Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เล่ม 2

ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เล่ม 2

Description: ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เล่ม 2.

Search

Read the Text Version

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เล่ม 2 2. ชุดแต่งกายต้องออกแบบให้ปกปิดส่วนของร่างกายที่เป็นของลับ (ของสงวน) ของนกั แขง่ ขัน 3. การแต่งกายและการเมคอัพ ต้องให้มีความเหมาะสมกับวัยและระดับของ นักกีฬาลลี าศ 4. ไม่อนุญาตให้ใช้สัญลักษณ์ทางศาสนาเป็นเครื่องประดับ หรือตกแต่งด้วย เครื่องประดับที่เป็นเพชร - พลอย (ไม่รวมถึงเคร่ืองประดับท่ีเปน็ ของส่วนตัว) 5. ประธานเทคนิคของการแข่งขันมีสิทธิ์ที่จะให้ผู้แข่งขันถอดชุดแข่งขันหรือ เครื่องตกแต่งที่เป็นเพชร - พลอย ชิ้นที่อาจจะก่อให้เกิดอันตรายกับนักกีฬาหรือบุคคล อ่นื 6. อนญุ าตใหใ้ ชช้ ดุ แขง่ ขนั ในระดับหรือเกณฑอ์ ายุท่ีรองลงมาได้ กฎเกณฑใ์ นรสนิยม ในกรณที ่ีมกี ารใชว้ สั ดุ สี หรือการออกแบบประดษิ ฐท์ ค่ี ้านกบั กติกาการแต่งกาย นี้ถึงแม้ว่าจะไม่มีในความหมายของคำตามตัวอักษรของระเบียบการแต่งกายน้ี ช่องว่าง ของกตกิ าเหล่านี้จะถกู ชี้ขาดโดยประธานผูต้ ัดสนิ คำอธบิ ายขอประโยค บริเวณส่วนที่เป็นลับ (Intimacy Area) บริเวณส่วนที่เป็นที่ลับ ส่วนของ รา่ งกายทจี่ ะต้องถูกปกปดิ ให้มดิ ชดิ ด้วยวสั ดุทึบหรอื สว่ นที่ใชว้ สั ดโุ ปร่งใสบดบังด้วยวัสดทุ ี่ ทึบ หากใชส้ ีเนอื้ ตอ้ งปกปดิ ด้วยการตกแตง่ สำหรบั คู่ลลี าศท่เี ป็นหญงิ - ไมอ่ นุญาตใหใ้ ช้กางเกงชั้นในสีเนอื้ - สว่ นหนา้ อกตอ้ งปกปดิ ให้มิดชดิ - ชว่ งหา่ งของฝาครอบทรงต้องหา่ งไม่เกนิ 5 เซนตเิ มตร บริเวณส่วนเว้าส่วนโค้งของร่างกาย (Shape Area) บริเวณส่วนน้อยที่ต้อง ปกปดิ นีอ้ นุญาตให้ใช้วัสดุหรอื ผา้ ที่โปร่งใสได้ กรณีใช้สอี ะไรกไ็ ด้ วสั ดุทีใ่ ช้เปน็ หลกั - ทีม่ ีแสงสะท้อน (โลหะ กากเพชร เลื่อม) - ที่ไม่มีแสงสะท้อน 145

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เล่ม 2 การตกแตง่ - การใชส้ ง่ิ ต่างๆ ตดิ ลงบนวสั ดุที่เป็นหลัก บนผม ผวิ หนัง - ท่มี แี สงสะทอ้ น (พลอยเทยี ม, เลอ่ื ม, ลูกปัด, มุก) - ที่ไม่มีแสงสะท้อน (ขนนก, ดอกไม้,โบว์,ไหมญี่ปุ่น ,สิ่งถักทอ ,ริบบน้ิ ) ทีห่ นบี ไทด,์ กระดมุ , ผ้าพันคอ, หัวเข็มขดั ไม่ถือว่าเปน็ ส่ิงตกแตง่ แนวของสะโพก (Hip Line) ขอบกางเกงชั้นใน (ขนาดของความตํ่า) แนวตรง ของขอบแนวสูงสุดด้านบนอยู่บริเวณกล้ามเนื้อสะโพก (Intergluteal line) ต้องไม่ดู โจง่ แจ้ง แนวกางเกงใน (Panty Line) ขอบลา่ งของกางเกงชน้ั ใน (ขนาดของความสงู ) - ด้านหลงั ตอ้ งครอบคลมุ สะโพกทงั้ หมด - ด้านหน้า แนวเชื่อมต่อระหว่างง่ามขา (ช่วงพับระหว่างสะโพกกับ ลำตัว) ระยะห่างระหว่างแนวสะโพกและแนวกางเกงชั้นในบนด้านข้างต้องไม่ตํ่ากว่า 15 เซนติเมตร เสื้อท่อนบนที่เปิดหรือผ่าออก (Mans Top Opening Point) จุดที่ซึ่งท่อน บนหรอื เส้ือสามารถเปิดได้ - ตรงศนู ย์กลางของหัวเข็มขัดหรือศนู ยก์ ลางของกางเกงขบบน สีเนื้อ (Skin Colour) สีที่ดูออกเป็นสีเดียวกันกับสีผิวของผู้แข่งขันระหว่าทำ การแข่งขัน (ร่วมกบั การย้อมสผี วิ ) เสือ้ แขนยาว (Long Sleeves/ed) ควายาวถึงขอ้ มอื ไม่อนุญาตใหพ้ บั แขน การเมคอัพ (Make - Up) รมถึงการแต่งหน้า, ย้อมผิว, แต่งเล็บ, ใส่ขนตา ปลอม การตกแต่งด้วยเครื่องประดับ (Decoration Jewellery) การออกแบบ เคร่ืองประดับ ตกแตง่ ใหเ้ ปน็ ส่วนหน่ึงของชดุ แข่งขนั แบบตัวอยา่ งที่ 1 : ชุดแต่งกายของเด็กชายรุ่นจเู วนไนล์ เสอื้ เชิ๊ต : - เสื้อเชิ๊ตแขนยาวเรียบงา่ ยธรรมดา - ไม่อนุญาตให้ใช้ผ้าที่ส่องประกายหรือผ้าที่มีลวดลายควรจะเป็นผ้าที่เป็นฝ้าย หรอื ใยสงั เคราะห์ 146

ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เลม่ 2 - ไม่อนุญาตใหใ้ ส่เสอ้ื คอปกี - ตอ้ งสอดเสื้อเข้าในกางเกง แบบตวั อย่างท่ี 2 : ชดุ แตง่ กายของเดก็ หญิงในรุน่ จูเวนไนล์ A. ชว่ งคอเสอ้ื - ให้เจียนหรอื ตัด วิธีอนื่ ไม่อนญุ าต B. แขนเสอ้ื - ใหเ้ จยี นหรือตดั วิธีอ่ืนไม่อนญุ าต C. กระโปรง - อนุญาตให้เป็นกระโปรงเรียบหรือจับจีบตัดเย็บไม่น้อยกว่า 1 ครึ่งวงกลมและ ไม่เกิน 3 ครึง่ วงกลมเทา่ น้นั อนุญาตใหม้ ีซบั ในธรรมดา 1 วงกลม ไม่อนญุ าตให้มีซับในที่ ใหญก่ วา่ น้นั 147

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เลม่ 2 - ไม่อนุญาตให้มีการติดระบายบนตัวกระโปรงและชายกระโปรง การกุ้นหรือ การแซกชายกระโปรง - ความยาวของชายกระโปรงต้องอยู่เหนือเข่าไม่เกิน 10 เซนติเมตร และยาวได้ ไม่เกนิ คลุมเข่า - ไม่อนุญาตใหม้ ีการตัดเยบ็ ด้วยวธิ อี น่ื อีก ตวั อยา่ ง 148

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เลม่ 2 กีฬาวนิ ด์เซริ ฟ์ มาตรฐานสนามแขง่ ขันและอุปกรณก์ ฬี า สนามแขง่ ขัน วินด์เซริ ์ฟเป็นกีฬาทางน้ำทตี่ ้องอาศัย คล่ืนและลม จงึ มกี ารจัดการแข่งขันใน ทะเล อุปกรณ์การแข่งขนั ใบ (Sail) โดยท่วั ไป ใบจะทำจากผา้ Darron และ Mono Filmไฟเบอร์กลาส สว่ นเสา ทำ จาก Carbon Fiber 1. เสา (mast)ทำหน้าท่ีเปน็ แกนของใบ เพือ่ ยดึ ใบ (ในแนวต้งั ) 2. โคนเสา ( Mast Foot ) ใช้สำหรับ ปรับระยะของเสาตามขนาดใบ, ยึดเชือกขึงใบ และ เป็นจดุ ตอ่ ระหวา่ ง จอยส์ กับ เสา 3. ซองเสา ( Mast Sleeve ) เปน็ ซองท่ใี ช้ยึดเสากบั ใบ 4. บูม (Boom) คือ ใช้เป็นโครงของใบ เพื่อให้เข้ารูปทรง (ยึดใบใน แนวนอน) และ ใชใ้ นการบังคบั ทิศทางของใบ 5. กา้ นใบ (Battens) เพ่ือรักษารปู รา่ งของใบ 149

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เล่ม 2 6. หัวบมู ( Boom Head ) เป็นตวั เช่อื มระหวา่ งเสากับบมู 7. ทา้ ยบมู ( Boom End ) ใช้สำหรบั ยดึ ใบด้านนอก 8. เช6ือ.กหขัวบงึ ใูมบ(ดB้าoนoลm่างHe(aDdo)wเปn็นhตaัวuเชl่ือRมoระpหeว)า่ งคเสือากเบัชบอื มูกที่ใชส้ ำหรับ ขึงใบ บรเิ วณดบ้ารนเิ วลณ่าดงา้ นกล9บั า่ .งโเคกช87บัอืน..กเโเทสคชขา้ ือนายึงกเบใสขบูมางึ ดใ(บา้ Bดนo้าทoนmลา้ ่ายงEn((DdOo)wuใntชhhส้ aaำหuulรlบัRRยooึดpใepบ)eดค้าอื)นคนเชอือือกกเทชใ่ี ือชก้สำทห่ใี รชับส้ ขำึงหใบรบั ขึงใบ บริเวณดา้ นทา้ ย กบั บ9มู . เชอื กขึงใบดา้ นท้าย ( Outhaul Rope ) คือ เชอื กที่ใช้สำหรับ ขึงใบ บรเิ วณด้านท1า้0ย. กเชับือบกูมดึงใบ ( Uphaul Rope ) คือ เชือกที่ใช้สำหรับ ดึงใบขึ้นจาก นำ้ 10. เชือกดึงใบ ( Uphaul Rope ) คือ เชือกที่ใช้สำหรับ ดึงใบขึ้นจาก น้ำหนักตนนัวำ้ำ้ หผนเู้ ลักต่นวั เผพ1้เู ลื่อ1่นผ.เ่อพเ1ชนื่อ1ผือแ.่อเรกชนงโือแใหรกนงนโกใหนาน(กราเH(รลเHaลน่ arน่ nr(ne(ใeในนsssกsกรรLLณiณninีทeที eี่ก)่ีกรค)ะรแือคะสแือเลชสมือเลแชกรมทืงอแ)ี่ใกรชทง้ส)ีำ่ใหชร้สับำหโหรนับโดยโหใชน้ โดยใช้ 150

ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เลม่ 2 กระดาน(Board) โดยทวั่ ไปทำจากไฟเบอรก์ ลาส บขุ ้างในดว้ ยโฟมเพ่ือชว่ ยในการลอยตวั และมี น้ำหนกั เบา ด้านบนจะเคลือบด้วยวสั ดกุ นั ลนื่ 1. รางเล่อื น (Mast Track ) คอื รางท่ใี ช้ปรบั ตำแหนง่ ของเสา เพือ่ กำหนด ตำแหนง่ ของใบ สำหรบั การ แล่นในทิศทางลมที่ตา่ งกัน 2. ครบี กลาง (Center Board ) คือ มหี นา้ ที่ช่วยในการทรงตวั และ การแล่น ข้ึนลม 3. ชอ่ งเสียบเทา้ ( Foot strap ) คอื ช่องสำหรับสอดเท้าเพื่อให้ ใหก้ ารทรงตัว ได้ดขี นึ้ (ในกรณีท่ีกระแสลมแรง )และ ชว่ ยให้บังคบั กระดานไดง้ า่ ยขนึ้ 4. หางปลา (Fin, Skeg) คือ ครบี ทา้ ยกระดาน ซ่ึงมหี นา้ ทช่ี ว่ ยใหก้ ารควบคุมทิศ ทางการแลน่ ให้คงที่ ( เปน็ เสน้ ตรง RS:ONE RS:X 151

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เลม่ 2 กฬี าสนุกเกอรแ์ ละบิลเลยี ด มาตรฐานสนามแขง่ ขันและอปุ กรณก์ ฬี า โต๊ะ (สนกุ เกอร์) ขนาด พื้นที่ใช้ในการเล่น 11 ฟุต 8 ½ นิ้ว x 5 ฟุต 10 นิ้ว (3569 x 1778 มิลลเิ มตร) คลาดเคล่อื นไดไ้ มก่ นิ ½ นิว้ (13 มิลลิเมตร) ความสูง ความสูงของโต๊ะจากพื้นห้องถึงส่วนบนสุดของขอบรางคุชชั่น 2 ฟุต 9 ½ ถงึ 2 ฟตุ 10 ½ นว้ิ (851 - 876 มลิ ลิเมตร) โต๊ะสนุกเกอร์ ความกวา้ งของหลุม มีหลุมอยู่มุมต่างๆ (2 หลุมทางด้านจุดสปอต เรียกว่า “หลุมบน” และอีก 2 หลุม ทางด้านเมือง เรียกว่า “หลุมล่าง” และกึ่งกลางทางด้านยาวอีกข้างละ 1 หลุม เรียกว่า “หลุมกลาง” เส้นเมือง คือ เส้นตรงที่ลากขนานกับขอบผิวคุชชั่นล่างระยะ 29 นิ้ว (737 มิลลิเมตร) ในเมอื ง คอื พ้นื ทีว่ า่ งระหวา่ งเสน้ เมืองกบั ขอบผวิ คุชชน่ั ลา่ ง เส้น “D” หรือเส้นครึ่งวงกลม เขียนเส้นครึ่งวงกลมไว้ในเมืองรัศมี 11 ½ นิ้ว มิลลเิ มตร) โดยมจี ดุ ศูนยก์ ลางอยูท่ กี่ ง่ึ กลางของเส้นเมอื ง 152

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เลม่ 2 จดุ เขียนจุด 4 จดุ เป็นเครื่องหมายไวบ้ นแนวเส้นก่ึงกลางโต๊ะ 1. จุดสปอต (เรียกว่า “จุดดำ”) ระยะ 12 ¾ นิ้ว (324 มิลลิเมตร) จากจุดนี้ต้ัง ไดฉ้ ากใต้ขอบผวิ คุชช่นั บน 2. จุดกลาง (เรียกว่า “จุดนํ้าเงิน”) อยู่กึ่งกลางระหว่างขอบผิวคุชชั่นบนกับ ขอบผวิ 3. จุดปิรามิด (เรียกว่า “จุดเหลือง”) อยู่กึ่งกลางระหว่างขอบผิวคุชชั่นบนกับ จุดกลาง 4. จุดกลางของเส้นเมือง (เรียกว่า “จุดนํ้าตาล”) มีจุดอีก 2 จุดที่มุมของเส้น ครึง่ วงกลม ของคชุ ช่นั ลา่ ง “จดุ เหลอื ง” อยูท่ างมุมขวามือ และ “จดุ เขยี ว” อยทู่ างดา้ น มมุ ซ้ายมอื ของ ครึง่ วงกลม ขนาดของลูก เส้นผ่าศูนย์กลาง 52.5 มิลลิเมตร คลาดเคลื่อนได้ไม่เกิน 0.05 มลิ ลเิ มตร 1. น้าํ หนกั ต้องเท่ากนั คลาดเคลอ่ื นไดไ้ มเ่ กิน 3 กรัม ต่อ 1 ชุด 2. ลูกหนึง่ ลูกหรอื ทัง้ ชุดอาจเปล่ียนไดต้ ามความเห็นระหว่างผู้เล่นหรือดุลยพินจิ ของผ้ตู ดั สนิ 153

ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เล่ม 2 คิว ต้องไม่สั้นกว่า 3 ฟุต (914 มิลลิเมตร) และต้องไม่มีรูปร่างผิดแผกแตกต่าง ไปจากท่ีนยิ มใชท้ ่ัวไป อุปกรณ์อื่นๆ คิวที่ใช้กับเรสท์ขนาดต่างๆ ส่วนต่อเรสท์และอุปกรณ์ต่างๆ ที่ นำมาสำหรับช่วยในการแทงทั้งหมดจะต้องได้รับการรับรองแบบจากสมาคมบิลเลียด และสนุกเกอร์อาชีพโลก 154

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เลม่ 2 Cross Rest Butt Rest Extended Spider Rest Spider Rest Swan Neek Rest เรสทข์ นาดต่างๆ 155

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เล่ม 2 โต๊ะ (บิลเลยี ด) ขนาด พื้นที่ที่ใช้ในการเล่น 11 ฟุต 8 ½ นิ้ว 5 ฟุต 10 นิ้ว (3569 มิลลิเมตร - 1778 มลิ ลเิ มตร) คลาดเคลอื่ นไดไ้ ม่เกนิ ½ น้ิว (13 มลิ ลเิ มตร) ความสูง ความสูงของโต๊ะจากพื้นห้องถึงส่วนบนสุดของขอบรางคุชชัน่ 2 ฟุต 9 ½ น้ิว ถึง 2 ฟุต 10 ½ น้ิว (851 - 876 มิลลเิ มตร) ความกวา้ งของหลมุ 1. มีหลุมอยู่ตามมุมต่างๆ (2 หลุมทางด้านจุดสปอต เรียกว่า “หลุม บน” และอกี 2 หลมุ ทางดา้ นเมืองเรยี กว่า “หลมุ ล่าง” และกง่ึ กลางทางดา้ นยาวอีกข้าง ละ 1 หลุม เรยี กวา่ “หลุมกลาง”) 2. ความกว้างของหลุมเปน็ ไปตามแมแ่ บบ (เทมเพลท) เสน้ เมือง คอื เสน้ ตรงทลี่ ากขนานกบั ขอบผวิ คชุ ช่นั ลา่ งระยะ 29 นิ้ว (737 มิลลิเมตร) ใน เมืองคือพื้นที่ว่างระหว่างเส้นเมืองกับขอบผิวคุชชั่นล่าง เส้น “D” หรือเส้นครึ่งวงกลม เขียนเส้นครึ่งวงกลมไว้ในเมืองรัศมี 11 ½ นิ้ว (292 มิลลิเมตร) โดยมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่ กึง่ กลางของเส้นเมอื ง จดุ ต่างๆ เขยี นจุด 4 จุด เปน็ เครื่องหมายไว้บนแนวเส้นก่ึงกลางโตะ๊ 1. จดุ สปอต ระยะ 12 ¾ นวิ้ จากจุดนตี้ ้งั ได้ฉากใตข้ อบผิวคชุ ชั่นบน 2. จดุ กลาง อยกู่ ง่ึ กลางระหวา่ งขอบผิวคชุ ชนั่ บนกบั ขอบผวิ คชุ ช่ันลา่ ง 3. จุดปริ ามิด อยู่ก่งึ กลางระหวา่ งขอบผวิ คุชชน่ั บนกบั จุดกลาง 4. กง่ึ กลางเส้นเมือง ลูก กำหนดวัสดแุ ละเส้นผ่าศูนย์กลางของลูก 52.5 มลิ ลิเมตร คลาดเคลอ่ื นไดไ้ ม่ เกิน 0.05 มลิ ลิเมตร และ 1. นํ้าหนกั ต้องเทา่ กนั คลาดเคลือ่ นไดไ้ มเ่ กิน 0.5 กรมั ตอ่ 1 ชดุ 2. ลูกทั้งชุดอาจเปลี่ยนได้ตามความเห็นชอบระหว่างผู้เล่นทั้งสองหรือตาม ความเหน็ ของผูต้ ดั สนิ คิว ต้องไม่สั้นกว่า 3 ฟุต (914 มิลลิเมตร) และต้องไม่มีรูปร่างผิดแผกแตกต่าง ไปจากท่ีนยิ มใช้ทัว่ ไป 156

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เล่ม 2 อุปกรณ์อื่นๆ คิวที่ใช้กับเรสท์ขนาดต่างๆ ส่วนต่อท์ และอุปกรณ์ต่างๆ ที่นำมา ช่วยเสริมในการแทงต้องได้รับการรับรองแบบโดยสมาคมบิลเลียด และสนุกเกอร์อาชีพ โลก เคร่ืองแต่งกาย 1. เสอื้ คอปกแขนยาว 2. หูกระต่าย 3. เสื้อกัก๊ 4. กางเกงสแลคสีดำ 157

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เล่ม 2 กฬี าหมากรุกเซีย่ งฉี มาตรฐานสนามแขง่ ขันและอุปกรณก์ ีฬา 1. ขนาดหอ้ งแขง่ ขนั 1.1 หอ้ งแขง่ ขนั กฬี าหมากรกุ เซี่ยงฉี ขนาดห้องแข่งขันที่ใช้ในการจัดการแข่งขันกีฬาหมากรุกเซี่ยงฉีนั้นจะ พิจารณาปรับเปลี่ยนตามจำนวนนักกีฬาผู้เข้าร่วมแข่งขันในแต่ละรายการนั้นๆ ว่า สามารถรองรบั จำนวนผู้เข้าร่วมการแข่งขันไดเ้ พียงพอหรือไม่ 2. อปุ กรณ์การแข่งขัน 2.1 กระดานหมากรกุ เป็นวัสดุรูปสี่เหลี่ยม 8X8 หรือ 64 ช่อง มีแม่น้ำคั่นกลาง แบ่งเป็นตัว หมากรุกสีแดงและสดี ำ 158

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เลม่ 2 2.2 ตัวหมาก มีหมากอยู่ทั้งหมด 32 ตัว แบ่งเป็นฝ่ายละ 16 ตัว โดยแบ่งเป็นสีดำ และสีแดง แตล่ ะฝ่ายมหี มากดังน้ี 1. General 1 ตัว (ฮอ่ งเต)้ 2. Chariot 2 ตวั (เรือ) 3. Horse 2 ตวั (มา้ ) 4. Soldier 5 ตัว (ทหาร) 5. Cannon 2 ตวั (ปนื ใหญ่) 6. Elephant 2 ตัว (ช้าง) 7. Advisor 2 ตัว (เรอื บนิ ) 159

ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เลม่ 2 แม่ทัพ (ต)่ี ตัวแม่ทัพในหมากรุกจีนใช้ตัวอักษรต่างกันในสีที่ต่างกัน แต่มีความหมาย ใกล้เคียงกัน ตัวสีแดงอ่านว่าช่วย (帥) ส่วนตัวสีดำอ่านว่าเจี้ยง (将) แต่สำหรับคน ไทยที่ได้รับอิทธิพลมาจากภาษาถิน่ จีนทางตอนใต้มาเยอะ เรามักจะเรยี กวา่ ต่ี ท้งั สองฝงั่ สถานะของแม่ทัพในหมากรุกจีนเทียบเท่ากับ ขุนในหมากรุกไทย นั่นคือเป็นตัว ท่ีสำคญั ที่สุดในเกม ถา้ ถกู กนิ เกมจะจบลงด้วยความพา่ ยแพ้ทันที องครกั ษ์ (ฉือ) สำหรับตัวองครักษ์ใช้ตัวอักษรที่ต่างกันเล็กน้อย แต่ความหมายและออกเสียง เหมือนกัน นั่นคือ ชื่อ ในภาษาจีนกลาง แต่คนไทยมักเรียกว่า ฉือ หรือ สือ ความหมาย ของตัวนีค้ อื องครักษ์ ช้าง (เฉีย) ตัวนี้ในภาษาจีนกลางออกเสียงเหมือนกัน (เซี่ยง) โดยคนไทยเรียกว่า “เฉีย” แต่ในเรื่องความหมายแล้ว ไม่เหมือนกันโดยสิน้ เชิง ตัวสีแดงแปลว่า “เสนาบดี” ส่วนตัว สีดำแปลวา่ “ชา้ ง” 160

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เล่ม 2 ทหารเลว (จุก) ตัวอักษรของทหารเลวในหมากรุกจีนจะใช้คนละตัว และอ่านออกเสียงคนละ แบบด้วย ในภาษาจีนกลาง ทหารเลวฝ่ายแดงอ่านว่า “ปิง” (兵) ส่วนฝ่ายดำอ่าน ว่า “จู๋” (卒) แต่คนไทยอ่านแบบท้องถิ่นว่า “จุก” ทั้งสองตัวแปลว่า “ทหารเลว” หรือ ทหารท่ัวไปเหมือนกัน มา้ (เบ)๊ ม้าในหมากรุกจีนใช้ตัวอักษรต่างกันเล็กน้อย แต่ทั้งความหมายและการออก เสยี งเหมือนกนั ทกุ ประการ ในภาษาจีนกลางอ่านว่า “หม่า” และแปลวา่ ม้า สว่ นคนไทย เรียกวา่ “เบ”๊ รถศึก (กือ) หมากตัวนี้จริงๆ แล้วคือ รถศึก (Chariot) แต่คนไทยมักว่าเรือ เพราะวิธีการ เดนิ เหมอื นกับเรือในหมากรกุ ไทยทุกประการ ในภาษาจีนกลางเรียกหมากทั้งสองว่า “จีว์” แม้ว่าตัวอักษรทั้งสองตัวนี้ โดยทั่วไปจะอ่านวา่ “เชอ” ซ่งึ แปลว่ารถกต็ าม ส่วนคนไทยเรยี กมนั ว่า “กอื ” 161

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เล่ม 2 ปืนใหญ่ (เผา่ ) หมากตัวนี้คือปืนใหญ่ ในภาษาจีนกลางอ่านตัวอักษรทั้งสองว่าเผ้า แม้ว่าจะ เขยี นต่างกนั เล็กน้อยก็ตาม ส่วนคนไทยเรยี กวา่ เผ่า ตำแหนง่ เริ่มตน้ แถวทอี่ ยูท่ างผเู้ ล่นแตล่ ะฝา่ ยจะเรียงจากขวาไปซ้าย คือ กอื (เรอื ), เบ๊ (มา้ ), เฉยี (ชา้ ง), สอื (องครกั ษ)์ , ตี่ (ขุน), สอื , เฉยี , เบ๊, กอื และข้ามเว้นไว้หน่งึ แถวปลอ่ ยว่างไว้ ไปวางเผา่ (ปืนใหญ)่ 2 ตวั ทแี่ ถวสาม สว่ นแถวทส่ี ว่ี างจุก (เบี้ย) 5 ตัว 3. การตดั สนิ และอุปกรณก์ ารตัดสนิ - ถา้ แมท่ พั เดินไม่ได้ ผ้เู ล่นทม่ี แี ม่ทัพท่ีเดินไมไ่ ดเ้ ป็นผแู้ พ้ - ถา้ แมท่ ัพประจนั หน้ากันโดยไมม่ ีตัวหมากมาขวาง ผ้ทู ่ที ำใหแ้ มท่ ัพประจนั หนา้ กันเป็นผู้แพ้ - หมากตัวรุกทงั้ สองฝา่ ยตายหมด หรอื เหลอื แต่ตัวทไี่ มส่ ามารถรกุ จนได้ เท่ากบั ว่าทงั้ สองฝา่ ยเสมอกัน 162

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เลม่ 2 4. อุปกรณ์ประกอบสนามแข่งขนั 4.1 โต๊ะแข่งขนั โต๊ะสำหรับการแข่งขั้นนั้นควรมีขนาดกว้าง ความยาว ความสูงไม่น้อย ไปกว่า 60 X 150 X 72.5 เซ็นติเมตร หน้าโต๊ะเป็นสีขาว สามารถวางกระดานได้ 2 กระดาน รองรบั นกั กีฬาได้ 4 คน ตอ่ 1โต๊ะ หรือ 2 คกู่ ารแขง่ ขนั 4.2 เก้าอี้ เกา้ อ้แี ขง่ ขนั สามารถปรบั เปลยี่ นได้เพ่อื ให้เกิดความเหมาะสมกบั โต๊ะแข่งขนั 4.3 ป้ายตั้งโต๊ะ ป้ายตั้งโต๊ะ ตั้งเพื่อบอกให้นักกีฬาทราบถึงตำแหน่งที่นั่งในการทำการแข่งขัน และชอ่ื กลุ่มของแต่ละคน 163

ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เลม่ 2 4.4 นาฬกิ าจบั เวลา 164

ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เลม่ 2 กีฬาหมากลอ้ ม มาตรฐานสนามแขง่ ขนั และอปุ กรณก์ ฬี า 1. ขนาดหอ้ งแขง่ ขนั 1.1 ห้องแข่งขนั กฬี าหมากลอ้ ม ขนาดห้องแข่งขันที่ใช้ในการจัดการแข่งขันกีฬาหมากล้อมนั้นจะพิจารณา ปรับเปลี่ยนตามจำนวนของนักกีฬาผู้เข้าร่วมการในแต่ละรายการ นั้นๆ ว่าสามารถ รองรับจำนวนผู้เขา้ ร่วมการแขง่ ขันได้เพียงพอหรอื ไม่ 1.2 การจดั การสนามแขง่ ขันกีฬาหมากล้อม การจัดสนามการแข่งขันนั้น จะต้องเว้นช่องว่างระยะห่างระหว่างโต๊ะทำการ แข่งขัน ทั้ง 4 ด้าน โดยควรเว้นระยะห่างในด้านบน,ด้านล่าง ไม่ต่ำกว่า 1.50 เมตร ด้านซ้าย ด้านขวา ไม่ต่ำกว่า 1.00 เมตร เพื่อให้เกิดความคล่องตัวในการเข้าถึงโต๊ะทำ การแข่งขันของกรรมการตัดสิน อีกทั้งไม่ส่งผลให้เกิดความแออัดต่อนักกีฬา ระหว่างที่ ทำการแข่งขันอยู่ และควรมีแนวกั้นผู้ชม สูงไม่ต่ำกว่า 75 เซนติเมตร โดยห่างจากโต๊ะ ทำการแข่งขัน 1.50 เมตร เพื่อกั้นไม่ให้ผู้ชมอยู่ใกล้นักกีฬามากเกินไป ซึ่งจะส่งผล รบกวนตอ่ สมาธิของนักกฬี าผู้ทำการแขง่ ขันได้ 165

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เลม่ 2 2. อุปกรณ์การแข่งขัน 2.1 กระดานหมากลอ้ ม กระดานหมากล้อมที่ใช้ในการแข่งขันนั้น จะทำจากวัสดุธรรมชาติ และ/หรือ วัสดุสังเคราะห์ ก็ได้ แต่ไม่ว่าจะทำจากวัสดุใดก็ตามจะต้องมี จำนวนจุดตัดบนกระดาน 361 จุดตัดโดยเกิดจากเส้นตรงแนวตั้ง จำนวน 19 เส้น ตัดกับเส้นตรงแนวนอน จำนวน 19 เส้น และมีจุดดาวบนกระดาน จำนวน 9 จุด โดยมีขนาดความกว้างของกระดานอยู่ ระหว่าง 42 - 45 เซนติเมตร และมีขนาดความยาวของกระดานอยู่ระหว่าง 44 - 46 เซนตเิ มตร กระดานหมากลอ้ มขนาด19 X19 ทำจากไม้ กระดานหมากล้อมขนาด19 X19 ทำจากฟวิ เจอร์บอรด์ 166

ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เล่ม 2 นอกจากกระดานหมากล้อมขนาด 19X19 แล้วนั้นยังมีกระดานหมากล้อม ขนาดอ่ืนๆอกี ซงึ่ เป็นทีน่ ิยมใช้ในการสอนความรหู้ มากล้อมเบ้อื งตน้ หรอื เลน่ เพ่อื ฝึกซ้อม แต่จะไม่นิยมใชใ้ นการแข่งขนั อีก 2 ขนาด ดังน้ี กระดานหมากลอ้ มขนาด13 X13 ทำจากฟวิ เจอรบ์ อรด์ กระดานหมากล้อมขนาด 9 X9 ทำจากฟิวเจอรบ์ อร์ด 2.2 ชดุ หมากล้อม 2.2.1 เม็ดหมากล้อม เม็ดหมากล้อมที่ใช้ในการแข่งขันนั้น จะทำจาก วสั ดุธรรมชาติ และ/หรือ วัสดุสงั เคราะห์ กไ็ ด้ แตไ่ ม่วา่ จะทำจากวสั ดใุ ดกต็ ามจะต้องระบุ สีได้อย่างชัดเจน คือสีดำ และสีขาว เม็ดหมากล้อมนั้นควรมีขนาดของเส้นผ่าศูนย์กลาง อยูร่ ะหว่าง 20 - 22 มลิ ลเิ มตร และมีความหนาระหวา่ ง 7 - 9 มิลลิเมตร 167

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เลม่ 2 เม็ดหมากล้อมสีขาว เมด็ หมากลอ้ มสดี ำ ภาพด้านข้างเมด็ หมากลอ้ ม 2.2.2 โถหมากล้อม โถหมากล้อมทใี่ ช้ในการแขง่ ขนั นนั้ จะทำจากวสั ดุธรรมชาติ และ/หรือ วัสดุสังเคราะห์ ก็ได้แต่ไม่ว่าจะทำจากวัสดุใดก็ตามจะต้องสามารถบรรจุเม็ด หมากได้ไม่ต่ำกว่า 150 เม็ด พร้อมทั้งมีฝาปิดโถหมากอยู่ด้วย โดยเมื่อมีการจับกินเม็ด หมากล้อม จะต้องนำหมากเชลย(เม็ดหมากของอีกฝ่ายที่ถูกจับกิน)มาใส่ในฝาปิดโถ หมากของฝา่ ยเราเสมอ โถหมากล้อมสขี าว และโถหมากล้อมสดี ำ หมากเชลยทีถ่ ูกจับกิน 2.3 นาฬกิ าจับเวลา นาฬิกาจับเวลาหมากล้อม ในการแข่งขันอย่างเป็นทางการนั้น จะเป็นนาฬิกาที่ มีเวลา ทั้ง 2 ฝ่ายโดยมีปุ่มกดในการหยุดเวลาและเดินเวลาได้ ซึ่งจะเป็นนาฬิการะบบ ดจิ ติ อล หรอื ระบบอนาล็อก กไ็ ด้ 168

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เล่ม 2 นาฬิการะบบดจิ ติ อล นาฬกิ าระบบอนาลอ็ ก นาฬกิ าระบบดิจติ อล นาฬกิ าระบบอนาลอ็ ก 3. อปุ กรณ์ประกอบสนามแข่งขัน 3. อุปกร3ณ.1ป์ รโตะก๊ะแอขบง่สขนันามแข่งขนั โ3ต.1๊ะสโตำหะ๊ แรับขกง่ ขารันแข่งขันนั้นควรมีขนาดกว้าง ความยาว ความสูง ไม่น้อยไปกว่า รร66ออ00งงXXรรับับ11นน55ักกัโ00ตกก๊XXะีฬีฬสาา377ำไไ.22ดดหอ..ปุ้้55ร44กับรเเ3ณคคกซซน.1ป์นนาา็็นนฬรโรตะตติกตตแกะ๊าิิเเแอ่่ออรขมมขะบ่งบ่งตตส11ขขบนรรันดัานโโจิมตตหหนติแะ๊ะ๊อขนนั้นล่งหห้้าาขคันโโรรวตตือือร๊๊ะะม22เเีขปปคคน็็นนกูู่่กาสสดาาีีขขรรกาาแแวววขข้า่ง่งงสสนขขาาาคันันฬมมวกิ าาาารรรมะถถบยบววาอาาวนงงากกคลอ็รรวกะะามดดสาานนูงไไไดดม้้ ่น22้อกกยรรไะะปดดกาาวนน่า โต๊ะสำหรับการแข่งขันนั้นควรมีขนาดกว้าง ความยาว ความสูง ไม่น้อยไปกว่า 60 X 150 X 72.5 เซ็นติเมตร หน้าโต๊ะเป็นสีขาว สามารถวางกระดานได้ 2 กระดาน รองรบั นกั กฬี าได้ 4 คน ต่อ 1 โต๊ะ หรือ 2 คู่การแขง่ ขนั 3.2 เกา้ อี้แขง่ ขัน เ3เกก.2า้้าออเีแ้้แีกขข้าง่่งอขขีแ้ นันั เ3ขก.สส2้า่งอาาขเี้แกมมขนั้าง่าาอขี้แรรันขถถสง่ าปปขมันรรารบัับถเเปปปรบั ลลเปีย่ีย่ ลนนีย่ นไไดดไดเ้้เเ้ พพพอ่ื อ่ืื่อใหใใเ้หหกดิ้เเ้ กกควิดิดามคคเหววมาาามมะสเเหหมกมมบั าาโตะะ๊ะสสแขมม่งขกกันบับั โโตต๊ะ๊ะแแขข่ง่งขขันัน 169

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เล่ม 2 3.3 ป้ายต้งั โตะ๊ ปา้ ยตั้งโตะ๊ ตง้ั เพื่อบอกใหน้ กั กีฬาทราบถึงตำแหนง่ ท่นี ั่งในการทำการแขง่ ขนั 3.4 ป้ายแสดงผลการแข่งขนั 3.5 โตะ๊ เจา้ หนา้ ที่จดั การแข่งขนั และประมวลผล 170

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เล่ม 2 กีฬาอสี ปอรต์ E-SPORT 1. มาตรฐานสนามแขง่ ขันและอปุ กรณก์ ฬี า 1.1 เกมวางแผน ( ทีม ) PC 1.2 เกมวางแผน ( ทีม ) Smart Phone 1.3 เกมวางแผน ( เด่ยี ว ) PC 1.4 เกมการ์ด ( เดี่ยว ) PC 1.5 เกมตอ่ สู้ ( เดย่ี ว ) PS4 1.6 เกมฟุตบอล ( เดยี่ ว ) PS4 สนามแขง่ ขนั เกม รายละเอียดสนามแข่งขัน - เวที : สงู 1 เมตร กวา้ ง 5 เมตร ยาว 12 เมตร - โตะ๊ : ขนาดมาตรฐานหรอื สงู 80 ซ.ม. กวา้ ง 80 ซ.ม. ยาว 100 ซ.ม - เกา้ อี้ : มีพนักพงิ เทา้ แขน ปรับสูง ปรับเอน มีระบบสปรงิ ทไี่ ม่สัน่ ไหว - ระบบแสง : สวา่ งเพยี งพอไม่รบกวนสายตา - ระบบไฟฟ้า : แยกรางปลก๊ั ไฟ มตี วั ควบคุมกระแสแยกจากระบบเมน - จอภาพ : บนเวทีมีการแสดงภาพในเกม และระบผุ ลการแข่งขัน - ระยะห่าง : ระยะหา่ งหัวไหล่ 50 ซ.ม. ไม่ใหก้ ระทบกนั - ทิศทาง : ผเู้ ล่นท้งั สองฝ่าย ไม่ควรมองเห็นภาพหนา้ จอฝา่ ยตรงขา้ ม - เสียง : เครอ่ื งขยายเสยี ง รับสญั ญาณจากเกม 171

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เล่ม 2 2. อปุ กรณ์การแข่งขนั เกม 2.1 คอมพวิ เตอร์ CPU - Processor: Intel® Core™ i7 5930K ขึ้นไป จำนวน ไมน่ อ้ ยกว่า 6 core 12 thread - Memory: ไมน่ ้อยกว่า 32 GB DDR4 ความเรว็ bus ไม่ตำ่ กวา่ 2666 172

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เล่ม 2 - GPU: จำนวน Memory ไมน่ อ้ ยกวา่ 6 GB - Power Supply: ไมน่ อ้ ยกวา่ 1200 Watt - Storage: SSD ความจไุ มน่ ้อยกวา่ 500 GB - OS: Microsoft Windows 10 64-bit 173

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เลม่ 2 มอนเิ ตอร์ - Monitor : การแสดงผลของหน้าจอไม่นอ้ ยกวา่ 144hz เมาส์ - ควรมคี วามละเอยี ด DPI ระดบั 12000 +/- 2000 คยี บ์ อรด์ - ร่นุ Full Size ไมค่ วรรุ่นย่อส่วน - แปน้ พิมพ์มีไฟเรอื งแสงช่วยใหเ้ หน็ ในทแ่ี สงนอ้ ย หูฟงั - ควรเปน็ หูฟงั ทใี่ หเ้ สียงครบ ตดั เสียงรบกวน เชอ่ื มตอ่ ไดห้ ลากหลาย 174

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เลม่ 2 อปุ กรณก์ ารแข่งขันเกมทีใ่ ชม้ ือถือสมารท์ โฟน 2.2 สมารท์ โฟน - Iphone 8 plus ขึน้ ไป - Android รุน่ ท่ีใชช้ ปิ เซ็ต Qualcomm Snapdragon 855+ - มีขนาดหนา้ จอไม่ตำ่ กว่า 6.5 นว้ิ - หนว่ ยความจำ 512 GB - แรม 12 GB หูฟัง - ควรเป็นหฟู ังท่ีให้เสียงครบ ตดั เสยี งรบกวน 175

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เล่ม 2 2.3 เครื่อง Console - PS4 การแต่งกายนกั กีฬา - เสือ้ ทมี กางเกงขายาว - รองเทา้ ผา้ ใบ รองเทา้ กีฬา 176

ขนาดสนามและอุปกรณ์กฬี า เลม่ 2 กฬี าเอ็กซ์ตรมี มาตรฐานสนามแขง่ ขันและอุปกรณก์ ีฬา 1. มาตรฐานสนามแข่งขัน เป็นไปตามท่ีคณะกรรมการจดั การแข่งขันกำหนด โดยแบง่ ตามประเภทของการ แข่งขัน 177

ขนาดสนามและอุปกรณ์กฬี า เล่ม 2 2. อุปกรณก์ ารแข่งขัน 2.1 อุปกรณส์ เก็ตบอร์ด สเก็ตบอร์ดถูกสร้างขึ้นจากตัวบอร์ดซึ่งทำเป็นที่วางเท้า ใต้บอร์ดจะมีโครงเหลก็ (ทรคั ) ตดิ อยู่สองอนั ซงึ่ ลอ้ กจ็ ะตดิ อยู่กบั โครงเหล็กน้นั ลูกปืนล้อ (Bearings) ลูกปืนล้อเป็นส่วนของสเก็ตบอร์ดที่จะเชื่อมกับล้อที่ หมุนไปรอบๆ อัตรามาตรฐานสากลสำหรับตัวรับน้ำหนักคือ ABAC ลำดับ ABAC ที่มาก ขนึ้ ชใ้ี ห้เห็นว่าแกนล้อจะหมุนไดเ้ ร็วมากข้นึ ตัวล็อค (Retainers / Keepers): จะแบ่งที่ว่างระหว่างล้อให้เป็นไปอย่าง ถูกต้องอาจจะทำจากทองเหลือง, สเตนเลส หรือฟานาลิค ซึ่งจะมีการจัดลำดับคุณภาพ จากต่ำไปยังสงู ตามลำดบั ดงั กลา่ ว ตัวบอร์ด (Board / Deck) พื้นที่ของตัวบอร์ดมักจะทำมาจากแผ่นไม้สีอ่อน เรียบๆ ส่วนโค้ง (Concave): เป็นลักษณะโครงร่างของตัวบอร์ด แนวโค้งจะเริ่มจาก ซ้ายไปขวาและไม่ควรจะเท่ากัน ด้านเว้าดังกล่าวจะสร้างความแข็งแรงให้กับบอร์ด และ ชว่ ยให้นักสเกต็ ทรงตวั ไดข้ ณะท่ีแสดงทว่ งทา่ ตา่ งๆ กระดาษทรายที่ใช้ยึด (Grip tape): ใช้ด้านหลังของกระดาษทรายติดกับ ส่วนบนของตัวบอรด์ แผ่นไม้อดั (Ply): เปน็ วัสดุทใ่ี ชท้ ำตวั บอร์ดที่แพร่หลายมากทสี่ ดุ ซง่ึ ส่วนมากจะ ใชไ้ ม้อดั 7 ช้ัน 178

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เลม่ 2 ราว (Rails): ขอบบนตัวบอร์ดทอี่ ย่ดู ้านใดดา้ นหน่ึงของบอรด์ ระหว่างตวั ทรคั บอรด์ สำหรับเนนิ ลาด (Ramp boards): มลี ้อทใี่ หญแ่ ละม่ันคงบนทรัคทกี่ วา้ ง เพือ่ ทำใหบ้ อรด์ ม่นั คงทส่ี ุดเท่าท่จี ะเปน็ ไปได้ สลิค (Slick): บอร์ดที่มีชั้นของพลาสติกเชื่อมด้านล่างเพื่อเพิ่มความแข็งแกร่ง และช่วยในการสไลด์ โดยมากสลิคจะหนักกว่าบอร์ดไม้ธรรมดา นักสเก็ตที่เล่นอย่าง จรงิ จงั มักจะชอบบอร์ดไมม้ ากกว่า สเตน (Stain): บอร์ดธรรมดาท่ีไมม่ ดี า้ นล่างแบบลน่ื ๆ บอรด์ แบบปารค์ หรอื สตรที (Park / Street boards): ขนาดสน้ั และแคบกวา่ บอร์ดสำหรับเนนิ ลาด และมลี อ้ ทแ่ี ขง็ กว่า โครงเหล็กที่ยึดล้อ (ทรัค) ทรัคจะยึดกับตัวบอร์ดและล้อจะติดกับตัวทรัค การ ติดต้งั ทรคั ทสี่ มบูรณจ์ ะประกอบด้วยฐานรอง, ตะขอ,วงล้อ, แกนลอ้ , ตวั ลดแรงเสียดทาน , แผ่นกระดานแนวตั้ง,ห่วงโลหะ 2 วงและเกลียวอีก 2 ตัวสำหรับวงล้อ สเก็ตบอร์ดตัว หนงึ่ จะต้องใชท้ รคั หน่งึ คู่ ทรัคเปน็ ปัจจัยทส่ี ำคัญท่ีสดุ ในการบงั คบั ทศิ ทางของสเกต็ บอร์ด ระยะห่างระหว่าตัวทรัคจะเป็นตัวกำหนดรัศมีวงโค้งของบอร์ด ยิ่งมีระยะห่าง ระหว่างทรัคมากเท่าไหร่ วงโค้งตอนเล้ียวก็จะกวา้ งเท่านั้น ถ้าระยะหา่ งกว้างเกินไป การ หักเลี้ยวก็จะยากขึ้น ถ้าแคบเกินไปก็จะทำให้บอร์ดกระดกได้ ทรัคมีความสงู หลายระดับ ตั้งแต่ระดับต่ำ สำหรับล้อเล็กและท่า Ollies และทรัคที่สูงขึ้นเพื่อล้อ ที่ใหญ่กว่าในการ แลน่ บอร์ด แกนล้อ (Axle): เป็นทอ่ นโลหะท่ที ะลผุ ่านสายรดั และมลี ้อตดิ อยทู่ ี่ปลายทัง้ สอง ขา้ ง บางครัง้ ปลายท้ังสองขา้ งอาจจะ ‘ลน่ื ’ และทำใหล้ อ้ หน่งึ แน่นและอกี ล้อหนงึ่ หลวม ฐานรอง (Base plate): เป็นส่วนที่ราบเรียบของทรัคที่จะยึดกับบอร์ดโดยใช้ ตวั ยึด 4 ตวั นอกจากนน้ั ฐานรองดงั กล่าวยังมีพืน้ ท่ีใช้เชอ่ื มติดกับ bushing ที่สำคัญและ kingpin ทเี่ ตรยี มพรอ้ มสำหรบั การติดกับส่วนของทรคั ที่เหลือ เป็นวัสดุที่ใช้เชอื่ มทรัคกับ ตัวบอร์ด ทรคั หนง่ึ ๆ จะใช้ตวั ยึด 4 ตัว ตวั กนั กระแทก (Bushings): ตวั แบง่ ช่องว่ายรู ีเธนทอี่ ยู่ระหว่างฐานรองกับทรัค ซงึ่ ชว่ ยรองรบั ขอบทรคั ในขณะเลี้ยว เป็นสว่ นหนงึ่ ของ kingpin ทีย่ ดึ ตวั ทรคั ไว้ดว้ ยกนั 179

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เลม่ 2 Durometer: หนว่ ยวัดความยืดหย่นุ ของยางยูรีเธน ความแขง็ ของทรัค หรอื ตวั กันกระแทก ตัวกันกระแทกที่นุ่มจะช่วยให้การเลี้ยวง่ายขึ้นและทำให้ทรัคหลวมขึ้นซ่ึง คล่องตัวมากกว่าตัวกันกระแทกท่ีแข็งจะทำให้การเลี้ยวยากข้ึนและทำให้ทรัคแน่นขึ้นซึ่ง จะทำให้เกิดความมั่นคงมากกว่า นอกจากนั้นยังจะทำให้ผู้เล่นหมุนตัวได้ฉับพลันกว่า ขณะท่เี ล่นทา่ Ollie นักสเก็ตอาจจะใช้ดูโรมิเตอร์ที่ต่างกันระหว่างด้านหน้าและด้านหลังเพื่อให้บอร์ดมีการ ตอบสนองท่แี ปลกออกไปขณะที่กำลงั เล่นสเก็ตอยู่ ตะขอ (Hanger): ส่วนของทรัคที่ถูกกระแทกมากที่สุด ขณะที่กำลังแล่นเลียด พน้ื ส่วนบนของตะขอกจ็ ะกระแทกพืน้ ภายในตะขอก็คือแกนล้อ สลัก (Kingpin): สลกั ทย่ี ึดตะขอ, ตวั กนั กระแทก และฐานรองไว้ด้วยกัน ตัวยก (Riser): ชนิ้ ส่วนพลาสตกิ ใตฐ้ านของทรคั ยกฐานสงู ขึน้ เพอ่ื ให้ล้อหมุนได้ อย่างคล่องตัวย่ิงขน้ึ มกั จะใชก้ ับล้อทมี่ ขี นาดใหญ่ ล้อ (Wheel): ยึดติดอยู่กับทรัค นอกเหนือจากล้อยูรีเธนแบบมาตรฐาน ใน ปจั จุบันยังมีล้อทภี่ ายในใช้เปน็ ไนลอน หรือพลาสติกชน้ั สงู อยูอ่ ีกดว้ ย ล้อควรขนานไปกับ ราวหรือขอบของบอร์ดล้อที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางใหญ่ขึ้นจะหมุนข้ามหินเล็กๆและเส้นทาง ที่ขรุขระได้เร็วและดีกว่าล้อที่นุ่มจะใช้กับบอร์ดยาวสำหรับการเล่นบอร์ดไม่ใช่การ แข่งขัน ล้อดังกล่าวจะทำให้ความเร็วลดลง แต่ก็จะลื่นน้อยลงในถนนที่สกปรกหรือเต็ม ไปดว้ ยทรายลอ้ ท่ีแขง็ จะใช้กบั เนินลาดสำหรับ vert และจะจบทา่ ไดน้ มุ่ นวลกว่าล้อทแ่ี ขง็ จะทำให้ความเร็วเพิ่มขึ้นจาการสัมผัสพื้นผิวที่ดีกว่า และมีการแยกจากพื้นผิวได้เร็วกว่า และสมำ่ เสมอกวา่ ล้อทีแ่ นน่ สามารถใชใ้ นการแข่งขันได้ แตโ่ ดยมากจะไม่นยิ มใช้กันล้อที่ แน่นเป็นพิเศษโดยทว่ั ไปจะใช้กบั พาร์คและสตรที (Park/Street) อุปกรณเ์ สริมอน่ื ( Miscellaneous Gear ) หมวกกนั นอ็ ค : ควรสวมใส่เพอื่ ลดการกระแทก 180

ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เล่ม 2 สนับมือ : สนับมือช่วยรถแรงกระแทกที่ข้อมือ ช่วยลดการบาทเจ็บข้อต่อ บริเวณเขา่ สนับศอก: สนับเข่าและหมวก มักจะมีการใช้ที่รัดเข่าด้วยโดยจะพันรอบๆ เพ่ือ ปกป้อง รองเท้า: มักเป็นที่รองเท้าวิ่งแบบพื้นต่ำไปจนถึงค่อนข้างสูง และมีหลากหลาย แบบต้งั แตท่ ำด้วยหนงั ไปจนถึงผา้ ใบ 181

ขนาดสนามและอุปกรณ์กฬี า เลม่ 2 2.2 อินไลน์สเกต็ อุปกรณ์ อุปกรณ์ที่สำคัญที่สุดสำหรับ นักสเก็ตแบบอินไลน์คือรองเท้าสเก็ต แม้ดูเผินๆ แล้วรองเท้าสเก็ตแบบอินไลน์ทั้งหมดอาจดูเหมือนๆกันแต่อุปกรณ์เสริมต่างๆ ที่นัก อินไลน์สเก็ตจะใช้กับรองเท้าสเก็ตของพวกเขาจะต้องเป็นอุปกรณ์แบบพิเศษที่รองรับ การกระแทกได้ เกราะหมุ้ (Shell ) • เปลือกหุ้มเป็นส่วนแข็งด้านนอกของสเก็ต เปลือกหุ้มของอินไลน์สเกต็ แบบ Aggressive จะทำด้วยพลาสติกที่ทนทานเป็นพิเศษเพื่อความทนทานต่อ ท่วงท่าAggressiveของสเก็ตประเภทนี้ กล่าวคือเปลือกหุ้มจะสามารถทน ตอ่ การกระแทกหรือแรงตอนลงพ้นื ขณะท่เี ลน่ ทว่ งทา่ Aggressiveได้ • รองเท้าสเก็ตแบบ Aggressive ไม่มีระบบระบายอากาศแบบสเก็ตที่ใช้ เล่นเพื่อความสนกุ สนานเพราะระบบดังกลา่ วจะลดความแข็งแรงและความ ทนทานของเปลือกหุ้มพลาสตกิ ไป • เกราะหุ้มยังเป็นบริเวณที่พันเชือกรัดรอบส่วนบนของรองเท้าชั้นใน เชือก รดั นจี้ ะช่วยใหเ้ ทา้ ของผู้เล่นอยู่ในตำแหน่ง • รองเท้าสเก็ตส่วนใหญ่รวมทั้งแบบ Aggressiv จะใช้โครงสร้างเกราะหุ้ม แบบพับได้ ซึ่งมีหมุดเชื่อมส่วนบนของรองเท้าชั้นในกับส่วนล่างหรือตัว เกราะหุ้ม โครงสร้างของเกราะหุ้มแบบพบั ไดน้ ีจ้ ะแข็งแต่ผู้เล่นกจ็ ะสามารถ งอขาส่วนลา่ งไปขา้ งหนา้ ได้ สายรดั พาวเวอร์ (Power Strap) ในปัจจุบันสเก็ตแบบAggressive บางคู่จะมีสายรัดพาวเวอร์ซึ่งเป็นสายรัดท่ี เริ่มจากด้านหลังของรองเท้าด้านในเข้าไปที่หน้ารองเท้า สายรัดนี้จะช่วยให้ส้นเท้าของ นักสเก็ตแบบ Aggressive อยู่กับที่ และป้องกันมิให้เท้าภายในรองเท้าชั้นในของนักส เก็ตขยบั เขยอ้ื น 182

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เล่ม 2 รองเทา้ ชัน้ ใน (Liner) รองเท้าชั้นในหรือบู๊ทเป็นส่วนหนึ่งของรองเท้าสเก็ตที่สัมผัสกับเท้าโดยตรง โดยมากแล้วบู๊ทจะทำมาจากยางที่มีความหนาแน่นแตกต่างกันไปซึ่งจะทำหน้าที่เป็นที่ รองรับเท้าและทำให้เท้ามัน่ คงด้วย ยงิ่ ยางมคี วามหนาแนน่ มากเทา่ ไร ตัวปอ้ งกันเท้าก็จะ แขง็ แรงขน้ึ เทา่ น้ัน และสเกต็ ก็จะตอบสนองได้ฉบั ไวมากขึน้ ด้วย เฟรม (Frame) เฟรมของสเก็ตหรือโครงช่วงล่างเป็นส่วนของสเก็ตที่เชื่อมรองเท้าชั้นในเข้ากับ ล้อ โครงร่างของสเก็ตแบบAggressive จะต้องทนแรงกระแทกและแรงดันภายในได้ มากกว่ารองเท้าสเก็ตที่ใช้เล่นเพื่อความสนุกสนานแต่เพียงอย่างเดียว มีการสร้างเฟรม โดยใชอ้ ลูมนิ ยี มและพลาสตกิ ซึง่ นักสเก็ตแบบ vert จะนยิ มอลูมเิ นียมมากกวา่ เฟรมที่ติดพื้นดินมากกว่าจะมีความมั่นคงมากกว่าและจะช่วยให้ผู้เล่นมีศูนย์ ถ่วงจำเพาะที่ตำ่ กว่า และยิ่งส่วนล่างของเฟรมใกล้กับเท้าของผู้เล่นมากเท่าไร ผู้เล่นกจ็ ะ สำผัสถึงความรู้สึกตอนไถสเกต็ ได้ดยี ่งิ ขึน้ เทา่ น้ัน ความนิยมปัจจุบันคือการทำให้เฟรมติดพื้นมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ ขณะท่ี ขนาดของล้อยังคงเท่าเดิม ซึ่งปกติแล้วจะเป็นขนาดเล็กกว่า 50-67 ม.ม. สิ่งสำคัญอีก ประการหนึ่งสำหรับเฟรมก็คอื วิธีติดเฟรมกับฐานของรองเท้าสเกต็ ท่าโซล กรินด์ (Soul Grind) จะทำใหเ้ กดิ แรงกดดนั เป็นพิเศษทบี่ ริเวณขอ้ ตอ่ ระหว่างเฟรมกบั รองเทา้ บริเวณที่ มีหมุดติดเฟรมไว้กับฐานของรองเท้าอย่างหนาแน่นบริษัทสเก็ตบางแห่งเริ่มซ่อนหมุดไว้ ดา้ นในซ่งึ ทำให้ไม่พังหรอื เสื่อมสภาพได้ง่าย ไกรนด์ เพลท (Grind Plates) เป็นส่วนเสริมจากตัวเฟรมของสเก็ตแบบ Aggressive และมักติดอยูท่ างด้านหน้าของรองเท้าสเก็ต ระหว่างล้อที่ 2 และ 3 รูปทรง ของไกรนด์ เพลทเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าซึ่งจะมีร่องโค้งเล็กๆอยู่ตรงกลางขอบด้านล่าง หน้าที่ของไกรนด์ เพลท คือ ป้องกันไม่ให้เฟรมสึกหรือฉีกขาดเมื่อผู้เล่นไถสเก็ต ไกรนด์ เพลท ผลิตจากโลหะหรอื พลาสติก ผู้เล่นท่ีใช้ไกรนด์ เพลทโลหะจะต้องอาศัยการทรงตัว ที่ดีกว่าและชำนาญในการไถสเก็ตกับพืน้ ผิวโลหะ ผู้ใช้ไกรนด์ เพลทพลาสติกส่วนมากจะ เปน็ นกั สเก็ตแบบ street ที่ไถสเก็ตไปตามขอบถนน 183

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เล่ม 2 ไกรนด์ โพสท์ (Grind Post) หัวเสียบพลาสติกอันเล็กที่อยู่ระหว่างล้อที่ 2 และ 3 ของสเกต็ แบบ Aggressive หนา้ ทขี่ องไกรนด์ โพสท์ คือปกป้องตัวเฟรมจากการ ฉีกขาดเมอื่ แสดงท่วงทา่ ท่ตี อ้ งใชก้ ารไถและช่วยเปน็ ตวั ผ่อนแรงเฟรม ล้อ (Wheels) ล้อผลิตจากวัสดุโพลียูรีเธนซึ่งเป็นพลาสติกคล้ายยางที่ทนทาน ต่อแรงกระแทกและการสกึ กร่อน ขนาด : จะมีความแตกต่างกันไป ซึ่งโดยมากจะอยู่ระหว่าง 44 ม.ม. – 82 ม. ม. ล้อขนาดใหญ่จะช่วยหมุนได้ เร็วขึ้นและมีพ้ืนท่ีสำหรบั รบั แรงส่ันสะเทือนมากข้ึน ล้อ ที่มีขนาดเล็กกว่าจะทำให้ผู้เล่นเคลื่อนไหวได้คล่องแคล่วกว่า สามารถเร่งความเร็วได้เร็ว ขึ้น แต่จะลื่นไหลได้ช้าลง ล้อที่เล็กกว่ายังทำให้เกิดพื้นที่ว่างบริเวณด้านล่างของสเก็ตซ่ึง ทำให้การไถสเก็ตทำได้ง่ายขึ้น ในขณะที่ล้อขนาดใหญ่จะสะดุดพื้นผิวสิ่งกีดขวางได้ง่าย กว่า ผู้เล่นสเก็ตแบบ Aggressive โดยมากจะชอบล้อที่เล็กกว่าและมีแนวโน้มที่จะ ใช้ ล้อท่เี ล็กลงเร่อื ยๆกับตัวเฟรม Durometer: มาตรวัดความแข็งของยาง ยิ่งค่าของดูโรมิเตอร์สูงขึ้นมาก เท่าไหร่ ล้อก็จะมีความทนทานมากขึ้นเท่านั้นและยังช่วยให้มีความเร็วเพิ่มขึ้นแต่ก็มแี รง ดึงและความสามารถในการรับแรงสั่นสะเทือนได้น้อยลง ผู้เล่นสเก็ตแบบ Aggressive นิยมล้อที่มีค่าตามดูโรมิเตอร์สูงและยอมแลกแรงดึงและการรับแรงสั่นสะเทือนเพื่อให้มี ความทนทานและความเร็วเพม่ิ ข้นึ การตดิ ตง้ั ลอ้ (Wheel alignment / rocker): ผเู้ ลน่ สามารถตั้งล้อในเฟรมได้ 3 วิธี 1. การติดตั้งแบบร็อคเกอร์ ( rocker setup) คือ การที่ล้อตำแหน่ง ที่ 2 และ 3 จะถอยลงมาอยู่ต่ำกว่าล้อแรกและล้อที่ 4 เมื่อมองดูแล้ว ลักษณะของการ ติดตง้ั ล้อแบบน้ีจะดูเหมือนส่วนล่างของเก้าอ้ีโยกหรอื เสน้ โคง้ พาราโบลาแบบกว้าง 2.การติดตั้งแบบแบนเรียบ ( flat setup) คือ การที่ล้อทั้งสี่สัมผัส พื้นจะมีความสงู เท่ากัน ถึงแม้แต่ก่อนการติดตั้งแบบนี้ไม่เป็นที่นยิ มมากนัก แต่ปัจจุบันมี ผู้ใชก้ ารตดิ ต้ังล้อแบบแบนเรียบน้ีถงึ 1/3 หรือ ½ ของจำนวนผู้เล่นอนิ -ไลน์ สเกต็ ท้ังหมด 3. การตั้งแบบ แอนตี-ร็อคเกอร์ (anti-rocker setup) เป็นการ ติดตั้งแบบตรงข้ามกับการติดตั้งแบบร็อคเกอร์ ล้อที่ 2 และ 3 จะมีขนาดเล็กกว่าหรือไม่ 184

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เลม่ 2 ก็ถูกยกขึ้นมาให้สูงขึ้นกว่าล้อที่ 1 และ 4 เมื่อมองดูแล้ว วิธีการติดตั้งแบบแอนตี-ร็อค เกอกร็ถ์นูกี้จยกะขมึ้นีลมักาษใหณ้สะูงเขหึ้นมกือวน่าลก้อับทสี่ า1ยแรลุ้งะถ4ึงแเมมื่อ้วม่าอกงาดรูแตลิด้วตวั้งิธแีกบารบตนิดี้จตะั้งแจบำกบัดแอกนารตคี-รว็อบคคุม ทิศเทกาองรข์นอี้จงะผมู้เีลลัก่นษในณขะณเหะมเือลนี้ยกวับแสตาย่กร็ทุ้งำถใหึงแ้มมีแ้วร่างกยาึดรดตีขิดึ้ ตนั้งในแบขบณนะี้จเละจ่นำทก่าัดรกาาวรบคันวบไดคแุมบบ กเรAเคควีฬgรรมgทรAกเเาือ่อ่ืคคถวrีฬชิgศงงรรeมึงgนาปทื่อปือ่สsถrชงิาดอ้งseอ้าึงนปปงiสงsนยงvขิดอ้sกผอ้ากรี้eใiองนยนัูงv้ชเัดนั กผลงกรี้eให้จขผันู้ชเัด่นัน(ละ้อนู้หเ้จขPสลใ่นม้า(ะ้อนrหเP่นแสือoใมกา้ ญrหขใเ,แtือo็ตกนญe้งข่สก,tแ็ตขเceง้น่สวกพบแณเtc่านวพับอื่บiบtvท่ะาับอื่เiปบvทeขเ่ีผเปลA้อeขี่่าผู้Aเ้อี้Gยง่าgทลู้เGงกgทลวge่นี่ยกgeันr่นี่ยaันาrแสeaากสerวกตเsrว)าเsกเ)าs่กกเปsรปร็iต็i็ตทvเ็นvเ็นลเลเeำeพพพพน่่นใื่อหิืเ่จอิเจพพศศคคะ้ะมลลษษสวสวีแาาแแาาววดรดลมลมมงมดดะสะยหส้วห้วสนสึดยนมยมนุกนดวุกวบั สีกขบั สกศนึ้แนศนแอาลใอาลกนนะกนะใเขสคชใเสณนคช้รนนับื้่รอะนับอเื่เองขลกอปเง่าข่นจกป้อแ่าทาจง้ลอแกก่าาะงลนรันกขกะาั้นกนอ้ันขวาศั้นบยกอ้ รอังัานศกยกมรอไรทังีกดกะกมี่ผาแรแทีกู้รเะบทลใี่ผาแบส่นกู้รเท่ลใสน่ก่ ในกในารกแารขแ่งขข่งันขันนักนสักเสกเ็ตก็ตสสมมัคัครรเลเล่น่นจจะะตต้อ้องงสสววมมเเคครรื่อื่องงปป้อ้องงกกันันคครรบบชชุดุดรวรมวถมึงถสึงาสยารยัดรขัด้อขม้อือมือ ในขในณขะณทะี่นทักี่นสักเสกเ็ตกม็ตือมอือาอชาชีพีพจจะะสสววมมเเพพียียงงหหมมววกกแแลละะเเคครรื่อื่องงปป้อ้องกงกันันเขเ่าขข่าอขงอพงวพกวเกขาเข(าถ(้าใถส้า่ ใส่ กางกเากงงเขกางขสา้ันส้นัจะจตะ้อตง้อใงสใ่ส่สนนบั บั เขเข่าา่ แแตต่ถถ่ า้ ้ากกางเกงนัน้ ยยาาววคคลลมุ มุ เขเขา่ า่กกไ็ ม็ไม่จำ่จเำปเน็ป)็น) 185

ขนาดสนามและอุปกรณ์กฬี า เลม่ 2 2.3 จักรยานผาดโผน อุปกรณ์เพียงอย่างเดียวที่ต้องการในการขี่จักรยานผาดโผนก็คือจักรยาน แต่ ลักษณะของจักรยานที่ใช้จะต้องมีส่วนช่วยให้นักขี่ดึงเอาลูกเล่นเด็ดต่างๆของพวกเขา ออกมาใช้ได้ และจกั รยานยังคงเป็นจักรยานอยู่จนกระทั่งจบการแสดง จกั รยาน • จักรยานสำหรับเลน่ แบบเวิร์ทส่วนใหญ่จะมีท่ีพักเท้า 4 อันกล่าวคือติด อยูด่ ้านละ 2 อนั แฮนดจ์ ักรยานจะใหญก่ ว่าและอานกจ็ ะสงู กวา่ จักรยานแบบพารค์ หรือ สตรีทเล็กน้อย จักรยานสำหรับเวิรท์ได้รับการประกอบขึ้นให้มั่นคงแข็งแรงเพื่อรองรับ ความเรว็ สงู ๆตลอดจนทว่ งทา่ ลลี าต่างๆ • จักรยานแบบพาร์คประกอบด้วยที่พักเท้า 2-4 อันหรือไม่ใส่เลย โดยท่วั ไปแลว้ แฮนด์ และอานน่ังจะตำ่ กวา่ และสนั้ กวา่ แฮนด์จะปรบั มาด้านหลังเข้าหา ตัวผู้ขี่มากกว่า ผู้ขี่ส่วนใหญ่จะใช้เบรคหลังซึ่งมีสายเบรคที่ยาวหรือมี detangler หรือ อาจจะไมม่ ีเบรคเลยกไ็ ด้ นกั ข่ีแบบพาร์คจะนิยมรถจักรยานทค่ี ลอ่ งแคล่วปราดเปรียว ซ่ึง ชว่ ยใหก้ ระโดดไดข้ ึน้ หรอื ลงจากแพลตฟอรม์ ได้สงู ขน้ึ เบรก • จักรยานแบบฟรีสไตล์อาจมีทั้งเบรคหน้า และเบรคหลัง ขึ้นอยู่กับ ความชอบส่วนบุคคลของผู้ขี่ นักขี่แบบพาร์คและเดิร์ท จัมพ์เปอร์ส่วนใหญ่จะใช้เพียง เบรกหลัง หรือไม่ใช้เบรคเลย ในขณะที่นักขี่แบบเวิร์ทจะใช้ทั้ง 2 แบบ ส่วนการใช้เบรก ของนักขี่แบบแฟลตแลนด์นั้นส่วนใหญ่จะเน้นเบรกหน้า แฟลตแลนด์จะมีดุม coaster หรือ free coaster ซึง่ จะช่วยให้ขาจานไมห่ มุนตามเมอื่ ขณะทำการเล่นถอยหลงั • ลักษณะเฉพาะอย่างหนึ่งของจักรยานเหล่านี้ก็คือ จักรยานจะมีสาย ต่างๆ ที่ยาวมากเพื่อว่านักขี่จะได้ไมต่ ้องแก้สายออกหลังจากที่เล่นทา่ ต่างๆ (เช่นการควง แฮนด์) หรือไม่จักรยานเหล่านี้ก็ต้องมี detangler ซึ่งจะติดอยู่ใต้แกนของคันบังคับ (ตัว ยึดตะเกียบกับแฮนด์เข้าด้วยกัน) detangler นี้จะแยกสายเบรกหลังด้วยจาน 2 จานท่ี สามารถหมุนได้โดยอิสระแต่ยังคงดึงกันอยู่เมื่อต้องเบรค เบรกหน้าจะทอดยาวลงเบื้อง ล่างผ่านคอรถและตะเกียบทีก่ ลวง ระบบนี้จะชว่ ยให้ทัง้ เบรคหน้า และหลังสามารถหมุน ไดโ้ ดยรอบทำใหผ้ ขู้ ี่ไม่จำเปน็ ตอ้ งยอ้ นกลบั ไปเล่นท่าเดมิ เพอ่ื แก้สายเบรคทพ่ี ันกนั ออก 186

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เลม่ 2 ตัวถงั รถ • จกั รยานแบบฟรสี ไตลจ์ ะมขี นาดตัวถงั ทีแ่ ตกต่างออกไป ซึ่งมกั แบง่ แยก ขนาดลงไปเป็นเล็ก กลางและใหญ่ ขนาดของตัวถังถูกกำหนดด้วยความยาวของแกน บนสุด (ซ่งึ ยาวต้ังแต่อานน่งั ไปจนถึงแกนล้อดา้ นหน้าใตค้ อรถ) • จักรยานสำหรับแฟลตแลนด์มักมีขนาดสั้นกว่าจักรยานสำหรับเวิร์ท พาร์คและเดิร์ทอยู่ 4-5 เซนติเมตร • ในด้านเทคโนโลยีการผลิตจักรยานฟรีสไตล์น้ำหนักของรถนั้นจะมี น้ำหนักเบาและยังคงความแข็งแกร่งและความทนทาน ซึ่งต่างจากจักรยานเสือภูเขา และจักรยานถนนท่ีน้ำหนักของรถถือเป็นเรื่องที่สำคญั ยิ่งจักรยานฟรีสไตล์จำเป็นจะต้อง สามารถรองรบั น้ำหนักจากการกระโดดแตล่ ะคร้ัง ดังนั้นอลูมิเนียมจงึ ไม่นิยมนำมาใช้ใน การผลิตจักรยานฟรีสไตล์ แต่เป็นโลหะผสมที่เรียกว่า cromoly มากกว่าในขณะที่ จักรยานถนนสำหรับมืออาชีพหนัก 8-9 กิโลกรัม และจักรยานเสือภูเขาสำหรับมืออาชพี อาจ หนัก 10 กิโลกรัม นักขี่จักรยานผาดโผนมืออาชีพทั้งเดิร์ท เวิร์ทและพาร์ค จะใช้ จกั รยานทีม่ นี ำ้ หนักเฉลยี่ 11-15 กโิ ลกรัม ทพี่ กั เท้า • ด้วยการเล่นท่าต่างๆแบบเวิร์ท หรือไถไปตามขอบต่างๆแบบพาร์ค หรอื การรองรบั ร่างของผู้ข่ีจากการโชว์หลาย ทรคิ ตดิ ต่อกันแบบแฟลตแลนด์ รถจักรยาน แบบฟรีสไตล์จึงมีที่พักขารูปทรงกระบอกผลิตจากวัสดุเหล็กกล้า หรืออลูมิเนียมติดอยู่ กบั แกนลอ้ และยดึ แน่นด้วยแป้นเกลียวแกนล้อ ท่พี กั เทา้ น้มี ีความยาว 10-12 เซนตเิ มตร วดั จากจุดศูนย์กลางของล้อ และจะตดิ อยู่ด้านใดดา้ นหน่ึงหรอื ทั้งสองด้านของตวั รถ • ที่พักเท้าของจักรยานแฟลตแลนด์มักมีเส้นผา่ ศนู ยก์ ลางที่ใหญ่กวา่ และ แข็งแรงกวา่ ทพี่ กั เทา้ ของจักรยานประเภทอ่นื ๆ เคร่ืองปอ้ งกนั • ในการแข่งขันจักรยานผาดโผน ยกเว้นแบบแฟลตแลนด์ ผู้เข้าแข่งขัน ทุกคนจะต้องสวมหมวกนิรภัย หลายคนนิยมสวมหมวกนิรภัยสำหรับสเก็ตบอร์ดที่มี น้ำหนักเบาในขณะที่อีกส่วนหนึ่งสวมหมวกนิรภัยแบบปิดเต็มหน้าสไตล์โมโตครอสซ่ึง กำลังไดร้ ับความนิยมสงู ขน้ึ เรื่อยๆ เน่ืองจากนกั ขี่ทง้ั หลายพยายามจะเล่นท่ายากตา่ งๆ 187

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เล่ม 2 • นักข่ีส่วนมากจะสวมสนบั เข่า สนับแขง้ และสนบั ศอกดว้ ย นอกจากนีผ้ ู้ เล่นหลายๆคน โดยเฉพาะกลุ่มทเี่ ลน่ เวริ ท์ จะสวมเกาะอกสไตล์โมโตครอสดว้ ย อานน่งั • นกั ข่ีสว่ นมากจะสวมสนับเขา่ สนับแขง้ และสนับศอกด้วย นอกจากนีผ้ ู้ กหาินรหอุ้มอเหลดกินน่้วแ•หหยอบุ้มลาเบดบาน้วยม•านยๆะาัง่ เคเบบพนอาาือ่ะางโบดปๆนอยารแนางเะฉลๆนั่งโพแะนขยาลเั่งอชะนะขงนกเื่ออจนล์ใงงันืกมุ่่อจจทงรดักาจเี่ยรา้กลายานก่นวานนวเ่านว่าฟน้ำริฟนห์ทรักรักีสจนีขสขะไไกัี่มี่มสตตแิไิไวลลดดลม์ผ้ใ์ผ้ใะเชลกชลก้เิตาว้เิตาจะวลรจอาลาคกกาา‘พวสกบ‘ไบลพนตบาคอลลนสุมาโ์าตมอนรสิกโา’ถตตทนมมคิกี่ห’าราทลกอกม่อนี่สหกาแดักลวกข้วา่่ออน็งยเาแแักพนรขื่องจอ็งรคึงาแาไวดนวราก้รงจมับับรึงสาไบดวก้ราัยบับ ลอ้การออกแบบมาเพือ่ ประโยชน์ในด้านน้ำหนกั และการควบคุมรถมากกวา่ เพ่ือความสบาย •ลอ้ รถจักรยานฟรีสไตล์ใชล้ ้อขนาดเดียวกนั ทั้งหมดคือ 20นว้ิ การวัดขนาด ของจักรยานช•นิดอื่นเรชถ่นจกั เสรยือาภนูเฟขราีสวไตัดลไ์ใดช้จ้ลา้อกขนคาวดาเมดีสยวูงกขันอทง้ังตหัวมถดังครือถ2ต0น่าว้ิงจกาากรวกดั าขรนวาัดดขนาด ของรถขจองักจรักยรายนานฟชรนีสิดไอตื่นลเ์ทช่นี่ใชเส้ลือ้อภเูเปขา็นวตัดไัวดก้จำาหกคนวดามซสึ่งูงทขอุกงคตันัวถจังะรมถีเตส่า้นงผจา่ากศกูนายรว์กัดลขานงาด20 น้ิ ว และนขแก่ี ลอส็ ะงวรนนถก่ี ทจส็ ักาวรงนยกทาับานงจกฟักบัรรีสจยักไตารนลย์าทเนสี่ใชเือส้ลภอื ้อูเภขเูเปขา็นาททตีม่ ัว่มี ลีกลี ้อำ้อหขขนนนดาาดดซตตึ่ง้งั ทั้งแแตุกต่ค2่ัน62จ6–ะม2–ีเ7ส2้นน7ผว้ิ ่านศว้ิ ูนย์กลาง 20 น้ิว ควรสวมเครื่องป้องกนั อุบัตเิ หตเุ พอื่ ความปลอดภยั ในการฝกึ ซอ้ ม ควรสวมเครื่องปอ้ งกนั อบุ ัตเิ หตุเพ่ือความปลอดภัยในการฝึกซอ้ ม 188

ขนาดสนามและอุปกรณ์กฬี า เล่ม 2 กีฬาฮอกก้ี มาตรฐานสนามแข่งขันและอปุ กรณก์ ฬี า 1. ขนาดของสนามและอปุ กรณ์กีฬา 1.1 สนามแข่งขัน เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ยาว 91.40 เมตร ล้อมเขตด้วยเส้น ข้าง (Side lines) และมีขนาดกว้าง 55 เมตร ล้อมเขตด้วยเส้นหลัง (Back lines) พื้นที่ การแล่นสำหรับการเล่นนอกเส้นออก (Run off) จะต้องไม่ต่ำกว่า 2 เมตร จากเส้นหลัง และ 1 เมตรจากเส้นข้าง และจะต้องมีพื้นที่ที่ปราศจากสิ่งกีดขวางเพิ่มอีก 1 เมตร ซึ่ง เท่ากับว่าจะต้องมีพื้นที่ทั้งหมดจากขอบสนามด้านหลัง 3 เมตร และจากขอบสนาม ด้านข้าง 2 เมตร ทั้งหมดนี้คือข้อกำหนดพื้นฐานขั้นต่ำจากข้อกำหนดเฉพาะที่เสนอแนะ คือ 3 เมตร บวก 2 เมตร และ 3 เมตร บวก 1 เมตร นั่นคือพื้นที่ทั้งหมด 5 เมตรจาก ขอบสนามด้านหลงั และ 4 เมตรจากด้านข้าง 1.2 การทำเคร่ืองหมาย 1.2.1 ไม่ควรมีเครื่องหมายอื่นใดบนพื้นสนามนอกเหนือจากที่กำหนด ในกตกิ า 1.2.2 เส้นทุกเส้นกว้าง 75 มิลลิเมตร และจะต้องเห็นได้ชัดเจนตลอด ความยาวของเส้น 1.2.3 เส้นขา้ งและเส้นหลงั และเครือ่ งหมายทั้งหมดต้องบรรจบกัน รวมเปน็ สว่ นหนงึ่ ของสนาม 1.2.4 เครอ่ื งหมายตา่ งๆ ให้ใชส้ ขี าว 1.3 เสน้ และเครอ่ื งหมายอน่ื ๆ 1.3.1 เสน้ ขา้ ง (Side lines) ยาว 91.40 เมตร 1.3.2 เสน้ หลงั (Back line) ยาว 55.00 เมตร 1.3.3 เสน้ ประตู (Goal lines) ส่วนของเสน้ หลงั ทอ่ี ยู่ระหว่างเสาประตู 1.3.4 เส้นกลางสนาม (Center lines) คอื เส้นตัดขา้ มกลางสนาม 189

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เล่ม 2 1.3.5 เส้น 22.90 เมตร ตัดข้ามสนาม : เส้นที่ขนานกับเส้นกลางสนาม ห่างจากขอบนอกของเส้นหลัง 22.90 เมตร พื้นที่ที่ล้อมรอบด้วยเส้น 22.90 เมตร ภายในสว่ นหน่ึงของเสน้ ข้างและเส้นหลัง เรยี กว่า เขต 23 เมตร 1.3.6 เส้นยาว 300 มิลลิเมตร ทำเป็นเครื่องหมายไว้ข้างนอกสนามท่ี เส้นข้างท้ังสองด้าน ห่างจากขอบนอกเส้นหลังถึงขอบนอกของเส้น 14.63 เมตร และ ขนานกับขอบนอกของเส้นหลงั 1.3.7 เส้นยาว 300 มิลลิเมตร ทำเป็นเครื่องหมายไว้ข้างนอกสนามที่ เส้นทั้งสองด้าน ห่างจากขอบนอกเส้นหลัง ถึงขอบนอกของเส้น 5 เมตร และขนานกับ ขอบนอก ของเส้นหลงั 1.3.8 เส้นยาว 300 มิลลิเมตร ทำเป็นเครื่องหมายไว้ข้างนอกสนามที่ เส้นหลังทั้งสองด้านของประตู 5 เมตร และ 10 เมตร จากขอบนอกของเสาประตูที่ใกล้ โดยวดั ระหว่างขอบท่ไี กลที่สดุ ของแต่ละเส้น เครื่องหมายต่างๆ ของสนามในกติกาข้อ 1.3.7 1.3.8 และ1.3.9 ได้ เปลี่ยนจากด้านในไปอยู่ด้านนอกของสนาม และได้เปลี่ยนมาตรวัดความยาวในกตกิ าข้อ 1.3 เปน็ มาตรเมตรกิ ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2001 อย่างไรก็ตามสำหรับสนามที่มีอยู่ เดมิ เครอ่ื งหมายตา่ งๆ ทก่ี ลา่ วถึงทใ่ี ห้ใชต้ ่อไปได้ 1.3.9 เส้นยาว 150 มิลลิเมตร ทำเป็นเครื่องหมายไว้ข้างนอกสนามท่ี เส้นหลังหา่ งจากจดุ กึง่ กลางของเส้นหลงั ถึงขอบด้านในของเส้น 1.83 เมตร 1.3.10 จุดโทษเส้นผ่าศูนย์กลาง 150 มิลลิเมตร อยู่ด้านหน้าตรงกลาง ของประตทู งั้ สอง ด้าน จุดศูนย์กลางของจุดโทษอยู่ห่างจากขอบในของเส้นประตู 6.40 เมตร 1.4 เขตวงกลม (circles) 1.4.1 ลากเส้นความยาว 3.66 เมตร ขนานกับจุดกึ่งกลางของเส้นหลัง (back line) และอยู่ห่างจากเสน้ หลงั 14.63 เมตร โดยวัดจากขอบนอกของเส้นหลงั 190

ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เลม่ 2 1.4.2 เส้นนี้เชื่อมต่อเป็นเส้นเดียวกันเป็นเส้นโค้งซึ่งจะไปจรดกับเส้น หลังทั้งสองข้างเสี้ยววงกลมมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่มุมเสาประตู ขอบในด้านหน้าของเสา ประตูดา้ นใกล้ 1.4.3 เส้นที่ยาว 3.66 เมตร และเส้นโค้งเรียกว่า “เส้นวงกลม” และ พนื้ ที่ถูกลอ้ มรอบเสน้ ทเ่ี รียกวา่ “เขตวงกลม” 1.4.4 เครื่องหมายเส้นประตูอยู่ห่างจากขอบนอกของเส้นวงกลม 5 เมตร โดยเร่มิ จากเสน้ ทบึ ซ่ึงตรงกบั จุดกง่ึ กลางของเสน้ วงกลมเสน้ ทบึ แต่ละเส้นยาว 300 มิลลิเมตร และมีช่องว่าง ระหว่างเส้น 3 เมตร เส้นประนี้บังคับใช้สำหรับการแข่งขัน ระดับนานาชาติ ตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน ค.ศ. 2000 ส่วน การแข่งขันระดับอื่นๆ จะใช้ ข้อบังคับน้ีหรือไม่ ขึน้ อยู่กบั การพิจารณาของสมาคมกีฬาแหง่ ชาติ 191

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เลม่ 2 เมตร ขนาดของสนาม 0.15 3.66 รหัส เมตร รหัส 5.00 14.63 A 55.00 M 91.43 B 45.70 N Minimum 2.00 C 22.90 P 1.00 D 0.30 Q Minimum 3.00 E 5.00 R Minimum 1.00 F 3.00 1 1.00 G 0.30 2 Minimum 2.00 H* 4.98* (1+2) I* 9.98* 3 J 14.63 4 K 3.66 (3+4) L 6.4 * ขนาดของสนามในข้อ H และ I ใช้การวัดจากเส้นเสาประตู โดยกำหนดให้ ระยะห่างจากเสาประตู 5 เมตร และ 10 เมตร ตามลำดับ สนามกฬี า Hockey 192

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เล่ม 2 1.5 ประตู (Goals) 1.5.1 เสาประตูทั้งสองข้างเชื่อมต่อกันโดยคานด้านบน และตั้งอยู่อยู่ กง่ึ กลางของเสน้ หลังแตล่ ะเส้น 1.5.2 เสาประตูและคานเป็นสีขาว เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 50 มลิ ลเิ มตร และลึก 75 มิลลิเมตร 1.5.3 เสาประตูจะต้องไม่ยื่นขึ้นไปเกินกว่าความยาวของคานและคาน จะต้องไม่ยื่นออกมาเกนิ กว่าความกว้างของเสาประตู 1.5.4 ระยะห่างจากขอบด้านในของเสาประตู คือ 3.66 เมตร และ ระยะห่างจากขอบล่างของคานถึงพ้นื สนาม คือ 2.14 เมตร 1.5.5 ด้านหลังของเสาประตูเสา และคานปิดล้อมด้วยตาข่าย ประตู ต้องมคี วามลกึ อยา่ งนอ้ ย 0.90 เมตร ท่ีคานบนและมีความลกึ อยา่ งนอ้ ย 1.20 เมตรท่พี นื้ 1.6 กระดานขา้ งและกระดานหลัง (side boards and back boards) 1.6.1 กระดานขา้ ง สงู 460 มลิ ลิเมตรและยาว อย่างน้อย 1.20 เมตร 1.6.2 กระดานหลังสูง 460 มิลลเิ มตร และยาว 3.66 เมตร 1.6.3 กระดานข้าง ตั้งบนพื้นที่มุมด้านขวาเส้นหลังและมีความยึดติด ด้าน หลังเสาประตูเพือ่ ไม่ให้เสาขยายกว้างเพม่ิ ข้นึ 1.6.4 กระดานหลัง ตั้งบนพื้นที่มุมด้านขวากระดานข้างและขนานกับ เส้นหลงั และยึดติดกับปลายของกระดานขา้ ง 1.6.5 ท้งั กระดานหลังและกระดานขา้ งตอ้ งทาสดี ำบริเวณด้านใน 1.7 ตาขา่ ย (Nets) 1.7.1 ช่องตาข่ายไม่ควรเกิน 45 มิลลเิ มตร 1.7.2 ผูกติดอย่างต่อเนื่องกับด้านหลังเสาประตูและคานห่าง ไม่เกิน 150 มลิ ลเิ มตร 1.7.3 ตาข่ายแขวนอย่ดู า้ นนอกกระดานข้างและกระดานหลงั 1.7.4 ต้องแน่ใจว่าลูกบอลจะไม่ทะลุผ่านออกไปด้านนอกจากตาข่าย เสาประตูคานบนกระดานขา้ งและกระดานหลัง 193

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เลม่ 2 1.7.5 ตาข่ายต้องติดตั้งให้หย่อยไว้เพื่อป้องกันการกระดอนของลูก บอล 194