สมุนไพรในรั้ววดั พิมพค์ รง้ั ที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๔ จำนวน ๑,๐๐๐ เล่ม อโรคยาศาล วดั ป่ากุดฉนวนอดุ มพร ตำบลบ้านเขวา้ อำเภอบ้านเขว้า จังหวดั ชยั ภมู ิ
คำนำ แม้ปัจจุบันเทคโนโลยีทางการแพทยจ์ ะเจรญิ รดุ หนา้ ไปมาก การคดิ ค้นยา เทคนิค กรรมวิธใี นการรกั ษาเพือ่ เอาชนะโรคภยั ไข้เจบ็ ต่างๆก็เพือ่ หวงั ให้มนษุ ย์มชี ีวิตท่ยี ืนยาว หรอื คงความเป็นหน่มุ สาวไวแ้ ละห่างจากโรคภยั แต่นั่นหมายความวา่ เราตอ้ งมีทนุ ทรัพยส์ ำหรับการ รกั ษาพยาบาล ยามปว่ ยไข้ไม่นอ้ ย และตอ้ งมที นุ รอนสะสมเพื่อการรกั ษาตวั เองการ “ไม่ป่วย” จงึ เปน็ เร่อื งทีน่ ่ายนิ ดโี ดยแท้ ความเจ็บปว่ นทเ่ี กิดขึ้นกบั คนเรานน้ั มีหลายสาเหตุ อาทิ จากเช้ือโรค ความเสือ่ มของ สงั ขารท่ีเป็นไปตามวัย ทวา่ ยังมโี รคจำนวนมากเกดิ จากพฤตกิ รรมการใชช้ ีวติ ความเคยชนิ ทม่ี นุษย์กระทำต่อตวั เอง จะโดยรู้ตวั หรือไม่กต็ าม ท้งั ทคี่ วามจรงิ แล้ว มหี ลายโรคท่ีเราสามารถป้องกันได้ ไม่สร้างโอกาสให้เออื้ ตอ่ การ เจบ็ ปว่ ย หรือบรรเทาจากหนกั เปน็ เบา ถา้ เพยี งเข้าใจหลักของความสมดุล และประพฤติตน ตามหลักดงั กลา่ ว แพทย์แผนจนี และแผนไทยนัน้ มองวา่ มนุษย์เปน็ สว่ นหน่งึ ของธรรมชาติ ในการ ดำเนนิ ชวี ิตจงึ ตอ้ งสอดคลอ้ งกับการเปล่ียนแปลงของกฎเกณฑ์ทางธรรมชาติ หากประพฤติ ปฏิบัติตนได้ตามหลักดังกล่าวโอกาสเจบ็ ป่วยกจ็ ะนอ้ ยลง ทวา่ มีคนจำนวนไม่น้อยท่เี จ็บปว่ ย โรคภัยคุกคาม น่ันเปน็ เพราะใชช้ วี ติ ที่ “ ฝนื ” ธรรมชาตอิ าการเหน่อื ยเร้อื รัง โรคทเ่ี กิดจาก “ความไมส่ มดุล” และธาตพุ ิการท่ีเน่ืองมาจากหลายสาเหตุ ภาวะความเสื่อมทรดุ ของร่างกายที่ มากอ่ นถึงวยั อันควร ซ่ึงท่ีข้าพเจา้ กลา่ วถงึ น้นั ล้วนมีจำนวน เพิม่ ข้ึนจากเมือ่ ก่อนมาก ปจั จบุ ัน ผ้คู นจำนวนไมน่ ้อย หันมาสนใจการแพทย์ทางเลือกมากข้ึน โดยเฉพาะแพทย์แผนไทยซง่ึ ได้ รบั การยอมรับและเปน็ ทีร่ ูจ้ ักกันในวงกว้าง โรงพยาบาลหลาย แหง่ มีแผนกแพทย์แผนไทยไว้ ให้คนไขเ้ ลอื กใช้บรกิ าร การทำความร้จู กั และมคี วามรู้เก่ียวกบั ศาสตร์ดงั่ กลา่ วไว้เบื้องต้น อาจทำใหเ้ รา เข้าใจสภาพร่างกาย และการเจบ็ ป่วยตา่ งๆและนำไปประยกุ ต์ใชใ้ นทางการแพทยแ์ ผน ปัจจุบนั ไดซ้ ่งึ เนอ้ื หาในค่มู อื น้ีไดบ้ อกเบ้อื งตน้ เก่ียวกับพฤกษพรรณและสรรพคุณของ ต้นไม้ใบยา นำความรเู้ กยี่ วกบั สรรพคุณเหล่าน้นั มาปรุงประกอบเป็นยาเพอื่ รกั ษาโรค ยอ่ มยังประโยชน์ เกอ้ื กลู แกต่ นและคนอื่นได้
การทำความรูจ้ ัก และมีความรูเ้ กี่ยวกับศาสตร์ดงั่ กล่าวไว้เบือ้ งตน้ อาจทำให้เราเขา้ ใจสภาพ ของโรคที่เกิดกับตนและคนอื่นก็ย่อมเข้าใจและแก้ไขสภาพการเจ็บป่วยนั้นด้วยความรู้ที่มี ทงั้ ยัง นำไปประยกุ ตใ์ ช้ในทางการแพทย์แผนปจั จบุ ันได้ ซึง่ เน้อื หาในหนังสือคมู่ ือนี้ไดบ้ อก เบื้องต้น เกย่ี วกบั ความรเู้ บอ้ื งต้นทางการแพทยแ์ ผนไทยต้นไม้และสรรพคุณ ของต้นไม้ ใบยาที่นำมารักษาโรคที่หลากหลายพร้อมทั้งตำรับยาโบราณที่นำมาประกอบในหนังสือเล่ม น้ดี ว้ ย ขา้ พเจา้ จงึ หวังเป็นอยา่ งยงิ่ วา่ หนังสอื เล่มทที่ ่านกำลังอา่ นอยู่น้ี คงชว่ ยทา่ นทำความ เข้าในสรรพยาไทยและ สรรพคณุ ของยาสมนุ ไพรพร้อมทง้ั วธิ กี ารนำธรรมชาตมิ า ประยุกตใ์ ช้ ให้เหมาะสมกบั การดูและรักษา โรคคงเป็นความรู้และเป็นประโยชน์ไมม่ าก ก็น้อย พระธาตรี อุปปฺ ลวณโฺ ณ อโรคยาศาลา วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร Dhammaintrend รว่ มเผยแพรแ่ ละแบง่ ปันเป็ นธรรมทาน
คำปรารภ แรงบนั ดาลใจในการเขยี นหนังสอื สมนุ ไพรในรวั้ วัดเลม่ นี้ ขึ้นมาเพราะเนื่องจาก “อโรคยาศาล” ไดใ้ ช้ตวั ยาและส่วนประกอบจากสมุนไพร ๑๐๐ ชนดิ ท้ังเป็นตวั ยาเด่ียว และยาตำรบั เพ่ือชว่ ยอนเุ คราะหเ์ กื้อกลู ชาวบ้านที่เจ็บป่วย ซ่ึงมาขอรยั สมนุ ไพรจากทางวดั ทั้งนี้เพ่ือใหเ้ กิดความรูค้ วามเข้าใจในการใช้และร้จู ักสรรพคุณของสมนุ ไพรทัง้ ๑๐๐ ชนดิ ผเู้ ขยี นจงึ ได้เรียบเรยี งชนิดตน้ ไมภ้ าพประกอบทั้งคำอธบิ ายภาพสรรพคณุ และการนำไปใช้เพ่ือ ใหง้ า่ ยตอ่ การศึกษาเรยี นรู้ สำรับผู้ที่สนใจในการดแู ละส่งเสรมิ สุขภาพท่ดี ีของทา่ นและ ความรู้ น้จี ะยงั ประโยชน์แกช่ นผู้อาศัยรว่ มกนั ในโลกน้ีจกั พงึ ได้รับภายภาคหนา้ อยา่ งไม่ต้องสงสยั พระธาตรี อุปฺปลวณโฺ ณ อโรคยาศาลา วดั ป่ากดุ ฉนวนอุดมพร
สารบัญ ๑ ๓๑ ประวตั หิ มอชวี กโกมารภัจจ์ ๕๙ ความรู้เบอื้ งต้นของแพทยแ์ ผนโบราณ ๖๑ ว่านชกั มดลูก ๖๓ กะเมง็ ๖๕ โกฐสอ ๖๗ มะกา ๖๙ กวาวเครอื ขาว ๗๑ ข้าวเย็นใต้ ๗๓ เสลดพังพอนตัวผู้ ๗๕ เสลดพงั พอนตัวเมยี ๗๗ หญ้าหนวดแมว ๗๙ ฟ้าทะลายโจร ๘๑ แพงพวยฝรั่ง ๘๓ บอระเพ็ด ๘๕ หญา้ ปักก่งิ ๘๗ รางแดง ๘๙ ว่านหางจระเข้ ๙๑ เขยตาย ๙๓ สงั กรณี ๙๕ หนมุ านประสานกาย ๙๗ ย่านางแดง ๙๙ หมอ่ น ๑๐๑ จันทร์แดง มะคงั แดง
สารบัญ(ตอ่ ) พันงเู ขียว ๑๐๓ พทุ ธรกั ษา ๑๐๕ เครืองูเหา่ ๑๐๗ ทองกวาว ๑๐๙ มะแวง้ เครอื ๑๑๑ กำลงั วัวเถลิง ๑๑๓ ระย่อม ๑๑๕ โมกเครอื ๑๑๗ โปร่งฟา้ ๑๑๙ บอระเพ็ดพุงชา้ ง ๑๒๑ หญา้ ดอกขาว ๑๒๓ หนอนตายอยาก ๑๒๕ ชะเอมเทศ ๑๒๗ ชะเอมไทย ๑๒๙ ชุมเห็ดเทศ ๑๓๑ แจง ๑๓๓ ข้าวเปน็ เหนือ ๑๓๕ ชา้ พลู ๑๓๗ นำ้ เต้า ๑๓๙ มะเฟอื ง ๑๔๑ ปีบ ๑๔๓ มะเกลือ ๑๔๕ มะขามป้อม ๑๔๗ เปลา้ นอ้ ย ๑๔๙
สารบัญ(ตอ่ ) ยอปา่ ๑๕๑ เถาเอน็ ออ่ น ๑๕๓ พระจันทรค์ รึง่ ซกี ๑๕๕ สายนำ้ ผึง้ ๑๕๗ เพชรสังฆาต ๑๕๙ ตำแยแมว ๑๖๑ โลดทะนง ๑๖๓ จักรนารายณ์ ๑๖๕ ขันทองพยาบาท ๑๖๗ มะตมู ๑๖๙ ตานกกรด ๑๗๑ หัสคณุ เทศ ๑๗๓ โกฐกะกลงิ้ ๑๗๕ เถาวัลย์เปรยี ง ๑๗๗ กำลงั เสือโคร่ง ๑๗๙ เปล้าใหญ่ ๑๘๑ โกฐหวั บวั ๑๘๓ ลำเจยี ก ๑๘๕ กระวาน ๑๘๗ ตบั เตา่ นอ้ ย ๑๘๙ โกฐเชยี ง ๑๙๑ กระชาย ๑๙๓ สับปะรด ๑๙๕ พลคู าว ๑๙๗
สารบัญ(ตอ่ ) ว่านมหาเมฆ ๑๙๙ กำแพงเจด็ ชนั้ ๒๐๑ ฝาง ๒๐๓ ช้างน้าว ๒๐๕ แสมสาร ๒๐๗ หญา้ ใต้ใบ ๒๐๙ ลูกเดือย ๒๑๑ โดไ่ มร่ ูล้ ้ม ๒๑๓ โปย๊ กั๊ก ๒๑๕ พรกิ ไทยดำ ๒๑๗ ชงิ ชี่ ๒๑๙ กรันเกรา ๒๒๑ โพกพาย ๒๒๓ ฝีหมอบ ๒๒๕ พนั งู ๒๒๗ กระแตไต่ไม้ ๒๒๙ ผกั ปลงั ๒๓๑ ครอบจกั รวาล ๒๓๓ ไพล ๒๓๕ สมอไทย ๒๓๗ ขงิ ๒๓๙ ออ้ ยแดง ๒๔๑ หนุมานน่ังแท่น ๒๔๓ ตระไคร้ ๒๔๕
สารบญั (ต่อ) ๒๔๗ ๒๔๙ ข่า ๒๕๑ เหงอื กปลาหมอ ๒๕๓ เกล็ดปลาชอ่ น ๒๕๕ เจตมลู เพลิงขาว ๒๕๗ แฝกหอม ๒๕๙ ทองพันช่ัง ยาสามญั ประจำบา้ นแผนโบราณ ๒๘ ขนาน ปัจฉิมบท บรรณานุกรม คำขอบคุณ
เสลดพังพอนตวั เมีย ลีลาวดี เสาวรส เห็ดไมแ้ ดง เตา่ รั้ง เบญจรงค์ สาระแหน่ สาเก
สมนุ ไพรตากแห้ง รางบดยา ต้เู กบ็ ยาสมนุ ไพร สมุนไพรตากแห้ง โพกพาย
สุพรรณิกา หวาย ชิงชี่
เชอร่ี บวั สัตตบงกช ยอบ้าน
พระธาตรี อุปฺปลวณโฺ ณ อโรคยาศาล วัดปา่ กดุ ฉนวนอุดมพร จ.ชัยภมู ิ
บรมครูหมอชวี กโกมารภัจจ์ แพทย์ประจำองค์พระสัมมาสมั พุทธเจา้
ชีวประวตั ิ “ทา่ นหมอชีวกโกมารภัจจ”์ โดยพิสดาร “........ดอกบัวยังมีชาติกำเนิดมาจากโคลนตมธรรมดาคนจะดีจึงไม่ได้อยู่ที่ชาติกำเนิดที่ดี หรืออย่ทู ีใ่ ด หากแต่อยทู่ ี่ คุณธรรม ความดี ความเสียสละเพื่อมนษุ ยช์ าติ ใชเ้ วลาท่ีมีอยใู่ หค้ ุ้มค่า เพ่อื สาธารณะชนทำประโยชน์เพ่อื สว่ นรวม โดยไม่หวังผลตอบแทน” “.........บุคคลเช่นนี้ได้บังเกิดขึ้นแล้วในอดีตแม้ร่างจะล่วงลับดับขันธ์ไปแต่ชื่อเสียง เกยี รติคณุ ความดี ของท่านยงั คงตราตรึงอยใู่ นหวั ใจของคนในสมัยตอ่ มา ทั้งในด้านคณุ ธรรม ความสามารถ ปาฏภิ าณ ความฉลาดเปน็ เลิศในทกุ ดา้ น จนไดร้ ับการยกย่องจากพระบรมศาสดาองค์ พระสมั มาสัมพุทธเจ้า ใหเ้ ปน็ เอกอคั รอภมิ หาบรู พปรมาจารย์แหง่ ชมพูทวปี เม่อื ๒,๖๐๐ ปกี อ่ น ..........ท่านผ้นู นั้ คอื หมอชีวกโกมารภจั จ์ แพทยแ์ ผนประจำองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้มชี ื่อเสยี ง ก้อง โลกในทางว่านยาและสมุนไพรรักษาโรค ผถู้ ือกำเนิดมาจากหญงิ โสเภณีไมป่ รากฏบิดา” ในสมยั พทุ ธกาลเกอื บ ๓,๐๐๐ ปมี าแล้ว ณ เมืองไพศาลี อนั เปน็ เมอื งท่มี ั่งค่ัง สมบรู ณ์ดว้ ย พชื พนั ธ์ุ ธญั ญาหาร สิ่งกอ่ สรา้ งอนั วจิ ติ รพิสดาร พรง่ั พร้อมด้วยปราสาทราชวงั สระโบกขรณถี งึ ๗,๗๐๗ อยา่ ง โดยเฉพาะอดุ มพรอ้ มพรัง่ ด้วยหญงิ งามเมอื ง จนไดช้ อ่ื ว่า “นครโสเภณ”ี (จะมีจำนวน ๗๗๐๗ คน หรอื เปลา่ น้ันมทิ ราบได้ เพราะในพระวนิ ัยปฎิ กไมไ่ ด้ พรรณนาอธิบายไว้) ในสมัยนั้นใครเป็นหญิงงามเมืองถือว่าเป็นผู้ทรงเกียรติเพราะเป็นตำแหน่งที่ พระราชาทรงแตง่ ต้งั โดยคัดเอาสตรที ่มี เี รอื นร่างสะคราญตาท่ีสุดมคี วามสามารถในทางฟอ้ นรำ ขบั รอ้ งประโคมดนตรี จงึ จะมีตำแหนง่ เปน็ หญงิ งามเมืองได้ ผดิ กบั หญิงโสเภณีสมัยนี้ หน้าตาไม่ น่าจะมีราคาแถมยงั ไมม่ ี ความสามารถอะไรเลย ก็ยังซ้ือขายกันได้เป็นรอ้ ยเป็นพนั ๑
นครโสเภณีสมยั นน้ั ได้กลายเป็นแหลง่ จรรโลงใจของชายหนุ่ม จากเมืองต่าง ๆ โดยเฉพาะ พ่อค้าวาณชิ ที่มาตดิ ต่อค้าจากแดนไกลทำให้การคา้ ขายระหวา่ งเมอื งราชคฤหก์ บั เมอื ง ไพศาลี เจริญรงุ่ เรอื งขน้ึ ต่อมาความสำคัญของหญิงโสเภณีได้ระบาดเป็นสมัยนิยมขึ้นที่เมืองราชคฤห์เป็นเมืองที่ สอง ซ่งึ ตรงกับรัชสมัยของ พระเจ้าพิมพิสาร ทรงเห็นชอบดว้ ยท่จี ะใหม้ ีหญงิ งามเมอื งไว้เพอ่ื ดงึ ดดู ใจ โดยเฉพาะดงึ ดูดเงินจากพอ่ ค้าวาณิชท่ีตดิ ต่อค้าขายระหวา่ งเมอื ง พระเจ้าพิมพิสารจึงรับสั่งให้คัดเลือกสตรีงามนางหนึ่งขึ้นมาดำรงตำแหน่งนี้เธอเป็น สาวงามแรกรุ่นดรณุ ี มีนามวา่ “สาลวดี” มีอัตราค่าตวั สูงสำหรับผรู้ ่วมภิรมย์แต่ละคนื มีชาย หน่มุ มา ลุ่มหลงกันมากมายไม่นานนักนางสาลวดีกต็ ้งั ครรภ์ขึน้ โดยไมป่ รากฏบิดาเดก็ ในครรภ์ นางจึงงดรับแขก คอยจนครรภแ์ ก่จึงคลอดบุตรออกมาเป็นชาย ดึกสงัดของคืนท่ีทารกจะลืมดโู ลก โดยไมม่ โี อกาสได้เหน็ หนา้ มารดาอกี เลย เพราะนางได้สั่งให้หญิงรบั ใช้นำทารกน้อยนั้น ใสก่ ระด้ง ไปทิง้ ไว้ทีก่ องขยะนอกเมอื ง เดชะบุญที่พรหมลิขิตขีดเส้นให้เจ้าฟ้าอภัยพระราชโอรสของพระเจ้าพิมพิสารเสด็จออก สูดอากาศในยามรงุ่ อรณุ ของวนั นัน้ มุ่งพระพกั ตร์มายงั กองขยะเพราะได้ทอดพระเนตรเหน็ ฝงู แร้ง กา ตา่ งบินลงมาที่กองขยะ เมือ่ รบั สัง่ ให้ทหารมหาดเลก็ ไปดู ก็เห็นทารกนอนดน้ิ กระแด่วไขว่ควา้ หา ความอบอ่นุ อยู่ในกระดง้ เจ้าฟ้าอภัยเกดิ ความสงสารจับใจ จึงนำมาชบุ เลีย้ งเปน็ โอรสบญุ ธรรมทรง ขนานนามวา่ “ชวี กโกมารภจั จ์ ซึง่ แปลว่า บญุ ยงั หมายความว่า ผู้ยงั มชี วี ิต” ๒
เดินทางไปศึกษา ณ เมอื งตกั ศิลา เจา้ หนนู ้อย “บุญยัง” เตบิ โตทา่ มกลางลกู เจ้าลูกนายในร้วั ในวงั จึงมคี วาม เฉลยี วลาดเปน็ พิเศษ ไม่วา่ จะทำอะไรก็ถือแววฉลาด เอาชนะเพ่ือนรนุ่ เดยี วกันไปเสียทกุ อยา่ ง ทำให้เกดิ ความอิจฉา รษิ ยาในหมูเ่ พื่อนฝูง เกิดการล้อเลียนถึงชาติตระกลู และดหู มน่ิ วา่ เปน็ เดก็ ข้างถนน เด็กไม่มีพ่อแม่ คำพดู น้เี องทำใหเ้ จา้ บุญยังเกิดความมานะ พยายามที่จะหาความรู้ใส่ตวั เพ่อื ลบล้างปม ด้อย ต่าง ๆ ให้ได้ แลว้ วันนั้นก็มาถึง เขาไดม้ โี อกาสหนอี อกจากวัง เดินทางไปกบั พวกพ่อคา้ โดย ไมไ้ ดท้ ลู ลาเจ้าชาย ผเู้ ป็นบดิ าบุญธรรม มุ่งหนา้ เขา้ สูเ่ มอื งตกั ศิลาอันเป็นแหลง่ สรรพวิชาทัว่ โลก เปน็ มหาวิทยาลัย แหง่ แรกของโลกทใ่ี ห้ความรทู้ ุกดา้ นของชาวภารตะ ณ เมอื งตักศิลา เจ้าบญุ ยงั ขณะนั้นเป็นหนมุ่ แลว้ ได้เขา้ ไปหาอาจารย์ทิศาปาโมกข์ มอบตัว เปน็ ศษิ ยข์ อเรยี นวชิ าแพทยศ์ าสตร์ โดยช่วยทำงานรบั ใช้อาจารย์สารพัด ตัง้ แต่ตกั นำ้ ผา่ ฟนื บีบนวด หุงหาอาหาร เปน็ การตอบแทนคา่ สอน ๗ ปใี ห้หลงั ท่ชี ีวกหนุ่ม หรือเจ้าบญุ ยังท่ีถูกแมโ่ สเภณีนำมา ทงิ้ กองขยะ กแ็ ตกฉานในสาขาวิชาแพทย์ศาสตร์อยา่ งรวดเรว็ โดยเฉพาะแพทย์แผนโบราณทใี่ ช้วา่ น ยาสมนุ ไพรรกั ษา การเรียนในสมัยนั้นต้องมีการสอบเพื่อทดสอบความรู้ก่อนเลื่อนชั้นอาจารย์ทิศาปาโมกข์ จงึ ใช้ใหห้ นุ่มนอ้ ยชวี กไปสำรวจดูต้นไม้ทกุ ต้นหญ้าทุกชนิด ทว่ั ท้ังส่ีทศิ ภายในรศั มี ๔๐๐ เส้น ใหด้ ู วา่ ไม้ชนดิ ไหนใช้เป็นยาอะไรบา้ ง อย่างไหนใช้ไมไ่ ดเ้ ลย แม้แต่ต้นหญา้ กใ็ ห้บอกถึงชนดิ และสรรพคุ ณใหไ้ ดห้ มดทุกอยา่ ง หน่มุ นอ้ ยชวี กผู้ชาญฉลาด ไดเ้ ดินทางออกจากมหาวิทยาลยั ตกั กะศลิ าข้นึ ป่า ลยุ ดงไมน้ านาชนดิ สำรวจไปทวั่ ท้งั ๔ ทศิ เปน็ เวลาท้ังสนิ้ ๗ วัน จึงกลับออกมาพร้อมกบั คำตอบที่ใ หก้ ับอาจารย์ว่า “ต้นไมใ้ บหญา้ และสมุนไพรใด ๆ ในชมพทู วปี น้ี ทใ่ี ช้ทำยาไมไ่ ดน้ ั้นไม่มีเลยทุกอย่างเปน็ ยาทั้งนั้น ขอรับ” อาจารย์ยม้ิ พรอ้ มกบั เอามอื ลูบศรีษะดว้ ยความดีใจพรอ้ มกับกล่าวว่า “เอาละเปน็ อันวา่ เธอเรยี นจบ หลกั สตู รแลว้ ขอใหน้ ำวชิ าน้ไี ปใช้ประโยชน์ต่อเพื่อนมนุษย์ท่เี จ็บไขไดป้ ่วย จะเปน็ กศุ ลต่อเธอเอง” ๓
ครั้งแรกแหง่ การรักษาโรคของ หมอชวี กโกมารภัจจ์ “ต้นไมใ้ บหญ้าทุกตน้ และสมุนไพรใด ในชมพูทวีปที่ใชท้ ำยาไม่ไดน้ นั้ ไม่มีเลย ทกุ อยา่ งเปน็ ยาท้งั น้ัน” น่คี อื คำพดู ของหมอหน่มุ “ชีวก โกมารภจั จ์” ท่ีตอบคำถามตอ่ พระฤาษีโรคา พฤกษตรณิ ณ์ อาจารย์ทศิ าปาโมกขผ์ ู้ประสิทธปิ์ ระสาทวิชาแพทยแ์ ผนโบราณใหเ้ ปน็ คนแรกภายหลังท่ีไดผ้ ่าน ปา่ ดงพงพีขา้ มถ่ินทรุ กันดารคลุกคลอี ยู่กับตน้ ไม้ทกุ ชนิดบนเทอื กเขาสงู ชนั นานถึง ๗ วัน ๗ คืน จงึ พบความจรงิ ว่า...ต้นไม้ใบหญา้ ทุกอย่างเป็นยาทั้งนั้น จึงไม่นา่ แปลกใจอันใดเลยทก่ี ารรักษาโรคของสำนกั อาจารย์(ทรง)ต่าง ๆ จงึ มแี ตเ่ ปลอื ก มงั คดุ บา้ ง เปลอื กเงาะบ้าง เปลอื กไม้ หรือแมแ้ ต่ต้นหญ้าคาที่เราเห็นเป็นส่งิ ไรค้ า่ มารักษาโรค แผนปจั จบุ นั อยา่ งไดผ้ ลดว้ ยโรครา้ ยแรงท่ีสดุ นัน่ คือ โรคฝดี าษ ณ เมอื งสาเกต แควน้ มหารัฐโกศล อยู่ระหว่างเมอื งตกั ศิลาและเมอื งราชคฤห์ หมอหนุ่ม ร่ำลาอาจารย์ทศิ าปาโมกข์ มงุ่ หนา้ สบู่ า้ นเกิดเมอื งนอนของตน ด้วยปณธิ านอันสงู ท่ีจะใชว้ ิชาความรู้ ทีร่ ่ำเรยี น มาพฒั นาและช่วยเหลือชวี ติ มนษุ ย์ผู้ประสบความทุกข์ยากทรมานดว้ ยโรครา้ ย คนไข้คนแรกในชวี ติ ของแพทย์หนุ่มทท่ี ดสอบความรทู้ างแพทยแ์ ผนโบราณคอื ภรรยาเ ศรษฐแี หง่ เมอื งสาเกต ผูป้ ว่ ยเปน็ โรคศรีษะมานานถึง ๘ ปี ไมม่ ีหมอยาคนใดรักษา ให้หายไดส้ ้ิน เปลอื งทรพั ย์สนิ ในการรกั ษาไปมากมายจนภรรยาเศรษฐที ้อแท้ออ่ นหน้าระอาใจ นอนทุกขท์ รมาน รอความตายไปให้พน้ วนั หนึง่ ๆ หนมุ่ น้อย ชวี กโกมารภัจจ์ มงุ่ หนา้ เขา้ สูบ่ ้าน เศรษฐีแหง่ เมืองสาเกต ตามคำเลา่ ลอื ด้วยพลงั ใจอนั สูงสง่ ทจ่ี ะชว่ ยดับทุกขโ์ ศกโรคภยั ของมนุษย์ เพ่ือนรว่ มโลกโดยเสนอ ตวั ช่วยเหลือตามที่ไดร้ ำ่ เรียนมา ท้ัง ๆ ท่ียงั ไมห่ ายเหนอ่ื ยจากการเดนิ ทาง คนรบั ใชไ้ ปรายงานภรรยาเศรษฐที ่กี ำลังงุน่ งา่ นหงุดหงิด ถึงความปรารถนาของทา่ นชี วกทจี่ ะรกั ษาใหห้ ายจากโรคปวดศรีษะเร้ือรงั ใหก้ บั นางภรรยาเศรษฐีถามวา่ “ หนุ่มหรือแก่ ? ” คนรบั ใช้บอกว่า “หมอหนุ่ม” นางจงึ รอ้ งตะหวาดลนั่ ด้วยความขุ่นเคืองใจ “ไล่มันไป...หนมุ่ ๆ จะมารักษาอะไรได้ ไม่เอาไล่มนั ไปไว ๆ ..รำคาญจะตายแล้ว...หมอแกม่ วี ชิ ายังรักษาไมห่ าย... คนหนมุ่ จะมารกั ษาฉันได้ อยา่ งไร” คนรบั ใช้กอ็ อกไปเชิญให้หมอหนุ่มกลบั ไปชวี กหนุม่ นอ้ ยผู้เต็มไปด้วยแรงปณธิ านท่จี ะขจดั ทุกข์ ใหก้ บั มนุษย์ผู้เจ็บป่วยไมล่ ะความต้ังใจจึงกล่าวว่า “การรกั ษาคราวน้ี จะไมเ่ อาอะไรเลย ถ้ารกั ษา ไมห่ าย”คำตอบทม่ี าจากใจอันสะอาดเปีย่ มไปดว้ ยความเมตตาของหมอหนมุ่ ทำใหภ้ รรยาเศรษฐี สนเท่ห์ ยอมใหช้ ีวกเข้าพบและยอมตกลงรักษา ๔
เขาเริ่มตน้ ดว้ ยการตรวจสอบสมฏุ ฐานของโรคกอ่ น พบวา่ ตอ้ งรกั ษาดว้ ยวธิ นี ตั ถ์ดุ ว้ ยเนย ใส ไปเคยี่ วใหแ้ ก่ดว้ ยไฟ จนเปลยี่ นสเี ปลี่ยนกลิ่น แล้วผสมเขา้ กับว่านยาฉุนชนดิ หนงึ่ ใหภ้ รรยา เศรษฐี นตั ถ์เุ ขา้ ทางจมูก เพ่ือให้ไหลออกทางปาก เพยี งครัง้ เดียว ปรากฏว่าอาการมนึ งงปวดร้าว กะโหลก ศรีษะหายเปน็ ปลดิ ทง้ิ โลง่ ..ปลอดโปรง่ ..เหมอื นยกภเู ขาออกจากอก! เพียงครั้งเดยี วในการรกั ษา แบบง่าย ๆ ใชเ้ วลาไมก่ น่ี าทีแต่ไดผ้ ลเกนิ ความคาดหมาย ภรรยาเศรษฐีดใี จเหมือนได้แกว้ รบี มอบเงนิ เป็นค่าตอบแทนถึง ๔,๐๐๐ กหาปณะ หรอื เทา่ กบั ๑๖,๐๐๐ บาท ลูกสะใภ้ ลูกชายและตวั เศรษฐใี ห้อีกคนละ ๔,๐๐๐ กหาปณะ รวมทง้ั หมดเป็นเงิน ๑๖,๐๐๐ กหาปณะลองคูณดว้ ย ๔ จะเปน็ เงินไทยเท่าไร รำ่ รวยมหาศาล แทบจะกลายเป็นเศรษฐไี ปในบลั ดล แถมยังไดข้ า้ ทาสชายหญิง รถม้า และ อื่น ๆ อีกมากมายเปน็ ของกำนลั หมอหน่มุ นอ้ มรบั มาเพ่อื ไม่เปน็ การขดั ศรทั ธา มุ่งหน้าสู่เมอื งราชคฤห์ แควน้ มคธโดยเรว็ เพื่อเฝ้าขออภัยพระบิดาบญุ ธรรม “อภยั ราชกุมาร” ขณะเป็นแพทย์ประจำพระราชสำนัก หมอหนุ่มรวบรวมเงินทองจากการใช้วิชาความรู้ที่ได้เล่าเรียนมาจากอาจารย์ได้มากเพีย งพอแกค่ วามตอ้ งการแล้ว ก็อำลาครอบครัวเศรษฐแี ละชาวเมืองสาเกต ออกเดินทางไปยงั เมือง มาตภุ มู ิทนั ที ไปถึงเมืองราชคฤห์เขาได้รีบไปเฝา้ เสดจ็ พอ่ เจ้าฟา้ อภยั ราชกุมารพระเจา้ อภัยตก พระทัย จู่ ๆ “เจ้าบญุ ยงั ” ก็โผล่พรวดเขา้ มาหลงั จากหายหนา้ ไปต้ัง ๗ ปี คร้ังแรกทรงมพี ระพักตร์ บ้ึงตงึ ทีโ่ อรสบญุ ธรรมไปไหนมาไม่บอกกล่าว หมอหนุม่ กราบทูลสาเหตทุ ีต่ อ้ งหลบหนอี อกจาก พระราชวัง ไปศกึ ษาวชิ าแพทยท์ ี่เมอื งตกั ศลิ า จนมคี วามชำนาญรกั ษาได้สารพัดโรค แลว้ กราบทลู ขอขมาโทษทท่ี ำการคร้งั น้โี ดยพลการ เสมือนมริ ู้บญุ คณุ ขา้ วแดงแกงร้อนทท่ี รงเมตตาอุปถมั ภช์ บุ เลี้ยงมา แล้วนำเงนิ ทองทีเ่ หลอื จากท่ใี ชจ้ ่าย ทงั้ หมดมาถวายแดเ่ สดจ็ พ่อ “เงนิ จำนวนน้ีหมอ่ มฉันได้ จากการรกั ษาภรรยาเศรษฐีคนหน่ึงในเมืองสาเกต ขอทูลถวายเพื่อเป็นเคร่อื งบชู าพระเดชพระคุณท่ี ทรงเมตตาชุบเลย้ี งหมอ่ มฉัน” เจ้าฟา้ อภยั ราชกมุ ารทอดพระเนตรเหน็ ดงั นั้น ทรงแนพ่ ระทยั ว่า ท่ี “เจ้าบญุ ยัง” กล่าวมา ท้งั หมดเปน็ ความจริง ทรงช่ืนชมในความกตญั ญรู ู้คณุ ของโอรสบญุ ธรรมจึงไมท่ รงรับเงนิ จำนวน น้นั หากแต่รบั สง่ั ใหเ้ ขาเก็บไวเ้ ปน็ สมบตั ขิ องตนตง้ั แตน่ ัน้ มาเขาได้เปน็ นายแพทยค์ นโปรดประจำ พระองค์เจา้ ฟา้ อภัยอีกตำแหน่งหน่งึ ดว้ ยพร้อมกบั จดั สร้างบ้านเรอื นประทานให้แก ่ชีวกโกมารภจั จ์ โดยแยกออก เปน็ สัดสว่ นต่างหาก ๕
คร้ังหนึง่ พระเจา้ พมิ พสิ าร มคธินทราธริ าชไดท้ รงประชวรด้วยโรคริดสดี วง ทวารหนักถงึ ขนาดพระภูษาเป้อื นเปรอะไปด้วยโลหิตสด ๆ เมือ่ พระอภัยราชกมุ ารเข้าเฝา้ พระเจา้ พิมพิสารมี พระบญั ชาให้เรียกแพทย์หลวงมาเยียวยารกั ษาพระเจ้าอภัยทลู ว่า ”เกลา้ กระหม่อมมีนายแพทย์ ผเู้ ชี่ยวชาญคนหน่ึงคอื ชีวกโกมารภัจจห์ รอื พ่อบญุ ยัง มคี วามรทู้ างแพทย์ดีมากถา้ ทรงพระกรณุ า โปรดเกลา้ จะได้นำ มารักษา” พระเจ้าพิมพิสารทรงบัญชาอนุญาต พระอภัยราชกมุ าร จึงนำบตุ รบญุ ธรรมท่ีชบุ เลย้ี งมา แตแ่ บเบาะ เขา้ เฝา้ เพื่อตรวจพระอาการ หมอชีวกตรวจดอู าการของโรค ก็วางยาดว้ ยวา่ นยาชนดิ หนง่ึ เขา้ เครื่องยากบั สมุนไพรอกี ชนิดหน่ึง ป้ายทปี่ ากแผลเพียงครัง้ เดยี ว อาการประชวรดว้ ย โรคทรมานก็ หายเป็นปลดิ ทิ้ง พระวรกายเป็นปกติ เปน็ ทส่ี บพระราชหฤทัยของพระเจ้าพมิ พสิ าร เป็นอันมากทรงทึ่งในคุณภาพแห่งยาและกรรมวิธีการรักษาของหมอชีวกโกมารภัจจ์พระราชนัดดา บุญธรรม เป็นอันมาก หลงั จากนน้ั ได้พระราชทานรางวลั ด้วยทรพั ยส์ ินอันไดแ้ ก่ เครือ่ งมหคั ฆภณั ฑเ์ พชรนิล จนิ ดา ข้าทาสชายหญงิ อกี ๕๐๐ คน พร้อมกับพระราชทานวาจาแก่ชีวกหนมุ่ ว่า ”ต่อไปนีจ้ งเปน็ แพทย์ประจำ ราชสำนกั เถดิ เครื่องมหัคฆภณั ฑ์กองนี้ พร้อมทั้งทาสชายหญิงเหลา่ นี้เรามอบใหเ้ ป็น สมบัติของเธอ เป็นการตอบแทนบุญคุณของเธอทร่ี กั ษาโรคในตวั เราหาย” แต่หมอชวี กหนุ่มปฏเิ สธ ไม่รับพระราชทาน เพราะเห็นเกินสมควรแก่ฐานะเกนิ วาสนาของตน จงึ ทูลถวายคนื พรอ้ มกบั ทูลว่า ”ทที่ รงพระกรุณาโปรดเกล้าพระราชทานทรพั ย์สนิ และคนเหลา่ นแ้ี ก่ ข้าพระพทุ ธเจา้ นน้ั ก็เป็น พระ มหากรณุ าธคิ ุณอยา่ งล้นพ้นหาที่เปรยี บมิได้ แต่ขา้ พระพทุ ธเจ้าเล็งเหน็ ว่าไม่เหมาะสมกบั ภาวะ ของ ขา้ พระพทุ ธเจ้าใชจ่ ะหมน่ิ พระบรมเดชานภุ าพอนั ใดไม่ จงึ ขอนอ้ มเกล้าถวายทรพั ย ์สนิ และคน เหล่านคี้ ืนแด่ฝ่าละออง” พระเจา้ พิมพิสาร ทรงพอพระทัยในน้ำใจของหมอหนมุ่ เป็นอันมาก ทรงโปรดแต่งตง้ั ใหม้ ี ตำแหนง่ เปน็ เอกอัครมหาอำมาตย์ เรยี กตามภาษามคธว่า “เอโกอคั คมหามจั โจ ชีโว โกมาภตั ตโิ ก” แพทย์ประจำพระราชสำนกั กรุงราชคฤห์แตน่ นั้ มา พรอ้ มกับพระราชทานเงนิ เดือนประจำและมอบ คฤหาสนบ์ ้านเรือน เคร่อื งใช้ไมส้ อย คนรับใชช้ ายหญงิ พร้อมด้วยอุทยานอมั พวนั (สวนปา่ มะมว่ ง) ซึ่งเป็นท่ดี นิ หลวงทีม่ สี ่วยถงึ ปลี ะ ๑ แสน กหาปณะ ช่ือเสียงเกยี รตคิ ุณของหมอหน่มุ ขณะนนั้ แผ่ ขยายขจรขจายไปในหมู่ผคู้ นทัว่ กรุงราชคฤห์ ๖
คร้งั นั้นก็ยังมีเศรษฐีคนหนง่ึ ปว่ ยเปน็ โรคปวดศรีษะมานานถงึ ๗ ปีเชน่ กนั ได้รบั การรักษา จากหมอทกุ ประเภทแลว้ กไ็ ม่หายมีแตอ่ าการจะทุกข์ทรมานยิ่งขน้ึ เศรษฐีเกดิ ความทอ้ แทร้ ะอากบั ชวี ิตเตม็ ที โดยเฉพาะยิง่ มาไดย้ นิ หมอคนลา่ สุดคาดหมายวา่ จะตอ้ งตายภายใน ๕ วันบา้ ง ๗ วันบ้าง เศรษฐีก็ยิง่ อยากจะกระโดดน้ำตาย ความเรอ่ื งน้ีล่วงร้ถู งึ พระเจา้ พิมพสิ าร จงึ ทรงมีบญั ชาใหห้ มอ ชวี กไปตรวจดูอาการ หมอชวี กไปตามพระราชบัญชาที่บา้ นเศรษฐี ตรวจดูอาการปว่ ยพบวา่ ในสมองของเศรษฐี คนนน้ั มีสัตว์ตัวเลก็ ๆ ชอนไชกินสมองในกะโหลกอยูต่ ้องทำการผ่าตัดเอาสัตวต์ วั นอ้ี อก ดงั น้ัน หมอชีวกจงึ กล่าวกบั เศรษฐวี ่า ”ผมจะมารักษาโรคของทา่ นโดยพระบรมราชโองการตรัสใช้ หากผม รักษาโรคของท่านหายทา่ นจะใหอ้ ะไรกับผม อยากทราบก่อนท่จี ะลงมอื ” เศรษฐีตอบวา่ ”ถา้ หายจริงแลว้ ผมจะยกทรัพยส์ มบตั ิส่วนตวั ของผมใหท้ ่านพร้อมดว้ ย บตุ รภริยา ข้าทาสชายหญงิ ก็จะยอมเป็นขา้ ทาสรับใช้ท่านตลอดไป” ชวี กหนมุ่ ไดฟ้ ังกย็ มิ้ ถามเศรษฐีวา่ ”เอาละเร่ืองนั้นเอาไวท้ ีหลัง แตก่ ารรักษาครั้งน้ที ่านจะ ตอ้ งนอนตะแคงขวาเปน็ เวลา ๗ เดือน แล้วก็นอนตะแคงซ้ายเปน็ เวลา ๗ เดือน และนอนหงายอกี ๗ เดือนโดยไมเ่ ปลีย่ นทา่ จะทำไดไ้ หม” เศรษฐผี นู้ ้ันพยักหนา้ พร้อมกบั รบั ปาก “ถา้ อย่างนัน้ ผมตกลงรกั ษา” หมอชีวกกลา่ วพร้อมกับจดั ให้เศรษฐีนอนในท่าเตรียม การผา่ ตัด ดำเนนิ การตามวิธีศัลยกรรมแพทยแ์ ผนโบราณ โดยใชม้ ดี ผา่ ตดั ผวิ หนังท่ีคลุมกะโหลก ศรษี ะออก ใชเ้ ครอ่ื งมอื งัดกะโหลกส่วนบนให้เปิดออกตามรอยประสาน กแ็ ลเห็นสตั วต์ วั เล็ก ๆ ท่สี มยั นเ้ี รยี กว่าพยาธิ ๒ ตัว กำลงั ชอนไชกนิ เน้อื สมองอยู่ จงึ เอาคมี คีบออกมาแสดงแก่คนท้ัง หลายและพดู วา่ ” น่พี วกคณุ ดสู ตั วเ์ ลก็ ๆ ๒ ตัวนีส้ ิ ตวั น้แี หละท่มี นั จะกินมนั สมองของเศรษฐีให้หมดไป ภายใน ๕ วนั หมดมนั สมองเม่ือไหรเ่ ศรษฐกี ต็ ้องตาย ”ดังน้ันหมอชวี กจึงทำลายพยาธิ ๒ ตวั นั้นแลว้ ก็เอากะโหลกปิดตามรอยประสาน ทายาสมานแผลทีส่ กัดจากว่านยาสมนุ ไพรชนดิ หน่ึงก็เป็นอนั เสรจ็ พธิ ี จากน้นั ก็ไดส้ ัง่ ให้เศรษฐนี อนตะแคงขวา ๗ วนั แล้วกต็ ะแคงซ้าย ๗ วนั และนอนหงายอกี ๗ วันแผลก็หายเป็นปกติ หายปวดหวั เปน็ ปลิดท้งิ เมื่อเศรษฐีหายป่วยเป็นปกติแล้ววันหนึ่งหมอชีวกก็ไปหาเศรษฐีพบว่ามีร่างกายแข็ง แรงดถี ามว่า “ศรษี ะเป็นอย่างไรหายปวดไหม” เศรษฐีตอบว่า “หายเปน็ ปกติดีแลว้ ” เศรษฐีสงสัย ทำไมหมอจงึ ใหร้ ับปากวา่ จะนอนตะแคงขวา ๗ เดอื น ตะแคงซ้าย ๗ เดอื น และนอนหงายอีก ๗ เดือนจงึ ถามหมอชวี กว่า “ไหนท่านให้ผมตัง้ สจั จะวา่ จะตอ้ งนอนถึง ๒๑ เดือนนเ่ี พยี ง ๓ สปั ดาห์ ก็หายแลว้ ” ๗
หมอชวี กหนุ่มหวั เราะแลว้ กล่าวว่า“ถา้ ไม่บอกใหเ้ ผ่ือไว้อยา่ งนัน้ ทไ่ี หนทา่ นจะนอนไดถ้ งึ ๓ สปั ดาห”์ เศรษฐยี ม้ิ ทงึ่ ในปัญญาของหมอ นายแพทย์หนุ่มจงึ พูดถงึ สัญญาคา่ รกั ษาจากเศรษฐวี ่า “ดีแล้ว..ตอ่ ไปน้เี ราจะคบกันอีกกย็ ากเตม็ ที ท่านจะใหอ้ ะไรแกผ่ มเปน็ ค่ารกั ษา” เศรษฐียงั คงยืนยนั ทีจ่ ะให้ทรัพย์สนิ ลกู เมยี ขา้ ทาสพร้อมตัวเองเปน็ ทาสรบั ใชห้ มอชีวกตลอดไปตามที่ได้พูด ไวห้ มอหน่มุ ยิ้มดว้ ยความพอใจในน้ำใจและสัจจะวาจาทีใ่ ห้ไว้ของเศรษฐีจึงรีบตอบวา่ “อย่าใหม้ ันหนกั หนาถึงขนาดน้นั เลย ท่านนีใ่ จถึงมากควรนบั ถอื ผมไมใ่ ชค่ นโลภลาภ หาบเงนิ อะไรหรอก เอาอยา่ งน้กี แ็ ลว้ กนั ให้ผมเพียง ๑ แสนกหาปณะทลู เกล้าไปเปน็ ของหลวง ๑ แสน กหาปณะ” ก็เปน็ อันตกลงตามทหี่ มอชีวกตอ้ งการ จากนน้ั ช่อื เสยี งของ หมอชวี กโกมารภจั จ์ กย็ ่งิ แพร่ขยายแซ่ซอ้ งสรรเสรญิ ในกลุ่มข้าราชบรพิ ารและขนุ นางผูใ้ หญเ่ ป็นอันมากท่ัว กรุงราชคฤห์ ศัลยกรรมการผา่ ตดั ลำไส้ของหมอชีวก การเรยี นรูศ้ ลิ ปะวิชาแขนงใดก็ตาม สงิ่ หนงึ่ ที่จะขาดเสียไมไ่ ดใ้ นเรือ่ งนน้ั ๆ กค็ ือ “พลงั จิต” อาจกล่าวไดว้ ่าสาเหตุที่ หมอชีวกโกมารภจั จ์ สามารถรกั ษาคนไขห้ ายจากโรครา้ ยได้ ทกุ ราย โดยไม่ตอ้ งวางยาซ้ำ นนั่ กค็ ืออาศัยอำนาจจิตเรน้ ลับในตวั เป็นแรงหนนุ เนื่องมีเรื่องเลา่ ไวใ้ น จวี รขนั ธกะ คัมภีรพ์ ระวินยั ปฎิ ก วา่ ท่านหมอชวี กไดใ้ ชพ้ ลังจติ ตรวจสอบสมฎุ ฐาน และวินจิ ฉัยโรค ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและแม่นยำ เฉพาะโรคท่เี กิดข้นึ ภายในอยา่ งเชน่ โรคปวดศีรษะเรอ้ื รังอนั เนือ่ งจาก โพรงจมกู อักเสบของภรรยาเศรษฐีเมืองสาเกต ซึ่งต้องรบั รักษาโดย ใช้เนยใสเป็นน้ำมันหลอ่ ลน่ื เพื่อให้หนองในโพรงจมูกลื่นไหลออกมาทางช่องปากและตัวยาที่เข้าเนยใสก็จะซึมซาบฆ่าเชื้อไวรัส ไดห้ มดในเวลารวดเร็ว เมอื่ หนองไมม่ ีอยใู่ นโพรงจมูกการหายใจก็โลง่ อาการปวดศีรษะเรือ้ รังก็ หายโดยงา่ ยดาย และไม่จำเปน็ ต้องใชย้ าอ่ืนมากนิ มาทาใหเ้ สยี เวลา การวนิ ิจฉัยโรคเร้นลับเช่นนี้ ถ้าไม่ใช้พลังจติ แล้วไฉนจะล่วงรไู้ ด้ เร่อื งท่ีจะเล่าต่อไปน้ี เปน็ เรื่องของการวนิ จิ ฉัยโรคแนวใหม่ของ ท่านหมอชีวกที่สามารถล่วงรู้ส่วนเกินที่อยู่ในลำไส้ได้ชัดเจนเสียยิ่งกว่าใช้เครื่องเอ็กซเรย์ในปัจจุบัน เป็นเครื่องพสิ ูจนไ์ ดว้ ่า ทา่ นหมอชวี กโกมาภจั จ์ มีพลงั จติ เร้นลบั ในการวิเคราะหส์ มฏุ ฐานของโรค อยา่ งเท่ียงตรง แน่นอน จนกลา้ ทีจ่ ะกลา่ วไดไ้ ม่มผี ูใ้ ดเทียบเท่า แมแ้ พทยแ์ ผนปจั จบุ นั ท่ีเชย่ี วชาญ เฉพาะโรคกเ็ ถอะ ครั้งหน่งึ ณ เมอื ง พาราณสี มีบตุ รเศรษฐีคนหนึ่งมีอาการเซอื่ งซึม ผอม ตัวเหลือง รบั ประทานอาหารไม่ได้ กนิ อะไรเขา้ ไปกจ็ ะเกดิ อาการจุกเสียด แน่นเป็นลูกข้ึนมาถึงหน้าอก ได้รบั ความทกุ ขท์ รมานมาก เศรษฐีได้ยินกิตตศิ ัพท์ การรักษาโรคของหมอชีวก จงึ สง่ คนไปกราบ ทูลพระเจ้าพิมพสิ ารขออนุญาตหมอชวี กไปรักษาบุตรของตน พระเจ้าพมิ พสิ ารพระราชทานอนญุ าต ให้หมอชวี กไปรักษาโดยใหเ้ ดนิ ทางไปในวนั นั้น ๘
เมือ่ ถงึ บา้ น หมอชีวกผูเ้ ช่ยี วชาญในการรักษารับตรวจดอู าการ หาสมฏุ ฐานของโรคโดย ละเอยี ดพบวา่ ลูกชายเศรษฐี เปน็ โรควัณโรคในลำไส้ ต้องทำการผ่าตดั แตส่ มัยนนั้ การผา่ ตดั เป็น เรื่องนา่ หวาดสยองของคนท่วั ไป โดยเฉพาะผปู้ ว่ ยและผู้เป็นพ่อแม่ ยอ่ มไม่กลา้ เส่ยี งที่จะเอาชวี ติ เข้าแลกกบั การผ่าตัด ดไี ม่ดคี วามกลวั ของคนอาจเป็นเหตุให้ตายเสียก่อนท่จี ะทำการรักษาหมอ ชีวกรู้จติ ใจของคนไขด้ ี จงึ ตัง้ คำถามกบั เศรษฐวี า่ ”ใต้เท้าอยากใหล้ ูกชายหายไหม?” เศรษฐีผู้เปน็ พอ่ รอ้ งลน่ั วา่ “บ๊ะ..แลว้ กนั ไม่อยากให้หายแล้วจะตามหมอมาทำไมกัน ถามได”้ “คืออย่างนี้ โรคนเ้ี ปน็ โรคร้ายแรงมาก ถ้าใต้เทา้ ไมต่ กลงรกั ษาตามวิธี และไม่ทำตามคำม่นั สญั ญาของผม ลูกชายของทา่ นจะตอ้ งตายแน่” หมอหน่มุ ไขขอ้ กังขาพร้อมกับเอาสญั ญากบั เศรษฐี “เอาเถอะจะรกั ษาโดยวธิ ีใดกย็ อมทงั้ น้ัน ขอชวี ติ ลูกฉนั ก็แลว้ กัน” เศรษฐใี ห้คำมนั่ “การรกั ษาครั้งนจ้ี ะต้องทำการผา่ ตัดเอาไสอ้ อก” หมอหนมุ่ กล่าวหนกั แน่น ทำเอาเศรษฐเี บกิ ตาคา้ ง “หา! อะไรนะหมอ” “อย่าลืมว่าใต้เทา้ ใหส้ ัญญาไวแ้ ล้ว ผมตอ้ งผ่าตัดลูกชายใตเ้ ทา้ ไมง่ น้ั ลูกชายของท่านตาย แน่ไมร่ อด” หมอชวี กหนุ่มผชู้ าญฉลาดเร่มิ ทวงสัญญาเม่อื ไดย้ ินคำวา่ ตายบ่อยเขา้ จงึ หนั ไปมอง หน้าเมีย เห็นเมยี มองอย่างท้อแท้ พยกั หนา้ ยอมรบั การรกั ษาตามวธิ ขี องหมอชีวก กเ็ ลยต้องยอม ตกลงตามเมยี เพราะไมม่ ีทางเลอื ก หมอชวี กจงึ ให้เศรษฐจี ัดเตียงสำหรบั คนไขน้ อน จบั คนไขม้ ัดมือมดั ขาไวก้ บั เตียง จากนน้ั ได้ใช้มีดหมอทำการผา่ พงุ ลูกเศรษฐี ล้วงลำไสท้ ่เี ปน็ ฝที งั้ หมดออกมาแสดงกบั ท่านเศรษฐีทีย่ นื อก สนั่ ขวญั หายอยูข่ า้ ง ๆ พรอ้ มด้วยภรยิ าและลูกสะใภว้ งศาคณาญาติ ซ่ึงแห่กันมาดกู ารผ่าตดั อนั นา่ ขวัญสยอง หมอชีวกได้อธบิ ายและชใ้ี หเ้ ศรษฐดี ูวา่ ฝใี นลำไส้ของลกู ชายนีเ้ กดิ ขึ้นจากการดื่มนมวัวที่ ติดเชอ้ื วัณโรค เชือ้ น้ันได้ออกมากบั น้ำนม (เม่อื นำไปด่มื กินโดยไม่ไดผ้ า่ นการฆ่าเช้อื เสียกอ่ น) แลว้ เขา้ ไปยึดแหลง่ ที่พกั พิง ขยายพันธตุ์ ่อไปจนกลายเปน็ ฝี จนในทสี่ ุดตอ้ งตัดสำไสท้ ่ีเป็นฝนี ัน้ ออกไป จนในทส่ี ุดไมน่ านวนั อาการของลูกเศรษฐี ก็ค่อย ๆ หายในทีส่ ดุ ๙
“การใชป้ ัญญาเอาตัวรอดของหมอชีวก” พระเจา้ พิมพิสาร กรุงราชคฤห์ แควน้ มคธ ทรงโปรดความมักนอ้ ยและความสงบเสง่ียม ของทา่ นชวี กเป็นอนั มาก นอกจากจะทรงเปลี่ยนรางวลั จากเคร่ืองราชอสิ ริยาภรณ์สำหรบั ราชตระกูล ช้นั สงู และนางสนม ข้าทาสชายหญงิ จำนวน ๕๐๐ คน พรัง่ พร้อมดว้ ยเพชรนลิ จนิ ดามูลค่าคณนานับ มาเปน็ คฤหาสนพ์ รอ้ มดว้ ยขา้ ทาสบรวิ าร ยานพาหนะกบั ตำแหนง่ แพทยห์ ลวงประจำพระราชสำนกั ยังทรงแตง่ ตั้งตำแหน่ง “เอกอคั รมหาอำมาตย์” ซ่ึงเป็นตำแหนง่ สูงสดุ สำหรับขา้ ราชการอกี ตำแหน่ง หนึ่งด้วย ความรู้ความสามารถของทา่ นชวี กได้แพรข่ ยายขจรขจายไปยงั แควน้ ใกล้เคียงนนั่ คอื กรงุ อชุ เชนนี คร ซึง่ เปน็ เมอื งหลวงของ แควน้ อวนั ตี (สมยั ปัจจุบันต้งั อยู่ใกลแ้ มน่ ้ำสิปรา เหนอื แคว้นบอมเบย์ขึ้น มาหน่อย) มีพระมหากษตั รยิ ช์ อ่ื พระเจ้าจณั ฑปัชโชโต ทรงทราบเกียรติศกั ดช์ิ อื่ เสียงในการ วินจิ ฉยั โรค การวางยาเพยี งครง้ั เดยี ว กห็ ายจากโรคได้ จงึ ไดท้ รงสง่ ทูตมาขอตัวหมอชวี กตอ่ พระ เจา้ พมิ พิสาร เพ่อื ไปรักษาโรคป่วยเร้ือรังทกุ ข์ทรมานมานานวัน ไม่มีแพทยค์ นใดรักษาได้ พระเจ้า พิมพิสารทรงพระราชทานตรัสบญั ชาอนญุ าตใหห้ มอชวี กเดนิ ทางไปรกั ษา พระเจา้ จณั ฑปัชโชโต ทา่ นชวี กได้ตรวจพระอาการอย่างระมัดระวงั ตรวจสอบไปถงึ อปุ นิสยั จิตใจเพอ่ื หาสมฏุ ฐานของโรค โดยเฉพาะอารมณบ์ างอยา่ งอนั เป็นเหตใุ หเ้ กิดโรคทางกาย ในท่สี ุดก็พบวา่ พระเจา้ จณั ฑปชั โชโต ทรงมีพระโทสะร้ายมีพระอารมณ์ร้อนมีความปริวิตกมากอันเป็นสมุฏฐานเบื้องต้นที่ทำ ให้พระโรคหายยาก แม้จะเยียวยา วเิ ศษอย่างไรก็ไม่อาจหายได้ แต่จะทำให้พระเจ้าจณั ฑปชั โชโต ละโทสะนั้นยาก จึงหาทางปรงุ ยาซึ่ง จะต้องใช้เนยเหลวเป็นกระสาย แต่ทวา่ พระเจา้ จณั ฑปัชโชโต เกลียดเนยใสเปน็ ท่สี ุด ทรงอทุ านตรสั ส่ังหา้ ม ทันทที ที่ ่านชีวกทูลวา่ จะตอ้ งเสวยพระ โอสถทเ่ี ขา้ เนยใสวา่ “ไม่ได้ ไม่ได้ เป็นอันขาด ปฏิกูลสำหรับฉัน เกิดมาไมเ่ คยล่วงลงคอเข้าไปเลย อย่าว่าแตจ่ ะกินเขา้ ไปเลย เพียงแตพ่ ดู ถงึ ชอ่ื ฉนั ก็ทนไม่ไหว อยแู่ ลว้ ตายเสยี ดกี ว่าจะกนิ เนยใส ท่านจงเอายาอยา่ งอืน่ มาดีกว่า” ทา่ นชีวกเลง็ เหน็ แต่ต้นแล้ววา่ พระเจา้ จัณฑปชั โชโต มีพระโทสะร้าย และรงั เกียจเนยเหลว การทจ่ี ะแขง็ ขืนให้เสวยด้วยวชิ าทางแพทย์ แม้จะทำใหพ้ ระโรคหาย แตด่ ว้ ย พระโทสะที่ทา่ นดอ้ื รน้ั อาจทำให้ตัวหมอเองเป็นอนั ตรายได้ จงึ ได้วางแผนทางหนีทไี ล่ไวอ้ ยา่ งเรยี บ รอ้ ย โดยทูลขอช้างพังตวั หนง่ึ ซ่ึงเปน็ ช้างทีม่ ีความสามารถเดินทางวนั ละ ๕๐ โยชน์ ช้างตัวนีม้ ีชื่อวา่ “ภัททวดี” สว่ นอีกตวั เปน็ ชา้ งพลายชือ่ “นาฬาคีร”ี สามารถเดินทางไดว้ นั ละ ๑๐๐ โยชน์ ม้าอีก ๒ ตวั ตวั หนงึ่ ชอ่ื “เวลกุ ณั โณ” อกี ตวั หนงึ่ ชอื่ “มุญชเกโส” ซงึ่ สามารถเดนิ ทางไดว้ ันละ ๑๒๐ โยชน์ และราชบุรษุ อกี ๑ คน เดินทางไดว้ ันละ ๖๐ โยชน์ ท่านชวี กได้ขอพระราชทานสิง่ เหลา่ น้ีก่อน จะวางยา โดยทูลวา่ จะเปลยี่ นยาให้ตามประสงค์ ๑๐
พระเจา้ จณั ฑปัชโชโต ทรงอนุญาตจดั การตามความประสงค์ของท่านชวี ก ในขณะทห่ี มอ หนุ่มกลับไปนอนตรึกตรองถงึ การประกอบยา คดิ สำเรจ็ แล้วลุกข้นึ เอาเนยใสมาเคย่ี วใหแ้ ก่ไฟเพื่อ แปรสกี ลน่ิ รสให้คล้ายคลึงกบั ยาสมนุ ไพรที่เตรยี มไว้ ผสมได้ที่แลว้ เกบ็ เตรยี มเอาไว้ เม่ือได้เวลา ท่ีจะเฝ้าถวายพระโอสถตอนหวั คำ่ กราบบงั คมทลู ถวายวา่ “เสวยพระโอสถพระเจา้ ขา้ พระโอสถ นี้ประสมดว้ ยน้ำฝาดสมุนไพรเปน็ กระสาย”พระมหากษตั รยิ ก์ ท็ รงรบั มาเสวย โดยมิได้ ทรงทราบ วา่ ยาน้นั ได้ประกอบเนยใส ทา่ นชวี กกราบถวายบงั คมลา พรอ้ มกับทูลว่า “จะจดั พระโอสถ มาทลู เกลา้ ถวายอีก” ถวายบังคมลาจากทีเ่ ฝา้ ก็รบี ไปยังโรงชา้ ง แจ้งความประสงคใ์ หเ้ จา้ พนัก งานช้าง นำชา้ งพงั ภทั ทวดมี าใหเ้ ด๋ียวน้ี พรอ้ มกับข้นึ ขับหนอี อกจากกรงุ อชุ เชนี เอาขอขนาบชา้ ง เร่งฝเี ท้าใหเ้ รว็ เข้า ตกท่ลี ุม่ แล้วก็กระดอนข้ึนท่ีสงู โดนหัวตอ แลว้ กช็ นตอไม้ เซไถลไปมา แตท่ า่ นชวี กกไ็ ม่ยอมหยุด ยง่ิ เรง่ มากกย็ งิ่ รุดหน้าไปอยา่ งรวดเร็ว เพือ่ ใหพ้ ้นจากรัศมกี าร ตามลา่ เปน็ เร็วทสี่ ุด ข้างฝา่ ยพระเจา้ จณั ฑปชั โชโต หลงั จากทไ่ี ด้เสวยพระโอสถไปแลว้ กเ็ กดิ อาการ “เรอออกมา” พาเอากลน่ิ เนยฟุ้งออกมาไปท่ัวพระนาสกิ ทรงรอ้ งดว้ ยความสะอิดสะเอียน “เอ๊ะ..เนยใส ทำกูได้ ฉิบหายตายกันวันนีแ้ น่”วา่ แลว้ ก็ตรัสเรยี กมหาดเลก็ เวร ด้วยพระสุรเสียง อนั ล่นั ให้ตามตัวหมอชีวกดว่ น พร้อมกบั ทรงเรอออกมาถี่ ๆ อีกหลายตลบ มหาดเล็กไปตามตัวหมอชีวก กเ็ งียบหายยง่ิ ทรง พิโรธ โกรธกรว้ิ ทบุ ถบี เคร่ืองราชูปโภคใกล้เคียง แตกกระจุยกระจาย กระโถน ขันนำ้ พระเขนย ลอยเปน็ ลูกฟุตบอล มหาดเลก็ กลบั เข้ามาพร้อมกับทูลว่า “หมอชีวก ข่ีชา้ งพงั ภัททวดีออกจากพระนครไปนาน แลว้ พระเจ้าขา้ ” เหมือนเพ่มิ เชื้อไฟดว้ ยฟืนกองโต ทรงกร้วิ จนพระพักตรเ์ ขยี ว ตรสั ว่า “ไอห้ มอเจ้าเล่ห์ ไอจ้ ัญไร หนไี ปซิ ขืนอยหู่ วั มันขาด ไปตามตัวไอ้กากมาให้กูเร็ว” (นายกา กคอื ราชบรุ ุษที่เย่ียมยงิ่ ในทางฝีเทา้ เดนิ ทางไดว้ นั ละ ๖๐ โยชน)์ กว่าจะไดต้ วั นายกากก็จวนสวา่ งของวนั ใหม่ พระเจา้ จณั ฑปัชโชโตก็แทบจะคลง่ั ครน้ั ได้ตวั นายกาก พระเจ้าจณั ฑปัชโชโตกร็ บี ตรัสว่า “ไอ้กากเกิดเรือ่ งขึน้ แลว้ หมอชวี กวางยาผิด แลว้ หลบหนา้ พาชา้ งภทั ทวดีแลว้ เผน่ หนีมงึ ชำนาญทางดแี ลว้ รบี ไปตามตวั มาเรว็ มนั หนไี ปนานแลว้ อยา่ ชกั ชา้ แต่เด๋ียว กจู ะเตือนมงึ ไอห้ มอคนนี้ ท่าทเี ลห่ เ์ หล่ียม ของมนั เห็นจะมากโขอย่นู ะ แตม่ งึ น่ัน กมุ หวั โง่ ขีเ้ ทอ่ อยา่ งกะหวั สากจงสำนกึ ตัว มึงดแี ตเ่ ดินเรว็ เทา่ น้นั แต่กูมปี ญั ญาพอตวั เปน็ ถึงพระเจ้าแผ่นดนิ ยงั ไล่ความคดิ มันไม่ทนั ถกู ตกหลุมเนยใสของมนั อยู่ น่ี หากมึงไปทัน เข้ากลางทางแล้ว มนั จะให้มึงกินอะไร อย่าไปกินของมัน ขืนกนิ เข้าไป มงึ จะต้อง ตกหลมุ ของมนั อีกคน เสยี เกียรตชิ าวกรงุ อุชเชนหี มด จำไวน้ ะ” ราชบรุ ุษกาโก หรอื กากรับพระราช บัญชาแล้วกราบถวายบังคมลาออกจากทเ่ี ฝา้ เตรยี มเดินทางทันที ๑๑
เป็นไปตามทีห่ มอชวี กคาดคะเนเหตกุ ารณไ์ ว้ไมม่ ผี ิด ทา่ นชีวกเดนิ ทางมาถึงตำบลหน่งึ ซึ่ง อย่กู ่งึ กลางใกลก้ รุงโกสัมพี กห็ ยุดลงจากหลงั ช้างพกั กินอาหารเดินเทยี่ วไปตามบรเิ วณท่ีพักพบตน้ มะขามป้อมต้นหนึ่งลูกดกจึงเก็บเอากำมอื หนึ่งลองรับประทานดจู งึ พบวา่ ลกู มะขามป้อมมี คณุ ภาพ แก้กระหายนำ้ เพิ่มความกระปร้ีกระเปรา่ กินมากเปน็ ยาระบาย ขณะพจิ ารณากเ็ หน็ นายก ากตามมายังท่ตี นนงั่ จะหลบกไ็ ม่ทันจึงทำใจดีส้เู สือ รีบตะโกนทกั ขึ้นก่อนทนั ที “คณุ กากครับ เชญิ มาทางนี้ ผมอยนู่ ”ี่ มหาดเล็กกากเหน็ หมอชวี ก ทักเรยี ก จึงย้มิ ยิงฟันขาวพูดข้นึ วา่ ”คุณหมอมีพระบรม ราชโองการ ให้ผมมาเชิญคุณหมอกลบั ไปรับพระราชทานบำเหนจ็ การรักษาพระโรควา่ อย่างไร” ท่านชีวก ตอบขึน้ ทันทีวา่ “ก็กลับซิ คุณเป็นคนของพระมหากษตั รยิ ์สำคญั คนหนงึ่ ในกรงุ อชุ เชนผี มกเ็ ปน็ คนของ พระมหากษตั ริยส์ ำคัญคนหนึง่ ในกรงุ ราชคฤห์ ทำความเข้าใจกนั ไดง้ า่ ยไมใ่ หต้ ้องลำบากถึงกับมัด ดอก นั่งลงรบั ประทานอาหารดว้ ยกันเถดิ เดนิ ทางมาไกล หวิ นำ้ แลว้ มใิ ช่หรือ ?” นายกากนึกถึงคำเตอื นของพระมหากษตั ริย์ ตรัสห้ามมิใหก้ นิ อะไรในสง่ิ ท่หี มอชวี กให้จึง ยกมือพูดว่า “ไม่หรอกครับ คุณหมอรบั ประทานคนเดยี วเถดิ ผมเดินกนิ โรตีมาตามทางกำลงั อิม่ แปอ้ ยูน่ ี่ อยากกินแต่นำ้ เท่านัน้ มนี ้ำจากหนองน้ำทไี่ หนบ้าง” หมอชวี กไดท้ ีตอบว่า “อย่างนน้ั รึ นำ้ ข้าพเจ้าก็มีในกระบอกนี่ แตท่ ่านกนิ ไมไ่ ดห้ รอก หมอเขาห้าม เดินทางตากแดดมารอ้ น ๆ จะเกิดอาการความร้อนหลบในเปน็ อนั ตราย ต้องกนิ ผล มะขามปอ้ มแก้กระหายนำ้ เสยี ก่อน” ว่าแล้วหมอชีวกก็เอามือล้วงลงไปในกระทายเครื่องยาใช้หัวนิ้วแม่มือกดลงไปที่ห่อยา ถา่ ย (ที่ปรงุ ขึ้นเอง) เอาติดเลบ็ แมม่ ือ แล้วไปจกิ ลงทผ่ี ลมะขามป้อมผลหนงึ่ ส่งใหน้ ายกากกนิ พรอ้ ม กบั พูดวา่ “เอา้ กนิ ผลเดียวกพ็ อ” นายกากรับมาเขา้ ปากเคี้ยวกนิ จนหมดลูก สกั ครหู่ นงึ่ ชว่ั ขณะยงั ไม่ทนั คุยจบก็รอ้ งขึน้ ว่า “เอะ๊ คุณหมอ ทอ้ งผมมันเปน็ อะไรนี่ มันป่ันปว่ นครดื คราดเปน็ ลกู คลนื่ ว่ิงพล่าน อยา่ งกะหนูวิง่ หนแี มวอยนู่ ่”ี หมอชวี กจึงตอบวา่ “ไมเ่ ป็นไรเดย๋ี วหาย” นายกากว่า หายอะไร มันยิง่ แรงหนกั ขึ้น” ๑๒
นายกากนกึ ถงึ พระวาจาตรัสห้ามของพระเจา้ จัณฑปัชโชโต แล้วก็ใหแ้ คน้ เคอื ง ที่เสียทีหมอชวี กจนได้ นึกดา่ ตัวเองไป ก็เอามอื กุมท้องไปรอ้ งถามหมอชีวกดว้ ยสายตาละหอ้ ยว่า “คณุ หมอทำอะไรผมนี่ โอ๊ย ปวดท้อง” เทา่ นั้นเอง ยังไม่ทันว่งิ ไปหาทีท่ งุ่ อจุ จาระกพ็ ุ่งจู๊ดไม่มี ระยะหยดุ พุ่งจนหมดทอ้ ง ยังผลใหน้ ายกากหน้าดำตาโบ๋ ลม้ ลงนอนหมดแรงอุจจาระกองเต็มผ้า นุ่ง ตรงนน้ั เอง ครางเสียงแหบ แผว่ เบาวา่ “ฮอื ตายแนแ่ ลว้ คุณหมอ พุทโธ่ไม่น่าทำผมได้ลงคอ เลย”หมอชวี กจงึ กม้ ลงพดู ปลอบใจวา่ “เพื่อนเอย๋ ไม่เป็นไรดอกเช่อื ผม มนั เปน็ ยาถา่ ย ไมใ่ ชย่ าพิษ นกึ เสยี วา่ ถา่ ยท้องเสยี ก็แลว้ กนั เพราะมนั สะสมหมักหมมกันมานานแลว้ ถ่ายเสียบา้ งก็ดี หมดพิษยาถา่ ยแล้ว เรี่ยวแรงกจ็ ะมาอย่าตกใจ ต่อไปจะเปน็ คนมีสขุ ภาพดีท่ีสดุ ผวิ พรรณผุดผอ่ ง เดนิ คลอ่ งวอ่ งไว เดินทางได้วนั หน่งึ ๖๐ โยชน์ ต่อไปน้ีอาจเพมิ่ กำลงั ข้ึนได้อกี วนั ละ ๗๐ โยชน์ก็ได้ มนั เปน็ ความจำเป็นของผมที่ตอ้ งทำอย่างนี้ ไมเ่ ช่นน้นั เราก็จะต้องอยู่กัน ๒ คนในปา่ น้ีเอง เพ่อื นมแี รงหายแลว้ ข่ีช้างกลบั บา้ นเมืองเสียนะ ผมจะกลบั ไปเมอื งผม ลานะ ครางใหด้ ัง ๆ หน่อย เดยี๋ วช้างจะได้เดนิ มาเหยียบตายเอาล่ะ ลาที” หมอชวี กพดู เสร็จก็เดนิ จากไปม่งุ หนา้ สพู่ ระ มหา นครราชคฤห์ รอนแรมไม่กี่เพลากถ็ ึงโดยสวสั ดภิ าพ ทลู เล่าเรื่องทัง้ ปวงอันเนือ่ งดว้ ยความจำ เป็นท่ีต้องกระทำต้ังแตต่ น้ จนอวสานให้พระเจา้ พิมพิสารฟัง พระองค์ทรงยกยอ่ งสรรเสรญิ ความ ฉลาดความสามารถของหมอชวี กพระราชนัดดาบญุ ธรรม ที่รู้จกั เอาตัวรอดโดยไมเ่ สียทเี สยี ชีวติ ลง ณ กรุงอุชเชนี แตก่ เ็ กรงจะเป็นเหตใุ หเ้ กิดสงครามข้นึ ในระหวา่ ง ๒ แควน้ เพราะการท่สี ง่ หมอชีวก ไปนัน้ เพือ่ ประสงค์จะสมานพระราชไมตรี แตก่ ารกระทำของพระเจ้าจันฑปชั โชโต เปน็ การทำลายมิตร ไม่ตรงกันแล้วซิทรงคิดใคร่ ครวญรอเหตกุ ารณอ์ ยขู่ ้างฝา่ ยมหาดเลก็ ราชบุรุษกาก เม่ือหมอชีวกจากไปแลว้ ไม่ช้ากค็ อ่ ยมีเร่ียว แรงขึ้น พอลกุ ขึน้ ได้ก็เรียกช้างปีนข้ึนหลังกลับกรงุ อุชเชนี เฝ้าพระเจา้ จณั ฑปัชโชโต ทลู เล่าเรือ่ งทงั้ หมดดว้ ยอาการกลวั เป็นกำลงั เพราะคดิ วา่ อยา่ งไรเสียก็ตอ้ งถูกลงพระอาญาฐานไมท่ ำตามพระ กระแสรับสั่ง แตป่ รากฏผดิ ความคาดหมาย เนอ่ื งจากพระโรคของพระเจ้าจณั ฑปัชโชโตหาย ตงั้ แตท่ ี่หมอชีวกวางยาไว้เพียงครง้ั เดียว เมอ่ื พระวรกายหายเปน็ ปกติดีแลว้ พระองคก์ ็ทรงรำลกึ ถึงความดี และความสามารถของ หมอชวี กขึ้นมาทนั ทีจึงมพี ระราชบญั ชาให้จดั ผา้ เนอ้ื ดีท่ีทอจากฝมี อื อนั ประณตี ของชนชาว กาสี เมืองหลวงคอื พาราณสี ซ่งึ นิยมกันในสมัยนั้นว่าเป็นผ้าเนื้อดี ฝมี ือเย่ยี มกวา่ ประเทศใด ๆ ในโลก ๑๓
พระองคเ์ ลือกสรรเอาแตช่ นิดที่ดีเย่ียม ให้ทตู นำมาพระราชทานแก่หมอชวี กถงึ กรงุ ราชคฤห์ เพอื่ เป็นการตอบแทนพระคุณเปน็ จำนวนหลายพบั หมอชีวกรบั แล้วตรวจดู เหน็ ไม่ สมควรจะนำมาใช้สอยด้วยตระหนักใจวา่ ฐานะของตนไมส่ มกบั ราคาของผา้ จงึ เก็บนิ่งไว้ เพอ่ื นำขึ้น ทลู เกล้าถวายพระเจ้าพมิ พิสาร แตพ่ ระเจา้ พมิ พสิ ารไมท่ รงรับกลับใหค้ ืนแกห่ มอชีวก. หมอชวี กถวายผา้ แดพ่ ระพุทธเจา้ หมอชีวก นึกถึงสมเด็จพระผ้มู ีพระภาคเจา้ ขนึ้ มาทันที เหน็ ว่าผ้าน้ีเปน็ ผา้ เ นอี้ ดีหาได้ยาก ควรจกั นำไปถวายพระพทุ ธเจา้ จงึ นำไปยงั เวฬุวนาราม ตั้งใจจะถวายแดพ่ ระพุ ทธองคแ์ ต่สมัยนนั้ พระภกิ ษสุ งฆ์ถือผา้ บงั สุกุลอยา่ งเดยี ว คอื ทา่ นแสวงหาเศษผา้ ทชี่ าวบ้านเขา ทิง้ แล้ว เช่น ผ้าห่อศพ มาเยบ็ ทำจีวรเอง และใชส้ อยเพยี งสามผนื เทา่ น้ัน พระพุทธองคไ์ ม่ทร งอนญุ าตให้รับผา้ จีวรท่ี คฤหัสถท์ ำถวาย ตอนเมอ่ื พระพุทธองคเ์ สวยพระกระยาหารเสร็จแล้ว และพระภกิ ษสุ งฆ์ทง้ั หลาย ฉันอาหารเสรจ็ แล้ว ชีวกโกมารภจั จน์ ำผา้ สิวยั ยะกะ ๒ พบั เข้าเฝา้ สมเด็ จพระสมั มาสมั พุทธเจา้ กราบ ถวายบงั คมแล้วทูลขอพระพทุ ธองคว์ ่า “พระสงฆ์พทุ ธสาวกท้ังหลาย ยนิ ดอี ยตู่ ามปา่ นยิ มถือผ้าบังสกุ ุลเป็นการปฏบิ ัติประจำ ไม่ยอมรับผ้าจีวรทค่ี ฤหบดีถวาย เพราะฝ่ าพระบาทยังมไิ ด้ทรงอนญุ าตให้รับ ขอจงทรงพระกรุณาโปรดอนุญาตให้พระสงฆพ์ ทุ ธสาวกทั้งหล ายรับผ้าจีวรที่คฤหสั บดถี วาย เถิด ตั้งแตบ่ ดั นีเ้ ป็นต้นไป ผดิ ชอบอยา่ งไรท่ขี า้ พระพุทธเจา้ ทูลขอนี้ แล้วแต่จะทรงพระกรณุ าโปรด เกลา้ ” เมื่อพระพทุ ธองคท์ รงสดับแลว้ กท็ รงพิจารณาถึงประโยชน์ ทรงเหน็ ว่าชอบดคี วรอนญุ าต จงึ ได้ตรสั ประทานอนุญาต เพ่ืออนเุ คราะห์แก่พระสาวก และทายกผูถ้ วายด้วย หมอชวี ก เมอ่ื พระพทุ ธองค์ทรงอนญุ าต แสดงอาการใหเ้ ห็นวา่ เกิดปีตปิ ราโ มทย์มาก ยกผ้า ๒ พบั ขน้ึ แสดงแลว้ ทูลวา่ “ผ้าสวิ ยั ยะกะ”คู่นเ้ี ป็นผา้ เนอ้ื ดพี ิเศษกวา่ ผ้าอน่ื ๆพระมหากษัตริย์จณั ฑปชั โชโตกรุงอุชเชนีที่ขา้ พระ พุทธเจ้าได้ไปรักษาพระโรค ณ กาลครง้ั นนั้ ไดท้ รงพระกรณุ าส่งมาพระราชทานแก่ขา้ พระพุทธเจ้า ขา้ พระพทุ ธเจ้าพจิ ารณาแล้วเหน็ ว่าไมเ่ หมาะสมท่จี ะใช้เอง เป็นผา้ สมควรแด่องคส์ มเดจ็ พระพทุ ธ เจา้ และสมเดจ็ พระเจ้าพมิ พิสาร จะพึงทรงใช้ คดิ เห็นดังนีแ้ ลว้ ก็เกบ็ ไว้เพื่อถวายแดฝ่ ่าพระบาท การทำบญุ ใหญก่ ันวนั น้ี จึงนำมาดว้ ย ขอฝา่ พระบาทจงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า จงทรงรบั ผ้าน้ไี ว้ทรงใชส้ อยเถิดพระเจา้ ข้า จกั เป็น ผลานิสงส์ อนั ย่ิงใหญแ่ กข่ ้าพระพทุ ธเจ้า” แลว้ ก็นอ้ มเกลา้ ถวายผา้ คู่นัน้ ๑๔
พระพทุ ธองค์ทรงรับแล้ว ทรงแสดงพระธรรมเทศนาอนุโมทนา ในการกุศลทาน ของชีวกโกมารภจั จ์ และของมหาชน ซ่งึ รว่ มกันบำเพญ็ ในคราวเดียวกนั ณ กาลครง้ั น้ัน เมือ่ จบ พระธรรมเทศนาลง พระอรรถกถาจารยน์ กั เพมิ่ เติมเสรมิ ตอ่ กลา่ วไว้ว่า ชีวกโกมารภจั จถ์ งึ กับได้ บรรลุผลเป็นพระอรยิ บุคคลชน้ั พระโสดาปตั ตผิ ล เป็นพระอริยะเบ้อื งต้นในพระพุทธศาสนา เมื่อชาวบ้านได้ทราบวา่ พระพุทธเจา้ ทรงอนุญาตให้พระสงฆร์ บั ผ้าหรือจีวรทช่ี าวบา้ น ถวายได้ ตา่ งกด็ ีใจ พากันนำจีวรมาถวายเปน็ จำนวนมาก เน้อื ดบี ้างเน้อื หยาบบา้ ง ทอดว้ ยวัตถุดิบ ต่าง ๆ กนั พระสงฆ์เลยเกิดความสงสยั ว่า จวี รชนดิ ไหนไมค่ วรรับ จงึ นำความเข้าทลู ถามพระพทุ ธองคพ์ ระพทุ ธองค์จึงตรัสอนุญาตไวว้ ่า “ภิกษทุ ง้ั หลาย เราอนุญาตจวี ร ๖ ชนดิ คือ จวี ร.. ทำด้วยเปลือกไม้ ๑ ทำด้วยฝา้ ย ๑ ทำดว้ ยไหม ๑ ทำด้วยขนสัตว์ ๑ ทำดว้ ยป่าน ๑ ทำด้วยของทงั้ หา้ อยา่ งนัน้ เจอื กนั ๑ ทา่ นชีวกโกมารภจั จ์ สร้างวดั ถวายพระพุทธเจา้ ชีวกโกมารภัจจค์ ิดถงึ ตวั ปรารถนาจะอบรมจติ ใจในทางธรรมให้มากยิง่ ขนึ้ จงึ คดิ วา่ เรา ควรจะเข้าเฝา้ นั่งใกล้พระพุทธเจา้ วันละ ๒ คร้ัง เชา้ เยน็ จึงจกั ดี เพอ่ื จักเปน็ ทางพูนเพมิ่ สตปิ ัญญา และเจริญกา้ วหนา้ ในทางธรรมปฏบิ ัติ แต่พระราชอทุ ยานเวฬวุ นั พระอารามหลวง ทพ่ี ระพุทธเจ้าประทบั กับพระสาวก ภิกษุสงฆ์น้ัน ห่างไกลสำหรับเราไปมาไม่สะดวก ควรสร้างวดั สำหรบั ตัวขนึ้ ใหมส่ ักวัดดีกว่า จงึ จะเขา้ เฝา้ วนั ละ ๒ เวลาได้สะดวก พระราชอุทยานอมั พวัน (สวนมะมว่ ง) ที่พระมหากษตั รยิ ์ พระราชทานเราน้ันใกล้บ้าน ไปมาสะดวกดี จำตอ้ งอุทศิ ถวายอัมพวนั เป็นท่ธี รณีสงฆ์สรา้ ง วัดเสียเถิดคดิ ตกลงแล้ว ก็เรม่ิ ดำเนนิ งานก่อสร้างหานายชา่ งมากะการณค์ ุมกำลงั คนงาน สบื หาไมอ้ ฐิ ปูนเคร่อื ง ทพั พสัมภาระกอ่ สร้าง นานาประการตามความตอ้ งการ สรา้ งอาคารสถาน ขึน้ เป็นอาคารอิฐปนู ก็มี ไม้กม็ ี กฏุ เิ ป็นหลงั ๆ วางเป็นแถวแนวเหมาะสมเปน็ ท่ปี ระทบั ขององค์ สมเดจ็ พระพทุ ธเจา้ และพระภกิ ษุทงั้ หลาย ศาลา ทปี่ ระชมุ กระทำสังฆกจิ โรงธรรมสากัจฉา แสดงพระธรรมเทศนา สถานท่วี ิเวกบำเพญ็ สมณะธรรม บ่อน้ำ กำแพงวงรอบเปน็ เขตวดั ที่ ธรณีสงฆ์ ครบหมดตามทต่ี อ้ งการ ๑๕
เสรจ็ เรียบร้อยแล้ว กราบบงั คมทูลเชิญเสดจ็ สมเด็จพระสมั มาสัมพุทธเจา้ พรอ้ มด้วย พระสงฆ์พุทธสาวก เสดจ็ เขา้ ประทับอาศัยในวัดใหม่บำเพ็ญกศุ ลทานฉลองเปน็ การใหญ่ เมือ่ เลี้ยง อาหารบิณฑบาตทานแด่พระภิกษสุ งฆ์ มีองคส์ มเด็จพระสัมมาสมั พทุ ธเจ้าเป็นประธาน เสร็จแล้ว ถวายบริขารจีวรทานใหค้ รองผา้ สบงจีวรอีกตอ่ หนงึ่ เสรจ็ แลว้ ชีวกโกมารภัจจก์ ราบบังคมทลู มอบ ถวายอาวาสแด่พระภกิ ษุสงฆ์ ขาดจากกรรมสิทธเ์ิ จา้ ของเดิม ตามความนยิ มในกาลครั้งน้ัน นบั ว่าชีวกโกมารภัจจ์ได้บริจาคปจั จยั ทานแดพ่ ระสงฆ์ มอี งคส์ มเด็จพระพุทธเจา้ เปน็ ประธาน ครบหมดทงั้ ๔ ประการ คือ จวี ร บิณฑบาต เสนาสนะ คลิ านเภสชั เสรจ็ การมอบถวายแล้ว พระพุทธองค์ทรงแสดงเทศนาอนุโมทนาในกุศลทานพเิ ศษนี้ จบลงเป็นเสรจ็ กจิ เรอ่ื งการสรา้ งวดั ถวาย วดั นม้ี ีช่ือระบอื ไปในหมชู่ าวกรุงราชคฤหตามนิมิตเดมิ ของสวนว่า “วดั อัพวนาราม” บ้าง “ชีวกัมพวนาราม” บา้ ง ส่วนชวี กโกมารภัจจ์ ซึ่งเป็นเจา้ ของวดั ก็อปุ ถมั ภว์ ดั นี้ไปจนตลอดชีพ ได้ เข้าเฝ้านัง่ ใกลส้ มเด็จพระสัมมาสัมพทุ ธเจ้าวันละ ๒ เวลาเข้าเยน็ สมความประสงคต์ ามที่จำนงไว้ และได้เท่ียวตรวจตราดูแลพระภกิ ษสุ งฆ์ทว่ั ทง้ั วัด รปู ใดขาดแคลนด้วยปจั จยั สง่ิ ใด ก็จัด การเพมิ่ เติมด้วยปัจจัยสิ่งน้นั แม้เกิดอาพาธปว่ ยเจบ็ กร็ ักษาพยาบาลให้จนหายปกติ พระภิกษสุ งฆ์ สมบรู ณ์พนู สขุ อยู่ดกี นิ ดี บำเพญ็ สมณกิจได้สะดวก เพราะชีวกโกมารภัจจ์ ตัง้ ใจอุปถัมภ์ดแู ลดว้ ยจิตศรัทธาปสาทะอันเขม้ แข็ง พระภิกษุสงฆ์ ท่ชี วี กโกมารภจั จ์อุปถัมภเ์ ปน็ สมณะทีด่ ีท้ังนั้น เปน็ พระอริยบุคคลเปน็ สว่ นมาก ไมใ่ ช่สมณะเลว ๆ เหลวแหลก ถามปัญหาเร่อื งการปฏบิ ตั ติ นเป็นอุบาสก วนั หนึง่ ขณะทพี่ ระผู้มพี ระภาคประทบั อยทู่ ส่ี วนมะม่วงของหมอชวี ก หมอชวี กเขา้ ไปเฝ้า พระพุทธเจ้าตามปกติ แล้วได้ราบทูลถามปญั หาพระพุทธมงคลดงั ต่อไปนี้ “ข้าแต่พระองคผ์ เู้ จรญิ คนปฏบิ ตั ิตวั ได้แคไ่ หนถงึ จะเรียกวา่ อุบาสก” “ผทู้ นี่ บั ถอื พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ เปน็ สรณะ จึงจะเรยี กวา่ เปน็ อบุ าสก” “อบุ าสกชนิดไหน เรียกวา่ อบุ าสกมีศลี ” “อุบาสกทงี่ ดเวน้ จากการฆา่ สตั วล์ กั ทรัพยผ์ ดิ ในกาม พดู เท็จ ดมื่ สรุ าเมรัยเรียกว่าอบุ าสกมีศลี ” “อบุ าสกชนิดไหนเรยี กว่าเอาตวั รอดคนเดยี ว” ๑๖
“อุบาสกทมี่ ีศรัทธา มศี ีล มีจาคะ มที รรศนะ (ความเหน็ ถูกต้อง) ใครเหน็ พระสงฆ์ ใครสดบั ธรรมแลว้ จดจำได้ จดจำไดแ้ ลว้ พจิ ารณาไตร่ตรองร้ขู ้อธรรมแลว้ ประพฤตปิ ฏิบัติตามถกู ตอ้ งอุบาสกชนิดน้เี รียกวา่ เอาตัวรอดคนเดียว” “แลว้ อยา่ งไหน ชอ่ื วา่ เอาตัวรอดดว้ ย ชว่ ยคนอืน่ ดว้ ย” “คนท่ีประกอบดว้ ยคุณธรรมดงั กลา่ วข้างตน้ แล้วชกั ชวนใหค้ นอนื่ ทำตาม ช่ือวา่ ชว่ ย ตวั ดว้ ย ชว่ ยคนอน่ื ด้วย” ถวายโอสถแด่พระพุทธเจา้ คนเราถา้ ไมเ่ อาเยี่ยงกต็ อ้ งเอาอย่างในความดี อยา่ งหน่ึงอยา่ งใดของคนทีไ่ ดร้ บั การยก ยอ่ งวา่ เป็นเลศิ ในทางนนั้ เพือ่ เป็นแนวทางในการดำเนินชีวติ ของตวั เราเอง ดงั เชน่ ..เอกอคั รบุรุษ..หมอชวี กโกมารภจั จ์ อัจฉรยิ บุคคลที่มคี วามมหศั จรรยใ์ นการ ปรุงยาวนิ ิจฉัยและใหก้ ารรกั ษาโรค ผมู้ ีความเปน็ เลิศในคณุ ธรรมและความประพฤติ มีความกตัญู รคู้ ณุ ตอ่ ผมู้ คี ณุ แม้วา่ จะเปน็ เพียงน้อยนิด ท่านกย็ ังสำนึกและหาทางตอบแทน การเปน็ แพทยท์ ่ีดเี ป็นเรอ่ื งยากยง่ิ โดยเฉพาะท่ปี รากฏอยูใ่ นปจั จุบัน มีแพทยจ์ ำนวนมาก ท่มี วี ิชาความรสู้ งู มคี วามสามารถรกั ษาโรคได้ดแี ต่ขาดคณุ สมบัตขิ องแพทยใ์ นดา้ นคณุ ธรรม มนษุ ยธรรม และจริยธรรม ย่อมลบลา้ ง ความดใี นส่วนอืน่ ให้เหลอื น้อยลงไปเปน็ อันมาก อำนาจคุณธรรม เมตตาธรรม ท่ีมอี ยอู่ ย่างเปย่ี มลน้ ของหมอชีวกโกมารภัจจ์ น่เี องท่เี ป็น พลังหนนุ เนอ่ื งใหท้ า่ นเกิดมามีปญั ญาอนั ลำ้ เลิศเหนอื คนอ่ืน ท่สี ำคญั อำนาจแหง่ ความกตัญญูรคู้ ณุ และความอตุ สาหวริ ิยะหมัน่ เพียร ความอดทน อดกล้ัน ทำให้พระฤาษีโรคาพฤกหตริณณา พระอาจารย์ทิศาปาโมกข์ เกิดความรกั เมตตาถึงกบั ถา่ ยทอดวชิ าลบั ในดา้ นการปรุงยา การจัดสรรพคณุ ของยาสมนุ ไพรมารกั ษาโรคไดผ้ ลชะงดั ทำ ให้หมอชวี กกลายเป็นผู้มคี วามสามารถเหนอื บคุ คลธรรมดา ในด้านการวางยาท่านสามารถคาด คะเนเหตุการณ์ และวินจิ ฉยั โรค โดยดจู ากสมฏุ ฐานของโรคไดอ้ ยา่ งแมน่ ยำ ราวกบั เห็นไดด้ ้วยตา ท่มี หัศจรรยก์ ค็ ือ ทา่ นชวี กโกมารภัจจส์ ามารถพลิกแพลงนำเอาสรรพคุณว่านยามาดดั แปลงให้เขา้ กับ สภาวการณ์ของคนไข้ โดยไมต่ อ้ งเสยี เวลาวางยาซำ้ ได้ผลอย่างมหัศจรรย์ ดังเรอ่ื งราวใน พระสตุ ันตปฎิ กตอนหน่งึ ว่า ๑๗
ครั้งหนึ่ง สมเด็จพระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ มพี ระประสงค์จะระบายพระโอสถ เน่ืองจาก ไม่มเี วลาพักผอ่ นพระวรกาย เพราะต้องเทย่ี วส่งั สอนเวไนยสตั วไ์ ปในที่ตา่ ง ๆ ไมม่ เี วลารักษา พระองคไ์ ดน้ ัก ทรงบำเพญ็ พทุ ธกิจต่าง ๆ ดว้ ยพระวิริยะอุตสาหะ มไิ ดเ้ หน็ แก่ความเหนือ่ ยยาก จนแทบไมม่ ีเวลาพกั ผ่อน พระพุทธกิจน้นั ในตำราทา่ นกล่าวว่ามอี ยู่หา้ ประการคอื ๑. เวลาเชา้ มืด ทรงเลง็ ญาณดูเวไนยสตั ว์ทคี่ วรโปรด คอื พิจารณาวา่ วันนี้จะไปโปรด ใครบา้ ง ๒. เขา้ ถึงเพล เสดจ็ ออกบณิ ฑบาตหรือเรียกอยา่ งสามญั วา่ เสด็จออกโปรดสัตว์ คอื ไปรบั อาหารบิณฑบาตจากชาวบ้าน และถือโอกาสแสดงธรรมไปด้วย ๓. เวลาเย็น ทรงแสดงพระธรรมเทศนาแก่พุทธบรษิ ัท ๔. เวลาค่ำ ทรงใหโ้ อวาทแกภ่ ิกษุสงฆ์ ๕. เวลาดึก ทรงแก้ปัญหาเทวดา กลา่ วกันว่า พวกเทวดามักมาทลู ถามปัญหาเวลาดึก ๆ (บางทา่ นกล่าววา่ พวกขา้ ราชการผใู้ หญ่หรือพระราชามหากษตั รยิ ์ มักวา่ งรัฐกิจและราชกจิ ตอ น ดกึ ๆ จึงหาโอกาสมาเฝ้าพระพทุ ธเจ้าในเวลาน้ี) พระวรกายจงึ เกิดความหมักหมมขนึ้ เมื่อเสด็จกลบั มาประทับท่ีกรงุ ราชคฤห์ จงึ โปรดให้ พระอานนท์ จัดพระโอสถถวาย ท่านพระอานนทจ์ งึ ไปหาหมอชีวกแจ้งความประสงคต์ ามพระ พุทธบญั ชา หมอชีวกได้ฟงั ดงั น้ัน รสู้ กึ ปลาบปล้มื ใจเป็นกำลัง ทจี่ ะได้มีโอกาสถวายการบำรงุ พระพุทธองค์ที่เขารอคอยมาเป็นเวลานานแลว้ แตไ่ มส่ บโอกาสสักที แตท่ ้งั นีม้ ไิ ดห้ มายความว่า เขาตอ้ งการให้พระพุทธองค์ทรงประชวร จะไดม้ โี อกาสไปรักษา หากแตจ่ ะหาโอกาสอนื่ ไปเฝา้ พระ พทุ ธองค์ก็ไมก่ ล้า เพราะยังไมร่ ู้จกั คุน้ เคยกบั พระองค์อยา่ งใกล้ชดิ คร้นั ท่านพระอานนท์พทุ ธอปุ ฏั ฐากมาเอ่ยปากขอรอ้ งคราวน้ี จงึ เปน็ โอกาสอันเหมาะย่ิง นักทจี่ ะได้เข้าเฝา้ อย่างใกลช้ ดิ ชวี กโกมารภัจจผ์ เู้ ชย่ี วชาญในการวางยา จงึ มคี วามคดิ ว่าควรจะ ปรุงพระโอสถถ่ายพิเศษขนึ้ สำหรบั องค์สมเดจ็ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าไมค่ วรใชย้ าธรรมดาสามัญ จึงคิดไลเ่ ลียงคณุ ภาพแหง่ สรรพคุณ อันจะเป็นยาวเิ ศษทคี่ คู่ วรกบั สมเด็จพระผูม้ พี ระภาค ผเู้ ป็น มงิ่ ขวัญแหง่ สัตบุรุษในแคว้นราชคฤห์ ๑๘
ดว้ ยปัญญาปรชี าชาญ ทา่ นได้ทำการประสมยาถ่าย ด้วยการนำดอกอบุ ลและบวั ขาบมา หนั่ เป็นชิ้นบาง ๆ แล้วนำไปค่ัวใหม้ กี ล่ินหอม กะเอาเพียง ๓ ฝ่ามอื กำ แยกออกเปน็ ๓ ส่วน ส่วนละ ๑ กำมอื ผสมดว้ ยตวั ยาสำคญั ท่มี ีฤทธย์ิ าถ่าย จัดเปน็ ยาถา่ ยพิเศษที่ใช้สดู ดมเขา้ ทางจมกู ไมต่ อ้ งกินเหมือนยาถา่ ยธรรมดาน่นั คือความ มหศั จรรยข์ องยาถ่าย ท่เี กิดขึน้ กอ่ นท่จี ะมหี มอวิทยาศาสตร์คนใดเกดิ ขน้ึ มาในโลก ปรงุ ยาเสร็จกเ็ ฝ้าพระพทุ ธเจ้า กราบบังคมทูลว่า “พระโอสถสำหรบั ระบายได้ปรงุ เสร็จแลว้ พระเจา้ ขา้ ” จากน้ันหมอชวี กกท็ ลู อธบิ ายวิธใี ช้ พระโอสถตอ่ ไปอกี วา่ “พระโอสถดอกอบุ ลน้ี จัดเป็นหอ่ ๆ ละ ๑ กำมือ เป็นพระโอสถพิเศษไม่ตอ้ งเสวย เพียง แตท่ รงสดู ดมเข้าเท่านน้ั ฝา่ พระบาทจงทรงดม หอ่ ทีห่ น่งึ ซง่ึ มยี า ๑ กำมอื ไปเรื่อย จะมผี ลใหพ้ ระองค์ระบายถงึ ๑๐ คร้งั ถ้าเพียงพอกไ็ มต่ อ้ งดมห่อที่สองตอ่ ไป เพราะถ้าทรงสูดดม ห่อท่สี อง พระองค์จะทรงระบายออกมาอีก ๑๐ ครั้ง ถ้าทรงสูดดมทง้ั ๓ หอ่ จะทรงระบายได้ถงึ ๓๐ ครัง้ พระเจา้ ข้า” พระพุทธเจ้าทรงฟงั คำอธบิ ายแลว้ กท็ รงรบั ปฏิบัตติ าม พร้อมหน้าพระอานนท์เถระ เมอ่ื หมอชีวกถวายพระโอสถ พรอ้ มกบั ใหค้ ำแนะนำเสรจ็ แลว้ ก็ถวายบงั คมลาออกจากทีเ่ ฝา้ เพ่ือไป ทำการรกั ษาคนไขร้ ายอื่น ครั้นเมอื่ เดนิ ออกมาถงึ เขตพระอารามหลวง กน็ ึกขน้ึ ได้วา่ ได้ลืมอธบิ ายใหล้ ะเอยี ดในช่ วงตอนสดุ ท้าย เพราะเหตวุ ่าพระอุทรของพระองค์สะสมหมักหมมมานานวัน ควรจะตอ้ งเพมิ่ วธิ ี ปฏบิ ตั ขิ ึ้นอีกสักอย่างหนงึ่ คือ จะต้องใหส้ ดู ดมยาถา่ ยน้ีหมดท้ัง ๓ หอ่ จะทำใหร้ ะบายถงึ ๓๐ ครง้ั แล้วต้องคอยนับไว้ เม่อื ถงึ ครง้ั ที่ ๒๙ จะต้องใหท้ รงสรงนำ้ อ่นุ เพอื่ ให้หยุดการถ่าย แลว้ ค่อยเขา้ ระบายอกี คร้งั หมอชวี กจึงกลับไปเฝา้ พระพุทธเจ้าอกี ครั้ง กราบบงั คมทูลใหท้ รงทราบด้วย ความห่วงใย พระพทุ ธองคท์ รงรบั ทราบโดยแสดงพระกริ ิยาให้รู้ โดยใช้พระโอสถระบาย ตามวิธีประหลาดของหมอชีวก ปรากฏเปน็ ความมหศั จรรย์พระวรกายของพระพุทธจ้า ก็กลับฟ้ืนคนื เปน็ ปกติ มพี ระฉวีวรรณผ่องใส ๑๙
เกย่ี วกบั เรื่องนี้ ศจ.น.พ. อวย เกตุสิงห์ ได้เขียนวิจารณ์ไวใ้ น “หนงั สือกตัญญตู านุสรณ์ ชวี กโกมารภัจจ”์ ไวต้ อนหนงึ่ ดังน้ี “สำหรบั วธิ ีบรหิ าร ใชย้ าโดยการสดู ดมเข้าไปในทางจมกู (เหมือนดมยาแกห้ วัด) นั่นไม่มีอะไรสงสัย เพราะรู้กันอยวู่ ่าสารระเหยบางอย่างอาจซมึ ผ่านเย่อื บโุ พรงจมูกหรือถุงลมของ ปอดเข้าสู่กระแสเลือดไหลไปหล่อเล้ียงทั่วรา่ งกาย การซมึ ผา่ นเขา้ รา่ งกายโดยวิธีสูดน้ี ผูเ้ ขียนสารภาพ วา่ ไม่มคี วามรเู้ รอ่ื งน้ี แต่เช่ือว่าอาจเป็นไปได้ และคิดว่าคงจะเปน็ ยาท่กี ระตุ้นระบบประสาทเสรี (ซง่ึ ทำงานโดยเป็นอิสระต่อจติ ใจ) ควบคมุ การทำงานของลำไส้ และอวยั วะอนื่ ที่เดาเช่นนี้ อาศยั ขอ้ ทแ่ี สดงวา่ “วิธที ำใหห้ ยดุ ถ่ายคอื การอาบน้ำอนุ่ เพราะน้ำอุน่ กระตุ้นผิวหนัง ยอ่ มกระตนุ้ ไปถงึ ระบบประสาทเสรี และในกรณียาถ่าย นคี้ งไปแกฤ้ ทธ์ิของยาถา่ ย ทำให้เกิดการหยุดถ่าย” เรอ่ื งของยาถ่ายพิเศษน้ี เปน็ พยานหลกั ฐานถงึ ความสามารถอยา่ งยอดเยยี่ มในเร่อื งการ จดั ตำรายา และวธิ ีบรหิ ารยา วธิ ีใช้ยาไดต้ รงตามเป้าหมายของหมอชวี กโกมารภจั จ์ ซงึ่ ทา่ นไดใ้ ช้ ปัญญาอันเลิศวินัจฉัยโรคใช้ความสามารถพลิกแพลงวิธีได้ถูกกับอาการของโรคอย่างยากที่จะหา ตวั จับ แมแ้ ต่หมอวทิ ยาศาสตร์เองกเ็ ถอะยงั ต้องยอมรบั วิธกี ารวิเคราะห์ วนิ ิจฉัยโรคและ กรรมวิธใี นการรักษาโรคจากท่านในหลาย ๆ เร่ือง ๆ โดยเฉพาะในเรอื่ งของการใชส้ มุนไพรเปน็ ยารกั ษาโรครา้ ย ไดห้ ลายชนดิ จะเห็นว่าหมอชวี กผู้นีม้ ีความรยู้ อดเย่ยี มในเรอื่ งสรรพคุณของยา และการรกั ษาโรคเป็นอันดี นอกจากจะเก่งในการวินิจฉัยแล้ว ยงั สามารถคาดคะเนเหตุการณ์ ที่จะเกดิ ได้ตรงกับ ความเปน็ จริง สามารถหาทางหนที ีไล่ และสามารถกำหนดการรกั ษาไดผ้ ลอยา่ งชะงดั ทกุ รายเปน็ ท่ี อศั จรรย์ จนมีชื่อเสียงไปในหลายประเทศว่าเป็นแพทยผ์ ยู้ อดเยีย่ มคนแรกของโลก. ๒๐
รกั ษาแผลทีห่ ้อพระบาทพระพุทธเจ้า “ความรอ้ นใจย่อมไมม่ แี กผ่ ทู้ หี่ ลดุ พน้ พเิ ศษแล้วจากทางไกล คือวัฏฏสงสาร อนั ไดแ้ ก่ กิเลส, กรรม, วบิ าก, ขดั ล้างกเิ ลส เคร่อื งเศร้าหมองท้งั หลายทง้ั ปวงในธรรม ย่อมหมดความ เศร้าโศกเสียใจได”้ นี่คือพระตรัสของพระสมั มาสมั พทุ ธเจ้าทีท่ รงตรสั ตอบ เปน็ ธรรมประกาศผลแห่งความ สนิ้ กเิ ลส ให้หมอชวี กโกมารภจั จ์ฟัง หลงั จากถวายการพยาบาลต้องผา่ ตดั บาดแผลท่ีพระบาท อันเน่ืองจากถกู พระเทวทตั กลิง้ หนิ ให้ทับพระองค์ แตส่ ะเกต็ หินแตกกระเดน็ มาถูกพระบาทหอ้ พระโลหติ ดว้ ยใจท่ีเล่าร้อนไมเ่ ป็นสุข เพราะคดิ จะแยง่ ตำแหนง่ “พระพทุ ธเจา้ ” ทำใหไ้ ดข้ ้อคดิ ว่า ตราบใดทคี่ วามหลง เขา้ ครอบงำความ ทะเยอทะยานอยากในส่ิงทเี่ ปน็ ไปไมไ่ ดย้ ังมีอยู่ ตราบน้ัน ความวุ่นวายในโลกกย็ ังไมม่ ีวันหมดส้ิน ไป การเหยียบหัวคนอ่นื เพ่ือให้ตนเชิดหน้าชูคออยู่ได้ในสังคม มิไดอ้ ยู่ไดอ้ ยา่ งจรี งั ยั่งยนื ในสังคมเลย ไมว่ ่าจะเป็นในอดีตหรือปัจจุบนั ขอให้ดูตวั อยา่ งพระเทวทัตผู้มีใจพาลสนั ดาน หยาบในพุทธกาล วา่ มีจดุ จบของความทะเยอทะยานอยากเป็นอย่างไร “เทวทตั ” เปน็ นามของเจา้ นายในวงศ์กษัตริย์ “สากยิ ะโกลยิ วงศ”์ เป็นพระขนิษฐภาดา (นอ้ งชาย) ของพระนางพมิ พา ยโสธรบวรลักษณ์ เรยี กกนั ว่า “เจา้ เทวทตั กมุ าร” เจา้ เทวทัตกมุ ารเขา้ มาทรงผนวช บวชในพทุ ธศาสนาพร้อมกบั เจ้านายหลายพระองค์ เชน่ เจ้าอานันทกมุ าร (พระอานนท)์ เม่ือบวชแลว้ กท็ ำสมาธฝิ กึ จติ จนเกดิ ฤทธิ์ สามารถเหาะเหิน เดนิ อากาศได้ แตไ่ ม่ไดค้ ุณพเิ ศษในทางมรรคผล เนอ่ื งจากจิตใจมแี ตค่ วามอจิ ฉาตารอ้ น ตัวรอ้ นมีทิฐิ นอกคอกนอกรีดผดิ แนวแห่งเหตุ ผล (หสั สนะ) มีกเิ ลสหนา สนั ดานหยาบ (ปาปิจโฉ) และปรารถนาลามก เหน็ อะไรอยากได้ไลไ่ ขว่ ควา้ เอาทกุ ดา้ น (อจิ ฉาปกโต) ดว้ ยเหตุนจ้ี งึ ไม่มใี ครใกลช้ ิดสนิทสนมด้วยไมม่ ีใครถามถึงหรือเอ่ยถงึ เรยี กว่าเป็น คน อบั แสงในทางไม่ดีเพราะมีจิตทไ่ี ม่ดตี ่อคนอน่ื ผลสะท้อนกลบั จึงทำให้ไม่มีคนรักใครไ่ ยดไี ม่ เหมอื นพระเถระรปู อื่น พระเทวทตั จงึ เกิดความอิจฉา พระพทุ ธเจา้ ท่มี ีแต่ผูค้ นแซซ่ ้องสรรเสรญิ เคารพนบนอบทัว่ ทุกหย่อมหญา้ แมแ้ ตส่ ัตวเ์ ล็ก สว่ นใหญ่ สตั วด์ ุร้าย ก็พากันมาเฝา้ อารกั ขา ๒๑
พระเทวทัตคิดฟงุ้ ไปดว้ ยแรงกิเลส ทีอ่ ยากจะครองตำแหน่งเปน็ พระพุทธเจ้าเพือ่ ปก ครองภกิ ษุสงฆเ์ สยี เอง คิดไลต่ วั ไปถงึ ผู้มีอำนาจ ทีจ่ ะเข้ายดึ ครองกน็ กึ ถงึ พระเจา้ อชาตศิ ัตรูมกฎุ ราชกุมาร ซ่งึ เปน็ พระราชโอรสของพระเจา้ พิมพสิ าร (ทเี่ กดิ จากพระอคั รมเหสี พระนางเจ้าเวทหิยะ บรมราชิน)ี พระเจ้าอชาตศตั รูขณะน้นั ยงั ทรงพระเยาว์ จึงหลงกลลวงของพระเทวทัตที่หาโอกาส ตีสนิท เพ่อื ท่ีจะยุแหย่ให้ทำการร้ายตอ่ ราชบลั ลังกด์ ว้ ยการเนรมติ ตวั เองเป็นงพู าดพนั ตวั บ้าง แปลงเพศเป็นอย่างอืน่ บ้าง เหาะไปในอากาศบ้าง เพ่อื แสดงใหอ้ ชาติศตั รูราชกุมารหลงเช่อื ว่าพระ เทวทตั มีวิชาดี อชาติศัตรรู าชกุมารหลงเชอ่ื จนเกิดความเลอ่ื มใสพอพระทัยในพระเทวทตั มอบกายถวาย ชีวิตเปน็ ผูอ้ ปุ ถมั ภพ์ ระเทวทตั นับแตน่ ้ันมาไมว่ า่ พระเทวทัตจะต้องการอะไร อชาตศิ ัตรรู าชกุมาร เปน็ จดั หาใหท้ ุกครัง้ พระเทวทัตอาศัยกำลังของอชาตศิ ัตรมู กุฎราชกุมาร ก่อใหเ้ กดิ จิตใจกำเรบิ เสิบสาน คุม พรรคพวกทเ่ี ป็นพระภกิ ษุพาลเขา้ ไว้มาก วางแผนชกั นำใหอ้ ชาตศิ ัตรมู กฏุ ราชกมุ าร จดั การปลง พระชนม์พระเจ้าพมิ พสิ าร ผเู้ ปน็ ราชบิดาของพระองคเ์ อง ในขณะท่ีตนกจ็ ะพยายามปลงพระชนมอ์ งคส์ มเด็จพระสมั มาสมั พุทธเจา้ เพื่อครองพระ ภกิ ษุบริษัทเสียเองโดยเริม่ ดว้ ยการจ้างคนแมน่ ธนูให้ไปยิงพระพทุ ธเจ้าแตค่ วามดีของพระพุทธเจา้ ทำใหน้ ายขมังธนยู อมจำนนไมก่ ล้าทำ ตอ่ มาคร้งั ที่สองพระเทวทตั ได้ปลอ่ ยชา้ งหลวงช่ือ “นาฬาคีรี” ซ่งึ กำลังตกมันบ้าคลัง่ ให้ เขา้ ขย้ีพระพุทธเจ้าในเวลาเสด็จออกจากวดั ด้วยพระเมตตาธรรมบารมีแหง่ องค์พระสมั มาสมั - พุทธเจา้ จงึ ทรงสามารถชนะช้างนาฤาครี ไี ดโ้ ดยง่าย ถงึ กับหมอบแต้ยอมสยบราบคาบแทบพระบาท มาครง้ั หนึง่ สมเด็จพระสมั มาสมั พทุ ธเจ้าได้เสด็จเปลีย่ นพระอิรยิ าบถเสดจ็ ข้นึ ประทบั ณ เขาคิชฌกฏู ทีเ่ คยประทับ พระเทวทัตรูก้ ารเปลย่ี นพระอริ ิยาบถของพระพุทธเจา้ แลว้ กค็ มุ พรรค พวกตามขึน้ ไปสยู่ อดเขาคิชฌกฏู หวงั ปลงพระชนมพ์ ระพุทธองค์ จงึ ไปคุมพวกซมุ่ ซ่อนอย่ทู ี่ ประทบั เตรียมกลง้ิ ก้อนหนิ ลงทับพระวรกายพระพุทธเจา้ เวลาเสด็จลงจากยอดเขา พระพทุ ธเจา้ ทรงร้ดู ้วยสพั พัญญูวา่ จะมเี หตุร้าย จึงตรสั สัง่ แก่พระอานนท์ ให้พระภกิ ษทุ ุก รูปเตรยี มตวั เคล่ือนขบวน โดยพระองค์เสดจ็ นำพระเทวทัตไดน้ ำขบวนลา่ สังหารขน้ึ ทีส่ ูง กะใหต้ รง ขบวนของพระพทุ ธเจา้ ๒๒
พอขบวนพระพทุ ธองคเ์ สดจ็ ถงึ หน้า ถ้ำมทั ทกุจฉิ ก้อนหินยักษ์ของคณะพระเทวทัต กเ็ คลอ่ื นหลุดออกจากฐานร่วงลงสเู่ บ้ืองลา่ งกระทบหนิ ผาก้อนใหญ่ขนาดเขาเลก็ ๆแตกเปน็ เสี่ยง ๆ สะเกิดหินกอ้ นหนึง่ กระเดน็ มากระทบพระชงฆ์ของพระพุทธเจ้า เกดิ เปน็ หอ้ เลอื ดขึ้น บรรดาพระภกิ ษพุ ากนั เชญิ เสด็จประทับบนเปล แล้วเชญิ เสด็จใหไ้ ปประทับท่ี ตำบลมทั ทกจุ ฉิ แต่พระพทุ ธเจ้ากลบั โปรดให้นำพระองคไ์ ปยัง วัดชีวกมั พวัน ซงึ่ เปน็ วัดสวน มะม่วงของหมอชวี กโกมารภจั จ์ เมอ่ื เสดจ็ ถงึ แล้วก็ตรัสบัญชาพระอานนท์เถระให้ตามหมอชีวก โกมารภัจจ์ มารกั ษาแผลโลหติ ปุ บาท หมอชีวกรเู้ รือ่ งจงึ รบี มาเฝ้าถวายการพยาบาลทำการผา่ ตัดบาดแผลท่ีพระบาท แลว้ พอกยาสมนุ ไพรเอาผา้ พันเสรจ็ เรยี บร้อย แล้วทูลลาออกไปเย่ียมคนไขน้ อกเมือง กลบั ไม่ทันประตูเมืองปิด ต้องค้างอยนู่ อกเมอื งดว้ ยความกระวนกระวาย เพราะไมไ่ ดแ้ จง้ ใหพ้ ระอานนทท์ ราบเร่อื งการพยาบาล และยาท่ีตนจดั ถวายไวน้ น้ั แรง มาก ถึงขนาดจะก่อใหเ้ กดิ พษิ แกบ่ าดแผล และทำให้ตอ้ งทรงกระวนกระวายเพราะฤทธย์ิ าน้ัน แต่ด้วยพระสพั พญั ญูของพระพุทธเจ้าทรงทราบล่วงหน้าแล้ว เม่ือถึงเวลาแก้ผา้ พันแผลตามทหี่ มอชีวกกำหนด จึงตรัสใหพ้ ระอานนทแ์ กะยาท่ีหมอชวี กพอกไวอ้ อกเสีย เมื่อแผลไดร้ ับการผ่อนคลายก็ลอ่ นแหง้ หายเป็นปกติ ทันทีทฟี่ า้ สางไมท่ นั สวา่ ง ดี ประตูเมืองเปดิ หมอชวี กกร็ บี เขา้ เฝา้ ด้วยความหว่ งใย กราบถวายบังคมวา่ “ข้าพระพทุ ธเจ้าวิตกเดือดร้อน นอนไมห่ ลบั ตลอดคืนเสยี คำมน่ั สัญญาท่ที ูลไว้ ไปรักษาคนไขช้ ้าไปหนอ่ ย กลบั ออกมาประตพู ระนครก็ปดิ เสียแล้ว หมดทางทจี่ ะออกมาเฝา้ เพ่อื แก้ผา้ พนั แผลได้ จึงกลับไปนอนเป็นทกุ ข์เกรงว่าจะเกิดอาการแผลกลายความปวดจักเกิดข้นึ แด่ พระพุทธองค์ เป็นแนน่ อน เป็นอยา่ งไร ? พระเจา้ ข้า ความเร่ารอ้ นได้เกดิ ขน้ึ แด่ฝา่ พระบาทตามท่ี คาดคิดไวบ้ า้ งหรอื ไมพ่ ระเจา้ ขา้ ” เมือ่ หมอชวี กทูลถามดงั วา่ นัน้ แล้ว พระพทุ ธองค์กต็ รสั ตอบธรรมประกาศผลแห่งความ สน้ิ กิเลสวา่ “ความเลา่ ร้อนหรือความเจบ็ นั้นเปน็ ๒ ประการคือ ความเรา่ รอ้ นทางกาย และเร่าร้อนทางใจ ไม่วา่ จะเปน็ ความเลา่ ร้อนทางกายหรอื ความรอ้ นใจ ของเราได้ดับสนทิ ไปแลว้ เม่ือวนั ตรัสรู้ ณ ภายใตโ้ พธ์พิ ฤกษ”์ “ตถาคตดบั ความร้อนทุกชนดิ ได้สนิทแล้ว ต้ังแตว่ นั ตรสั รู้สมั มาสัมโพธิญาณ ณ โคนตน้ โพธ์ิ ผู้ทเ่ี ดนิ มาจนสุดทางแห่งสังสารวัฏ หมดความโศก หลดุ พ้นไมย่ ดึ มัน่ ถือมน่ั สง่ิ ใด ๆ แล้วไม่มีความร้อนหรอกชวี กไม่ว่าร้อนนอก หรือร้อนใน” ๒๓
ตรสั จบก็ทรงยื่นพระบาทข้างท่บี าดเจ็บให้หมอชวี กดู พร้องท้ังตรสั บอกเขาวา่ พระองค์ ไดร้ บั สง่ั ให้พระอานนท์แก้ผ้าพันแผลใหต้ ง้ั แต่เย็นวานน้ีตรงกบั เวลาทเ่ี ขานัง่ คดิ กลมุ้ ใจอยู่ข้าง ประตเู มอื งนน่ั แหละ หมอชีวกมองดูพระบาท เหน็ แผลหายสนิทดีแลว้ รู้สึกปลาบปลมื้ ท่ีไดถ้ วายการรักษา พระบรมศาสดาจนหาย เรือ่ งราวหมอชีวกโกมารภัจจ์ เท่าทเ่ี กบ็ ปะตดิ ปะต่อจากพระไตรปฎิ กและอรรถกถามี เท่าน้ี สังเกตดตู ามประวตั จิ ะเหน็ ได้วา่ ตลอดชวี ติ เขายุ่งอยแู่ ต่กบั การรักษาโรคคนท้งั เมือง จน แทบหาเวลาปฏิบตั ิธรรมไมไ่ ด้ ดว้ ยเหตนุ ้ที ำใหห้ มอชีวกโกมารภัจจ์ ไม่ไดอ้ อกบวชตามความตั้งใจแตด่ ว้ ยความดี และความต้ังใจที่จะสดบั รบั ฟังคำเทศนาสั่งสอนขององคพ์ ระบรมศาสดาและบำเพญ็ บญุ อยูเ่ สมอ หมอชวี กโกมารภจั จจ์ ึงไดบ้ รรลธุ รรม เป็นพระอริยบคุ คลขั้น พระโสดาปตั ตผิ ล เปน็ พระอรยิ ะ ข้ันต้นในพระพุทธศาสนา คุณธรรมความดีที่สรา้ งสมมาตลอดชวี ติ ของการช่วยเหลือคน ทำใหป้ ระชาชนรักใคร่ โดยเฉพาะองค์พระบรมศาสดาทรงโปรดปรานในความเปน็ อจั ริยะของท่านมาก ถงึ กับยกย่องให้ เป็นเอกอคั รมหาบรมจารย์แห่งชมพูทวีป ตรงกันขา้ มความชั่วของพระเทวทัต หลังจากขา่ วอันเลวร้ายโหดเหีย้ ม ในความมวั เมา อำนาจถึงกบั ลอบผลักหนิ เพ่อื ปลงพระชนมพ์ ระพุทธเจา้ ไดล้ ือกระฉ่อนไปทั่วทงั้ ภายในภายนอก แหง่ พระมหานครราชคฤห์ ประชาชนนับแสนโจษกันระเบ็งเซง็ แซว่ ่าพระเทวทัตภกิ ษุบาปตณั หาสมควรขับออกจาก มหานครวา่ แล้วกพ็ รอ้ มใจกนั เดินขบวนไปขบั พระเทวทัตออกจากพระราชอาณาจักร พระเทวทัต เหน็ จวนตัวด้วยคลื่นมหาชน จึงปลอมตวั เล็ดรอดหนีออกจากมหานครไปท่ี คยาสีสะประเทศ ส่วนพระอชาตศิ ัตรมู กฎุ ราชกุมาร ภายหลังทถ่ี กู พระเทวทัตยใุ หป้ ลงพระชนมพ์ ระราช บดิ า กม็ คี วามกลัวคลนื่ มหาชนจะขับไล่ เพราะเสียงเลด็ รอดของคล่นื มหาชนพลเมืองทพ่ี ากัน เดอื ดแคน้ ชงิ ชงั พระเจา้ อชาติศตั รูว่าเป็นกษตั ริย์ถอ่ ยทมิฬใจบาปหยาบช้าไรป้ ญั ญาฆ่าไดแ้ ม้กระ ท่งั พ่อบังเกิดเกลา้ เพราะไปเช่อื ฟงั คนอนื่ ตา่ งพากนั รมุ จะประชาทณั ฑ์ โดยฉดุ ออกจากราชบลั ลังก์ ใหเ้ ปน็ กษตั ริย์นอกราชสมบัติ ทำใหพ้ ระเจา้ อชาตศิ ตั รตู กประหมา่ งนั งกทำอะไรไม่ถูก หวาดหวน่ั ต่อภัยอันใหญ่หลวงคร้ังนี้ จงึ ใหท้ หารเวรไปเชญิ หมอชีวกโกมารภจั จเ์ ขา้ เฝา้ ขอความช่วยเหลือ ๒๔
หมอชวี กโกมารภจั จ์เห็นลทู่ างท่ีจะดึงพระเจา้ อชาตศิ ัตรูเขา้ ทางธรรม จงึ ตรัสเล่า สรรเสริญ ในพระพทุ ธคุณ พระมหากรุณาธคิ ณุ และพระบรสิ ุทธิคุณ ขององคพ์ ระบรมศาสดา ใหฟ้ ังเปน็ นาน เพอื่ สร้างศรทั ธากอ่ นจะทูลใหค้ วามเห็นว่า “ประชาชนพลเมอื งมคธท้ังประเทศ ต่างเคารพนับถือพระพทุ ธองค์ทง้ั ประเทศและทง้ั แควน้ มคธทุกคนต่างยึดองคพ์ ระสมณโคดมเปน็ สรณะทพี่ ึ่งอันยิง่ ใหญ่ ทุกคนตา่ งมีน้ำหนง่ึ ใจ เดียวกนั กท็ พ่ี ระพทุ ธองค์ ถ้าพระองค์รีบเสดจ็ เขาเฝา้ พระพุทธเจ้าเสียโดยเรว็ จะสามารถยบั ย้งั คลื่ นชนเหลา่ นแ้ี ละความอาฆาตแค้นของเขาเหล่าน้ันได้ หากจะมีเหตุการณ์เหลอื อยู่บา้ งก็คอ่ ยคิดจัด การแกไ้ ขกนั ต่อไปในภายหลัง” พระเจ้าอชาตศิ ัตรทู รงพอพระทัย และรับจะปฏบิ ตั ติ ามคำแนะนำ โดยนดั แนะใหห้ มอ ชีวกจัดการเตรียมภาระ ในการเข้าเฝ้าในตอนกลางคืน เพราะเกรงประชาชนจะรมุ ทำร้าย สำหรับชวี ประวัติพระเจ้าอชาตศิ ตั รู มงกุฎราชกมุ ารพระองค์น้ีในเบอ้ื งต้น เปน็ พระ ราชโอรสของพระนางเจา้ เวเทหิยะบรมราชนิ ี พระอคั รมเหสขี องพระเจ้าพมิ พิสาร ในขณะทพี่ ระ นางเจ้าทรงพระครรภ์ ได้สบุ นิ นิมิตรา้ ยนา่ กลวั พระนางทรงเรยี กคณะพระโหราจารยเ์ ข้าเฝ้า พระโหราจารย์ไดท้ ำนายวา่ “พระราชโอรสในพระครรภโ์ ภทร จะเป็นศัตรกู บั พระราชบิดา จกั คิดการปลงพระชนม์ พระราชบิดา” พระนางเจ้าทรงเชือ่ ตาม ทรงคดิ กำจดั เสยี ด้วยการเสวยยาทำลาย แต่ไมส่ ำเร็จตาม ทปี่ รารถนา พระเจ้าพิมพสิ ารทรงทราบเขา้ จงึ ตรสั ใหง้ ด ปลอ่ ยให้เป็นไปแล้วคิดการแกภ้ ายหลงั เม่ือพระราชโอรสประสตู ิออกมาแล้ว จึงพระราชทานนามแกใ้ ห้ว่า “อชาติศัตร”ู แปลว่า เกิดมาไมเ่ ปน็ ศตั รกู ัน ครน้ั พระราชโอรสอชาติศัตรู ทรงเจริญวัยเป็นยุพราช กลับมพี ระอัชฌาสัยคดโกงทรยศ ไม่ซอ่ื ตรงต่อพระเจ้าพมิ พสิ าร ได้คบคดิ กบั พระเทวทัตให้กระทำการแยง่ ราชสมบตั ิ มอี ยคู่ รั้งหนึง่ ไดซ้ ่อนอาวธุ ไวใ้ นพระองค์ เข้าเฝ้าพระราชบดิ าหมายจะปลงพระชนม์ แต่ โดนทหารมหาดเล็กผู้รกั ษาการภายในพระราชวงั ขอประทานพระอนุญาตตรวจคน้ แล้วพบอาวธุ รา้ ย ได้กราบบงั คมทลู ความผดิ ของพระมงกุฎราชกมุ าร ตอ่ พระเจา้ พิมพสิ าร พระองคต์ รสั บญั ชาใหน้ ำคดขี น้ึ สศู่ าลศาลไดต้ ดั สนิ ใหป้ ระหารชวี ติ แตด่ ว้ ยความรกั บตุ ร พระเจ้าพิมพสิ ารจึงพระราชทานอภัยโทษ พรอ้ มกบั พระราชทานอำนาจในการปกครองประเทศให้ โดยจดั การพระราชทานพิธีราชาภเิ ษกให้พระราชโอรสเปน็ พระเจา้ แผน่ ดนิ องคต์ ่อไป ๒๕
ธรรมดาของคนช่วั แม้จะได้ในสง่ิ ท่ตี นตอ้ งการแล้วก็ยงั ไมพ่ อ กลับหวาดระแวงเห็นผดิ เปน็ ชอบ เกรงไปวา่ พระเจ้าพมิ พิสารอาจจะมาแย่งพระราชสมบัติเปน็ พระเจ้าแผ่นดินคนื เพราะขา้ ราชการ ทั้งฝา่ ยทหารและพลเรือนยังจงรกั ภกั ดีอยู่ จำตอ้ งจดั การประหารเสียใหส้ ้นิ คดิ ดังนน้ั แลว้ จงึ มีบญั ชาให้จับพระราชบดิ าขังเสยี โดย ทรมานให้ตายไปทีละนอ้ ย เร่ิมด้วยการให้คนเอามีดบางเฉอื นฝ่าพระบาทจนเนื้อแดงเพอื่ มใิ หท้ ร งเดนิ ได้ และไมใ่ หเ้ สวยพระกระยาหารจนสน้ิ พระชนม์ในทขี่ มุ ขัง นีค่ ือเรื่องราวในอดีตอันสกปรกของพระเจา้ อชาติศตั รู ทีท่ ำให้กรงุ ราชคฤหต์ ้องระส่ำ ระสายบ้านแตกสาแหรกขาด รอ้ นถึงหมอชีวกตอ้ งใชส้ ติปญั ญาเขา้ แก้ไขสถานการณ์ไมใ่ หบ้ า้ น เมอื งลุกเป็นไฟ ยงุ่ ยากมากไปกว่านี้ โดยการแนะนำให้พระเจา้ อชาตศิ ัตรู เขา้ เฝ้าฟังธรรมจาก พระพทุ ธเจ้า ชวี กโกมารภจั จ์ นำ พระเจ้าอชาตศิ ตั รู เข้าเฝา้ พระพุทธเจ้า ในคืนนั้นเอง ชวี กโกมารภัจจ์ เอกอคั รมหาอำมาตย์จงึ จดั การเสดจ็ พระราชดำเนิน โดย จดั ทหารคุ้มกันองคพ์ ระอชาติศตั รูอยา่ งเขม้ แข็ง โดยวางทหาร ๒ ข้างทางเสดจ็ ซ้ายขวา ข้างละ ๗ แถว คดั เลอื กแต่เฉพาะทสี่ นั ทัดในเพลงอาวุธเทา่ นัน้ จดั ใหพ้ ระเจา้ อชาติศตั รทู รงช้างพระทีน่ ั่ง เปน็ ราชพาหนะ มชี ีวกโกมารภจั จ์ เปน็ ผู้นำเสด็จ เมอ่ื เสด็จถงึ หน้าวดั อัมพวนั เกดิ การขลุกขลักกนั ขน้ึ นิดหน่อยดว้ ยความเงียบสงดั ในวดั แมว้ ่ามีพระสงฆ์ในวดั ตง้ั พันรูป พระเจา้ อชาติศตั รทู รงสงสยั ทรงระแวงว่า ชีวกโกมารภัจจจ์ ะคิด การกบฏชิงราชสมบัติ ให้ทรงหวดหวน่ั ไม่กลา้ เสด็จเขา้ ไปในวัด แต่ชวี กมารภจั จ์พยายามทูลแก้ การทรงระแวงภยั น้นั ให้ตกไปได้ พระเจา้ อชาตศิ ัตรจู งึ ทรงยอมเสด็จเข้าไป เม่ือเสดจ็ ถึง ทรงนมสั การพระพทุ ธองค์โดยความเคารพแลว้ พระพุทธองคก์ ็ตรสั ปฏิสณั ถารเพือ่ เปดิ ทางความสนิทคนุ้ เคยกำจัดความกระดากขวยเขินแล้ว พระเจ้าอชาตศิ ตั รู ตรสั ถามพระพทุ ธองคถ์ ึงสามัญผล คือ ผลของความเปน็ สมณะ หรือผลของการบวชว่า “การบวชเป็นสมณะได้ประโยชนอ์ ะไร” ปัญหานี้ส่อใหเ้ ห็นวา่ พระมหากษัตรยิ ผ์ ตู้ รัสถาม เป็นผูท้ ยี่ ังห่างไกลจากพระพุทธศาสนามาก ไม่ได้ประโยชน์อะไรเลยในการท่ีทรงคบค้ากับ พระเทวทตั ความเปน็ สมณะ หรอื เป็นภิกษใุ นพระพุทธศาสนา มไิ ด้หมายความเพียงแต่ครอง ผ้าเหลือง น่งุ เหลอื งห่มเหลืองเทา่ นั้น ตอ้ งมีวตั ตปฏิบตั ิเครือ่ งซกั ฟอก เชด็ ลา้ ง ขดั เกลาจติ ใจ เป็นสำคญั วตั ตปฏิบัตนิ น้ั เรยี กสนั้ ๆ วา่ พระธรรมวนิ ัย หรอื ไตรสกิ ขา ไตรสิกขา คอื ศีล สมาธิ ปญั ญา ๒๖
กลา่ วโดยพสิ ดารกค็ อื “มรรค” ประกอบดว้ ยองค์ ๘ ประการ ตงั้ ใจปฏิบตั ิดว้ ยอาการ ๔ สุปฏิปันโน ปฏิบัตดิ ี อชุ ุปฏิปนั โน ปฏบิ ตั ติ รง ๆ ญายะปฏิปันโน ปฏิบตั ิเพื่อพระนิพพาน, ความสนิ้ กิเลส และทุกขท์ ้งั ปวง สามีจปิ ฏปิ นั โน ปฏบิ ัตินา่ เคารพนับถอื ให้ได้รบั ความเคารพนับถอื จากชมุ ชนไม่ทำคน เปน็ ศัตรู เป็นกลัยาณมติ รของโลกไม่เป็นภัยอันตราย ไมเ่ ปน็ ทน่ี า่ เกลียดกลวั ของประชมุ ชน เชน่ นี้ ความเป็นสมณะจงึ จักเกิดผลดี พดู ย่อ ๆ สัน้ ๆ อีกที กค็ วรจะวา่ พวกสมณะหรอื พวกพระเปน็ พวกบรสิ ุทธ์ิมกั นอ้ ย ๆ พอบรหิ ารชีวิตไปวนั หน่งึ ๆ เทา่ นั้น เป็นมิตรโลก ไม่ใชศ่ ัตรขู องโลก เพราะไมเ่ บียดเบยี นใคร แมส้ ตั ว์เลก็ นอ้ ย สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงผลแห่งความเป็นสมณะในพระพุทธศาสนา เริ่มต้นต้ังแต่ ไดศ้ รัทธาปสาทะความเชือ่ ถอื เลอ่ื มใส และความเคารพนบั ถือจากประชาชนแลว้ อุปถมั ภ์บำรุงด้วยปัจจยั ๔ คือ จีวรบิณฑบาต เสนาสนะ คิลานเภสชั ไดค้ วามสะดวก เยือกเย็น จิตใจบริสทุ ธเิ์ ข้าไปเป็นชัน้ ๆ เปน็ ลำดับ ๆ ตามกำลงั การปฏิบัตทิ ่ีไม่ถอยหลัง เหมือนคนซักฟอกเสื้อผ้าที่เปรอะเปอ้ื นดว้ ยมลทิน อาศัยความเพียรพยายามจนกระทงั่ ถงึ พระอรหตั ตผล จนสำเร็จกิจเปน็ วมิ ตุ ตนิ ิพพานเป็นทีส่ ุดจดั เป็นสามญั ญผลคอื ผลแหง่ ความ เป็นสมณะในพระพุทธศาสนา ทรงแสดงประทานแด่พระเจา้ อชาตศิ ตั รูมหาราชแห่งประชาชาติ มคธ เมื่อพระพทุ ธองค์ทรงแสดงพระธรรมเทศนาสามัญญผลจบลงแลว้ พระเจา้ อชาติศัตรูไม่ ได้ทรงสำเร็จมรรคผลอะไร เป็นแตเ่ พียงเกิดศรทั ธาปสาทะ ทรงเช่อื ถือเลื่อมใสในพระรตั นตรยั และทรงช่ืนชมยนิ ดใี นพระธรรมเทศนาเท่าน้ัน การท่ีไมไ่ ดม้ รรคผลเม่ือจบพระธรรมเทศนาลงน้ัน เข้าใจกันมาวา่ เพราะโทษทที่ รงกระทำปิตฆุ าต ปิดกำบงั เสียเปน็ นวิ รณส์ งิ อยไู่ ม่ร้หู าย จากพระธรรมเทศนาท่ีจบแลว้ ทำใหม้ หาราชอชาติศัตรู ทรงรสู้ กึ สำนกึ พระองคถ์ งึ ปิตุฆ าตทท่ี รงกระทำ อนั เปน็ ความผิดท่ีร้ายแรงใหญห่ ลวง เป็นนิวรณ์ประจำพระหฤทัย คอยกระซิบทั กทว้ งอยู่เสมอไม่ร้หู าย พระองค์ทรงเห็นอุบายวา่ จะตอ้ งเปดิ เผยโทษความผดิ อันร้ายแรงนแ้ี ตพ่ ระพทุ ธองคเ์ สียทเี ห็นจะดี เปน็ วิถที างจะ เบาบางลงไดบ้ ้าง ทรงคิดแล้ว ทรงเปลีย่ นพระอิรยิ าบถประทับทรงนั่งกระโหย่งพระบาทประนมพ ระหตั ถถ์ วายบังคม ทูลขอ “อจั จโยโทษ” ตอ่ องค์สมเดจ็ พระสมั มาสัมพทุ ธเจา้ วา่ ๒๗
“อจั จโย มัง ภันเต อัจจคมา ยถาพลงั ยถามฬู หัง ยถาอกุสลัง โยหัง ภนั เต ปติ รัง ธัมมกิ ัง ธมั มราชานัง อัสสริ ยัสสะ การณา ชีวตี า โวโรเปสิ ตสั สะ เม ภนั เต ภควา อัจจยงั อัจจยโต ปฏคิ คณั หาตุ อายติง สังวรายะ” ดงั น้ี แปลวา่ “พระเจ้าข้า โทษทบั ถมขา้ พระพทุ ธเจ้า โดยอำนาจความหลงไมร่ ผู้ ิดชอบ โดยอำนาจอกศุ ลจติ คดิ การผดิ ธรรม พระเจา้ ขา้ ขา้ พระพทุ ธเจา้ ใชใ้ ห้คนปลงพระชนมพ์ ระรา ชบิดา ผมู้ พี ระทยั เป็นธรรมครองราชสมบตั เิ ป็นธรรม เพ่ือราชสมบตั ิ พระพุทธองคจ์ งทรงพระ กรณุ าโปรดรบั โทษของขา้ พระพุทธเจา้ ให้ขา้ พระพุทธเจา้ พ้นโทษ ข้าพระพทุ ธเจ้าจะตั้งใจระมดั ระวงั ไม่ทำความช่วั อย่างใด ๆ ต่อไป” เม่ือพระมหากษัตรยิ อ์ ชาตศิ ตั รู ทลู ขอประทานอัจจโยโทษจบลง สมเด็จพระสัมมาสมั พุทธเจ้าทรงรับฟงั การขอประทานอัจจโยโทษน้ัน ด้วยพระวาจาว่า “มหาบพิตรใหค้ นปลงพระชนม์ พระราชบดิ า ผ้มู พี ระทยั เปน็ ธรรม เพื่อราชสมบตั เิ ปน็ ความผดิ ย่างรา้ ยแรง มีโทษใหญ่หลวง ทรงรสู้ กึ สำนกึ พระองค์แล้ว ทรงแสดงเปดิ เผย ซง่ึ ความผดิ นนั้ ไมป่ ิดบัง เป็นวิถที างระเบยี บอย่าง ที่ดใี นธรรมวินยั ศาสนาของเรา มหาบพิตร จงตง้ั พระทยั ระมดั ระวัง อย่าทรงกระทำกรรมใด ๆ ซึ่งเปน็ ความช่ัวเชน่ นัน้ ต่อไปอกี ” เมื่อพระเจา้ อชาติศตั รมู หาราช ทรงแสดงพระองค์เป็นพุทธมามกะจนตลอดพระชนม์ ชีพแล้ว กถ็ วายบงั คมลาพระพทุ ธองค์ เสด็จกลับเข้าพระราชนิเวศน์วงั หลวง พรอ้ มด้วยอำมาตย์ ราชบรพิ ารโดยพระเกยี รติยศอนั ใหญ่ยิ่ง ปลอดภยั เป็นสวัสดภิ าพฯ ประชาชนพลเมืองทพ่ี ากนั เคยี ดแคน้ เกลียดชงั ตอ่ องคพ์ ระมหากษัตริยอ์ ชาตศิ ตั รมู หา ราช คดิ คุมกำลงั ก่อการจลาจลลุกฮือขน้ึ ล้มราชบลั ลังก์นัน้ ก็สงบเงียบไปในที่สุด เพราะการเสดจ็ เขา้ เฝา้ พระพทุ ธองค์ขอประทานอจั จโยโทษ และแสดงพระองค์เปน็ พุทธมามกะของพระเจ้าอชาติ ศัตรูนัน้ มหาชนชาวพระนครราชคฤหไ์ ด้ทราบทั่วถงึ กนั นบั ว่าเหตุการณ์ อนั ร้ายแรง นา่ หวาดเสยี วสงบกันลงได้ เพราะอาศัยอุบายของชวี ก โกมารภจั จ์ เอกอัครมหาอำมาตยผ์ เู้ ดียว ทีช่ ักนำพระเจ้าอชาติศตั รูเสด็จเข้าเฝา้ สมเด็จพระสมั มา สมั พทุ ธเจา้ ได้ ชวี กโกมารภัจจไ์ ม่ใชจ่ ะมีเกยี รตคิ ณุ ดแี ตเ่ ฉพาะเปน็ แพทย์หมออยา่ งเดียวเทา่ น้นั ยอ่ มมเี กียรตคิ ณุ ดใี นทางราชการแผ่นดินอีกดว้ ยนานาประการ ดงั ที่ยกมาวา่ นี้ ฯ ๒๘
หมอชีวกโกมารภัจจ์ทลู ขอไม่ใหบ้ วชคนมีโรคตดิ ตอ่ ในยุคหนึ่ง ไดเ้ กิดโรคสกปรก โรครา้ ยแรง โรคติดต่อข้นึ ในพระมหานครราชคฤห์ ไดร้ ะบาดไปท่ัวกรุง ตลอดถงึ จงั หวัดทีใ่ กล้เคียง โรคติดตอ่ นัน้ ระบวุ ่า “กฏุ ฐงั ขเ้ี ร้อื น, คัณโฑ ฝี หรอื ฝีดาษ, กลิ าโส ข้ีกลาก, โสโส ไข้มองครอ่ , อปมาโร ลมบ้าหมู ชักเปน็ คราวๆ (การแปลชอ่ื โรคจากภาษามคธออกเป็นภาษาไทยนีค้ วามหมายในครั้งน้ี จะให้ตรงตาม ความหมายในคร้ังนน้ั ได้ยาก เพราะเปน็ กาลนานไกลประมาณสองพนั ปเี ศษ ถอื เอาแตใ่ จความว่า โรคผวิ หนัง โรคร้ายแรง ทตี่ ิดต่อไดก้ ็แล้วกัน) รวมเป็นโรค ๕ อย่างดงั ว่าน้นั ) เม่ือโรค ๕ ประการนี้ระบาดมากข้นึ ชวี กโกมารภจั จ์ก็ปอ้ งกันและบำบัดรกั ษามาก หนกั ไปใน ๒ ดา้ น คอื ด้านหนึง่ ภายในราชสำนกั อีกดา้ นหนึ่งเป็นฝ่ายพระภกิ ษสุ งฆ์ แต่ฝ่ายดา้ น ประชาชนนัน้ ย่อหยอ่ นไป เพราะคนเจ็บป่วยภายในพระราชสำนักก็ดี พระภกิ ษุสงฆเ์ จ็บป่วยในค ณะสงฆ์ก็ดี เป็นความรับผดิ ชอบของชีวกโกมารภจั จโ์ ดยตรง จะยอ่ หยอ่ นไมไ่ ด้ ถึงแม้ว่าด้านประชาชนมีผลประโยชน์แก่เขามากด้วยค่าจ้างรักษาก็จริงอยู่ แต่กจ็ ำเป็นต้องยอ่ หยอ่ น เพราะจะเสียความสตั ย์ เปน็ คนเห็นแกล่ าภไป สว่ นเมตตา กรณุ าทจี่ ะ ให้คนหายปว่ ยเจบ็ น้ันเปน็ ธรรมประจำสันดานของชวี กโกมารภจั จ์อยู่ แต่จะทำให้สมบูรณ์ไดย้ าก เพราะเหลือบา่ กวา่ แรง ประชาชนเลา่ สว่ นมากยอ่ มไว้วาง ใจเช่ือถือความสามารถของนายแพทย์ ชีวกโกมารภจั จค์ นเดียวแพทย์หมออ่ืน ๆ แม้มีอยู่มาก ก็ไมม่ ใี ครนิยมชมชอบ ฯ อาศยั เหตุดงั ว่ามานน้ั คฤหัสถ์บางคนที่เปน็ โรคอย่างใดอย่างหนึง่ ใน ๕ ประการน้นั กเ็ กดิ คดิ อตุ ริขน้ึ เข้าบวชเป็นพระภกิ ษใุ นพระพทุ ธศาสนา เพ่ือจะได้รับการบำบัดรักษาจากนาย แพทย์ ชีวกโกมารภัจจ์ ไดค้ วามสะดวกดี เมื่อได้รับการบำบัดรักษาจากชีวกโกมารภจั จส์ มความ ปรารถนาแลว้ โรคหายเปน็ ปกตดิ ีแลว้ กล็ าสิกขาสึกออกมาเสยี เพราะจดุ ประสงค์ในการบวชต้อง การเพียงเท่านนั้ เม่อื คนหน่ึงทำได้ มีผลดี คนอน่ื ๆ ทเ่ี ป็นโรคเช่นน้นั ก็เอาอย่าง เขา้ บวชบา้ ง พระภกิ ษุ ทเ่ี ป็นโรคติดต่อดังวา่ นัน้ กย็ ิง่ มีจำนวนมากสงู ขึ้นทกุ วนั ในหมู่สงฆ์ ทำใหต้ ดิ ตอ่ กันขนึ้ ลามปามเลอ ะเทอะไปหมดในคณะสงฆ์ ชีวกโกมารภจั จ์จบั ได้ โดยสงั เกตเห็นคนบวชเปน็ ภกิ ษกุ นั มาก และสกึ มาก บวชมาก แต่สกึ เรว็ เกดิ ความสงสยั วนั หน่ึงชีวกโกมารภจั จจ์ บั มือนายทิดทีส่ ึกใหมค่ นหนึ่งถาม ความประสงค์ในการบวชว่า บวชเพ่อื อะไรจงึ สึกเร็ว ๒๙
นายทิดคนนั้นก็ตอบชีแ้ จงใหฟ้ ังแจ่มแจง้ ชดั เจน ไดค้ วามว่า บวชเพอื่ ได้รบั การรักษา โรคเทา่ น้ัน โรคหายแลว้ ก็ต้องสกึ จะบวชอยู่ทำอะไร เปน็ อย่างนี้กันทัง้ น้ัน ชีวกโกมารภจั จ์ทราบเร่ืองแล้ว รอ้ งวา่ “อุบะ๊ เลน่ แบบน้ีแย่สิวะกู คณะสงฆ์ก็งอมแงมเปน็ แมวตกน้ี ต้องวิกปั เรอ่ื งน้ไี วใ้ นใจกอ่ น” เมื่อไดโ้ อกาสเวลาเหมาะชวี กโกมารภัจจเ์ ข้าเฝา้ สมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทลู เลา่ เหตกุ ารณ์ทค่ี นมโี รคตดิ ต่อประการใดประการหนึง่ ใน ๕ ประการนัน้ เข้ามาบวชในพระพุทธศาสนา ดงั ที่ไดส้ อบสวนมาแลว้ ใหท้ รงทราบ และทลู ถวายความเห็นว่า “ควรทีฝ่ า่ พระบาททรง วางบทบัญญตั หิ า้ มเสีย ไมใ่ หส้ งฆ์บวชคนมีโรคเช่นนนั้ ขา้ พระพทุ ธเจ้าต้งั ใจมาจะทลู ขอไม่ให้บวช คนเชน่ นัน้ ขอจงทรงพระกรณุ าโปรดประทานแกข่ า้ พระพุทธเจ้าเถิดพระเจ้าข้า” พระพทุ ธองคต์ รสั ว่า “ชอบแล้ว เราจกั ห้ามตามความประสงค์ของทา่ นเป็นความเสีย หายในหมู่สงฆม์ าก จริงอย่างว่า” เมอ่ื ชีวกโกมารภัจจ์ถวายบังคมลากลับแลว้ สมเด็จพระสมั มาสัมพทุ ธเจา้ ตรสั บัญชา ให้ประชุมพระภกิ ษสุ งฆ์ แล้วเสดจ็ เขา้ ประทับในทีช่ ุมนุมสงฆ์ ทรงแสดงโทษคนที่มีโรคติดตอ่ ๕ ประการ แม้ประการใดประการหนงึ่ เข้ามาบวชเปน็ พระภิกษใุ นพระศาสนาพากันลามปามติดตอ่ เลอะเทอะ แลว้ ทรงวางบทบัญญตั หิ ้ามเดด็ ขาด ขัดตอ่ ความเปน็ ภิกษุ ไมใ่ ห้สงฆ์ หรอื ภิกษรุ ูปใดรปู หนงึ่ รบั บวชเขา้ ไว้อีก ตงั้ แต่วันน้นั เปน็ ตน้ ไป ถ้าผู้ใดฝ่าฝืนจดั วา่ มโี ทษเปน็ อาบตั ิตามพระพทุ ธบญั ญัตนิ ้นั นับได้ว่าหมอชีวก โกมารภจั จ์เปน็ อัจฉริยะบคุ คลท่ีมคี ่าควรแกก่ ารสรรเสรญิ ในการสรา้ งสรรสง่ิ ดงี ามใหก้ ับ พระพุทธศาสนา. ๓๐
ปจั ฉมิ กาลแห่งชีวิตของท่านชีวกโกมารภจั จ์ หลังจากท่ีพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ไดท้ รงประชวรและเสดจ็ เขา้ สพู่ ระปรนิ พิ พานแลว้ ท่านหมอชีวกโกมารภัจจ์ ได้ไปอย่ทู ีใ่ ด..ทำอะไรทไ่ี หน.. และได้สิน้ อายขุ ยั ลงเมอ่ื ใดไมม่ ผี ้ใู ดล่วง ร้ไู ด้ ? แต่ทัง้ หมดนค้ี อื แบบอยา่ งอนั ดขี องบรมครแู พทย์ ผู้ทง้ั ทรงคุณท้ังวชิ าและการปฏบิ ตั ิ ตนเปน็ แบบอยา่ งอันดเี ป็นศลิ านปุ ฏั ฐานขององคบ์ รมจอมไตร สัมมาสัมพุทธโธผูซ้ ึง่ มคี วาม ปรารถนาอนั แรงกลา้ คอื ปรารถนาตนมาเพือ่ รกั ษาพระพุทธเจา้ ทงั้ ๕ พระองค์ ในภทั รกปั นี้ ซ่ึงภัทรกปั น้กี ็ยงั จะมพี ระพทุ ธเจ้ามาตรสั รู้ นำธรรมมาสอนโลกอกี หนงึ่ พระองค์ คอื พระศรอี รยิ เมตไตร หมอชีวกกจ็ ะมาเกิดเป็น ศิลานุปฐั ากพระพทุ ธเจ้าศรีอริยเมตไตร อีกพระองคห์ น่งึ ซง่ึ ไดร้ ับการพยากรณแ์ ล้วจากพระพทุ ธเจ้าทัง้ หลาย โดยนยั ท่สี ดุ แหง่ การเกิด นั้นก็จะตรัสรู้ตามพระพุทธเจา้ ศรีอรยิ เมตไตร หมดจดจากกิเลส และเคร่อื งเศรา้ หมองทหั้ ลาย ในอนาคต น่คี ือประวัติแบบอยา่ ง และปฏปิ ทาอันงดงามของบรม ครแู พทยท์ เ่ี ราท่านท้ังหลาย ควรยดึ ถอื เป็นแบบอย่าง แหง่ ความดีงามเพ่ือให้ไดม้ าซงึ่ วัตถปุ ระสงคค์ อื ความสำเร็จตามเจตนา ฉะน้ี จบภาคบรรยายประวตั หิ มอชวี กโกมารภัจจ์ เพยี งน้ี ๓๑
ความรู้เบื้องตน้ ของแพทยแ์ ผนโบราณ (กจิ ๔ ประการ) ………………………………………………………… บุคคลทีป่ รารถนาจะศกึ ษาหาความรู้ความชำนาญในดา้ นการดูแลตนเอง การรักษาโรค การสง่ เสริมสขุ ภาพ และการปอ้ งกันโรคนั้น สทิ ธกิ ารยิ ะทา่ นว่า กลุ บุตรผมู้ ีความปรารถนาหาคุณสมบตั สิ ำหรบั ตวั หรอื ผ้ทู ่ีมคี วามปรารถนา จะเปน็ หมอ นน้ั จะตอ้ งเปน็ ผู้มคี วามรูค้ วามชำนาญ ในการแก้ไข สิ่งท่ีเกดิ ขึ้น คำว่า หมอ นนั้ ย่อมเรยี กกนั โดยมาก แตต่ า่ งกันโดยคณุ ความดีของบคุ คล คือ ผทู้ ีช่ ำนาญในการรกั ษา โรค ภยั ไขเ้ จ็บไดก้ เ็ รียกวา่ หมอยา ผูท้ ีเ่ ข้าใจในวิธีนวดก็เรียกว่า หมอนวด ผ้ทู ช่ี ำนาญในการทรมาน ชา้ ง ก็เรียกวา่ หมอช้างหรอื ควาญช้าง สุดแต่ผูช้ ำนาญในวธิ ใี ด กค็ งเรยี กกนั ว่า หมอ ตามวิธีน้นั ๆ หมอยาซงึ่ ชำนาญในการรกั ษา โรคภยั ไขเ้ จ็บด้วยวธิ ใี ช้ยาอย่างเดยี วจะใช้คำวา่ หมอ เทา่ นั้น หมอท่ีจะกลา่ วต่อไปนี้ มาจากคำว่า เวช แผลงมาเป็น แพทย์ แปลออกเป็นคำไทยวา่ หมอ หมอทีจ่ ะเปน็ ผรู้ ู้ ผชู้ ำนาญ ในการรกั ษาโรคได้นน้ั จะตอ้ งรกู้ จิ ๔ ประการในเบื้องตน้ เสยี ก่อนการท่ีจะศกึ ษาให้รอบร้โู ดยถอ่ งแท้น้นั กย็ ่อมเปน็ การยาก เพราะมีมากมายหลายประเภท และแตกตา่ งโดยกาลประเทศคตนิ ิยมกเ็ ปน็ อเนกนัย แต่ควรศกึ ษาให้เข้าใจไวเ้ ปน็ กะทูใ้ น เบื้องตน้ กอ่ น พอใหก้ ุลบตุ รได้ศกึ ษา เป็นวชิ าความร้ใู นเบอ้ื งต้น แลว้ จงึ คิดค้นศกึ ษาหาความรู้ ต่อไปในภายภาคหนา้ ในวิชาเบอื้ งต้นนีใ้ ห้ช่อื ว่า “ เวชศึกษา “ กลา่ วดว้ ยกจิ ของหมอ ๔ ประการ ซึง่ สามารถ จำแนก เป็น หมวด และอธิบายรายละเอียด ได้ดังน้ี คือ ๑. รู้จักท่ีต้ังแรกเกดิ ของโรค ท่ตี ัง้ แรกเกดิ ของโรคนัน้ ไดแ้ ก่สมุฎฐาน สมฎุ ฐาน แปลวา่ ท่ตี ัง้ ทแี่ รกเกดิ ของโรคภยั ไข้เจบ็ จะบังเกิดข้นึ ก็ เพราะสมฎุ ฐานเปน็ ท่ตี ้งั สมุฎฐานจำแนกออกเปน็ ๔ ประการ คือ ๑.๑ ธาตสุ มุฎฐาน ๑.๒ อตุ สุ มฎุ ฐาน ๑.๓ อายสุ มุฎฐาน ๑.๔ กาลสมฎุ ฐาน ๓๒
๑.๑ ธาตุสมุฎฐาน แปลว่า ที่ตงั้ ของธาตุ แบง่ ธาตอุ อกเป็น ๔ กอง คือ ๑.๑.๑ ปถวสี มุ ฎุ ฐาน - ธาตดุ นิ เป็นทีต่ ง้ั จำแนกเป็น ๒๐ อย่าง ๑.๑.๒ อาโปสมฎุ ฐาน - ธาตุน้ำเป็นทต่ี ้งั จำแนกเปน็ ๑๒ อย่าง ๑.๑.๓ วาโยสมฎุ ฐาน - ธาตุลมเปน็ ท่ีตัง้ จำแนกเปน็ ๖ อยา่ ง ๑.๑.๔ เตโชสมุฎฐาน - ธาตไุ ฟเป็นทตี่ ั้ง จำแนกเป็น ๔ อย่าง จึงรวมเปน็ ธาตุสมุฎฐาน ๔๒ อยา่ ง หรือจะเรยี กธาตสุ มุฎฐาน ท้ัง ๔ วา่ ธาตดุ ิน ธาตุน้ำ ธาตุลม ธาตุไฟ ก็ได้ ท่านจำแนก ไวโ้ ดยละเอยี ดดงั น้ี ปถวธี าตุ ๒๐ อย่าง คอื ๑. เกศา คือผม ที่เปน็ เส้นงอกอย่บู นศีรษะ ๒. โลมา คอื ขน เปน็ เส้นงอกอย่ทู ั่วร่างกาย เช่นขนคิว้ หนวด เครา และขนอ่อนตามตัว เป็นตน้ ๓. นะขา คอื เลบ็ ที่งอกอยตู่ ามปลายนว้ิ มอื และปลายนว้ิ เทา้ ๔. ทนั ตา คอื ฟนั ฟัน ๑ อย่าง เขี้ยวอยา่ ง ๑ กรามอยา่ ง ๑ รวมเรยี กว่าฟนั เปน็ ฟันนำ้ นม ผลัดหน่ึงมี ๒๐ ซ่ี เป็นฟันแก่ผลัด ๑ มี ๓๒ ซี่ ๕. ตะโจ คือหนงั ตามตำราเข้าใจว่าหมายถึง ที่หุม้ กายภายนอก ซง่ึ มี ๓ ช้ัน คือ หนงั หนา หนงั ชัน้ กลาง หนงั กำพร้า แตท่ จี่ รงิ หนังในปาก เป็นหนงั เปยี กอกี ชนิด หนึง่ ควรนบั เขา้ ดว้ ย ๖. มงั สัง คือเน้อื ทีเ่ ปน็ กลา้ มและเปน็ แผน่ ในกาย ๗. นะหารู คอื เส้นและเอ็นในกายทั่วไป ๘. อฎั ฐิ คือกระดกู กระดกู อ่อน อย่าง ๑ กระดูกแขง็ อย่าง ๑ ๙. อัฏฐมิ ญิ ชัง คอื เยือ่ ในกระดกู แต่ทีจ่ ริงควรเรียกวา่ ไข เพราะเปน็ นำ้ มันส่วนเย่อื น้ันมีหมุ้ อยุ่นอกกระดูก ๑๐. วกั กัง คอื มา้ ม ต้งั อยู่ข้างกระเพาะอาหาร ๑๑. หะทะยัง คือ หัวในอย่ใู นทรวงอก หนา้ ที่สูบฉีดโลหติ ไปเลี้ยงทว่ั กาย ๑๒. ยะกะนัง คอื ตับ ตับอ่อนอย่างหนึ่ง และตับแก่อย่าง ๑ ซ่ึงอยู่ชายโครงดา้ นขวา ๑๓. กิโลมะกัง คอื ผงั ผดื เป็นเนือ้ ยดื หดได้ มอี ย่ทู ัว่ รา่ งกาย ๑๔. ปิหะกัง คอื ไต มอี ยู่ ๒ ไต ติดกระดูกสันหลังบริเวณบ้ันเอวขวาและซ้าย สำหรบั ขับปสั สาวะ ๑๕. ปัปผาสัง คอื ปอด มีอยใู่ นทรวงอกขวาและซา้ ย สำหรับหายใจ ๑๖. อันตงั คอื ลำไส้ใหญ่ เข้าใจว่านับทัง้ ๒ ตอนๆบนรวมกระเพาะอาหาร เข้าด้วยกนั ตอนลา่ งที่ตอ่ จากลำไสไ้ ปหาทวารหนกั อกี ตอนหนง่ึ ๓๓
๑๗. อนั ตะคุณงั คือลำไสน้ ้อย ลำไส้เล็กทีข่ ดต่อจากกระเพาะอาหารไปตอ่ กับไส้ใหญต่ อนลา่ ง ๑๘. อทุ ะรยี ัง คืออาหารใหม่ อาหารท่อี ยู่เพียงลำไสใ้ หญต่ อนบน(ในกระเพาะอาหาร)และในส่วน ลำไสเ้ ล็ก ๑๙. กะรสี งั คืออาหารเก่ากากอาหารทีต่ กจากลำไส้เลก็ มาอย่ใู นลำไส้ใหญต่ อนล่าง และตกไป ทวาร หนัก ๒๐. มัตถะเก มตั ถะลุงคงั คอื มนั สมอง เปน็ ก้อนอยู่ในศรี ษะ ตอ่ เนอ่ื งลามตลอดกระดกู สนั หลัง ตดิ กบั เสน้ ประสาททัว่ ไป อาโปธาตุ ๑๒ อย่าง คอื ๑. ปติ ตงั น้ำดี แยกเปน็ ๒ อยา่ ง มพี ัทธะปติ ตัง ( น้ำดีในฝกั ) และอพัทธะปติ ตะ( น้ำดนี อกฝกั ท่ีตกในลำไส้) ๒. เสมหงั น้ำเสลด แยกเป็น ๓ คอื ศอเสมหะในลำคอ อรุ ะเสมหะในหลอดลม คูถเสมหะ ที่ออกจากทางอุจจาระ ๓ ปพุ โพ หนอง ที่ออกตามแผลตา่ งๆ เกดิ ขึน้ เพราะมีเหตชุ ้ำชอก และเป็นแผล เปน็ ตน้ ๔. โลหติ ัง เลือด โลหติ แดงอยา่ งหนง่ึ โลหติ ดำอยา่ งหนึ่ง ๕. เสโท เหงื่อ นำ้ เหง่ือทีต่ ามกายทว่ั ไป ๖. เมโท มนั ข้น เปน็ เน้ือมนั สขี าว ออกเหลือง อ่อนมใี นร่างกายทว่ั ไป ๗. อัสสุ น้ำตา นำ้ ใสๆ ท่ีออกจากตาทง้ั สองข้าง ๘. วะสา มนั เหลว หยดน้ำมัน และนำ้ เหลืองในร่างกายทวั่ ไป ๙. เขโฬ น้ำลาย นำ้ ลายในปาก ๑๐. สิงฆานิกา น้ำมูก เปน็ นำ้ ใสๆ ทอ่ี อกทางจมกู ๑๑. ละสกิ า ไขขอ้ นำ้ มนั ทอ่ี ยู่ในข้อทั่วๆไป ๑๒. มุตตงั นำ้ ปัสสาวะ น้ำที่ออกมาจากกระเพาะปสั สาวะ ๓๔
วาโยธาตุ ๖ อยา่ ง ๑. อุทธังคะมาวาตา คือลมสำหรับพัดขึน้ ตั้งแต่ปลายเทา้ ตลอดศีรษะ หรอื ตง้ั แตก่ ระเพาะ อาหารถึงลำคอ ไดแ้ ก่ เรอ ๒. อโุ ธคมาวาตา คือลมสำหรบั พัดตัง้ แตศ่ รษี ะตลอดถึงปลายเท้า หรือตั้งแตล่ ำไสน้ ้อยถึง ทวารหนกั ได้แก่ผายลม ๓. กจุ ฉิสยาวาตา คอื ลมสำหรบั พัดอยู่ในท้องแตน่ อกลำไส้ ๔. โกฎฐาสยาวาตา คือลำมสำหรับพัดในลำไสแ้ ละในกระเพาะอาหาร ๕. องั คมังคานสุ ารีวาตา คือลมสำหรบั พดั ท่วั ร่างกาย ( ปัจจบุ นั เรยี กโลหิต) เตโชธาตุ ๔ อยา่ ง คอื ๑. สนั ตัปปัคคี คอื ไฟสำหรับอนุ่ กาย ซงึ่ ทำให้ตวั เราอนุ่ เป็นปกตอิ ยู่ ๒. ปรทิ ัยหคั คี คอื ไฟสำหรบั ร้อนระสำ่ ระสาย ซ่ึงทำให้เราต้องอาบนำ้ และพดั วี ๓. ชิระณคั คี คือไฟสำหรับเผาให้แก่คร่ำคร่า ซงึ่ ทำใหร้ ่างกายเราเห่ยี วแหง้ ทรุดโทรม ทพุ พลภาพ ๔. ปรณิ ามคั คี คอื ไฟสำหรับย่อยอาหาร ซงึ่ ทำใหอ้ าหารที่เรากลนื ลงไปนน้ั แหลกละเอียดไป ธาตดุ นิ ๒๐ อย่าง ธาตุน้ำ ๑๒ อย่าง ธาตุลม ๖ อยา่ ง ธาตุไฟ ๔ อย่างเป็นทีต่ ั้ง ทเี่ กดิ ของโรค เพราะธาตุทง้ั ๔ พิการไป มนุษยจ์ งึ มีความเจ็บไข้ไปแต่ละอย่างๆ ท่านได้อธบิ าย ในคมั ภีร์ธาตวุ ภิ งั ค์และคมั ภีร์โรคนทิ าน นอกจากนกี้ ารรู้จักทตี่ งั้ ที่เกิดแหง่ โรคตามอาการ ของธาตทุ ง้ั ๔ กบั ตวั ยาสำหรบั แก้โรค ยงั มีแจ้งอย่ใู นคมั ภรี ์โรคนทิ าน จงึ กล่าวแตช่ ื่อธาตุทัง้ ๔ ไว้ พอสังเขปเท่านั้น อน่งึ ธาตุ ๔๒ อยา่ ง ท่เี ปน็ หัวหน้ามกั จะพิการบอ่ ยๆ ไมค่ ่อยจะเว้นตวั ตน ยอ่ ธาตุ ๔๒ อยา่ ง เป็นสมฎุ ฐานธาตุ ๓ กองดังนี้ ๑. ปติ ตะสมฎุ ฐานาอาพาธา อาพาธดว้ ยดี ๒. เสมหะสมฎุ ฐานาอาพาธา อาพาธดว้ ยเสลด ๓. วาตะสมุฎฐานาอาพาธา อาพาธด้วยลม ๓๕
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293