Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานวิจัยภาษาญัฮกุร

รายงานวิจัยภาษาญัฮกุร

Description: รายงานวิจัยภาษาญัฮกุร.

Search

Read the Text Version

โครงการบนั ทกึ รวบรวม เพือ่ การสงวนรกั ษา ภาษาและภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ ของกลุม่ ชาตพิ นั ธ์ุ : ภาษาญฮั กุร คณะผู้ดาํ เนินโครงการ สุวไิ ล เปรมศรรี ัตน์ มยรุ ี ถาวรพฒั น์ กมุ ารี ลาภอาภรณ์ โครงการนีไ้ ดร้ ับงบประมาณสนบั สนุนจากกรมส่งเสรมิ วัฒนธรรม

บทคดั ยอ่ ภาษาแต่ละภาษาล้วนมีคุณค่า เป็นมรดกของมนุษยชาติ ภาษาเป็นระบบส่ือสารที่สร้างข้ึนจากภูมิ ปัญญาเฉพาะของแต่ละกลุ่มชน ภาษาจึงเป็นท้ังระบบความคิด ระบบความรู้ ความเข้าใจโลกและสิ่งแวดล้อม เป็นปูมบันทึกภูมปิ ญั ญาและเปน็ สญั ลักษณ์ทางวฒั นธรรมของแต่ละกลุม่ ชน การเปลี่ยนแปลงในสังคมปัจจุบันอันเป็นผลมาจากโลกาภิวัตน์และยุคของการสร้างชาติ ทําให้หลาย ภาษาตกอยู่ในภาวะวิกฤต โดยจํานวนกว่า ๗๐ กลุ่มภาษาในประเทศไทย มีจํานวนถึง ๑๕ กลุ่มที่อยู่ในกลุ่ม ภาวะวิกฤตรุนแรงใกล้สูญ (สุวิไล เปรมศรีรัตน์, ๒๕๕๒) จึงมีความจําเป็นอย่างเร่งด่วนที่จะต้องรวบรวมและ บันทึกองค์ความรู้ด้านภาษา และภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างเป็นระบบ เพ่ือส่งเสริมให้เกิดการสงวนรักษาและสืบ สานในหม่เู ยาวชนหรือชนรนุ่ หลงั ต่อไป โครงการบันทึกรวบรวมเพื่อการสงวนรักษาภาษาและภูมิปัญญาท้องถ่ินของกลุ่มชาติพันธุ์ : ภาษา ญฮั กรุ มวี ัตถุประสงคเ์ พ่ือศกึ ษารวบรวมบันทกึ ขอ้ มูลและจัดทําคลังมรดกภูมิปัญญาด้านภาษา วัฒนธรรม และ ภูมิปัญญาของกลุ่มชาติพันธุ์ญัฮกุร ซ่ึงอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก และเป็นภาษาด้ังเดิมของดินแดน เอเชียอาคเนย์ด้วยการมีส่วนร่วมของชุมชน โดยชุมชนมีบทบาทเป็นผู้เก็บรวบรวมองค์ความรู้ท้องถิ่นด้วย ตนเอง และเป็นผ้ถู ่ายทอดองคค์ วามรสู้ ูก่ ลุ่มเยาวชนของตนเอง ผลจากการศึกษาวิจัยนี้ได้บันทึกและรวบรวมองค์ความรู้ด้านภาษา วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถ่ิน โดยศึกษาระบบภาษา คําศัพท์ วรรณกรรมบอกเล่าต่าง ๆ เช่น นิทาน เพลง ตลอดจนองค์ความรู้และภูมิ ปัญญาท้องถ่ินท่ีผ่านภาษา เช่น พฤกษศาสตร์พ้ืนบ้าน อาหารพ้ืนบ้าน ประเพณีพื้นบ้าน เป็นต้น ซึ่งงานวิจัยน้ี เป็นประโยชน์โดยตรงกับชาวญัฮกุร และวงวิชาการด้านภาษาและชาติพันธ์ุ รวมท้ังภาษาญัฮกุรได้ข้ึนทะเบียน เป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ สาขาภาษาเป็นที่เรียบร้อยแล้ว และจะนําเสนอยูเนสโก้ให้เป็น มรดกภูมิปญั ญาทางวัฒนธรรมของมนุษยชาติเม่ือประเทศไทยเข้าเป็นภาคีตอ่ ไป นอกจากนี้ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ญัฮกุร ยังเกิดกําลังใจและเกิดจิตสํานึกในการสงวนรักษาภูมิปัญญา ท้องถ่ินของตนเอง อันเป็นแนวทางในการสงวนรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม เพ่ือการดํารงรักษาความ หลากหลายทางภาษาและวฒั นธรรมที่มคี ุณค่าของประเทศและของมนษุ ยชาติโดยส่วนรวม

คาํ นํา โครงการ “บันทึกรวบรวม เพื่อการสงวนรักษาภาษาและภูมิปัญญาท้องถิ่นของกลุ่มชาติพันธุ์ : ภาษาญัฮกุร” มีวัตถุประสงค์ในการดําเนินโครงการเพ่ือปกป้องคุ้มครองมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม โดย ศึกษาบันทึกรวบรวมและจัดเก็บข้อมูลภาษาญัฮกุรโดยชุมชนเจ้าของภาษามีส่วนร่วม เพ่ือจัดทําคลังข้อมูล มรดกภูมิปัญญาด้านภาษา วัฒนธรรม และภูมิปัญญาของกลุ่มชาติพันธุ์ญัฮกุรในขอบเขตประเทศไทย เพื่อ นําไปสู่การเสนอข้ึนทะเบียนเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ สาขาภาษาและนําเสนอยูเนสโกให้ เป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของมนุษยชาติเม่ือประเทศไทยเข้าเป็นภาคี Convention for the Safeguarding of the Intangible Cultural Heritage ในอนาคต และเพื่อให้ชุมชนกลุ่มชาติพันธ์ุญัฮกุร มี กําลังใจและเกิดจิตสํานึกในการสงวนรักษาภูมิปัญญาท้องถ่ินของตน เพื่อให้เป็นมรดกทางภูมิปัญญาของชาติ ตอ่ ไป กระบวนการในการดําเนินงานวิจัยนี้ ทีมวิจัยได้มุ่งเน้นการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน เจ้าของภาษาเป็นสําคัญ โดยใช้ระบบตัวเขียนเป็นเครื่องมือในการบันทึกภาษา และภูมิปัญญาท้องถ่ิน โดย ชุมชนเจ้าของภาษาเป็นผู้สามารถบันทึกได้ด้วยตนเอง นอกจากนี้ยังมุ่งเน้นการสร้างกระบวนการถ่ายทอด ภาษา และภูมิปัญญาท้องถิ่นจากคนรุ่นหนึ่งสู่คนรุ่นหนึ่งอีกด้วย ดังเช่น การปฏิบัติการเย็บเส้ือพ่็อกในกลุ่ม ญฮั กรุ เปน็ ตน้ เนือ้ หา สาระของรายงานฉบับนป้ี ระกอบด้วย ประวัติความเป็นมา / ความสําคัญของภาษา, สาระของ ภาษา, เงื่อนไขภาวะวิกฤต / ปัจจัยคุกคามของภาษาญฮั กรุ , ขอ้ เสนอใหภ้ าษาภาษาญฮั กุร เปน็ มรดกภูมิปัญญา ทางวัฒนธรรมของชาติ / มนุษยชาติ, พิกัดทางภูมิศาสตร์ (การกระจายตัวของผู้พูดภาษาญัฮกุร) และการ อนรุ กั ษ์ฟ้นื ฟภู าษาและภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นโดยชมุ ชนญัฮกุร การดําเนินงานโครงการ “บันทึกรวบรวม เพ่ือการสงวนรักษาภาษาและภูมิปัญญาท้องถ่ินของกลุ่ม ชาติพันธุ์ : ภาษาญัฮกุร” น้ีสําเร็จได้ด้วยการสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม, มูลนิธิเพ่ือการฟื้นฟูภาษาและภูมิปัญญาท้องถิ่น, สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล ทางคณะผู้วิจัยมุ่งหวังว่าการ ดาํ เนนิ งานวจิ ัยน้ีจะเปน็ ประโยชน์ตอ่ ชุมชนกลุ่มชาตพิ ันธ์ุ และเปน็ ประโยชนต์ ่อวงวชิ าการต่อไป คณะผ้วู จิ ยั

สารบญั หนา สวนท่ี ๑ ภาษาและภมู ิปญญาทองถิน่ ญฮั กุร ๑ ๓ บทท่ี ๑ บทนาํ ๓ ๑.๑ หลกั การและเหตผุ ลทต่ี องรวบรวมและจัดเกบ็ ขอ มูล ๓ ๑.๒ ประวตั ิความเปน มา ๓ ๑.๓ สภาพทัว่ ไปทางสังคมและวัฒนธรรม ๔ ๑.๓.๑ สภาพความเปนอยู ๖ ๑.๓.๒ อาชพี ของชาวญัฮกุร ๖ ๑.๓.๓ ขนบธรรมเนยี มประเพณี วัฒนธรรมของชาวญัฮกรุ ๗ ๑.๔ สถานภาพองคค วามรูที่มอี ยู ๗ ๑.๔.๑ ประเดน็ ภาษาญฮั กรุ ๘ ๑.๔.๒ ประเด็นภูมปิ ญ ญาและวฒั นธรรมญัฮกุร ๙ ๑.๔.๓ ประเด็นการฟน ฟูภาษาและวัฒนธรรมญัฮกรุ ๑.๕ การกระจายตัวหรือการปรากฏตัวของภาษาญฮั กรุ ๑๑ ๑.๖ ชุมชน / กลมุ คนทเ่ี กยี่ วขอ ง ๑๑ ๑๔ บทท่ี ๒ สาระทางภาษาญัฮกรุ ๑๕ ๒.๑ ช่ือภาษาท่ปี รากฏ ๑๕ ๒.๒ ระบบโครงสราง และรปู แบบภาษาญัฮกุร ๑๗ ๒.๒.๑ ลกั ษณะน้าํ เสยี ง ๑๗ ๒.๒.๒ โครงสรา งพยางคแ ละคํา ๓๘ ๒.๒.๓ ลกั ษณะทางไวยากรณ ๔๔ ๒.๒.๔ ลักษณะประโยค ๔๔ ๒.๓ คาํ และความหมาย ๒.๔ ลกั ษณะการสื่อสาร ๒.๕ คุณคาภาษาญัฮกุร ๒.๖ การถา ยทอดและการสบื ทอด

สารบญั (ตอ ) หนา บทที่ ๓ ภาษาและองคความรทู องถนิ่ ๔๖ ๓.๑ นิทานและเร่อื งเลา ๕๖ ๓.๒ ประเพณแี หห อดอกผึ้ง ๕๙ ๓.๓ การละเลน ๖๔ ๓.๔ อาหารพืน้ บานญฮั กรุ ๖๘ ๓.๕ เครอื่ งแตง กาย ๗๑ บทท่ี ๔ เง่อื นไขภาวะวิกฤต / ปจ จัยคกุ คาม ๗๒ ๔.๑ สภาพปจจบุ นั ๔.๒ ปจจยั คกุ คาม ๗๔ ๗๖ บทที่ ๕ การอนรุ ักษฟ น ฟภู าษาและภมู ิปญญาทองถนิ่ โดยชุมชน ๗๖ ๕.๑ การดาํ เนินงานฟน ฟูภาษาและภมู ิปญ ญาทองถน่ิ ญฮั กรุ ทผ่ี านมา ๗๘ ๕.๒ ผลที่ไดจ ากการดําเนินงานภายในชุมชนญฮั กุร ๗๙ ๕.๒.๑ ประเภทระบบตวั เขยี นภาษาญัฮกรุ อกั ษรไทย ๘๐ ๕.๒.๒ ส่ือ เรอ่ื งเลา นทิ าน สาํ หรับประกอบการเรยี นการสอนในชั้นเรยี น ๘๐ ๕.๒.๓ องคความรภู ูมปิ ญ ญาทางวฒั นธรรม ๘๐ ๕.๓ กา วตอ ไปของการฟนฟูภาษาและภมู ิปญญาทอ งถ่นิ ของชุมชนญฮั กรุ ๘๑ ๕.๔ ขอเสนอใหเปนมรดกภมู ปิ ญ ญาทางวฒั นธรรมของชาติ / มนุษยชาติ ๕.๔.๑ เหตุผล ๕.๔.๒ แนวทางการสง เสริมใหภ าษาญัฮกุรเปนมรดกภมู ิปญ ญาทางวัฒนธรรม ของชาติ / มนุษยชาติ

สารบญั (ตอ) หนา สว นที่ ๒ วธิ กี ารดําเนนิ งานวิจยั ๘๓ ๑. การทบทวนวรรณกรรม ๘๓ ๒. การจดั ประชุมทมี วจิ ยั ๘๔ ๓. การดําเนนิ งานวิจัยของกลุมญฮั กรุ ๘๔ ๓.๑ การจัดเวทชี แ้ี จงโครงการ ฯ ภายในชุมชน ๘๕ ๓.๒ การเก็บขอ มูลดว ยการสนทนาโดยเจา ของภาษา ๘๖ ๓.๓ กจิ กรรมประชุมเชิงปฏิบัตกิ ารเรอื่ ง “การใชเ ครอื่ งมือทางภาษา เพ่อื เก็บรวบรวมขอมูล” ๘๗ ๓.๔ การเขยี นคําศพั ทและนิทาน ๘๗ ๓.๕ การเกบ็ ขอ มลู ประเพณแี หหอดอกผ้ึง ๘๘ ๓.๖ การเขียนเร่อื งประเพณีแหหอดอกผึง้ ๘๘ ๓.๗ กิจกรรมทําเสอ้ื พ่็อก และเก็บขอ มลู เพม่ิ เติม ๘๙ ๓.๘ กจิ กรรมตรวจสอบขอมลู และวางแผนกจิ กรรมเวที “ระดมความคดิ เหน็ แนวทางในการสงวนรักษาภาษาและภูมิปญ ญาทองถิ่นของกลุม ชาติพนั ธุ : ๘๙ ภาษาญฮั กุร” ๓.๙ กจิ กรรมเวที “ระดมความคิดเห็น แนวทางในการสงวนรกั ษาภาษาและ ๙๐ ภมู ปิ ญญาทอ งถน่ิ ของกลุมชาตพิ นั ธุ : ภาษาญฮั กุร” ๓.๑๐ กจิ กรรมเผยแพร ประชาสัมพนั ธก ารขน้ึ ทะเบยี นมรดกภูมปิ ญ ญาทาง ๙๑ วัฒนธรรมของกลุมชาติพนั ธุญ ฮั กรุ ในพ้นื ทอ่ี ่นื ๔. การจดั ทาํ วดิ โี อรวบรวมความรูภาษาญฮั กุร บรรณานุกรม ๙๓ ภาคผนวก ใบแสดงความยินยอม (ภาษาญฮั กุร) ๙๕ • แบบบนั ทึกขอ มูลรายการมรดกภมู ปิ ญญาทางวัฒนธรรม ๙๖ • ขอมูลของผูบ อกภาษาญฮั กุร ๑๐๘ • ผเู กบ็ ขอ มูลและวนั เวลาที่เก็บ ๑๑๐ • ภาพการทํากิจกรรมของกลุมญัฮกรุ ๑๑๒ •

สว นท่ี ๑ ภาษาและภมู ปิ ญ ญาทอ งถน่ิ ญฮั กุร บทท่ี ๑ บทนํา ๑.๑ หลกั การและเหตผุ ลทต่ี อ งรวบรวมและจัดเกบ็ ขอมลู เอเชียอาคเนยเปนดินแดนท่ีมีประชากรตางชาติพันธุและภาษาปะปนกันมากที่สุดแหงหนึ่งของโลก ประเทศไทยซ่ึงตั้งอยูในกลางแผนดินใหญเอเชียอาคเนย จึงเปนดินแดนที่มีความหลากหลายของภาษา วัฒนธรรม และชาติพันธุของประชากรที่นาสนใจยิ่ง ประชากรไทยกลุมตาง ๆ มีภูมิปญญา ภาษา วัฒนธรรม และโลกทัศน หรือวิธีการใหความสําคัญใหความหมายกับส่ิงตาง ๆ รอบตัวท่ีแตกตางหลากหลาย มีผลทําให เกิดการประพฤติปฏิบัติ ธรรมเนียม ประเพณี พิธีกรรมที่แตกตางกันไป ดังนั้นความรู ความเขาใจพื้นฐานของ ประชากรในชาติ ดานภาษา วัฒนธรรมและโลกทัศน จึงเปนสิ่งสําคัญสําหรับการศึกษาวิจัยระดับลึกในดาน ตางๆ ซ่ึงมีฐานสําหรับการวางนโยบาย และการวางแผนปฏิบัติงาน เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากรดาน ตา ง ๆ ในแตละพ้ืนทีไ่ ดอยางมปี ระสิทธภิ าพและสอดคลองกับวิถีชีวติ (สุวไิ ล เปรมศรรี ัตน และคณะ, ๒๕๔๗) อยางไรก็ตามภาวะวิกฤตทางภาษากําลังเกิดขึ้นอยางรุนแรงในปจจุบัน คุกคามตอการสูญเสียความ หลากหลายทางภาษาและวัฒนธรรมอันเปนมรดกของมนุษยชาติ ในทํานองเดียวกับความสูญเสียความ หลากหลายทางชีวภาพ หรือการสูญพันธุของพืชและสัตว โดยนักภาษาศาสตรประมาณการวา ๙๐ % ของ ภาษาในโลกจะสูญสิ้นไปในศตวรรษที่ ๒๑ นี้ ท้งั นี้โดยท่ี ๔๐ % อยใู นภาวะใกลส ูญ และ ๕๐ % เยาวชนไมเ ห็น คุณคา และไมใชภ าษาทองถ่ิน มีเพยี ง ๑๐ % ซึ่งเปน ภาษาใหญ มีอาํ นาจทางการเมืองการปกครอง อยูในระบบ การศึกษาและส่ือมวลชนที่จะยังปลอดภัย (Krauss, 1992) ซ่ึงการตายของภาษามีผลกระทบโดยตรงตอการ สญู เสียองคความรขู องกลมุ ชาตพิ นั ธตุ า ง ๆ ท่ไี ดส ง่ั สมมานับเปนพนั ป ในปจจุบันจึงไดมีการรณรงคโดยองคกรนานาชาติเพ่ือสรางความตระหนักถึงปญหาของผลกระทบ ตอมนุษยชาติโดยสวนรวมเพ่ือชวยกันสงวนรักษาความหลากหลายทางภาษาและวัฒนธรรมของชนกลุมตาง ๆ ไวใหมากท่ีสุด ความแตกตางหลากหลายของภาษาและวัฒนธรรม ถือวาเปนทรัพยากรหรือทุนทางวัฒนธรรม ของประเทศ ภาษาทองถ่ินท่ีเขมแข็งยอมเปนแผนที่นําทางในการเขาถึงคุณคาทรัพยากร และเปนรากฐานท่ี ย่ังยืนอยางมีเกียรติมีศักดิ์ศรีของพลเมืองใหสามารถพัฒนาตนเองตอไปได (ชัยอนันต สมุทรวานิช, ๒๕๕๑) จากคํากลาวนี้มีความสอดคลองกับแนวคิดตามอนุสัญญาวาดวยการปกปองคุมครองมรดกภูมิปญญาทาง วัฒนธรรม (Convention for the Safeguarding of the Intangible Culture Heritage – ICH) ของ UNESCO ในวันที่ ๑๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ (ค.ศ. 2003) ซ่ึงไดระบุไววา มรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมมี ความสําคัญในฐานะท่ีเปนบอเกิดความหลากหลายทางวัฒนธรรม ซ่ึงเปนหลักประกันของการพัฒนาท่ีย่ังยืน ดังนั้นชุมชนนานาชาติ และรัฐภาคีของอนุสัญญาควรไดรวมกัน “ปกปองคุมครอง” มรดกภูมิปญญาทาง ๑

วัฒนธรรม ในท่ีนี้ “การปกปองคุมครอง” หมายถึง การจําแนก การบันทึกหลักฐาน การวิจัย การสนับสนุน และสงเสริมใหมีการสืบสาน (ครอบคลุมการถายทอด การอนุรักษ และสรางสรรค) มรดกทางภูมิปญญาทาง วัฒนธรรมอยา งย่ังยนื ตามสภาพแวดลอ มทเ่ี หมาะสม (ฉวีวรรณ ประจวบเหมาะ, ๒๕๕๕) จากคุณคา และความสําคัญของความหลากหลายทางภาษาและวัฒนธรรมดังกลาวนี้ นักวิชาการทาง ภาษาจึงไดศึกษาสํารวจสถานการณทางภาษาของประเทศไทย และไดพบวา ในปจจุบันมีกลุมภาษาที่อยูใน ภาวะวกิ ฤตรุนแรงใกลสญู จํานวน ๑๕ กลุม จากจํานวนภาษาทั้งหมดกวา ๗๐ กลุมภาษาในประเทศไทย ไดแก กลุมชอง กะซอง ซําเร ชุอุง (ซะโอจ) ญัฮกุร เกนซิว (ซาไก) มลาบรี (ตองเหลือง) ลัวะ (เลอเวือะ) โซ (ทะวืง) ละวา (กอง) อึมป บซี ู มอเกล็น อรู ักลาโวยจ และแสก (สวุ ไิ ล เปรมศรีรัตน, ๒๕๕๒) ในเรื่องนจี้ งึ ไดม ีความพยายามท่ีจะศึกษาและดําเนินงานฟนฟูภาษาและวัฒนธรรมโดยชุมชนเจาของ ภาษา ในลักษณะการดําเนินงานวิจัยเพ่ือทองถิ่นตามบริบทของแตละชุมชน โดยไดรับงบประมาณสนับสนุน เบื้องตนจากสํานักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.) ฝายวิจัยเพื่อทองถิ่น ดําเนินการในกลุมชอง กะซอง ญัฮกุร เกนซิว (ซาไก) มลาบรี (ตองเหลือง) ลัวะ (เลอเวือะ) โซ (ทะวืง) ละวา (กอง) อึมป บีซู อูรักลาโวยจ และแสก ตามความสนใจและตามบรบิ ทของแตละชุมชน ทําใหเกดิ องคค วามรู ภมู ปิ ญ ญา ตลอดจนวรรณกรรม ทองถ่ินมากมาย ซึ่งกลุมมอเกล็น และกลุมเกนซิว (ซาไก) ยังตองดําเนินการศึกษาและพัฒนาความรู ความ เขาใจของนักวิจัยทางภาษาและของกลุมชาติพันธุเอง สําหรับกลุมซําเร และกลุมชอุง (ซะโอจ) ถือเปนกลุม ภาษาในภาวะวิกฤตข้ันสุดทาย นักภาษาศาสตรจึงไดดําเนินการศึกษาและรวบรวมองคความรูทางภาษาไวบาง แลว อยางไรก็ตาม แมวาจะมีการดําเนินงานการอนุรักษและฟนฟูภาษาและวัฒนธรรมโดยชุมชนเจาของ ภาษา ผานการดําเนินงานในลักษณะงานวิจัยเพื่อทองถ่ิน ซึ่งเนนการสรางกระบวนการเรียนรูรวมกัน และการ มีสวนรวมของชุมชนในกลุมภาษาในภาวะวิกฤตไปบางแลวตามความสนใจแตละชุมชน แตยังขาดการรวบรวม และจัดเก็บขอมูลอยางเปนระบบ ดังน้ันจึงจําเปนท่ีจะตองมีการศึกษาวิจัยตามโครงการ“บันทึกรวบรวม เพ่ือ การสงวนรักษาภาษาและภูมิปญญาทองถ่ินของกลุมชาติพันธุ : ภาษาญัฮกุร” เพื่อเก็บรวบรวมและบันทึก ขอมูล องคความรู และภูมิปญญาในกลุมชาติพันธุที่ภาษาอยูในภาวะวิกฤตเส่ียงตอการสูญ โดยศึกษาระบบ ภาษาและภูมิปญญาทองถิ่นผานภาษาของกลุมชาติพันธุ อันเปนการกระตุนจิตสํานึกใหเกิดการสงวนรักษา มรดกทางภูมปิ ญญาและวัฒนธรรมซึง่ มีความสําคญั ตอ วิถีชีวิตของกลุมชาติพันธุท่ีเส่ียงตอการสูญหาย และเปน ประโยชนตอการพัฒนาวิถีชีวิตที่ย่ังยืน อีกทั้งยังเปนการเตรียมความพรอมสําหรับการดําเนินการจัดทํา ICH เสนอตอ UNESCO ในโอกาสตอไป ๒

๑.๒ ประวตั คิ วามเปน มา ชาวญัฮกุร หรือชาวบน หรือคนดง เปนกลุมชาติพันธุดั้งเดิมของจังหวัดชัยภูมิ นครราชสีมา และ เพชรบูรณ คําวาญัฮกุร แปลวา “คนภูเขา” (ญัฮ แปลวา คน กุร แปลวา ภูเขา) เปนคําเรียกชื่อกลุมและภาษา ที่คนกลุมน้ีใชเรียกตนเอง สวนคําวาละวา ซึ่งพบเรียกในเขตเพชรบูรณ ชาวบนหรือคนดง ซึ่งพบเรียกในเขต ชัยภูมิและนครราชสีมา เปนคําที่คนภายนอกเรียก แตชาวญัฮกุรโดยเฉพาะท่ีอยูในเขตชัยภูมิไมชอบคําวา ชาว บน แตจะเรียกตนเองในภาษาไทยวา คนดง และพูดภาษาดง (อภิญญา บัวสรวงและสุวิไล เปรมศรีรัตน, ๒๕๔๑) นักภาษาศาสตรไดคนพบวา ภาษาญัฮกุรเปนภาษาเดียวกับภาษามอญโบราณท่ีปรากฏอยูในจารึก สมยั ทวารวดีเม่อื ประมาณ ๒,๐๐๐ ปมาแลว จึงนาเชื่อไดวา ชาวญัฮกุรนาจะเปนลูกหลานของคนสมัยทวารวดี ที่ยังหลงเหลอื อยถู ึงปจจุบนั เปน กลมุ สุดทายในอาเซียอาคเนย และเปนกลุม สุดทายในโลก อาจเปนเพราะถ่ินที่ อยูของชาวญัฮกุรอยูบริเวณในกลางของประเทศพอดี ไมไดมีอาณาเขตติดตอกับประเทศอื่นใด หรืออาจเปน เพราะถ่ินท่ีอยูของชาวญัฮกุรคือผืนปาบนภูเขาสูง จึงไมไดถูกกลืนทางวัฒนธรรมและลมสลายไปพรอมกับกลุม ชนในอาณาจักรทวารวดีท่ีอาศัยอยูในที่ราบ จึงทําใหชาวญัฮกุรสามารถสืบทอดชาติพันธุมาไดนับพัน ๆ ป (อนนั ต ลมิ ปคปุ ตถาวรและคณะ, ๒๕๔๙) ๑.๓ สภาพทวั่ ไปทางสังคมและวัฒนธรรม ๑.๓.๑ สภาพความเปนอยู ชาวญัฮกุรมกั อาศัยอยูตามปาเขา ทีร่ าบเชงิ เขา หรอื บนภเู ขา การสรางบานของชาวญัฮกุรใช ไมเสาทั้งหมด ๙ ตน ฝาบานและพ้ืนบานทําจากฟากไมไผหรือไมบง ดูจากภายนอกคลายบานเรือนเคร่ืองผูก ของชาวอีสาน จะตางกันก็ตรงที่ของชาวญัฮกุรจะมีสวนที่เรียกวาหัวแมว หรือ กะด็อบเมียว ซึ่งจะทําจากฟอน หญาคาแหงที่คว่ันมัดเปนหวง ๓ หวงผูกติดกันใหเปนหัวกลมๆ ปลอยหางเปนปอยยาวแลวเอาคลองอยูบนข่ือ ตรงจั่วหนา บาน เรยี กวา เหน็ หัวแมวท่ไี หน ชาวญัฮกุรจะอยูทนี่ ั่น (นายภชุ ชงค บุกสนั เทียะและคณะ, ๒๕๕๔) ๑.๓.๒ อาชีพของชาวญฮั กุร สวนใหญชาวญัฮกุรมีอาชีพทําไรและลาสัตว ในอดีตมีสัตวปามากมายหลากหลายชนิด โดยเฉพาะบริเวณหนาผา ในอุทยานแหงชาติปาหินงาม สัตวปาท่ีพบ เชน เกง กวาง กระทิง หมูปา วัว ชาง ปา หมี คาง และเลยี งผา แตปจจุบันชาวญฮั กุรมีอาชีพทําไร ปลูกพริก ฝาย ละหงุ ขา วโพด ขา วฟาง ฯลฯ ๓

๑.๓.๓ ขนบธรรมเนยี มประเพณี วฒั นธรรมของชาวญัฮกุร ชาวญัฮกุรนับถือศานาพุทธ ดังน้ันจึงมีประเพณีท่ีประยุกตตามความเชื่อทางพุทธศาสนาดวย เชน ประเพณีโกนจุก บุญกินดอง บุญเขากรรม บุญคูนลาน บุญขาวจี่ บุญปใหม บุญเขาพรรษา บุญผะเวด บุญขาวสาก บุญเบิกบาน บุญทอดกฐิน แหดอกผ้ึง ทอดผาปา นอกจากนั้นยังมีการละเลนพื้นเมืองของ ชาวญฮั กุร คอื การปาʔ เรเร ใชโ ทนเปน เครอื่ งดนตรีในการใหจังหวะ เปนการรองเพลงของชาวญัฮกุร โดยการ รองแบบดนสดระหวางชายหญิง มีครูเพลง หรือผูสูงอายุค่ันตรงกลาง นั่งรองกันเปนวง และโตตอบ ระหวาง ชายหญิง เปน การทักทายถามขา ว ความเปนอยู ความสวยความงาม ฯลฯ และจะมผี มู ารว มฟงเปน วง ภาพ การเลน ปาʔ เรเร ความเชื่อและพิธีกรรมดั้งเดิมบางอยางสูญหายไปแลว แตบางอยางคงมีอยูในหมูผูสูงอายุ ชาวญัฮกุรจะเชื่อในภูตผีปศาจ วิญญาณ เวทยมนต คาถาอาคม เครื่องรางของขลัง ฤกษยาม ความฝน ประเพณีการทําคลอด ชาวญัฮกุรนับถือผีบรรพบุรุษ จึงมีศาลปูตาประจําหมูบานอยูตรงใกลอางเก็บน้ํา และ จะมกี ารเลยี้ งผีเปนประจําทกุ ปใ นเดือน ๕ หรือ เดือน ๖ กอ นจะทําพิธี จะตองซอมศาลผีเจาบานกอน โดยเอา ไมทําเปนรูปชาง มา หอก ดาบ ปน ไปไวที่ศาล ผูใหญบานจะนัดลูกบานทุกคนวาจะเลี้ยงผี ชาวบานก็จะ รวมตวั กนั ทศ่ี าล จากน้นั หมอโทนจะเรม่ิ พธิ โี ดยการตีโทน ชาวญัฮกุรก็จะเชิญคนทรงวา “ถาผีเขาแลวใหแสดง ฝไมลายมือ” มีการรองรําทําเพลงและบอกใหผีมากินของที่นํามาเซน ถาผีญัฮกุรเขาก็จะพูดภาษาญัฮกุร ผี ลาวอีสานเขาก็จะพูดเปนภาษาอีสาน ผีไทยเขาก็จะพูดภาษาไทย ขณะรองชาวบานจะตีโทน เปาแคน เสร็จแลวก็ถามผีวามาจากไหน อยากกินอะไร บางทีก็ถามถึงญาติที่ตายไปแลววาอยูสุขสบายดีไหม พอผีกิน เครื่องเซนเสร็จก็จะออกไป ผีตัวใหมก็จะเขามาเรื่อยๆ ตลอดท้ังวัน ซึ่งมีท้ัง ผีปา ผีญัฮกุร ผีลาว ผีไทย ผีงู เหลือม ผีเจาพอตางๆ ระหวางการไหวผียังมีการเสี่ยงทายคางไก ถาคางไกตรงแปลวาการทํามาหากินจะดี ไมมีโรคภัยไขเจ็บ แตถาคางไกเอียงหรือคดก็ถือวาไมดี สวนเรื่องการรักษาพยาบาล หากไมสบายหรือ เจ็บปวย ชาวญัฮกุรสวนใหญจะไปรักษาท่ีโรงพยาบาล แตถาไมหายก็จะมาใหคนเฒาคนแกที่เปนหมอดู ตรวจ ๔

ดวงชะตาและทําพิธีสะเดาะเคราะหใหตามวิธีดั้งเดิมของพวกเขาและดวยความท่ีอยูและเติบโตมากับปา หมอ พื้นบา นชาวญัฮกุรจงึ รจู ักวธิ ีการรกั ษาโดยใชส มนุ ไพร เชน การใชแกนมะกอกเผาไฟผสมกับแกนขาวโพดใชกิน แกไข หรือ การใชใบหูเสือทุบกับแปงแลวนํามาโปะหัวชวยลดไขได สวนโรคท่ีเปนกันมากคือไขปา ซ่ึงถือวา เปนการกระทําของผีตีนเดียว ทําใหมีอาการปวดหัว จับไขหัวโกรนน้ัน หมอจะมีวิธีเสี่ยงทายโดยนําหมากพลู มาบนบาน ชาวญัฮกรุ ยงั รูจกั การใชใบคินิน (ควนิ นิ ) มาแกไขปา อกี ดว ย แตโรคบางชนิดกใ็ ชว ธิ กี ารเสกเปา เชน เมื่อเดก็ งอแง จะใชเ หลาขาวเปา ที่หวั เด็กจะหยุดรอ งไหไดท นั ที ประเพณีแหหอดอกผ้ึง ชาวญัฮกุรมีประเพณีแหหอดอกผ้ึงในชวงเดือนเมษายน เพื่อขอฝนใหตกตอง ตามฤดกู าลและเปน ประเพณวี ันขึน้ ปใ หมของชาวญัฮกุร การทําหอดอกผึ้งก็จะนําขี้ผ้ึงหรือเทียนไขนํามาตมให ละลายแลว นําแมแ บบจากการสานไมไผใหเปนรูปดอกไมนําไปชุบที่ขี้ผ้ึงหรือเทียนไขแลวนําไปแชที่น้ําเย็น ขี้ผ้ึง หรือเทียนจะแข็งตัวเปนรูปดอกผึ้งแลวนําไปประดับกับโครงบานหรือที่เรียกวาหอ ประดับใหเปนหออยาง สวยงามโดยการประดิษฐตกแตงซ่ึงชาวญัฮกุรจะชวยกันทําคนละไมละมือ เมื่อถึงวันกําหนด ชาวญัฮกุรจะ พรอมกันแหหอดอกผึ้งไปรอบบานแลวไปที่วัด ในวันนั้นจะมีการรดนํ้าดําหัวใหกับคนเฒาคนแก และมี การละเลนพ้ืนเมือง มีการแขงขันกันอยางสนุกสนาน เชน การเลนสะบา ปนเสาน้ํามันเพื่อชิงรางวัล ชักคะเยอ ขาโทกเทก วิ่งกระสอบ มากานกลวย ตี่จับ การเลนหึ่ง โลชิงชา ฯลฯ ตกกลางคืนจะมีการละเลน ปาʔ เรเร หรือกระแจะ ซ่ึงมีการละเลนเหมือนเพลงโคราช เปนการรองเกี้ยวพาราสีระหวางฝายหญิงกับฝาย ชาย ภาพ ประเพณีแหหอดอกผ้ึง และการถวายผา ปาสามคั คี ๕

๑.๔ สถานภาพองคค วามรทู ีม่ ีอยู จากการทบทวนวรรณกรรมเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของกับภาษาและกลุมชาติพันธุญัฮกุรใน ประเด็นตาง ๆ ไดแก ๑) ประเด็นภาษาญัฮกุร ๒) ประเด็นภูมิปญญาและวัฒนธรรมญัฮกุร และ ๓) ประเด็น การฟน ฟภู าษาและวฒั นธรรมญฮั กรุ สามารถอธิบายรายละเอยี ดไดด งั น้ี ๑.๔.๑ ประเดน็ ภาษาญัฮกรุ จากการทบทวนวรรณกรรม พบผทู ีศ่ กึ ษาเกยี่ วกับภาษาญัฮกุร ดงั นี้ ธรี ะพนั ธุ เหลืองทองคาํ ไดศ กึ ษาระบบเสียง และจัดทําพจนานุกรม Nyah Kur (Chao Bon)- Thai-English Dictionary โดยแบงคําศัพทออกเปนหมวดตาง ๆ เชน หมวดธรรมชาติ หมวดส่ิงปลูกสราง หมวดพาหนะ หมวดสังคม หมวดรา งกาย ฯลฯ เปนตน (Theraphan L. Thongkum, 1984) สุภาพ ผิวขาว ไดศึกษาเรื่อง ระบบเสียงของชาวญัฮกุร บานน้ําลาด จังหวัดชัยภูมิ เปน วทิ ยานพิ นธร ะดับปรญิ ญาโท สาขาภาษาศาสตร มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล (Subhab Phiukhou, 1986) Gérard Diffloth ไดศึกษาเร่ือง The Dvaravati Old Mon Language and Nyak Kur ได กลาวถึงองคความรูเกี่ยวกับภาษามอญโบราณในสมัยทวาราวดี และภาษาญัฮกุร ซ่ึงเขาไดคนพบวาภาษา ญัฮกุรท่ีพูดกันในปจจุบันมีความคลายคลึงกับภาษามอญโบราณที่ปรากฏอยูในจารึกสมัยทวารวดีที่คนพบใน ประเทศไทยเปนอยางมากจนเรียกไดวาเปนภาษาเดียวกัน เนื่องจากนักวิชาการเช่ือวาภาษามอญโบราณเปน ภาษากลางของคนในยุคทวารวดีเม่ือประมาณ ๒,๐๐๐ ปมาแลว จึงทําใหเชื่อไดวาชาวญัฮกุรนาจะเปน ลูกหลานของคนมอญสมยั ทวารวดที ยี่ งั หลงเหลืออยถู งึ ปจ จุบัน (Gérard Diffloth, 1984) สุดสวาท เชื้อสุวรรณ ไดศึกษาเร่ือง ระบบเสียงภาษาชาวบนบานทาดวง จังหวัดเพชรบูรณ เปน วทิ ยานิพนธระดับปริญญาโท สาขาภาษาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ไดศึกษาระบบเสียงภาษาญัฮกุร โดย ประกอบไปดวย ทํานองเสียง ลักษณะคํา ลักษณะพยางค ลักษณะหนวยเสียง และไดเปรียบเทียบระบบเสียง ภาษาญฮั กุรถน่ิ อ่นื อกี ดวย (Sudsawad Chuasuwan, 1990) Payau Memanas ไดศึกษาเรื่อง A description of Chaobon (Nahkur) : and Austroasiatic Language in Thailand. วิทยานิพนธเร่ืองน้ีไดกลาวถึง การศึกษาลักษณะภาษาชาวบนท่ีบาน วังกําแพง ตําบลชีบน อําเภอบานเกา จังหวัดชัยภูมิ โดยศึกษาลักษณะของระบบเสียง และระบบไวยากรณ (Payau Memanas, 1979) จรูญ บุญพันธุ ไดศึกษาเรื่อง วิธีการทําเปนการีตในภาษาญัฮกุร โดยศึกษา 2 ลักษณะคือ ประโยคการีตท่ีซับซอน พิจารณาได 2 ลักษณะคือ รูปของหนวยหนาคําศัพทที่ปรากฏรวมคํากริยา และการีต ของนามในประโยค สวนประโยคการีตที่ซับซอน พิจารณาได 2 ลักษณะคือ พิจารณากริยาในประโยค และ พิจารณากรยิ าในอนปุ ระโยค (จรญู บุญพันธุ, ๒๕๒๕) ๖

นอกจากน้ียังปรากฏองคความรูทางดานภาษาในหนังสือสารานุกรมญัฮกุร โดย อภิญญา บัว สรวง และสุวิไล เปรมศรีรัตน โดยมีประเด็นเร่ือง ลักษณะระบบเสียง ลักษณะนํ้าเสียง ลักษณะไวยากรณ (อภญิ ญา บัวสรวง และสวุ ไิ ล เปรมศรรี ตั น, ๒๕๔๑) ๑.๔.๒ ประเด็นภูมปิ ญ ญาและวัฒนธรรมญฮั กุร ในดา นภูมปิ ญญาและวัฒนธรรมชาวญัฮกุร พบเอกสารทเี่ ก่ียวของ ไดแก หนังสือสารานุกรมญัฮกุร โดย อภิญญา บัวสรวง และสุวิไล เปรมศรีรัตน ซึ่งมีประเด็นที่ เก่ยี วของกับภมู ิปญญาและวัฒนธรรมชาวญัฮกุร เชน การกระจายตัวของชาวญัฮกุร ลักษณะภูมิประเทศและที่ อยูอาศัย ครอบครัว เครือญาติและโครงสรางทางสังคม อาชีพและการทํามาหากิน ความเชื่อ ประเพณี และ พิธกี รรม ฯลฯ เปนตน (อภิญญา บัวสรวง และสวุ ิไล เปรมศรีรัตน, ๒๕๔๑) เอกสารงานวิจัยเรื่อง สังคมและวัฒนธรรมของชาวบน โดย ปรีชา อุยตระกูล เอกสารนี้เสนอ ลกั ษณะสงั คมและวัฒนธรรมของชาวบน (ชาวญัฮกุร) โดยศึกษาทห่ี มูบา นน้าํ ลาด ตาํ บลนายางกลัก อําเภอเทพ สถิต จังหวัดชัยภูมิ ศึกษารายละเอียดเก่ียวกับประวัติ การต้ังหมูบานและสภาพภูมิศาสตร ระบบครอบครัว และเครือญาติ ระบบเศรษฐกิจ ระบบอนามัยและสาธารณสุข ระบบการศึกษา การเมือง การปกครอง และ สันทนาการ ประเพณีตาง ๆ และความเชื่อ รวมถึงวิถีการดําเนินชีวิตและความสัมพันธระหวางระบบดังกลาว (ปรชี า อุยตระกลู , ๒๕๒๙) นอกจากน้ียังพบเอกสารท่ีบอกเลาเร่ืองราวความเปนญัฮกุรจากหนังสือ เรื่อง ญัฮกุร มอญ โบราณแหงเทพสถิต ซ่ึงแสดงใหเห็นภาพวิถีชีวิตชาวญัฮกุร ท่ียังคงหลงเหลือใหไดพบเห็น เชน การละเลน โทกเทก วิถีชีวิตการทํามาหากิน วัฒนธรรมพื้นบาน เปนตน นอกจากน้ียังแสดงใหเห็นถึงความพยายามในการ ฟน ฟูภาษาและวฒั นธรรมของชาวญัฮกุรอกี ดวย (อนันต ลมิ ปคปุ ตถาวร และคณะ, ๒๕๔๙) ๑.๔.๓ ประเด็นการฟน ฟูภาษาและวฒั นธรรมญัฮกรุ ชาวญัฮกุร ในอําเภอเทพสถิต จังหวัดชัยภูมิ ไดมีความพยายามในการฟนฟูภาษาและ วัฒนธรรม โดยไดโอกาสในการดําเนินงานโครงการวิจัยเพื่อทองถิ่น เพ่ือการฟนฟูภาษาและวัฒนธรรมต้ังแตป พ.ศ. ๒๕๔๘ ซึ่งไดรับทุนสนับสนุนจากสํานักงานกองทุนการวิจัย (สกว.) ซ่ึงเนนการสรางกระบวนการเรียนรู และกระบวนการมีสวนรวมของชุมชน ปลูกจิตสํานึกใหคนในชุมชนไดลุกข้ึนมาฟนฟูภาษาและวัฒนธรรมดวย ตนเอง โดยมีนกั ภาษาศาสตรจ ากมหาวิทยาลัยมหดิ ลคอยเปน ผสู นบั สนุน การดําเนินงานที่ผานมาต้ังแตป พ.ศ. ๒๕๔๘ จนกระทั่งถึงปจจุบัน เปนการฟนฟูภาษาและ วัฒนธรรมในรูปแบบท่ีหลากหลาย เชน การพัฒนาระบบตัวเขียนเพ่ือการบันทึกขอมูล องคความรู ภูมิปญญา ของชาวญัฮกุรดวยภาษาญัฮกุร และดวยชุมชนเอง (ทองพิทักษ ยันจัตุรัสและคณะ, ๒๕๔๙) การบันทึกองค ความรูเกี่ยวกับปาชุมชนโคกคาวเปรียง ท้ังในดานปราชญชุมชน องคความรูเร่ืองจากปาโคกคาวเปรียง (ทอง พิทักษ ยันจัตุรัสและคณะ, ๒๕๕๔) รวมถึงการขยายผลไปสูการเรียนการสอนในโรงเรียนตามหลักสูตรทองถ่ิน (นายภชุ ชงค บกุ สนั เทียะและคณะ, ๒๕๕๔) และการใชภ าษาญฮั กรุ เปน เครอื่ งมอื ในกระบวนการคัดกรองเด็กที่ ๗

มีปญหาทางการเรียนรู ท่ีโรงเรียนบานวังอายคง ต.บานไร อ.เทพสถิต จ.ชัยภูมิ (ศิริพร หม่ันงาน, ๒๕๕๕) นอกจากนปี้ จจุบนั ยังมีการดําเนนิ งานรว มกันระหวางนักวชิ าการดา นพฤกษศาสตรและชุมชนชาวญัฮกุร ในการ นําองคความรูภูมิปญญาทองถ่ินดานพฤกษศาสตร บูรณาการเขากับองคความรูทางวิชาการ เพ่ือนําไปสูการ ยกระดับองคความรสู ากลอกี ดว ย จากการดําเนินงานตามโครงการตาง ๆ ทําใหเกิดผลผลิตจากการดําเนินงานวิจัยตาง ๆ มากมาย อาทิ เชน หนังสือ เร่ืองเลา นิทาน สื่อการเรียนการสอน หลักสูตรทองถ่ินการเรียนการสอนภาษา ญฮั กรุ อีกท้งั ยังเปนการพัฒนาศักยภาพชาวญัฮกุร ใหสามารถลกุ ขน้ึ มาฟน ฟูภาษาและวฒั นธรรมไดด ว ยตนเอง จากงานวิจัยในภาษาและกลุมชาติพันธุญัฮกุรดังกลาวเบื้องตน สะทอนใหเห็นวาภาษาและ วัฒนธรรมของชาวญัฮกุรอยูในขั้นภาวะวิกฤต กลาวคือ หลงเหลือผูพูดจํานวนนอย ใชพูดกันเฉพาะรุนผูสูงอายุ สวนเด็กและเยาวชนสวนใหญไมสามารถพูดหรือส่ือสารดวยภาษาญัฮกุรได รวมไปถึงวัฒนธรรมของ ชาวชาวญฮั กุรท่ีเร่ิมเลอื นหายไปทา มกลางกระแสโลกาภวิ ัตน แมวาจะมีการดําเนินงานตามโครงการวิจัยเพ่ือทองถิ่น ในประเด็นการฟนฟูภาษาและ วัฒนธรรมของชาวญัฮกุร แตก็ยังไมสามารถสงผลตอการอนุรักษฟนฟูภาษาและวัฒนธรรมญัฮกุรในเชิง โครงสรา ง หรือเชิงนโยบายได ดังน้ันการดําเนินงานวิจัยในโครงการ “บันทึกรวบรวมเพื่อการสงวนรักษาภาษา และภูมิปญญาทองถ่ินของกลุมชาติพันธุ : ภาษาญัฮกุร” โดยมุงเนนใหชุมชนมีสวนรวม ถือเปนการกระตุน จิตสํานึกของชุมชนใหเกิดการสงวนรักษามรดกทางภูมิปญญาและวัฒนธรรมซ่ึงมีความสําคัญตอวิถีชีวิตของ กลุม ชาติพันธทุ ่ีเส่ยี งตอการสญู หาย และเปน ประโยชนตอการพฒั นาวิถชี วี ิตที่ย่ังยนื ตอไป ๑.๕ การกระจายตัวหรอื การปรากฏตัวของภาษาญฮั กรุ ชาวญัฮกุรตั้งถิ่นฐานอยูในบริเวณ ๓ จังหวัด ไดแกจังหวัดนครราชสีมา เขตอําเภอปกธงชัย หมูบานท่ี พบชาวญัฮกุรในปจจุบัน ไดแก บานกลาง บานพระบึง บานวังตะเคียน ฯลฯ จังหวัดชัยภูมิพบในเขตอําเภอ เทพสถิต ไดแกบานวังอายโพธิ์ บานวังอายคง บานไร บานเสลี่ยงทอง บานวังตาเทพ บานน้ําลาด บานทาโปง บา นโคกสะอาด บา นสะพานหนิ บา นวังกําแพง ฯลฯ จังหวัดเพชรบูรณ ไดแกบานนํ้าเลา บานหวยไคร บานทา ดวง อ.เมือง รวมท้ังหมดประมาณ ๒๓ หมูบาน จากคําบอกเลาแตเดิมพบมีมากกวาในปจจุบัน แตไดถูกกลืน หรือยา ยถนิ่ ไปอยทู ีอ่ ่ืนหมด (อภิญญา บัวสรวงและสวุ ไิ ล เปรมศรีรัตน, ๒๕๔๑) ลักษณะท่ีตั้งหมูบานชาวญัฮกุรใน ๓ จังหวัดดังกลาวน้ันเปนบริเวณใจกลางของประเทศไทย โดยอยู บนขอบท่ีราบสูงโคราชและพื้นที่ราบสูงในจังหวัดชัยภูมิท่ีตอกับภาคเหนือและตอกับจังหวัดลพบุรี เห็นได ชัดเจนวาในหมูบานตาง ๆ ของชาวญัฮกุรจะมีกลุมคนไทยโคราช คนไทยจากลพบุรี หรือลาวอีสานเขาไปอยู อาศัยปะปนมากขึ้นทุกที เปนท่ีนาสังเกตวา ในจํานวนท้ังหมดน้ีมีเพียงไมก่ีหมูบานท่ียังคงมีภาษา รวมท้ัง วฒั นธรรมญัฮกุรชดั เจน หลายแหงมผี ูพดู ภาษานีเ้ พยี งไมกค่ี น คนรุนเด็กประมาณ ๒๐ ป เร่มิ พดู ไมคอยได หรือ พูดเพี้ยน เน่ืองจากมีการเปลี่ยนแปลงเขาสูภาษาไทย (โคราช) และภาษาลาวที่อยูในบริเวณเดียวกันเปนอยาง มาก ดังน้ันการจะระบุจํานวนประชากรท่ียังพูดภาษาน้ีจึงทําไดยาก เน่ืองจากแตละคนมีความรูในภาษาและ ๘

วฒั นธรรมตาง ๆ กัน แตอ าจประมาณไดราว ๔,๐๐๐ – ๖,๐๐๐ คน (อภญิ ญา บัวสรวงและสวุ ไิ ล เปรมศรรี ัตน, ๒๕๔๑) ภาพแสดงการกระจายตัวของชาวญฮั กรุ ในเขตจงั หวัดเพชรบรู ณ ชยั ภูมิ และนครราชสมี า ๑.๖ ชมุ ชน / กลุมคนทเี่ กี่ยวของ ชุมชนและกลุมคนที่เกี่ยวของชาวญัฮกุร ในตําบลบานไร ตําบลนายางกลัก และ ตําบลโปงนก ประกอบไปดวยผูนําชุมชน ปราชญชุมชน ครูภูมิปญญา และทีมวิจัยชุมชนที่เคยรวมงานการทํางานวิจัยเพ่ือ ทอ งถิ่นมาแลว มีรายชอ่ื เบ้อื งตน ดงั ตอไปนี้ ๑. นางมนศนิ ี บวั จตั ุรสั ชมุ ชน ๒. นางสาวพรทิพรักษ จันทรางศุ ชมุ ชน ๓. นางสาวสุนนั ท แดงจตั รุ ัส ชุมชน ๔. นางหาม เศรษฐกญุ ชร ครูภมู ปิ ญ ญา / ปราชญชมุ ชน ๕. นายแกน ยี่จตั รุ สั ชุมชน ๖. นายเฉลิมชาติ ยันจตั ุรสั ชุมชน ๗. นายชนะ สงจัตุรสั ชมุ ชน ๘. นายเช่ือง ช่นื จตั รุ สั ปราชญช มุ ชน ๙. นายทองพทิ ักษ ยันจัตรุ สั ครภู มู ิปญญา / ปราชญชมุ ชน ๙

๑๐. นายประยรู มองทองหลาง ครูภมู ิปญ ญา / ปราชญชมุ ชน ๑๑. นายเปล่ียน เย็นจตั ุรัส ปราชญช มุ ชน ๑๒. นายพนม จิตรจาํ นง ครภู มู ปิ ญญา / ปราชญชมุ ชน ๑๓. นายลอม มดจตั ุรัส ปราชญช มุ ชน ๑๔. นายสมจติ ร ไชยขนุ ทด ครภู ูมิปญ ญา / ปราชญชุมชน ๑๕. นายสวทิ วงศศ รี ชมุ ชน ๑๖. นายสายสน สงจตั รุ สั ชมุ ชน ๑๗. นายอาต ยุม จตั ุรัส ปราชญชุมชน ๑๐

บทท่ี ๒ สาระทางภาษาญฮั กุร ๒.๑ ชื่อภาษาที่ปรากฏ ภาษาญฮั กรุ เปน ภาษาทอี่ ยใู นตระกูลออสโตรเอเชยี ติค ซึ่งเชือ่ กนั วา เปนภาษาดง้ั เดมิ ในอาเซยี อาคเนย โดยอยูในสาขามอญ – เขมร สาขายอยโมนิค มีความใกลเคียงกับภาษามอญซึ่งอยูในสาขายอยเดียวกัน ภาษาญัฮกุรเปนภาษาท่ีสําคัญ กลาวคือ นอกจากลักษณะภาษาจะแสดงลักษณะของกลุมมอญ – เขมรท่ี ชัดเจนแลว ภาษาน้ียังมีความสําคัญในเชิงประวัติ จากผลงานของนักภาษาศาสตร Gerard Diffloth (1984) ไดพบวาภาษาญัฮกุรที่พูดกันอยูในปจจุบันน้ี แมจะมีความแตกตางจากภาษามอญปจจุบัน แตภาษา ญัฮกุรมีความคลายคลึงกับภาษามอญโบราณท่ีปรากฏอยูในจารึกสมัยทวารวดีท่ีคนพบในประเทศไทย โดยทั่วไปเชื่อวาภาษามอญโบราณเปนภาษากลางของคนในยุคทวารวดีเมื่อประมาณ ๒,๐๐๐ ปมาแลว จึงนา เช่อื ไดวา ชาวญัฮกุรนาจะเปนลูกหลานของคนสมัยทวารวดีท่ียังหลงเหลืออยูถึงสมัยปจจุบัน (อภิญญา บัวสรวง และสวุ ไิ ล เปรมศรีรัตน, ๒๕๓๙) ๒.๒ ระบบโครงสราง และรูปแบบภาษาญัฮกรุ ภาษาญัฮกุรมีลักษณะเหมือนกับภาษาอื่นๆในสาขามอญ-เขมร ทั้งในดานระบบเสียง ระบบคํา และ ระบบไวยากรณ พยัญชนะ ภาษาญฮั กุรมีพยัญชนะทั้งสนิ้ ๒๖ เสยี ง ดงั น้ี ฐานกรณของเสียง ปุมเหงอื ก เพดานแขง็ เพดานออ น คอหอย ริมฝปาก t <ต> ลกั ษณะเสียง th <ท> d <ด> เสยี งกัก อโฆษะ p <ป> s <ซ> c <จ> k <ก> Ɂ <อ> ch <ช> kh <ค> เสียงกกั อโฆษะ มลี ม ph <พ> เสียงกัก โฆษะ b <บ> เสยี งเสียดแทรก h <ฮ> ๑๑

ฐานกรณของเสยี ง ปมุ เหงือก เพดานแขง็ เพดานออน คอหอย รมิ ฝป าก ɲ <ญ> ŋ <ง> n <น> ลักษณะเสยี ง hn <ฮน> j <ย> r <ร> เสียงนาสิก นาสกิ m <ม> hr <ฮร> l <ล> เสียงนาสิก นาสิกอโฆษะ hm <ฮม> hl <ฮล> เสยี งกอ งดัง เสยี งรัว เสียงกองดงั เสียงรัวอโฆษะ เสียงกองดงั เสยี งขางลนิ้ เสียงกองดัง เสียงขางล้ิน อโฆษะ เสยี งกองดัง อรรธสระ w <ว> เสียงกองดัง อรรธสระ hw <ฮว> อโฆษะ เสียงพยัญชนะหลายเสียงออกเสียงเหมือนกับพยัญชนะภาษาไทย แตมีหลายเสียงที่ออกเสียงตางไป คือ ɲ <ญ> hm <ฮม> hn <ฮน> r <ร> hr <ฮร> hl <ฮล> และ hw <ฮว> เชน ɲah <ญฮั > ‘คน’ hmɔːʔ <ฮมอ> ‘หนิ ’ hniːʔ <ฮน>ี ‘หน’ู rih̤ <ร่ฮิ > ‘ราก’ mhraːʔ <อึมฮรา?> ‘แผล’ hlaːʔ <ฮลา?> ‘ใบไม’ hwaːʔ <ฮวา?> ‘เน้อื ’ พยัญชนะตนภาษาญัฮกุรท่ีสามารถเกิดเปนควบกลํ้าได ไดแก pr- <ปร-> pl- <ปล-> phr- <พร-> phl-<พล-> br- <บร-> bl- <บล-> tr- <ตร-> cr-<จร-> chr- <ชร-> kr- <กร-> kl- <กล-> khr- <คร-> khl- <คล-> และ khw-<คว-> ดังตวั อยา งตอ ไปน้ี priəŋ <เปรยี ง> ‘ควาย’ plɔːt <ปลอด> ‘ไมมอี ะไรเลย’ phraw <เพรา> ‘ภรรยา’ phləmphlaː̤ m <เพลิม็พลา ม> ‘ชดั เจน’ ๑๒

briː <บรี> ‘บหุ รี’่ khwaːj <ควาย> ‘มนั ’ truːjtruːj <ตรูยตรูย> ‘ผูชาย’ crap <จรับ> ‘อาการสะดงุ โหยง’ chroːm <โชรม> ‘ง’ู ŋkraw <องึ เกรา> ‘ขา งหลัง’ kluːc <กลูจ> ‘ลาํ ไส’ khrəp̤ <เคริบ็> ‘เมล็ด’ khliɲ <คลญิ > ‘นา้ํ มันพืช’ mblɔʔ<อึมบลอ็ ?>‘แตกเนอื้ หนุม,แตกเนือ้ สาว’ ขอสังเกต เสียงพยัญชนะตนของภาษาญัฮกุรในบางถิ่นเกิดการแปร โดยเสียงที่แปรปรากฏเพียงเสียง เดยี วคอื เสียงควบกลํา้ <khw-> แปรเปนเสยี ง <f-> และพบเพยี งคาํ เดยี วคอื khwaːj <ควาย>  faːj <ฟาย> มัน โดยท่ัวไปแลวภาษาในตระกูลออสโตรเอเชียติคจะมีพยัญชนะตนที่ไมมีความแตกตางเปนพิเศษกับ ภาษาในเอเชียอาคเนย แตพยัญชนะทายหรือพยัญชนะสะกดมีมากกวาภาษในตระกูลอ่ืนๆ (สุริยา รัตนกุล,๒๕๓๗) ซ่ึงในจํานวนพยัญชนะทั้ง ๒๖ เสียงของภาษาญัฮกุร มีพยัญชนะ ๑๕ เสียงท่ีเกิดเปน พยญั ชนะสะกดได ไดแ ก p <-บ> t <-ด> c <-จ> k <-ก> Ɂ <-ะ> s <-ซ> h <-ฮ> m <-ม> n <-น> ɲ <-ญ> ŋ <-ง> r <-ร> l <-ล> w <-ว> j <-ย> สระ ภาษาญัฮกรุ มสี ระทง้ั สิน้ ๒๑ เสยี ง เปน สระเดี่ยว ๑๘ เสยี ง และสระประสม ๓ เสยี ง สระเดยี่ วมคี ู สระเสียงส้ัน และสระเสียงยาวเชน เดยี วกบั สระในภาษาไทย ๑๓

สว นของล้นิ ไมหอ ปาก หอปาก หลัง ระดับลน้ิ หนา กลาง สน้ั สัน้ u<อุ> สน้ั ยาว ɨ<อ>ึ ยาว o<โอะ> ยาว iː <อี> ǝ<เออิ ็> ɨː <อือ> ɔ<เอาะ> uː <อู> สูง i <อ>ิ eː <เอ> a<อะ> ǝː <เออ> oː <โอ> ɛː <แอ> aː <อา> ɔː <ออ> กลาง e <เอะ> ตาํ่ ɛ<แอะ> สระประสมมี ๓ เสียง เปนการเคลื่อนเสียงจากสระสูงมายังสระกลางคือ iǝ ɨǝ uǝ และไมมีความ แตกตางระหวางเสียงสนั้ และเสียงยาว เชน เดียวกับสระประสมของภาษาไทย ตัวอยา งคาํ พ้นื ฐานในภาษาญฮั กุร câː <จา> “กิน” kul <กลุ > “ให” thɛh <แทฮ> “เปน ” hîː <ฮ>ี “บาน” doːŋ <โดง> “หมูบาน” phrnaʔ̤ <นีแนะ > “นํ้าพรกิ ” jɔːŋ <ยอง> “ยาย” peːɲ <เปญ> “ตา” cawaːj <จะวาย> “ลงุ ” chamɔm <ชะมอม> “ปา ” nċiʔ <อึนจ>ิ “นอง” phaʔ <พะ > “พอ” mɛʔ/ʔoŋ <แมะ/อง> “แม” pɔːŋ <ปอง> “พี่” poːŋ <โปง> “ขาวสกุ ” chur <ชรุ > “หมา” chɛc <แชจ> “ผลไม” phraː̤ t <พรา ด> “กลวย” chəj <เชย> “เจบ็ ” chim <ชิม> “เลอื ด” ๒.๒.๑ ลักษณะน้ําเสียง ภาษาญัฮกุรเปนภาษาที่ใชลักษณะนํ้าเสียง (voice quality) ในการแยกความหมาย มิใช ภาษาท่ีมีวรรณยุกตดังเชนภาษาไทย กลาวคือ คําในภาษาญัฮกุรมีลักษณะของนํ้าเสียงใหญ ทุม ต่ํา หรือ น้ําเสียงเล็กใส และคอนขางสงู ดงั ตวั อยางตอ ไปน้ี chur <ชรุ > “หมา” chṳr <ชุร> “แมลง” lɛc (choːk) <แลจ โชก > “ดึง” lɛc̤ <แลจ> “ร่ัว” ๑๔

neːc <เนจ> “เล็ก” neː̤ c <เนจ > “ผา” ๒.๒.๒ โครงสรางพยางคแ ละคํา คําในภาษาญัฮกุร มีท้ังแบบที่เปน ๑ และ ๒ พยางค คําที่มี ๒ พยางค จะประกอบไปดวย พยางคหลัก (major syllable) และพยางครอง (minor syllable) โดยที่พยางคหลักจะอยูดานหลังและ พยางครองจะปรากฏอยูดานหนา มีโครงสรางของพยางคและคําในภาษา คือ C (C) (C) V (V) (C) ดังตัวอยาง ตอไปนี้ kur <กุร> ‘ภูเขา’ paːʔ <ปา?> ‘ทํา’ prak <ปรัก> ‘เงิน’ meː <เม> ‘หรอก’ (คําลงทา ย) mphrṳːn <อมึ พรนู > ‘จิ้งเหลน’ mproʔ <อมึ โประ> (พุง)‘ปอ ง’ mphraː <อมึ พรา> ‘กําพรา ’ khuə <ควั > ‘รวน’ ๒.๒.๓ ลกั ษณะทางไวยากรณ ภาษาญัฮกุรเปนภาษาที่มีระบบการเติมหนวยคํา (affixation) เพื่อแสดงลักษณะทาง ไวยากรณ เชนเดียวกับภาษากลุมมอญ – เขมรอื่น ๆ แตในปจจุบันระบบน้ีมีการใชไมมากนัก ตัวอยางท่ียัง ปรากฏใชอยูเสมอ คือการเติมหนวยคําอุปสรรค (prefix) ka- เพ่ือทําใหคํากริยาน้ันเปนกริยาที่ทําใหเกิดอีก กรยิ าหนง่ึ ไดแก beːc <เบจ> “เปอ ย, เละ” kabeːc <กะเบจ> “ทําใหเ ปอ ย” buːl <บลู > “เมา” kabuːl <กะบลู > “ทําใหเ มา” təːr <เติร> “ตื่น, ลุก” katəːr <dtเติร> “ปลุก” kuən təːr <กวน เตร> mɛːɁ katəːr kuən <แมะ กะเตริ กวน> ลูก ตน่ื แม ปลกุ ลกู คําในภาษาญัฮกุรสามารถจําแนกตามประเภททางไวยากรณ (parts of speach) ไดเปน คํานาม คาํ กริยา คาํ กรยิ าวิเศษณ คาํ ลงทาย และคําลักษณะนาม เปนตน คําเหลาน้ีทําหนาที่เปนหนวยคําหลัก ได นอกเหนือจากการสรางคําโดยการเติมหนวยคําแลว ในภาษาญัฮกุรยังมีการสรางคําจากการประสม (compounding) การเลียนเสียงธรรมชาติ (onomatopoeia) และการซํ้า (reduplication) ซึ่งประกอบดวย การซํ้าความหมาย ซํ้าท้ังหมด ซ้ําบางสวน และซํา้ ใหส ัมผสั คลอ งจอง ดงั ตัวอยา ง ๑๕

ก. การประสมคํา (compounding) คาํ นาม + คํานาม chɔːk + mat̤ chɔːkmat̤ <ชอก> <มด่ั > <ชอกม่ัด> ผม ตา ขนตา คํานาม + กรยิ าแสดงสภาพ ntuː + kataw ntuːkataw <อนึ ตู> <กะเตา> <อนึ ตู กะเตา> พระจันทร รอ น ฤดรู อ น คาํ กริยา + คํากริยา khiːw + khiːw khiːwkhiːw <คีว> <ควี > <ควี คีว> หอ หอ ขาวตมมัด ข. การเลียนเสียงธรรมชาติ (onomatopoeia) criːt-criːt <จรดี – จรีด> เสียงจง้ิ หรดี รอ ง kleːt-kleːt <เกลด – เกลด> เสยี งไก( ตัวผ)ู ขัน ค. การซา้ํ (reduplication) - การซํา้ ท้งั หมด phraw + phraw phrawphraw <เพรา> <เพรา> <เพราเพรา> ภรรยา ภรรยา ผหู ญงิ khiːw + khiːw khiːwkhiːw <คิว> <คิว> <คิวควิ > หอ หอ ขาวตม มดั - การซ้าํ ความหมาย ʔoːŋ + mɛʔ ʔoːŋmɛʔ <อง> <แมะ> <องแมะ> แม แม นองหญงิ ของแม ๑๖

๒.๒.๔ ลกั ษณะประโยค ภาษาญัฮกุรมีการจดั เรยี งลาํ ดบั คาํ เปน ลกั ษณะ ประธาน – กริยา – กรรม ดังตวั อยา งตอ ไปนี้ ประโยคบอกเลา wəj caːɁ poːŋ “ฉันกนิ ขา ว” เว็ย จะ โปง ประโยคปฏเิ สธ phrəj kuh cih “ฝนไมต ก” เพรย็ กุฮ จฮิ ประโยคคาํ ถาม caːɁ poːŋ khən “กินขาวแลว หรือยัง” จะ โปง เคิน็ ประโยคทักทาย Ɂaːr now “ไปไหน” อาร โน็ว ขอสังเกต จุดท่ีนาสนใจในภาษาญัฮกุรอีกประการหนึ่งคือ ลักษณะของประโยคปฏิเสธที่ มักจะมีคําลงทา ย (final particla) mee <เม> ‘หรอก’ ปรากฏควบคูไปเสมอ ดงั ตัวอยา ง kuh nɔːm meː ไมร หู รอก กฮุ นอม เม kuh mɔp meː ไมอ รอยหรอก กฮุ ม็อบ เม kuh caːʔ meː ไมกินหรอก กุฮ จะ เม ๒.๓ คําและความหมาย การเขยี นคาํ และขอ ความในภาษาญฮั กุร มีหลักเกณฑดังน้ี • การเขยี นคําสองพยางคจะใสสระอะในพยางคตน เพื่อแยกพยางคตนออกจากพยางคหลัก เชน ตะบุง = กวาง ทะก่ี = ตะพาบ • การเขียนขอความ เขียนประโยคเรียงตอกันไปโดยมีเครื่องหมายมหัพภาค ( . ) แสดงวา จบประโยค เชน ปา? คะมา ญงั ฮาน. แทฮ่็ ฝด าด คะมัย ชะโมะ . ปวยเปนโรคอะไร เปน ฝดาษใชไ หม ๑๗

คาํ ศัพทภาษาญัฮกรุ แบง เปน ๑๔ หมวด ดงั น้ี ๑) หมวดรา งกาย จาํ นวน ๘๗ คาํ ลาํ ดบั ภาษาญฮั กรุ ภาษาไทย ลาํ ดับ ภาษาญัฮกรุ ภาษาไทย ๑ กวน แต็ย นวิ้ กอย ๒๔ ชรุงคุย ล้นิ ไก ๒ กอ? คอ ๒๕ ชอก ผม ๓ กะชญิ หลัง ๒๖ ชอกมั่ด ขนตา ๔ กะชิญชุง หลงั เทา ๒๗ ชอกมรู ผมหงอก ๕ กะดอ็ บ ศรี ษะ, หวั ๒๘ ชอกแมฮ็ หนวด ๖ กะตวร หู ๒๙ ชอ็ งมอง หนาแขง ๗ กะตอ็ น เอว ๓๐ ชะลดู กระดูก ๘ กะทุด ทายทอย ๓๑ ชะลูด ฮึแกย็ กระดูกซ่โี ครง ๙ กะแบล็ ย็อก นอ ง ๓๒ ชัยชัย เอ็น ๑๐ กะปอ ง หัวเขา ๓๓ ชัยพุง ใส ๑๑ กะโปก อณั ฑะ ๓๔ ชิม เลอื ด ๑๒ กะเพิน อวัยวะเพศหญงิ ๓๕ ชงุ เทา (ตนี ) ๑๓ เกญ ศอก ๓๖ ชงุ ม็อฮ จมกู ๑๔ ครฮ่ิ ตับ ๓๗ ชุร แต็ย นิว้ โปง ๑๕ คอ?แตย็ ขอ มือ ๓๘ ดากจรฮุ ปส สาวะ ๑๖ คยั ตาน ไต ๓๙ ดากตอ็ ฮ น้ํานม ๑๗ คาง คาง ๔๐ ดากม็อฮ นํา้ มกู ๑๘ ควี คว้ิ ๔๑ ดากม่ดั นํ้าตา ๑๙ แคน แขน ๔๒ ดากฮึจอ็ ฮ นํา้ ลาย ๒๐ เงีย่ ก ฟน ๔๓ ดากฮมึ ุฮ เหงือ่ ๒๑ เงย่ี กกะอาม ฟนกราม ๔๔ ตอ็ ฮ นม ๒๒ เง่ยี กดากตอ็ ฮ ฟน นาํ้ นม ๔๕ ตะบัล แกม ๒๓ จริฮ หนาอก ๔๖ ตะโพก สะโพก ๑๘

ลําดบั ภาษาญฮั กรุ ภาษาไทย ลําดับ ภาษาญฮั กรุ ภาษาไทย ๖๗ ฮวา? เน้อื ๔๗ แต็ย จะลัด นว้ิ ช้ี ๖๘ ฮาย หนา ผาก ๖๙ ฮึตาก ล้ิน ๔๘ แต็ย ปะจิด นิ้วกลาง ๗๐ ฮตึ าลชงุ ฝา เทา ๗๑ ฮึตาลแต็ย ฝา มอื แตย็ ละฮูด(วังอาย ๗๒ ฮเึ นิล สนเทา ๗๓ ฮึปูยชงุ น้วิ เทา ๔๙ โพธิ)์ / ฮปึ ยู ปน (บา น ๗๔ ฮปึ ยู แต็ย นวิ้ มือ ๗๕ ฮแึ ม็ญ รมิ ฝปาก ไร) นวิ้ นาง ๗๖ ฮึลัก/ ชุงฮลึ กั รกั แร ๗๗ ฮึเฮลียมชุง เลบ็ เทา ๕๐ ทา จ ปอด ๗๘ ฮึเฮลยี มแต็ย เลบ็ มอื ๗๙ ดากฮมึ ฮุ ฮโึ รง ฝา ๕๑ ทลึ ตนขา ๘๐ ฮึมรา? แผล ๘๑ เปรียด ฝ ๕๒ ปะแด็ย อวัยวะเพศชาย ๘๒ ดากปะตฮุ หนอง ๘๓ เปรยี ดฮนี? ตากงุ ยิง ๕๓ ปะนฮิ สะดอื ๘๔ ชอกกะแญ็บ ผมหยิก ๘๕ ชอกโปย ผมจกุ ๕๔ ปาง ปาก ๘๖ ดากตะงัย น้าํ เหลือง ๘๗ ดากปะตุฮ นํ้าหนอง ๕๕ พะนฮั หัวไหล ๕๖ พงุ ทอง ๕๗ มดั่ ตา ๕๘ มด่ั ตะบุง ตาตุม ๕๙ ย็อก ขา (ทง้ั ขา) ๖๐ ละเงียง ขี้ไคล ๖๑ ลกู ฮุม หัวใจ ๖๒ อิจ อุจจาระ ๖๓ อิจกะตวร ขห้ี ู ๖๔ อจิ เงี่ยก ขฟี้ น ๖๕ ฮนาม ผิวหนัง ๖๖ ฮมุน สิว ๑๙

๒) หมวดคํากริยา จํานวน ๑๒๒ คํา ลาํ ดบั ภาษาญฮั กรุ ภาษาไทย ลาํ ดับ ภาษาญัฮกุร ภาษาไทย ๑ กระเทรี่ยบ วิ่ง คน) ๒ กระเทอื น สะเทือน ๒๕ คะราร แบ (มอื ) ๓ กะจ็อฮ ถม น้ําลาย ๒๖ คะรารแคน กางแขน ๔ กะชาจดาก สาดนาํ้ ๒๗ คะวี พดั วี ๕ กะตดู ตะโพก กระเถบิ ๒๘ ควี โปง หอขาว ๖ กะเตงิ กระโดดขาเดียว ๒๙ เคลิก มะเหงก ๗ กะแตะ็ เตะ ๓๐ เคลกิ กะด็อบ เขกหวั ๘ กะท่ืบ กระทืบ ๓๑ เคลียง หาบ ๙ กะพยู แคน แกวงแขน ๓๒ งาก เงย ๑๐ กะพูยฮเึ รียง ไกวเปล ๓๓ จ็อกจอก เกา ๑๑ กะลึด ลน่ื ๓๔ จะกัด หยิก ๑๒ กะลบึ ม่ัด หลับตา ๓๕ จะเกียม กํา ๑๓ กะวาง ขวาง ๑๔ กะวางชาง ขวา งไก จะครงุ (บานวงั อาย หัวเราะ ๑๕ กะเวญ เหว่ียง โพธิ)์ / ชะครุง(บา น ๑๖ กดึ กัด ไรแ ละบา นวังอา ย มอื จิ้ม ๑๗ กึดเงี่ยก กดั ฟน ๓๖ โพธ์ิบางสว น) ไอ ๑๘ แก็จช?ู ตัดไม ๓๗ จะคลว จ ช้ี ๑๙ ครุน สัน่ ๓๘ จะดัก จบั ๒๐ ควจ ผิวปาก ๓๙ จะลดั ตากผา ๒๑ คะญมั เนจ ซักผา ๔๐ จบั กนิ ๒๒ คะญาย เค้ยี ว ๔๑ จยั เนจ กนิ ขาว นุง ผา สําหรบั ๔๒ จา? ขุดดนิ ๒๓ คะนนู เนจ ผหู ญงิ ๔๓ จา?โปง ถีบ ๒๔ คะยูนม่ัดแตย็ เง้อื มอื (จะทาํ รา ย ๔๔ จีรต?ี ๔๕ ชะทาซ ๒๐

ลาํ ดับ ภาษาญฮั กรุ ภาษาไทย ลําดบั ภาษาญัฮกุร ภาษาไทย ๔๖ ชะลองแช็จ สอยผลไม ตาํ สม ๔๗ ชะเลกิ่ ็ สําลัก ๗๓ นกั ฮึลวย ดายหญา ๔๘ ชบั ฮวา? สับเนือ้ เก็บพรกิ (บนตน ) ๔๙ ชิงชีง แยง ๗๔ บอ็ กฮึพั่ด หร่ีตา ๕๐ ชงี เนจ เย็บเสื้อ วายนา้ํ ๕๑ ชดี ชอก หวผี ม ๗๕ บซั ปะแกว โบกมือ ๕๒ เชญ หาม ปอกมะพรา ว ๕๓ แชย็ ฮกึ ุย งว งนอน ๗๖ บริ บีร ปอกกลวย ๕๔ โชงดาก ดม่ื นาํ้ เปา ๕๕ ดดี ฮปึ ูยแตย็ ดีดน้ิว ๗๗ บีญดาก เก็บพริก (บนดิน) ๕๖ ตอมโปง หงุ ขาว ผา ฟน ๕๗ ตอย ตอย ๗๘ โบกแตย็ ปดประตู ๕๘ ตะปอกแตย็ ตบมอื นอน ๕๙ ตะปอกมซู ตบยุง ๗๙ ปอกแช็จดูง นอนหงาย ๖๐ ตันอัซ จาม นอนตะแคง ๖๑ ตมั พซั ปด ๘๐ ปอกพรา ด นอนคว่ํา ๖๒ ตึนเปรยี ง ขี่ควาย ๖๓ เตริ ตนึ ลกุ ขึ้น ๘๑ ปะคุฮ ยงิ ปน ๖๔ เตลิ ฮ็ ล?ี ปลูกขาวโพด ๖๕ โตกดาก ตกั นํ้า ๘๒ ปซ ปะแกว อมุ ลกู ๖๖ ทรามฮึพ่ดั ถางหญา พยักหนา ๖๗ ทวย ปดเบาๆ ๘๓ ปฮอวซ คอน ๖๘ ทอ็ ง นั่ง เหลยี วหนา เหลียว ๖๙ ทอ ง ตีศอก ๘๔ ปด ฮึมรงั หลงั ๗๐ ท่กั ควี คีว หอ ขา วตม มัด คลาน ๗๑ ทฮั่ บ็อบ สะดุด ๘๕ ปูญ ยักควิ้ ๗๒ ทบุ ชรุ ตีสนุ ขั ๘๖ ปูญกะงาร ๘๗ ปญู ตะแคง ๘๘ ปูญปะกบั แปญ กะมดั (วงั อาย โพธ์ิ)/ แปญคะมดั (บานไรและวงั อาย ๘๙ โพธ์ิ) ๙๐ พอกวน ๙๑ พะเงจิ่ ๙๒ พนุ ๙๓ แพละฮตึ า? แพละ ฮเึ กรา ๙๔ มรั มาร ๙๕ ยกั ควี ๒๑

ลาํ ดับ ภาษาญฮั กุร ภาษาไทย ลาํ ดับ ภาษาญัฮกรุ ภาษาไทย โพธิบ์ างสว น) ๙๖ ยาม รองไห ใสเส้อื ๑๑๐ ออกพ่อ็ กแตย็ จักจ้ี ๙๗ ยนื เตยี ว ยืนตรง ๑๑๑ อ็อกแอก เดิน ๑๑๒ อัร เอ้อื มมอื ๙๘ ยืนมวยชงุ ยืนเขยง ๑๑๓ เอิงเองิ กม ๑๑๔ โอน หายใจเขา ออก ๙๙ ยุกชุง ยกเทา ๑๑๕ ฮมุ ตึด ฮมุ ลอ บ อา ปาก ๑๑๖ ฮา?ปาง สะดุง/ ตกใจ ๑๐๐ ยุกแตย็ ระงวร ยกมือไหว ๑๑๗ ฮเึ กดิ ็ แบก ๑๑๘ ฮคึ ึน นุงผา สาํ หรบั ๑๐๑ รองเพลง รอ งเพลง ผชู าย ๑๑๙ ฮึเนยี งเนจ ลมื ตา ๑๐๒ ลอ็ บ หลบ ๑๒๐ ฮึมลา กมดั่ ปากแบะ ๑๒๑ ฮแึ มญ็ เบจ อาบนาํ้ ๑๐๓ ลางทูย ลางถวย ๑๒๒ โฮมดาก ๑๐๔ ลางฮึมาย ลา งหมอ ๑๐๕ ลีว่ มั่ด ลา งหนา ๑๐๖ เลิญ็ เหยียบ ๑๐๗ แลญ็ ฮึตาก แลบลิ้น ๑๐๘ ออกกะมด่ั กอ ไฟ ออกปะเชงิ (วังอา ย โพธ์)ิ / ออกพอ็ กเชิง ใสรองเทา ๑๐๙ (บา นไร และวงั อา ย ๓) หมวดเครือญาติ จาํ นวน ๔๓ คํา ลําดับ ภาษาญัฮกุร ภาษาไทย ลําดับ ภาษาญฮั กุร ภาษาไทย ๑ กวนตรุยตรูย ลกู ผูชาย หลานนา/ หลานอา ๒ กวนพลาย ลูกชาย ๘ คะมูน / หลานปา / หลาน ๓ กวนเพราเพรา ลูกผูหญิง ลงุ ๔ กวนละฮดู ลกู สาว ๙ จะวาย ลงุ ๕ กวนเลียง ลูกเล้ยี ง ๑๐ จะวายเวยี ร พี่ชายของเมีย ๖ กวนอวซ ลกู สะใภ ๑๑ จฮั เหลน ๗ คะมาน ลูกเขย ๑๒ เจจ โหลน ๒๒

ลําดบั ภาษาญัฮกรุ ภาษาไทย ลาํ ดับ ภาษาญัฮกรุ ภาษาไทย ๑๓ เจา หลาน (ลกู ของลูก) ๒๘ มอ็ ม / โองมอ็ ม อาผหู ญงิ พี่สาวของพอหรือ ๒๙ แมะ แม ๑๔ ชะมอ็ ม แม ๓๐ แมะ ดอง แมดอง พ่สี าวของคูสมรส ๓๑ แมะเลียง แมเ ลย้ี ง ๑๕ ชะม็อมเวียร นองผชู ายของแม / ๓๒ ยอง ยา / ยาย นาชาย ๓๓ ยองทว ด ยาทวด/ ยายทวด ๑๖ ชู พช่ี าย ๓๔ เยา พเ่ี ขย ป/ู ตา ๓๕ โองแมะ นา สาว ๑๗ ปอง ปทู วด/ ตาทวด ๓๖ โองฮชึ รี แมย า / แมย าย ๑๘ เปญ พอ ๓๗ ฮมาง สามี ๑๙ เปญทวด พอ ดอง ๓๘ ฮมาม อาผชู าย ๒๐ พะ พอเลย้ี ง ๓๙ ฮลู พส่ี าว ๒๑ พะ ดอง พอ ปู / พอตา ๔๐ ฮจึ ี? นอง ๒๒ พะเลียง พ่ีนอง (ญาต)ิ ๔๑ ฮจึ ?ี ตรุยตรยู นองชาย ๒๓ พะ ฮชึ รี ภรรยา ๔๒ ฮึจี? เพราเพรา นองสาว ๒๔ พินอง ภรรยาหลวง ๔๓ ฮึเนยี ม พี่สะใภ ๒๕ เพรา ภรรยานอย ๒๖ เพราตมั ๒๗ เพราฮแึ นจ ๔) หมวดเคร่อื งใชในครัวเรอื น จํานวน ๖๐ คํา ลาํ ดับ ภาษาญัฮกรุ ภาษาไทย ลําดับ ภาษาญัฮกรุ ภาษาไทย ๑ กระตายคดู แชจ็ ดูง กระตายขูด กะมัด(บานวังอาย ปน มะพราว ๖ โพธ)์ิ / คะมัด(บาน เคียว ๒ กะชา ตะกรา ไรแ ละบา นวังอาย กระเปาะ ๓ กะทอ ตะกราหาบ โพธ์)ิ ๔ กะทะ กระทะ ๗ กะเวียน ๕ กะทาย กระบุง ๘ คราย ๒๓

ลําดับ ภาษาญฮั กรุ ภาษาไทย ลําดบั ภาษาญฮั กรุ ภาษาไทย ๙ ครฮุ ชรั ตะกรา ชนั ๓๓ บงู บว ง ๑๐ คะนอ็ น โอง ๓๔ บนู มดี ๑๑ คลั ขัน ๓๕ บนู ชาล มดี ตอก ๑๒ เคิง คอง-หมวง มีดดาบ / อุปกรณ ๑๓ จก จอบ ๓๖ บูนตาว ทอเสอ่ื ๑๔ จะแก็จ กระแตะ มีดอโี ต ๑๕ ชวง ขวาน ๓๗ บนู โท มดี เหน็บ ๑๖ ชอน ชอน ๓๘ บนู แน็บ่ กูย ๑๗ ชยั ไซ ๓๙ พลุง แผง ๑๘ ชยั มดั ไฟแช็ก/ ไฟพก ๔๐ แพง ตะแกรง ๑๙ ชุงเวียน ยุงขา ว ๔๑ ระเนญ เลือ่ ย ๒๐ ดญิ กระบอกนา้ํ ๔๒ เลอื ย กระดง ๒๑ ตะเพฮ กะพอง ๔๓ วรี ฟน ตะเหลว (ใชใ ส ๔๔ อวซ อางลางจาน ๒๒ ตะเลว ขาวเปลอื ก) ๔๕ อางลางทูย อีจู ๔๖ อีจ?ู หนาไม ตมุ ? (บานวงั อาย ตมุ ดกั ปลา ๔๗ ฮา? เส่อื ๒๓ โพธ)์ิ / ตุม (บา น ๔๘ ฮึงาร เตาไฟ เตา ๔๙ ฮึงรุ เขม็ ไร) ทัพพี ๕๐ ฮึชลุ แรว ๒๔ เตา ลอบ ๕๑ ฮึโญก ครก ๒๕ ทรพี ไมขดั หมอ ๕๒ ฮนึ ลุ ครกตําพริก ๒๖ ทรู ทะนานตวงขาว ๕๓ ฮนึ ุลพะนะ เบ็ด ๒๗ ทะน็อ่ ก ถาด ๕๔ ฮแึ น็ญ เสยี ม ๒๘ ทะนาล ถวย ๕๕ ฮึม็อก หมอ ๒๙ ทาด จาน ๕๖ ฮึมาย หมอนึ่ง ๓๐ ทยู เสือ่ ลําแพน ๕๗ ฮึมายฮโึ รง สาก ๓๑ ทูยจาน ๕๘ ฮรึ ่ี ๓๒ เทรย่ี ๒๔

ลาํ ดับ ภาษาญัฮกรุ ภาษาไทย ลาํ ดับ ภาษาญฮั กรุ ภาษาไทย ๕๙ ฮึโรง หวดนึ่งขาว ๖๐ ฮงุ ตัง ยางดักนก ๕) หมวดพืชและตนไม จํานวน ๒๐๒ คํา ลําดบั ภาษาญฮั กุร ภาษาไทย ลาํ ดบั ภาษาญัฮกุร ภาษาไทย ๑ กาว ดอก ๒ กาว กะดวจ ดอกกลอย ๒๖ กาว เมลา ดอกสม กลีบ ๓ กาว กะเตียวเวียว ดอกแคทราย ดอกกมุ นํา้ , ๒๗ กาว ฮีราง ๔ กาว กมุ ดอกกมุ บก ดอกเขม็ ๒๘ กาว ฮึโค ดอกจงโค ๕ กาว เขม็ วานดอกสามสี ๖ กาว ครฮิ ท?ี ดอกคณู ๒๙ กาว ฮเึ จรยี ว ดอกกระเจยี ว ๗ กาว คูณ ดอกแคปา ๘ กาว แค ดอกงว้ิ ปา ๓๐ แกน แกน ๙ กาว งีว สา เลอื ด ๑๐ กาว จะคึด่ ดอกจาน ๓๑ ครั่บ เมล็ด ๑๑ กาว จาร ดอกแจง ๑๒ กาว เจญ ดอกตะแบก ๓๒ คลจู งอก ๑๓ กาว ชะรรั ๑๔ กาว ชุงพ็อก ดอกเขม็ ๓๓ คาบ กงิ่ ๑๕ กาว ชงุ ฮึเจียม ดอกปอแดง ๑๖ กาว โชวโพลง ดอกรัก ๓๔ ชะทอง ขว้ั ๑๗ กาว ดอกรกั ดอกกะบุก ๑๘ กาว ตัลเทยี ง ดอกกลว ยไม ๓๕ ชรั ยาง ๑๙ กาว เทียน ดอกสาบเสือ ๒๐ กาว บุนทน ดอกปะดัม ๓๖ แชจ็ ผล ๒๑ กาว ปะดอง ดอกแสมสาร ๒๒ กาว ปะบดั ดอกขา ๓๗ แชจ็ กดึ ฮตึ าก ๒๓ กาว ปะวญี ดอกมะคา ๒๔ กาว ปญ ดอกผักหวาน ๓๘ โชก จารตี? ๒๕ กาว พรจุ ๓๙ โชก แชจ็ ควจ เมอ่ื ยเลอ้ื ย ๔๐ โชก แช็จ ดาก ต็อฮ เปรยี ง ๔๑ โชก ทอง ฮแึ ล มงุ สะบา ลงิ ๔๒ โชก ฮึเตา กา? เถาวัลยแ ดง ๔๓ โชก ฮแึ หล สะบา ๔๔ ตัม ตน ๔๕ ตมั กรอ็ ม ตน ไมแดง ๔๖ ตัม กอ็ ฮก็อฮ มะคา แต ๔๗ ตัม กะซา ปอกระสา ๔๘ ตัม กะดมุ พอ็ ก แตย็ ๔๙ ตมั กะตวร ตะบงุ คอ นหมาแดง ๕๐ ตัม กะอลี ตนมะกอก ๒๕

ลาํ ดับ ภาษาญัฮกรุ ภาษาไทย ลาํ ดบั ภาษาญัฮกรุ ภาษาไทย ๕๑ ตัม กังวา น เลียง ๕๒ ตมั กาว กะดอ็ บ ชวง ดองดึง ๘๑ ตมั แชจ็ ทะเรยี ว มะไฟ ๕๓ ตัม กาว ชงุ ฮึเจียม ๕๔ ตมั กาว ดาก ชาย บานเยน็ ๘๒ ตัม แช็จ ทะลอ ก ทาลอก ๕๕ ตัม กาว เทด ๕๖ ตัม กาว ปะดอง มหาหงส ๘๓ ตัม แชจ็ แนง เรว ๕๗ ตัม กาว ปร ขา วหลามดง ๕๘ ตัม กาว ยอง คะมาย ๘๔ ตัม แช็จ พร่ัง ดาก ชมพนู ้ํา ๕๙ ตมั กาว ระยา กะเพรา ๖๐ ตมั เกาะกอ็ ฮ ตนนางดาํ ๘๕ ตมั แช็จ ฮเึ ก่ยี กะอาม มะเมา ๖๑ ตมั เคราเครา ตน แจง ๖๒ ตัม แคร็ง ตนตะแบก ๘๖ ตัม แช็จ ฮโึ กย เครืออโี กง ๖๓ ตัม เจญ ชา งนาว (โคราช) ๖๔ ตัม ชรรั (โคราช) ๘๗ ตมั แชจ็ ฮคึ อป ตะขบ ๖๕ ตมั ชะคุย โคก ปอแกนเทา ๘๘ ตัม แช็จ ฮซึ ีคลจี ๖๖ ตมั ชะดวิ ? หวา ๖๗ ตัม ชะรรั โคก นางดํา ๘๙ ตมั แช็จ ฮึทว ด มะขามปอ ม ๖๘ ตัม ชะลา ฮวัก คอแลน ๖๙ ตัม ชะลดู อญี นมแมวปา ๙๐ ตัม แชจ็ ฮึนวล ลาํ ดวน ๗๐ ตัม แช็จ กะทกั่ ตะครอ ๗๑ ตัม แช็จ กะโปก ชุร ๙๑ ตมั แช็จ ฮึม็อก กระบก ๗๒ ตัม แช็จ กะแลญ็ พลบั พลา ๗๓ ตัม แชจ็ เกรียง แสลงใจ ๙๒ ตมั แช็จจัน จัน ๗๔ ตัม แชจ็ แครง็ ๗๕ ตมั แช็จ ชาละมัน ๙๓ ตมั แชจ็ พลอง ๗๖ ตัม แช็จ ชุง ท?ี ๗๗ ตมั แช็จ ตะครอ ๙๔ ตัม โชก ชะมัย ๗๘ ตัม แช็จ ตะคาว ๗๙ ตมั แช็จ ตะพฮั ๙๕ ตัม โชก แช็จ ดาก ตนี ต่ัง ๘๐ ตัม แช็จ ตมู กา ต็อฮ เมยี ว (อบุ ลราชธานี) ๙๖ ตมั โชก ฮลา? ฮเึ กรยี เครืองูเหา ๙๗ ตัม โชก ฮโึ ฮม ๙๘ ตัม ดาก ตอ็ ฮ ๙๙ ตัม ตราด ตน ตะแบง ๑๐๐ ตมั ตะครํ้า ตะคราํ้ ๑๐๑ ตัม ทอง ชะคึด ชาเลือด ๑๐๒ ตัม ทะน็อง ประดูป า ๑๐๓ ตมั ทะยูง พะยงู ๑๐๔ ตมั นวล ตน สนวน ๑๐๕ ตัม ปรอง ปรงปา ๑๐๖ ตัม ปะแดบ็ ถอบแถบ ๑๐๗ ตมั แปฮ กาสามปก ๑๐๘ ตมั โปโละ ๑๐๙ ตัม พรุจ ตนผกั หวาน ๒๖

ลําดบั ภาษาญฮั กรุ ภาษาไทย ลาํ ดบั ภาษาญฮั กรุ ภาษาไทย ๑๑๐ ตมั พลอง ๑๔๑ ตัมชะลซั่ ตนตะเคยี น ๑๑๑ ตมั พะญา ยา กระแจะ ๑๔๒ ตมั ชาละมนั ตน คอแลน ๑๑๒ ตัม มน ทน สาบเสอื ๑๔๓ ตัมแช็จกะอีล มะกอก ๑๑๓ ตมั ยอ ยอ ๑๔๔ ตมั แช็จแคร็ง ตน นางดาํ ๑๑๔ ตมั รัง ตน เต็ง ๑๔๕ ตัมแช็จแจ? ตนกอ ๑๑๕ ตมั ละคอนโคก หวั ยาโคก ๑๔๖ ตัมแช็จชร็อง ตนหมาก ๑๑๖ ตัม ละเงยี ง ตนแตว ๑๔๗ ตมั แช็จดูง ตนมะพราว ๑๑๗ ตมั ฮลา? เมจ็ เสม็ดชุน ๑๔๘ ตมั แชจ็ ตะคาว ตน คา งคาว ๑๑๘ ตมั ฮลา? ฮึฮลอ็ ม หนาดใหญ ๑๔๙ ตัมแชจ็ ตะพร่ฮั ตน พลับพลา ๑๑๙ ตัม ฮึเกรญ สา นชาง ๑๕๐ ตมั แช็จโตรก ตน มะมวง ๑๒๐ ตัม ฮคึ รอง ตะครอง ๑๕๑ ตัมแชจ็ โตรกเคริ่บ็ ตนมะมว งปา ๑๒๑ ตัม ฮจึ าย ตน นนทรี ๑๕๒ ตมั แชจ็ โตรกดาก ตนมะมวงน้ํา ๑๒๒ ตมั ฮึดร็อบ ตนตะขบ ๑๕๓ ตมั แช็จทะเรียว ตนมะไฟ ๑๒๓ ตมั ฮทึ วด ตนมะขามปอม ๑๕๔ ตัมแชจ็ ทะลอก ทะลอก ๑๒๔ ตมั ฮึทา คนทา ๑๕๕ ตมั แชจ็ ฮทึ วด มะขามปอ ม ๑๒๕ ตัม ฮโึ นจ ตน กระโดน ๑๕๖ ตมั แชร็ย ตนไทร ๑๒๖ ตมั ฮึบ็อก ตนกะบก ๑๕๗ ตมั ดากต็อฮ ตนนํ้านม ๑๒๗ ตมั ฮมึ ัร แชจ็ ๑๕๘ ตมั ตร็อก ตน ปรก ๑๒๘ ตัม ฮึมูร ดาก เฉยี งพรา ๑๕๙ ตัมตราจ ตน ยางเหนยี ง ๑๒๙ ตมั ฮมึ รู พะนอม ๑๖๐ ตัมตะลยู ตน มะขาม ๑๓๐ ตัมกร็อม ไมแ ดง ๑๖๑ ตมั ทะน็อง ประดู ๑๓๑ ตมั ก็อฮก็อฮ ตน มะคา แต ๑๖๒ ตมั ทะยอม ตนทะยอม ๑๓๒ ตมั กะดอ็ บโปรก ตนกระดกู ๑๖๓ ตัมทะยูง ตน ทะยงู ๑๓๓ ตมั กะเตียวเวียว ตน แคปา ๑๖๔ ตมั ปร เมงิ ตน เพกา ๑๓๔ ตัมกาวจาร ตน ทองกวาว ๑๖๕ ตัมปญ ตนมะคา โมง ๑๓๕ ตัมแกนคูน ตนราชพฤกษ ๑๖๖ ตัมโปะโละ ตนโปะโระ ๑๓๖ ตัมคราด ตน กระหาด ๑๖๗ ตัมพรจุ ผักหวาน ๑๓๗ ตัมคะญวญ ตน ตะเคยี นหนู ๑๖๘ ตมั แมจ็ ตน เสม็ด ๑๓๘ ตมั คะยาง ตนยาง ๑๖๙ ตัมรงั ตน รงั ๑๓๙ ตัมงวี ตนง้ิว ๑๗๐ ตมั ละเงยี ง ตนแตว ๑๔๐ ตัมชะรัร ตนตะแบก ๑๗๑ ตมั โวด ตน มะเดื่อ ๒๗

ลําดับ ภาษาญฮั กุร ภาษาไทย ลาํ ดบั ภาษาญัฮกรุ ภาษาไทย ๑๘๗ พนั่ แล็ย ไพล ๑๗๒ ตมั ฮลา?คลุง พลวง ๑๘๘ มะนาว ฮทึ อ ก เคลด็ ยอด (ตน ไม) / ๑๗๓ ตัมฮึกลาย ตนหนามกาย ๑๘๙ ยอด / ทอง ยอด (ผัก) ราก ๑๗๔ ตัมฮจึ าย ตน นนทรี ๑๙๐ ร่ฮิ ผลิใบ ๑๙๑ ล่ัซ ใบ ๑๗๕ ตัมฮึนวล ตน ลาํ ดวน ๑๙๒ ฮลา? หมอยแมม าย ๑๙๓ ฮลา? กะตวญ โคก หางนาคบก ๑๗๖ ตมั ฮโึ นล กระโดน ๑๙๔ ฮลา? กะตวล เครบิ เนยี มหูเสือ ๑๙๕ ฮลา? พก่ั กะชาง ติว้ สม (โคราช) ๑๗๗ ตมั ฮึเพลงิ ตนมะไฟ (เบอ่ื ๑๙๖ ฮลา? ละเงยี ง ผกั หนาม ปลา) ๑๙๗ ฮลา? ฮทึ รัง ๑๙๘ ฮลา? ฮพึ าย ผักปรงั ๑๗๘ ตัมฮึมอ็ ก ตนกะบก ๑๙๙ ฮลา? ฮึมลอง เปลือก ๒๐๐ ฮกึ วร ฟก ทอง ๑๗๙ ตมั ฮเึ มลา(บางสว นใน ตนสม กรบี ๒๐๑ ฮึปร ฟก วังอายโพธ์)ิ / ตัมฮมึ เลา ๒๐๒ ฮปึ ร ชอก ๑๘๐ ทัลเทยี่ ง กระบกุ ๑๘๑ ทัลเที่ยง โคก ๑๘๒ ทัลเท่ียงชแร? ๑๘๓ โนงโนง บวบ ๑๘๔ ปร็อฮ เปราะหอม ๑๘๕ ปรอ็ ฮ ฮนยู เปราะปา ๑๘๖ พ่ัก เชยี น ผักเสย้ี น ทงั้ น้ีพบช่อื พืชท่ีเปนคําเรยี กของชาวญฮั กุร แตย งั ไมสามารถเทียบเคยี งกับช่ือเรียกภาษาไทยไดทั้งหมด จําเปนตองมกี ารศึกษาคน ควา ตอไป ๖) หมวดสัตว จาํ นวน ๑๗๒ คาํ ลาํ ดบั ภาษาญัฮกุร ภาษาไทย ลาํ ดบั ภาษาญฮั กรุ ภาษาไทย ๑ กา? กะด่ี ปลากระดี่ ๒ กะทวย แมงปอ ง ๗ กา? คะเญน ปลาแขยง ๓ กะโปรด บา งกิเลน ๔ กัลปอาก อกี า ๘ กา? งัม ปลากลงั้ ๕ กา? ปลา ๙ กา? ชะคอ็ ง ปลากด ๖ กา? กะแลด็ ปลาขาว ๑๐ กา? เดญ ปลาดุก ๑๑ กา? เดญชะเดียด ปลาแขยงหิน ๒๘

ลาํ ดบั ภาษาญัฮกุร ภาษาไทย ลําดับ ภาษาญฮั กรุ ภาษาไทย ๑๒ กา? ตะโอน ปลาลาํ พอง ๓๘ คาว เขยี ด ๑๓ กา? ปูร ปลาสรอ ย ๓๙ คาวเปรยี ง กบ ๑๔ กา? รฮิ่ พลา ด ปลารารากเลน ๔๐ ครี คีร ๑๕ กา? โหม ปลากะทิง ตะขาบ ๑๖ กา? ฮึมอ็ ก ปลาหมอ ๔๑ คยุ ๑๗ กา? ฮลึ วน ปลาชอน กุง ๑๘ กา? ฮวึ าร ปลาสวิ ๔๒ จอ็ กจอก ๑๙ กา?แกล็ด ปลาขาว หมาจง้ิ จอก ๒๐ กา?ชะคอ็ ง ปลากด ๔๓ จ็อกจอ็ ก ๒๑ กา?เดญ ปลาดุก ๔๔ จอกจอน จิ้งจก ๒๒ กา?เดญปะเดยี ด ปลาแขยงหิน ๔๕ จะแทท ูง หมาจ้ิงจอก ๒๓ กา?ตัมงาน? ปลากระจก ๔๖ จังอาร แมลงสาบ ๒๔ กา?ฮวาร ปลาซิว ๔๗ จัมพรูน มดตะนอย ๒๕ กา?ฮมึ อ็ ก ปลาหมอ ๔๘ จยั จง้ิ เหลน ๒๖ กาวโงก นกยูง ๔๙ จีญ เหา ๒๗ กธุ ดนิ หนุ ๕๐ จญี ชา ง ๒๘ แกฮ็ เลยี งผา ๕๑ ชรญิ ชา ง ๒๙ คลัน งเู หลอื ม ๕๒ ชรดึ คางคาว ๓๐ คลัน?ทรอ งหู ลาม ๕๓ ชโรม แรด ๓๑ คลนั ทรอ งูหลาม ๕๔ ชะแท งู ๓๒ คลจี หมปู า ๕๕ ชะเลงิ จกั จัน่ ๓๓ คลีจ หมู ๕๖ ชังอาร ปลงิ ๓๔ คะญอง กระอง ๕๗ ชาง มดร้ิน ๓๕ คะญอง กระจง ๕๘ ชางฮโว? ไก ๓๖ คะยาม จระเข ๕๙ ชาซ นกกระปูด ๓๗ คะยาม จงิ้ หรีด ๖๐ ชาย แย ๖๑ ชาย ผ้งึ ผ้งึ หลวง(ใหญ) ๖๒ ชา ยตะเคลิ ็ พญาผ้งึ ก้ิงกา ๒๙

ลาํ ดับ ภาษาญฮั กุร ภาษาไทย ลาํ ดบั ภาษาญฮั กุร ภาษาไทย ๖๓ ชุร สนุ ขั ๘๖ ทวร แตน ๖๔ ชรุ คะยาล แมลงปอ ๘๗ ทวรดญิ (ทรอ) แตนไมไผ ๖๕ สัตวลักษณะ ๘๘ แตนฝกดาบ คลายแมงมมุ ขา (โคราช) หรือแตน ชุรคางจญี เล็กเทา เสน ผม ทวรทะนอ็ ก ลาม ชอบอาศยั อยูใ น แตนใบไม ๖๖ ชุร เคริ่บ็ ถ้ํา ๘๙ ทวรฮลา? แตนฝาหมอ (ดนิ ) ๖๗ ชรุ พืน หมาปา ๙๐ ทวรฮคี รอ็ บ ผง้ึ (เล็ก) หรอื ผงึ้ ๖๘ เชา แมงปอ งชา ง ๙๑ ทะมุร น่ิม ๖๙ โชรมกาน?แชจ็ ดงู มดแดง ตะพาบ ๗๐ โชรมดาก งกู าบมะพรา ว ๙๒ ทะวี่ เปด ๗๑ โชรมตี? งนู ้าํ ๙๓ ทา เตา ๗๒ โชรมทะนอ็่ ก งูดนิ ๙๔ ท?ี เตาเหลือง ๗๓ โชรมบงั คลัม งเู หา ๙๕ ท?ี ฮีลอ กระรอกดาํ ๗๔ โชรมพองบลัก งจู งอาง ๙๖ ทงี ปลาไหล ๗๕ โชรมพองบลัก งูนกกมั พลัก ๙๗ โทงโทง ตัก๊ แตนตําขา ว ๗๖ โชรมฮึจ็อก งกู ําพัก ๙๘ นางมนโท แมงมุม ๗๗ ดกั จัร งเู ขียว ๙๙ นุงนาง กง้ิ กา ๗๘ ตองรอง ชะมด ๑๐๐ ปอมกา กง้ิ กา ปก ๗๙ ตะกวด ก้งิ กอื ๑๐๑ ปอมเฮนยี ง เกง ๘๐ ตะบุง ตะกวด ๑๐๒ ปซ นกโพระดก ๘๑ ตะมาด กวาง ๑๐๓ ปลโตก นกเขา ๘๒ ตันชาย นกแรง ๑๐๔ ปูร ควาย ๘๓ ตัลชอง กระตา ย ๑๐๕ เปรยี ง กระรอก ๘๔ ตุกแก ตัวเงนิ ตัวทอง ๑๐๖ โปรก ผเี ส้อื ๘๕ ทรญู ตกุ แก ๑๐๗ พกั พา ก เหลือบ ปลวก ๑๐๘ พาร แมลงทับ ๑๐๙ เพ็มเพม ๓๐

ลําดับ ภาษาญฮั กุร ภาษาไทย ลําดับ ภาษาญัฮกรุ ภาษาไทย ๑๑๐ ม็องมอ็ ง แมงหวี่ ๑๓๖ ฮมวจเพล่ียด มดดํา ๑๑๑ มซู ยงุ ๑๓๗ ฮมวจฮนอก มดคัน ๑๑๒ เมยี มฮึเปญ ตัวขด ๑๓๘ ฮมวญ ตวั ลิน้ ๑๑๓ แมงคราม แมงกวาง ๑๓๙ ฮมมุ หมี ๑๑๔ แมงอีนูน แมงอนี ูน ๑๔๐ ฮญี ชัร อึ่งยาง ๑๑๕ ยลุ ยลุ ชะนี ๑๔๑ ฮกึ ัน ตัวอน ๑๑๖ ร็อก คางคก ๑๔๒ ฮึก?ี ตัวเหบ็ ๑๑๗ รยั ไร / หมัด ๑๔๓ ฮคึ ็่อก นกเงือก ๑๑๘ รยู แมลงวนั ๑๔๔ ฮเึ จยี ม นก ๑๑๙ รูยฮจึ อ็ ก แมลงวนั หวั เขยี ว ๑๔๕ ฮึเจียมกอก นกกระยาง ๑๒๐ ลัมเนยี ง เมน ๑๔๖ ฮเึ จยี มกะจัฮ นกตะขาบ ๑๒๑ ลําพอน พังพอน ๑๔๗ ฮึเจียมชะคด่ึ นกคุม ๑๒๒ เลียงเลียง นกเหย่ยี ว ๑๔๘ ฮเึ จียมตตี วจ นกกระแตแตแ วด ๑๒๓ อีญ อง่ึ อา ง ๑๔๙ ฮึเจยี มฮม่ึด นกขม้นิ ๑๒๔ อีญกร็อม อึ่งไมแ ดง ๑๕๐ ฮชึ ็อกชอก บุงขน ๑๒๕ อญี โอร อ่งึ กระโดน ๑๕๑ ฮึชู หนอน ๑๒๖ ฮงาร มดรนิ้ ๑๕๒ ฮชึ คู วาย หนอนมัน ๑๒๗ ฮนา? กระแต ๑๕๓ ฮชึ ูป ะอุก ดวง ๑๒๘ ฮนา?ฮทึ อก กระจอ น ๑๕๔ ฮชึ ปู ะเอยี น หนอนตัวโตสี ๑๒๙ ฮนี? หนู เขียว ๑๓๐ ฮนูย ลิง ๑๕๕ ฮึโชง วัว ๑๓๑ ฮมวจ มด ๑๕๖ ฮึญลั ตวั นมิ่ ๑๓๒ ฮมวจ ชโร ? มดงา ม ๑๕๗ ฮึตบั ตัก๊ แตน ๑๓๓ ฮมวจ เพล่ียด มดดาํ ๑๕๘ ฮึตาม ปู ๑๓๔ ฮมวจโทล มดรนิ้ ใหญ ๑๕๙ ฮตึ ามโปรแปร? ปภู ูเขา ๑๓๕ ฮมวจเพลญ มดคนั ไฟ ๑๖๐ ฮึตามฮมอ? ปูหนิ ๓๑

ลาํ ดับ ภาษาญัฮกุร ภาษาไทย ลาํ ดบั ภาษาญฮั กุร ภาษาไทย ๑๖๑ ฮทึ ญี กระทงิ ๑๖๗ ฮึมรวด ผ้ึงโพรง ๑๖๒ ฮึนลุ ต?ี ไสเดือน ๑๖๘ ฮมึ อง เสอื ดาว ๑๖๓ ฮโึ นก ตัวบ้ึง ๑๖๙ ฮโึ ล? หอย ๑๖๔ ฮปึ ยุ ตัวตนุ ๑๗๐ ฮุ ตอ หวั เสือ ๑๖๕ ฮเึ ปญ เสือ ๑๗๑ ฮุง ตวั ตอ ๑๖๖ ฮพึ าร หมาไน ๑๗๒ ฮงุ ตี? ตอ หลุม ๗) หมวดธรรมชาติ จาํ นวน ๓๓ คํา ลาํ ดับ ภาษาญัฮกุร ภาษาไทย ลําดับ ภาษาญฮั กุร ภาษาไทย ๑ กะเตา รอ นแดด ๑๘ ต?ี แตรฮ็ ดินกรวด ๒ กะทึน มืด ๑๙ ต?ี ฮตึ ลึ ดนิ ทราย ๓ กะมดั ตูร ไฟไหม ๒๐ ปะกาย ดาว ๔ กรุ ภเู ขา ๒๑ แพร็ย ฝน ๕ โกรง นาํ้ คลอง ๒๒ มอ ก เมฆ ๖ คะยาล ลม ๒๓ มองคะยาก รุงกินนา้ํ ๗ คะยาลทะฮดู ลมพดั ๒๔ ย่ักฮกึ ดั หมอก ๘ คะยาลฮึพด่ั ตาฮงึ ลมพายุ ๒๕ ละเงมิ เย็น ๙ งอ็ ม รอ น ๒๖ ละฮุก ดินโคลน ๑๐ จวร นาํ้ ลําธาร ๒๗ ฮกึ าซ ฟา ๑๑ ดากเชิร่ ็ นาํ้ ซับ ๒๘ ฮตึ ู? ดวงจันทร ๑๒ ดากฮนึ ูง น้ําบอ ๒๙ ฮึต?ู กะเตา ฤดรู อ น ๑๓ ดากฮึล็อม น้ําทว ม ๓๐ ฮตึ ู?ตะกดั ฤดูหนาว ๑๔ ตะกดั หนาว ๓๑ ฮตึ ?ู ตึน ขางข้นึ ๑๕ ตะฮยั ตะวัน พระจันทรเ ตม็ ๑๖ ตี? ดิน ๓๒ ฮตึ ?ู ปญ ดวง ๑๗ ตี?ตะบนั ดินเหนยี ว ฤดฝู น ๓๓ ฮึต?ู แพร็ย ๓๒

๘) หมวดอาหาร จาํ นวน ๔๖ คํา ลาํ ดบั ภาษาญฮั กรุ ภาษาไทย ลาํ ดบั ภาษาญัฮกรุ ภาษาไทย ๑ กะแลญ็ ลงี ขา วค่ัว ๒๔ ปะวญี ขา ๒๕ ปะอุร เกลือ ๒ กา?ปราง ปลายาง ๒๖ โปงเนิบ ขาวเหนียว ๒๗ โปรกปราง กระรอกยา ง ๓ คลจี ปราง หมูยา ง ๒๘ พ่ักคะญา ขิง ๒๙ ละวาง ใบแมงลกั ๔ คะนี?ปราง หนูยา ง ๓๐ ละวางทราย ตะไคร ๓๑ ละวางฮนม โหระพา ๕ ชางปราง ไกยาง ๓๒ ลกู กา? ปลาตม ๓๓ ลกู คลีจ หมตู ม ๖ ดกั จรั ปราง ชะมดยาง ๓๔ ลูกชาง ไกต ม ๓๕ ลกู ตันชาย กระตา ยตม ๗ ตนั ชายปราง กระตา ยยา ง ๓๖ ลกู พองชาง ไขไ กตม ๓๗ ลกู ละชู? ผักตม ๘ บฮุ เนียร แกง ๓๘ ลกู อีญ อึง่ ตม ๓๙ ฮนา?ปราง กระแตยาง ๙ บฮุ เนยี รกา? แกงปลา ๔๐ ฮนา?ฮึทอ กปราง กระจอนยาง ๔๑ ฮลา?เคราเครา ใบกะเพรา ๑๐ บุฮเนยี รครจี เครบิ ็ แกงหมูปา ๔๒ ฮลา?พรัม ใบพริกมา ๔๓ ฮลา?มะกรดู ใบมะกรดู ๑๑ บฮุ เนยี รควายเทด แกงมนั เทศ ๔๔ ฮลา?ฮึจัด ใบกาํ จัด ๔๕ ฮึกอ? ขาวสาร ๑๒ บฮุ เนียรควายเพลีย่ ด แกงมนั ดาํ ๔๖ ฮเึ จยี มปราง นกยาง ๑๓ บุฮเนียรควายฮึเตยี ก แกงมันเทียน ๑๔ บุฮเนยี รชางเคริบ็ แกงไกป า ๑๕ บุฮเนียรตะบัง แกงหนอ ไม ๑๖ บฮุ เนยี รตะออง แกงมะเขอื ๑๗ บฮุ เนียรตนั ชาย แกงกระตาย ๑๘ บุฮเนยี รท?ี แกงเตา ๑๙ บุฮเนยี รปะตฮิ แกงเหด็ ๒๐ บฮุ เนียรพรจุ แกงผักหวาน ๒๑ บุฮเนียรฮนา?ฮทึ อก แกงกระจอน ๒๒ บุฮเนียรฮึปร แกงฟก ทอง ๒๓ ปะแกว พริก ๓๓

๙) หมวดวฒั นธรรม จาํ นวน ๓๙ คาํ ลําดับ ภาษาญัฮกรุ ภาษาไทย ลําดบั ภาษาญฮั กรุ ภาษาไทย ๑ ชรุงฮทึ อ ก ฝงผี (ศพ) ๒๐ เลียงฮทึ อก เลีย้ งผี ๒ ชะลา อะรี่ หนามหวาย ๒๑ วญิ ชาวชาว ชักเยอ ๓ ชีงพอ่็ ก เย็บเส้ือพ็อ่ ก ๒๒ วญิ ตรุด สงกรานต ๔ ดากมอ็ น นา้ํ มนต ๒๓ วิญเบีย แลกเบีย้ ๕ เตญงาน แตง งาน ๒๔ วญิ ฮึแล เลน ลูกสะบา ๖ เทด เทศนม หาชาติ ๒๕ เวรออกชโร? ลงแรงหยอดขาว ๗ บวด บวชนาค ๒๖ ฮนามคลจี ปก นุ ๘ ปะคุฮ ฮลา? เปา ใบไม ๒๗ ฮนามชโรมอะโต ปมะโรง ๙ ปา?กะโปง ทําขา วเกรียบ ๒๘ ฮนามชโรมฮึแนจ ปมะเส็ง (ขาวโปง) ๒๙ ฮนามชาง ปร ะกา ๑๐ ปา?กาวพลูย ทาํ ดอกผ้ึง ๓๐ ฮนามชรุ ปจ อ ๑๑ ปา?เรเร รองกระแจะ ๓๑ ฮนามแช็ฮ ปม ะเมยี ๑๒ ปา?ลงุ แล็ด ทํานางเล็ด ๓๒ ฮนามตนั ชาย ปเ ถาะ ๑๓ พลยู ขี้ผ้ึง ๓๓ ฮนามแพะ ปม ะแม ๑๔ พว จ เปยะ ๓๔ ฮนามฮนี? ปช วด ๑๕ พูดละฮดู เกยี้ วสาว ๓๕ ฮนามฮนยู ปว อก ๑๖ มยั ดหู มอ เสย่ี งทาย ๓๖ ฮนามฮโึ ชง ปฉลู ๑๗ รมั โทน รําวง ๓๗ ฮนามฮึเปญ ปช าล ๑๘ เรกิ่ ฤกษ ๓๘ ฮอกพะโรง เรยี กขวญั ๑๙ ลุมพุก ตะลมุ พุก ๓๙ ฮอกาวพลยู แหหอดอกผ้งึ (การละเลน) ๓๔

๑๐) หมวดเคร่ืองมือการเกษตร – ลา สัตว จาํ นวน ๒๙ คาํ ลําดบั ภาษาญัฮกรุ ภาษาไทย ลาํ ดบั ภาษาญฮั กุร ภาษาไทย ๑ กะชา ตะกรา ๑๖ บูนมา มดี ซอย (ยาสบู ) ๒ กะช่ี ยางหนอ ง ๑๗ แพงจยั อะชรูบ แผงตากยา ๓ กะทาย กระบงุ ๑๘ มยั ดดี อที ุบ ๔ กะเวียน เคียว ๑๙ เลือย เล่อื ย ๕ เคงิ ของใสป ลา ๒๐ วีร กระดง ๖ ชวง ขวาน ๒๑ ฮา? หนา ไม ๗ ชัย ไซ ๒๒ ฮเึ กียบ กับดกั กระแต ๘ ชรู ขวาก ๒๓ ฮโึ ญก แรว ๙ ตะแกรง ตะแกรง ๒๔ ฮึโญกชรงุ แรว หลุม ๑๐ ทรู ลอบ ๒๕ ฮึนัร หาว ๑๑ บูง กบั ดกั หนู ๒๖ ฮึเนา หลุมพราง ๑๒ บงู ชา ย กับดักแย ๒๗ ฮึแน็ญบอ็ ฮ เบ็ดตกปลา ๑๓ บนู มดี ๒๘ ฮึม็อก เสยี ม ๑๔ บนู ชาล มดี จักตอก ๒๙ ฮูงตัง ยางไมดักนก ๑๕ บนู ตาญฮงาร มดี สานเสือ่ ๑๑) หมวดเคร่อื งแตงกาย จาํ นวน ๑๙ คาํ ลาํ ดบั ภาษาญัฮกรุ ภาษาไทย ลาํ ดบั ภาษาญัฮกรุ ภาษาไทย ๑ กอง กาํ ไล ๘ เนจตะโรง ผา โสรง ๒ กะจอน ตางหู ๙ เนจปูย ผา ขนหนู ๓ กงุ เกง กางเกง ๑๐ เนจ พรุ ผาข้รี ิ้ว ๔ เคมคัด เข็มขดั ๑๑ เนจ แพร ผาสะไบ ๕ ชิวยิว กระพรวน ๑๒ เนจ ละบกั ผา ขาวมา ๖ แช็จพะเนยี ง แหวน ๑๓ พ็่อกเชิง รองเทา ๗ เนจคะนนู ผาถงุ ๑๔ พอ่็ กแต็ย เส้อื ๓๕

ลาํ ดับ ภาษาญฮั กรุ ภาษาไทย ลาํ ดบั ภาษาญฮั กรุ ภาษาไทย ๑๕ พอ่็ กแตย็ แคนคลญี เสอ้ื แขนยาว ๑๘ ฮนีด หวี ๑๖ พ็อ่ กแตย็ แคนแคล เสื้อแขนส้นั ๑๙ ฮโนง สรอ ย ๑๗ มวก หมวก ๑๒) หมวดเคร่อื งจักสาน ๑๗ คาํ ลําดบั ภาษาญัฮกุร ภาษาไทย ลําดบั ภาษาญัฮกุร ภาษาไทย ๑ กะชา ตะกรา ๑๐ เทรีย เสื่อลาํ แพน ๒ กะชาออกชโร? กระแตระ ๑๑ พลุง กยู ๓ คราย กะเปาะ ๑๒ แพง แผง ๔ เค็ง หมวง ๑๓ ระเนญ ตะแกรง ๕ จะแก็จ กระแตะ ๑๔ วีร กระดง ๖ ชัย ไซ ๑๕ อจี ู อีจู ๗ ชงุ เวียน ยงุ ใสข า วเปลือก ๑๖ ฮงาร เส่อื ๘ ชุม สมุ ขังไก ๑๗ ฮโึ รง หวดนง่ึ ขาว ๙ ทรู ลอบ ๑๓) หมวดคําศพั ทอ ืน่ ๆ จาํ นวน ๗๒ คาํ ลําดบั ภาษาญัฮกรุ ภาษาไทย ลาํ ดบั ภาษาญฮั กรุ ภาษาไทย ๑ กอก ขาว ๙ แคม็ เคม็ ๒ กะแจ็ด ตาย ๑๐ แคลจ็ ขโมย ๓ กะตวรเคลิง็ หหู นวก ๑๑ จัยตะฮัย ตากแดด ๔ กะตงั ขม ๑๒ จยั แพรย็ ตากฝน ๕ กืก เปนใบ ๑๓ ชะค่อ็ ฮ มะรนื นี้ ๖ กุล ให ๑๔ ชะวญิ มดั่ เวียนศรี ษะ ๗ กฮุ ฮนับ เลว ๑๕ ชะองุ หอม ๘ คะยอื เปนหอบ ๑๖ ชะอุย เหม็น ๓๖

ลําดบั ภาษาญัฮกรุ ภาษาไทย ลําดับ ภาษาญัฮกรุ ภาษาไทย ๔๑ ปญู เมอเมอ นอนละเมอ ๑๗ ชซั่ ไข ๔๒ ปญู ฮึนรุ นอนกรน ๔๓ เพลญ แดง ๑๘ ชา ชา ๔๔ เพลย่ี ด ดาํ ๔๕ โพรกฮมุ เสยี ใจ ๑๙ ชฮี กึ าซ สฟี า ๔๖ ม่ดั ตะบอด ตาบอด ๔๗ เมาะ / ฮึเมจ สวย / สวยมาก ๒๐ ชกุ / ชะบาย สุข ๔๘ ยดุ หยดุ ๔๙ รอ่็ บจะกอ? ทะเลาะ ๒๑ ซีซม สีสม ๕๐ รั่บ รับ ๕๑ แรง แรง ญิมแกร็ง(บานวงั ๕๒ ลอ็ บแพร็ย หลบฝน ๕๓ ละแคฮ็่ เหนอ่ื ย ๒๒ อา ยโพธิ์)/ ญมิ แคร็ง เด๋ยี วกอ น ๕๔ วยั เร็ว (บา นไรแ ละบานวัง ๕๕ เวลา เวลา ๕๖ ออร ออร ดีใจ (มาก) อา ยโพธิบ์ างสวน) ๕๗ อะเนญ อยา ๕๘ อนั คอ่็ ฮ อันน้ัน ๒๓ ดากงอ็ ม นาํ้ รอ น ๕๙ อนั ออ? อนั น้ี ๖๐ ฮงูร เนา ะ พรงุ นี้ ๒๔ ดากระอูญ นาํ้ อนุ ๖๑ ฮนับ ดี ๖๒ ฮมาญ ถาม ๒๕ ดากละเงมิ น้ําเยน็ ๖๓ ฮงั ชะโตม ขางขวา ๖๔ ฮังชะวี่ ขางซาย ๒๖ ตะดาจ หวาน ๖๕ ฮงั ฮเึ กรา ขา งหลัง ๖๖ ฮังฮึตา? ขางหนา ๒๗ ทลู สําเร็จ ๖๗ ฮยั ออ? วันน้ี ๒๘ แท็ฮลอ็ บ เปน ลม ๓๗ ๒๙ แทฮ่็ ฮมึ รา? เปนแผล ๓๐ บูลปแร? เมาเหลา ๓๑ ปะจ็อน ฝาด ๓๒ ปะจัฮ เปร้ียว ๓๓ ปะจูญ เหลอื ง ๓๔ ปะตวด หูด ๓๕ ปานกอก ปานขาว ๓๖ ปานเพลญ ปานแดง ๓๗ ปานเพล่ียด ปานดาํ ๓๘ ปูญกะงาร นอนหงาย ๓๙ ปญู ตะแคง นอนตะแคง ๔๐ ปูญปะกบั นอนควา่ํ

ลาํ ดบั ภาษาญฮั กุร ภาษาไทย ลําดบั ภาษาญฮั กุร ภาษาไทย ๖๘ ฮจึ อ็ ก เขียว ๗๑ ฮึร โมโห ๖๙ ฮทึ กุ ทุกข ๗๒ ฮืด หวดั ๗๐ ฮึพายปูร เกลือ้ น ๑๔) หมวดคาํ ถาม จํานวน ๑๓ คาํ ลาํ ดบั ภาษาญฮั กุร ภาษาไทย ลาํ ดบั ภาษาญัฮกุร ภาษาไทย ๑ ชะโมะ อะไร ๘ เพอื ชะโมะ เพ่ืออะไร ๒ ญงั ฮาน อยา งไร ๙ แมนกะเลา ใชหรอื เปลา ๓ ทงั โน็ว เมือ่ ไร ๑๐ ยอนชะโมะ เพราะอะไร ๔ นังโนว็ จากไหน ๑๑ อะญั่ฮ ใคร ๕ ปา?ชะโมะ ทําอะไร ๑๒ อรั โน็ว ไปไหน ๖ ปา?นาน ทาํ ไม ทําไมเปนอยาง ๗ พะโน็ว ท่ไี หน ๑๓ ฮานญังค่็อฮ นน้ั ๒.๔ ลกั ษณะการสื่อสาร ลักษณะการส่ือสารภาษาญัฮกุร เปนการสื่อสารผานคําพูด หรือบทสนทนา ซ่ึงในการเก็บรวบรวม ขอมูล ชุมชนเจาของภาษาเปนผูเก็บขอมูลโดยผานการพูดคุยสนทนารวมกับปราชญชุมชนเปนภาษาญัฮกุร สามารถถอดความไดด งั น้ี ภาษาญฮั กุร ความหมาย ตรูยตรูย เตญตูฮ ญังฮาน. เพราเพรา เตญตุฮ ญัง การแตงตวั ผูช ายแตง ตวั แบบไหน ผหู ญงิ แบบไหน ฮาน. ปา? คะมา ญังฮาน. แท็่ฮ ฝดาด คะมัย ชะโมะ. ยอง ปวยเปน โรคอะไร เปนฝด าษใชไ หม กะชอ? คะมัย. เรือบิน. ลัม ฮุป ลัม อะโต. โลง เท่็ฮ คะนา. นอม เห็นเครื่องบิน ลําแรกลําใหญมา ๑ ฝูงบิน แตมี ๑ ลํา มวย ลัม อะโต. ลัม อะโต ท็อง ปะจิด. ลัม ฮึแนจ ท็ ใหญ ลาํ ใหญอ ยูตรงลาํ เลก็ อยสู องขา ง ซาย ขวา มาดาน ๓๘

ภาษาญฮั กรุ ความหมาย อง บารฮคี าง. โลง ฮัง ฮยั ตนึ . อรั ฮงั ฮยั จฮิ . ตะวันออกและบนิ ไปดานตะวนั ตก ชะม็อฮ ค่็อฮ ยอง ท็อง พะโนว. ยอง ท็อง วังแร. พา ตอนน้ันยายอยูที่ไหน ยายอยูวังแร เลยยายมาอยูบาน ชะกอ? โลง ท่็อง โดง คะมา. ชะม็อฮ ค่็อฮ ท็อง โดง ไร แตเม่ือกอนอยูหนวงโบราณ ก็เลยยายมาอยูวังแร โบราน. กอ พา ชะกอ? โลง ท็อง วังแร. อะญั่ฮ โลง ใครมาอยูกอน ยายบอกตาเสน ตาปลอดมาอยูกอน ตา ท็อง ชะม็อฮ. ยอง กะชอ? เปญ เซน. เปญ ปรอด แสน ปาทวดของนาแกน มีใครมาอยูอีกบาง ตาปลอด โลง ท็อง ชะม็อฮ. เปญ เซน แท่็ฮ เปญ ทวด อบต. มาอยูกอน ตาเมียงมาอยูทีหลัง ตาปลอดมาจากชอง แกน. นอม อะญ็ฮ โลง ท็อง คอ. เปญ เมียง โลง ตับเตาใชไหม ท็อง ฮึเกรา เปญ ปรอด. โลง นัง ชอง ตับเตา แมน เกลา. พนม : โลง ท็อง บอน โน็ว นอ โดง คะมา . พนม : ยา ยมาอยูท ่ไี หนของบานไร ยอง : โลง ท็อง บอน ออ? เอย. ยาย : อยูแถวน้ีแหละ ประยรู : คะมา อะญฮั่ ชะม็อฮ. ประยูร : ทีน่ ่ีเปน ไรข องใคร ยอง : คะมา เปญ ปรอด. ยาย : ไรข องตาปลอด สวทิ : อะญั่ฮ ปา? คะมา ชะมอ็ ฮ ญิน. สวิท : ใครทําไรก อ น ยอง : คะมา เปญ ปรอด บาร ปรอด เปญ เซน คอ. ยาย : ไรข องตาปลอด ตาแสน เปน ไร และเปน ทรี่ กรา ง ปา? คะมา กอ เลย แท่ฮ็ ชา ก. กอ ตนึ โลง ท็อง. พนม : ปา? คะมา ปา? ญัง ฮาน เชิน ปา? พทิ ี เกลา. พนม : การทําไรจ ะตองทําพธิ ีกรรมหรือไม ยอง : จับ เจียด ปา? ตาํ ราย แท่็ฮ ล็อก. ยาย : จับจองเอาเลย ทําเปนแปลง พนม : แว็ย คะมึง เปญ แด็ฮ กะชอ?. ยักชู? แน็จ พนม : ผมเคยไดยินตาเลาใหฟงวา ตองทําพิธีกอนจับ แนจ ปญู ปอ? ฮนบั แลว อัร ทราม. เจียด ตัม อะโต จอง โดยตัดไมตนเล็ก ๆ กอน แลวกลับมานอนฝนกอน ทั่บ จฮิ . อวร แด็ฮ รา บ. จงึ จะจบั จองและลงมือทาํ เปนแปลงได ยองดํา : ยุก ฮึทา กุล ตะเคิล็ โลง. แก็จชู? ตัมฮึแนจ ยายดาํ : ใช เขาตดั ตนเล็กทําเครื่องหมายกากบาทไวสูง ปา? ตําราย เอิล็. โลง แล็จ กะต็อน ปอ? ฮนับ กอ ประมาณแคเอว ถาฝนดีก็ลงมือทําแปลง ถาฝนไมดีก็ไม ๓๙

ภาษาญัฮกุร ความหมาย ทึงนะ ปา? ปอ? กุฮ ฮนับ กอ กุฮ แบ็จ ปา?. ปา? ทํา เปนเครื่องหมายบงบอกวาแปลงน้ีเปนของใคร เขต มาย ตี แทฮ่็ คอง อะญัฮ่ . ของใคร พนม : ญิน มัย ชะมอ็ ฮ เกลา นะ ออก ชโร?. พนม : การปลกู ขาวตอ งเสี่ยงทาย หรอื ทาํ พิธีกรรมไหม ยอง : กฮุ แบจ็ เม. กะดฮั ฮัย จะเกยี ม ฮัย ราร. ยาย : ไมต อง ดวู ันกพ็ อ วนั กาํ วนั แบ โดยใชม ือนับ ยอง : เทา คลัน กะแจ็ด บอน โนว นอ คะมา. กุล ยาย : ถางูเหลอื มตายบรเิ วณไรใ หท าํ คอกไวบ ริเวณนนั้ ปา? คอ ก เอิล็. ประยรู : ปา? ฮยั คะราร แดฮ็ นะ เปลือง. ประยรู : ทาํ วนั แบจึงจะไดง าน ประยูร : พะน่ิฮ ฮนาม โมะ นะ ออก ชโร? โคะ. ประยูร : คนท่ีปลูกขาวคนแรก เพ่ือเอาฤกษเอาชัย จะตองเปนคนทีเ่ กิดในปไหน ยอง : ฮนาม ชโรม ฮนาม ฮึเปญ แด็ฮ กุฮ จา? ฮพึ ดั . ยาย : ปมะโรง ปเสือ หรือคนท่ีเกิดในปนักกษัตริยท่ีไม กนิ ขา ว (ปมะโรง มะเส็ง ขาล ถาไมมีคนที่เกิดภายใน ๓ ปน้ี จะตองไปตามใหมาทําพิธี ถาไมอยางน้ันปนั้นจะไมได ปลูกขาว) พนม : เตญ ตุฮ ญงั ฮาน ตอน ออก ชโร?. พนม : แตงกายอยางไรในการปลูกขา ว ยอง : เตญ ตุฮ ญิง ออ? เอย. เจียด ฮึม็อก ตัล คลีญ ยาย : ชุดธรรมดา ใชเสียมขุดดิน ดามเสียมยาว ใชขุด ชะนวล. พะนิ่ฮ เพราเพรา ออก ขโร?. ตรุยตรุย ควา ดินปลูกขาว ผูชายเปนคนขุด ผูหญิงเปนคนหยอดเมล็ด พั่ก ฮึเกรา. ขาว เสร็จแลวผูขายจะทําไมกวาด โดยใชก่ิงไม กวาด ดินกลบเมล็ดขาวตามหลัง พนม : แว็ย ค่ิด ตี ออก ครบั่ ชโร? นอ ดิญ. พนม : ผมนึกวาใสเมล็ดขาวลงในกระบอกไมไผแลว เขยา ลงหลมุ ท่ขี ดุ ไว ยอง : เจยี ด แต็ย จะเกยี ม ออก ที ละแญด ละแญด. ยาย : ไมใช เขาใชมือกําแลวหยอด ประมาณ ๕ – ๘ เมล็ดตอ หลุม ๔๐

ภาษาญัฮกรุ ความหมาย ยอง : อะญัฮ ออก ชโร? ชา ควาจ ชุง. อะญั่ฮ ชะ ยาย : คนไหนหยอดเมลด็ ขา วชา ก็จะโดนไมก วาดกวาด นวล ชา นะ กะจ็อฮ ดาก กะชู? ออก ชุง. อะญ่ัฮ เทา ถาคนขุดหลุมชาก็จะโดนนํ้าหมาก ใครทําชาไดกิน ควาจ ชา จา? โปง คะนงั . ขาวตงั (ขาวกนหมอ ) พนม : ฮาน ชนั นะ เติล็ กาว เอลิ  นอ คะมา. พนม : ทําไมตอ งปลูกดอกไมไวในไร ยอง : เติล็ กาว เทด เอิล็ ปา? พะโรง ชโร?. ยาย : ปลูกไวใหพระแมโพสพ มีดอกไม เชน ดอก บานช่นื ดอกพลบั พลึง ไวเ รยี กขวัญขา ว พนม : นอม เนจ นอม พ็อ่ ก แตย็ จี? ตฮุ . พนม : ยายมีเส้อื ผา กชี่ ดุ ยอง : นอม บาร ตุฮ. นอม เนจ คะนูน บาร พืน. ยาย : มีสองชุด เสื้อสองตัว ผาถุงสองผืน ไวใสทํางาน เอิล็ ออก ปา? บุน มวย ตุฮ. ออก ปา? งาน มวย ๑ ชุด ไวใ สงานบญุ ๑ ชุด ตฮุ . พนม : ออก พ็่อก แตย็ ฮมูย กดึ เกลา. พนม : ใสเ ส้ือแขนส้ันยงุ กดั ไหม ยอง : กดึ กอ ตะปอก. ฮมูย แด็ฮ กุฮ เคิลง็ เด. ยาย : กัดกต็ บ แตย งุ ไมค อยเยอะ พนม : ญิน ปา? เรเร ตอน โนว. พนม : การ ปา? เร เร เขารอ งกันอยางไร ตอนชว งเวลา ไหน ยอง : นอม พะน่ิฮ โลง โปด พลาย พลาย พูด ละ ยาย : มีแขกมาเยี่ยมบาน หรือหนุมสาวมาท่ีบาน ก็รอง ฮูด. เจียด ฮลา?ชู? อัร ดัก เอิล็ บอน โต็รว. ตี พ็่อบ ปา?เรเร ใหเ ขาฟง ชะกอ? เพราเพรา นะ กะดัฮ ตี แท่็ฮ ฮลา? โมะ. แด็ฮ กอ นะ ตะด็อก ฮลา? เอิล็ ญัง ชะกอ? ฮลา? เวลาหนุมสาวจบี กันจะใชใบไมเปนสื่อ ผูชายจะนําใบไม มาวางตามเสนทางหรือจุดที่เคยวาง สวนผูหญิงจะดูวา ฮนบั ฮลา?เปล ฮลา?ชะพรัฮ่ ?. เปนใบอะไร แลวจะวางใบไมตอบ ใบที่มีความหมายดี คอื ใบแนง ใบพลับพลา หมายความวา บอกลากนั (ในกลุมญัฮกุรใชใบไมในการสื่อสารหลายความหมาย เชน ใบท่ีใชสําหรับบอกรักกัน ไดแก ใบลําดวน ใบ สาบเสือ ใบแนง ถาผูหญิงชอบก็จะนําใบไมท่ีมี ความหมายดีมาวางไว เชน ใบบัว หมายความวาจะมี ๔๑

ภาษาญัฮกุร ความหมาย เย่ือใยทีด่ ตี อ กัน แตถ า ไมชอบจะนําใบที่มีความหมายไม ดีมาวางไว เชน ใบตาํ แย) พนม : บุน คอง ญฮั กุร ฮยั โน็ว. พนม : งานบญุ คนญัฮกรุ เริม่ เดอื นไหน ยอง : เทด ฮตึ ?ู ป? ตรุด. ยาย : เรมิ่ เดอื นสาม เทศนม หาชาติ เดอื นหา สงกรานต ยอง : ม็อน ม็อน ลูง โลง นัง โดง ชวร. ตึน เกียน ยาย : นิมนตพระบานปะโค บานชวน ขึ้นเกวียนมา โลง เทด ฮตึ ู?ป? . แฮ ดอก พงี . เทศนมหาชาติ ในเดือนสาม เดือนหา เร่ิมพิธีกรรมแห หอดอกผึ้ง พนม : ญิน เตญ ตฮุ ราํ แฮ ดอก พึง ญงั ฮาน. พนม : การแตงกายและการฟอนรําในชวงแหหอดอก ผ้งึ เปน ยงั ไง ยอง : เพราเพรา ออก พ็่อก คะนูน เนจ คะล่ัฮ ชาย. ยาย : ผูหญิงใสเสื้อพ็อก นุงผาถุง ทิ้งชายผา ใสกําไล ออก ฮโนง ออก กอง ราํ ญัฮกรุ ปา? เรเร. ขอมือ ขอเทา สรอยคอลูกปด รําแบบญัฮกุร ไมจีบนิ้ว และมกี ารปา?เรเร เกีย่ วกับหอดอกผ้ึง พนม : ญนิ ว่ิญ ชะโมะ คอ ฮยั ตรุด. พนม : การละเลน ในวันสงกรานตม ีอะไรบา ง ยอง : ชาว ชาว เจียด ชู? ดัน ออก ชะกอ?. ยาย : การละเลนมี ชาว ชาว (คลายชักเยอ) เลนในวัน ตะลุมพุก ตรยุ ตรยู ญ่ัฮ ตรุย ตรยู . ฮึพัน กะต็อน ดึง สงกรานต และตะลุมพุก เปนการดึงท่ีเอว แลวจะมีคน กลุ ฮึปลุด กอ แพ. ต้ังคําถาม เชน ไมแกนอะไร ถาไมแกนแดง ก็ตองออก แรงมาก ๆ แบงเปนทีม โดยผูชายแขงกับผูชาย ผูหญิง แขงกับผหู ญงิ ผชู ายกับผูหญงิ จะถูกเนอ้ื ตองตวั ไมไ ด พนม : มยั ชะปอ ก เกลา. พนม : มีการเสยี่ งทายในพิธกี รรมไหม ยอง : ชะปอ ก ตอน ชซั คอง ชิบ. ยาย : มี แตเปนการเส่ียงทายเรื่องของหาย และไม สบาย เจ็บไขไ ดปว ย โดนผีปา พนม : ชะม็อฮ ค็่อฮ. ญิน เจียด ชะโมะ ฟอก กะด็ พนม : เมือ่ กอ นใชอะไรสระผม อบ. ๔๒

ภาษาญัฮกรุ ความหมาย ยอง : ตยั ตวล ปะแกว ละฮุง กัมเกียน แกน คูน ดาก ยาย : ใชนํ้าซาวขาวสระผม สระตอนกลางวัน เคร่ือง ชาย. หอมทาตัวก็มีขม้ินกับหัวเปราะหอมทาตัว หลังจาก อาบน้ําเสรจ็ (เปราะหอม เปน พชื ตระกลู เดยี วกบั พวกกะชาย มีสีขาว และกล่ินหอม) พนม : ญัฮ กรุ นอม คะนบ โมะ เชิน. พนม : นําอะไรไปแลกเปล่ียน หรือคาขายบาง ท่ีบาน ชวน บานปะโค (อําเภอบาํ เหน็จณรงค) ยอง : คะนมตัม คะนมฮตึ าก ชรุ . ยาย : นําไต สวนประกอบของลอเกวียน (ซ่ีลอเกวียน, วงลอ) พริก ฝาย มัน เผือก แลกเปล่ียนเปน เกลือ ผา หรือขายเปน เงนิ พนม : พะน่ัฮ ท็อง กะมดั ญนิ ปา? ญงั ฮาน. พนม : ถา คลอดลูกจะตอ งทําอยางไร ยอง : อัรเจียด มอ ตัมแย. เจียด บูนเนียว แก็จ ปะ ยาย : จะตองไปหาหมอตําแยมาทําตลอด เวลาเด็กเกิด นิฮ. เจียด ฮึวาร ท่ัก ป? ปล็อฮ. แก็จ ปล็อฮ ที ป?. จะใชผิวไมรวกตัดสายสะดือเด็ก ใชดายมัดเปนสาม กอ ญิน เจียด ฮม่ึด รอง. เจียด กวน ออก กะชิญ เปลาะ แลวตัดเปลาะที่สาม รองดวยขม้ิน เสร็จแลวใส วีร. เจียด ฮลา? กราด เนอ คะนูน รอง กวน ค็อฮ. กวน กวน แด็ฮ ฮึเกิด็. ยาม ปะตัม เชจ เนจ คะนูน ดานหลงั กระดง รองดวยใบตองกลว ย ปูดว ยผา ถุงแม คอง แมะ . จฮุ จุฮ จฮิ ฮมูด. ฮอก พะ โรง. กวน กวน เวลาเด็กไมสบายตอนกลางคืน หรือนอนผวา แมจะ เอย โจว กู. ลอย พะนอม จิฮ กุร จิฮ ดาก. กุล พะ เรียกขวัญใหลูก โดยฉีกผาถุงของแมยาวประมาณผูก โรง โจว ฮี โจว ทะม็อง เดอ. ก็อด ฮุม ทั่ก ฮึวาร แคน กวน. กวน กอ นะ ยุด ยาม. แขนเด็กได แลวหยอนลงรองฟากบาน (รองพื้นบาน) แลวเรียกขวัญเด็ก โดยพูดวา “ขวัญเอย ขวัญมา ให ขวัญกลับมาอยูกับเนื้อกับตัว” จากนั้นนําผาถุงที่ฉีกไว มาผูกแขนใหลูก ในขณะผูกแขน แมตองกลั้นหายใจจน ผกู เสร็จ อยา งไรก็ตามลักษณะของภาษาญฮั กุรกําลังอยูในภาวะของการปรับเปล่ียน ซงึ่ จะนําไปสูภาวะของการ สูญเสียหรือการตายของภาษานี้ได ดังจะเห็นไดวาในจํานวนประชากร ๒๓ หมูบาน ในจังหวัดนครราชสีมา ๔๓

ชัยภูมิ และเพชรบูรณ หลายหมูบานโดยเฉพาะในเตอําเภอปกธงชัย จังหวัดนครราชสีมายังมีผูพูดภาษาอยู เพียงไมก่ีคน สวนมากเปล่ียนไปพูดภาษาไทยโคราช ซึ่งปจจุบันชาวไทยโคราชเขามาอยูในพ้ืนที่เดียวกันเปน จํานวนมาก ในบางหมูบาน เชน บานวังกําแพง อําเภอหนองบัวระเหว จังหวัดชัยภูมิ มีอิทธิพลของภาษาลาว อยูมาก เชน ในหมูบานที่ยังมีผูใชภาษาหนาแนน บานวังอายโพธ์ิ บานนํ้าลาด บานวังอายคง บานไร จังหวัด ชัยภูมิ บานทาดวย บานหวยเลา จังหวัดเพชรบูรณ ภาษาของคนในรุนเด็กเชน อายุประมาณ ๒๐ ป มีการ เปลี่ยนแปลงมาก เชน ลักษณะเสียงพยัญชนะทาย r <ร> ซ่ึงเปนลักษณะของภาษามอญ – เขมร เปล่ียนไป เปนเสียง n <น> หรือ j <ย> เชน คําซ่ึงเปนชื่อกลุมคนและภาษา ɲahkur <ญัฮกุร> “คนภูเขา” จะ เปล่ียนเปน ɲahkun / ɲahkuj <ญัฮกุน / ญัฮกุย> chur <ชุร> “หมา” จะเปลี่ยนเปน chun / chuj <ชุน / ชุย > บางคนเสยี ง ɲ <ญ> จะเปล่ยี นเปน n <น> เชน ɲahkur เปน nahkun ๒.๕ คุณคา ภาษาญัฮกุร ภาษาญัฮกุร ถือเปนภาษากลุมชาติพันธุท่ีอยูในภาวะวิกฤต ปจจุบันชาวญัฮกุรอาศัยอยูหนาแนนใน อําเภอเทพสถิต จังหวัดชัยภูมิ เชน ที่บานวังอายโพธิ์ บานนํ้าลาด บานวังอายคง บานไร บานเสลี่ยงทอง เปน ตน ภาษาญฮั กุร เปนภาษาท่มี คี วามสาํ คัญและมีคณุ คา กลาวคอื เปนเครื่องมือในการสื่อสารและถายทอด ความรูจากรุนสูรุน เปนแหลงรวบรวมมรดกทางภูมิปญญาดานตาง ๆ เปนอัตลักษณของกลุมชน ท่ีแสดงความ เปนตัวตนและเสริมสรางความภาคภูมิใจของตน รวมถึงเปนกลไกสําคัญในการเชื่อมโยงความสามัคคี และ เสรมิ สรา งความม่นั คงของประเทศในการดํารงรกั ษาความม่ันคงของประเทศไทยอีกดวย ดังคํากลาวท่ีวา ความ หลากหลายของภาษาและวัฒนธรรม เปนทรัพยากรหรือทุนทางวัฒนธรรมของประเทศ เปนแผนที่นําทางใน การเขาถึงคุณคาของทรัพยากร และเปนรากฐานที่ยืนอยางมีเกียรติ มีศักด์ิศรีของชุมชนใหสามารถพัฒนา ตนเองตอไปได (ชยั อนันต สมุทรวานิช, ๒๕๕๑) ๒.๖ การถา ยทอดและการสบื ทอด ในอดีตภาษาญัฮกุร มีการถายทอด โดยการใชภาษาภายในบาน แตเน่ืองดวยความเจริญกาวหนาทาง เทคโนโลยี การติดตอสื่อสารกับบุคคลภายนอก ตลอดจนระบบการศึกษา ทําใหภาษาญัฮกุรที่เคยใชพูดคุยกัน ในบานเริ่มถดถอยลงทุกที ทําใหในปจจุบันบุคคลท่ีพูดภาษาญัฮกุรไดอยางดีมีเฉพาะในรุนผูสูงอายุ หรือรุนวัย กลางคนประมาณอายุ ๔๐ ปข้ึนไปเทาน้ัน สวนกลุมเด็กและเยาวชนสามารถพูดไดไมมากนัก นอกจากนี้การ ถายทอดภูมิปญญาในดานตาง ๆ ก็ไมถูกถายทอดสูกลุมเด็กและเยาวชนอยางเปนกิจลักษณะ ดังเชน ภูมิปญญาดานการเย็บเสื้อพ็่อก ซึ่งถือเปนเอกลักษณการแตงกายเฉพาะของชาวญัฮกุร ตลอดจนภูมิปญญาใน การใชประโยชนจากปา เปนตน ทําใหชุมชนชาวญัฮกุรไดเกิดความพยายามในการฟนฟูภาษาและและภูมิ ๔๔