12 34 ภำพที ่ 1 โคโลนขี องเชอ้ื รา Colletotrichum gloeosporioides บนอาหารพดี เี อ (PDA) ภำพท ่ี 2-3 ลักษณะโคนดิ ิโอฟอร์ (conidiophores) และโคนิเดยี (conidia) ภำพท ่ี 4 ลักษณะโคนิเดีย ภำพท่ี 5-6 ลกั ษณะอาการของโรคแอนแทรคโนส 5 6 53 โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
การแพร่ระบาด เช้ือแพร่ระบาดไปได้ดีโดยลม นา้ำ ฝน เคร่อื งมือ ถ้าวสั ดหุ ่อผลเปียกช้ืนและ มีนำ้าขังทำาให้เช้ือเกิดการลุกลามได้เร็ว เชื้อราสามารถอยู่ข้ามฤดูในเศษซากพืชในดิน สภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสม โรคเกดิ ในชว่ งทม่ี คี วามชน้ื สงู อณุ หภมู ิ 24-29 องศาเซลเซยี ส หรอื ระยะทมี่ ฝี นตกหรือหมอกลงจดั ติดต่อกันหลายวัน การควบคุมโรค 1. การตัดแต่งกง่ิ ให้โปร่ง และหลีกเล่ียงการให้นำา้ กบั พุ่มต้นจะช่วยลดการ แพร่ระบาดของเช้อื ได้ เกบ็ ต้นหรอื ใบท่เี ป็นโรคออกทำาลาย 2. ฉีดพ่นด้วยแมนโคเซบ (mancozeb) สลับกับคาร์เบนดาซิม (carbendazim) หรอื อะซอกซีส่ ะโตรบนิ (azoxystrobin) 54 โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
ÁТÒÁËÇÒ¹ (Sweet Tamarind)ะขามหวาน อยู่ในวงศ์ Leguminosae ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Tamarindus มindica L. เปน็ พชื เศรษฐกจิ ชนดิ หนงึ่ การเกบ็ รกั ษามะขามหวานประสบ ปัญหาหลายประการ การเกิดเชื้อราในฝักมะขามหวานนับเป็นปัญหาสำาคัญ อย่างหนงึ่ เพราะเมอ่ื มะขามหวานมเี ชอื้ ราเข้าทาำ ลายในฝักเพยี งเลก็ น้อย จะไม่ สามารถแยกฝกั มะขามทมี่ เี ชอ้ื รากบั ฝกั ดไี ด ้ มะขามหวานพนั ธป์ุ ระกายทองพบ เชอ้ื รามากที่สุด รองลงมาคอื พันธ์ุอนิ ทผาลมั และพนั ธ์ุศรชี มพู ลกั ษณะของ พันธุ์มะขามหวานที่เกิดเชื้อรามากคือ มีน้ำาตาลสูง เปลือกบางเนื้อหนา และ ความช้ืนในฝักสูง ส่วนสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมคือ ฝนตกชุก ตกติดต่อ กนั หลายวนั มีน้ำาค้างมาก ความชื้นสงู ต้นมที รงพุ่มแน่นทบึ ต้นไม่สมบรู ณ์ เชอ้ื ราสาเหตโุ รคฝกั เนา่ ทสี่ าำ คญั คอื เชอื้ รา Phomopsis sp. สามารถเขา้ ทาำ ลาย ต้ังแต่ระยะดอก หลังจากดอกบาน เชอื้ ราเจรญิ ในฝักอ่อน พกั ค้างในฝัก และ แสดงอาการของโรคเมื่อฝักแก่และสุก 55 โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
â佘¡à¹‹Ò (Pod Rot) เช้ือราสาเหตุ Phomopsis sp. ลักɳะ·างสั³°านวÔ·ยา ลักษณะโคโลนี (colony) ของเช้ือราบนอาหารพีดีเอ (potato dextrose agar, PDA) เส้นใยหยาบสขี าวถึงขาวเทา เชอื้ ราสรา้ งฟรตุ ตงิ้ บอด ี (fruiting body) แบบพคิ นเิ ดยี (pycnidia) ลกั ษณะ กลม ผนงั หนา สนี าำ้ ตาลถึงนาำ้ ตาลดำา อาจเกดิ หลายพคิ นิเดียรวมกัน หรอื เกดิ เดยี่ วๆ ก็ได้ มีปากเปิด (ostiole) ภายในพิคนิเดียสร้างโคนดิ ิโอฟอร์ (conidiophores) สีอ่อน แตกแขนง มผี นงั กัน้ ให้กำาเนดิ โคนเิ ดยี (conidia) เชอื้ ราสรา้ งโคนเิ ดยี 2 แบบ คอื อลั ฟา โคนเิ ดยี (alpha conidia) มเี ซลลเ์ ดยี ว สีใส (hyaline) รูปไข่ (ovoid) จนถึง รปู ทรงกระสวย (fusoid) และเบต้า โคนเิ ดยี (beta conidia) มีสีใส เซลล์เดียว รูปร่างเรียวยาว (fi ) ส่วนปลายโค้งงอ เลก็ น้อย ลักɳะอาการ¢องโรค อาการเริม่ แรกฝักมะขามเป็นจดุ ด่างดาำ หรอื สนี า้ำ ตาลเข้ม เปลอื กบรเิ วณท่ีเช้ือ เข้าทำาลายอ่อนน่ิม เน้ือภายในฝักมะขามเปลี่ยนเป็นสีน้ำาตาลเข้มจนถึงสีดำา ฝักแห้ง และพบเชือ้ ราสร้างเส้นใยสเี ทาขาวเจริญเป็นจดุ บนเนื้อภายในฝัก 56 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
12 34 ภำพที่ 1 โคโลนขี องเช้อื รา Phomopsis sp. บนอาหารพีดีเอ (PDA) ภำพท ่ี 2 ลกั ษณะพิคนิเดยี (pycnidia) ภำพท ี่ 3 ลักษณะโคนดิ โิ อฟอร์ (conidiophores) ภำพที่ 4 ลกั ษณะเบต้า โคนเิ ดยี (beta conidia) ภำพที่ 5–6 ลักษณะอาการของโรคฝักเน่า ภำพที ่ 7 เส้นใยของเชอื้ ราบนเนอื้ ภายในฝักมะขาม 6 5 7 57 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
การแพร่ระบาด เชอ้ื ราจะอาศัยลม ฝน และการไหลของสปอร์ไปตามหยดนำา้ บนกงิ่ ไปยงั ฝัก มะขาม เขา้ ทาำ ลายทางขว้ั ผลหรอื ผา่ นทางเปลอื กฝกั มะขามทแ่ี หง้ กรอบ ซง่ึ อาจแตกหกั ได้ง่ายเมอ่ื โดนกระแทก ในสภาพท่มี คี วามชน้ื ในอากาศสงู เปลือกฝักจะดดู ความชื้น ทาำ ใหเ้ ปลอื กนม่ิ พองตวั ออก เชอ้ื ราเจรญิ เขา้ ทาำ ลายไดง้ า่ ย มะขามพนั ธ์ทุ ม่ี คี วามหวาน สงู มกั เป็นโรครนุ แรงในสภาพอากาศทม่ี หี มอกลงจดั ความชนื้ ในอากาศสงู และในดนิ มีความชืน้ มาก การควบคุมโรค 1. ลดการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนและลดการให้นำา้ ในระยะฝักแก่ 2. ในสภาพอากาศช้ืนหรือมีหมอกลงจัดควรพ่นคาร์เบนดาซิม (carbendazim) 60% WP ในระยะฝักเริม่ เปลยี่ นส ี อัตรา 10 กรมั ต่อนำา้ 20 ลิตร จำานวน 3-4 ครัง้ ห่างกัน 7-10 วนั ในช่วงการพฒั นาการของฝักมะขาม ควรหยดุ การฉดี พ่นระยะ 1 เดือนก่อนการเกบ็ เกีย่ ว 3. เก็บฝักมะขามท่ีแก่จัด โดยเปลือกเริ่มแยกจากเนื้อท่ีเรียกว่าคาบหม ู แล้วนาำ ลงมาอบด้วยเตาอบแบบมลี มหมนุ เวยี นด้วยอณุ หภมู ิ 70-80 องศาเซลเซยี ส ให้ความชน้ื เหลอื ประมาณ 10-11% 4. หลังเกบ็ เกยี่ วไม่ควรให้ฝักทับกัน ควรผ่งึ ไม่ให้อับชื้น เกบ็ มะขามในทที่ ม่ี ี การระบายอากาศดี 5. เม่ือเก็บผลผลิตแล้ว ควรมีการตัดแต่งก่ิงให้ทรงพุ่มโปร่งแล้วจึงใส่ปูน ปรับสภาพดนิ ไม่ให้เป็นกรด 58 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
ม ÁÐÁ‹Ç§ (Mango)ะมว่ ง อยใู่ นวงศ ์ Anacardiaceae ชอื่ วทิ ยาศาสตร ์ Mangifera indica L. เป็นไม้ผลเขตร้อนมถี นิ่ กาำ เนดิ ในอนิ เดีย มะม่วงเป็น ผลไม้เศรษฐกิจที่สำาคัญของประเทศไทย และมีแนวโน้มการส่งออก เพ่ิมมากขึ้น ปัญหาสำาคัญหลังการเก็บเกี่ยว คือ โรคแอนแทรคโนส ทเี่ กิดจากเช้ือรา Colletotrichum gloeosporioides โรคข้ัวผลเน่าที่ เกิดจากเชื้อรา Lasiodiplodia theobromae และ Dothiorella sp. ทาำ ใหผ้ ลมะมว่ งมคี ณุ ภาพตา่ำ และอายกุ ารเกบ็ รกั ษาสน้ั ลง พนั ธท์ุ อี่ อ่ นแอ ต่อโรคแอนแทรคโนส ได้แก่ พันธุ์น้าำ ดอกไม้ แรด และอกร่อง และ พันธ์ุท่อี ่อนแอต่อโรคขัว้ ผลเน่า ได้แก่ พนั ธ์ุทองดาำ และอกร่อง เป็นต้น 59 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
âäá͹á·Ã¤â¹Ê (Anthracnose) เช้ือราสาเหตุ Colletotrichum gloeosporioides ลักɳะ·างสั³°านวÔ·ยา ลกั ษณะโคโลน ี (colony) ของเชอื้ ราบนอาหารพดี เี อ (potato dextrose agar, PDA) โคโลนขี อบเรียบเจริญเป็นวงแหวน (concentric ring) เส้นใยมสี ีขาวอมเทา ฟเู ล็กน้อย สร้างกลุ่มโคนิเดยี (conidia) สีส้มบริเวณกลางโคโลน ี เชอื้ ราสร้างฟรตุ ติ้งบอดี (fruiting body) แบบอะเซอวลู สั (acervulus) เป็น รปู ถว้ ย โคนดิ โิ อฟอร ์ (conidiophores) เปน็ กา้ นตรง เซลลเ์ ดยี ว ใส ไมม่ สี ี (hyaline) ทป่ี ลายโคนดิ ิโอฟอร์ให้กำาเนดิ โคนเิ ดยี โคนเิ ดียมเี ซลล์เดยี ว ใส ไม่มสี ี รปู ไข่ (ovoid) ถงึ ทรงกระบอก (oblong) หวั ท้ายมน เมื่อโคนเิ ดยี งอก สร้างแอพเพรสซอเรีย (appressoria) รปู ทรงกระบอง (clavate) ลักɳะอาการ¢องโรค อาการเริม่ แรกเป็นจุดสีดำาเลก็ ๆ และจะขยายลามเม่ือผลสกุ มากขึน้ จุดแผล ขยายออกเป็นสีน้ำาตาลดำาค่อนข้างกลม บริเวณแผลยุบตัวลง ถ้ามีหลายจุดแผลจะ ขยายตัวมาติดกันทำาให้แผลมีขนาดกว้างขึ้น เป็นแอ่งบุม ในสภาพท่ีมีความชื้นใน อากาศสงู จะเกดิ กลุ่มโคนิเดยี สีส้มหรือสชี มพอู ยู่ตรงกลางแผล ลักษณะภายในผล เนื้อมีลักษณะช้ำา เป็นวงกลมเหมือนกับแผลท่ีเปลือก บริเวณท่ตี ดิ กับเปลอื กมสี ีนาำ้ ตาลดำา เนอื้ จะน่ิมเละ นา้ำ เย้ิม และมีกลน่ิ เหม็นเปรย้ี ว 60 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
12 34 ภำพท่ี 1 โคโลนขี องเชอื้ รา Colletotrichum gloeosporioides บนอาหารพดี เี อ (PDA) ภำพท่ ี 2 ลักษณะอะเซอวลู สั (acervulus) และกลุ่มของโคนเิ ดยี (conidia) ภำพท ่ี 3 ลกั ษณะโคนดิ โิ อฟอร์ (conidiophores) และโคนเิ ดีย ภำพที่ 4 ลกั ษณะโคนเิ ดยี ภำพที่ 5-7 ลกั ษณะอาการของโรคแอนแทรคโนสบนผลมะม่วง 56 7 61 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
âä¢éÑǼÅà¹‹Ò (Stem End Rot) เช้ือราสาเหตุ Lasiodiplodia theobromae ลักɳะ·างสั³°านวÔ·ยา ลกั ษณะโคโลน ี (colony) ของเชอื้ ราบนอาหารพดี เี อ (PDA) เสน้ ใยอายนุ อ้ ยมี สขี าวละเอยี ดและคอ่ นขา้ งฟ ู เมอื่ โคโลนแี กเ่ สน้ ใยเปลยี่ นเปน็ สเี ทาดาำ เสน้ ใย มผี นงั กนั้ เชอื้ ราสร้างฟรตุ ต้ิงบอดี (fruiting body) แบบพิคนเิ ดีย (pycnidia) ภายใน เป็นท่ีเกดิ ของโคนดิ โิ อฟอร์ (conidiophores) และโคนิเดยี (conidia) โคนิเดียขณะยังอ่อนมีเซลล์เดียว ใสไม่มีสี (hyaline) รูปร่างค่อนข้างร ี (ellipsoid) จนถงึ คอ่ นขา้ งกลม (ovoid) ปลายดา้ นหนง่ึ กลมมน อกี ดา้ นสอบลงคลา้ ย กรวย บริเวณทีก่ ว้างท่สี ดุ คอื ช่วงกลาง ไม่มีผนงั กน้ั เม่อื แก่จะเป็นสนี ำ้าตาลดาำ ม ี 2 เซลล์ รปู ร่างค่อนข้างรจี นถึงค่อนข้างกลมยาว ส่วนฐานปลายตัด ลักɳะอาการ¢องโรค อาการเร่ิมต้นเป็นจุดสีน้ำาตาลอ่อน ต่อมาแผลจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำาตาลแดงถึง สนี า้ำ ตาลดำา เจรญิ ลกุ ลามอย่างไม่มขี อบเขต ทำาให้ผลเน่าอย่างรวดเรว็ บรเิ วณแผล นม่ิ และฉาำ่ นำ้า บางคร้ังพบน้าำ เยม้ิ ออกมาจากแผล เน่ืองจากเช้อื รา L. theobromae สามารถสร้างเอนไซม์เพคติเนส (pectinase) และเซลลเู ลส (cellulase) ช่วยย่อย ผนงั เซลล์ ลักษณะภายในผล เนอื้ เยอ่ื ใต้เปลอื กถูกทำาลาย ลกึ เข้าไป เมอื่ อาการรนุ แรง มากข้ึน เน้ือของมะม่วงจะเน่าชำ้าลามไปถึงส่วนของเมล็ด เนื้อมีสีนำ้าตาลอ่อน น่ิม มนี าำ้ เยม้ิ ออกมา 62 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
12 34 ภำพท ี่ 1 โคโลนขี องเช้อื รา Lasiodioplodia theobromae บนอาหารพดี เี อ (PDA) ภำพท ่ี 2 ลักษณะพคิ นิเดีย (pycnidia) ภำพท ่ี 3 ลักษณะโคนดิ ิโอฟอร์ (conidiophores) และโคนิเดยี (conidia) ภำพที ่ 4 ลักษณะโคนิเดยี ภำพท ี่ 5-7 ลักษณะอาการของโรคขวั้ ผลเน่า 56 7 63 โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
âä¢ÑéǼÅà¹‹Ò (Stem End Rot) เชื้อราสาเหตุ Dothiorella sp. ลักɳะ·างสั³°านวÔ·ยา ลักษณะโคโลนี (colony) ของเช้อื ราบนอาหารพดี ีเอ (PDA) เส้นใยอายนุ ้อย มสี ีขาวและค่อนข้างฟู เม่ือโคโลนีแก่เส้นใยจะเปล่ยี นจากสขี าวเป็นสีดาำ เชอื้ ราสร้างฟรตุ ต้ิงบอดี (fruiting body) แบบพิคนเิ ดยี (pycnidia) สีดาำ ผนงั เรยี บแข็ง มปี ากเปิด รูปร่างกลมรวมอยู่เป็นกลุ่ม โคนเิ ดยี (conidia) มเี ซลล์เดยี ว สีใส (hyaline) รูปไข่ (ovoid) ถงึ กระสวย (flfusoid) เกิดบนก้านโคนดิ โิ อฟอร์ (conidiophores) ซงึ่ เป็นก้านเด่ียวๆ ไม่มีสี ลักɳะอาการ¢องโรค อาการเรม่ิ แรกมกั เกดิ บรเิ วณขวั้ ผล โดยเกดิ จดุ ขนาดเลก็ สนี า้ำ ตาลออ่ นกระจาย อยู่ทัว่ ผล แผลมรี ปู ร่างกลมขอบแผลไม่เรียบ แผลขยายลกุ ลามทั้งผล ทำาให้ผลนมิ่ แผลมีสนี ้ำาตาลเข้มจนเกอื บดำา มกั มีฝุ่นสีเทาคลุมบริเวณแผล และพบการสร้างพิคนิ เดยี ของเชือ้ ราบรเิ วณกลางแผล ลักษณะภายในผล เช้ือราจะเข้าทำาลายเปลือก ลามเข้ามาด้านใน เน้ือของ มะม่วงมีสีค่อนข้างดำา เน่าช้ำา และลามออกไป ขนาดแผลภายในใกล้เคียงกับแผล ท่เี ปลือก 64 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
12 34 ภำพที่ 1 โคโลนขี องเชื้อรา Dothiorella sp. บนอาหารพีดเี อ (PDA) ภำพท่ ี 2 ลกั ษณะพิคนเิ ดยี (pycnidia) ภำพท่ี 3 ลกั ษณะโคนดิ โิ อฟอร์ (conidiophores) และโคนิเดยี (conidia) ภำพท่ี 4 ลักษณะโคนิเดีย ภำพที่ 5-7 ลกั ษณะอาการของโรคข้วั ผลเน่า 56 7 65 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
การแพร่ระบาด โคนิเดยี (conidia) ของเชอ้ื รามกี ารแพร่ระบาดทางลมและฝน โดยเฉพาะใน สภาพอากาศท่ชี นื้ สลับกบั อุณหภูมิสงู และมคี วามแห้งแล้ง เช้ือราอาจเข้าทำาลายผล อ่อนแล้วเกิดการเข้าทำาลายแฝงจนกระท่งั ผลสุกจงึ แสดงอาการออกมา การควบคุมโรค 1. ฉดี พน่ สารปอ้ งกนั กาำ จดั เชอื้ รา เชน่ เบโนมลิ (benomyl) หรอื แมนโคเซบ (mancozeb) ในแปลงปลกู โดยเฉพาะในชว่ งออกดอกตดิ ผลจนถงึ กอ่ นการเกบ็ เกยี่ ว ร่วมกับป้องกนั กาำ จัดโรคด้วยวธิ เี ขตกรรม 2. จมุ่ ผลมะมว่ งในนา้ำ รอ้ นอณุ หภมู ิ 52-55 องศาเซลเซยี ส นาน 5 นาท ี หรอื จุ่มในโพรคลอราซ (prochloraz) 10 มลิ ลิลิตรต่อนำ้า 20 ลิตร โดยจุ่มแล้วยกผง่ึ ไว้ ให้แห้ง หรือจุ่มในไธอะเบนดาโซล (thiabendazole) ความเข้มข้น 250 มลิ ลกิ รมั ต่อลิตร ซึ่งผสมกบั นำ้าร้อน 55 องศาเซลเซียส นาน 5 นาที 3. หากตอ้ งการหลกี เลยี่ งการใชส้ ารเคม ี อาจใชว้ ธิ หี อ่ ผลมะมว่ งในแปลงปลกู สามารถลดความเสยี หายจากโรคแอนแทรคโนสได้ระดบั หนงึ่ 66 โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
ม ÁÐÅÐ¡Í (Papaya)ะละกอ อยู่ในวงศ์ Caricaceae ชื่อวิทยาศาสตร์ Carica papaya L. เป็นไม้ผลล้มลุกมีถิ่นกำาเนิดในอเมริกาใต้ มะละกอเป็นพืชเศรษฐกิจท่ีมีความสำาคัญอีกชนิดหนึ่ง ปลูกทั่วไป ทุกภาคของประเทศ โรคที่สำาคัญหลังการเก็บเก่ียวของมะละกอ คือ โรคแอนแทรคโนส เกดิ จากเชอื้ รา Colletotrichum gloeosporioides และ C. capsici เชื้อราจะเข้าทำาลายผลตั้งแต่ระยะผลอ่อน แต่จะ ไม่แสดงอาการ จนกระทั่งผลแก่หรือสุก จึงแสดงอาการของโรค ขณะท่ีโรคผลเน่า เกดิ จากเช้ือรา Lasiodiplodia theobromae และ เช้ือรา Fusarium solani ทาำ ให้คุณภาพของผลมะละกอลดลง 67 โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
âäá͹á·Ã¤â¹Ê (Anthracnose) เช้ือราสาเหตุ Colletotrichum gloeosporioides ลักɳะ·างสั³°านวÔ·ยา ลกั ษณะโคโลน ี (colony) ของเชอ้ื ราบนอาหารพดี เี อ (potato dextrose agar, PDA) สีขาวอมเทา สีเทาเข้ม จนถึงสนี ำา้ ตาลอมเทา เชื้อราสร้างฟรุตติ้งบอดี (fruiting body) แบบอะเซอวูลัส (acervulus) ภายในให้กำาเนิดโคนิดิโอฟอร์ (conidiophores) และสร้างโคนิเดีย (conidia) ท่ีปลายก้านโคนดิ ิโอฟอร์ โคนเิ ดียรูปร่างทรงกระบอก (oblong) เซลล์เดียว ใสไม่มีส ี (hyaline) ปลาย มน ส่วนฐานตัดตรง ลักɳะอาการ¢องโรค อาการเร่ิมจากเกิดจุดฉาำ่ น้ำาขนาดเล็ก ต่อมาแผลขยายใหญ่ข้ึน มีลักษณะ กลมขอบแผลมสี นี ำ้าตาล บรเิ วณแผลยุบตวั ลง พบกลุ่มของโคนเิ ดยี สีส้มหรือสชี มพู บรเิ วณแผล และบางครั้งมกี ารเรยี งตัวกนั เป็นวงแหวนซ้อนกนั ลักษณะภายในผลมะละกอ เมื่อเชื้อเข้าทำาลายในช่วงแรกจะอยู่ท่ีเปลือกของ ผลมะละกอ ต่อมาแผลขยายลามมากข้ึนจะเข้าทำาลายถึงส่วนเน้ือ ทำาให้เนื้อของ มะละกอมีลกั ษณะแข็งสีส้มอ่อน ขนาดจะเลก็ กว่าแผลด้านนอกเลก็ น้อย 68 โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
12 34 ภำพท ี่ 1 โคโลนขี องเชอื้ รา Colletotrichum gloeosporioides บนอาหารพีดีเอ (PDA) ภำพที่ 2-3 ลักษณะโคนดิ โิ อฟอร์ (conidiophores) และโคนเิ ดีย (conidia) ภำพที่ 4 ลักษณะโคนิเดยี ภำพที่ 5–8 ลักษณะอาการของโรคแอนแทรคโนส 56 7 8 69 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
âäá͹á·Ã¤â¹Ê (Anthracnose) เช้ือราสาเหตุ Colletotrichum capsici ลักɳะ·างสั³°านวÔ·ยา ลกั ษณะโคโลนี (colony) ของเชื้อราบนอาหารพดี เี อ (PDA) เส้นใยสนี ้าำ ตาล เทาจนถงึ สดี าำ สรา้ งกลมุ่ โคนเิ ดยี (conidia) สชี มพอู มสม้ และสรา้ งโครงสรา้ งลกั ษณะ คล้ายหนาม เรยี กว่า ซเี ต้ (setae) สีน้าำ ตาลดำาปนอยู่กบั กลุ่มโคนเิ ดีย เชื้อราสร้างฟรุตติ้งบอดี (fruiting body) แบบอะเซอวูลัส (acervulus) ภายในมกี ารสร้างโคนดิ ิโอฟอร์ (conidiophores) โคนิเดียและซีเต้ โคนเิ ดยี รปู รา่ งโค้งแบบเสยี้ ววงพระจนั ทร์ ปลายแหลม (falcate) เซลล์เดยี ว ใสไม่มีส ี (hyaline) ลักɳะอาการ¢องโรค ลักษณะของแผลจะยุบตัวลง แผลมีรูปร่างวงกลม ขอบแผลสมำ่าเสมอ ต่อมาขยายกว้างและลึกลงไปในเนือ้ เยือ่ มจี ุดสีดาำ มากมายกระจายอยู่บนแผล เป็น กลุ่มของอะเซอวูลัสท่ีมีการสร้างโคนิเดียและซีเต้สีดำาบนเน้ือเย่ือที่เป็นโรค อาจเรียง ตวั เป็นวงแหวนซ้อนกนั ลักษณะภายในผลมะละกอ มีลักษณะเนือ้ เยอื่ แข็งสีส้มอ่อนตรงกลางจะเป็น จุดสีดำา ขนาดใกล้เคียงกบั แผลด้านนอก 70 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
12 34 ภำพท ี่ 1 โคโลนขี องเชอ้ื รา Colletotrichum capsici บนอาหารพีดีเอ (PDA) ภำพที่ 2 ลกั ษณะของซีเต้ (setae) บนผลมะละกอ ภำพท่ี 3 ลกั ษณะของโคนดิ โิ อฟอร์ (conidiophores) และซีเต้ ภำพท ่ี 4 ลักษณะของโคนเิ ดยี (conidia) ภำพท่ ี 5–8 ลักษณะอาการของโรคแอนแทรคโนส 7 56 8 71 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
âä¢éÑǼÅà¹‹Ò (Stem End Rot) เช้ือราสาเหตุ Lasiodiplodia theobromae ลักɳะ·างสั³°านวÔ·ยา ลักษณะโคโลน ี (colony) ของเชื้อราบนอาหารพีดเี อ (PDA) เส้นใยอายนุ ้อย มีสีขาวละเอียดและค่อนข้างฟู เม่ือโคโลนีแก่เส้นใยจะเปลี่ยนจากสีขาวเป็นสีเทาดำา เส้นใยมีผนงั ก้นั (septum) เช้อื ราสร้างฟรตุ ตง้ิ บอดี (fruiting body) แบบพิคนิเดีย (pycnidia) เกิด เด่ียวๆ หรือเกดิ เป็นกลุ่ม มีปากเปิด (ostiole) เพอื่ แพร่สปอร์ (spore) ภายในเป็นท่ี เกดิ ของโคนดิ โิ อฟอร์ (conidiophores) และโคนิเดยี (conidia) โคนเิ ดยี เมอ่ื ออ่ นมเี ซลลเ์ ดยี ว ใสไมม่ สี ี (hyaline) รปู รา่ งคอ่ นขา้ งร ี (ellipsoid) จนถงึ ค่อนข้างกลม (oblong) ต่อมาจะเปลย่ี นเป็นสนี า้ำ ตาลดาำ ม ี 2 เซลล์ รปู ร่างค่อน ข้างรีจนถงึ ค่อนข้างกลมยาว ส่วนฐานปลายตดั ลักɳะอาการ¢องโรค อาการเร่ิมแรกเป็นจุดฉ่ำาน้ำา ต่อมาแผลขยายลุกลามอย่างไม่มีขอบเขต รูปร่างไม่แน่นอน ผลเน่าอย่างรวดเร็ว บริเวณแผลนม่ิ และพบเส้นใยสีเทาแกมเขยี ว บรเิ วณกลางแผล ลกั ษณะภายในผลมะละกอ เนอื้ มะละกอมลี กั ษณะชา้ำ เนอ้ื นมิ่ เละ ขนาดแผล ดา้ นในบางครงั้ พบขยายลามมากกวา่ ขนาดแผลดา้ นนอก เมอ่ื เขา้ ทาำ ลายทางขว้ั ผลพบ เส้นใยสีขาวเทาเจริญเข้าไปภายในบรเิ วณเมลด็ 72 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
12 34 ภำพที่ 1 โคโลนขี องเชอื้ รา Lasiodiplodia theobromae บนอาหารพดี เี อ (PDA) ภำพท ่ี 2 ลักษณะพิคนิเดีย (pycnidia) ภำพที ่ 3 ลกั ษณะโคนดิ ิโอฟอร์ (conidiophores) และโคนเิ ดยี (conidia) ภำพที่ 4 ลักษณะโคนิเดียอ่อน และโคนเิ ดียแก่ ภำพท ่ี 5–7 ลักษณะอาการของโรคขั้วผลเน่า ภำพท ี่ 8 เส้นใยของเชอ้ื ราบนผลมะละกอ 56 7 8 73 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
âä¢éÑǼÅà¹‹Ò (Stem End Rot) เชื้อราสาเหตุ Fusarium solani ลักɳะ·างสั³°านวÔ·ยา ลักษณะโคโลนี (colony) ของเชอ้ื ราบนอาหารพีดเี อ (PDA) สร้างเส้นใยสี ขาวครีม ถึงสสี ้มอ่อน เชื้อราสร้างโคนิเดยี (conidia) 3 แบบ คอื มาโครโ คนเิ ดยี (macroconidia) รปู รา่ งทรงกระบอก (oblong) โคง้ เลก็ นอ้ ย ฟตุ เซลล์ (foot cell) ทฐ่ี านไม่ชัดเจน เกดิ บนโมโนไฟอะลายด์ (monophialide) ไมโคร โคนเิ ดยี (microconidia) รูปไข่ (ovoid) หรือทรงกระบอก เกิดเป็น กลุ่มทปี่ ลายโคนดิ ิโอฟอร์ (conidiophores) ม ี 1-2 เซลล์ ไม่มสี ี (hyaline) แคลมิโดสปอร์ (chlamydospore) เกิดเด่ียวๆ หรือเป็นคู่ บนแขนงส้ันๆ และมีผนงั เรยี บ ลักɳะอาการ¢องโรค อาการเร่มิ แรกเป็นแผลฉา่ำ น้ำา พฒั นาเป็นแผลรปู ร่างวงกลม แผลมกั ลกึ ลงไป มกั ขยายขนาดมารวมกันเป็นแผลท่มี รี ูปร่างไม่แน่นอน ต่อมาพบเส้นใยสีขาวบรเิ วณ แผล ลกั ษณะภายในผลมะละกอ เนอื้ มะละกอมลี กั ษณะชาำ้ ขอบของแผลจะมสี สี ม้ เขม้ กวา่ เนอ้ื นม่ิ จะสงั เกตไดว้ า่ มหี ลายแผลขยายลามมาตดิ กนั ขนาดแผลดา้ นในบาง ครงั้ พบขยายลามมากกวา่ ขนาดแผลดา้ นนอก เมอ่ื เขา้ ทาำ ลายทางขว้ั ผลพบเสน้ ใยสขี าว เจริญเข้าไปภายในบรเิ วณเมลด็ 74 โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
12 34 ภำพที่ 1 โคโลนขี องเช้อื รา Fusarium solani บนอาหารพีดีเอ (PDA) ภำพที่ 2 ลกั ษณะโคนดิ โิ อฟอร์ (conidiophores) ภำพท ่ี 3 ลักษณะมาโครโ คนิเดยี (macroconidia) ภำพที่ 4 ลกั ษณะแคลมิโดสปอร์ (chlamydospore) ภำพที่ 5–7 ลักษณะอาการของโรคขั้วผลเน่า ภำพที่ 8 เส้นใยของเช้อื ราบนผลมะละกอ 56 7 8 75 โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
การแพร่ระบาด โคนเิ ดยี ของเชอื้ รามกี ารแพรร่ ะบาดทางลมและฝน โดยเฉพาะในสภาพอากาศ ทชี่ น้ื สลบั กบั อณุ หภมู สิ งู และมคี วามแหง้ แลง้ แหลง่ ของเชอ้ื ราในแปลงจากสว่ นของพชื ท่เี ป็นโรค กงิ่ ก้าน ใบ เศษซากพืช และดิน ที่มเี ชือ้ สาเหตุโรคสะสมอยู่ การควบคุมโรค 1. เกบ็ เกี่ยวด้วยความระมัดระวงั โดยใช้มดี หรือกรรไกรตัดขั้วผล อย่าให้ ข้วั ผลมะละกอชา้ำ 2. ใช้วิธีฉดี พ่นสารป้องกันกำาจัดเชื้อราทุกๆ 14-20 วัน ต้ังแต่ระยะแทง ช่อดอก หรือเริม่ ติดผลและหลงั การเกบ็ เกีย่ ว 3. นำาผลมะละกอไปแช่น้ำาร้อนท่ีอุณหภูมิ 48 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 20 นาท ี จะช่วยลดปัญหาการเกิดโรคกบั ผลสุกได้ 4. ขนย้ายผลมะละกออย่างระมดั ระวัง ไม่ให้ผลมะละกอเกดิ แผล 76 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
Áѧ¤Ø´ (Mangosteen)งคุด อยู่ในวงศ์ Guttiferae ช่ือวิทยาศาสตร์ Garcinia มัmangostana Linn. เปน็ ไมผ้ ลยนื ตน้ ขนาดใหญ ่ เจรญิ ไดด้ ี ในสภาพอากาศรอ้ นชนื้ มงั คดุ เปน็ ผลไมท้ มี่ คี วามตอ้ งการของตลาด ทง้ั ภายในประเทศและสง่ ออก โรคทเี่ กดิ กบั ผลทาำ ใหผ้ ลติ ผลเสยี หาย เกิดจากการเข้าทำาลายของเชื้อราหลายชนดิ เช่น Lasiodiplodia theobromae, Phomopsis sp. Colletotrichum gloeosporioides, และ Pestalotiopsis sp. เปน็ ตน้ ทาำ ใหเ้ กดิ อาการผลแขง็ เนอ้ื ของ มงั คดุ จะเปล่ยี นส ี มีลกั ษณะชาำ้ และบางคร้งั พบเส้นใยของเชื้อรา ภายในผลอกี ดว้ ย เชอื้ ราสาเหตสุ าำ คญั ทท่ี าำ ใหเ้ กดิ อาการผลเนา่ ของ มังคดุ คอื L. theobromae และ Phomopsis sp. 77 โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
âä¼Åà¹‹Ò (Fruit Rot) เชื้อราสาเหตุ Lasiodiplodia theobromae ลักɳะ·างสั³°านวÔ·ยา ลกั ษณะโคโลน ี (colony) ของเชอื้ ราบนอาหารพดี เี อ (potato dextrose agar, PDA) มีเส้นใยฟูสีเทาอ่อนถงึ สเี ทาดาำ เชือ้ ราสร้างฟรตุ ต้งิ บอดี (fruiting body) แบบพิคนิเดีย (pycnidia) ภายใน ประกอบด้วย โคนดิ ิโอฟอร์ (conidiophores) รูปร่างทรงกระบอกส้ัน (oblong) ส่วนปลายแคบ ไม่มสี ี (hyaline) มหี น้าท่ีในการสร้างโคนเิ ดยี (conidia) โคนเิ ดยี ระยะแรกมีสีใส เซลล์เดยี ว รปู ไข่ (ovoid) ถึงยาวร ี ต่อมาจะเปลยี่ น เป็นสีน้ำาตาลอ่อน ถึงสนี า้ำ ตาลเข้ม มีรอยขีด ตามความยาวของโคนิเดยี มผี นงั ก้นั (septum) ทำาให้แบ่งเป็นสองเซลล์ ผนงั โคนิเดียค่อนข้างหนา ลักɳะอาการ¢องโรค อาการเริ่มแรก แผลมีรอยชำ้า เปลือกเป็นจุดแข็ง บริเวณบาดแผลท่ีเช้ือเข้า ทำาลายจะเปลี่ยนเป็นสเี ทาดาำ พบเส้นใยของเช้อื ราปกคลมุ เมอื่ ทงิ้ ไว้นานกจ็ ะลกุ ลาม ทาำ ให้เปลือกแขง็ ท่วั ท้งั ผล และพบพคิ นิเดยี ฝังอยู่บนผวิ ผล ลกั ษณะภายในผล เนอื้ มงั คดุ เนา่ เปลยี่ นสเี ปน็ สมี ว่ งคลาำ้ และดาำ ในเวลาตอ่ มา มีเส้นใยของเชอ้ื ราสีเทาดำาเจรญิ ปกคลมุ เน้ือผลมงั คุด ทาำ ให้เห่ยี วแห้ง มสี ดี ำา 78 โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
12 34 ภำพท่ี 1 โคโลนขี องเชือ้ รา Lasiodiplodia theobromae บนอาหารพดี ีเอ (PDA) ภำพที่ 2 ลกั ษณะพคิ นเิ ดีย (pycnidia) ภำพท ่ี 3 ลกั ษณะโคนดิ ิโอฟอร์ (conidiophores) และโคนิเดีย (conidia) ภำพที่ 4 ลักษณะโคนเิ ดียอ่อน และโคนเิ ดียแก่ ภำพท ี่ 5–6 ลกั ษณะอาการของโรคผลเน่า 5 6 79 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
âä¼Åà¹‹Ò (Fruit Rot) เช้ือราสาเหตุ Phomopsis sp. ลักɳะ·างสั³°านวÔ·ยา ลกั ษณะโคโลนี (colony) ของเช้อื ราบนอาหารพีดเี อ (PDA) สขี าวเทา เส้นใย หยาบ สร้างพคิ นเิ ดีย (pycnidia) สดี ำากระจายอยู่ทัว่ ไป เช้ือราสร้างฟรุตต้ิงบอดี (fruiting body) แบบพิคนิเดีย รูปร่างค่อนข้าง กลม เม่ือแก่จะสร้างช่องเปิด (ostiole) รูปร่างยาวย่ืนออกมา ภายในมีการสร้าง โคนดิ ิโอฟอร์ (conidiophores) มีการแตกแขนงเป็นไฟอะลายด์ (phialide) สร้าง โคนเิ ดีย (conidia) โคนเิ ดียม ี 2 แบบ คอื อัลฟา โคนิเดยี (alpha conidia) เซลล์เดยี ว ไม่มีสี (hyaline) รปู ไข ่ (ovoid) หรอื กระสวย (fusoid) และเบตา้ โคนเิ ดยี (beta conidia) เซลล์เดียว ไม่มสี ี รูปร่างเรยี วยาว ส่วนปลายโค้งเล็กน้อย ลักɳะอาการ¢องโรค เปลือกผลแข็ง บริเวณบาดแผลที่เช้ือเข้าทำาลายมีสีนำ้าตาลอ่อน และจุดสีดำา พบพคิ นิเดยี บรเิ วณบาดแผล ลักษณะภายในผล เน้ือผลมังคุดมีสีขาวคล้ายเน้ือปกติแต่มีลักษณะแข็ง กระด้างกว่า และมเี ส้นใยสีขาวบางๆ เจริญคลมุ ผิวทุกส่วนของเนื้อผล ทำาให้รสชาติ เฝอนผดิ ไปจากปกติ 80 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
12 3 4 ภำพที่ 1 โคโลนขี องเชื้อรา Phomopsis sp. บนอาหารพดี ีเอ (PDA) ภำพที่ 2 ลักษณะพิคนเิ ดยี (pycnidia) บนอาหารพดี เี อ ภำพที่ 3-4 ลักษณะโคนดิ โิ อฟอร์ (conidiophores) และอลั ฟา โคนเิ ดีย (alpha conidia) ภำพที่ 5–6 ลักษณะอาการของโรคผลเน่า 5 6 81 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
การแพร่ระบาด เชอื้ สาเหตเุ ปน็ เชอื้ ราทเี่ ขา้ ทาำ ลายผา่ นบาดแผล เชอื้ ราอาศยั อยไู่ ดท้ งั้ ในเศษซาก พชื และบนต้นพืช เจริญได้ดใี นสภาพร้อนชื้น อณุ หภมู ิประมาณ 30 องศาเซลเซยี ส แพรก่ ระจายไดด้ ใี นฤดฝู น มพี ชื อาศยั หลายชนดิ และสรา้ งสปอรบ์ นพชื อาศยั นนั้ ๆ ได้ การควบคุมโรค 1. ควรเกบ็ เศษซากพชื ทเี่ ปน็ โรคเผาทาำ ลายเพอื่ เปน็ การลดปรมิ าณเชอ้ื สาเหตุ โรคในแปลงปลูก ตัดแต่งกิ่งเป็นโรคออกนอกแปลงและเผาทำาลายท้ิง และดูแลต้น มงั คดุ ให้สมบูรณ์เสมอ 2. ใช้สารเคมีกำาจัดเชอื้ ราจำาพวกคอปเปอร์ เช่น แมนโคเซบ (mancocep) และไอโพรไดโอน (iprodione) 3. ควรกาำ จดั แมลงปากดดู ในช่วงมังคดุ ติดผล เช่น มวนศัตรพู ืชต่างๆ เพื่อ ป้องกนั การเกดิ บาดแผลท่ีเป็นช่องทางเข้าทาำ ลายของเชอื้ สาเหตโุ รค 82 โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
ล ÅíÒä (Longan)ำไย อยู่ในวงศ์ Sapindaceae ช่ือวิทยาศาสตร์ Dimocarpus longan Lour. เป็นไม้ผลยืนต้นขนาดกลางมีถิ่นกำาเนิดใน เขตร้อนและก่ึงร้อนของเอเชีย ลำาไยเป็นผลไม้ที่มีความสำาคัญทาง เศรษฐกิจของประเทศไทย มีศักยภาพในการส่งออกสูง ปลูกมากใน เขตภาคเหนอื ลำาไยเริ่มออกผลในเดือนพฤษภาคม และสามารถเก็บ เกยี่ วผลผลติ ในช่วงเดอื นกรกฎาคมถึงสิงหาคม ซึ่งเป็นช่วงทีม่ ฝี นชุก ความชื้นค่อนข้างสูง เหมาะต่อการเข้าทำาลายของเชื้อราและก่อให้เกิด โรคในผลิตผลได้ โรคที่พบมากที่สุด คือ โรคผลเน่า ซ่ึงเกิดจาก เชอื้ รา Lasiodiplodia theobromae และ Pestalotiopsis sp. ทาำ ให้ เกิดความเสียหายต่อผลผลิตลำาไยหลังการเก็บเกี่ยว ทั้งในระหว่าง การขนส่ง การเก็บรกั ษา และขณะวางจาำ หน่าย 83 โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
âä¼Åà¹‹Ò (Fruit Rot) เช้ือราสาเหตุ Lasiodiplodia theobromae ลักɳะ·างสั³°านวÔ·ยา ลักษณะโคโลนี (colony) ของเช้ือราบนอาหารพีดีเอ (potato dextrose agar, PDA) มเี ส้นใยค่อนข้างฟู สเี ทาอ่อนถึงดำา เชื้อราสร้างฟรุตติ้งบอดี (fruiting body) แบบพิคนิเดีย (pycnidia) ผนงั หนา สดี าำ แต่ละพิคนิเดีย อาจมีช่องเดียวหรอื หลายช่อง มีปากเปิด (ostiole) โคนดิ โิ อฟอร ์ (conidiophores) เกดิ เดย่ี วๆ รปู ทรงกระบอก (oblong) ไมม่ สี ี (hyaline) ผนงั เรียบ ไม่มีผนงั กนั้ โคนิเดีย (conidia) มีเซลล์เดียว ใสไม่มีสี เมื่อแก่จะเป็นสีน้ำาตาลดำา มี 2 เซลล์ รปู ร่างค่อนข้างรจี นถงึ ค่อนข้างกลมยาว (ellipoid) ส่วนฐานปลายตัด ลักɳะอาการ¢องโรค เปลือกผลเป็นสีนำ้าตาลคล้ำาเหมือนเปียกน้ำา ขยายลามออกไปอย่างรวดเร็ว ถ้ามีความชื้นเชื้อราจะสร้างเส้นใยสีขาวเทาขึ้นปกคลุมบริเวณแผลที่มีการเข้าทำาลาย ของเชอ้ื รา ลักษณะภายในผล เนื้อลำาไยจะยบุ ตัว มสี นี ้ำาตาลอ่อน เนอ้ื เละ มีกล่นิ เหมน็ เปรยี้ ว 84 โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
12 ภำพท ่ี 1 โคโลนขี องเชอ้ื รา Lasiodiplodia theobromae บนอาหารพดี ีเอ (PDA) ภำพท ่ี 2 ลกั ษณะโคนเิ ดยี (conidia) อ่อน และโคนเิ ดียแก่ ภำพที่ 3–6 ลักษณะอาการของโรคผลเน่า 3 4 6 5 85 โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
âä¼Åà¹‹Ò (Fruit Rot) เช้ือราสาเหตุ Pestalotiopsis sp. ลักɳะ·างสั³°านวÔ·ยา ลกั ษณะโคโลน ี (colony) บนอาหารพีดเี อ (PDA) เส้นใยมีสีขาว แบนราบไป กบั ผวิ หน้าอาหาร บริเวณกลางโคโลนจี ะมีการสร้างของเหลวคล้ายหยดนา้ำ สีดำา เชื้อราสร้างฟรุตติ้งบอดี (fruiting body) แบบอะเซอวูลัส (acervulus) ให้กำาเนนิ โคนเิ ดยี (conidia) ภายในอะเซอวูลัส โคนเิ ดยี ม ี 5 เซลล ์ เซลลส์ ว่ นหวั และทา้ ยมลี กั ษณะแหลมเรยี ว ใสไมม่ สี ี (hyaline) เซลล์ตรงส่วนกลางมสี เี ข้ม ส่วนท้ายของโคนเิ ดยี มรี ยางค์ 2 เส้น หรือมากกว่านนั้ ลักɳะอาการ¢องโรค เปลือกผลมีรอยคลำ้าสีนำ้าตาล ลักษณะฉาำ่ น้ำา มีของเหลวสีน้ำาตาลซึมออกมา จากภายใน เนื้อผลนิม่ มกี ลน่ิ ฉนุ พบเส้นใยสขี าวของเชอ้ื ราเจรญิ บริเวณผวิ เปลือก และขว้ั ผล ลักษณะภายในผล เปลือกด้านในสีน้ำาตาล เน้ือลำาไยยุบตัว มีสีขาวขุ่นถึง สีน้ำาตาลอ่อน มีกลิ่นเหมน็ เปร้ยี ว 86 โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
12 34 ภำพท ี่ 1 โคโลนขี องเชอ้ื รา Pestalotiopsis sp. บนอาหารพีดเี อ (PDA) ภำพท่ี 2 ลักษณะกลุ่มโคนิเดยี (conidia) ภำพที่ 3-4 ลักษณะโคนิเดยี ภำพที่ 5–9 ลักษณะอาการของโรคผลเน่า 5 6 9 78 87 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
การแพร่ระบาด เช้ือราสามารถดำารงชีวิตอยู่บนเศษซากพืช และผลลำาไยท่ีเน่าเสียในสวน สปอรข์ องเชอื้ รามชี วี ติ อยไู่ ดน้ านในแปลงปลกู ทมี่ คี วามชนื้ และอณุ หภมู สิ งู สปอรแ์ พร่ กระจายโดยลม น้ำา และตดิ ไปกับเครอื่ งมือทางการเกษตร การควบคุมโรค 1. ตัดแต่งภายในทรงพุ่มให้แสงแดดส่องถึงโคนต้น และกำาจัดวัชพืช ภายใต้ทรงพุ่ม 2. เกบ็ ผลและใบลาำ ไยทมี่ โี รคซง่ึ รว่ งหลน่ บนพน้ื ดนิ ภายใตท้ รงพมุ่ เผาทาำ ลาย นอกแปลงปลูก 3. ควบคุมโรคโดยชวี วิธี ใช้เชอ้ื รา Trichoderma sp. หรือเช้อื แบคทเี รีย Bacillus subtilis ผสมน้ำาพ่นให้ท่วั ทงั้ ต้น 4. การเก็บเก่ียวควรระวังไม่ให้ผลเกิดแผล และนำาผลิตผลเข้าในท่ีร่มและ โรงเรือน 88 โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
ล Åͧ¡Í§ (Longkong)องกอง อยู่ในวงศ์ Meliaceae มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Aglaia dookoo Griff. เป็นไม้ผลในสกุลเดียวกันกับลางสาดและดูก ู มถี นิ่ กำาเนดิ อยู่แถบหมู่เกาะมลาย ู อนิ โดนเี ซยี ฟิลปิ ปินส์ และตอนใต้ ของประเทศไทย ลองกองเป็นไม้ผลเมืองร้อนที่เจริญเติบโต และ ให้ผลผลิตได้ดีในสภาพภูมิอากาศร้อนช้ืน เป็นพืชท่ีชอบที่ร่มแต่ไม่ ชอบลมแรง เพราะถ้าแสงแดดจัดทำาให้ใบไหม้ ส่วนลมแรงจะพัดเอา ความชน้ื ออกจากสวน จงึ ควรสรา้ งรม่ เงาและปลกู ไมบ้ งั ลมรอบๆ สวน การเข้าทำาลายของโรคผลเน่าในลองกอง เกิดจากเช้ือรา Phomopsis sp. Lasiodiplodia theobromae และ Fusarium sp. นบั เปน็ ปญั หาสาำ คญั ทส่ี รา้ งความเสยี หายกบั ลองกองหลงั การเกบ็ เกยี่ ว แนวทางการป้องกันและควบคุมความรุนแรงของโรค ควรเร่ิมตั้งแต่ ในระดับแปลงปลูกจนถึงการเก็บรักษาเพือ่ กระจายผลผลติ สู่ผู้บรโิ ภค 89 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
âä¼Åà¹‹Ò (Fruit Rot) เชื้อราสาเหตุ Phomopsis sp. ลักɳะ·างสั³°านวÔ·ยา ลกั ษณะโคโลน ี (colony) ของเชอื้ ราบนอาหารพดี เี อ (Potato dextrose agar, PDA) เส้นใยหยาบสขี าวถงึ ขาวเทา เช้ือราสร้างฟรุตติ้งบอดี (fruiting body) แบบพิคนิเดีย (pycnidia) สีน้ำาตาลเข้มรูปร่างค่อนข้างกลม เม่ือแก่จะสร้างช่องเปิด (ostiole) รูปร่างยาวย่ืน ออกมา ภายในมกี ารสร้างโคนดิ โิ อฟอร์ (conidiophores) รปู ร่างเรียวยาว ใสไม่มสี ี (hyaline) ส่วนปลายโคนดิ โิ อฟอร์มกี ารแตกแขนงเป็นไฟอะลายด์ (phialide) สร้าง โคนิเดยี (conidia) โคนเิ ดีย ม ี 2 แบบ อลั ฟา โคนิเดีย (alpha conidia) มีเซลล์เดยี ว ไม่มีสี รูปไข่ หรือกระสวย และเบต้า โคนิเดีย (beta conidia) มีเซลล์เดียว ไม่มีส ี รปู ร่างเรียวยาว ส่วนปลายโค้งเล็กน้อย ลักɳะอาการ¢องโรค แผลเป็นสีนำา้ ตาลอ่อนบริเวณที่มีการเข้าทาำ ลายของเชอ้ื รา มลี กั ษณะค่อนข้าง กลม ขยายออกช้าๆ เน่าลามเป็นสนี า้ำ ตาลเข้ม และสามารถเน่าลามไปยังผลใกล้เคยี ง ได้อกี ด้วย ลกั ษณะภายในผล เชอ้ื ราเขา้ ทาำ ลายเปลอื กดา้ นนอกขยายลามเขา้ ไปถงึ เปลอื ก ดา้ นใน จนถงึ เนอื้ ของลองกองเรม่ิ แรกเปน็ สนี าำ้ ตาลออ่ น ตอ่ มาเนอื้ นม่ิ เละ เปลอื กดา้ น ในมีขนาดแผลใกล้เคียงกับภายนอกเปลือกด้านนอก เปลือกภายในมีสีนำ้าตาลเม่ือ อาการรนุ แรงส่วนเนอ้ื เละติดอยู่กบั ส่วนเปลอื กด้านใน 90 โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
12 34 ภำพท่ ี 1 โคโลนขี องเช้ือรา Phomopsis sp. บนอาหารพีดีเอ (PDA) ภำพท ่ี 2 ลักษณะพิคนิเดยี (pycnidia) ภำพที ่ 3 ลักษณะโคนดิ ิโอฟอร์ (conidiophores) ภำพท ่ี 4 ลกั ษณะเบต้า โคนิเดีย (beta conidia) ภำพท ่ี 5-6 ลักษณะอาการของโรคผลเน่า 5 6 91 โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
âä¼Åà¹‹Ò (Fruit Rot) เชื้อราสาเหตุ Lasiodiplodia theobromae ลักɳะ·างสั³°านวÔ·ยา ลกั ษณะโคโลน ี (colony) บนอาหารพดี เี อ (PDA) เสน้ ใยละเอยี ดคอ่ นขา้ งฟ ู สีนำา้ ตาลเข้มถงึ ดาำ เชื้อราสร้างฟรตุ ตง้ิ บอด ี (fruiting body) แบบพิคนเิ ดีย (pycnidia) ภายใน ประกอบด้วยโคนดิ ิโอฟอร์ (conidiophores) รูปร่างทรงกระบอก ไม่มีส ี (hyaline) และโคนิเดยี (conidia) โคนเิ ดยี ระยะแรกมเี ซลลเ์ ดยี ว ใสไมม่ สี ี รปู ไข ่ (ovoid) ถงึ ยาวร ี เมอื่ โคนเิ ดยี แก่จะเปลย่ี นเป็นสนี า้ำ ตาลเข้ม มผี นงั กน้ั (septum) เกดิ ขนึ้ แบ่งเป็นสองเซลล์ และ มผี นงั สปอร์ค่อนข้างหนา ลักɳะอาการ¢องโรค ผลเนา่ เปน็ จดุ สนี า้ำ ตาลเขม้ ลกุ ลามจากขวั้ ผลหรอื บรเิ วณแผล ผลจะเนา่ ลามจาก บรเิ วณแผลทไ่ี ดร้ บั เชอื้ ไปทวั่ ผลอย่างรวดเรว็ มเี ส้นใยสเี ทาดาำ ปกคลมุ บนผล เจรญิ ฟู บนผล ผลจะเน่านิม่ และแห้งดำา ลกั ษณะภายในผล เชอื้ ราเขา้ ทาำ ลายเปลอื กดา้ นนอกขยายลามเขา้ ไปถงึ เปลอื ก ด้านในอย่างรวดเรว็ เนอ้ื ของลองกองเป็นสนี า้ำ ตาลออ่ น เนอ้ื นมิ่ เละ เปลอื กภายในมสี ี นา้ำ ตาลแดงมีส่วนของเนอื้ เละติดอยู่กับส่วนเปลอื กด้านใน 92 โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
12 34 ภำพที ่ 1 โคโลนขี องเชอื้ รา Lasiodiplodia theobromae บนอาหารพดี เี อ (PDA) ภำพท ่ี 2–3 ลกั ษณะโคนดิ โิ อฟอร์ (conidiophores) และโคนิเดีย (conidia) ภายในพคิ นิเดยี ม (pycnidium) ภำพท ่ี 4 ลกั ษณะโคนิเดยี อ่อน และโคนเิ ดยี แก่ ภำพที่ 5-6 ลกั ษณะอาการของโรคผลเน่า 5 6 93 โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
การแพร่ระบาด สามารถพบเช้ือราแพร่ระบาดอยู่ทั่วไป ในบริเวณสวนผลไม้ท่ีมีสภาพอากาศ รอ้ นชนื้ ฝนตกชกุ ซงึ่ เหมาะกบั การเจรญิ ของเชอ้ื ลกั ษณะของผลอดั แนน่ เกนิ ไป ขาดนาำ้ สาำ ลกั นำ้า การทาำ ลายของแมลงวนั ทอง ผีเส้ือมวนหวาน รอยแผลทเ่ี กดิ จากการข่วน การกัดของค้างคาว นก หรือกระรอก ทำาให้ผลแตกเป็นแผล ง่ายต่อการเข้าทาำ ลาย ของเช้อื รา เมอ่ื ผลเร่มิ แตกมกั มีแมลงหวี่มาตอมบริเวณผลเน่า แมลงหวจ่ี ึงเป็นพาหะ ในการแพร่ระบาดของเชือ้ ราไปสู่ผลอื่นหรือต้นอืน่ การควบคุมโรค 1. ตัดแต่งช่อผลให้เหมาะสม คอยดแู ล ปลดิ หรอื ใช้ไม้เข่ยี ผลเน่าออกจาก ช่อทกุ วัน เพือ่ ป้องกันผลเบยี ดทาำ ให้ผลแตกและเช้ือโรคเข้าทาำ ลายได้ง่าย 2. ให้นำ้าสมำ่าเสมอ เพ่ือป้องกนั ผลแตก 3. เกบ็ ผลท่เี ป็นโรคหรอื ถูกแมลงทำาลาย ฝังหรอื ทาำ ลายเพ่อื ลดปรมิ าณเช้อื 4. ฉีดพ่นสารเคมีป้องกันกำาจัดเชื้อราตั้งแต่ระยะช่อดอกไปจนถึงใกล้ เกบ็ เกยี่ ว โดยเนน้ ฉดี พน่ ในระยะชอ่ ดอกทกุ ๆ 7-10 วนั และระยะผลโตทกุ ๆ 10-15 วนั สารทีใ่ ช้ ได้แก่ ไอโพรไดโอน (iprodione) และคาร์เบนดาซมิ (carbendazim) และ ควรใช้สลับกับแมนโคเซบ (mancozed) 5. จุ่มผลลองกองในคาร์เบนดาซิม ไอโพรไอโอน หรือไธอะเบนดาโซล (thiabendazole) แล้วเป่าให้แห้ง ก่อนเกบ็ รกั ษาทอ่ี ณุ หภูมิ 11 องศาเซลเซียส 94 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
ÅéÔ¹¨Õè (Lychee)นจี่ อยู่ในวงศ์ Sapindaceae มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Litchi ล้ิchinensis Sonn. แหล่งปลกู อยู่บริเวณภาคเหนอื ตอนบนและ ภาคกลาง ผลมีลักษณะค่อนข้างกลม เปลือกสีแดงเข้ม ผิวขรุขระ ไม่เรียบ เนื้อสีขาว ฉา่ำ น้ำา รสหวานอมเปรี้ยว นิยมรับประทานผล สด เป็นผลไม้ที่อุดมไปด้วยวิตามิน ปัญหาสำาคัญหลังการเก็บเก่ียว คือ การเข้าทำาลายของเช้ือราหลายชนิดได้ เช่น Lasiodiplodia theobromae Colletrichum gloeosporioides และ Curvularia sp. เป็นต้น ทำาให้ผลล้ินจ่ีเน่าเสีย คุณภาพของ ผลผลติ ลดลง มอี ายุการเก็บรักษาส้นั 95 โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
âä¼Åà¹‹Ò (Fruit Rot) เชื้อราสาเหตุ Lasiodiplodia theobromae ลักɳะ·างสั³°านวÔ·ยา ลกั ษณะโคโลน ี (colony) ของเชอื้ ราบนอาหารพดี เี อ (potato dextrose agar, PDA) เส้นใยฟสู ีเทาอ่อนถึงดำา เชือ้ ราสร้างฟรุตติง้ บอดี (fruiting body) แบบพิคนเิ ดีย (pycnidia) ภายใน ประกอบด้วยเส้นใยพาราไฟซิส (paraphyses) ใสไม่มีสี (hyaline) รูปร่างทรง กระบอก (oblong) และโคนดิ โิ อฟอร ์ (conidiophores) ใหก้ าำ เนดิ โคนเิ ดยี (conidia) โคนิเดีย เมอ่ื อ่อนจะมเี พียงเซลล์เดียว ใสไม่มีส ี รูปไข่ถึงยาวร ี จนถึงค่อนข้าง กลม ปลายด้านหนง่ึ กลมมน อีกด้านสอบลงคล้ายกรวย ต่อมาโคนเิ ดียจะสร้างเม็ด สีเมลานนิ บนผิวเซลล์ด้านในเรียงตัวเห็นเป็นร้ิวในแนวยาว และผนงั ก้ัน (septum) 1 ชัน้ ตรงกลาง ทำาให้แบ่งเป็น 2 เซลล์ มีรปู ร่างคล้ายไข่ ลักɳะอาการ¢องโรค ผิวเปลือกของผลเป็นสีน้ำาตาลดำา มีเส้นใยสีดำาเจริญคลุมผลอย่างหนาแน่น เมอ่ื แกะเปลอื กผลออก จะพบว่าเนื้อเยอื่ ภายในของผลเปลย่ี นจากใสมาเป็นลกั ษณะ ขุ่นเหมอื นกระจกฝ้าอ่อนนุ่ม ฉาำ่ น้าำ มกี ลนิ่ เหม็นเปรีย้ ว 96 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
12 3 4 ภำพที ่ 1 โคโลนขี องเชอื้ รา Lasiodiplodia theobromae บนอาหารพดี ีเอ (PDA) ภำพท ี่ 2 ลักษณะพคิ นิเดยี (pycnidia) ภำพที ่ 3 ลกั ษณะภายในพิคนิเดีย ภำพท่ี 4 ลักษณะโคนิเดีย (conidia) อ่อน และโคนเิ ดียแก่ ภำพที ่ 5–6 ลักษณะอาการของโรคผลเน่า 5 6 97 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
âä¼Åà¹‹Ò (Fruit Rot) เช้ือราสาเหตุ Colletotrichum gloeosporioides ลักɳะ·างสั³°านวÔ·ยา ลกั ษณะโคโลน ี (colony) ของเชอ้ื ราบนอาหารพดี เี อ (PDA) สขี าวเทา ลกั ษณะ กลมขอบเรียบ และมีกลุ่มโคนิเดยี (conidia) สีส้มเจริญอยู่บนอาหาร เช้ือราสร้างฟรุตติ้งบอดี้ (fruiting body) แบบอะเซอวูลัส (acervulus) ลกั ษณะเป็นรูปถ้วย โคนิเดีย มีรูปร่างทรงกระบอก (oblong) เซลล์เดียว ปลายมน ใสไม่มีสี (hyaline) เกดิ บนปลายก้านโคนดิ โิ อฟอร์ (conidiophores) ลักɳะอาการ¢องโรค ผิวเปลือกของผลมีสีนำ้าตาลดำา เกิดจุดนิ่ม และมีเมือกสีชมพูบนเปลือกผล มักจะเกิดด้านใดด้านหนงึ่ ของผลก่อน แล้วลุกลามไปท่ัวทั้งผล โดยท่ัวไปมักจะมี ของเหลวไหลออกมา เมอื่ แกะเปลือกผลออก จะพบว่าเนื้อเยื่อภายในของผลเปลยี่ น จากใสเป็นลักษณะขุ่นเหมือนกระจกฝ้า อ่อนนุ่ม ฉา่ำ น้ำา มกี ล่ินเหมน็ เปรยี้ ว 98 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
12 34 ภำพที ่ 1 โคโลนขี องเช้อื รา Colletotrichum gloeosporioides บนอาหารพดี ีเอ (PDA) ภำพท ่ี 2 ลกั ษณะกลุ่มโคนเิ ดยี (conidia) สสี ้มเจริญบนอาหารพีดีเอ ภำพท่ี 3 ลกั ษณะโคนดิ โิ อฟอร์ (conidiophores) และโคนเิ ดีย ภำพท่ี 4 ลักษณะโคนเิ ดยี ภำพที่ 5–6 ลักษณะอาการของโรคผลเน่า 5 6 99 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
âä¼Åà¹‹Ò (Fruit Rot) เช้ือราสาเหตุ Curvularia sp. ลักɳะ·างสั³°านวÔ·ยา ลักษณะโคโลนี (colony) ของเช้ือราบนอาหารพีดีเอ (PDA) สีดำา เส้นใย ละเอยี ด ค่อนข้างฟ ู โคนิดิโอฟอร์ (conidiophores) เกิดเด่ียวๆ ไม่แตกก่ิงก้าน มีลักษณะ หักข้อศอกกลับไปกลับมา โคนิเดีย (conidia) มี 3-5 เซลล์ มีผนงั กัน้ รปู ร่างโค้งงอเล็กน้อย เซลล์ตรง กลางมขี นาดใหญ่และมีสเี ข้มกว่าเซลล์บรเิ วณหัวและท้าย ลักɳะอาการ¢องโรค ผิวเปลือกของผลมีสีคลำ้า มีเส้นใยสีเทาคลุมผล เม่ือแกะเปลือกผลออก พบว่าเนือ้ เย่อื ภายในของผลเละ 100 โรคผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
12 3 ภำพท ่ี 1 โคโลนขี องเช้อื รา Curvularia sp. บนอาหารพดี ีเอ (PDA) ภำพที ่ 2 ลักษณะโคนดิ ิโอฟอร์ (conidiophores) และโคนิเดยี (conidia) ภำพที ่ 3 โคนิเดีย ภำพที ่ 4–5 ลกั ษณะอาการของโรคผลเน่า 4 5 101 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
การแพร่ระบาด เชื้อราเหล่านจ้ี ะปลิวฟุ้งกระจายไปทั่วโดยลมและฝน และก่ิงพันธุ์ท่ีเป็นโรค หากระหว่างการจัดการหลังการเก็บเก่ียว เกิดหยดนำ้าข้ึนบนผลล้ินจ่ี ความช้ืนและ อณุ หภมู ทิ เ่ี หมาะสม โรคสามารถแพร่ระบาดจากผลทเ่ี ป็นโรคเขา้ ทาำ ลายผลปกตอิ นื่ ๆ ท่ีอยู่ใกล้เคยี งกันเป็นโรคได้อกี ด้วย การควบคุมโรค 1. ห่อผลด้วยกระดาษ เมอื่ ผลมีขนาด 0.5 เซนติเมตร หรอื เมอ่ื ผลมอี าย ุ 20 วนั หลังดอกบาน 2. พ่นด้วยโพรครอราซ (prochloraz) 50% WP อัตรา 20 กรัมต่อนำ้า 20 ลิตร หรือคาร์เบนดาซิม (carbendazim) 50% WP อัตรา 20 กรัมต่อน้ำา 20 ลติ ร หยดุ การใช้สารเคมี 15 วัน ก่อนเกบ็ เก่ียว 3. ในระยะติดผลและเม่ือผลมีขนาดใหญ่แล้วควรพ่นด้วยสารเคมี เช่น เบนโนมิล (benomyl) ในอัตรา 10 กรมั ต่อนำ้า 20 ลติ ร 4. หลีกเลีย่ งสภาพที่ทาำ ให้เกิดหยดนำา้ ขนึ้ บนผวิ ของล้ินจี่ 5. พยายามลดการกระทำาที่ทำาให้เกิดรอยแผลหรืออาการบอบชำ้าในระหว่าง และหลังการเก็บเกย่ี ว 102 โรคผลไม้หลังการเก็บเก่ียว
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278