา เปน เฉากังม《ู 本草纲目》หรือ Compendium of Materia Medica (ค.ศ. 1578) เขียนโดย หล่สี อื เจนิ (李时珍 Li Shizhen) (ค.ศ. 1518-1593) โดยใชเ วลากวา 30 ป ศึกษา ตํารากวา 800 เลม เขยี นตํารานี้เสรจ็ เมอื่ มอี ายุได 60 ป และพมิ พเผยแพรคร้งั แรกใน ค.ศ. 1596 เปนหนังสือรวม 52 เลม กลาวถึงสมนุ ไพร 1,892 ชนดิ โดย 374 ชนดิ เปน รายการใหมเพ่ิมจากตํารา เดมิ มภี าพประกอบกวา 1,160 ภาพ เปน ตํารับยากวา 11,000 ตาํ รบั และตาํ รับยากวา 8,160 ตาํ รับ เขียนจากประสบการณข องเขาเอง มกี ารจัดหมวดหมขู องสมนุ ไพรใหมทเี่ ปนวทิ ยาศาสตรด วย ท้งั น้ี ดารวิน (Davin) ไดอ างอิงขอ มลู เรือ่ งปลาทอง (Golden Fish) และไกด ํา (Blackbone Chicken) จาก ตาํ ราชดุ นด้ี ว ย ดารว ินเรยี กตํารานีว้ า สารานกุ รมจีนโบราณ (Encyclopedia of Ancient China)

Page 26 18 ศาสตรก ารแพทยแผนจีนเบอื้ งตน หล่ีสือเจนิ เปนเฉา กังมู ตอมา จาวเสวยี หม่นิ (赵学敏 Zhao Xuemin) (ค.ศ. 1716-1805) ไดเ ขยี นตาํ รา เปน เฉา กังมสู อื อ《๋ี 本草纲目拾遗》หรือ An Addendum to the Compendium of Materia Medica หรอื ภาคผนวกของตํารายาเปน เฉา กังมูของหลีส่ ือเจนิ โดยใชเวลาราว 40 ป ทบทวนตํารากวา 600 เลม - ตํารา จ๋อื อูหมิงสอื ถเู ขา《植物名实图考》หรอื Illustrated Investigation of Names and Natures of Plants หรือ หนังสือภาพการสบื คน ชื่อและธรรมชาตขิ องพชื เขียนโดย หวูฉจี นุ (吴其 浚 Wu Qijun) (ค.ศ. 1789-1847) ซ่ึงเปนขาราชสํานักตาํ แหนง สงู และมีโอกาสเดนิ ทางไปหลายมณฑล กวา คร่ึงประเทศ เชน สานซี (陕西) หูเปย (湖北) หูหนาน (湖南) เจียงซี (江西) ซีจั้ง (西藏) ฝู เจ้ียน (福建) ยฺหวนิ หนาน (云南) และกุย โจว (贵州) เปน ตน เขาสนใจศึกษาสมนุ ไพรของทองถนิ่ ตาง ๆ และศึกษาตํารากวา 800 เลม ซง่ึ ในคร้ังแรกไดร วบรวมพืชกวา 780 ชนดิ ตอ มาปรบั ปรุงใหมเ ปน หนงั สือถงึ 38 เลม กลาวถงึ พชื 1,714 ชนิด - ตํารา ผจู ี้ฟาง《普济方》หรอื Prescription for Curing All People หรอื ตาํ รับยาเพอ่ื รกั ษาทุกคน (ค.ศ. 1406) เปนหนงั สือ 168 เลม แบงเปน กวา 100 หัวขอ 2,175 หวั ขอ ยอ ย ตาํ รบั ยากวา 61,000 ตาํ รบั รวมตวั อักษรราว 10 ลา นอกั ษร - หนังสอื อีฟางเขา《医方考》หรอื Verification of Formulae หรอื หนังสอื การทดสอบ ตาํ รับยา (ค.ศ. 1584) เขยี นโดย หวูคุน (吴琨 Wu Kun) (ค.ศ. 1551-1602) เปนหนงั สอื 6 เลม 72 หวั ขอ เปน หนังสือทีไ่ ดรับความนิยมมาก ตองพิมพซาํ้ ประมาณ 10 ครั้ง - หนังสอื อฟี างจเี๋ จ่ยี 《医方集解》หรือ Collection of Formulae and Notes หรือ หนงั สือรวบรวมสูตรตํารบั และบนั ทึก เขยี นโดย วางหมาว (汪昴 Wang Mao) แบง เปน 21 หวั ขอ 300 ตํารบั

Page 27 ประวัติการแพทยจนี โดยสงั เขป 19 - ตาํ ราเกย่ี วกบั ไข หลายเลม ไดแก ตาํ รา ซางหานลนุ 《伤 寒 论 》หรือ Treatise of Febrile Diseases หรือ ตาํ ราโรคไข ตาํ รา ซอื เรอเถยี วเปย น《 湿 热 条 辨 》หรอื Systematic Differentiation of Damp Heat Syndromes หรอื ตําราการแยกกลุม อาการรอ นชน้ื อยา งเปน ระบบ ตาํ รา เวินปงเถยี วเปย น《温病条辨》Systematic Differentiation of Febrile Diseases หรอื ตาํ รา แยกโรคไขอ ยางเปน ระบบ และ ตาํ ราโรคระบาดฉบบั ยอ (Compendium on Epidemic Febrile Diseases) 2) การพัฒนาทฤษฎโี รคระบาด และการปลกู ฝ ในยุคราชวงศห มิง และราชวงศชิง เกดิ โรคระบาดขึ้นหลายครง้ั มีโรคระบาดเกดิ ขึ้นราว 64 ครั้ง ในชวง 276 ปของยุคราชวงศห มิง และ 74 คร้งั ในชว ง 266 ปข องยคุ ราชวงศชงิ จงึ มกี ารพฒั นาตาํ ราที่ เก่ียวขอ งกบั โรคระบาด คือตํารา เวินอ่ลี ุน《温疫论》หรือ Treatise of Pestilence หรือ ตําราโรคไข ระบาด เขียนโดย หวโู หยว ซิ่ง (吴有性 Wu Youxing) เปนหนังสือ 2 เลม วางทฤษฎีพน้ื ฐานเร่อื งโรค ระบาด ในคํานําบรรยายสาเหตขุ องโรคระบาดวา โรคระบาดมไิ ดเ กิดจากลม ความเย็น ความรอน หรือ ความช้ืน แตเ กิดจากเหตุผดิ ปกติของดนิ ฟา อากาศเปนพษิ จากการเปล่ยี นแปลงตามฤดกู าล (ตําราการแพทย จีนดง้ั เดิม เชอื่ วาโรคเกิดจากเหตธุ รรมชาติ 6 ประการ ไดแ ก ลม ความเยน็ ความรอ น ความช้ืน ความ แหง และไฟ) นอกจากน้ี ยงั เชือ่ วาเชื้อโรคระบาดเขา สูรา งกายทางจมูกและปาก หวโู หยว ซ่ิงยังสงั เกตเหน็ วา โรคระบาดเกดิ ในคนและสัตว ไมเ หมือนกัน “ววั ปว ยในขณะที่เปดไมปว ย และคนปว ยในขณะที่สัตว ไมป ว ย” หวโู หยว ซ่งิ (หวอู ว้ิ เขอ ) สาํ หรับการบุกเบกิ เร่ืองการปลกู ฝปองกันไขท รพษิ มีผบู ันทึกวาคนจีนในอาํ เภอไทผ ิง (太平 Taiping) มณฑลหนิงก๋ัวฝู (Ningguofu) ซึ่งปจจบุ ันคอื มณฑลอันฮยุ (安徽 Anhui) รจู กั วธิ กี ารปลูก

Page 28 20 ศาสตรก ารแพทยแผนจนี เบ้อื งตน ฝปอ งกันไขท รพษิ มาตงั้ แตร ชั สมยั หลงชงิ (隆庆 Long Qing) แหง ราชวงศห มิง (ค.ศ. 1567-1572) ในยคุ ราชวงศชงิ มหี นงั สอื ทีก่ ลา วถงึ ตํานานท่ีมาของการปอ งกนั ไขทรพิษในประเทศจีน 2 เลม คอื หนังสอื ตาํ ราอา งองิ ใหมเ กยี่ วกับการปลกู ฝในมนษุ ย (New Text About Human Variolation) (ค.ศ. 1884) แตงโดย หวูหรงหลุน (武荣纶 Wu Rong Lun) และตงยฺวีซ่ าน (董玉山 Dong Yushan) บนั ทึกไวว า “จากการสบื คน หนงั สอื เกา ๆ พบศัพทท างการแพทยเ กี่ยวกับการปลกู ฝใ นคน ใน ชวงสมยั ถงั ไคเ ยฺวยี น (Tang Kaiyuan) จา วสือ (Zhao Shi) ซงึ่ อาศยั อยูทางตอนเหนือของลมุ นา้ํ แยงซี ไดใชว ิธีพนผงแหง หรอื ท่ที ําใหชุม ของสะเก็ดแผลไขทรพษิ เขาไปในเย่อื บจุ มกู ของเดก็ ที่ปกติ” หนงั สือเลม ดังกลา วไดกลาวถงึ การปลกู ฝใ นจีนวา เริ่มตงั้ แต ค.ศ. 713-741 หนังสืออีกเลมคอื ตําราไขท รพิษ (Treatise on Pox) (ค.ศ. 1713) เขยี นโดย จูชนุ เซ่ยี (Zhu Chunxia) แพทยราชสํานักแหง สถาบัน แพทยหลวง กลาวไววา การปลูกฝเริ่มตนมาจาก หมอเทวดา (Divine Doctor) แหงภูเขาเออรเหมย (娥眉 Emei) ตั้งแตรชั สมยั ซง เจินจง (宋真宗 Song Zhenzong) (ค.ศ. 1023-1063) ตาํ นานมไิ ด กลาวถงึ วิธกี ารปลูกฝ แตเ ลาวา หวางตาน (王旦 Wang Dan) อัครมหาเสนาบดขี องราชสํานกั ซง เจนิ จง ไดนําวิธจี ากหมอเทวดามาปลกู ฝใหกับลกู ของตนเอง หลงั จากลูกหลายคนของเขาตอ งตายไป เพราะไข ทรพิษ ตํานานทั้งสองเร่อื งนไี้ มม หี ลกั ฐานพสิ ูจน จงึ ไมใครไ ดรบั ความเชอ่ื ถือ วธิ ีการปลูกฝข องจีนเผยแพรไปใชใ นญ่ีปุน ค.ศ. 1652 และเขา สูรัสเซีย ค.ศ. 1688 3) การพฒั นาเวชปฏิบัติ ในยุคราชวงศหมงิ และราชวงศช ิง มีการพัฒนาเวชปฏบิ ัตแิ ขนงตา ง ๆ ท้ังอายุรศาสตร ศัลยศาสตร วิทยาการบาดเจ็บ สูติศาสตร นรีเวชวิทยา กุมารเวชศาสตร จักษุวิทยา ทันตกรรม ลารงิ ซวทิ ยา และวทิ ยาการฝง เข็ม มตี ําราแพทยหลายชุดเขยี นขนึ้ ในยคุ น้ี เชน - ตาํ รา อิ้วอิว้ จเ๋ี ฉงิ 《幼幼集成》หรือ A Complete Work on Pediatrics หรอื ตาํ รา กุมารเวชศาสตรฉ บบั สมบูรณ (ค.ศ. 1750) เขยี นโดย เฉนิ ฟูเจิง้ (陈复正 Chen Fuzheng) โดยเขียน จากประสบการณร าว 40 ป อธิบายลกั ษณะหลอดเลอื ดดาํ ท่นี ิ้วชี้ใหสมบูรณข ึน้ เนนการรกั ษาดวยยา ภายนอกมากกวา ยาภายใน - ตําราเปา อิงชวั เอยี้ ว《保婴撮要》หรอื Synopsis of Caring for Infants หรอื ตาํ ราดูแล ทารกฉบบั ยอ เขยี นโดยสองพอ ลกู เซวฺ ยี ไข (薛铠 Xue Kai) และ เซฺวยี จี่ (薛己 Xue Ji) เปน หนงั สอื 20 เลม กลาวถึงโรคตาง ๆ ท้งั ภายในและภายนอกของเดก็ กวา 700 เรอ่ื ง มีเรอื่ งวิธีการปองกนั บาดทะยกั ในเดก็ แรกเกิด โดยการจีส้ ายสะดอื ท่ีตดั ออกดวยความรอน

Page 29 ประวตั ิการแพทยจนี โดยสงั เขป 21 4) การรวบรวมและชาํ ระตําราแพทยดัง้ เดมิ มีการรวบรวมและชําระตาํ ราแพทยดงั้ เดิมอยา ง กวางขวาง โดยเฉพาะคมั ภีรเนยจ ิง (Classic of Internal Medicine) และตาํ ราซางหานลนุ (Treatise on Febrile Disease) โดยทําใหก ระชับและชดั เจนขน้ึ จนไดร ับความนิยมอยา งกวา งขวางในเวลาตอ มา ในยุคตนราชวงศช ิง ตาํ ราแพทยตา ง ๆ ตําราด้ังเดิมกวา 120 เลม ไดร ับการจัดหมวดหมู เพอ่ื ใหอ างอิงไดส ะดวก จัดทาํ เปน หนงั สอื รวม 520 เลม เน้ือหาครอบคลุมต้ังแตบันทึกทางการแพทยสมยั ดัง้ เดิม การวนิ ิจฉยั โรค การรักษา ทฤษฎพี ้ืนฐานของโรคแขนงตา ง ๆ การประกอบโรคศิลปะ บันทึก เหตกุ ารณแ ละประวัติแพทยทีม่ ชี ่ือเสียง รวมทงั้ ทฤษฎีและวิธกี ารปรงุ ตํารับยา ตาํ ราสําคญั จากการรวบรวมและชําระตําราแพทยดั้งเดมิ คอื ตํารา อีจงจินเจยี้ น《医宗金 鉴》หรือ ตําราการแพทยฉบับราชสาํ นัก (ค.ศ. 1739) รวบรวมและชาํ ระโดยแพทยร าชสํานกั แหงราชวงศ ชงิ มี หวูเชียน (吴谦 Wu Qian) เปน หวั หนาคณะ จัดทาํ เปนหนังสือ 90 เลม หลังการสถาปนารฐั จนี ใหมใ น ค.ศ. 1949 สถาบนั แพทยราชสํานกั (The Institute of the Imperial Physicians) จดั ใหต ํารา ชดุ น้เี ปนตําราอางอิงของนกั ศกึ ษา นอกจากน้ี ยงั มีการรวบรวมบนั ทกึ เวชปฏิบตั ิของแพทย เชน - หนังสือ กจู นิ อถี ง《古今医统》หรือ A Great Collection of Medical Works, Ancient and Modern หรอื หนังสอื รวบรวมผลงานทางการแพทยค รง้ั ใหญทง้ั โบราณและปจจุบัน (ค.ศ. 1556) รวบรวมโดย สวีชุนฝู (徐春甫 Xu Chunfu) - หนงั สอื เจ้ิงจ้ือจุน จฺเหวยี 《证治准绝》หรอื Standard of Diagnosis and Treatment (ค.ศ. 1602) โดยหวางเข่ินถัง (王肯堂 Wang Ken Tang) - หนังสอื จง่ิ เยวี่ยฉวนซ《ู 景岳全书》หรอื Complete Works of Zhang Jingyue หรอื หนังสอื ผลงานฉบับสมบรู ณข องจางจ่ิงเยวยี่ (ค.ศ. 1624) โดย จางเจี้ยปน (张介宾 Zhang Jiebin) เปนหนงั สือ 64 เลม รวมกวา 1 ลานตวั อกั ษร - หนงั สอื หมงิ อเี ลยอน้ั 《名医类案》หรอื Classified Medical Records of Famous Physicians หรือ หนังสอื เรยี บเรยี งการบันทึกทางการแพทยอ ยางเปนระบบของแพทยผ มู ชี ่อื เสียง (ค.ศ. 1549) รวบรวมโดย เจียงกวน (江瓘 Jiang Guan) โดยใชเ วลาทาํ งานกวา 20 ป รวบรวมบนั ทึกและ เขยี นคาํ วิจารณ แตทาํ ไดเ พียง 12 เลม ก็เสียชวี ติ เจยี งยง่ิ ซู (Jiang Yingsu) ผูเ ปนบุตรใชเวลาทาํ งานสืบ ทอดตอมาอกี 19 ป จึงเสร็จ และตีพิมพเผยแพรไดใ น ค.ศ. 1591 หนงั สอื นไ้ี ดร ับความนยิ มและตีพิมพซาํ้ หลายครง้ั

Page 30 22 ศาสตรก ารแพทยแผนจนี เบอ้ื งตน - หนงั สอื ซูห มงิ อีเลยอ นั้ 《 续 名 医 类 案 》หรือ Supplements to the Classified Medical Records of Famous Physicians หรอื ภาคผนวกหนังสือเรียบเรยี งการบันทึกทางการแพทย อยา งเปน ระบบของแพทยผูมีชื่อเสียง (ค.ศ. 1770) และหนังสือ คาํ อภิปรายเรื่องเวชปฏิบัติในหลิวโจว 《柳州医话》หรือ Discussion of Medical Practice in Liu Zhou รวบรวมโดย เวยจ อื ซว่ิ (魏之 绣 Wei Zhixiu) จางจิง่ เยวี่ย หวางเข่นิ ถงั 5) การแลกเปล่ยี นทางการแพทยก บั ตา งประเทศ ในยคุ ราชวงศหมิงและราชวงศช งิ มกี าร แลกเปลีย่ นทางการแพทยของจนี กับประเทศเพื่อนบาน คอื ประเทศญปี่ ุน และเกาหลี โดยสว นใหญญีป่ ุน และเกาหลรี ับถายทอดวิทยาการจากจีน ขณะเดียวกนั วทิ ยาการทางการแพทยข องตะวันตกไดเผยแพรเขา สจู นี ท้งั วชิ ากายวภิ าคศาสตร สรีรวิทยา เภสชั วทิ ยา และอ่นื ๆ แตม อี ิทธิพลตอ การแพทยจ นี ไมม ากใน ขณะท่กี ารแพทยจีนเร่มิ เผยแพรเ ขาสยู ุโรปโดยผานทางคณะมิชชนั นารี เชน มเิ ชล บอยม (Michel Boym) ตีพิมพห นงั สอื ช่ือ พรรณไมจ นี (Chinese Flora) (ค.ศ. 1643) เปน ภาษาละตินโดยเนื้อหาสว นใหญไดมาจากตํารายาเปนเฉากงั ม《ู 本草纲目》หรอื Compendium of Materia Medica ของหลสี่ อื เจนิ อาร พี แฮรริว (R.P. Harrieu) ตีพมิ พหนังสือ ความลบั ของการแพทยจนี ดั้งเดมิ (Secret Classic of Traditional Chinese Medicine) (ค.ศ. 1671) พูมิเกอร (Pumiger) แปลหนังสือ อหี มิงเหอจงก๋ัวมา ยหล《ี่ 医明和中国脉理》หรอื Medical Guide and Traditional Chinese Medicine Pulse Theory หรอื คูมือทางการแพทยแ ละ ทฤษฎชี พี จรการแพทยจ ีน เปนภาษาละตนิ ใน ค.ศ. 1680 และพิมพเผยแพรใ นประเทศเยอรมนี

Page 31 ประวตั กิ ารแพทยจีนโดยสงั เขป 23 เคลอเยอร (Cleryer) รวมงานแปลของพมู เิ กอรเ รอ่ื งชีพจรของจนี การตรวจลนิ้ สมุนไพรจนี 289 ชนดิ และภาพเสนชีพจร 68 ภาพ ตพี มิ พห นงั สอื ตวั อยา งการบาํ บัดโรคของจีน (中国医法齐例 Examples of Chinese Medical Therapies) เปน ภาษาละติน ใน ค.ศ. 1682 ทเี่ มืองแฟรงเฟรต ประเทศเยอรมนี ในศตวรรษท่ี 17 แพทยช าวตะวนั ตกเริ่มนาํ วชิ าฝง เขม็ และรมยาไปใช กลาวคือ ค.ศ. 1671 มกี ารตพี มิ พตํารารมยาออกมา 2 เลม ในประเทศเยอรมนี เลมหนง่ึ เขียนโดย เกลฟซู สุ (Geilfusius) อกี เลม หนงึ่ เขียนโดย บสู ชอฟ (Busschof) เซอรจอหน ฟลอเยอร (Sir John Floyer) แพทยช าวองั กฤษเขียนรปู แบบการจับชพี จรของ แพทย (Form of Doctor’s Feeling the Pulse) เจ เอ เกหม า (J.A. Gehma) ตพี ิมพห นังสือ การประยุกตวธิ รี มยาของจนี ในการรักษาอาการ ปวดขอ จากโรคเกาท (应用中国灸术治疗痛风 Application of Chinese Moxibustion to Treat Migratory Arthralgia) (ค.ศ. 1683) โดยพิมพท ่เี มืองฮมั บรู ก (Hamburg) ประเทศเยอรมนี 7. ยุคการแพทยสมยั ใหม จากสงครามฝน การสถาปนาจีนใหม จนถึงปจจบุ นั ( 现 代 Modern Age) (ค.ศ. 1840–ปจ จุบนั ) 1) การยอมรับการแพทยตะวนั ตก ประวัติศาสตรจีนในชวงยุคนี้ การแพทยตะวันตกมีผลกระทบอยางมากตอการแพทยจีน เริม่ ตน จากการเกดิ สงครามฝนระหวา งจนี กบั ชาตติ ะวนั ตก 2 คร้งั คอื คร้งั แรกทําสงครามกบั ประเทศ องั กฤษ (ค.ศ. 1840-1842) และครง้ั ที่สองทําสงครามกับประเทศองั กฤษและฝรั่งเศส (ค.ศ. 1856-1860) กอนสงครามฝน การแพทยต ะวนั ตกในประเทศจนี ถูกปดกนั้ มกี ารตง้ั สถานพยาบาลการแพทย ตะวนั ตกบา งเพียงเล็กนอยเทา น้ัน เชน โธมัส อาร คอลเลดจ (Thomas R.Colledge) แพทยข องบรษิ ทั บริตชิ อิสตอินเดีย เริม่ ต้ังโรงพยาบาลมิชชนั นารแี หงแรกที่เมอื งมาเกา (Macau) และใน ค.ศ. 1834 ป เตอร ปารเกอร (Peter Parker) (ค.ศ. 1804-1888) แพทยบ าทหลวงชาวอเมรกิ นั ถกู สง ไป ท่ีเมืองกวาง เจาและจัดต้ังโรงพยาบาลตา แตหลังสงครามฝน จีนตกอยูในฐานะก่ึงเมืองขึ้น มีการต้ังโรงพยาบาล มชิ ชนั นารีเปน จาํ นวนมาก ระหวา ง ค.ศ. 1828-1949 มโี รงพยาบาลมชิ ชันนารีมากถึง 340 แหง เคทเบอรี โจนส (Katebury Jones) เขยี นถงึ บทบาทของโรงพยาบาลเหลา น้ีไวใ นหนงั สอื บน คมมดี ผา ตัด (On the Edge of the Operating Knife) (ค.ศ. 1935) ตีพมิ พที่นครเซย่ี งไฮ (上海 ซา ง ไห) วา “สาํ หรบั นายแพทยป เ ตอร ปารเ กอรแ ลว มีดผาตัดของเขาทาํ หนา ทฟ่ี นบานประตูจีนใหเ ปดออก

Page 32 24 ศาสตรก ารแพทยแผนจีนเบอื้ งตน ขณะท่กี ระสนุ ปน ของตะวันตกพังทลายไมไ ด” สมาคมแพทยนกั สอนศาสนาอเมรกิ ัน (American Medical Preaching Association) ต้ัง โรงเรยี นแพทยต ะวนั ตกแหงแรกขึน้ ท่เี มอื งกวางเจา ใน ค.ศ. 1866 ชาวจนี เองกไ็ ดต งั้ โรงเรยี นแพทย ตะวันตกขน้ึ ท่ีเทยี นสิน เม่ือ ค.ศ. 1881 และตั้งโรงเรยี นแพทยต ะวนั ตกข้นึ ในมหาวิทยาลัยปก ก่ิง ใน ค.ศ. 1903 ซง่ึ ตอ มาไดแยกตัวออกจากมหาวิทยาลัยเปนโรงเรียนแพทยป ก ก่ิง เมือ่ ค.ศ. 1906 หลัง “สญั ญาสนั ตภิ าพ” (ค.ศ. 1901) ระหวา งจีนกับอังกฤษ สหรฐั อเมริกา เยอรมนี และ ฝรั่งเศส มกี ารต้งั โรงเรยี นแพทยข ้ึนหลายแหง เชน โรงเรยี นแพทยเสยี เหออเี สวยี ถาง (协和医学堂 Union Medical School หรือ โรงเรียนแพทยย เู นยี น ค.ศ. 1903) ที่ปก กง่ิ (北京 เปยจิง) โรงเรียน แพทยฉีหลู (Qilu ค.ศ. 1904) ที่จหี้ นาน (济南 Jinan) โรงเรยี นตาถง (大同 Datong ค.ศ. 1908) ท่ี ฮนั่ โขว (Hankou) โรงเรยี นแพทยถงจ้ี (同济医院 ค.ศ. 1908) ท่ีนครเซยี่ งไฮ โรงเรยี นแพทยย เู นยี น (ค.ศ. 1911) ทเี่ มืองฝูโจว (福州 Fuzhou) และโรงเรยี นแพทยเซียงหยา (Xiangya ค.ศ. 1914) ทเี่ มอื ง ฉางซา (Changsha) รวมแลว มโี รงเรียนแพทยต ะวันตกของคณะมชิ ชันนารีกวา 20 แหง หลงั การปฏวิ ตั ิ ประชาธิปไตยในป ค.ศ. 1911 มีโรงเรียนแพทยทั้งของรัฐและเอกชนต้ังข้ึนอีกหลายแหงทั่วประเทศ นอกจากน้ี นักศกึ ษาจํานวนมากเดินทางไปศึกษาการแพทยในตางประเทศ ทง้ั ในญีป่ ุน และยุโรป และมี การแปลตาํ ราแพทยตะวนั ตกจาํ นวนมากเปน ภาษาจีน ในยุคดังกลาว มีการตอสูกันระหวางการแพทยจีนและการแพทยตะวันตก และผลที่สุด การแพทยจีนเปน ฝา ยพายแพ แพทยจีนหลายคนมีความพยายามผสมผสานการแพทยท งั้ สองแผนเขา ดวยกนั แตเ น่อื งจากทฤษฎพี น้ื ฐานแตกตา งกนั จงึ ผสมผสานกนั ไมไ ด 2) ความพยายามลม เลิกการแพทยจ นี หลงั จากการแพทยตะวันตกไดรบั การยอมรบั อยา งกวา งขวางในประเทศจนี รฐั บาลกกมนิ ตงั๋ มคี วามคดิ และความพยายามลม เลิกการแพทยจ ีน ดังนี้ ค.ศ. 1914 หวางตาเซีย รฐั มนตรีกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เสนอใหย กเลกิ การแพทยจีน และให ใชก ารแพทยต ะวันตกเพียงอยางเดยี ว ค.ศ. 1925 สมาคมสหศกึ ษาแหง ประเทศจีน เสนอตอ รัฐบาลใหนาํ การแพทยจนี เขา เปน สวน หนงึ่ ของสถาบันการแพทยตะวันตก แตถูกปฎเิ สธ เดือนกมุ ภาพันธ ค.ศ. 1929 ในที่ประชุม “คณะกรรมการกลางสาธารณสขุ ” นายแพทยเ วย่ี วินซิ่ว ซึ่งศึกษาวิชาแพทยจากญ่ีปุนและกลับมาจีน ใน ค.ศ. 1914 เสนอใหยกเลิกการรักษาโรคโดย

Page 33 ประวัติการแพทยจีนโดยสังเขป 25 แพทยจนี ดว ยเหตผุ ล คือ - ทฤษฎแี พทยจ นี ลว นแลวแตเปน ทฤษฎีเพอฝน - การวนิ ิจฉยั โรคดวยวธิ กี ารแมะหรอื จับชพี จรไมเปน จริง เปนการหลอกลวงประชาชน - การแพทยจ ีนไมส ามารถปอ งกนั โรคระบาดได - พยาธิวทิ ยาของการแพทยจนี ไมเ ปนวทิ ยาศาสตร นายแพทยเ วีย่ วนิ ซิ่ว เสนอข้ันตอนการยกเลกิ การแพทยจนี ไว ดงั น้ี - ขึน้ ทะเบียนแพทยจีนทมี่ ีอยูทกุ คน ภายในป ค.ศ. 1930 - จดั อบรมแกแ พทยจนี มกี าํ หนด 5 ป จนถึง ค.ศ. 1930 แลวมอบประกาศนยี บัตรให สาํ หรบั ผทู ่ไี มไ ดร บั ใบประกาศนยี บัตร ใหหมดสิทธิ์ในการประกอบโรคศลิ ปะ - แพทยจ นี ที่มีอายุเกนิ 50 ป และไดใ บประกอบโรคศลิ ปะในประเทศมาแลว เกิน 20 ป ให ยกเวนไมต อ งเขา รับการอบรม แตจาํ กัดมใิ หร ักษาโรคตดิ ตอ ไมม สี ทิ ธิ์เขียนใบมรณบัตร และใบประกอบ โรคศิลปะดงั กลา วใหม อี ายุตอไปอกี 15 ป นับแต ค.ศ. 1929 - หามแพทยจ ีนโฆษณาประชาสมั พนั ธ และหามแนะนําการแพทยจีนทางหนังสอื พมิ พ - หา มนาํ เสนอขา วในวารสาร หา มการโฆษณาทไี่ มเปน วทิ ยาศาสตร - หา มตัง้ สถาบนั การแพทยจ ีน หลังจากมติดังกลาวผานการพิจารณาของท่ีประชุม ไดเกิดการตอตานจากวงการแพทยและ เภสชั กรรมแผนจนี อยางกวา งขวาง กลุมสมาคมตาง ๆ 132 กลุม จาก 15 มณฑล ไดสง ตวั แทนไป ชมุ นมุ กนั ท่ีนครเซี่ยงไฮ กลุมผตู อตานไดชูคาํ ขวัญ “เรยี กรองการแพทยจ ีน เพ่อื ปอ งกนั การรกุ รานทาง วัฒนธรรม เรยี กรอ งแพทยแ ละเภสัชกรจีน เพ่ือปอ งกันการรุกรานทางเศรษฐกิจ” มีการเจรจากบั รฐั บาล เพ่อื ใหย กเลิกมติดังกลา ว แพทยแ ละเภสัชกรแผนจีนในนครเซยี่ งไฮน ดั กนั หยดุ งานครงึ่ วนั เปน การประทว ง โดยไดร ับการสนับสนนุ จากองคก รตาง ๆ เชน สมาคมการคา แหง ประเทศจนี สมาคมสนิ คาแหงประเทศ จนี สาํ นักพิมพข า วการแพทย และชาวจนี โพนทะเลในแถบอุษาคเนยไ ดส งโทรเลขสนบั สนุนการคดั คา น ครั้งนี้ดว ย การรณรงคค ัดคา นดังกลาวจดั ขน้ึ ในวันท่ี 17 มนี าคม ค.ศ. 1929 แพทยจนี จงึ ถอื วันท่ี 17 มีนาคม ของทกุ ป เปนวนั แพทยจีน ผลของการคดั คา นอยางกวา งขวางทําใหม ติดงั กลา วไมไ ดนาํ ไปปฏบิ ตั ิ แตกม็ ีการดําเนนิ การ บางประการ ไดแ ก - กระทรวงศกึ ษาธิการออกคาํ สง่ั ใหเรยี กโรงเรยี นการแพทยจนี เปนเพียงสถานใหการศึกษา

Page 34 26 ศาสตรการแพทยแผนจนี เบอ้ื งตน - กระทรวงสาธารณสขุ เปลย่ี นชอื่ โรงพยาบาลแพทยจ ีนเปน สถานพยาบาล และหา มแพทยจ ีน ทํางานรว มกับฝา ยการแพทยแ ผนปจ จบุ ัน - ค.ศ. 1932 รัฐบาลมคี าํ สัง่ หา มสอนการแพทยจ นี ในระบบโรงเรียน ผลที่ตามมาทาํ ใหโรงเรียนแพทยจีนลดจํานวนลงมากมาย ที่เห็นไดชัดเจนคือ ในมณฑล กวางตงุ จากเดิมมโี รงเรยี นแพทยจนี อยูม ากกวา 20 แหง คงเหลืออยูเ พียงแหงเดียวใน ค.ศ. 1947 แพทยจ นี ซึ่งประมาณวา มีอยูราว 5 แสนคน แตเ พราะการสอบที่เขมงวด ทาํ ใหสว นนอยเทาน้นั ทส่ี อบผา น และไดรบั ใบประกอบโรคศิลปะ เชน ในนครเซี่ยงไฮ ระหวาง ค.ศ. 1927-1935 มผี ูสอบไดเพียง 6,000 คน เทานัน้ การแพทยจ นี ในประเทศจนี จงึ เส่อื มสลายลงตามลาํ ดับ 3) การฟน ฟูการแพทยจ ีนหลงั การสถาปนาจนี ใหม ระหวา งสงครามกลางเมอื งที่ยาวนานถงึ 28 ป เนือ่ งจากเขตทฝี่ า ยคอมมูนสิ ตค รอบครองอยู ถกู ปดลอ มจากทกุ ดา น การแพทยในเขตนจ้ี งึ ตองอาศยั การใชประโยชนจ ากการแพทยจ ีน และไดมกี าร ผสมผสานการแพทยตะวันตกมาโดยตอ เนอ่ื ง หลงั การสถาปนาสาธารณรฐั ประชาชนจนี เมื่อวันท่ี 1 ตลุ าคม ค.ศ. 1949 รฐั บาลจีนใหมมี นโยบาย “สงั คายนาการแพทยจนี ” ท่ัวประเทศ ตอมา ค.ศ. 1956 ไดจดั ตั้งสถาบันสอนการแพทยจ นี ใน 4 เมอื งใหญ คอื นครปกก่ิง นครเซี่ยงไฮ เมอื งนานกิง และเมอื งเฉิงตู และขยายเพิม่ จาํ นวนขนึ้ เร่อื ย ๆ ชวงการปฏิวัติวฒั นธรรม รฐั บาลมีนโยบายกระจายบริการสาธารณสขุ ไปท่วั ประเทศ ดวยการ สราง “หมอเทาเปลา” ขึ้น มีการเสนอคําขวญั “หญา หนง่ึ กํา เข็มหนึง่ เลม สามารถรกั ษาโรคได” การผลติ แพทยด วยนโยบายซา ยจัด ทาํ ใหเกิดแนวคดิ “การรวมแพทยท ้งั สองแผนเขา ดว ยกนั ” เพือ่ ผลิตแพทย แผนใหมใ หรทู ัง้ การแพทยตะวนั ตกและการแพทยจีน แตไ มป ระสบผลสาํ เรจ็ เพราะทําใหไ ดแ พทยท ี่ไมมี ความรลู มุ ลึกพอทัง้ สองแผน เม่อื เขา สยู ุค “สท่ี ันสมยั ” (ค.ศ. 1980) มนี โยบายทบทวนการพฒั นาการแพทยใ นประเทศจนี ตั้งเปาหมายใหมใหมี “การคงอยูรวมกันของการแพทยจีนและการแพทยตะวันตก และการผสมผสาน ระหวางการแพทยจีนกับการแพทยตะวันตก โดยมงุ เนนใหม กี ารพฒั นาพรอม ๆ กนั ” ปจจุบันการแพทยจ ีนมกี ารพัฒนาท่คี รบวงจร ท้งั หลักสูตรการเรียนการสอน การใหบ ริการ ในโรงพยาบาล และการพฒั นายา โดยการแพทยจ นี และการแพทยต ะวันตกมีการยอมรับซง่ึ กนั และกัน และไดร ับการยอมรบั จากทัง้ รฐั บาลและประชาชน

Page 35 ทฤษฎีอนิ -หยาง 27 บทที่ 2 ทฤษฎีอนิ -หยาง ความเปน มาของอิน-หยาง อนิ -หยาง (阴阳 Yin-Yang) เปน แนวคดิ ปรัชญาของชาวจนี ที่มีมาแตโบราณกาล ไดจ าก การสังเกตและคนพบลักษณะที่สําคัญของธรรมชาติ วาส่ิงตาง ๆ ประกอบดวย 2 ดาน ซึ่งขัดแยงกัน ตอสกู ัน พึง่ พากนั แยกจากกนั ไมได รปู ท่ี 2-1 สัญลักษณอ นิ -หยาง สีดาํ แทนอนิ สขี าวแทนหยาง ทฤษฎีอนิ -หยาง เร่มิ มมี าตัง้ แตยุคราชวงศโจว (1,000-256 ปก อ นครสิ ตกาล) มีการกลา วถงึ อิน-หยาง เปนคร้ังแรก ซง่ึ ถกู บันทกึ ในคมั ภีรอ้ีจงิ 《易经》และไดรับการปรับปรงุ แนวคิดเร่ือยมาจนถึง ขดี สงู สดุ ในยุคจั้นก๋ัว (2,476-221 ปก อนคริสตกาล) เนือ่ งจากทฤษฎีอนิ -หยาง ครอบคลุมส่งิ ตา ง ๆ ไวต ั้งแตโ บราณ จึงถกู นาํ มาใชในวิชาการตาง ๆ เชน พยากรณอากาศ หมอดู ภูมิศาสตร-ฮวงจยุ ดาราศาสตร คณิตศาสตร และการแพทยแ ผนจนี ดวย เร่ิมในสมยั ราชวงศจ ิ้นและราชวงศฮ ่นั กลา วกันวา ผูที่จะเขา ใจเร่ืองอนิ -หยางไดดี ตอ งเขา ใจคาํ พูดทบ่ี ันทกึ อยใู นคมั ภรี เนยจ ิงภาคซูเวนิ่ อนิ หยางอ้งิ เซ่ียงตาลนุ 《素问 。阴阳应象大论》กลา ววา “สรรพส่ิง ลวนถูกครอบคลมุ โดยกฎเกณฑ ลักษณะคูส องดานที่มกี ารแปรเปลย่ี นมีเกดิ ดับเปน พ้ืนฐานเปนทีพ่ ิสดาร แปรเปล่ียนไปไดเรอ่ื ย ๆ ไมส น้ิ สุด” ความสําคัญอยทู ค่ี าํ วา “ลักษณะค”ู (天地之道 เทียนตจ้ี ือเตา) การแปรเปล่ียน (变化之 父母 เปย นฮฺวาจือฟหู มู) และคําวา “เปนที่พิสดารแปรเปลีย่ นไดเ รื่อยไมส นิ้ สดุ ” (神明之府也 เสิน หมนิ จือฝเู หยีย่ )

Page 36 28 ศาสตรการแพทยแผนจนี เบอ้ื งตน 1. ลกั ษณะคขู องอนิ -หยาง ลักษณะคูของอนิ -หยางมสี องลกั ษณะ ดงั น้ี 1.1 ลกั ษณะท่ีตรงขา มกนั ขัดแยงกัน สูกนั (阴阳对立 อินหยางตยุ ล)ี่ เชน ทิศทางการ เคลอื่ นไหวสดู านนอก สดู านบน ไฟ อนุ รอน ฯลฯ เปนหยาง ทศิ ทางการเคลื่อนไหวสดู านใน สูดา นลา ง สงบนิง่ น้าํ หนาวเย็น ฯลฯ เปน อิน 1.2 ลักษณะคทู ่ีพ่ึงพาอาศัยกนั และแยกกันไมได (阴阳互相 อนิ หยางฮูเซียง) คือ ไมว า อนิ หรอื หยาง ไมส ามารถแยกกันอยเู ด่ียว ๆ ได เมือ่ ดา นบนเปนหยาง ดานลา งตองเปน อิน จะมดี า นบนโดย ไมม ดี านลาง หรือมีดานลา งโดยไมม ดี า นบนไมได ตองมคี กู ันเสมอ อีกตัวอยางหน่ึงคอื ฝนเกิดจากชข่ี อง ดินซ่ึงเปน หยาง พานํา้ ระเหยขน้ึ เปนกอ นเมฆแลว ตกลงมา ฝนซ่งึ เปนมวลคืออนิ จะเห็นไดวา วัฏจักรของ การเกิดฝน ตอ งมีอนิ -หยางคกู ัน แยกจากกนั ไมไ ด ในสมยั ราชวงศหมงิ ไดก ลา วถึงอนิ -หยางเก่ยี วกบั การ พ่ึงพาและแยกจากกันไมไ ดใ นตาํ ราอกี ว น อนิ หยางลนุ 《医贯。阴阳论》วา “หยางสัมพันธกับอิน อินสัมพันธกับหยาง ไมมีหยางเกิดอินไมได ไมมีอินหยางก็ไมเกิด” คมั ภีรซ ูเวน่ิ อนิ หยางอ้ิงเซ่ียงตาลนุ 《素问 。阴阳应象大论》กลา ววา “อนิ อยใู นหยางเปนยามเฝา หยางอยนู อกเปน ผูรบั ใชข องอนิ ” ความสัมพนั ธแบบแยกกนั ไมไ ดน ้ี แพทยผ มู ีชอื่ เสยี งในสมัยราชวงศห มงิ ชอื่ จางเจ้ียปน (张 介宾) ไดเขยี นไวใ นตําราเลย จงิ ว่นิ ชเี่ ลย 《 类经。运气类》วา “ฟามที นุ เปน หยาง ในหยางน้ันมีอิน ดินมที นุ เปน อิน ในดินนั้นมีหยาง” ในสมัยราชวงศช งิ หวงเยวฺ ยี นอฺวี้ (黄元御) ท่ไี ดเขียนไวใ นตาํ ราซูหลิงเวยยวฺ นิ่ 《苏灵微 蕴 》วา “อิน-หยางแยกกันไมได อวัยวะตันท้งั หาเปน อนิ แตเกบ็ ซอนหยางไว ถาไมม ีอวยั วะตนั ท้ังหา คอยเกบ็ ซอ นหยางไว หยางกห็ ลดุ ลอยไป สวนอวยั วะกลวงท้ังหกเปนหยาง เปนที่สารจิงแปรมา ไมมี อวัยวะกลวงทงั้ หก สารอนิ จงิ ทเี่ ปนอนิ ก็ไมม ี จงิ จะแหง เหอื ดไป” ชใ่ี หก ําเนิดเลอื ด ทําใหเลือดไหลเวยี นได เลือดใหช ่เี ปนทอี่ าศัยอยแู ละทาํ หนา ที่บาํ รงุ ชี่ ลกั ษณะ การอยูรวมกนั แบบอาศยั พ่งึ พากันแยกกันไมไดตอ งสมดลุ จึงจะอยไู ดปกตสิ ขุ ไมเ ปนโรค ถาเกิดภาวะที่ไม สมดลุ เชน รางกายมอี ะไรมากระตนุ ใหต ่ืนตวั มากเกนิ ไป เกิดภาวะหยาง และไมมีตัวยบั ยั้งควบคมุ ให สมดลุ ความตน่ื ตัวเพิม่ ขึ้นเรื่อย ๆ กก็ ลายเปนคนบาไดในทีส่ ุด ตรงกันขามถา ไมม ีการกระตนุ ใหต่ืนตัว เหลือแตอนิ เปน สวนใหญ กเ็ ปน โรคเศราซึม โรคนอนไมห ลับหรอื นอนเกง หรือผูปว ยติดยาเสพตดิ ใน ปจจบุ ัน ก็สามารถอธบิ ายในลักษณะความสมั พนั ธแ บบอนิ -หยางไดเ ชน กนั

Page 37 ทฤษฎีอิน-หยาง 29 2. การแปรเปลี่ยนของอนิ -หยาง 2.1 การจาํ แนกสรรพสิ่งวา เปนอินหรอื เปน หยาง เปน ส่งิ แนน อน เชน ไฟ มีคณุ สมบัตริ อน ลอย ขึ้นบนจดั เปน หยาง นํ้ามีคุณสมบัติเย็น ลงลางเปนอนิ คณุ สมบัติประจาํ ตวั ของสรรพสงิ่ นเี้ ปล่ยี นแปลง ไมไ ด แตส ามารถแปรเปลี่ยนไดในกรณีเปรยี บเทยี บ เชน ฤดูใบไมรวง ซ่ึงมีอากาศเย็น เมื่อเปรยี บเทยี บ กับฤดูรอ น จงึ จดั เปน อิน แตถา เปรียบเทียบกับฤดูหนาวซ่ึงเย็นกวา ฤดูใบไมรว งกจ็ ัดเปน หยาง 2.2 อินหรอื เปน หยาง สามารถแบง เปน อิน-หยางไดอ กี นัน่ คอื อนิ -หยาง แปรเปลยี่ นไปโดยแบง ไปไดเรื่อย ๆ ไมสน้ิ สุด ตัวอยางเชน กลางวันกบั กลางคืน กลางวนั เปนหยาง กลางคนื เปน อิน ในคัมภรี ซู เวิน่ จินกยุ เจนิ เอ๋ียนลนุ 《素问。金贵真言论》ไดอ ธบิ ายวา “ในอินมีหยาง ในหยางมอี นิ ” ดงั นี้ “ ชว งเชา ตรรู ุง สาง จนถงึ เท่ยี งวนั เปนหยางในหยาง ชวงเที่ยง ชวงเท่ยี งคนื จนถงึ เยน็ เปน อนิ ในหยาง ชว งไกเ ร่มิ ขนั จนถึง ไกเ ริม่ ขนั เปน อนิ ในอนิ จนถึง เชา ตรูรุง สาง เปนหยางในอนิ ” ทาํ นองเดยี วกนั รางกายคนก็แบง เปน อนิ -หยางได อวยั วะตนั เปนอนิ อวัยวะกลวงเปนหยาง หวั ใจและปอดอยูส วนบนของรางกาย จัดเปนหยาง หัวใจเปน ธาตไุ ฟจงึ จดั เปน หยางในหยาง ปอดเปน ธาตุ ทองจึงจัดเปนอนิ ในหยาง ตบั และไตอยูส ว นลา งของรางกายจดั เปน อนิ ตับมีลักษณะแกรง จดั เปนหยาง ในอิน ไตเปนธาตุนํ้าจึงจดั เปน อินในอนิ มามอยูตรงกลางของรา งกายถงึ เขตอินพอดจี ัดเปนอิน การแปรเปลี่ยนของอิน-หยางแบง ไดไมส้ินสุด จึงเปน คําอธบิ ายของคาํ วา “อะไรอยูภ ายใตฟา ดนิ น้นั เปน แบบน้ี” ดงั มีกลาวในคมั ภีรซ ูเว่ิน อนิ หยางหลีเหอลุน《素问。阴阳离合论》วา “อิน-หยาง นน้ั จากสบิ ขยายไดเ ปนรอ ย เปนพัน เปนหมื่น ขยายไปเรอื่ ย ๆ จนนับไมถ วน ความจริงมาจากหนง่ึ ” 2.3 อนิ -หยาง เพม่ิ -ลด แปรสภาพ รางกายคนในเวลากลางวันจะถกู กระตุนใหพ รอมทํางานจัดเปน ภาวะหยาง แตก ลางคืนรางกายจะถกู ควบคมุ ใหพ กั ผอนอยใู นภาวะอิน พอใกลร งุ ภาวะหยางจะคอ ย ๆ เพิ่มขนึ้ และรา งกายกจ็ ะเรม่ิ ถกู กระตนุ ใหพรอมทาํ งาน หยางเพิม่ อนิ ลด (阴消阳长 อินเซียวหยางฉาง) ในทางตรงขา มเมือ่ พระอาทติ ยตกดนิ หยางจะลดอนิ จะเพิ่ม (阳消阴长 หยางเซียวอนิ ฉาง) เปน เชนนี้ รา งกายจงึ จะสมดลุ ซึง่ แสดงวาอนิ และหยางคอยควบคุมแปรเปลีย่ นไปมาเร่ือย ๆ ถา ผิดปกตไิ ปจะเกดิ ภาวะอนิ หรือหยางแกรง หรือ อนิ หรอื หยางพรอง และถาแกรง หรือพรองถงึ ระดับสงู สุด อิน-หยางอาจจะ แปรสภาพได เชน ฤดูใบไมผ ลจิ นถงึ ฤดูรอ น อากาศจะอุนไปจนถงึ รอนสุด แลว กเ็ รมิ่ แปรสภาพเปน ฤดู

Page 38 30 ศาสตรก ารแพทยแผนจีนเบื้องตน ใบไมรวง อากาศจะเย็นและฤดูหนาวอากาศจะเยน็ สุด แลว กลับมาเปนอากาศอุน รอนในฤดูใบไมผลิอกี ตองมีคาํ วาระดบั สงู สุดจึงมกี ารแปรสภาพ ดงั ในคัมภีรซูเวิ่น อินหยางอ้ิงเซ่ยี งตาลุน《素问。阴阳应 象大论》กลา ววา “หนาวสดุ เกดิ รอ น รอนสุดเกิดหนาว” “อนิ สดุ เกิดหยาง หยางสดุ เกิดอิน” การ แปรสภาพของอนิ -หยางในทางคลนิ กิ เชน การกระตุนเปนหยาง ถากระตุนถงึ ขดี สูงสุดแลวจะกลายเปน ถกู กดหรอื ถูกกดยบั ย้ังเปน อนิ จะกลายเปนโรคซึมเศรา ตรงกันขามถาถกู กดถงึ ขดี สงู สดุ ก็กระตนุ ใหอ าละวาด ได (โรค mania) คนไขท ่ตี ดิ เชอ้ื โรคหดั เปนพิษไขส ูงมากถงึ ขดี สงู สดุ ไขลดตวั เยน็ หนาซีด ขาชาเยน็ เหงื่อออกมาก กค็ อื สภาพหยางแปรเปลี่ยนเปนอิน 3. ซานอนิ ซานหยาง (三阴三阳) อนิ -หยางนัน้ แบงมาจากหนึง่ คือ ไทจ ๋ี (太极) เริ่มแรกแบงจาก ไทจี๋เปน อินหยาง แลว แบง เปน 4 เรียก ซ่อื เซีย่ ง (四象) ซ่ึงจะมแี ตเ สาอิน เสา หยาง ไทอ นิ ไทห ยาง โดยแบงตามหลกั การวา ตรงไหนมชี ่ีมากหรอื นอ ย ตอมามีการแบงยอ ยลงไปตามปรมิ าณชมี่ ากนอ ยเปน หยางมีเสาหยางเปน 1 หยาง ไทห ยางเปน 2 หยาง หยางหมงิ เปน 3 หยาง หยางหมงิ มชี มี่ ากสดุ อินมีจฺเหวยี อนิ เปน 1 อิน เสา อนิ เปน 2 อนิ ไทอ ินเปน 3 อิน ไทอินมีจาํ นวนอนิ มากทส่ี ดุ เสนอินมี 3 เสน เสน หยางมี 3 เสน รวมกัน เปน 6 เสน ซงึ่ ไดถ ูกพัฒนาเปนวชิ า ลว่ิ จิงเปยนเจงิ้ 《六经辨证》 ซ่ึงเปน วธิ ีที่ใชพเิ คราะหร กั ษาโรคที่ ดมี ากวธิ ีหน่งึ การจาํ แนกอนิ -หยาง การแพทยแผนจนี ไดจ าํ แนกอนิ -หยาง ดังนี้ 1. แบงรา งกายและเนอ้ื เยื่อโครงสรา ง หยาง อิน อวัยวะภายนอก ขาแขนดา นนอก อวยั วะภายใน หัวใจ ปอด อยดู านบน อวยั วะภายนอก ขาแขนดานใน ชี่ พลงั งาน ไมม ีรูป อวยั วะภายในมาม ตบั ไต อยูดานลา ง เลือด ของเหลวในรา งกาย (津液 จนิ เยยี่ ) มรี ปู

Page 39 ทฤษฎีอิน-หยาง 31 2. แบง ตามหนา ทส่ี รรี วทิ ยา หยาง อนิ ข้นึ บน ลงลาง ออกนอก เขา ใน กระตนุ กดยบั ย้ัง ใหความรอ นอุน ใหค วามหนาวเย็น ขับเคลือ่ น ใหค วามชื้น (น่ิง) อรปู (พลงั งาน) มีรปู 3. แบงตามอาการแสดงของโรค หยาง อนิ ไขร อ น หนาว จติ ตืน่ เตน จิตหงอยเหงา อุจจาระแหง อุจจาระเหลว ปสสาวะสั้น เหลอื งเขม ปส สาวะใสขาว สีหนา สวา ง มเี งา สหี นามืด หมองคล้ํา เสียงดัง เสียงสงู เสยี งคอย เสยี งต่ํา ชีพจรลอย ใหญ ลน่ื เร็ว แกรง ชีพจรจม เล็ก ฝด ชา พรอ ง 4. แบง ตามอิทธิพลหรอื ปจ จยั ตา ง ๆ ท่ีกอ ใหเกิดโรค (邪气 เสียช่)ี หยาง อิน แหง ลม ชืน้ ไฟ (รอน) หนาว (เยน็ ) เสียชีห่ ยาง (เปน อันตรายตอ เสยี ช่ีอิน (เปนอนั ตรายตอ อินและน้ําของรา งกาย) หยางช่ีของรา งกาย) แหง รอน แหงเยน็ กับคํากลาววา “หยางเกนิ เปน โรคอนิ อินเกิน เปน โรคหยาง”

Page 40 32 ศาสตรการแพทยแผนจนี เบ้อื งตน 5. แบงตามรสและฤทธ์ขิ องยา (4 ฤทธิ์ 5 รส) หยาง อิน ฤทธ์ิรอ น ฤทธิเ์ ย็นจัด ฤทธอ์ิ นุ ฤทธ์ิเยน็ รสเผด็ รสขม รสหวาน รสเปรี้ยว รสเคม็ การแปรเปล่ียนไปสโู รคพยาธิ ความสมบูรณข องอนิ -หยางในรา งกาย มีความสาํ คัญตอสขุ ภาพไมวาจะเปน ความสมดลุ ระหวา ง สว นบนหรือสว นลางของรา งกาย หรือ ระหวางภายในหรอื ภายนอกรางกาย หรือระหวางพลงั งานช่นี อก หรือพลงั งานชี่ในรางกาย หรอื ระหวา งชก่ี บั มวล ถาความสมดลุ เสียไปก็ปวยเปน โรค แมโ รคตา ง ๆ จะ ซับซอ นเพยี งใด กม็ วี ธิ รี ักษาโดยปรับสมดลุ ของอิน-หยางในรา งกาย การเสยี สมดลุ มี 2 แบบ ดังนี้ 1. อินหรือหยางแกรง (阴阳偏盛 อนิ -หยางเพยี นเซง่ิ ) อินหรอื หยางแกรง หมายถึง ภาวะทีอ่ นิ หรือหยาง ดานใดดา นหนง่ึ เกิดแกรงขนึ้ มาขม ดาน ตรงขามทําใหเ กดิ โรค เชน เสยี ช่ที เ่ี ปนหยางเขาสูรางกาย อินและเยย่ี (น้าํ จะถกู กระทบ เสียชท่ี ี่เปน หยาง มลี กั ษณะรอน ภาวะรางกายจะมหี ยางเพิ่มข้นึ มอี าการรอ น) แตถ า เสียชี่เปน อนิ มีลักษณะเยน็ เขา สรู างกาย ความเย็นจะเพ่ิมขน้ึ ทําลายหักลา งหยางลง จะมอี าการของความหนาวเย็น ดังในคัมภรี ซ เู ว่นิ อินหยางอิ้ง เซย่ี งตา ลุน (素问 。阴阳应象大论) อธบิ ายวา “อินแกรงเปนโรคหยาง หยางแกรง เปน โรคอนิ อนิ แกรง จกั หนาว หยางแกรง จักรอ น” สรปุ คําวา “โรคหยาง” หมายถึง สญู เสยี หยางช่ี โรคอนิ หมายถึง สญู เสยี อนิ และเย่ยี 2. อนิ หรือหยางพรอง (阴阳偏虚 อนิ -หยางเพยี นซวฺ )ี อนิ หรือหยางพรอ ง หมายถงึ ภาวะที่อินหรือหยาง ดานใดดานหนง่ึ ขม หรอื ยับยง้ั ดานตรงขาม ไมอ ยู ทาํ ใหเ กดิ โรคข้นึ ตวั อยา งเชน อนิ พรอ งหยางเกนิ หยางพรองอนิ เกิน อนิ พรองจะรอน หยางพรอง จะหนาว สาํ หรับอินพรองหยางแกรง เนือ่ งจากอนิ ทพ่ี รองจะทําใหมีอาการรอ น คอแหง ปากแหง อจุ จาระ แข็งแหง เม่ือไฟลอยข้ึนขางบนแกมจะแดง มีเหงื่อออกและรอนวันละสองครั้งเปนเวลา เรียก เฉาเยอ (潮 热) ล้ินแดงฝานอย ชีพจรเล็กเร็ว สาํ หรับกรณี หยางพรองอินแกรง หยางพรองจะทาํ ใหหนาว

Page 41 ทฤษฎีอิน-หยาง 33 จิตใจหอ เหย่ี วและไมมีแรง กลัวหนาว ปลายมือเทาเย็น อุจจาระเหลว ปส สาวะมากนานสีขาว ล้นิ อวนซีด ชีพจรพรอ ง ออ นแรง การใชหลกั อินหยางในการปอ งกันและรักษาโรค อินหยางตอ งอยคู กู นั ไมแ ยกจากกัน ตอ งพึ่งพาอาศัยกัน ถา อินหรอื หยางอยางใดอยางหนงึ่ พรอ งไป เชน ถา อนิ พรอ งพรองระดับหนงึ่ จะทาํ ใหห ยางพรองดวย และในทาํ นองเดียวกนั ถา หยางพรอง ถึงระดับหนึ่ง จะไมส ามารถเกิดอนิ ได และตอ ไปพรองทัง้ คู เรยี ก อนิ -หยางเหลย่ี งซวฺ ี (阴阳两虚) ถา อนิ หรือหยางพรอ งจนหมด ชวี ติ อยไู มได หยางหมดไป เรียก หยางทฺวอ (阳脱) อนิ แหงไป เรียก อิน เจย่ี (阴竭) แพทยผ มู ีชอ่ื เสยี งในสมัยราชวงศหมิง ช่ือ จางเจีย้ ปน (张介宾) ไดเขยี นไวใ นตําราจ่งิ เยฺว่ีย ฉวนซู ซินล่วิ ปาเจ้ิน《景岳全书。新六八阵》ไดม กี ารบันทึกถงึ วิธรี กั ษาวา “การรกั ษาเสรมิ หยางท่ี ดี ใหเ พมิ่ ยาอินเขา ไป การรกั ษาเสรมิ อินท่ีดีนน้ั ใหเ พิม่ ยาหยางเขา ไป” วิธนี เี้ รียกวา “ใชอ นิ เพื่อเสรมิ หยาง ใชห ยางเพื่อเสรมิ อิน” ตาํ รับยาท่มี ชี ือ่ เสยี งของทา น คอื อ้วิ กยุ หวาน (右归丸) โดยใช สตู ี้ (熟地) ซง่ึ เปนตัวยาเสริมอนิ ใสในตํารบั ยาเสริมหยาง เพอ่ื เพิ่มประสิทธภิ าพของตาํ รบั ยา และในตาํ รับยา จวฺ อกุย หวาน (佐 归 丸) ใสต ัวยาเขากวางในตาํ รับยาเสรมิ อิน เพอ่ื เพ่ิมประสิทธิภาพของตํารบั ยาเสริมอิน ซ่งึ แสดงถงึ ความสมั พนั ธข องอิน-หยางตามหลกั “ในอินมีหยาง” และ “ในหยางมีอนิ ”

Page 42 34 ศาสตรการแพทยแผนจนี เบื้องตน บทท่ี 3 ทฤษฎปี ญ จธาตุ กาํ เนดิ ทฤษฎปี ญ จธาตุ ปญ จธาตุ (五行 อสู งิ ) เปนทฤษฏีเกา แกของจีน บรรยายถึงวัตถุท้งั หลายในจกั รวาลประกอบดวย ลักษณะของ ไม ไฟ ดิน ทอง น้ํา เปนพน้ื ฐาน มกี ารใหก าํ เนิดเกอื้ กูล ขมยบั ยั้งระหวา งลกั ษณะทัง้ หา เพอ่ื ใหระบบภายในหรือระหวางระบบอยไู ดอ ยา งสมดลุ ทฤษฎีปญจธาตภุ ายหลงั ไดแ พรหลายเขา สูการแพทย แผนจีน ใชใ นการอธิบายถึงสรีรวิทยา การเกิดโรค และการปองกนั รกั ษาโรค ความเปน มาของปญ จธาตุ ปญ จธาตุ พฒั นาจาก “5 ทิศ (五方 อฟู าง) 5 แบบ (五节 อเู จย๋ี ) 5 ดาว (五星 อซู งิ ) และ 5 พร (五材 อูไฉ)” ในสมยั ราชวงศซ าง (商朝) จากการเซนไหวขอฝนในทศิ ตาง ๆ เกดิ การกาํ หนด “5 ทศิ ” ข้ึน โดยมที ศิ ตะวนั ออก ทิศใต ทิศตะวันตก ทศิ เหนอื และทิศตรงกลาง ซ่งึ หมายถึง ที่อยขู องประชาชนตอ แนวคดิ น้ี เริ่มสงั เกตถงึ ผลกระทบของภมู ิอากาศและอณุ หภมู ิตอ ผลิตผลท่ีไดจ ากการเพาะปลกู ไดแปร ภมู ิอากาศ เปน “4 ฤด”ู และ “5 แบบ” ตอ มามนี กั ปราชญคนพบดาวนพเคราะห 5 ดวง ที่สามารถ มองเหน็ ดว ยตาเปลา ต้งั ชื่อดาว น้ํา ทอง ไฟ ไม ดิน คอื ดาวพธุ ดาวศุกร ดาวองั คาร ดาวพฤหัส และ ดาวเสาร และเชอื่ วา การโคจรของดาว 5 ดวงน้อี ยา งปกติเปนระเบยี บ มอี ิทธผิ ลตอพลังงานและสสารบน โลก และสัมพนั ธกับภมู ิอากาศและฤดูกาลท้งั 4 ในสมัยของจักรพรรดิห์ วงตี้ไดจ ดั ทําปฏิทินดวงดาว เรมิ่ ใชค าํ วา “อูซงิ ” และเชื่อกนั วาการโคจรของดวงดาว 5 ดวง ในปใ ดถาเปนไปตามปกติ ปน ั้นผลผลิตของ เกษตรกรจะรงุ เรอื ง ในยุคชนุ ชวิ จ้ันกวั๋ มีบันทึกใชคํา “อไู ฉ (五材)” หมายถงึ ธาตุไม ธาตุไฟ ธาตดุ ิน ธาตนุ ํ้า ธาตุทอง และถือวาธาตุท้งั 5 เปนสงิ่ จาํ เปน ขน้ั พื้นฐานในการดาํ รงชวี ติ ไดม าจากพลงั งานและสสาร จากฟาดนิ จาก 5 ทศิ 5 แบบ และ 5 ดาว นกั ปราชญไดสงั เกตอิทธพิ ลของอากาศ การเปลยี่ นแปลงของ ผลผลติ การโคจรของดวงดาว จนทําใหกาํ เนิดคําวา “อูสิง (五行)” ขนึ้ มาและคอ ย ๆ คนพบลักษณะ ความสมั พนั ธพ เิ ศษ คอื “การขม หรอื การยับยง้ั (相克 เซียงเคอ )” เชน ไฟชนะทอง หรือ ไฟขมทอง น้ําชนะไฟ หรือ น้ําขมไฟ และสังเกตจากลกั ษณะภมู อิ ากาศ เชน ลม (ไม) ชนะความชน้ื ความชื้น (ดิน) ชนะความหนาว ความหนาว (นาํ้ ) ชนะความรอน ความรอน (ไฟ) ชนะความแหง ความแหง (ทอง) ชนะ

Page 43 ทฤษฎีปญ จธาตุ 35 ลม ทาํ ใหเกดิ คาํ วา ไมขม ดิน ดินขมน้ํา น้ําขมไฟ ไฟขมทอง ทองขม ไม เปนหลักการการขม ของปญ จธาตุ เกดิ ขึ้น จากการสงั เกตเรอ่ื ง ฤดูกาลภมู ิอากาศพบวา ฤดใู บไมผ ลติ น ไมเ ร่มิ เกิดข้นึ มา ฤดูใบไมผ ลคิ ู กบั ไม คกู ับการเกดิ เรยี กส้ัน ๆ วา ฤดใู บไมผลเิ กดิ ไม (春生木) ฤดรู อนตนไมเจริญเตบิ โต (夏长火) ไฟทาํ ใหเ จรญิ เติบโต กลางฤดูรอ นผลไมสุก (夏长化土) ฤดใู บไมร ว งตองเก็บเกี่ยว (秋收金) ฤดู หนาวมีการหลีกเรน จาํ ศลี (冬团藏水) จะเห็นไดวา ฤดใู บไมผ ลิมกี ารเกดิ โตในฤดรู อ น สกุ ในกลางฤดู รอ น รว งโรยในฤดใู บไมรว ง และเรน จําศลี ในฤดูหนาว เปน ลักษณะเกอ้ื หนนุ กนั ใหกําเนิด เกดิ คําพูดวา “ฤดูใบไมผ ลิเกดิ ฤดูรอ นเจริญเตบิ โต ฤดูใบไมร ว งโรย และฤดหู นาวเรน” (春生, 夏长, 秋收, 冬藏) และไดหลกั วา ไมใหก าํ เนิดไฟ ไฟใหกําเนดิ ดนิ ดินใหกําเนิดทอง ทองใหก ําเนดิ นํ้า นา้ํ ใหกําเนิดลม เปน หลักการของปญ จธาตุในแงก ารใหกําเนิดเก้อื กลู (相生 เซยี งเซิง) 1. ลักษณะเฉพาะตวั ของปญจธาตุ กอนราชวงศจ ้ินมกี ารบนั ทกึ ลกั ษณะพเิ ศษเฉพาะตัวของปญ จธาตุไว ดังนี้ ธาตุไม - งอตรงเหมือนกิ่งไม มหี วั งอตรงเปน ปลอง - แผก ระจายเหมือนกิ่งไมย ืดสาขากระจายออกไปเรื่อย ๆ - กระจายออกดานนอก - ความหมายคือ งอ ยดื ไดแ ก ตบั ถงุ นํา้ ดี เอ็น ธาตไุ ฟ - ใหค วามอบอุน - ความรอนลอยข้ึนบน - ไดแก หวั ใจ ลาํ ไสเ ลก็ ธาตดุ ิน - ใหก าํ เนิดแกส รรพส่งิ - ดินเปน มารดาของสรรพสงิ่ ทุกอยา งมาจากดนิ - ดนิ เปน สงิ่ ที่สรรพสง่ิ ตอ งกลบั คนื สู - สังกัดอยไู ดกบั 4 ธาตุท่ีเหลอื - ไดแก มาม กระเพาะอาหาร กลามเนอ้ื ธาตทุ อง - สามารถแปรสลายแยกออกจากกนั เชน แยกทองออกมาจากแรด นิ - สามารถแสดงความแขง็ แกรงของโลหะ - ดูดซับสารบรสิ ุทธ์ิ ทิศทางกระจายและลง - ไดแ ก ปอด และ ลําไสใหญ

Page 44 36 ศาสตรการแพทยแผนจีนเบอ้ื งตน ธาตนุ ้ํา - จาํ ศลี หลีกเรน เก็บซอ น - ใหค วามชมุ ชน้ื - ทิศทางลงลา ง - หนาวเย็น 2. การจาํ แนกสรรพสิง่ ใหเ ขากบั ธาตทุ ัง้ 5 ตารางที่ 3-1 แสดงความสัมพนั ธร ะหวางปญจธาตกุ ับสรรพสิง่ สรรพสงิ่ ไม ไฟ ดนิ ทอง นาํ้ อวยั วะตันทั้ง 5 ตับ ไต อวัยวะกลวงทงั้ 6 ถุงน้าํ ดี หวั ใจ มา ม ปอด กระเพาปสสาวะ เนอื้ เยือ่ เอ็น กระดกู อวัยวะรบั สัมผัส ตา ลาํ ไสเ ลก็ กระเพาะอาหาร ลําไสใ หญ หู เสียง ตะโกน ครวญคราง อารมณ โกรธ หลอดเลอื ด กลามเนื้อ ผิวหนงั กลัว ฤดกู าล ใบไมผ ลิ หนาว ทิศ ตะวันออก ลิ้น ปาก จมูก เหนือ สภาพอากาศ ลม เย็น สี เขยี ว หัวเราะ รอ งเพลง รอ งไห ดาํ รส เปรย้ี ว เคม็ ของเหลว น้าํ ตา ดใี จ กังวล ครุน คิด เศรา น้ําลาย (ขน) ความสมบรู ณ เลบ็ เสนผม กลนิ่ หืน ฤดรู อ น ปลายฤดูรอ น ใบไมร ว ง บูด ใต กลาง ตะวนั ตก รอ น ชนื้ แหง แดง เหลอื ง ขาว ขม หวาน เผ็ด เหงอื่ น้าํ ลาย (ใส) นํ้ามกู สีหนา ริมฝปาก เสนขน ไหม หอม เนา ตัวอยางเชน - อารมณก ลวั ตกใจมาก ๆ จะมผี ลตอ ทวารหนัก หรอื ทวารเบาอาจมผี ลทําใหอจุ จาระราด หรือ ปส สาวะราดได - คนทีเ่ ครยี ดมากเปน เวลานาน ๆ ครุนคดิ มาก มกั ไมรสู ึกหวิ ขา วและจะมผี ลตอมา ม - คนท่โี กรธรนุ แรงจะมใี บหนา เขยี วหมองคลํา้ - คนท่มี ีเสนผมดกดาํ จะสะทอ นถงึ การทาํ งานของไตยงั ดอี ยู - ไตจะถกู ความเย็นกระทบในทศิ เหนือ - ปลายลนิ้ มีสแี ดงจ้ํา ๆ จะสะทอ นถึงปญ หาทหี่ วั ใจและหลอดเลอื ด

Page 45 ทฤษฎีปญ จธาตุ 37 ความสัมพันธร ะหวา งปญจธาตุ 1. ความสมั พนั ธระหวา งปญจธาตุแบบปกตแิ ละปญจธาตุแบบผิดปกติ ตามธรรมชาตเิ พอ่ื ใหเกิดความสมดุลจะมกี ารใหก ําเนิด (สรางหรอื เกือ้ กูล) และการขม (ทําลาย หรือยับยัง้ ) ในรางกายคนก็เหมือนกนั จะมีทงั้ การสงเสรมิ และยับย้ัง ไมใหม ากเกินไปเพื่อใหร างกายสมดลุ ไม (ตับ) นา้ํ (ไต) ไฟ (หัวใจ) ทอง (ปอด) ดิน (มา ม) รปู ที่ 3-1 แสดงภาพการใหก าํ เนิดและการขม ของปญ จธาตุ เสน ประ แสดงการสรา ง เสน ทึบ แสดงการขม 1.1 ความสัมพันธร ะหวางปญจธาตุแบบปกติ 1.1.1 การใหก ําเนดิ การสราง การเก้อื กูล (相生 เซยี งเซงิ ) หมายถงึ การชว ยเหลือเกอื้ กลู ใหเ ตบิ โต หนุนใหก าวหนา ใหเ กดิ กาํ เนิดข้ึน ไม ไฟ ดิน ทอง นา้ํ ไม เปน วฏั จักรวงจรเชนนไ้ี ปเรื่อย ๆ ทุกธาตใุ นปญจธาตุ เปน ทั้งผใู หกาํ เนิด และ ผถู ูกใหกาํ เนิด เหมอื นแมใ หกาํ เนิดลูก เชน - ไมใ นปาเสยี ดสกี นั เกดิ ไฟ - ไฟเมอื่ มอดกลายเปน เถา ถาน (ดิน) - ดนิ เปน แหลงสรางทุกอยา ง เชน โลหะทอง - ทองเมอื่ นํามาแปรสภาพเกิดเปนของเหลว (นา้ํ ) - นํา้ จะมาหลอเลยี้ งใหต นไม (ไม) เจรญิ งอกเตบิ โต

Page 46 38 ศาสตรการแพทยแผนจนี เบื้องตน 1.1.2 การขม การยับยง้ั การทําลาย (相克 เซียงเคอ ) การขม กันจะขมกนั โดย เวน 1 ธาตุ เชน ไมก ําเนิดไฟ ไมไ มขม ไฟ แตจะไปขม ดนิ เชน - ไมข ม ดิน คอื ไมย ึดดนิ ไวเ พอื่ ไมใหด นิ พังทลาย จงึ สมดลุ - ดินขมน้ํา คือ แนวดนิ ก้ันนาํ้ ได ดดู ซับน้าํ ไว - ทองขม ไม คือ โลหะลมไมไ มใ หไมมากเกินไป - นํา้ ขม ไฟ คือ นํา้ ดับไฟไมใหล กุ ลามได - ไฟขม ทอง คอื ไฟทําใหโลหะออ นตวั ลง 1.2 ความสัมพันธร ะหวางปญ จธาตุแบบผดิ ปกติ 1.2.1 ขมเกิน (相乘 เซียงเฉงิ ) หมายถึง ภาวะทแี่ ขง็ แกรง รงั แก ขมเหง ออนแอ หรือ มี การขมมากกวา ปกติ การขม เกิน มี 2 แบบ เชน ขณะทีไ่ มขม ดนิ มากเกนิ ไป เพราะเหตุไมแกรง เกนิ ภาวะ นีเ้ รียกวา ไมแกรงเกินขม ดิน ทําใหเกิดโรคแกรง อีกแบบหนง่ึ คอื ดินออนแอมากเกินไป ไมเลยขมเกินได เรียกวา ดินพรองไมเลยขมเกินทําใหเกิดโรคพรอ ง 1.2.2 ขม กลับ (相侮 เซียงอู) หมายถงึ ปญจธาตุทถ่ี กู ขมปกติ ขมสวนทศิ กลับไป เชน ปกติ ทองขมไม แตในกรณผี ดิ ปกติ ไมไมย อมใหทองขม แตกลับขม ทองสวนกลบั และมี 2 ลกั ษณะ คือ แบบหน่งึ แรงขม ปกติไมเพยี งพอ เชน ทองออ นแอไมม แี รงขม ไมไ ดต ามปกติ ไมเลยขมกลบั เรยี กวา ทอง พรองไมเลยขม กลับ (金虚木侮 จนิ ซวฺ ีมูอู) อกี แบบหนึ่งปญจธาตุทถ่ี กู ขมแข็งแกรงเกนิ ไป เชน ไม แกรง ไมย อมใหท องขม ซา้ํ กลับขม สวน เรยี กวา ไมแกรง เกนิ ขม ทองสวนกลบั (木旺侮金 มวู างอจู ิน) การขมเกนิ และขม กลับสามารถเกดิ ไดในเวลาเดยี วกัน เชน ไมแ กรงเกนิ ขมดนิ ขณะเดยี วกนั ก็ขมทองดวย ความผดิ ปกติทีเ่ กิดจากปญจธาตุ ทส่ี ัมพนั ธก นั แบบแมล กู มี 2 แบบ ดังน้ี แบบท่ี 1 แมป วยกระทบถงึ ลกู (母病及子 หมูป งจี๋จ่อื ) เม่อื มอี วัยวะตนั อันใดอนั หนึง่ ของแมเ กดิ ปวยจะกระทบถึงอวยั วะตนั ของลูก เชน ตับ (ไม) เปนโรค จะกระทบถงึ หวั ใจ (ไฟ) หัวใจ (ไฟ) เปน โรค จะกระทบถงึ มา ม (ดนิ ) แบบที่ 2 ลูกปวยกระทบถงึ แม (子病犯母 จื่อปง ฟา นหมู) หมายถึง เม่ืออวยั วะตันของลกู ปวย จะกระทบถงึ อวยั วะตนั ของแม เชน ตับ (ไม) เปนโรค จะกระทบไปถึง ไต (นา้ํ ) ไต (นา้ํ ) เปน โรค จะกระทบไปถึง ปอด (ทอง)

Page 47 ทฤษฎีปญจธาตุ 39 2. ความสมั พันธระหวางปญจธาตุกบั อวยั วะตนั จากทฤษฎปี ญจธาตจุ ะเห็นไดว า ความสามารถของหนา ทอ่ี วยั วะตน นอกจากจะขน้ึ กบั อวยั วะตนั นั้น ๆ แลว ยงั ขนึ้ กบั อวัยวะตนั ทมี่ าใหก ําเนิดสรา งเก้อื กูล หรอื อวัยวะตนั ทม่ี าขม 2.1 ความสามารถของหนา ที่ขน้ึ กบั อวัยวะตนั ทส่ี ราง 2.1.1 การสรา งไฟ ตับ (ไม) ใหก าํ เนดิ หัวใจ (ไฟ) ตบั มีหนาท่ีเก็บเลือดเพ่ือมาเกอ้ื กลู หลอ เล้ยี งหวั ใจ เพอื่ ฉีดไปเลีย้ งทัว่ รา งกาย เรียกวา ตับ (ไม) สรางไฟ (หัวใจ) 2.1.2 การสรา งดนิ หวั ใจ (ไฟ) ฉีดเลอื ดไปเล้ียงมาม (ดิน) ใหความอบอุน พลังงานแกม า ม (ดิน) เรยี กวา หวั ใจ (ไฟ) สรา งมาม (ดนิ ) 2.1.3 การสรา งทอง มา มสรางเลอื ดและจงิ สง ไปใหป อด (ทอง) เรยี กวา มาม (ดนิ ) สรา งปอด (ทอง) 2.1.4 การสรางนาํ้ ปอด (ทอง) จะเก้ือกูลหนุนอินของไต (นํา้ ) หรือกลาวไดวา ปอดเปน ตนน้ํา ซ่ึงชวยใหไตอนิ สามารถยบั ยงั้ ไตหยางใหอ ยูในภาวะสมดลุ เรียกวา ปอด (ทอง) สรา งไต (นํ้า) 2.1.5 การสรางไม สารจําเปน ของไต คือ จงิ (精) จะแปรสภาพไปเปน เลอื ดในตับ (ไม) เรียกวา ไต (น้ํา) สรา งตับ (ไม) 2.2 ความสามารถของหนา ที่อวัยวะตันขน้ึ กบั อวัยวะตันท่ขี ม 2.2.1 ไม (ตบั ) ขม ดนิ (มา ม) คอื ตับมหี นาที่ควบคมุ การไหลเวยี นของพลังชข่ี องมาม ใหอ ยู ในภาวะปกติ ไมใ หชี่ของมามตดิ ขัด 2.2.2 ดิน (มาม) ขม นาํ้ (ไต) คือ มา มขับความชื้นและน้าํ ไดป กติ จะมีผลใหไตขับนา้ํ ปกติ ไมเ กิดการคัง่ ของนาํ้ 2.2.3 นาํ้ (ไต) ขมไฟ (หัวใจ) คอื อินของไตไปควบคุมไฟของหัวใจไมใ หม ากเกินไป 2.2.4 ไฟ (หัวใจ) ขม ทอง (ปอด) คอื ไฟของหัวใจสามารถควบคุมไมใหชข่ี องปอดกระจาย มากเกินไป 2.2.5 ทอง (ปอด) ขมไม (ตบั ) คอื ชข่ี องปอดทก่ี ระจายและลงลา งจะขมชขี่ องตบั ไมใ หข ้นึ บนมากไป 3. การขม ผิดปกตกิ ับการเกดิ โรค เม่ือมองสรีระของรา งกายโดยองคร วม จะเห็นวา อาการของโรคท่เี กิดข้นึ นั้น เปน ผลรวมของ ความสัมพันธระหวางปญจธาตุ ซึ่งเกดิ ไดใ นกรณที ี่การสรางผดิ ปกติ หรือ ในกรณที ี่มีการขมเกนิ

Page 48 40 ศาสตรการแพทยแผนจนี เบื้องตน 3.1 อาการทเี่ กดิ จากการสรางท่ผี ดิ ปกติระหวางปญจธาตุ ที่เรียกวา แมลูกถายทอดอาการให กัน มี 2 แบบ ดงั นี้ แบบท่ี 1 แมป วยกระทบถึงลกู เมอ่ื อวัยวะของแมพ รอ ง อวยั วะของลกู กจ็ ะพรองตามทาํ ให เกิดภาวะพรองทั้งแมแ ละลกู ตัวอยางเชน เมื่อไตพรอ งมผี ลใหสารจงิ และเลือดของตบั ไมเพียงพอ หรือ เมือ่ อนิ ของไตไมเพียงพอไมสามารถไปหลอ เล้ยี งอินของตบั จนเกิดภาวะอนิ ของไตและตบั ท้งั คูพรอ ง เปน เหตุใหเกิดภาวะตับแกรงเกนิ น้ําไมสามารถหลอ เลีย้ งเกื้อกลู ตบั มีอาการอินของตบั และไตพรองเปน สําคญั อกี ตวั อยา งทแ่ี มป วยกระทบถงึ ลกู คอื ตบั เปน อวยั วะแมเกิดแกรง เปนไฟ กระทบถงึ หวั ใจ (ไฟ) อวัยวะลกู ทาํ ใหเ กดิ ภาวะไฟของตบั และหัวใจแกรง ทง้ั คู แบบที่ 2 ลกู ปว ยแมปวยตาม สวนใหญเม่ือลกู มอี าการพรอ งแมจะมีอาการพรองตาม เรยี กวา จอ่ื เตา หมชู ่ี (子盗母气) อวยั วะของลูกอาจจะแกรง หรอื พรอ งก็ได เชน อนิ ของไตพรอง ทําใหอนิ ของ ปอดพรองตาม เกิดอินของไตและปอดพรอ ง หรือ ไฟของตับแกรงจนทําใหอ ินของไตพรอ ง กลายเปน โรคอนิ ของไตพรอ ง ไฟของตับแกรง ซ่งึ เปน โรคท่ีมที ง้ั แกรง และพรองอยดู วยกนั โรคที่เกดิ จากแมกระทบ ถงึ ลกู จะมากกวา โรคทเ่ี กดิ จากลูกกระทบถึงแม 3.2 อาการท่ีเกดิ จากการขมท่ผี ดิ ปกตริ ะหวา งปญ จธาตุ มี 2 แบบ ดงั นี้ แบบที่ 1 แบบขมเกนิ เชน ไม (ตับ) แกรงเกนิ ขม ดิน (มา ม) ทาํ ใหมีอาการของชตี่ ดิ ขดั สง ผล ตอ การทาํ งานของมา ม เกิดอาการแนนล้ินป ทองอดื ปากขม เรอเปร้ยี ว อจุ จาระเหลว หรอื ตบั (ไม) ขม มา ม (ดนิ ) ทพี่ รอง มีอาการของมา มและกระเพาะอาหารออ นแอ ไมสามารถทนตอการขม ของตบั เกดิ อาการเวยี นศรี ษะ ไมมแี รง อาหารไมย อ ย เรอแนน อึดอัดชายโครง ทอ งเสยี ถายเหลว เปน ตน แบบท่ี 2 แบบขม กลบั เชน ปกตทิ อง (ปอด) จะขม ไม (ตบั ) แตถ าตบั แกรง มากจนขมสวน ทองปอดกลับ เรียกภาวะน้ีวา ไมแ กรง ขมทองกลบั พบมีอาการของไฟตบั หงดุ หงดิ ขโ้ี มโห หนา แดง ตา แดง แนน หนาอก ไอมาก เสมหะมีเลอื ด โรคท่ีเกิดจากการขม กลบั จะเบากวาโรคทเ่ี กดิ จากการขม เกิน หลกั การใชป ญจธาตใุ นการรักษาโรค 1. แกรงใหทอน พรอ งใหเสรมิ 2. ใหเ นน รกั ษาอวยั วะทถี่ กู กระทบกอน เชน ไมแ กรงขมดนิ เกินไป การรกั ษานัน้ ตองบาํ รุงเสรมิ มา มใหแ ข็งแรงกอน เม่ือมามแขง็ แรงทนการขม โรคก็จะหายโดยงา ย

Page 49 ทฤษฎีปญ จธาตุ 41 3. พรอ งใหบาํ รงุ แม แกรง ใหท อนลกู เชน อนิ ของไตและตับพรอ งทง้ั คู การรกั ษาไมเพยี งแตจ ะรกั ษา อินของตับเทานั้น ยงั ตองบํารงุ เสรมิ อนิ ของไตดวยเพราะเปน อวัยวะแมของไมต บั อกี ตวั อยา งคอื การใช จดุ อนิ กู ซึ่งเปน เหอ เชีย่ จุดน้าํ ของเสน เสาอนิ ไต ขา และจดุ ชวฺ ีเฉฺวยี นซ่งึ เปน จุดน้ําของเสนจเฺ หวียอินตบั ของขา ในการรกั ษาอินของไตและตบั พรอ งทงั้ คู 4. การรักษาโรคโดยใชอารมณของปญจธาตุ คัมภีรเนยจิงภาคซูเว่ิน อินหยางอ้ิงเซ่ียงตาลุน 《素问 。阴阳应象大论》กลาววา “คนมีอวัยวะตนั ทัง้ หา สรา งชหี่ า อยา งใหเ ปน โกรธ ดใี จ กงั วล (ครนุ คดิ ) เศรา และกลวั ” อารมณโ กรธจะมผี ลไมดีตอตบั อารมณดใี จจะมีผลไมด ีตอ หวั ใจ อารมณ ครนุ คิดกังวลจะมีผลไมดตี อ มาม อารมณเศรา จะมีผลไมดีตอปอด อารมณกลวั จะมีผลไมด ตี อ ไต อารมณ โกรธชนะครุน คิดกังวล อารมณด ชี นะความเศรา ความกลวั ชนะความดีใจ ความเศราชนะความโกรธ อารมณค รุน คิดกงั วลชนะความกลวั เปน ไปตามลกั ษณะความสมั พันธระหวา งปญ จธาตุในแงอารมณ แพทยผ ูมชี ่ือเสยี งในสมยั ราชวงศจ นิ เหวยี น ชอื่ จางจอื่ เหอ (张子和) ไดใ ชอ ารมณปญ จธาตุ ในการรักษาโรคทีเ่ กิดจากอารมณโ ดยวธิ ีการขมกลบั ดงั น้ี “ใชความเศรารกั ษาความโกรธ โดยพดู ใหเกิดความรูสึกเศรา ใชค วามดีใจรกั ษาความเศรา โดยพูดใหเ กิดความสนกุ ทะลึ่ง ใชค วามกลัวรกั ษาความดีใจ โดยพูดใหเกดิ ความกลัวความตาย ใชความโกรธรกั ษาความกงั วลครนุ คิด โดยพูดดูถกู ดหู มิ่น ดูแคลน ใชค วามกังวลครนุ คิดรักษาความกลัว โดยพดู ใหคดิ ” ขอพึงระวงั เกยี่ วกบั การใชป ญ จธาตุ หลกั ปญจธาตุเปน เพียงวิธีหนึ่งของการแพทยแ ผนจีน ยงั มีความรูในการวินิจฉัยรกั ษาทีด่ อี น่ื อกี เชน ความรเู กีย่ วกับเรือ่ ง จง้ั ฝูเปยนเจิ้ง ช่เี สวฺ ยี่ เปย นเจิง้ ลิว่ จงิ เปย นเจง้ิ ไมควรใชป ญ จธาตวุ ิธีเดียวใน การวนิ จิ ฉยั โรค เพราะบางครัง้ มีความไมเ หมาะสมอยา งยง่ิ ตวั อยางเชน ถา อินของไตพรอ ง การใชว ิธี เสริมอินเพอื่ รักษาอนิ ของไตจะไมนิยม เพราะยาอนิ ทใ่ี ชร ักษาอินของไตพรอ งนัน้ เปนยาออนเกนิ ไป หรอื การจะอาศัยหลกั ความสัมพันธแมล กู คือ บํารุงหยางของหวั ใจ เพ่อื ใหเกิดการเสริมมาม ใหเกดิ หยางชี่ ตาม ก็ไมใ ชว ธิ ที ีน่ ํามาใชรกั ษาในทางปฎิบัติ เพราะสามารถรกั ษาไดดกี วาโดยใชค วามรใู นเรือ่ ง ม่งิ เหมนิ (命门) มาอุนหยางของมาม ฉะนัน้ ในการรกั ษาจะตอ งเลือกวธิ ที ่เี หมาะสมเปนหลัก