Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เล่ม 2

ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เล่ม 2

Description: ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เล่ม 2.

Search

Read the Text Version

ขนาดสนามและอุปกรณ์กฬี า เล่ม 2 การแข่งขนั ประเภท Bouldering ความยาก (Lead) การแข่งขันประเภท Lead (Lead Competitions) หมายถึง การแข่งขันปีน หน้าผาจำลองโดยผูกเชือกผู้เข้าแข่งขันจากด้านล่าง ซึ่ง quick draw แต่ละเส้นถูกคลิ๊ ปตามลำดบั ตามกฎกติกาและความสูง (หรือในกรณที ่ีตอ้ งข้ามผา่ นหรอื สว่ นที่เป็นหลังคา ซึ่งเป็นระยะยาวที่สุดตามแกนเส้นทาง) การแข่งขันประเภท Lead ทั้งหมดต้องปีนนำ ตามเส้นทางโดยผูกเชือกผู้เข้าแข่งขันจากด้านล่าง การปีนจะถือว่าเสร็จสมบูรณ์ ถ้าการ ปีนนั้นเป็นไปตามกฎกติกาว่าด้วยการแข่งขนั ประเภท Lead และเชือกถูกคลิ๊ปเข้ากับคา ราบิเนอร์ในช่วงสุดทา้ ยของ quick draw จากจดุ ที่กำหนดตามกติกาการแข่งขนั การแข่งขนั ประเภท Lead (ความยาก) 95

ขนาดสนามและอุปกรณ์กฬี า เลม่ 2 ความเร็ว (Speed) การแข่งขันประเภท Speed (Speed Competitions) หมายถึง การแข่งขัน โดยผู้เข้าแข่งขันใช้เชือกที่อยู่ส่วนบนสุดของหน้าผาจำลองผูกไว้กับ Belay loop ท่ี Hamess เมื่อได้ยินสัญญาณจากกรรมการให้รีบปีนขึ้นไปอย่างเร็วเพื่อหยุดเวลาท่ีอยู่ บนสุดของเส้นทาง เวลาที่ผู้เข้าแข่งขันทำได้แต่ละรอบเป็นเครื่องตัดสินตำแหน่งของผู้ เข้าแขง่ ขันในหนึ่งรอบ การแข่งขนั ประเภท Speed (ความเรว็ ) 96

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เลม่ 2 กฬี าฟกิ เกอรส์ เก็ตและสปดี สเก็ตตง้ิ มาตรฐานสนามแข่งขันและอุปกรณ์กีฬา ชนาดสมชนนาพตาาืร้ดนมฐสทานนี่ลาสามนนานม้ำแแข่งขข็งันตแ้อลกงีฬะมอาุปีคฟกกิวรเากณมอก์ ยรีฬส์าาเวกไต็ มแ่ตล่ะำสกปวีด่าสเ5ก6็ตตเง้ิมตรแต่ไม่เกิน60เมตรและมี ความกว้างไม่ตพ่ำื้นกทวี่ล่าาน2น6้ำเแมขต็งรตแ้องตม่ไีคมว่เกามินยา3ว0ไมเ่ตม่ำตกรว่าเพ5ื่อ6รเอมงตรรับแตก่ไามร่เแกินข6่ง0ขเันมใตนรแแลบะบมี Short Prograคmวาม/กRวh้างyไtมh่ตm่ำกวD่าa2n6cเeม,ตFรแreตe่ไมS่เกkินat3in0gเม/Fตrรeเeพื่อDรaอnงรcับeกาแรลแะข่งPขันaใtนteแrบnบDSahnorcte และ ต้องจัดPใrหog้มrีพamื้นท/ ี่R“hryitnhkmboDaanrdce”, สFrำeหeรSับkaกtรinรgม/FกrาeeรผDู้ใaหn้คceะแแลนะนPแaลttะeตrnัดสDaินncอeยแู่ฝลั่งะตรงกัน ขค้วามบกคับมุ ขคตแพ้วา้อผมบงื้นจกงคทัเดับมุ ที่สใแพหคผำื้น้มนงหทเีพิคทรี่สื้นัคบำทนหผี่ิครู้เ“ับขriผ้าnู้เชkขbม้าoชกaมาrกdรา”แรขสแำข่งหข่งขรันันับกแแรลลระะมจจกัดัาดใรใหผห้มู้ใ้มหีพ้คีพื้นะทื้นแี่สทนูงนี่สเปแูง็นลเปทะตี่ต็นัดั้งทสสี่ตำินหั้งอรสับยำเู่ฝหจั่ง้ารตหับรนงเก้าจทัน้า่ี หน้าที่ 97

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เลม่ 2 อปุ กรณ์สำหรบั เลน่ กีฬา 1. รองเทา้ สเก็ต 2. ชดุ รดั รปู 3. ชุด theme 4. ซดี เี พลง (เพลงทจี่ ะใช้ประกอบท่าต่างๆ) 5. เครือ่ งเสยี ง 98

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เลม่ 2 กีฬายิงธนู มาตรฐานสนามแข่งขนั และอปุ กรณ์กีฬา การยงิ ธนูรอบยงิ เป้ากลางแจง้ (Outdoor Target Archery Rounds) (รายละเอียดเกย่ี วกบั การจัดการชงิ ชนะเลศิ ของฟีตา้ จะหาดไู ดใ้ นหนงั สือคมู่ ือผู้จัดแข่งขัน ของฟตี า้ ) 1. สนามยงิ ธนู (Range Layout) การจัดสนาม 1.1 สนามยิงธนูจะต้องทำการวัดอย่างแม่นยำให้ได้ฉากและวัดแต่ละระยะให้ ถูกต้อง โดยวัดจากจุดบนพื้นใต้เป้าที่ทำแนวดิ่งลงมาจากศูนย์กลางของ “GOLD” หรือ ใจกลางเป้าของแต่ละเป้าไปยังเส้นยิง อนุโลมให้สนามมีความยาวคลาดเคลื่อนได้ บวก/ ลบ 30 เซนติเมตรที่ระยะ 90, 70, 60 เมตร และ บวก/ลบ 15 เซนติเมตร ที่ระยะ 50, 40, 30 เมตร 1.2 เส้นพักรอจะต้องอยหู่ า่ งจากดา้ นหลงั เสน้ ยงิ ไมต่ า่ํ กว่า 5 เมตร 1.3 วัสดุรองรับหน้าเป้าแต่ละอันจะต้องให้ได้มุมประมาณ 10 - 15 องศากับ แนวด่งิ แต่ตอ้ งจดั วัสดรุ องรบั หน้าเป้าทงั้ หมดในแถวเดยี วกนั ให้ทำมุมเดยี วกนั 1.4 ความสูงของใจกลางเป้า “GOLD” ของวัสดุรองรับหน้าเป้าที่ตั้งเรียงเป็น แถวเดยี วกันในสนามยงิ ธนูจะต้องมองดูเป็นแนวตรงกันตลอดเวลา 1.5 นักกีฬายิงธนูทุกคนในประเภทหรือชนิดเดียวกันจะต้องแข่งในสนาม เดียวกันส่วนสนามของนักกีฬายิงธนูหญิงจะต้องมีช่องแยกจากส่วนของนักกีฬายิงธนู ชาย โดยให้ห่างกันอย่างน้อย 5 เมตร ในรอบโอลิมปิกช่องว่างตรงกลาง จะกว้าง ประมาณ 10 เมตร 1.6 ต้องจัดเตรียมวัสดุรองรับหน้าเป้าให้เพียงพอเท่าที่จะสามารถทำได้ เพื่อจัด ให้นักกีฬายิงธนูยิงไม่เกินเป้าละ 3 คน ถ้าสนามยิงธนูแคบไปก็ให้ยิงได้ไม่เกิน 4 คนต่อ เปา้ 1.7 จุดที่ตรงกับแตล่ ะเปา้ ใหท้ ำเครอ่ื งหมายทีเ่ สน้ ยงิ และให้ใส่เลขเป้าให้ตรงกัน จดั ใหม้ แี ผ่นเลขทตี่ รงกับเลขเปา้ ตั้งอยรู่ ะหวา่ ง 1 และ 2 เมตร ด้านหน้าเส้นยิง ถ้ามีผู้เข้า แข่งขัน 2 คน หรือมากกว่า ยิงพร้อมกันบนเป้าเดียวกัน ให้กำหนดจุดยิงบนเส้นยิงโดย 99

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เลม่ 2 จะต้องให้มีช่องยิงของนักกีฬายิงธนูแต่ละคนไม่น้อยกว่า 180 เซนติเมตร ในกรณีที่ นักกีฬายิงธนูพิการที่นั่งเก้าอี้รถเข็นเข้าแข่งขัน จะต้องพิจารณาขยายขนาดช่องยิงให้ กว้างขึ้น 1.8 ตีเส้นตั้งฉากกบั เสน้ ยงิ ไปยงั เส้นตงั้ เปา้ ทำเปน็ ชอ่ งยิง เพื่อตั้งเป้าเดียว 2 เป้า หรือ 2 เป้า ในแตล่ ะช่อง 1.9 กำหนดใหข้ ีดเส้น 3 เมตร ดา้ นหน้าของเส้นยิง 1.10 ในสถานที่ซึ่งผู้คนสามารถเข้าใกล้สนามได้ กำหนดให้ตั้งแนวป้องกันท่ี เหมาะสมไว้รอบสนามยงิ ธนเู พอ่ื กนั คนดไู วโ้ ดยใหแ้ นวอยหู่ ่างจากปลายท้ังสองของเส้นต้ัง เปา้ ระยะ 90 เมตร อย่างนอ้ ย 20 เมตร ถ้าจำเปน็ สามารถลดระยะหา่ งจากปลายท้ังสอง ของเส้นยิง 10 เมตร เป็นอย่างน้อย โดยลากเส้นตรงตามแนวป้องกันขอบสนามจากเสน้ ตั้งเป้าระยะ 90 เมตร มาเส้นยิงทำให้ได้ระยะห่าง 13 เมตร โดยประมาณที่เส้นตั้งเป้า ระยะ 30 เมตร แนวป้องกันหลงั เส้นพกั รอควรอยหู่ า่ งไม่นอ้ ยกวา่ 10 เมตร และห่างจาก ด้านหลังเป้าระยะ 90 เมตร ไม่น้อยกว่า 10 เมตร และห่างจากด้านหลังเป้าระยะ 90 เมตร ไม่น้อยกว่า 50 เมตร ซึ่งจะสร้างย่านความปลอดภัยเพิ่มขึ้นเป็น 110 เมตร เมื่อ แนวต้งั เป้าหมายอยู่ที่ระยะ 30 เมตร ในกรณีที่มีการตดิ ต้ังสิ่งปอ้ งกนั หลังเป้าท่ีเหมาะสม เชน่ ตาขา่ ยกันลูกธนู เนินดินหรือสิ่งก่อสรา้ งท่ีคลา้ ยกนั (ไม่ใชร่ ว้ั พุ่มไม้หรือกำแพงที่ลกู ธนู ทะลุได้) และสงู พอท่ีจะกันลกู ธนทู ี่ยิงพลาดยอดเปา้ ระยะ 90 เมตร จึงจะลดแนวป้องกนั ลงจากระยะ 50 เมตร ได้ โดยคำนึงถึงการเคลื่อนไหวของผู้คนและสิ่งอื่นๆ หลังเป้าที่ เปน็ การเบยี่ งเบนความสนใจของนักกฬี ายิงธนู 1.11 ในการยงิ รอบโอลิมปิก (Olympic Round) นกั กีฬายิงธนชู ายและนักกีฬา ยิงธนูหญิงจะยิงเป้าชุดเดียวกัน แต่คนละเวลาในแต่ละวัน ในรอบคัดออกกำหนดให้ จัดเป็นคู่ๆ ชิดกันในรอบชิงชนะเลิศอาจมีเพียงเป้า 2 คู่ ตั้งอยู่แต่ละคู่อยู่คนละข้างของ ชอ่ งแบ่งกลางสนาม 1.12 ในการยิงรอบโอลิมปิก (Olympic Round) กำหนดให้จัดสนามซ้อมไว้คู่ กบั สนามแข่งขันเพอื่ เปดิ โอกาสใหน้ ักกีฬายิงธนูท่ยี ังอยใู่ นช่วงคัดออกและช่วงชงิ ชนะเลิศ ได้ทำการฝึกซ้อม 100

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เล่ม 2 1.13 ในการยิงรอบโอลิมปิกประเภททีมกำหนดให้มีเส้นที่เห็นได้ชัดเจนที่ระยะ 1 เมตร หลงั เส้นยิง เส้นนี้ต้องกวา้ งไม่นอ้ ยกวา่ 3 เซนติเมตร 1.14 ในการยิงรอบโอลิมปิกประเภททีมจะมีพื้นที่ที่ทำเครื่องหมายว่า “พื้นที่ ของนักกีฬา” โดยจัดให้อยู่หลัง “เส้น 1 เมตร” โดยมีพื้นที่เพียงพอสำหรับนักกีฬา 3 คน พร้อมอุปกรณ์และมีบริเวณผู้ฝึกสอนอยู่หลังบริเวณนักกีฬายิงธนู ถ้ามีพอใหจ้ ัดพื้นที่ เลก็ ๆ สำหรับกรรมการผู้ตัดสนิ ระหว่าง 2 ทีม 2. อุปกรณ์สนาม (Venue Equipment) 2.1 หน้าเปา้ (Target Faces) หน้าเปา้ ระบบยิงเปา้ กลางแจง้ ของฟตี ้า มีอยู่ 3 ขนาด คอื - หน้าเป้าขนาด 122 เซนติเมตร ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 122 เซนติเมตร - หนา้ เปา้ ขนาด 80 เซนติเมตร ขนาดเส้นผ่าศูนยก์ ลาง 80 เซนติเมตร - หน้าเป้าขนาด 80 เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง (ตามระบบหลายรูป ทีม่ ีวงคา่ ตงั้ แต่ 6 - 10) 101

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เลม่ 2 กำหนดให้ใช้หน้าเป้าระบบยิงเป้ากลางแจ้งของฟีต้าที่ผู้ผลิตได้รับ ใบอนุญาต จากฟีต้าเท่านั้นในการแข่งขันของฟีต้า หน้าเป้าขนาด 122 เซนติเมตร และ 80 เซนติเมตร แบ่งออกเป็นวงค่า 5 สี นับจากวงในตรงกลางออกมาถึงวงนอก ได้แก่ สี : ทอง (เหลือง), สีแดง, สีฟ้าอ่อน, สีดำ และสีขาว(ไม่มีเส้นแบง่ ระหวา่ งสีฟา้ อ่อน และสีดำ เช่นเดียวกับสีดำ และสีขาว) แต่ละสีมีเส้นบางๆ แบ่งออกเป็น 2 วงค่า มีความกว้าง เทา่ กันทำใหเ้ กดิ เปน็ วงคา่ ทใี่ ช้นับคะแนนได้ 10 วงคา่ ซึ่งมคี วามกว้างเทา่ กนั หมดเมื่อนับ จากจดุ ศนู ยก์ ลางของทอง “โกลด์” Gold (เหลือง) - 6.1 เซนตเิ มตร ในหน้าเป้าขนาด 122 เซนตเิ มตร - 4 เซนติเมตร ในหนา้ เปา้ ขนาด 80 เซนตเิ มตร เส้นแบ่งได้จัดทำขึ้นให้อยู่ภายในวงค่าแต้มสูงในแต่ละกรณีเส้นที่แสดงวงนอก สุดของวงสีขาว ได้จัดทำขึ้นให้อยู่ภายในวงค่าที่นับแต้มได้ ความกว้างของเส้นระหว่างสี และเส้นวงนอกสุด จะต้องกว้างไม่เกิน 2 มิลลิเมตร บนหน้าเป้าขนาด 122 เซนติเมตร และ 80 เซนติเมตร ตรงจุดศูนย์กลางหน้าเป้าที่เรียกว่า “รูเข็ม” (pinhole) ต้องมี เครื่องหมายกากบาทเล็กๆ “X” (cross) ขนาดของเส้นจะต้องกว้างไม่เกิน 1 มิลลิเมตร 102

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เล่ม 2 และยาวไม่เกิน 4 มิลลิเมตร กำหนดใหม้ ีวงในของวงค่า 10 (ทำเครื่องหมาย “X” บนใบ จดแต้ม) โดยมีเสน้ ผ่าศูนย์กลาง 4 เซนติเมตร สำหรับหนา้ เป้าขนาด 80 เซนติเมตร เพ่ือ ใช้พจิ ารณาในการจดั ตำแหน่งของนักกีฬายงิ ธนูทม่ี ีแตม้ เทา่ กัน นอกจากนี้ยังมีระบบหน้าเป้า 80 เซนติเมตร ศูนย์กลางจัดเป็นหลายรูป (2, 3 หรือ 4) ซึ่งอาจจะใช้ในระยะ 30 เมตร (ให้จัดหน้าเป้าเป็นรูปสามเหลี่ยมในการชงิ แชมป์ โลกของฟีต้า) หน้าเป้าเหล่านี้จะมีขนาดเท่าหน้าเป้า 80 เซนติเมตร ของฟีต้าโดยที่ไม่มี วงค่า 1 – 5 คงเหลอื ไวแ้ ตว่ งค่าตาํ่ สดุ คือ 6 แต้ม สีฟ้าออ่ น 2.1.2 จำนวนคะแนนและข้อกำหนดของสี จาํ นวนคะแนน สี Pantone Scale เหลอื ง 10 เหลอื ง 107U 9 แดง 107U 8 แดง 032U 7 ฟาออน 032U 6 ฟาออน 306U 5 ดาํ 306U 4 ดํา Process Black 3 ขาว Process Black 2 ขาว 1 103

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เลม่ 2 ค่าความคลาดเคลื่อน วงคา เสนผาศูนยกลางของหนาเปา ความคลาดเคลือ่ น 122 80 +/- เซนตเิ มตร วงใน10 6.1 4 1 10 12.2 8 1 9 24.4 16 1 8 36.6 24 1 7 48.8 32 2 6 61 40 2 5 73.2 48 2 4 85.4 56 2 3 97.6 64 2 2 109.8 72 2 1 122 80 2 หมายเหตุ : หน้าเปา้ ทพ่ี ิมพข์ น้ึ ก่อน 1 มกราคม 2007 สามารถนำมาใช้ได้ 2.2 ขนาดของหนา้ เปา้ ในแตล่ ะระยะ สำหรับระยะ 90, 70, 60 และ 50 เมตร ของเยาวชนหญิง ให้ใช้หน้า เป้าขนาด 122 เซนติเมตร สำหรับระยะ 50 และ 40 เมตรของเยาวชนหญิง และ 30 เมตร ให้ใช้เปา้ ขนาด 80 เซนตเิ มตร (เว้นแตใ่ นรอบการยิงธนูมาตรฐาน) 2.2.1 ความสงู ของใจกลางเป้า “GOLD” จะสูง 130 เซนติเมตร เหนอื พื้นดินโดยวัดจากจุดบนพื้นดินที่ประมาณว่ามีความสม่ำเสมออนุโลมให้มีความยาว คลาดเคลื่อนไดไ้ มเ่ กิน บวก/ลบ 5 เซนตเิ มตร 2.2.2 เม่ือจัดหนา้ เป้าหลายรูปเปน็ สามเหลย่ี มหรือสีเ่ หลยี่ มในระยะ 30 เมตร ให้ศูนย์กลางเป้าบนอยู่ไม่เกิน 162 เซนติเมตร เหนือพื้นดินส่วนศูนย์กลางเป้าล่าง อยู่สงู ไม่ต่าํ กวา่ 100 เซนตเิ มตร จากพนื้ ดินโดยความหา่ งของระยะหา่ งระหว่างวงค่าของ หนา้ เป้าทมี่ ีความสงู เทา่ กนั คอื 10 เซนตเิ มตร เป็นอย่างนอ้ ย 104

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เลม่ 2 2.2.3 วสั ดุใชท้ ำหน้าเปา้ หน้าเป้าอาจจะทำด้วยกระดาษ ผ้าหรือวัสดุอื่นที่เหมาะสม หน้าเป้า ทั้งหมดทใ่ี ชใ้ นประเภทการแขง่ ขันเดียวกนั จะต้องใช้สี และวสั ดทุ ่มี มี าตรฐานเดยี วกัน 2.3 วสั ดรุ องรับหน้าเปา้ Butts (Buttresses) ขนาดด้านหน้าของวัสดุรับหน้าเป้า ไม่ว่าจะเป็นรูปกลมหรือรูปเหลี่ยม จะต้องมีขนาดกว้างไม่น้อยกว่า 124 เซนติเมตร รอบด้านเพื่อให้แน่ใจว่าลูกธนูที่เฉียด เส้นรอบนอกของหน้าเป้าจะยงั ติดอยู่ทว่ี ัสดุรองรับเปา้ 2.3.1 ยึดวัสดุรองรับหน้าเป้าด้วยการตรึงไว้กับพื้นดินเพื่อป้องกันลม พัดคว่าํ ส่วนใดของวัสดุรองรบั หนา้ เป้าทอ่ี าจจะทำให้ลกู ธนเู สียหายไดจ้ ะต้องคลุมปอ้ งกัน ไว้ เมื่อมีการติดตั้งหน้าเป้าเกินกว่าหนึ่งแผ่นขึ้นไปบนเป้าเดียวกันให้ใช้ความระมัดระวัง ไม่ให้ลูกธนูทีท่ ะลุด้านหลังวัสดรุ องรับหนา้ เป้าออกไปจะไดร้ บั ความเสยี หายจากขาต้งั เป้า ดภู าพวสั ดรุ องรับหน้าเป้า 2.3.2 กำหนดให้ติดแผ่นเลขเป้าที่วัสดุรองรับหน้าเป้าแต่ละอันโดยมี ตัวเลขขนาด 30 เซนติเมตร โดยใช้ตัวเลขสีดำบนพื้นเหลือง และสลับกันในเป้าถัดไป ด้วยตัวเลขเหลอื งบนพน้ื ดำ (เช่น เป้า 1 เลขดำบนพ้ืนเหลอื ง เปา้ 2 เลขเหลืองบนพน้ื ดำ ฯลฯ) เลขเป้าใหค้ ดิ ชว่ งบนหรอื ได้เป้าในแนวศนู ยก์ ลางเป้าเพอ่ื ใหพ้ น้ จากหน้าเปา้ 2.4 อปุ กรณค์ วบคมุ จบั เวลา (Time Control Equipment) สัญญาณเสียงและสัญญาณที่มองเห็น (Acoustic and Visual) 2.4.1 ในกรณีที่มีข้อขัดแย้งเล็กน้อยระหว่างสัญญาณเสียง และ อุปกรณ์สญั ญาณทมี่ องเห็นได้ ใหถ้ ือเอาสัญญาณควบคุมดว้ ยเสียงเป็นหลัก 2.4.2 อุปกรณส์ ญั ญาณท่ีสามารถนำมาใชไ้ ด้ มีดงั นี้ 105

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เล่ม 2 ไฟสัญญาณ - ไฟสญั ญาณต้องเปน็ สแี ดง สเี หลือง และสีเขียวตามลำดบั โดยท่ีไฟดวง สีแดงจะอยู่บนสุด สัญญาณไฟจะต้องทำงานสัมพันธ์กันหมด โดยที่จะไม่มีไฟสองสีขึ้น พร้อมกัน ไม่ว่าในกรณีใดๆ ในการแข่งขันชิงแชมป์ของฟีต้า กำหนดให้ไฟสัญญาณเสียง เริ่มดังขึ้น ก็จะมีการประสานให้ไฟแดงเปิดทันทีในเวลาเดียวกัน นาฬิกาตัวเลขก็จะข้ึน เลข 0 พอดี - นาฬิกาจับเวลาด้วยตวั เลข - กำหนดให้วางอุปกรณ์สัญญาณที่มองเห็นได้ไว้สองข้างสนามแข่งขัน และหากเป็นไปได้ให้วางไว้ในช่องว่างระหว่างเป้านักกีฬายิงธนูหญิง และเป้านักกีฬายิง ธนูชาย เพื่อให้นักกีฬายิงธนูที่ถนัดขวา และที่ถนัดซ้ายสามารถมองเห็นได้ให้วางไว้สอง ขา้ งสนามแขง่ ขนั และในชอ่ งว่างที่ระยะต่ํากวา่ 30 เมตร โดยท้งั น้ีจะต้องให้นักกีฬายิงธนู ท้ังหมดบนเส้นยงิ มองเหน็ ได้ อุปกรณส์ ัญญาณในการจบั คแู่ ขง่ ขัน อุปกรณ์ฉุกเฉนิ - เมื่อใช้ควบคุมการจับเวลายิงด้วยมือ โดยใช้แผ่นป้ายสัญญาณแผ่น ป้ายเหล่านี้มีขนาดไม่ตํ่ากว่า 120 x 80 เซนติเมตร การติดตั้งต้องให้แข็งแรงเพื่อต้าน แรงลมและหมุนสลับด้านใดก็ได้โดยสะดวก ด้านหนึ่งของแผ่นสัญญาณจะเป็นลายสีดำ และลายสีเหลืองสลับกัน โดยที่แต่ละลายมีขนาดกว้าง 20 - 25 เซนติเมตร และทำมุม 45 องศากบั พน้ื ดินอกี ดา้ นหน่ึงจะเป็นสีเหลืองสีเดียว 3. อุปกรณ์ของนักกีฬายงิ ธนู (Athletes’ Equipment) กฎขอ้ นีแ้ สดงใหเ้ ห็นถงึ อปุ กรณ์ ซ่ึงนักกฬี ายงิ ธนสู ามารถนำมาใชใ้ นการยิงระบบ ฟีต้า เป็นความรับผิดชอบของนักกีฬายิงธนูจะต้องใช้อุปกรณ์ยิงธนูที่เป็นไปตามกฎของ ฟีต้า ถ้ามีข้อสงสัยนักกีฬายิงธนูผู้นั้นจะต้องนำอุปกรณ์นั้นไปแสดงต่อกรรมการผู้ตัดสิน ก่อนใช้ในการแข่งขันนักกีฬายิงธนูคนใดที่ใช้อุปกรณ์ ซึ่งไม่เป็นไปตามกฎของฟีต้า อาจ ตอ้ งถกู ตัดแต้มออกจากการแข่งขนั ที่กล่าวมาคือ กติกาท่ัวไปทีส่ ามารถนำมาใช้กบั การแข่งขันทุกประเภท ตามด้วย กฎพเิ ศษท่ใี ช้ได้กับการแขง่ ขนั บางประเภท 106

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เลม่ 2 3.1 ในการแข่งขันประเภทคันโค้งกลับ (Recurve Division) สามารถใช้อุปกรณ์ ดังน้ี 3.1.1 คนั ธนชู นดิ ใดก็ตามท่ีนำมาใช้จะตอ้ งเปน็ ไปตามหลกั ที่ยอมรับกัน แล้วคำวา่ คันธนทู ใี่ ช้ในการยิงธนูระบบยิงเป้า ตวั อยา่ งเชน่ อปุ กรณป์ ระกอบดว้ ย มือจับ (Grip) คันธนู (ห้ามใช้คันที่เจาะช่องหน้าต่างกลางคนั ) และปีกธนูที่ขยับตัวได้สองอัน ซ่ึง ปลายของแต่ละข้างไปสุดที่ร่องคล้องสายธนู คันธนูที่ขึ้นสาย (Braced) เพื่อใช้งานด้วย สายธนูหนึ่งเส้นซึ่งยึดโดยระหว่างร่องคล้องสายธนูทั้งสองเท่านั้น ขณะใช้งานจะต้องเอา มือหน่งึ จบั ท่มี อื จบั (Grip) ขณะเดียวกันใช้นวิ้ ของอกี มอื หนึง่ เหนยี่ วสายและปล่อยสาย 3.1.1.1 คันธนูมีหลากสีและด้านในของปีกธนูด้านบนจะมี เครื่องหมายการคา้ ตดิ อยู่ก็ได้ 3.1.1.2 ส่วนของคันธนู (Risers) สามารถมีโครงยึดคัน (Brace) ได้ แตจ่ ะต้องไมแ่ ตะมอื หรือข้อมือผยู้ ิงอยา่ งสมาํ่ เสมอ - แผ่น หรือแถบกาวหนึ่งอันที่มีเครื่องหมายระยะสามารถ นำมาตดิ คนั ธนเู พอื่ เปน็ ทีส่ ำหรบั ทำเครือ่ งหมาย แต่จะตอ้ งไม่ช่วยในด้านอ่ืน - จุดศูนย์เล็งสามารถใช้สายใยแก้วได้ ความยาวทั้งสิ้นของ ศูนย์เล็งสายใยแก้วอาจจะยาวกว่า 2 เซนติเมตรได้ ทั้งนี้ปลายเส้นใยแก้วจะต้องยึดอยู่ นอกแนวสายตาของนักกฬี ายิงธนูในขณะที่นา้ วสายเตม็ ที่ ขณะที่ส่วนที่อยู่ในแนวสายตา 107

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เลม่ 2 ของนักกีฬายิงธนูที่เป็นเส้นตรงจะต้องยาวไม่เกิน 2 เซนติเมตร ก่อนจะโค้งออกไป โดย จะเหน็ เพียงจดุ เรอื งแสงจุดเดียวในขณะทน่ี า้ วสายเต็มท่ี 3.1.6 ก้านถ่วงสมดุล (Stabilizers) และตุ้มรับแรงสั่น (TFC) สามารถ ใชไ้ ด้ ของนักกีฬายิงธนูที่เป็นเส้นตรงจะต้องยาวไม่เกิน 2 เซนติเมตร ก่อนจะโค้งออกไป โดย จะเห็นเพยี งจดุ เรืองแส3งจ.1ุด.เ6ด.ยี 1วใแนตขต่ณอ้ะทงไน่ี มา้ ่ว:สายเต็มที่ 3.1.6 ก้านถ่วงส-มนดำุลม(าSใtชabเ้ ปiliน็ zeทr่ีจs)ัดแแลนะวตขุ้มอรับงสแรางยสธั่นน(ู TFC) สามารถ ใช้ได้ 3.1.7 จะใช้ล3.ูก1ธ.6น.1--ูชแนกแ--ตตดีิดแนต่ ตะขำใ้อดมะกวงกากาบัไใบัมง็ไชสผดส่ เ้:่วป่วอู้้ นนทน็ นื่ ออทั้งใืน่ื่นนจ่ีนนัดนี้ขจอแอณกนะกเวะตหเขท้อหนองอี่นอืงอสยจือยาาูบ่จกยู่ภนาธคากนเนั สยคูธ้นในันตยูธ้องินงูค์ประกอบของ คำว่าลูกธนูที่ใช้ในการยิงเป้า ซึ่งเป็นท- ี่ยกีดอขมวราับงผทอู้ ั่วนื่ กในันขณและทะ่อีจยะู่บตน้อเสงไ้นมย่ทงิ ำความเสียหายแก่ หนา้ เปา้ และวสั ดุรองร3บั .ห1.น7า้ จเะปใา้ชจ้ลูกนธเนกูชนิ นเหิดใตดุ ก็ได้ ทั้งนี้ จะต้องอยู่ภายใต้องค์ประกอบของ คำว่าลูกธนูที่ใช้ในการย3ิง.1เป.7้า.ซ1ึ่งเลปูก็นธทนี่ยูอปมรรับะทกั่วอกบันดแ้วลยะจกะ้าตน้อลงไูกมธ่ทนำคู หวาัวมลเสูกียธหนาูยแแลกะ่ หาง ธล9น.ูก4ูจธมนะติลูซธลหล้อึ่งนูกนิเสงูจธม้าไานะเมตปมตูซ่เร้า้อาึ่กงแสรงนินลไถามะักมขว9่เกากสัีด.รีฬ3ินดเถสาุรขม9อย้นีด.ิลง3ิงเสรสลธับมี ้นนิเ(หิลมEสูแลนrตี3ติเe(้าม.รEเ1่ลsปrต.teะล7า้รisnคจ.ูกt1ลนgiนธnูก)ลเนตgกธูกไ)นิู้นอวธ(ไเูงP้วในห(เชP้ใoูขตชปo้ไiุีย้ไnดiรnดนะt้ถt้ถsกชs้า้า))อื่อตตออบห้อ้อาาดงรจงจ้วกืกอมยมาีขชารีขกนรขื่อน้าขานยนดานา่อเลดดสาลูกเเด้นสงสธผเ้นบน้นส่าผนูผศ้นห่ากูน่าศผัว้ศายูนล่าน์กูนูยกศลล์กธยูนานูกล์กงยาูธไลแ์กงดนาขลล้ไูขงอมะาไองห่เงดกลงาขินู้กไงตอมนง่เกทลินูกุก ลูกที่นำ9ม.4าใมชิลย้ ลงิิเมในตรแตน่ลักกะีฬชาุดยแิงลธนะูแตต้อ่ลงะมครี นปู ตแ้อบงเบขียแนลชะื่อเหหรมือือชนื่อยก่อนั ลทงบั้งหนมก้าดนไลมูก่วธา่ นหูขาองงลตูกนธทนุกู ท้าย ลกู ธนู แลูกลทะีน่เสำน้มาสใขีช้ยองิงใลนูกแธตน่ละู ถชุดา้ แมลี ะต้องมีรูปแบบและเหมือนกันทั้งหมดไม่ว่าหางลูกธนู ท้าย ลกู ธนู และเสน้ สีของลกู ธนู ถา้ มี 108

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เล่ม 2 3.1.8 อุปกรณ์ป้องกันนิ้วมือ ซึ่งมาในรูปของหลอดสวมนิ้ว ถุงมือแผ่น กันนิ้วหรือแถบปิดนิ้วเพื่อช่วยในการน้าวยึดเหนี่ยว และปล่องสายธนู โดยไม่มีเครื่องยึด นา้ วและปล่อยสายธนู 3.1.8.1 ตัวแยกนิ้ว ซึ่งช่วยไม่ให้หนีลูกธนูสามารถนำมาใช้ได้ แผ่นกำหนดจุดน้าวหรืออุปกรณ์ในทำนองนี้ซึ่งติดกับแผ่นกันนิ้ว (tab) เพื่อกำหนดจุด น้าวสามารถใช้ถุงมือธรรมดา ถุงกันหนาว และอุปกรณ์ในทำนองนี้สามารถนำมาใช้กับ มือข้างทจ่ี บั คันธนูได้แตต่ อ้ งไมย่ ึดติดกับมอื จบั 3.1.9 อุปกรณก์ ารยิงธนสู ามารถนำมาใช้ได้ 3.1.9.1 รวมถึงที่กันสายธนูตีแขน (Bracer) ที่ป้องกันสายตี หน้าอกสายรัดคันธนู เข็มขัดซองใส่ลูกธนูหรือซองใส่ลูกธนูปักบนพื้น พู่หมุดกำหนด ตำแหน่งยืนจะต้องไม่สูงเกิน 1 เซนติเมตร เหนือพื้นดินใช้ที่ป้องกันปีกธนูได้ ขาตั้งกล้อง ส่องทางไกล (สามารถวางไว้บนเส้นยิงได้โดยไม่กีขวางนักกีฬายิงธนูคนอื่น) ที่แสดง ทิศทางลมโดย (ไม่ใช้ไฟฟ้าหรอื อิเล็กทรอนิกส์) ใช้ติดกับอุปกรณ์ที่ใช้ในเส้นยิง (เช่น เส้น รบิ บิ้นเบาๆ) ท่ีแสดงทศิ ทางลมดว้ ยไฟฟ้าใหอ้ ย่หู ลงั เสน้ ยิง 3.2 อุปกรณ์คันธนูมาตรฐานของฟีต้า (FITA Standard Bow Equipment) ดงั นี้ กำหนดใหใ้ ช้ข้อ 3.1 ท้ังหมด โดยมขี อ้ เพม่ิ เติมและหรอื แก้ไข ดงั นี้ 3.2.1 คันธนูต้องเป็นแบบง่ายๆ ถอดแยกส่วนได้ (ทำด้วยไม้หรือโลหะ ห้ามใช้คนั ทเ่ี จาะชอ่ งหน้าตา่ งกลางคนั ) หรอื สร้างเปน็ ช้ินเดยี ว ท้ังน้ีตอ้ งมีปีกธนูที่ทำดว้ ย ไมแ้ ละแผน่ ใยแก้ว 109

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เล่ม 2 กฬี ายมิ นาสตกิ มาตรฐานสนามแข่งขันและอุปกรณ์กีฬา ยมิ นาสตกิ ลีลา ประกอบด้วยอุปกรณ์ 5 ชนิด คือ เชือก ห่วง บอล คฑา และริบบิ้น (โดยจะ แข่งขันทัง้ หมด 4 อุปกรณ์ตามทสี่ หพันธ์ยิมนาสตกิ นานาชาติกำหนดในรอบ 4 ปขี องการ แข่งขันกีฬาโอลิมปิก) แสดงประกอบดนตรี ความยาวของเสียงดนตรีสำหรับประเภท บุคคลมีความยาวระหว่าง 1.15 - 1.30 นาที และความยาวของเสียงดนตรีสำหรับ ประเภทกรุป๊ มคี วามยาวระหว่าง 2.15 - 2.30 นาที การแข่งขันยิมนาสติกลีลา ทางสหพันธ์ยิมนาสติกนานาชาติกำหนดให้แบ่งการ แข่งขนั ออกเป็น 2 ประเภทการแข่งขัน คือ ประเภทบคุ คล และประเภทกรุ๊ป 1. การแข่งขนั ประเภทบุคคล แบ่งการแข่งขนั ได้ 3 ประเภท คอื - การแข่งขันประเภททีม (เป็นการคัดเลือกนักกีฬาเพื่อเข้าร่วมการ แข่งขนั ในประเภทบคุ คลรวมอุปกรณ์และเฉพาะอปุ กรณ)์ - การแขง่ ขันประเภทบคุ คลรวมอุปกรณ์ - การแข่งขนั ประเภทบุคคลเฉพาะอปุ กรณ์ 2. สนามแข่งขันประเภทกรุ๊ป แบ่งเป็น 2 ท่าชุด โดยท่าชุดที่ 1 นักกีฬาแสดง ด้วยอปุ กรณช์ นิดเดียว ส่วนอกี 1 ทา่ ชุด นักกีฬาแสดงด้วยอุปกรณ์ 2 ชนิด 3. สนามแข่งขัน ความสูงของสนามแข่งขันอย่างตํ่า 8 เมตร พร้อมที่ใช้ในการ แข่งขันขนาด 13 x 13 เมตร โดยมีเส้นกำกับและมีส่วนที่ออกนอกเส้น (แต่ยังเป็นพื้น พรม) กวา้ ง 50 เซนติเมตร พ้นื พรมแขง่ ขันจะต้องมีระยะห่างจากผู้ชมอย่างนอ้ ย 4 เมตร 4. การใหค้ ะแนน แบ่งการให้คะแนนออกเป็น 3 กลุม่ รวม 30 คะแนน คอื - คา่ ทา่ ทางเทคนคิ (Technical Values) 10 คะแนน - ค่าคะแนนทางศิลปการประกอบทา่ (Artistic Values) 10 คะแนน - ความสมบรู ณข์ องค่าทา่ (Execution) 10 คะแนน 5. นักกีฬาจะต้องส่งแบบฟอร์มท่าแข่งขันให้กับคณะกรรมการจัดการแข่งขัน โดยเขียนสัญลักษณ์ท่าที่แสดง รวมทั้งค่าคะแนนของ TV และ AV ให้เรียบร้อยและ ถกู ตอ้ งตามลำดับการแสดง มฉิ ะนั้นจะถูกตัดคะแนน 0.05 คะแนน 110

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เลม่ 2 6. นักกีฬาจะต้องนำอุปกรณ์ที่จะใช้ในการแข่งขันมาตรวจเช็คตาม วัน เวลา และสถานทท่ี ่ีกำหนด 7. ลกั ษณะเฉพาะของอปุ กรณ์ เชือก วสั ดุ : ทำจากปอหรอื วัสดทุ ีค่ ล้ายคลงึ ความยาว : ตามความสูงของนักกฬี า สี : ไม่จำกัด หว่ ง วสั ดุ : ทำจากไมห้ รอื พลาสตกิ น้ําหนกั : อยา่ งนอ้ ย 300 กรมั สี : ไม่จำกัด (สามารถใชเ้ ทปพนั เพ่ือตกแตง่ ได้) บอล วัสดุ : ทำจากยางหรือพลาสตกิ น่มุ นํา้ หนกั : อยา่ งนอ้ ย 400 กรัม ขนาด : 180 - 200 มิลลิเมตร สี : ไม่จำกดั 111

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เลม่ 2 คฑา วสั ดุ : ทำจากไม้หรอื พลาสตกิ ความยาว : 200 - 400 มิลลเิ มตร น้าํ หนัก : อย่างน้อย 150 กรมั สี : ไมจ่ ำกัด (สามารถใชเ้ ทปพันเพ่อื ตกแต่งได้) คฑา วัสดุ : ทำจากไม้หรือพลาสติก ความยาว : 200 - 400 มิลลเิ มตร น้ําหนัก : อยา่ งนอ้ ย 150 กรัม ริบบิ้นสี : ไม่จำกัด (สามารถใช้เทปพนั เพ่ือตกแต่งได)้ วัสดุ : ทำจากผ้าซาตนิ หรอื วสั ดทุ ีค่ ล้ายคลงึ ความยาว : 7 เมตร (ข้างปลายของริบบ้นิ ที่ติดกบั ริบบิ้น ไม้พบั 2 ทบ ยาว 1 เมตร) กนวาํ้ หา้ งนควัก:สัว4ดา:ม0ุ :อยท-ายำว่า6จง:0านก7ไมผมอ้ เ้พ้ามลิยซับตลาร3ต2ิเม(นิ5ขทหต้าบกรงรปอืรยวลมัาัสาวยด(1ขุทไมอ่ีคเมง่รลรต้าวิบรยมบ)คไ้นิลมทึง้)ตี่ ดิ กบั สี : ไมน่จา้ํ ำหกนัดก : อยา่ งนอ้ ย 35 กรมั (ไมร่ วมไม)้ กวา้ ง : 40 - 60 มิลลเิ มตร สี : ไมจ่ ำกดั ไม้ริบบ้นิ วัสดุ :ไมท้รำิบจบาิ้นกไม้ ไม้ไผ่ พลาสตกิ หรอื ไฟเบอร์ เซนติเมเตซรครนูวปตาเิรมม่ตารควยรงูสัวปาดารว:มุ่า:ยกง:ทาล5ำว:จ0มก:า0ลก5ตไ0มม-0ร้ต6ไ-งมร0ด6ง้ไ00ผด้า0่ ้าพมมมมลิลจลิจาลลสัับบิเติเสมสมิกาตาตมรหมรารรอืาถไรฟพถเันบพอดรัน้ว์ ยดเท้วปยเเพทื่อปกเันพลืื่่นอไกดัน้ไมล่เกื่นินได10้ไม่เกิน 10 สี : ไมส่จี :ำไกมัด่จำกดั 112

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เลม่ 2 ยมิ นาสตกิ สากลชาย การแข่งขันยิมนาสติกสากลชาย มีการแข่งขัน 6 อุปกรณ์ คือ ฟลอร์เอ็กเซอร์ ไซส์ ม้าหู ห่วงนิ่ง ม้ากระโดด ราวคู่ และราวเดี่ยว ซึ่งแต่ละอุปกรณ์มีลักษณะการเล่นท่ี แตกต่างกัน ดงั นี้ ฟลอร์เอ็กเซอร์ไซส์ มีลักษณะเด่นอยู่ที่การแสดงท่าผาดโผน รวมกับท่า ยิมนาสตกิ อนื่ ๆ เช่น ทา่ แขง็ แรงและการทรงตัว ทา่ แสดงความอ่อนตัว ท่าหกสูง การรา่ ย รำ ผสมกลมกลืนกับจังหวะ การเคลื่อนไหวซึ่งใช้เวลาในการแสดงสูงสุด 70 วินาที บน พื้นท่ีทุกสว่ นของฟลอร์ ฟลอร์เอ็กเซอรไ์ ซส์ ม้าหู มีลักษณะการเล่นด้วยการแกว่งตัวแบบลูกตุ้มที่มีการหมุนแบบขาชิดและ ขาแยก มีความแตกต่างกันในตำแหน่งของการคาํ้ ยนั บนส่วนต่างๆ ของมา้ ด้วยการเหว่ียง ตวั โดยไม่เสียจงั หวะ และไมอ่ นุญาตให้แสดงด้วยท่าแขง็ แรงและหยุดนิ่ง ม้าหู 113

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เล่ม 2 ห่วงนง่ิ มลี ักษณะการแสดงท่ีประกอบดว้ ย การไกวตัว ท่าแขง็ แรงและท่าติดน่ิง จากตำแหน่งการห้อยตัวไปสู่การคํ้ายันหรือขึ้นสู่หกสูง ท่าชุดปัจจุบันมีลักษณะเปลี่ยน กลับไปกลบั มาระหว่างทา่ ไกวตัวกับท่าแขง็ แรง หว่ งน่งิ ม้ากระโดด การแข่งขันนักกีฬาจะทำการกระโดดได้เพียงครั้งเดียว ยกเว้นใน รอบชิงชนะเลิศจะทำการกระโดดได้ 2 ครั้ง ในท่าที่ต่างกลุ่มกัน การแข่งขันเริ่มต้นจาก การวิ่งการกระโดดจากกระดานสปริงด้วยสองเท้า และการคํ้ายันด้วยมือทั้งสองบนหลัง มา้ การแสดงจะประกอบดว้ ยการหมุนคร้ังเดยี วหรือหลายคร้ัง รอบแกนของร่างกาย ม้ากระโดด ราวคู่ ท่าชุดประกอบด้วยท่าไกวตัว และท่าลอยตัว จากทุกกลุ่มทุกท่าด้วยการ แสดงท่าตดิ ต่อกันผ่านการห้อยตวั ใตร้ าว และขน้ึ สู่การค้ํายัน 114

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เลม่ 2 ราวคู่ ราวเด่ยี ว จะแสดงด้วยการไกวตัวที่ต่อเน่ืองตลอดท้ังชุด ด้วยทา่ เปลย่ี นมือ และ ท่าลอยตัวสลับกันระหว่างการแสดงท่าใกล้ราว และท่าไกวจากราวที่มีการจับราวหลาย แบบ ราวเด่ยี ว 115

ขนาดสนามและอุปกรณ์กฬี า เลม่ 2 พน้ื ทท่ี ใ่ี ช้ในการจัดแสดง การจดั อปุ กรณใ์ นสนามแขง่ ขันยิมนาสตกิ ศิลปช์ าย ฟลอรเ์ อก็ เซอร์ไซส์ 116

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เลม่ 2 พ้นื ทที่ ใี่ ช้ในการจดั แสดง การจัดอปุ กรณ์ในสนามแขง่ ขันยิมนาสตกิ ศิลปห์ ญงิ 117

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เลม่ 2 กฬี ายยู ติ สู มาตรฐานสนามแขง่ ขันและอุปกรณก์ ีฬา สนามแขง่ ขนั 1. สนามแข่งขันจะต้องเป็นพื้นเรียบรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาด 8x8 เมตร มีพื้นที่ ป้องกนั อันตรายด้านละ 2 เมตร แผนผงั สนามยยู ติ สู โตะ๊ เทคนิค 8 x 8 เมตร 2. ผตู้ ัดสนิ ( Referee ) ทำหน้าท่ีบนสนามแข่งขนั 1 คน 3. กรรมการผู้ช่วย ( Side Referee ) 2 คนจะนั่งที่โต๊ะเทคนิคกรรมการผู้ช่วย คนจะหันหน้าเข้าหากรรมการผู้ชข้ี าด 4. หัวหน้าผู้ควบคุมเวลาและบันทึกคะแนน (Score – Time Table ) จะนั่งที่ โต๊ะเทคนิคคะแนนควบคุมเวลาและบันทึกคะแนน 5. พ้นื ทป่ี ้องกนั อนั ตราย 1 เมตร จะตอ้ งมสี แี ตกตา่ งจากสนามแขง่ ขัน 118

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เลม่ 2 6.กล้องบันทึกการแข่งขัน ต้องมีอย่างน้อยสนามละ 1 ตัวจะตั้งอยู่บริเวณมุ่ม สนามห่างสนามแขง่ ขันจากไมน่ ้อยกวา่ 1 เมตร หมายเหตุ : ห้ามปิดป้ายโฆษณา ติดตั้งเสาหรือแผ่นกระดานภายในระยะ 1 เมตร จากชอบสนามเบาะที่ใช้ปูสนามจะต้อวได้มาตรฐาน ด้านบนของเบาะต้องมีความ ฝืดเล็กน้อย ซง่ึ จะไมห่ นาเท่าเบาะท่ใี ชใ้ นการแข่งขนั ยโู ดและดา้ นลา่ งของเบาะตอ้ งยึดติด กับพืน้ เพอ่ื ไม่ใหเ้ บาะเลอ่ื นซ่งึ อาจจะเปน็ อนั ตรายต่อผู้แขง่ ขันได้ สนามแข่งขันใช้เบาะ 1 x 2 เมตรพื้นที่รวมขนาด 12 x 12 เมตร เคร่อื งแตง่ กาย 1. ผู้แข่งขันต้องสวมชุดยูยิตสู (JU-JITSU GI) สีขาว มีแถบหรือลวดลาย ขนาด ตามที่ระเบียบการแข่งขันกำหนดอนุญาตให้ติดสัญลักษณ์หรือธงประจำชาติ บนหน้าอก ข้างซ้าย หมายเลขขประจำตัวของผู้แข่งขันจะต้องติดบนหลังเสื้อทั้งสองฝ่าย ต้องคาด สายคาดคนละสีซึ่งมีสีแดงและสีน้ำเงิน สายคาดต้องมีความกว้างไม่เกิน 5 เซนติเมตร และเม่ือผกู ปมแล้วจะตอ้ งเหลือชายลงมาอกี 20 - 30 เซนตเิ มตร 119

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เลม่ 2 ชุดยยู ติ สู 2. หลังจากทผี่ ุแ้ ข่งขนั สวมชดุ ยูยติ สแู ละคาดสายเอวแลว้ ชายเสือ้ จะต้องยาวปิด สะโพกพอดี สว่ นผูแ้ ขง่ ขันหญงิ ก็สามารถสวมเสื้อยดื ข้างในได้ 3. แขนเสื้อยาวไม่เกินข้อมือ สั้นกว่าข้อมือไม่เกิน 5 เซนติเมตร แขนเสื้อต้อง กว้างมากกวา่ 7 เซนติเมตร หา้ มพบั แขนเสอ้ื 4. กางเกงต้องมีความยาวพอที่จะคลุมถึงหน้าแข้ง ห้ามกางเกงสั้นเกินกว่าข้อ เทา้ มากกวา่ 5 เซนตเิ มตรและหา้ มพับขากางเกง 5. ผู้แข่งขันจะต้อวรักษาความสะอาดของเส้นผมและเล็บ ผมต้องตัดให้อยู่ใน ระดับที่ไม่เกะกะในการแข่งขัน ห้ามคาดผ้าคาดศรีษะ คาดผมหรือกิ๊บโลหะ ห้ามสวมใส่ 120

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เล่ม 2 เครื่องประดับทุกชนิด การสวมที่รัดฟันโลหะจะต้องได้นับอนุญาตจากกรรมการผู้ช้ีชาด และแพทย์ประจำสนามก่อน 6. ผู้แข่งขนั ตอ้ งสวมนวมแบบน่มุ และเปิดนิว้ ท้งั ห้าน้ิว 7. บงั คับให้ใสฟ่ ันยางสำหรับรุ่นอายุมากกว่า 15 ปีในประเภทต่อสู้ 8. อนุญาตให้สวมสนับเข่าแบบนุ่นแต่ไม่อนุญาตให้ใส่สนับแข็ง กระจับ พลาสตกิ และเครอ่ื งป้องกันหลงั เทา้ แบบแขง็ 9. หา้ มสวมแวน่ ตาขณะแขง่ ขัน สามารถใส่คอนแทคเลนส์แบบอ่อนได้ 10. การใช้ผ้าพันแผล แผ่นปิดแผล เนื่องจากบาดเจ็บ จะต้องผ่านการอนุญาต จากกรรมการผ้ขู ้ขี าดด้วยคำแนะนำของแพทย์ประจำสนาม ชดุ แข่งขันยูยติ สู นวมยูยิตสปู ระเภทต่อสู้ 121

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เลม่ 2 สนับแขง้ ยยู ิตสูประเภทต่อสู้ อุปกรณ์แขง่ ขนั ประเภทโชวศ์ ลิ ปการต่อสู้ ฟนั ยาง 122

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เลม่ 2 กฬี ารักบฟ้ี ตุ บอล มาตรฐานสนามแขง่ ขันและอุปกรณ์กีฬา 1. สนาม (THE GROUND) 1.1 พื้นผิวบริเวณรอบๆ ข้างสนาม (SURFACE OF THE PLAYING ENCLOSURE) (a) ความต้องการ (Requirement) พื้นผิวต้องปลอดภัยตลอดเวลาใน การแขง่ ขนั (b) รูปแบบของพื้นผิว (Type of surface) ต้องเป็นหญ้าแท้ หญ้า เทียม อาจเป็นดินหรือทรายที่ไม่ก่อให้เกิดอันตราย ไม่อนุญาตให้ใช้พื้นยางสังเคราะห์ แข็ง และพน้ื ปูน 1.2 ข น า ด ส น า ม (REQUIRED DIMENSION FOR THE PLAYING ENCLOSURE) (a) ขนาดของสนาม (Dimensions) สนามการเล่น ยาวไม่เกิน 100 เมตร และกว้างไม่เกิน 70 เมตร ในเขตประตู ยาวไม่เกิน 22 เมตร และกว้างไม่เกิน 70 เมตร (b) ความยาวและความกว้างของพื้นที่การเล่นดูได้จากแผนภูมิ และ ตอ้ งเปน็ ส่ีเหล่ยี มผนื ผ้า (c) พน้ื ท่รี ะหว่างเสน้ ประตกู ับเส้นลกู ตายตอ้ งไม่น้อยกว่า 10 เมตร 1.3 เส้นสนาม (LINES 0N THE PLAYING ENCLOSURE) (a) เส้นทึบ (Solid Lines): ได้แก่เส้นลูกตาย และเส้นข้างสนามใน เขตประตูทั้งสองเส้น ซึ่งอยู่นอกพื้นที่ในเขตประตู เส้นประตูจะอยู่ในเขตพื้นที่ประตู แต่ ไม่อยู่ในพื้นที่การเล่น เส้น 22 เมตร จะขนานกับเส้นประตู เส้นกึ่งกลางสนามจะขนาน กับเส้นประตู และเสน้ ข้างสนามซง่ึ อยู่นอกพื้นที่การเล่น (b) เส้นปะ (Broken Lines): เส้น 10 เมตร คือ เส้นที่ขนานกับเส้น กึ่งกลางสนาม ห่างจากเส้นกลางสนามออกมาทั้งสองข้าง เส้น 5 เมตร คือ เส้นที่ขนาน กับเส้นข้างสนาม ห่างจากเส้นข้างสนามเข้ามาในสนาม เส้น 15 เมตร คือ เส้นที่ขนาน กบั เส้น 5 เมตร หา่ งจากเส้นขา้ งสนามเขา้ มาในสนาม ขดี เส้นเหมือนเสน้ 5 เมตร 123

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เล่ม 2 (c) เสน้ ปะยาว (Dash Lines): (1.) เส้นปะ 5 เมตร ห่างจากเส้นประตูข้างละ 6 เส้น ปะเส้น ละ 1 เมตร อยูที่บริเวณเส้น 5 เมตร เส้น 15 เมตร จากเส้นข้างสนามทั้งสองข้าง และ บรเิ วณหนา้ เสาประตทู งั้ สองเสา และท้งั สองด้าน (2.) เส้นปะ 2 เส้น ที่เส้น 5 เมตร และเส้น 15 เมตร ขนาน กับเส้นขา้ งทั้งสองด้าน ท่เี ริม่ ตน้ จากเสน้ 5 เมตร หา่ งจากเสาประตตู ลอดแนว (3.) เส้นปะยาว 50 เซนติเมตร ยาวตลอดตัดกันกับเส้น กงึ่ กลางสนาม เส้นทง้ั หมดท่ปี รากฏ ตอ้ งอยใู่ นแผนผังสนามเทา่ นัน้ 1.4 ขนาดของเสาประตู และคานประตู (DIMENSION FOR GOAL POSTS AND CROSSBARS) (a) ความกว้างระหว่างเสาประตู 5.6 เมตร (b) คานวางไวร้ ะหว่างเสาทัง้ สองขา้ งอยูเ่ หนอื พ้นื 3.0 เมตร (c) ความสงู ของเสาประตูอย่างนอ้ ย 3.4 เมตร จากคานขึน้ ไป 124

ขนาดสนามและอุปกรณ์กฬี า เลม่ 2 (d) เบาะหุ้มเสาเมื่อติดกับเสาประตูแล้วต้องมีความหนาไม่เกิน 300 มลิ ลเิ มตร 1.5 เสาธง (FLAG POSTS) (a) มีเสาธง 14 เสา ความสูงอยา่ งนอ้ ย 1.2 เมตร เหนอื จากพนื้ (b) เสาธงจะถูกปักไว้ที่ดา้ นขา้ งสนาม ห่างจากเส้นขา้ งสนาม 6 เสา ปัก บนเสน้ ในเขตประตู 8 เสา (c) เสาธงจะปักตรงกับเส้น 22 เมตร และเส้นกึ่งกลางสนาม ห่างอย่าง นอ้ ย 2 เมตร จากพ้ืนทีก่ ารเลน่ รอบๆ สนาม 2. ลกู บอล (THE BALL) 2.1 รูปร่างของลูกบอล (SHAPE) ลูกบอลต้องเป็นรูปไข่ และทำด้วยวัสดุ 4 ชิน้ ประกอบกนั 125

ขนาดสนามและอุปกรณ์กฬี า เลม่ 2 2.2 ขนาดของลูกบอล (DIMENSIONS) ความยาว 280 – 300 มลิ ลเิ มตร เสน้ รอบวง (ดา้ นยาว) 740 – 770 มิลลิเมตร เส้นรอบวง (ด้านสัน้ ) 580 – 620 มลิ ลิเมตร 2.2 ขนาดของลูกบอล (DIMENSIONS) ความยาว 280 – 300 มิลลเิ มตร เสน้ รอบวง (ดา้ นยาว) 740 – 770 มิลลเิ มตร เส้นรอบวง (ดา้ นสน้ั ) 580 – 620 มิลลิเมตร 2.3 วัสดุที่ใช้เป็นลูกบอล (MATERIALS) เป็นหนังหรือวัสดุสังเคราะห์ที่มี ลักษณะคล้ายหนังไมต่ ดิ โคลน และง่ายตอ่ การจบั ล22ักษ..54ณคนะควำ้22ล..หา34า้ มนยนวดหักัส้ำนันหขดงั ลนุอทไมักมีง่ใ่ตขชลขดิอ้เูกอโปงคบงล็นลลกูอลนบกูลูกแอบบลล(ออะW(ลงลWา่ Eย((EIMตAGIGอ่AIHHกRTาTTEรP)R)จRI4ับA41EL10SS0S–) U–เ4ป6R4็น0E6หก0นAรังัมTกหรรSัมือTวAัสดRุสTังเOครFาะPหL์ทAี่มYี ) 0.67 – 0.70 ต่อ ลบ2.ซ.5มค. วหารมอื ดนั 9ล.5มข–อง1ล0กู .บ0อปล อ(AนIRดต์P่อREลSSบU.นREว้ิ AT START OF PLAY) 0.67 –20..670ลตูก่อบลอบล.ซสมำ.รหอรอืง 9(S.5P–A1R0E.0BปAอนLดL์ตSอ่ ) ลตบ้อ.นงว้ิเตรยี มลกู บอลสำรองไว้ ผู้ตัดสนิ ตอ้ ง ไลมูก่ใบชอ้ลลกู อลไบม2กูาอใ่ .บจช7ลอจ้ลจลูกขะาอบลน22กาอด..จา67ทลจลดจมีะลขงาขลกูในไกดดอบดาทลทดอง้สีมงขลลีมใำไดอสดหูกหทงำ้สบรนลรีมำบัอหูกอหงึ่ งบเรนลดเบั อ(งึ่พทS็กเลดเ่ือPี่เพทก็ลAป่อืี่เ็กลRป้อ็กEกอ้งกวงกBวก่Aาัน่าันLกก((LSSาาSรMรM)ไไดAตดAเ้้อLปเ้ LงLปรเELียตรREบรยี ียRBบมAลBLกู ALบSLอ)LลขSสนำ)ารดขอแงนลไวาะ้ดนผแ้ำตู้ หัดลนสะนิักนขต้ำออ้ หงงนักของ 126

ขนาดสนามและอุปกรณ์กฬี า เลม่ 2 เครอื่ งแตง่ กาย เครื่องแต่งกายของผู้เล่น คือ ทุกสิ่งทุกอย่างที่ผู้เล่นสวมใส่ เสื้อ กางเกงขาสั้น และกางเกงชน้ั ในและถุงเทา้ เคร่ืองแต่งกายเพ่ิมเตมิ ของผเู้ ลน่ ก.ผู้เลน่ อาจจะสวมวัสดทุ ี่ยืดหยุ่นและสามารถทำความสะอาดได้ ข.ผูเ้ ลน่ อาจจะสวมใสเ่ ครอื่ งปอ้ งกนั หนา้ แข้ง ภายในถุงเทา้ ค.ผู้เล่นอาจจะใส่สนับข้อเท้าภายในถุงเท้า ซึ่งไม่ยาวเกิน 1 ส่วน 3 ของความ ยาวของหน้าแข้ง ง.ผเู้ ล่นอาจจะสวมถงุ มอื ชนดิ ไมม่ นี ว้ิ จ.ผู้เล่นอาจจะสวมที่รองไหล่ที่ทำด้วยวัสดุที่นุ่มและบาง ซึ่งอาจจะเน้นติดกับ เสือ้ ซง่ึ ไมห่ นาเกนิ 1 ซม. ฉ.ผู้เล่นอาจจะใส่ฟันยาง ช.ผู้เล่นอาจจะสวมเครื่องป้องกันศรีษะ ที่ทำจากวัสดุ นมุ่ และบาง ซ.ผเู้ ลน่ อาจจะใชผ้ า้ พันแผลเพ่อื ปิดแผลได้ ฌ.ผ้เู ล่นอาจจะพันผา้ เทปหรือวสั ดอุ นื่ เพือ่ ปอ้ งกนั การบาดเจบ็ ได้ ปมุ่ รองเท้า ก.ปุ่มรองเท้าต้องเป็นไปตามมาตรฐาน British Standard BS6366 1983 หรือมาตรฐานเทยี บเท่า ข.ปมุ่ รองเท้าต้องเป็นรปู ทรงกลม และตดิ แน่นท่ีพ้ืนรองเทา้ ค.ปุ่มของรองเท้าต้องมีขนาดดังนี้ ไม่ยาวเกิน 18 มม. วัดจากพื้น เส้นผ่าศูนย์กลางปลายปุ่มอย่างน้อย 10 มม.เส้นผ่าศูนย์กลางของฐานปุ่มอย่างน้อย 13 มม. เส้นผา่ ศูนยก์ ลางของวงแหวนสวมเกลยี วของปุม่ อย่างน้อย 20 มม ง.พนื้ รองเท้าทมี่ หี ลายปุม่ ใช้ได้ แตต่ อ้ งไม่แหลม 127

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เลม่ 2 เสอ้ื กางเกง / ชดุ ปอ้ งกนั 128

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เลม่ 2 ฟันยาง รองเทา้ ป้องกันศรษี ะ 129

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เลม่ 2 กฬี าเรอื เรว็ มาตรฐานสนามแข่งขนั และอุปกรณก์ ีฬา ประกอบด้วย 1.มาตรฐานสนามแขง่ ขนั และอปุ กรณ์กฬี า 1.1 เรอื เร็วสากล (POWERBOAT) - FORMULA 1, FORMULA 4, FORMULA 5, SPORT, SCOOTER FORMULA 1 FORMULA 4 130

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เล่ม 2 FORMULA 5 SPORT SCOOTER 131

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เลม่ 2 สนามแข่งขนั ความยาวรวมของระยะทางการแขง่ ขัน ระหวา่ ง 25 ถงึ 30 กโิ ลเมตร การวนทนุ่ สนามแข่งขันของสมาคม กำหนดให้นักกีฬาขับเวียนซ้ายเท่านั้น เพื่อความเป็น มาตรฐานสากลและความปลอดภยั ของนกั กีฬา 132

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เล่ม 2 อปุ กรณ์กีฬา ชดุ แขง่ ขนั ชดุ นกั ขบั - Racing Suit หรือ Pilot Suit สำหรับนักแข่งเรือ FORMULA 1, FORMULA 4, FORMULA 5, SPORT - ชดุ กระชับกล้ามเน้อื Base Layer หรือ Rush Guard สำหรับนักแข่ง เรือ FORMULA 5, SCOOTER, SPORT เส้ือชชู พี นักกีฬาที่เข้าแข่งขันต้องสวมใส่เสื้อชูชีพที่ได้มาตรฐานและเหมาะสมทั้งใน ระหว่างซ้อม และระหว่างการแขง่ ขัน หากฝ่าฝืนจะถูกตัดสิทธ์ิการแขง่ ขันโดยเด็ดขาด - Capsule suit Life jacket สำหรับนักแข่งเรือ FORMULA 1, FORMULA 4, FORMULA 5 133

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เล่ม 2 - Life jacket สำหรับนักแข่งเรอื SPORT, SCOOTER - Life jacket สำหรับนกั แข่งเรอื SPORT, SCOOTER หมวกกันนอ็ ก หนมักวกกกีฬนั านทอ็ ี่เกข้าแข่งขันทุกคนต้องสวมหมวกกันน็อกทุกครั้งทั้งในระหว่างซ้อม และระหว่างการนแักกขีฬ่งขาทันี่เขม้าแิฉขะ่งนขั้นทจุกะคถนูกตต้อัดงสสวิทมหธม์กวากรกแันขน่ง็อขกันทุกโคดรยั้งหทั้งมใวนกระกหันวน่าง็อซก้อมจะต้องได้ มาตรฐานแลหะรมะวหกวก่างันกนาร็อแกขจ่งขะันตม้อิฉงะคนรั้นอจบะทถูก้าตยัดทสอิทยธ์กแาลระแใขบ่งขหันพู โรด้อยหมมสวากยกรันดั นค็อากงจะแตล้องะไตด้อ้ งเป็นสี สม้ เท- ่านมสนั้F้มาuตเlทร-lฐ่าHานน้ันFeuหllmมl วHeกetกlmนั สนeำ็อtหกสรจำบัะหตนร้อับกั งนคแักรขแอ่งขบเง่ทรเร้าอื อืยทFFอOOยRRแMลMะUUใLบALหA1ูพ,ร1F้อO,มสRFMาOยUรRLดั MAคาU4ง,LแFAลOะR4ตM,อ้ UFงเLOปA็นR5สMี ULA 5 134

ขนาดสนามและอุปกรณ์กฬี า เล่ม 2 - Off Road Helmet หรือ Open Face Helmet สำหรับนักแข่ งเรือ SPORT, SCOOTER ถงุ มอื รองเท้า 135

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เลม่ 2 1.2 เรือเครอ่ื งหางยาว (LONG TAIL BOAT) - เรือเคร่อื งหางยาวตอนเดยี ว, เรอื เครื่องหางยาวสองตอน เรอื เคร่ืองหางยาวตอนเดียว (ขนาดใหญ)่ เรือเคร่ืองหางยาวสองตอน (ขนาดเลก็ ) 136

ขนาดสนามและอุปกรณ์กฬี า เลม่ 2 สนามแข่งขัน ระยะแข่งต่อรอบ ไม่น้อยกว่า 1,200 เมตร โดยมีระยะทางตรงที่ยาวที่สุด 500 เมตร การวนทนุ่ สนามแข่งขันของสมาคม กำหนดให้นักกีฬาขับเวียนซ้ายเท่านั้น เพื่อความเป็น มาตรฐานสากลและความปลอดภัยของนักกฬี า อปุ กรณ์กีฬา ชุดแขง่ ขนั ชุดนกั ขับ นกั กฬี าทีเ่ ขา้ แข่งขนั ต้องสวมเส้อื แขนยาวและกางเกงขายาวให้รัดกมุ 137

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เล่ม 2 เส้ือชชู พี นักกีฬาที่เข้าแข่งขันต้องสวมใส่เสื้อชูชีพที่ได้มาตรฐานและเหมาะสม ทั้งในระหว่างซ้อม และระหว่างการแข่งขัน หากฝ่าฝืนจะถูกตัดสิทธิ์การแข่งขันโดย เด็ดขาด หมวกกันนอ็ ก นักกีฬาที่เข้าแข่งขันทุกคนต้องสวมหมวกกันน็อกทุกครั้งทั้งในระหว่างซ้อม และระหว่างการแข่งขัน มิฉะนั้นจะถูกตัดสิทธ์การแข่งขัน โดยหมวกกันน็อกจะต้องได้ มาตรฐาน หมวกกันน็อกจะต้องครอบทา้ ยทอยและใบหพู ร้อมสายรดั คาง 138

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เลม่ 2 ถุงมอื , รองเท้า 2. อุปกรณ์ประกอบสนามแขง่ ขนั 2.1 เรอื เรว็ สากล (POWERBOAT) ทนุ่ ปล่อยตัว ใชส้ ำหรับทำการปลอ่ ยตัวเพื่อเร่มิ ทำการแข่งขนั 139

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เล่ม 2 ทุ่นสนาม ทุ่นวน ใช้สำหรบั ทำการวนรอบสนามขณะทำการแข่งขัน ทุ่นหมากรกุ ใชส้ ำหรบั เข้าเสน้ ชัยเม่อื สน้ิ สดุ การแขง่ ขนั 140

ขนาดสนามและอุปกรณ์กฬี า เล่ม 2 จดุ ปล่อยเรือลงน้ำ ใช้สำหรับนำเรือ FORMULA 1, FORMULA 4, FORMULA 5 ลงน้ำ ไมค้ ลอ้ งเรือ ใชส้ ำหรบั คล้องเรอื ไม่ให้เรือเคล่อื นออกจากตำแหน่งสตาร์ทท่ที ่นุ ปลอ่ ยตัว 141

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เลม่ 2 2.2 เรอื เคร่อื งหางยาว (LONG TAIL BOAT) ทุ่นปลอ่ ยตัวและอุปกรณป์ ลอ่ ยตวั (การแข่งขันวนท่นุ ) ใช้สำหรบั ทำการปล่อยตัวเพ่อื เร่ิมทำการแขง่ ขัน ทุ่นปลอ่ ยตัวและอปุ กรณ์ปลอ่ ยตัว (การแขง่ ขนั ทางตรง) 142

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เล่ม 2 ทนุ่ สนาม ทุ่นวน ใชส้ ำหรับทำการวนรอบสนามขณะทำการแข่งขัน ทุ่นหมากรกุ ใชส้ ำหรับเขา้ เสน้ ชัยเมื่อส้นิ สดุ การแข่งขัน 143

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เลม่ 2 กฬี าลลี าศ มาตรฐานสนามแข่งขนั และอปุ กรณ์กฬี า กติกาโดยท่วั ไป 1. ชุดแต่งกายต้องออกแบบให้มีรูปแบบ - ลักษณะที่เหมาะสมตามแต่ละ ประเภทของการแขง่ ขนั (สแตนดาร์ด - ลาตนิ อเมรกิ ัน) 144