Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เล่ม 2

ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เล่ม 2

Description: ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เล่ม 2.

Search

Read the Text Version

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เลม่ 2 หา้ มซอ้ื -ขาย จดั ท�ำโดย การกีฬาแหง่ ประเทศไทย พ.ศ. 2563 www.satc.or.th



คำ� น�ำ คมู่ อื ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เลม่ น้ี กองวชิ าการกฬี า การกฬี าแหง่ ประเทศไทย จดั ขนึ้ เพอื่ เผยแพรใ่ หก้ บั ผทุ้ ส่ี นใจตอ้ งการศกึ ษาคน้ ควาเกย่ี วกบั ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า ท่ีได้มาตราฐานสากล พร้อมท้ังสามารถน�ำข้อมูลไปใช้ประกอบการจัดท�ำสนาม หรอื จัดหาอุปกรณ์ไดด้ ้วยตนเอง การกีฬาแห่งประเทศไทย ขอขอบคุณสมาคมกีฬา และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน ท่ีชว่ ยใหก้ ารจัดท�ำหนังสอื เล่มนส้ี ำ� เรจ็ ดว้ ยดมี า ณ โอกาสน้ี กองวชิ าการกีฬา การกฬี าแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2563



สารบญั กฬี ากอลฟ์ อาชพี .................................................................................................................1 กฬี าไทย.............................................................................................................................11 กฬี าขมี่ า้ .............................................................................................................................21 กฬี าขมี่ า้ โปโล....................................................................................................................27 กฬี าครู าช..........................................................................................................................37 กฬี าซอฟทเ์ ทนนสิ .............................................................................................................42 กฬี าซอฟทบ์ อล.................................................................................................................57 กฬี าทางอากาศ.................................................................................................................65 กฬี าบรดิ จ์.........................................................................................................................80 กฬี าปนี หน้าผา.................................................................................................................88 กฬี าฟกิ เกอรส์ เกต็ และสปดี สเกต็ ตง้ิ ..................................................................................97 กฬี ายิงธน.ู ........................................................................................................................99 กีฬายมิ นาสตกิ ...............................................................................................................110 กฬี ายูยติ ส.ู .....................................................................................................................118 กฬี ารกั บฟี้ ตุ บอล............................................................................................................123 กฬี าเรือเร็ว.....................................................................................................................130 กฬี าลลี าศ.......................................................................................................................144 กฬี าวนิ ดเ์ ซริ ฟ์ .................................................................................................................149 กฬี าสนกุ เกอรแ์ ละบลิ เลยี ด.............................................................................................152 กฬี าหมากรกุ เซย่ี งฉ.ี .......................................................................................................158 กฬี าหมากลอ้ ม...............................................................................................................165 กีฬาอสี ปอรต์ E-SPORT................................................................................................171 กฬี าเอก็ ซต์ รมี .................................................................................................................181 กฬี าฮอกก.้ี ......................................................................................................................189 กฬี าฮอกกนี้ ำ�้ แขง็ .............................................................................................................203 กีฬาเจต็ สก.ี ....................................................................................................................223

กีฬาเชียร์ลดี ดิง้ ..............................................................................................................225 กฬี าเนต็ บอล...................................................................................................................230 กฬี าเลอรส์ ก.ี ...................................................................................................................235 กฬี าโววนี มั .......................................................................................................................243 กฬี าเรอื ใบ........................................................................................................................250 กฬี าเรอื พาย.....................................................................................................................261 กฬี าคนพกิ าร...................................................................................................................272 กฬี าคนตาบอด................................................................................................................286 กีฬากลุ่มคนพิการทางปัญญา (T,F20).......................................................................303 กฬี าคนพกิ ารทางสมอง..................................................................................................328 กฬี าคนหหู นวก..............................................................................................................335 กฬี าสเปเชยี ลโอลมิ ปคิ ไทย..............................................................................................352 คณะผจู้ ดั ทำ� .....................................................................................................................362

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เล่ม 2 กฬี ากอล์ฟอาชพี มาตรฐานสนามแขง่ ขันและอุปกรณก์ ฬี า สนามกอลฟ์ กีฬากอล์ฟเล่นในพื้นที่ซึ่งเรียกว่า “สนามกอล์ฟ” (อังกฤษ : golf course) สนามกอล์ฟประกอบไปด้วยหลุมหลายหลุม โดยในทางกอล์ฟ “หลุม” หมายาถึง ทั้ง หลุมที่เจาะลงไปในพื้นดิน และอาณาเขตตั้งแต่แท่นตั้งทีไปจนถึงกรีน สนามกอล์ฟส่วน ใหญ่ประกอบไปดว้ ยหลมุ 18 หลุม แท่นทีออฟ การตีครั้งแรกในแต่ละหลุมเริ่มจากเขตที่เรียกว่า “แท่นตั้งที” ( Teeing Ground) ผู้เนสามารถใชแ้ ท่งหมุดขนาดเล็ก ซึ่งเรียกวา่ “ทีตั้งลูก” (Tee) ทำจากไม้หรือ พลาสติกช่วยให้การตี “ทีชอ็ ต” ง่ายขึน้ กอ่ นทจี่ ะมที สี มยั ใหมน่ น้ั นกั กอลฟ์ มักจะก่อกอง ทรายเล็กเป็นทรงพีรามิดในการตั้งลูกกอล์ฟ สนามกอล์ฟส่วนใหญ่ จะมีแท่นตั้งทีหลาย ระยะให้เลือก ซึ่งทำให้หลุมนั้นยาวขึ้นหรือสั้นลงได้ตามแต่จะเลือก บริเวณแท่นตั้งทีนั้น มกั จะมพี ้นื ผิวราบ 1

ขนาดสนามและอุปกรณ์กฬี า เล่ม 2 แฟร์เวย์และรฟั หลงั จกาตีลูกออกจากแทน่ ตงั้ ที ผูเ้ ลน่ จะตีลูกกอล์ฟ (โดยมากไปยงั กรีน) จากจุด ที่ลูกมาหยุดอยู่ ซึ่งอาจจะเป็น “แฟร์เวย์” (Fairway) หรือว่า “รัฟ” (Rouhg) บนแฟร์ เวย์นั้นหญ้าจะถูกตัดสั้นและเรียบ ทำให้การตีลูกนั้นง่ายกว่าการตีจากรัฟ ซึ่งมักจะไว้ หญ้ายาวกวา่ อปุ สรรค ในสนามกอล์ฟ หลุมหลายหลุมอาจมีเขต “อุปสรรค” (Hazard) ซึ่งแบ่งออก สองชนิดคือ “เขตอุปสรรคน้ำ” (Water Hazard) และ “บังเกอร์” (Bunker) บางครั้ง เรียกว่า “หลุมทราย” หรือ “อุปสรรคทราย” จะมีกฎบังคับเพิ่มเติม ซึ่งทำให้การเล่น ลำบากมากขึ้น ตั้งอย่างเช่น ในเขตอุปสรรค ผู้เล่นไม่สามารถใช้ไม้กอล์ฟสัมผัสพื้นก่อน 2

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เล่ม 2 การเล่นลูกได้ ลูกที่อยู่ในเขตอุปสรรค สามารถเล่นจากจุดที่ลูกหยุดอยู่ได้โดยไม่ถูกปรับ แต้ม หากไมส่ ามารถเลน่ จากตำแหน่งน้นั ได้ (โดยเฉพาในอุปสรรคน้ำ) ผูเ้ ล่นอาจจะเลือก เล่นจากจุดอื่น โดยทั่วไปจะปรับโทษหนึ่งสโตรค (แต้ม) ซึ่งตำแน่งการเล่นนอกเขตนั้น ถูกบังคับอย่างเข้มงวดโดยกฎกอล์ฟ บังเกอร์เป็นเขตอุปสรรคเพราะการเล่นลูกนั้นทำได้ ยากกวา่ กาตีจากหญา้ กรนี เมื่อลูกกอล์ฟอยู่บน “กรีน” (Putting Green) แล้ว ผู้เล่นจะพัตลูกไปยังหลุม จนกว่าจะลง “หลุม” (Hole หรือ Cup) การพัต (Putt) คือการตีลูกครั้งหนึ่ง มักจะทำ บนกรนี (แต่ไม่เสมอไป) โดยใชไ้ มก้ อลฟ์ ซึง่ มหี นา้ ไมแ้ บนเรียบ ทำใหล้ ุกกล้ิงไปบนพ้นื โดย ไมล่ อยจากพื้นดนิ หญ้าบนกรีนนนั้ จะตดั สนั้ มาก ทำใหล้ ูกกลิ้งไปได้อยา่ งงา่ ยดาย ทศิ ทาง ของใบหญ้าและความลาดเอียงของพื้นจะส่งผลต่อทิศทางการกลิ้งของลูก หลุมกอล์ฟจะ อยู่บนกรีนเสมอ มีขนาด 108 มิลลิเมตร และลึกอย่างน้าย 100 มิลลิเมตร ตำเหน่งของ หลุมบนกรีนอาจเปลี่ยนไปได้ในแต่ละวัน โดยทั่วไปมักจะมีธงปักในหลุมกอล์ฟเพื่อให้ เห็นหลุมไดจ้ ากระยะไกล แม้วา่ อาจจะไม่ใช่จาก แทน่ ตัง้ ทกี ต็ าม 3

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เลม่ 2 โอบี โอบี คือ เขตที่อยู่นอกเขตสนามที่กำหนดไว้ ซึ่งผู้เล่นไม่สามารถตีลกู ได้ หากลูก ของผู้เล่นตกไปยังเขตโอบี ผู้เล่นจะต้องเล่นลุกจากจุดที่ตีมา และปรับแต้มเพิ่มหนึ่งส โตรค เขตอืน่ บางส่วนในเขตสนาม อาจจะมี “เขตพืน้ ทซี่ อ่ ม” (Ground Under Repair หรือ G.U.R) ซึ่งหากลุกกอล์ฟของผู้เล่นเข้าไปตกในเขตนี้แล้ว ผู้เล่นสามารถหยิบออกมาเล่น นอกเขตไดโ้ ดยไม่ถูกปรบั แต้ม นอกจากนย้ี ังอาจมี “สิ่งกดี ขวาง” (Obstruction) ซึ่งเปน็ สิง่ ท่ีมนษุ ยส์ ร้างขน้ึ เชน่ มดุ บอกระยะทางร้ัว เป้นตน้ และมีกฎขอ้ บังคบั เฉพาะซึ่งกำหนด วิธเี ลน่ หากลกู ของผู้เล่นไดร้ บั ผลกระทบจากสิ่งกดี ขวาง 4

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เลม่ 2 พาร์ แต่ละหลุมในสนามกอล์ฟจะมีการกำหนด “พาร์” (Par) ซึ่งเป้นจำนวนครั้งใน การตีของผู้เล่นควรจะตีจบหลุม เช่น ใน หลุมพาร์สี่ ผู้เล่นควรจะตีครั้งแรกจากแท่นตั้งที ครั้งที่สองไปยังกรีนและพัตอีกสองครั้ง หลุมกอล์ฟโดยทั่วไปมักจะมีพาร์ สาม ส่ี และหา้ ปัจจบุ ันมหี ลุมพาร์หกอยู่บา้ งเลก็ นอ้ ย แต่ไม่มใี นสนามกอลฟ์ แบบดง้ั เดิม สนามกอล์ฟสิบแปดหลุมส่วนใหญ่ มักจะมีหลุมพาร์สามและพาร์ห้าอย่างละส่ี หลุมและหลุมพาร์สี่อีกสิบหลุมรวมทั้งสินสิบแปดหลุมเป็นพาร์ 72 แม้ว่าจะมีการผสม แบบอ่นื การแข่งขนั หลายรายการที่เล่นบนสนามพาร์ 71 หรอื 70 อปุ กรณก์ อล์ฟ หัวไม้ พตั เตอร์ และหวั เหลก็ โดยทว่ั ไปแลว้ นักกอล์ฟจะมีไม้หลายอนั ในถุงขณะเล่น โดยกฎระบุว่าสามารถมี ไม้ได้ไม่เกิน 14 อัน ไม้กอล์ฟแต่ละชิ้นจะมีความแตกต่างกันในเรื่องขององศาหน้าไม้ ซึ่ง สง่ ผลต่อเส้นโคจรของลกู กอล์ฟ องศาหน้าไมข้ องไมก้ อลฟ์ นน้ั วดั จากแนวต้ังฉาก 5

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เลม่ 2 หวั ไม้ “หัวไม้” (Wood) เป็นไม้ทยา่ วที่สุดและมักจะใช้กับช็อตที่ต้องการระยะไกล หัว ของหัวไม้นั้นมีขนาดใหญ่ โดยดั้งเดิม หัวของหัวไม้ทำจากไมพ้ ลบั หรือเมเปิล ซึ่งเป็นทีม่ า ของช่ือหัวไมส้ มยั ใหมม่ ลี ักษณะกลวง ทำจากเหลก้็ ไทแทเนียม หรอื วสั ดผุ สม หัวไม้ที่ยาวที่สุด เรียกว่าหัวไม้หนึ่ง หรือ “ไดรเวอร์” โดยหัวไม้นี้จะหัวขนาด ใหญ่ที่สุด ซึ่งเหมาะสมสำหรับการตีจากที หัวไม้อื่นที่สั้นกว่า เช่น หัวไม้สาม หรือหัวไม้ ห้า มกั เรียกเปน็ หัวไมแ้ ฟรเ์ วย์ โดยหวั ไม้เหล่าน้ีจะสัน้ กว่า และมอี งศาหน้าไม้มากกวา่ ทำ ให้สามารถตีจากพื้นหญ้าได้ ไดรเวอร์สามารถใช้ตีจากพื้นหญ้าได้เช่นกัน แต่ต้องใช้ ความสามารถทส่ี งู กวา่ ในการควบคมุ ในปัจจุบัน มีหัวไม้แบบใหม่ที่รู้จักกันในชื่อไฮบริด (Hybrid) หรือที่บางครั้งคน ไม้เรียกว่าไม้กระเทย ซึ่งรวมคุณสมบัติการตีตรงๆ แบบเหล็กรวมกับจุดศูนย์กลางแรง โน้มถ่วงที่ต่ำแบบหัวไม้ที่มีองศาหน้าไม้สูง โดยไม้ไฮบริดนี้มักจะใช้ในการเล่นช็อตระยะ ไกลจากรฟั หรือผูเ้ ล่นท่มี ีปญั หาในการตีเหล็กยาว 6

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เลม่ 2 หัวเหล็ก “ไม้หัวเหล็ก” (Iron) หรือที่มักเรียกสั้นๆ ว่า “เหล็ก” ใช้ในการตีระยะสั้นกว่า หัวไม้ โดยทั่วไปจะเป้นช็อตที่ตีขึน้ กรนี เหล็กเปน็ ไม้กอล์ฟทีส่ ามารถใช้ประโยชน์ได้หลาย อย่าง โดยนักกอล์ฟทมี่ ีคสามสามารถสูงสามารถตชี อ็ ตได้หลายแบบโดยไมอ้ นั เดียว เหลก็ มักจะมีเลขตั้งแต่ 1 ถึง 9 โดยยิ่งเลขต่ำ องศาหน้าไม้ก็ต่ำ และก้านจะยาว เหล็กที่สั้น ที่สุดเรียกว่าเวดจ์ ชุดเหล็กทั่วไปมักประกอบไปด้วยเหล็กตั้งแต่เบอร์ 3 ถึงพิชชิงเวดจ์ ผู้ เล่นที่มีความสามารถบางคนอาจใช้เหล็ก 2 แต่เหล็ก 1 ในปัจจุบันมีใช้กันน้อยมาก แม้แต่กับนักกอล์ฟอาชีพความนิยมใช้เหล็กยาว (เบอร์ต่ำ) ที่ลดลง มีผลมาจากการ พัฒนาไมไ้ ฮบรดิ ซึ่งใหเ้ ส้นโคจรท่ีดแี ละตีง่ายกว่า เวดจ์ 7

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เลม่ 2 “เวดจ์” (Wedge) คือเหล็กที่มีองศาหน้าไม้มากว่า 44 องศา “พิชชิงเวดจ์” (Pitching Wedge) มีองศาหน้าไม้ 44 ถึง 50 องศา แบะมีการออกแบบที่ใกล้เคียงกับ เหล็กทั่วไป \"แซนดเวดจ์\" (sand wedge) มีการออกแบบเป็นพิเศษซึ่งสิ่งที่เรียกวา่ \"เบานซ์\" (bounce) และมีองศาหนาไม้ 54 ถึง 58 องศา ทำให้ ผู้เล่นสามารถตีจาก ทรายหรือรัฟได้ง่าย \"แกปเวดจ์\" (gap wedge) มีองศาหนาไม้ อยู่ระหว่างพิชชิงเวดจ และแซนด์เวดจ์ ซ่ึงเป็นที่มาของชื่อ (gap มีความหมายว่าช่องวางระหว่างกลาง) \"ลอบ เวดจ์ (lob wedge) คือเวดจ์ที่มีองศาหน้าไม้ สูงมาก (อาจถึง 68 องศา) ใช้ในการตีขึ้น กรีน จากทราย หรือใช้ในช้อตแก้ไขที่ต้องใช้ช้อตลูกโด่งมากและระยะทางสั้น ผู้ผลิตไม้ กอลฟ์ ส่วนใหญ่ ผลติ เวดจ์ตงั้ แต่ 48 ถึง 60 องศา พัตเตอร์ \"พัตเตอร์\" (putter) มีหัวหลายรูปแบบ แต่สิ่งที่สำคัญคือจะมีองศาหน้าไม้ที่ต่ำ มาก และก้านที่สั้น ออกแบบมาเพื่อผลักลูกกอล์ฟให้กลิ้งบนพื้นมากกว่าที่จะลอยสู่ อากาศ โดยทั่วไปพัตเตอร์จะใช้บนกรีน แต่บางครั้งอาจใช้ในการตีขึ้นกรีนจากแฟร์เวย์ หรอื ฟรนิ จ์ (พืน้ ที่รอบกรีน) ท่ีตดั หญา้ สั้นและเรียบ 8

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เลม่ 2 ลูกกอลฟ์ จากภาคผนวกในกฎกีฬากอล์ฟ ลูกกอล์ฟ ต้องมีลักษณะเป็นทรงกลมสมมาตร มีเส้นผา่ นศูนยก์ ลางอย่างนอ้ ย 42.67มิลลเิ มตร และมมี วลไม่เกิน 45.93 กรมั พน้ื ผวิ ของ ลูกกอลฟ์ ในปัจจบุ ันมีรอยบุ๋มประมาณ 300 ถึง 500 รอย โดยวิธีการและวสั ดุที่ใช้ในการ ผลติ ลกู กอล์ฟน้ัน สง่ ผลต่อคุณสมบตั ิตา่ งๆ ในการเล่น เชน่ ระยะทาง เส้นโคจร การหมนุ ของลูก และความรู้สึก วัสดุที่มีความแขง็ เช่น เซอร์ลีน มักจะส่งผลให้ลูกกอล์ฟเคล่อื นที่ ไกลขึ้น ในขณะที่วัสดุที่นุ่มกว่าอย่างยางบาลาตา มักจะให้การหมุนของลูก (สปิน) และ ความรู้สึกที่ดีกว่า ลูกกอล์ฟที่ได้รับการยอมรับอย่างเป็นทางการ จะต้องผ่านการ ออกแบบให้เป็นทรงสมมาตรให้มากที่สุด ซึ่งมาจากการผลิตลูกกอล์ฟซึ่งมีรูปแบบรอบ บมุ๋ อสมมาตร ช่วยในการควบคมุ ทศิ ทางของลกู กอลฟ์ ในอดีตลกู กอล์ฟเคยทำจากไม้ ขน นก และยางไม้ ลกู กอล์ฟสามารถมไี ดห้ ลายสี แตส่ ที ่นี ิยมที่สุดคอื สีขาว ถุงกอลฟ์ 9

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เล่ม 2 รองเทา้ ถุงมือ ท่มี ารค์ ลูก 10

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เลม่ 2 กฬี าไทย มาตรฐานสนามแข่งขันและอปุ กรณ์กฬี า 1. ตะกร้อลอดห่วง 1. มาตรฐานสนามแข่งขนั สนามเป็นพื้นราบ จะอยู่ในร่มหรือกลางแจ้งก็ได้ วัดจากพื้นสนามขึ้นไปอย่าง น้อยประมาณ 8 เมตร ต้องไม่มีสิ่งกีดขวางใดๆ และให้มีวงกลมรัศมี 2 เมตร จากจุด ศูนย์กลางสนาม ความกว้างของเส้นวงกลม มีความกว้าง 4 เซนติเมตร มีห่วงชัยแขวน อยู่ ณ จุดศูนย์กลางของวงกลม โดยเชือกที่แขวนห่วง มีความยาวจากรอกไม่น้อยกว่า 50 เซนตเิ มตร 11

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เล่ม 2 2. อุปกรณ์ 2.1 ห่วงชัย ห่วงชัยประกอบด้วยวงกลม 3 ช่อง ขนาดเท่ากัน มี เส้นผา่ ศูนย์กลางวดั จากภายใน กว้าง 45 เซนตเิ มตร หว่ งทัง้ 3 น้ี จะทำด้วย โลหะ หวาย หรือไม้ ก็ได้ แต่ต้องผูกหรือบัดกรีตดิ กันแน่นเป็นรูป 3 เส้า วงห่วงแต่ละห่วงตั้งตรง และ หุ้มด้วยวัสดุที่มีความนุ่มแล้ว วัดโดยรอบไม่เกิน 10 เซนติเมตร และมีถุงตาข่ายทำด้วย ดา้ ยสขี าว ผูกรอบห่วงทกุ ห่วง ห่วงชยั ตอ้ งแขวนกลางสนาม ขอบล่างของหว่ งชยั ต้องได้ ระดับสงู จากพนื้ สนาม ดงั นี้ - ประเภทเยาวชนอายไุ ม่เกนิ 18 ปีและหญงิ ความสงู ของหว่ งชัย 5.50 เมตร - ประเภทประชาชน ความสูงของห่วงชัย 5.70 เมตร 2.2 ลูกตะกร้อ ตะกร้อให้สานด้วยหวาย 9-11 เส้น หรือผลิตด้วยใยสังเคราะห์ ซ่งึ ให้มีขนาดและน้ำหนัก ดงั น้ี – ประเภทเยาวชนอายุไม่เกิน 18 ปี และหญิง ขนาดเส้นรอบวง ไม่ น้อยกวา่ 40 เซนติเมตร และนำ้ หนกั ไมเ่ กนิ 200 กรมั – ประเภทประชาชน ขนาดเสน้ รอบวงไมน่ ้อยกวา่ 40 เซนติเมตร และ นำ้ หนกั ไมเ่ กิน 240 กรมั ให้ฝ่ายจัดการแข่งขัน จัดลูกตะกร้อไว้ ให้ผู้เข้าแข่งขัน ในกรณีที่ผู้เข้า แข่งขันนำลูกตะกร้อมาเอง จะต้องผ่านการตรวจสอบจากคณะกรรมการฯ ก่อนการ 12

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ีฬา เลม่ 2 แข่งขันทุกครั้ง หากลูกตะกร้อที่นำมาเองไม่ถูกต้องตามกติกา ต้องใช้ลูกตะกร้อที่คณะ กรรมการฯ จดั ไว้ ทำการแข่งขัน 3. เครื่องแต่งกายของผู้เล่น 3.1 สำหรับผู้ชายตอ้ งสวมเสื้อยดื กางเกงขาสั้น ส่วนผู้หญงิ ใหส้ วมเสอื้ ยืดมีแขน และกางเกงขาสั้นระดับเข่า สวมใส่รองเท้าพื้นยาง (ถุงเท้าด้วย) กรณีที่อากาศหนาว อนุญาตใหผ้ ้เู ลน่ สวมใสช่ ดุ วอร์มแข่งขนั ได้ 3.2 ส่วนต่างๆ ของเครื่องแต่งกายของผู้เล่นถือเป็นส่วนหนึ่งของร่างกาย และ ชายเสื้อต้องอยูใ่ นกางเกงตลอดเวลาการแขง่ ขัน 3.3 สิ่งใดก็ตามที่จะช่วยเร่งความเร็วของลูกตะกร้อ หรือช่วยในการเคลื่อนท่ี ของผ้เู ลน่ ไมอ่ นุญาตใหใ้ ช้ 13

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เล่ม 2 2. ว่าวไทย 1. มาตรฐานสนามแขง่ ขัน เป็นไปตามทีค่ ณะกรรมการจดั การแข่งขันกำหนด โดยแบ่งตามประเภทของการ แข่งขัน 2. วา่ วไทย 1. มาตรฐานสนามแขง่ ขัน เป็นไปตามทีค่ ณะกรรมการจัดการแข่งขันกำหนด โดยแบ่งตามประเภทของการ แขง่ ขนั การแข่งว่าวจะแบ่งเป็น 2 ทีม ระหว่างจุฬาและปักเป้า โดยแบ่งเขตแดนกัน ว่าวจุฬาจะมีขนาดใหญ่กว่าปักเป้ามาก และจะมีอาวุธที่สำคัญคือจำปา ซึ่งติดที่สายป่าน จำปาทำจากไม้ไผ่เหลาและนำมาประกอบกันหลายๆอัน ทำเป็นซี่ๆเพื่อให้เชือกของฝ่าย ปักเป้าเข้ามาว่าตวจิดุฬาทจกกะามรใีขแหนข้วา่งดว่าใ่าวหวปญจะ่กักแวเบ่าปป่งเัก้าปเเป็นส้า2มียาทหกีมลแรลักะะแหจละวม่าะงีอจเาสุฬวุธียาทแกี่สลาำะคปรัญักทคเปรือ้างจตำโปดัวายแซเบมึ่งต่งื่อเิดขทฝตี่ส่าแาดยยนปปก่าักันนเป้าติดจำปา ของฝ่ายจุฬาจำทปาาทงำทจาีมกจไมุฬ้ไผา่เหกล็จาะแลมะีกนำามราวปิ่งระเพกอื่อบดกันึงหฝล่าายยๆปอักันเทปำ้าเปใ็นหซ้เี่ๆขเพ้าื่อมใหา้เใชนือกแขดอนงฝข่ายองจุฬา ซึ่งถ้า ทำได้สำเร็จกป็จักะเปไ้าดเข้ค้ามะาแตนิด นทกสใหว่ ้วน่าวทปักาเงปฝ้าเา่ สยียปหลกั ักเแปละ้าเเสอียงกการม็ ทีอรงาตวัวุธเมคื่อือฝเ่าหยปนักียเปง้าตซิดง่ึจเำปปา็นบว่ งเชือกไว้ คล้องส่วนหัวทขอขำไงอดฝส้่างำยจเจรุฬุฬ็จกาาจ็ ทะถาไงด้าท้คคีมะลจแุฬน้อานงกสไ็จด่วะนม้ ทีกจาาุฬรงฝวาิ่งา่ เกยพป็จื่อกั ดะเปึงเฝ้าส่าเอียยงปกกักม็ าเอีปรา้าทวใหุธรค้เขงือ้าตเหมัวนาใียนแงแลซดง่ึนะเขปปอ็นักงบจเว่ ุฬปงาเช้าซือกึ่งกถ็จไ้าวะ้ พยายามทำ ให้วา่ วจฬุ าตคกลล้องงสใ่วนนแหดัวขนอปงจกั ุฬเาปถ้า้าคซล้อ่ึงงทไดง้ั ้ จ2ุฬาฝก็จา่ ะยเสจียะกใาชรท้ชร้นั งตเัวชิงแลในะปกักาเปร้าบก็จังะคพบั ยาวยา่ าวมกทำันน่าดู เวลามี ปกั เปา้ ติดจำใปปหักว้าเ่าปขวา้ จอตุฬดิงาจจตำฬุกปลาางขหใอนงรแจือดุฬนจาปหฬุ ักรอืเาปจตา้ฬุ ิดซาตง่ึเทหิด้ังเนห2นียียฝงงา่ ปปยักจกั ะเปเใปช้าช้ ก้า้นั ็จเะกชมงิ จ็ ใีกนะากรมาวริ่งกี วบา่าังวรคขับวอว่ิงง่าวแวต่าก่ลันวะนขท่าอมี ดงูเเพแวอื่ลตทา่ลมำีะทมี เพือ่ ทำ ใหว้ า่ วคตู่ ่อสใู้ตหกว้ า่ ใวนคู่ตแอ่ ดสนตู้ กขในอแงดตนวัขอเองตงวั เอง 14

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เลม่ 2 2. อุปกรณ์การแขง่ ขนั 2.1 ว่าวจุฬา มีลักษณะเป็น 5 แฉก ประกอบเป็นโครงขึ้นด้วยไม้ 5 อัน นักเลงว่าวจะเสาะหาไม้ไผ่สีสุกที่มีปล้องยาวเรียว เรียกว่า “เพชรไม้” มาเหลา อันกลาง เรยี กวา่ “อก” เหลาปลายเรยี วหัวทา้ ย 1 อนั อกี 2 อนั ผูกขนาบตัวปลายให้จรดกันเป็น ปีก และอีก 2 อัน เป็นขาว่าวเรียกว่า “ขากบ” จากนั้นขึงด้ายเป็นตารางตลอดตัวว่าว เรียกว่า “ผูกสัก” แล้วใช้กระดาษสาปิดทับลงบนโครง สำเร็จเป็นว่าวจุฬา ถ้าหากไม่ถูก สัดส่วนแล้ว ว่าวจะไม่อาจลอยตัวขนึ้ ได้เลย 2.2 วา่ วปักเปา้ มลี ักษณะเชน่ เดยี วกับว่าวอีลุม แต่ทว่าไมส้ ่วนโครงที่เป็นปกี จะ แข็งกว่าปีกของอีลุ้มมาก จึงต้องมีหางที่ทำด้วยผ้าเป็นเส้นยาวถ่วงอยู่ที่ส่วนก้น เมื่อชัก ขึ้นไปลอยอยู่ในอากาศแล้วจะไม่ลอยอยู่เฉยๆจะส่ายตัวไปมาน่าดูมากและเมือถูกคนชัก กระตุกสายเชือกป่านตามวิธีการแล้ว มันจะเคลื่อนไหวโฉบเฉี่ยวไปมาท่าทางต่างๆตาม ต้องการ \"ว่าวปักเป้า\" มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนผูกคอซุงที่อก และมีหาง ยาวไวถ้ ว่ งน้ำหนกั ทีม่ มุ ดา้ นล่างของตัวว่าวมีอาวุธคอื “เหนียง” เป็นหว่ งป่านตดิ ใตค้ อซงุ ลงมา เอาไว้คล้องตวั วา่ วจฬุ า 15

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เล่ม 2 3. กฬี ามวยไทย 1. มาตรฐานสนามแข่งขัน เวที สังเวยี น ในการแข่งขนั ท่ัวๆไป เวที สังเวยี นใชใ้ นการแข่งขันกำหนด ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. เวที คือสถานที่ประกอบขึ้นเพื่อใช้ในการแข่งขันกีฬามวย โดยต้องสร้างให้ แข็งแรง ปลอดภัยได้ระดับ ปราศจากสิ่งกีดขวางใดๆ และพื้นเวทีต้องยื่นออกไปนอก เชือกกั้นอย่างนอ้ ย ๙๐ เซนติเมตร 2. พื้นเวทีต้องอยู่สูงจากพื้นทีต่ ั้งไม่ต่ำกว่า ๑.๒๐ เมตร และไม่เกิน ๑.๕๐ เมตร โดยตั้งเสาที่มุมทั้ง ๔ ด้าน มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ๑๐-๑๒.๕ เซนติเมตร และสูงข้ึน จากพื้นที่ตั้งไม่เกิน ๒.๘๕ เมตร พื้นเวทีต้องปูด้วยวัสดุที่มีความนุ่ม เช่น ยาง ผ้าอ่อน ฟองน้ำ หรือวัสดุอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน มีความหนา ระหว่าง๒.๕๐ เซนติเมตร ถึง ๓.๗๕ เซนตเิ มตรปูทับด้วยผา้ ใบให้ตึงเรยี บและมิดชิดคลุมพ้นื เวทีทง้ั หมด 3. ในการติดตั้งเวทีต้องให้มุมแดงอยู่ทางซ้ายมือของโต๊ะประธานผู้ตัดสินมุมน้ำ เงนิ อยตู่ รงข้ามกับมุมแดง สว่ นอกี สองมุมเปน็ มมุ กลาง 4. เชือกกั้นเวทีมี ๔ เส้น หุ้มด้วยวัสดุที่อ่อนนุ่มและเรียบ มีเส้นผ่าศูนย์กลาง ๓ – ๕ เซนตเิ มตร ขงึ ตงึ กับเสาทงั้ สี่ของเวที เชือกแตแ่ ละเส้นสงู จากพืน้ เวทีขึ้นไปถงึ ด้านบน เส้นล่างของเชือก ๔๕ เซนติเมตร เส้นที่ ๒ เท่ากับ ๗๕ เซนติเมตร เส้นที่ ๓ เท่ากับ ๑.๐๕ เมตร และเชือกเส้นบนสุดสูงเท่ากบั ๑.๓๕ เมตร ตามลำดบั เชือกท้ังสี่เส้นของแต่ ละด้านต้องผูกยึดกันด้วยผ้าเหนียว ๒ ชิ้น มีขนาดกว้าง ๓-๔ เซนติเมตร มีระยะห่าง เท่าๆกัน ผ้าที่ผูกนั้นต้องยึดแน่น มุมทั้งสี่ต้องหุ้มนวมหรือวัสดุอื่นให้เรียบร้อย สามารถ ป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่นักมวย ต้องมีบันไดที่มุมแดง และมุมน้ำเงินเพื่อให้นักมวย พีเ่ ล้ยี ง ผู้ชข้ี าด และแพทย์สนามใช้ขนึ้ ไปปฏิบตั ิหนา้ ที่ 5. ให้ติดกล่องพลาสติกหรือกล่องที่ทำด้วยวัสดุอย่างอื่นที่มุมกลางทั้งสองมุม (ด้านนอกสงั เวยี น)มมุ ละ ๑ กลอ่ ง เพอ่ื ให้ผ้ชู ้ขี าดทิ้งสำลี หรือสง่ิ ของที่ไม่ใช้แล้ว 6. สังเวียน คือ พื้นที่ส่วนหนึ่งของเวทีเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส โดยวัดจากภายใน เชือกกั้นขนาดเล็กมี ความยาวดา้ นละ ๖.๐๐ เมตร ขนาดใหญ่ มีความยาวดา้ นละ ๖.๕๐ เมตร 16

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เลม่ 2 2. อุปกรณ์สวมใส่ 2.1 เครือ่ งแต่งกาย - สวมกางเกงขาสั้นเพียงครึ่งโคนเข่าให้เรียบรอ้ ย สวมเสื้อ และรองเท้า นักมวย มุมแดงใชก้ างเกง สแี ดง สชี มพู สเี ลอื ดหมู หรือสขี าว นักมวยมมุ น้ำเงินใช้กางเกงสนี ำ้ เงนิ สกี รมท่า หรือสีดำ - ต้องสวมกระจับหรือเครื่องป้องกันที่ทำขึ้นจากวัสดุแข็งแรงคลุมอวัยวะเพศ สามารถปอ้ งกนั อันตรายจากเข่า หรอื อวัยวะอืน่ โดยผกู ปมเชอื กไว้ด้านหลงั ด้วยเงือ่ นตาย เกบ็ ปลายเชือกสว่ นที่เหลอื ให้เรียบรอ้ ย - ต้องสวมมงคลเฉพาะเวลาไหว้ครูก่อนการแข่งขัน ส่วนระหว่างการแข่งขัน อนุญาตให้ผูกผ้าประเจียด เครื่องราง หรือตะกรุดที่โคนแขน หรือที่เอวได้ แต่ต้องหุ้มผ้า ใหเ้ รียบร้อย เพอื่ ป้องกนั อันตราย - ให้ใช้สนับรัดข้อเท้าได้ข้างละ ๑ อัน ห้ามเลื่อนขึ้นไปเป็นสนับแข้ง พับหรือ มว้ นลงมาห้ามใชผ้ ้ารัดขาและข้อเทา้ - ไมใ่ หใ้ ช้เข็มขดั หรือเครื่องประดบั ท่ีเปน็ วสั ดุทท่ี ำใหเ้ กดิ อันตราย - นักมวยตอ้ งใสฟ่ นั ยาง (สนับฟัน) - สำหรบั นักมวยหญงิ - เครอ่ื งปอ้ งกันหนา้ อก - เครอื่ งปอ้ งกันท้องนอ้ ย และอวัยวะเพศ - สวมกางเกงขาสั้นเพียงครึ่งโคนเข่าให้เรียบร้อยและสวมเสื้อไม่มีแขน หรือเสื้อแขนสั้นไม่สวมรองเท้า นักมวยมุมแดงใส่กางเกงหรือเสื้อสีแดง สีชมพู สีเลือด หมู หรือสีขาว นักมวยมุมน้ำเงินใสก่ างเกงหรอื เสอื้ สีน้ำเงนิ สีกรมทา่ หรอื สีดำ - ต้องผูกหรือมัดผมให้เรียบร้อยไม่ยาวรุงรัง เป็นอุปสรรคต่อการ แข่งขัน โดยเครื่องผูกมัด อนุญาตให้ใช้ยางหรือผ้ายืดที่ขนาดเหมาะสม ไม่มีส่วนของ โลหะ หรือพลาสตกิ แขง็ - ต้องสวมเครื่องป้องกันหน้าอกท้องน้อยและอวัยวะเพศ นักมวย สามารถใช้เคร่ืองปอ้ งกันสว่ นตวั หรือเครอ่ื งป้องกนั ที่นายสนามมวย ผู้จดั รายการแข่งขัน จัดไว้ โดยอปุ กรณเ์ ครื่องป้องกันดงั กลา่ ว ต้องผ่านการรับรองจากคณะกรรมการกีฬามวย 17

ขนาดสนามและอุปกรณ์กฬี า เลม่ 2 กางเกงมวย กระจับ ฟนั ยาง มงคลสำหรบั ไหวค้ รูก่อนชก สำหรบั นกั มวยหญงิ เครื่องปอ้ งกนั หนา้ อก เครอื่ งป้องกันอวยั วะเพศ 18

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เล่ม 2 2.2 นวม - นวมที่ใช้ในการแข่งขันโดยส่วนที่เป็นหนังของนวมต้องหนักไม่เกินครึ่งหนึ่ง ของน้ำหนักนวมทั้งหมดและส่วนของไส้นวมต้องมีน้ำหนักไม่น้อยกว่าครึ่งหนึ่งของ น้ำหนักนวมทั้งหมด ไส้นวมต้องไม่ถูกกระทำให้เปลี่ยนรูปหรือถูกบดขยี้ให้กระจายไป จากรปู เดมิ - ในการแข่งขัน นักมวยต้องใช้นวมที่ได้รับการรับรองจากสำนักงาน คณะกรรมการ กีฬามวยตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด ซึ่งนายสนามมวย หรือผู้จัดรายการ แขง่ ขนั มวยจัดไว้เทา่ นนั้ - ขนาดของนวมที่ใชใ้ นการแข่งขนั กำหนดดงั น้ี - นักมวยตั้งแต่รุ่นมินิฟลายเวทถึงรุ่นเฟเธอร์เวทต้องใช้นวมขนาด 6 ออนซ์ ( 132 กรัม) - นักมวยตั้งแต่รุ่นซุปเปอร์เฟเธอร์เวทถึงรุ่นเวลเตอร์เวทต้องใช้นวมขนาด 8 ออนซ์ ( 227 กรมั ) - นกั มวยตัง้ แต่รุ่นซุปเปอร์เวลเตอร์เวทข้นึ ไปตอ้ งใชน้ วมขนาด 10 ออนซ์ ( 284 กรัม) - การผูกเชือกนวมให้ขมวดปมเชือกไว้ด้านหลังของข้อมือ การสวมนวมต้อง ได้รับการตรวจและประทับตราจากเจ้าหน้าที่ตรวจนวมที่ได้รับมอบหมายซึ่งจะต้องดูแล ควบคุมการสวมนวมเพื่อให้แน่ใจว่า นักมวยปฏิบัติถูกต้องตามกติกา จนกระทั่งนักมวย ข้นึ สูเ่ วที 19

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เลม่ 2 2.3 ผ้าพันมอื - ในการแข่งขันนักมวยต้องพันมือด้วยผ้าพันมืออย่างอ่อน ยาวข้างละไม่เกิน 6 เมตร กว้างไม่เกนิ 5 เซนติเมตร - ในการแข่งขันนักมวยอาจ ใช้พลาสเตอร์ หรือแถบกาวยาง ยาวข้างละไม่เกิน 2.5 เมตร กว้าง 2.5 เซนติเมตร ปิดทับข้อมือ หรือหลังมือห้ามพันทับสันหมัดโดย เด็ดขาด - ในการแข่งขันนักมวยต้องใช้ผ้าพันมือที่นายสนามมวย หรือผู้จัดรายการ แขง่ ขนั มวยจดั ไวเ้ ทา่ น้นั ห้ามใชผ้ ้าพันมืออืน่ นอกเหนอื จากที่จัดไว้โดยเด็ดขาด - การพันมือต้องได้รับการตรวจและประทับตราจากเจ้าหน้าที่เพื่อรับรองว่า เปน็ ไปตามขอ้ กำหนดแล้วจงึ ให้สวมนวมได้ 20

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เล่ม 2 กฬี าขี่ม้า มาตรฐานสนามแข่งขันและอปุ กรณ์กีฬา 1. สนามแขง่ ขัน ในโอลิมปิคเกมส์ กีฬาขี่ม้าถูกยอมรับและบรรจุเพียง 3 ประเภท โดยสมาคมข่ี ม้าแห่งประเทศไทยได้กำหนดใหม้ ีการแขง่ ขนั ท้งั 3 ประเภทได้แก่ 1. ศิลปการบังคับม้า Dressage มาตรฐานขนาดสนามในการแข่งขัน จะ แบ่งเปน็ 2 ขนาด ได้แก่ ขนาดเลก็ พ้นื ที่ 20 x 40 เมตร และ ขนาดใหญ่ พ้ืนที่ 20 x 60 เมตร 21

ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เล่ม 2 2. กระโดดข้ามเครอื่ งกีดขวาง Show jumping ผอู้ อกแบบสนามแข่งขนั จะเป็น ผู้เริ่มออกแบบเครื่องกระโดดชนิดต่าง ๆ ที่จะใช้ทดสอบนักกีฬา และม้า ปกติจะอยู่ที่ ประมาณ 102-1. ก2รเะคโดรดื่อขงา้ ม(รเควรมอื่ ทงั้งกเดี คขรวื่อางงตS่อhเoนwื่อjงu)mกpำiหngนผดอู้คอวกาแมบสบูงสนคาวมาแมขก่งวข้าันงจขะอเปง็นแต่ละ เครื่อผงูต้เราิ่มมอรอะกดแับบคบเวคารมื่อสงากมระาโรดถดขชอนงิดกตา่ารงแๆข่งทขี่จันะนใชั้น้ทดๆสอแบลนะักทกิศีฬทาาแงใลนะกม้าารปเคกตลิจื่อะนอทยีู่่ท(เี่ ล้ียว แไปคเบลที้ปเไยคปำวรรเะใมลื่อหมาี้ยงา้ยตวณรมาาะมกา1ดรสร0ะับำะ-ดค1ดหับ2ับวรคาคับเวคมวการาสมาื่อมาสรงสมากา(มารรมราวะารถมรโถนทถดขนั้ง้อดอเ้อย)คงยกมรจมื่าอุมาุมรงกเแตเลลนข่อี้ยี้ย่งั้นเวนวขกจจันื่อระะงนรก)กั้นมวกว้ากๆำ้างหางแรนรลระตดดะะคัดทับดวสิศคับาินทวมคาจาสวมงูะงาใสทนมคากำวมสากาาามรรามเกถรคาวสตลร้าูงรื่อถงมวนขสุมจอทูงเแลงมี่ แ(ี้ยลุมเตลวะเ่ลจี้ยลระะวัี้ยบวรจอะง การอแอคกบแทบำบใหเพ้ยาื่อกใสหำ้มหั่นรับใจกวา่ารกยรุตะิธโดรดร)มจแาลกะนปั้นลกอรรดมภกัยาสรตำหัดสรินับจผะู้แทขำ่งกขาันรตเรมวื่อจเแปล็นะรทับี่เรรอียงบร้อย แล้ว กจาะรเอปอิดกโแอบกบาเสพใื่อหให้น้มักั่นกใีฬจวา่าเขย้าุตไิธปรเรดมินแลสะำปรลวอจดทภิศัยทสาำงหกราับรผเู้แคขล่งื่อขันนทเมี่ ื่จอเาปก็นจทุดี่เรเรียิ่มบตร้อ้นยจนถึง จุดส้นิ แสลุด้วซจึ่งะไเดป้ถิดกูโอกกำาหสนใหด้นรักะกยีฬะาทเขาง้าไปว้แเดลินว้ สแำลระวจเมทือ่ิศพทารงอ้ กมารแเคลล้วื่อกนาทรี่แจขา่งกขจันุดเจรึงิ่มจตะ้นเจรนิม่ ถขึงน้ึ ได้ จดุ สิน้ สดุ ซงึ่ ไดถ้ กู กำหนดระยะทางไวแ้ ลว้ และเมือ่ พร้อม แล้วการแขง่ ขันจงึ จะเริ่มข้นึ ได้ 22

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เลม่ 2 3. อีเว้นตง้ิ Eventing กีฬาประเภทน้ตี อ้ งทดสอบถงึ 3 แบบ คอื ทดสอบด้วย 3.1 ศลิ ปะการบงั คบั มา้ 3.2 ขา้ มภูมปิ ระเทศ 3.3 กระโดดข้ามเครื่องกดี ขวาง ซึ่งผู้แข่งขันจะต้องขี่ม้าไปตามเส้นทางที่กำหนดให้ในภูมิประเทศเป็นระยะทาง ประมาณ 3-6 กโิ ลเมตร ขึน้ อยู่กบั เกรดของผแู้ ขง่ ขัน 2. อุปกรณ์กฬี าและเครือ่ งแตง่ กาย 2.1 อปุ กรณค์ น 1. หมวกกนั น๊อค ซึ่งที่นิยม มีใช้กันอยู่ 2 ชนิด คอื – HARD HAT ทำด้วยวัสดุไฟเบอร์ มีความหมายแข็งแกร่ง ทนทาน สามารถทนแรงกระแทกจากภายนอกได้ ภายในบุนวมเพื่อให้กระชับศรีษะและมีกระบัง หมวกช่วยป้องกันอันตรายกับจมูกและส่วนของใบหน้าขณะตกม้า ส่วนขนาดควรเลือก ขนาดที่พอดีกับศีรษะ ไม่ควรเลือกขนาดใหญ่จนเกินไป ซึ่งจะเกิดปัญหาหมวกหล่นปิด หน้าในขณะที่ขี่และอาจจะหลุดหรือไม่สามารถป้อง กันศรีษะที่บอบบางของเราไว้ได้ และไมค่ วรเลอื กหมวกทแี่ นน่ จนเกินไปซ่งึ จะทำให้ผขู้ ่ีเองเกดิ อาการมึนศรีษะได้ – CRASH HELMET เป็นหมวกขี่ม้าอีกแบบหนึ่งทีม่ ีความแข็งแรง และ สามารถรองรับความปลอดภัยได้ดีกว่า HARD HAT หมวกชนิดนี้ออกแบบมาเพ่ือ 23

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เลม่ 2 สามารถรับแรงกระแทกอย่างรุนแรงในขณะตกม้าด้วยความ เร็วสูง มักนิยมใช้ในการข่ี ม้าในภมู ปิ ระเทศ เปน็ ตน้ 2. กางเกงขม่ี า้ มนี ยิ มดว้ ยกนั 2 แบบ คือ – BREECHES คือ กางเกงขี่ม้าที่ปลายขารัดเหนือข้อเท้า มีทั้งแบบมี ปีก และไม่มีปีก ส่วนสีนั้นแล้วแต่ความนิยม ส่วนสีที่ใช้ในการแข่งขัน คือ สีขาว หรือสี ครมี กางเกงชนดิ น้ใี ชใ้ ส่กับรองเท้า BOOT ทรงสูงเท่าน้นั – JODHPURS คือ กางเกงขี่ม้าอีกแบบที่มีลักษณะใกล้เคียงกับ BREECHES เพยี งแต่ต่างกันตรงปลายขา กางเกงน้ใี ชก้ ับรองเท้าหมุ้ ข้อ ส่วนการตดิ แผน่ หนังก็แล้วแต่ชนดิ อาจตดิ ด้านในขา หรอื บริเวณกน้ ยาวไปยังเขา่ ด้านในก็ ได้ ทั้งนี้เพื่อช่วยให้ผู้ขี่ยึดติดกับอานม้ามากยิ่งขึ้น แต่การรักษาสภาพหนังต้องระวัง เพราะหากผู้ขี่ใช้เตารีดรีดบริเวณหนังจะทำให้หนังแข็งตัวเร็วหมดสภาพ และทำให้ผู้ขี่ บาดเจบ็ เน่อื งจากการเสยี ดสกี บั ร่างกายในขณะที่ขม่ี ้า 3. รองเทา้ ขี่ม้า มี 2 ชนดิ คือ – BOOT หรือเรียกว่า รองเท้าขี่ม้าทรงสูงครึ่งน่อง สุดแล้วแต่จะยาว ครึ่งน่องหรือยาวจนถึงใต้เข่า ทำจากหนังสัตว์หรือจากยาง ซึ่งมีราคาต่างกัน ปลาย รองเท้าควรเรียวตามรูปเท้าส่วนพื้นรองเท้านั้นควรเรียบ เพื่อป้องกันอันตรายหากผู้ที่ข่ี ตกมา้ เทา้ จะไดไ้ ม่ติดอยภู่ ายในโกลน – ANKLE BOOT หรือรองเท้าขี่ม้าหุ้มข้อ ส่วนมากจะใช้กับกางเกง JODHPURS 4. GLOVES ถุงมือขี่ม้า ทำจากหนังหรือผ้า มีลักษณะแตกต่างกันไป ตามแบบ แตจ่ ะมีการเสรมิ ความแขง็ แรงบรเิ วณระหว่างน้วิ กอ้ ย นิว้ นาง และน้วิ หวั แมม่ ือ เพราะเป็นบริเวณที่สายบังเหียนจะผ่านเข้าในมือผู้ขี่ ช่วยลดความเสียดสีที่จะเกิดขึ้น ซึง่ อาจจะทำใหน้ ิว้ มือพองได้ 5. เส้ือ โดยปรกติเสื้อที่ใส่ไม่ควรรุ่มร่าม หรือมีขนาดใหญ่เกินไป เพราะจะทำให้เกะกะต่อการบังคับม้า ควรแต่งกายในชุดสุภาพ เสื้อควรเป็นเสื้อคอปก 24

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เลม่ 2 จะแขนสั้นหรือแขนยาวก็ได้ สำหรับการแข่งขันควรใส่เสื้อ JACKET หรือสูท (ขี่ม้า) สำหรับสูทควรเป็นสีน้ำเงิน หรือดำ สำหรับสีแดงน้ัน จะใช้เฉพาะผู้เชี่ยวชาญการขี่ม้าใน การกระโดดข้ามเครือ่ งกีดขวางเท่าน้นั 6. WHIP แส้ เป็นเครื่องบังคับม้ารอง ช่วยในการบังคับม้าในกรณีที่ แรงน่องของผู้ข่ีไมพ่ อ และเอาไว้ลงโทษมา้ ในกรณไี ม่เชือ่ ฟังผู้ข่ี และในทางจติ วทิ ยาต่อม้า เมื่อผู้ขี่ถือแส้ ม้ามักจะไม่กล้าเกเร แส้แบ่งออกเป็นแส้สั้น (JUMPING WHIP) และแส้ ยาว (DRESSAGE WHIP) 7. SPUR เดือย เป็นเครื่องมือบังคับรอง ใช้สำหรับเตือนม้าโดยสวม ทับรองเท้าขี่ม้ ช่วยเสริมให้บังคับม้าได้ดีขึ้น เมื่อต้องการฝึกหรือใช้ในการแข่งขัน SPUR มีมากมายหลายสิบแบบแตกต่างกันไปตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน (ส่วนใหญ่ใช้ เฉพาะผทู้ ่ีขม่ี า้ เป็นแล้วเท่าน้นั ) 2.2 อปุ กรณม์ ้า 1. ขลุมบังเหียน (BRIDLE) ส่วนใหญ่จะทำมาจากหนังสัตว์ ซ่ึง ประกอบกันเข้ามีรายละเอียดหลายอย่าง มีชื่อเรียกแต่ละชิ้นแต่ต่างกันออกไป ตำแหน่ง ทีป่ ระกอบกันเขา้ ไว้ ซึ่งจะยดึ อยบู่ นศีรษะม้า 2. เหลก็ ปากม้า (BIT) แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ – เหล็กปากอ่อน SNAFFLE BIT จะเป็นเหล็กปากม้าที่ใช้เป็นส่วน ใหญต่ ามปกตทิ ัว่ ไป ในการบังคับม้าในทกุ ระดบั ฝีมอื ในการขีม่ ้า – เหล็กปากแข็ง CURB BIT จะใช้ประกอบกับเหล็กปากอ่อน รวม เป็นบังเหียนสี่สาย ที่ใช้ในการบังคับม้าชั้นสูงและในพิธี หรือพระราชพิธีของกองทหาร มา้ ในการสวนสนาม 3. ผ้าปหู ลังม้า (NUMNAH OR SADDLE CLOTH) ใช้ปใู ตอ้ านม้า เพือ่ ป้องกนั สว่ นของตะโหงกมา้ ไมใ้ ห้เสียดสีกบั อานม้าโดยตรงซ่ึงจะทำให้ หลังแตก นอกจากนี้ยังช่วยในการซับเหงื่อม้าในขณะผูกอานมิฉะนั้นจะทำให้อานม้าลื่น หรือหลุดจากหลังม้าหรือขยับที่ได้ ผ้าปูหลังมีแบบต่างๆ มากมาย วัสดุที่ใช้ทำผ้าปูหลัง อาจทำจาก ผ้าฝา้ ย ลินิน ฟองน้ำ หรือหนงั แกะก็ได้ 4. อานม้า (SADDLE) ม2ีแ5บบที่แตกต่างกัน แล้วแต่ชนิดการใช้งาน แต่ส่วนประกอบหลัก ๆของอาน จะประกอบไปด้วย คือ ตัวอาน โกลน, สายโกลน ใน สว่ นของอานม้ามใี ห้เลือกมากมายหลายชนิด แบง่ หลัก ๆ ที่ใชง้ าน 3 ชนิด คอื

หรือหลุดจากหลังม้าหรือขยับที่ได้ ผ้าปูหลังมีแบบต่างๆ มากมาย วัสดุที่ใช้ทำผ้าปูหลัง ขอนาาดจสทนำาจมาแกละอผปุ ้ากฝรา้ ณยก์ ลฬี นิ านิ เลม่ฟอ2งนำ้ หรอื หนงั แกะก็ได้ 4. อานม้า (SADDLE) มีแบบที่แตกต่างกัน แล้วแต่ชนิดการใช้งาน แต่ส่วหนรือปหรละุดกจอาบกหหลลังักม้าๆหขรอือขงอยับานที่ไดจ้ะผป้ารปะูหกลอังมบีแไบปบดต้ว่ายงๆคมือากตมัวาอยานวัสโดกุทลี่ใชน้ท,ำสผา้ายปโูหกลลังน ใน ส่วนขอแอาตจง่สทอ่วำานจนปามรกะา้ ผกมา้อใี ฝหบ1้า้เหย.ลล4Aือลัก.lกนิ lอๆมินPาขานฟUอกมองRม้าองPานา(Oย้ำนSหSAหจลEDระาDอื สปยLหำรชEนะห)นังกรมแิดอับีกแบใแะบไชกบบปง้ไ็ ่งทดาดห้วนี่้แยลตทกักว่ัคตไือๆป่าตงทกัว่ใี ันอชา้งแนาลนโ้วกแ3ลตนช่ช,นนสิดิดากยคาโกอืรใลชน้งาในน ส่วนของอานมา้ ม2ีใ.หJเ้ UลือMกPมIาNกGมาสยำหหลารยับชกนริดะโแดบด่งขหา้ลมกั เๆครทอื่ ี่ใงชกง้ าีดนขว3าชงนดิ คอื 3. 1D.RAEllSSPUAGRPEOสSำEหสรำบั หศรบัลิ ใปชะ้งากนาทรวั่บไังปคับม้า พูดถึงอานม้า มีหลายค2.ุณJUภMาพPIเNรGิ่มจสาำกหหรับนกังรสะัตโดวด์ทขี่ใ้าชม้มเคารท่ือำงอกาดี นขวนางุ่มมาก นุ่มน้อย หนังแท้ หนังเทียม โครงอานข3้า.งใDนRทESำSดA้วGยEไมส้ำหหรือบั ทศลิำปดะ้วกยาพรบลงัาคสับตมิกา้ หล่อสำเร็จรูป วิธีการตัดเย็บ หนงั ขพนูดาถดึงอขาอนงมอ้าานมีหคลวาายมคกุณวภา้ างพคเวราิ่มมจลากกึ หขนอังงสอัตาวน์ทตี่ใลช้มอาดทจำนอกานระนทุ่มงั่ มผาผู้ กลนติ ุ่มทนมี่ ้อีชยื่อหเสนียังงแหทร้ ือไม่ ทำใหห้รนาังคเทาีขยมองโอครางนอแาตนกข้าตง่าใงนกทันำดอ้วอยกไมไป้ หรเมือื่อทำจดะ้วซยื้อพคลวาสรตจิกะหสลอ่อบสถำาเรม็จจราูปกวคิธรีกูผาู้สรตอัดนเยห็บรือผู้มี อคาวจามจทหคะรวนำู้เทาใสงั หมำขยี ร้มรนก้เูาาาส่อคดจียานขากขอก่อองไนงอนอา5ลาน.่อน5สคแน.าวตสายดกามร้าตยกัดย่ารวงทถัด้ากักทึงบันคหึบอวเนปอาเปังมก็น็นลไหสปกึส่วรข่วเนือนอมวทงทื่ออสั ีี่่ใใจาชดชะน้ยอุ้ยซตึดน่ืึดื้อลออคอาทวาดนรไี่นจมมจนม้าะเ่ กใป้าสหรใน็อ้หตะบอทิด้ตถนัอั่งิดาผยตอมู้ผู่กรจยลับาาติู่กยตกทับตัวคมี่มต่อรีช้าูผัวต่ือูม้สสัวเสอมา้ายยีน้าสรงหหัดาสรยทริ่งือือรสึบผไัดำนู้มมคที้ี่ ัญึบนที้่ี ควรคอำานจจึงะถทึงำคมือาจสาากยไนรลัด่อทนึบดจา้ ะยตถัก้อหงนไมงั ่คหมรือจวนัสดกอุ รื่นะททั่ไี่งมบ่เปา็นดอตันัวตมรา้ายเตพ่อรตาัวะมอ้าาสจ่ิงจสะำทคัญำใทหี่ ้เกิด บาดแคผวลรคทำน่ีเกึงิดถึงจคาือกกสารยเรสัดยี ทดึบสจไี ะดต้ ้องไม่คม จนกระทั่ง บาดตัวม้าเพราะอาจจะทำให้เกิด บาดแผล ทีเ่ กดิ จ6า.กสกานรบั เสแยี ขดง้ สมีไดา้ ้ (BOOT) สำหรับป้องกันการเสยี ดสีของขาม้าเวลาเดิน วิ่ง ไม่ให้เกิดบาดแผล6ซ. ึ่งสมนีมบั แากขง้มมา้าย(หBลOาOยTแ) บสำบหใรหับ้เปล้อืองกกตนั ากมารวเัตสถียดุปสรีขะอสงงขคาม์ข้าอเงวกลาาเรดใินช้งาน ตลอดวิ่งไปไจมน่ใหถ้เึงกผิด้าบพาดันแแผขล้งมซ้าึ่งมซีมึ่งานกอมากยจหาลกาจยะแชบ่วบยใลหด้เลกือากรตเาสมียวดัตสถีแุปลร้วะสยงังคช์ข่วอยงกการระใชช้งับาเนอ็นขา แมข้าไ้งมแมต่ใขล้าหไ้งอ้ยมดึด่ใไหอป้ยีจกึดนดอถ้วีกึงยดผ้ว้าแยพตันแ่จแตะข่จเ้งะสมเียส้าเียวซเลวึ่งลนาามอมกาาจกกากกกววจ่า่าะใใชนน่วกกยาาลรรดรรกัดัดาผผร้าเ้าพสพันียันแดขสแ้งีแขลเ้งม้วื่เอยมเังทื่อชียเ่วทบยกียกับบรกะกาชับรับกใเสอา่สร็นนใขสับา่สนับ 26

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เลม่ 2 กฬี าขมี่ า้ โปโล มาตรฐานสนามแข่งขนั และอปุ กรณ์กฬี า สนามแข่งขัน ขนาดสนามโปโล : กวา้ ง 160 - 200 หลา (145 - 183 เมตร) ยาว 250 - 300 หลา (230 - 275 เมตร) เขตปลอดภัย (Safety Zone) : ดา้ นข้าง 10 หลา (9 เมตร) ดา้ นหลัง 30 หลา (27 เมตร) 27

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เล่ม 2 อปุ กรณก์ ีฬา 1. หมวก (Helmet) 10. มา้ (Polo Pony) 2. สนับศอก (Elbow Pads) 11. บงั เหียน (Bridle) 28

ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เล่ม 2 3. กางเกงขายาวสีขาว (Polo Pants) 12. อาน (Saddle) 4. ถุงมือ (Glove) 13. ผ้ารองอาน (Saddle Pad) 5. สนบั เข่า (Knee Pads) 14. การพนั หางมา้ โปโล (Braided Tail) 6. รองเท้าบู๊ท (Polo Boots) 15. โกลน (Stirrup) 7. แส้ (Whip) 16. บทู๊ ของมา้ (Tendon Boot) 8. ไม้โปโล (Polo Mallet) 17. ผา้ พนั ขามา้ (Polo Bandage) 9. ลกู โปโล (Polo Ball) อปุ กรณ์ของผเู้ ลน่ - ไมอ่ นญุ าตให้มสี ่งิ แหลมคมบนบทู๊ หรอื สนบั เข่า (Knee Pads) - ผู้เลน่ จะต้องสวมหมวกกนั น๊อค (Helmet) และคาดสายเพอื่ ความปลอดภัย - ไม้โปโล ส่วนใหญ่ทำมาจากหวาย (Cane) โดยมีขนาดแตกต่างกันไป ตั้งแต่ 48 – 54 นิ้ว ผู้เล่นอาจเลือกใช้ไม้โปโลตามความสูงของม้าแต่ละตัวที่ใช้ในการแข่งขัน หรือตามลักษณะความชอบและความถนัดของผู้เล่นเอง เช่น ผู้เล่น A ปรับเปลี่ยนขนาด ไม้โปโลตามความสูงของม้าที่ใช้ในขณะนั้นๆ ส่วนผู้เล่น B ใช้ไม้ขนาดเดียวกันตลอดการ แขง่ ขนั แม้วา่ ความสงู ของม้าจะเปลี่ยนไป - ลูกโปโล ทำจากพลาสติกทนการกระแทก (High-impact plastic) เส้นผ่าน ศูนย์กลางของลูกโปโลอยู่ระหว่าง 76 – 89 มิลลิเมตร (3 – 3.5 นิ้ว) และน้ำหนักอยู่ ระหวา่ ง 120 – 135 กรมั (4.25 – 4.75 ออนซ์) มา้ และอุปกรณม์ ้า - ไม่มีการจำกดั ความสงู ของมา้ โปโล (Polo Pony) - จะต้องมีการปกป้องม้าด้วยการใส่เครื่องป้องกัน (Boots) หรือผ้าพันขาม้า (Polo Bandage) - เหล็กปากม้า เหล็กปากม้า (horse bit) คืออุปกรณ์ที่ใส่ไว้ในปากของม้า ใช้เพื่อเป็นตัวกลาง ในการสื่อสารระหว่างผู้ขี่และม้า ทำให้ผู้ขี่สามารถบอกทิศทางและบังคับม้าได้ตามท่ี 29

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เล่ม 2 ต้องการ เหล็กปากจึงนับว่าเป็นสิ่งที่สำคัญ มีผลโดยตรงต่อการขี่และการเชื่อฟังคำสั่ง ของมา้ ดังนน้ั การเลือกเหล็กปากให้เหมาะกับท้งั ผขู้ ี่และม้าจึงเป็นส่งิ ทต่ี ้องเอาใจใส่ เป็น อยา่ งยงิ่ ในการข่ีม้าทกุ ประเภท เหล็กปากม้าในปัจจุบันมีความหลากหลายมาก ประเภทและวัสดุที่ใช้ทำเหล็ก ปากที่ต่างกันไป ทำให้เหล็กปากมีคุณสมบัติและเหมาะกับการใช้งานที่แตกต่างกันไป ดว้ ย ประเภทของเหล็กปากม้า (Types of Horse Bits) 1 เหลก็ ปากออ่ นหรอื Snaffle Bit เป็นเหลก็ ปากพื้นฐานท่ีใช้กนั อยา่ งแพรห่ ลาย มีข้อต่อตรงกลางในส่วนของปากคาบ (mouth piece) ทำให้มีการอ่อนตัวได้ ช่วยทำให้ ผู้ขี่สามารถบังคับม้าได้โดยไม่ทำให้ม้าเจ็บหรือรุนแรงเหมือนกับเหล็กปากประเภทอื่นๆ แรงที่เกิดขึ้นในการบังคับม้า เป็นแรงตรงไม่มีการผ่อนแรงใดๆ เช่น ถ้าเราดึงสาย บังเหียนโดยออกแรง 10 หน่วย แรงที่กระทำต่อม้าก็จะเท่ากับ 10 หน่วย จึงเหมาะกับ ลูกม้า ม้าที่ไม่เคยใสเ่ หล็กปาก ผู้ขี่ใหม่ และการฝึกม้าเบื้องต้น เป็นต้น เหล็กปากอ่อนนี้ ยงั สามารถ แบง่ ยอ่ ยๆ ออกได้เป็น 4 ชนดิ ดังนี้ 1.1 Loose Ring Snaffle หรือ เหล็กปากห่วงหมุน ได้ชื่อตามส่วน เหล็กแก้มที่สามารถเคลื่อนที่เป็นวงกลมได้อย่างอิสระ ทำให้เหล็กปากวางตัวในปากม้า ได้อย่างเป็นธรรมชาติและม้าสามารถตอบรับรู้คำสั่งได้ดีกว่าเหล็กปากอ่อนชนิดอื่นๆ เหมาะกบั ม้าท่ไี มเ่ คยใส่เหลก็ ปากมากอ่ น ลกู มา้ ผูข้ ่ีใหม่ และ การใช้บงั คับม้าทั่วไป เป็น ตน้ 30

ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เล่ม 2 1.2 Egg butt Snaffle หรือเหล็กปากรปู ไข่ เป็นเหล็กปากอ่อนท่มี ี ความน่มุ นวลต่อมา้ มากทสี่ ดุ เพราะวา่ จะมสี ว่ นปลายทั้ง2ด้านของเหลก็ ปากคาบเปน็ รปู ไข่ ซ่ึงช่วยปอ้ งกนั ไม่ให้เหล็กปาก บบี รัดหรอื บาดมมุ ปากมา้ ได้ จงึ เหมาะสำหรับลกู ม้า มากทส่ี ุด 1.3 D-ring Snaffle หรือ เหล็กปากตัว D ได้ชื่อตามรูปร่างของส่วน เหล็กแก้ม (Cheekpiece) ที่เป็นรูปตัว D ส่วนแก้มที่เป็นรูปตัวD นี้เองที่ช่วยในเรื่องการ เลี้ยว เหมาะกับผขู้ ่ที ่ีฝึกบังคบั ม้าให้เล้ยี ว 1.4 Full-Cheek Snaffle หรือ เหล็กปากก้านยาว ลักษณะเด่นคือ ก้านที่ยาวยื่นออกมาจากส่วนเหล็กแก้ม ก้านยาวนี้ช่วยเรื่องการควบคุมทิศทางให้ม้า เช่นเดียวกับ เหล็กปากประเภท D-Ring แต่เหนือกว่าด้วยการทำหน้าที่เหมือนตัวล็อก ไม่ให้เหล็กปากลื่นไปมาจึงสร้างความสมดุลให้ม้าได้อย่างดี เป็นเหล็กปากที่มีความ นุ่มนวล ไม่รุนแรงในการบังคับม้า จึงสามารถใช้ควบคุมม้าที่ฝึกใหม่ หรือลูกม้าได้ดีอีก ด้วย 31

ขนาดสนามและอุปกรณ์กฬี า เล่ม 2 2 เหล็กปากแข็ง หรือ Curb Bit เป็นเหล็กปากที่รุนแรงขึ้นอีกระดับนึง เพื่อใช้ ในการควบคุมม้าให้เชื่อฟังและทำคำสั่งได้มากขึ้นกว่าเหล็กปากอ่อน เหมาะกับม้าดื้อที่ ไม่ค่อยเชื่อฟังคำสั่ง, ม้าที่ผึกเพิ่มใช้ในการกีฬาหรือม้าใช้งานในฟาร์ม เป็นต้น ส่วนปาก คาบ (mount piece) เป็นก้านเดียวไม่มีข้อต่อ และส่วนข้างแก้มจะมีขาที่เรียกว่า Shanks ซึ่งจะช่วยในเรื่องการผ่อนแรง เช่น ถ้าเราดึงสายบังเหียนโดยออกแรงเพียง 2 หน่วย แรงที่กระทำต่อม้าอาจจะเพิ่มเป็น 10 หน่วย ผู้ที่ใช้เหล็กปากประเภทนี้จึงต้องมี ความชำนาญในการขี่พอสมควร และควรใช้กับม้าที่เคยใส่เหล็กปากหรือม้าที่เคยฝึก มาแลว้ เหลก็ ปากแข็งแบง่ เปน็ 2 ประเภทย่อย ไดแ้ ก่ 2.1 เหลก็ ปากแขง็ เวสเทริ ์น (Western Curb Bit) จะมีขา (Shanks) ที่ ยาวสามารถช่วยในการผ่อนแรงและจะมีความรุนแรงในการบังคับมากขึ้นตามความยาว และขานั้นเอง เหล็กปากประเภทนี้นิยมใช้ในหมู่คาวบอย เช่น การขี่ม้าอ้อมถัง ขี่ม้า คล้องวัว การขี่ที่มีการหยุดม้าแบบกระทันหัน การขี่ม้าแบบสไลด์ การขี่ม้าเหล่านี้ต้อง อาศยั ผู้ขแี่ ละม้าท่ชี ำนาญเทา่ นน้ั เพราะไมเ่ ชน่ นั้นมา้ อาจเกดิ การบาดเจ็บได้ 32

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เลม่ 2 2.2 เหล็กปากแข็งอังกฤษ (English Curb Bit) เป็นเหล็กปากแข็งที่มี ความนุ่มนวลมากกว่าเหล็กปากแข็งเวสเทิร์น มีขา (Shanks) ที่ไม่ยาวนัก เหมาะสำหรับ การฝึกม้าหลายระดับ เช่น ศิลปะการฝึกบังคับม้า (Dressage) การโชว์บังคับม้า ซึ่งเป็น การขี่ที่เนน้ การเคลื่อนท่ีและเน้นทิศทาง ซึ่งมา้ ต้องทำตามคำสั่งได้อย่างแมน่ ยำ และ่ีเนน้ การผึกทิศทาง โดยการสื่อสารที่นุ่มนวลกว่าเหล็กปากแข่งแบบเวสเทิร์นในการ ทำให้ม้า เข้าใจและตอบสนอง ต่อคำสั่งได้ เหล็กปากประเภทนี้ได้แก่ Weymouth ซึ่งเป็นการใช้ เหลก็ ปากควบคูก่ บั โซ่ (Curb Chain) ช่วยในการสื่อสารกบั ม้าให้ไดด้ ยี ิง่ ข้ึนอีกด้วย 3 Gag Bit หรือ เหล็กปากหลายห่วง มีรูปร่างคล้ายเหล็กปากอ่อน (Snaffle bit) แต่การใช้งานแตกต่างกัน เหล็กปากหลายห่วงนีม้ ีความรุนแรงมากกว่าทั้งเหล็กปาก อ่อนและเหล็กปากแข็ง เพราะมีการผ่อนแรงที่ไม่เสถียร โดยจะใช้สายบังเหียน 2หรือ 3 ชุด และนิยมใช้คู่กับสายง่อง ซึ่งร้อยผ่านรูหรือห่วงขนาดเล็กที่เรียกว่า eye เหล็กปาก ชนิดนี้เหมาะกับ การขี่ที่ต้องการการควบคุมที่เด็ดขาดและแม่นยำ เช่น กีฬาโปโลและ การขี่ม้าข้ามสง่ิ กีดขวาง เปน็ ต้น 33

ขนาดสนามและอุปกรณ์กีฬา เลม่ 2 4. การใช้เหล็กปากคู่ หรือ Double Bridle คือการนำเหล็กปากแข็งและปาก อ่อนมาใช้ร่วมกัน การควบคุมก็จะเป็นแบบ 2 แรง ทั้งแรงตรงและแรงที่ผ่านการผ่อน เหล็กปากแข็งที่นิยมมาใช้คือ Weymouth และเหล็กปากอ่อนคือ Bradoon หรือ Bridoon และต้องใช้ร่วมกับชุดบังเหียนเฉพาะที่มีสายต่อเหล็กปาก 2 สายและสาย บังเหียน 2 สาย ม้าที่ใส่เหล็กปากทั้งสองเข้าไปพร้อมกันได้นั้นต้องเป็นม้าที่มีลักษณะ ปากใหญ่พอ ไม่เช่นนั้นอาจทำใหป้ ากของม้าได้เจบ็ ได้ เหล็กปากคู่เหมาะสำหรับการขี่ใน กีฬาบังคับม้า Dressage และการฝึกควบคุมม้าระดับ 3 ขึ้นไป การใช้เหล็กปากใน ลกั ษณะน้เี น้นการส่อื สารกับม้าอย่างลกึ ซึง้ แตไ่ ม่รนุ แรง 5 Pelham และ Kimblewick (Kimberwick) เปน็ เหลก็ ปากทท่ี ำงานคล้ายการ ใช้เหล็กปากคู่ที่เป็นการใช้แรงแรงตรงและการผ่อนแรงร่วมกัน แต่ต่างกันตรงที่ เหล็ก ปากชนิดนี้ไม่ได้เอาเหล็กปากแข็งและอ่อนมาใช้ร่วมกัน แต่รวมเป็นเหล็กปากชิ้นเดียว 34

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เลม่ 2 เลย ชดุ บงั เหยี นท่ีใช่รว่ มจะต้องเป็นแบบเฉพาะเช่นเดียวกบั การใช้เหลก็ ปากคู่ เหล็กปาก ชนิดนี้เหมาะกับลูกม้าที่ต้องการฝึกขั้นสูงและการขี่ม้าโชว์ (ห้ามใช้เหล็กปากชนิดนี้ใน การแขง่ ขัน Dressage ที่เป็นทางการ) Kimblewick Pelham 6 Hackamore และ Bitless: Hackamore เป็นเหล็กปากที่ไม่มีส่วนปากคาบ (Mouthpiece) แต่เพิ่มแผงรัดจมูกเข้ามาแทน โดยแรงจะกดบรเิ วณแผงจมูกม้าทำใหม้ ้า รับรู้ได้ถึงคำสั่ง เหมาะสำหรับการขี่ม้าคล้องสัตว์ (Rodeo Roping) การปล้ำม้า (Steer- Wrestling) และการขี่ม้าอ้อมถัง (Barrel Racing) ส่วน Bitless นั้นจะคล้ายกับ Hackamore แตจ่ ะไมม่ สี ่วนของขา (Shank) จะมีแคส่ ่วนทีเ่ ปน็ หนังเทา่ นั้น Hackamore หรือ Mechanical Hackamore 35

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เล่ม 2 Bitless 36

ขนาดสนามและอุปกรณ์กฬี า เล่ม 2 กฬี าคูราช มาตรฐานสนามแข่งขันและอุปกรณก์ ีฬา 1. กแิ ลม (Gilam) หรือ สนามแข่งขนั 1.1 กิแลม (Gilam) ของกีฬาคูราช สำหรับมาตรฐานเพื่อใช้ในการจัดการแข่งขันระดับชาติและนานาชาติ จะต้องมีขนาดไม่น้อยกว่า 14 x 14 เมตร และไม่เกิน 16 x 16 เมตร โดยปกติสีของกิ แลมจะต้องปูด้วยเบาะสองสี ซึ่งที่นิยมใช้ได้แก่ สีเขียว, สีเขียวอ่อน, สีฟ้า, สีน้ำเงิน, สี เหลือง, สีส้ม, สีแดง, ฯลฯ เพ่ือแยกให้เห็นความแตกต่างระหว่างพื้นที่ในเขตการแข่งขัน (In Side) และพนื้ ท่ีนอกเขตการแข่งขนั (Out Side) 1.2 กิแลม (Gilam) ที่ใช้ในการแข่งขันแบ่งออกเป็น 2 เขต เส้นแบ่งเขตเหล่านี้ เรยี กวา่ “เสน้ อนั ตราย” 37

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เล่ม 2 1.3 พื้นที่ต่อสู้ หมายถึงพื้นที่ด้านในกิแลม มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ซ่ึง จะเรียกว่า “เขตต่อสู้ หรือ เขตแข่งขัน (In Side)” จะปูด้วยกิแลมที่เป็นสีเดียวกัน มี ขนาดไม่นอ้ ยกวา่ 8 x 8 เมตร และไมเ่ กนิ 10 x 10 เมตร 38

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กฬี า เล่ม 2 1.4 พื้นที่นอกเขตต่อสู้ หมายถึงพื้นที่ของกิแลมโดยรอบเขตแข่งขัน ซึ่งเรียกวา่ นอกเขตต่อสู้ (Out Side) มขี นาดกวา้ งออกไปโดยรอบ 2-3 เมตร 14x14m 16x16 m 1.5 เส้นเริ่มต้นและสิ้นสุดการต่อสู้ ในเขตต่อสู้ของกิแลม จะถูกขีดเส้นตรง 2 เส้น ที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจน เพื่อเป็นจุดยืนของนักกีฬาบนกิแลม ก่อนที่ผู้ตัดสินจะ สั่ง “Kurash” ให้นักกีฬาทำการต่อสู้ และเพื่อเป็นจุดยืนของนักกีฬาบนกิแลม หลังจาก ที่ผู้ตัดสนิ มีคำส่ังวา่ “Tokhta” โดยกำหนดให้เส้นเริ่มต้นทางขวามือของผูต้ ัดสินเปน็ เสน้ สีน้ำเงิน และเสน้ เรม่ิ ต้นทางซา้ ยมือของผู้ตัดสินเปน็ เสน้ สีเขยี ว โดยใหม้ รี ะยะห่างกนั 2-4 เมตร 39

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เลม่ 2 1.6 กิแลม ควรจะต้องอยู่บนพื้นที่ยืดหยุ่นหรือบนฟลอร์ยกพื้น ความสูงจากพื้น ไม่เกิน 80 เซนติเมตร ถ้ายกฟลอร์สูงควรทำทางลาดสโลบลงโดยรอบทั้ง 4 ด้าน และทำ บนั ไดทางขึน้ ลงสำหรบั นักกีฬาและผตู้ ดั สินดว้ ย หมายเหตุ : ปัจจุบันกิแลมถูกพัฒนามาใช้แผ่นยางสำเร็จรูปแบบจิ๊กซอร์ต่อ สำเร็จ ซึ่งสหพันธ์กีฬาคูราชโลกอนุญาตให้นำมาใช้ในการจัดการแข่งขันได้ โดยมี มาตรฐานแผ่นยางสำเรจ็ รูปแบบจกิ๊ ซอร์ กว้าง X ยาว = 1 X 1 เมตร และมคี วามหนาไม่ น้อยกว่า 5 เซนติเมตร สีของกิแลมอนุโลมให้ใช้สีอื่นได้ตามความเหมาะสม ทั้งนี้ต้องมี ความแตกตา่ งระหวา่ งสี ของพ้นื ท่ีเขตต่อสู้กบั พ้นื ทนี่ อกเขตตอ่ สูอ้ ยา่ งชัดเจน 40

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ฬี า เล่ม 2 2. อุปกรณ์ ทจ่ี ำเปน็ ต้องมีในสนามแข่งขนั 2.1 อปุ กรณ์ทกี่ ิแลมแตล่ ะกแิ ลม (สนามแข่งขนั ) จะต้องมี ประกอบด้วย : * โต๊ะ 1 ตัวและเก้าอี้ 3 ตัว (สำหรับ หัวหน้าผู้ตัดสินประจำสนาม, เลขานุการ ประจำสนามและเจา้ หน้าที่สกอรบ์ อร์ด) * เก้าอีน้ ั่งผตู้ ัดสินขา้ งสนาม 2 ตัว (ตอ่ 1 สนาม) * นาฬิกาจับเวลา (ท้งั แบบไฟฟ้า และแบบจับด้วยมอื ) * เครอื่ งขยายเสียงพรอ้ มไมโครโฟน. 2-4 ตวั * ป้ายแสดงคะแนนอิเล็คทรอนคิ (แสดงเวลาของการแข่งขัน และแสดงคะแนน เทคนคิ ) พร้อมกับสัญญาณเสยี งแสดงการสนิ้ สุดการแขง่ ขัน * กล้องบันทึกภาพเคลื่อนไหว พร้อมเครื่องเล่น และจอมอร์นิเตอร์สำหรับดู ภาพท่บี ันทึก * จอแสดงผล LED ขนาดใหญ่ 2.2 โต๊ะและเก้าอี้ สำหรับ หัวหน้าผู้ตัดสินประจำสนาม, เลขานุการประจำ สนาม เจ้าหน้าที่ควบคุมสกอร์บอร์ด ผู้ประกาศประจำสนาม ควรจัดให้อยู่ด้านนอกมี ระยะห่างจากกิแลม อย่างน้อย 1-2 เมตร และควรอยู่ใกล้กันในแนวเดียวกัน เพื่อให้ ทำงานประสานงานกนั ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 2.3 เกา้ อีน้ ่ังผู้ตดั สินขา้ งสนาม 2 ตวั ควรมีนำ้ หนักเบา ขาเก้าอ้ีโคง้ มน เพื่อไม่ให้ ขาเกา้ อ้ีไปกดทบั ลงบนกแิ ลม ซ่งึ จะทำใหก้ แิ ลมชำรุดเสยี หาย ตง้ั อยนู่ อกกิแลมในมุม ตรงขา้ มกัน โดยไม่บังหรอื อยใู่ กลก้ ับปา้ ยคะแนน 41

ขนาดสนามและอปุ กรณก์ ีฬา เล่ม 2 กีฬาซอฟทเ์ ทนนสิ มาตรฐานสนามแข่งขันและอุปกรณก์ ีฬา สนามซอฟทเ์ ทนนสิ ความแตกต่างระหวา่ ง สนามเทนนสิ และ สนามซอฟทเ์ ทนนิส เสน้ และสว่ นตา่ งๆบนสนาม Divisions of Court and Lines ช่อื ของเล่น สญั ลักษณ์ ความยาว เสน้ ขา้ ง Sideline A C,B D 23.77 เมตร เส้นหลงั Base Line A B,C D 10.97 เมตร เส้นเสิรฟ์ ข้าง Service Sideline E F, F H 12.80 เมตร เสน้ เสริ ์ฟ Service Line E F, G F 8.23 เมตร 42

เสน้ เสริ ์ฟกลาง Service Center Line MN ขนาดสนามและอุปกรณก์ ฬี า เล่ม 2 Center mark RS 12.80 เมตร 0.15 เมตร ขยายความ 1. เสน้ สมตทิ ี่ลากเชอื่ มระหวา่ งจุดกลางทัง้ สองจุดผา่ นเส้นเสิร์ฟ กลางจะทำให้แบง่ สนามตามยาวเปน็ สองส่วนเทา่ ๆ กนั ในขนาดท่ตี าขา่ ย (xy) จะแบง่ ครึ่งสนามตามขวาง (ทำให้เสน้ AC, EG, MN, FH, BD อกเปน็ สองขา้ งเท่าๆ กันด้วยเส้น XY) 2. จดุ ลาง (Center Mark) ทง้ั สองจุดจะถกู ลากจากบรเิ วณกลางเสน้ หลงั เป็น แนวตง้ั ฉากกับเสน้ หลังเขา้ มาภายในสนามด้วยความยาว 15 เซนตเิ มตร สนามประเภทเดี่ยว การแข่งขันประเภทเดี่ยว สนามจะถูกแบ่งออกเป็น 4 ส่วนเท่าๆ กัน สนามถูก แบ่งครึ่งตามขวางด้วยตาข่ายและแบ่งครึ่งตามยาวด้วยเส้นที่ลากจากเส้นเสิร์ฟกลาง (Center Service Line) จนถึงเส้นออกหลัง (Base Line) หรือเส้นที่ลากระหว่างจุด กึ่งกลาง (Center Marks) ทั้งสองจุด (R และ S) ซึ่งเส้น RS นี้จะเรียกว่าเส้นข้าง (Side- Line) อกี เส้นหนึง่ ในการเล่น ประเภทเดีย่ วหรอื “เสน้ ข้างเดียว (Singles-Line)” ชอื่ ของเส้น สญั ลักษณ์ ความยาว เสน้ ข้าง Sideline I O,J T 23.77 เมตร I J,O T เส้นหลัง Base Line 10.97 เมตร 43

ขนาดสนามและอปุ กรณ์กีฬา เลม่ 2 เสน้ เสริ ฟ์ ขา้ ง Service Sideline E G,F H 10.80 เมตร เส้นเสิร์ฟ Service Line E F,G H 8.23 เมตร เสน้ เสริ ฟ์ กลาง Service Center Line M N 12.80 เมตร Center mark R, S 0.15 เมตร สนามซอเสฟ้นเทสเิร์ ทฟ์ ขน้านงสิ Service Sideline E G,F H 10.80 เมตร สนาม (OเเCสสสeu้นน้ นntเเtสสาceิิรรมorฟ์ฟ์ ซumกSอrลateฟาr)rkงvทรiScว์เeeทมrvนLทiicนnั้งeeสิสCิ่งปeตnริดtะeตกrั้งอLi(บnFeดix้วtยurบeEMRร,sFเิSN),วGแณHลสะนสาิ่งมอทำนใี่ ชวเ้ ยลค่นว(า801Cม2..21o.ส835u0ะเเrมมดเtมตต)วตรรแกรลสะำหพร้ืนับทผร่ี ู้ชอมบ (AttendสaนnาtมซFอaฟcทilเ์iทtiนeนs)ิสที่ไมก่ ดี ขวางการเล่น ขยายคสนวาามมซอ1ฟ.ทสเ์ ทิ่งนตนิดิสตปั้งระ(Fกiอxบtดu้วrยesบ)รหิเวมณาสยนาถมึงทเใี่ สชเ้าลคน่ ํ้า(ตCoาuขr่าt)ยแล(Nะพeนื้tทPีร่ oอบsts) และ ทนี่ งั่ ผู้ตดั สสนินาม((UOmutcpoiruert)sรCวมhทaั้งiสr)ิ่งติดตั้ง (Fixtures) และสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้ชม ข่าย (W(ทiA2rี่นet.tง่ั eผสFnตู้ ิ่งedดั อnaขสำncยินนteา(ยFวsUaคย)mcวคทipาliวี่กtมiriาeeั้น1มssด.)สสทC้าะิ่ง่ไีhนดตมaหิดก่วirีดตกล) ขั้งสังวแ(ำาFลหงixกะรtาuดับรrเe้าผลsน่นู้ช)ขมห้าม(งาAยจtถtรึงeรเnสยdา์ คหaํ้าn้อตtงานขF่าaํ้ายcห(ilNi้อteiงteสPs้วo)มsหtsมห) าแ้อยลงะถเกึง็บรขั้วอตงา (Rolleas Club2.Hสoิ่งuอำsนeวยFคeวnาcมeสะs)ดวเกสสาำธหงรับสผกู้ชอมร(์บAtอteรn์ดdaทnี่นt ั่งFนacักilกitiีฬesา) ห(ทมาั้งยทถี่ตึง ิดรั้วตตั้งาอยู่กับที่ และทเี่ คขล่าื่อยน(Wยา้irยeไFดe้)nถceังsน) าํ้ ที่กอั้นปุ ดก้ารนณหลต์ ัง่าแงลๆะดส้าำนหข้ารงับจกรารรยอ์ หา้อบงนนํ้า้ําแหล้อะงสอ้วืน่ มๆห้องเก็บของ แ(Rส1ลo.นะlทlสาe่ีเมนคasลสาอ่ืCนมนlาuจยมbะา้ ยเHไปดo็น้)usถพeังนื้นFาํ้ eรnอาcปุ บeกตsร)ณีกเสต์ราา่อธงบงๆสทสกำั้งอหรร4์บบั อกดรา้าร์ดอนทาบี่นดนั่ง้วนํ้ายแักลเกสะีฬอ้นาืน่ ห(ๆทลั้งัทงี่ตเิดสต้นั้งอขย้าู่กงับทมี่ ีตาข่าย ค่นั กลาง 1. สนามจะเป็นพื้นราบตีกรอบทั้ง 4 ด้าน ด้วยเส้นหลัง เส้นข้าง มีตาข่าย ค2่นั .กเลสา้นง ทีใ่ ช้ตกี รอบควรเป็นสีขาว โดยเสน้ มคี วามกวา้ ง 5 - 6 เซนติเมตร 3. อาจ2ก. เ่อสน้สทร่ีใ้าชง้ตใกี หร้อสบนคาวมรเมปีคน็ สวขีาามวลโดายดเเสอ้นียมีคงไวาดม้เกพวื่อา้ งม5ิให- 6้นํ้เาซขนังตโเิ มดตยรมีค่าความลาด xเอyยี) งลดลเxอyงีย)จงลาดกลก3งล.จอาากางจกสกลนา่อางสสมรนไ้าปางมใสหไปเู่ ้สสสน้นเู่ าสหม้นมลหีคังลไวงั ดไาดม้ไไ้ มลมา่เเ่ กกดนิเนิ อ1ีย10ง0ไเดซเ้เนซพตนื่อเิ มมตติใิเหมร้นต(เํ้าสรข้น(ังกเโสลดาน้ยงมกสีคนล่าาาคมงวสคานอืมลาเสามน้ดคือ เสน้ สนสนาามมซซออฟฟททเ์ เ์ททนนนนสิ ิส 44