Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการก้านกกิงกะหล่า

โครงการก้านกกิงกะหล่า

Description: โครงการก้านกกิงกะหล่า.

Search

Read the Text Version

โครงการกานกก่ิงกะหลา คณะผดู าํ เนินโครงการ นายอดลุ ย ดวงดีทวีรัตน อาจารยศ ภุ ทัต แดงเคร่ือง อาจารยปยาภรณ เมอื งคํา นายพิจิตร บวั ผัน นายเอกชยั เชือ้ คาํ นายกนก กาคํา นางวนจิ ชญา กันทะยวง นางสาวกรรณกิ าร เพง็ ปรางค นางสาวสมศรี จงิ่ นะ นางสาวสวุ รรณนา ออ งคาํ โครงการน้ีไดร บั งบประมาณสนบั สนนุ จาก กรมสงเสรมิ วัฒนธรรม

ก บทคัดยอ การวิจยั เร่ือง “กา นกก่งิ กะหลา” ในคร้งั นมี้ วี ัตถุประสงค(๑)เพ่ือคน หาระบบความรู ความเขา ใจ เกีย่ วกับกา นกกงิ กะหลาของคนไต(ไทใหญ)ในขอบเขตของประเทศไทย(๒)เพือ่ วากระบวนการรวบรวม และ จดั เกบ็ ขอ มูลเกี่ยวกับกา นกกิ่งกะหลา น้จี ะกระตนุ ชมุ ชนคนไตใหเ หน็ ความสาํ คญั ของประเพณแี ละใหเกิด จติ สาํ นึกทจ่ี ะเคล่ือนไหวทาํ กจิ กรรม สงวนรกั ษากานกก่ิงกะหลา ใหส ืบทอดตอ ไปในบริบททีเ่ หมาะสมและ(๓) เพ่อื นําไปสกู ารเสนอใหก า นกก่ิงกะหลาเปน มรดกภมู ิปญ ญาทางวฒั นธรรมกลมุ ชาตพิ ันธไุ ต(ไทใหญ)ในขอบเขต ของประเทศไทยและของโลกในกาลขา งหนา ดังน้นั ขอมูล/องคความรจู งึ เปน สว นสาํ คัญของงานการรวบรวมและการจดั เกบ็ และเนอื่ งจากการ จดั เกบ็ องคค วามรเู ก่ยี วกบั รายการมรดกภมู ิปญญาทางวัฒนธรรมเปน ขอ กําหนดเบื้องตนของการปกปอง คุมครองโดยชุมชน ประเดน็ สาํ คัญอกี ประการหน่งึ คอื กระบวนการการไดม าซงึ่ ขอ มลู และกระบวนการกระตนุ สํานกึ เจาของวฒั นธรรมซง่ึ งานวิจัยชนิ้ นีจ้ ะตอ งตอบโจทย ๓ ระดับคือ(๑)จะมวี ิธีการ/กระบวนการอยา งไรใน การทจี่ ะไดมาซึ่งขอมลู ทตี่ รงกับขอเทจ็ จรงิ เกย่ี วกบั มรดกภมู ปิ ญ ญาทางวฒั นธรรม เพื่อทจ่ี ะนาํ มาใชประโยชนใน การปกปองคุมครอง (๒)จะมวี ธิ ีการ/กระบวนการอยางไรในการกระตุน สาํ นึกของเจาของวฒั นธรรมใหรว มกัน ปกปองคุม ครองและสืบทอดมรดกภมู ปิ ญ ญาทางวัฒนธรรมของตนเองเพอ่ื รับใชค นในชมุ ชน/เจา ของวฒั นธรรม และ(๓)จะมีวธิ ีการ/กระบวนการอยา งไรทจ่ี ะใหเ จา ของวัฒนธรรมเขามามสี ว นรวมต้ังแตเริ่มตน เครอื่ งมอื ท่ใี ชใ นการวจิ ยั และดําเนนิ กจิ กรรมไดแก การวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ตั ิการแบบมสี ว นรวม การวิเคราะห เอกสาร การสมั ภาษณ การสงั เกตการณ และการจดั ประชุม/เวทีตา งๆ ผลจากการดําเนินงานพบวา ๑)ทีมวิจัยใชการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม( Participatory Action Research : PAR )โดยดําเนินกิจกรรมภายใตหลักการ “สิทธิทางวัฒนธรรม” ของเจาของวัฒนธรรม ทําใหไดมาซ่ึงขอมูล(การวิจัย)และการปฏิบัติการ(งานพัฒนา)ในการกระตุนสํานึกของเจาของวัฒนธรรมใหเขา มามสี ว นรวมในการปกปอ งคุมครองและสบื ทอดมรดกภูมปิ ญ ญาทางวัฒนธรรมของตนเอง ๒)ทีมนักวิจัยเปนผูท่ี มีบทบาทสําคัญในการกระตุนสํานึกของเจาของวัฒนธรรมใหเขามามีสวนรวมในการปกปองคุมครองและสืบ ทอดมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมของตนเอง ๓)งานวิจัยครั้งน้ีเจาของวัฒนธรรมเขามามีสวนรวมในการคิด และตัดสินใจต้ังแตเร่ิมการพัฒนาโครงการโดยเจาของวัฒนธรรมเปนผูเลือก “กานกก่ิงกะหลา”มาเพ่ือท่ีจะทํา การปกปองคมุ ครองและ๔)ระบบความรู ความเขาใจเกยี่ วกบั กานกกิ่งกะหลาของคนไต(ไทใหญ)ในขอบเขตของ ประเทศไทยพบวาถาเปนความรูระดับลึกเก่ียวกับองคประกอบทั้งหมดของกานกกิ่งกะหลา เชน ประวัติความ เปน มา คุณคา/ความหมาย เครอื่ งดนตรี ข้ันตอนการทาํ เครอื่ งดนตรี ขอหา ม ผรู าํ รูปแบบการรํา/ทา รํา

ข การแตงกาย(ชุดรํา) ข้ันตอนการทําชุดรํา(ปกนกกิ่งกะหลา) และข้ันตอนการรํา/การแสดง เปนตน พบวามปี ราชญช าวบานจาํ นวนนอ ยคน(สวนมากอายุ ๘๐ปข้ึนไป)ที่มีความรูความเขาใจแบบองครวม สวนมาก ปราชญชาวบานมีความรูแบบแยกสวน เชนบางคนรูเฉพาะขั้นตอนการทําชุดรํา(ปกนกก่ิงกะหลา) บางคนรู เฉพาะการรํา/ทา รํา หรือบางคนรเู ฉพาะการแตง กาย(ชดุ รํา) เทา นั้น เพราะการสืบทอดชวงหลังเปนประเภทครู พักลกั จําจึงมกี ารสบื ทอดเฉพาะรปู แบบเทา นั้นสวนคุณคา/ความหมายเร่ิมจางหายไป

ค Abstract This research entitled “King-Ka-La Dance (The hand movements and steps of the female dancers, who wear spectacular fan-shaped costumes, evoke the movements of a bird) aims 1) to find the knowing and understanding system of King-Ka-La Danceamong Tai people 2) to find out the process ofcollecting beneficial information in preserving their heritage and to support Tai people to inherit their culture from generation to generationand 3) to move forward this Tai culture, King-Ka-La dance to be as Thailand and world heritage. Thus, knowledge is the key factor in the process of data compiling and storing of the cultural heritage which is the basic agreements of cultural protection in the community level. Another key successful factor is the process of acquiring data from people in the community and the process of encouraging those to preserve as the “Culture’s owner”, this research aims to answers in three challenging levels. The first level is how to acquire facts and beneficial data involved with the cultural heritage from the community. The second level is the process to encourage people to protect and inherit their culture as serving their people and community. In the third level is how to find out the method and process to encourage the culture’s owners to participate in the first step until the end of process. In this researchit had been using various kind of researchmethodology as the participatory process, document analyzing, interviewing, observing and workshop to collecting beneficial data. The result of this study was found that 1) the PAR: Participatory Action Research was the key successful of research methodology as doing the activities under a concept of “Cultural Right” of the culture’s owner. Those activities done in this research helped to obtain beneficial data from the culture’s owner and it was also useful in developing mechanism to encourage those owner to take part in protecting, preserving and inheriting their own culture. 2) The role of research team played an important role in helping and encouraging the culture’s owner to truly understand their cultures and take an action in protection, preservation their culture. 3)This research allowed the culture’s owner to take part in the first step, starting from developing a research proposal, in which those people had selected their own culture to preserve and protect, which is “King-Ka-La Dance”. 4)In Thai context knowledge and in-depth information of King-Ka-La Dance among those people there are just only few local wisdoms, most aged over 80 years, have the holistic knowing

ง and understanding of their culture which covers its history, values, meaning, musical instruments and its making process, prohibitions, dancing postures, costumes and its making process, and step of dancing. Moreover some local wisdom has separate knowing and understanding such as some knows only the dancing gestures, how to make the costumes, etc. Sothere were inherited only formats, butvalues and meanings had been vanished from generation to generation.

จ กิตติกรรมประกาศ การวิจยั ครั้งน้ีสาํ เรจ็ ลุลว งไดเพราะไดร ับการอบรมส่ังสอน การใหค วามชวยเหลอื และใหความรว มมือ เปน อยา งดี ทั้งทางตรงและทางออมจากบุคคลและองคก รตางๆซง่ึ มมี ากเกนิ กวาจะกลา วในท่ีนไี้ ดห มด อยางไรกต็ ามทมี วจิ ัยขอขอบพระคณุ ผูชวยศาสตราจารยฉ ววี รรณ ประจวบเหมาะ คณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิ กระบวนการจดั ทาํ ขอ มลู มรดกภมู ปิ ญ ญาทางวัฒนธรรมทใ่ี หโอกาสทมี วจิ ยั ไดร วมดําเนินงานคร้งั นพี้ รอ มคอยให คําแนะนําและเปด โอกาสใหหวั หนา ทีมวจิ ัยนาํ ประสบการณแ ละบทเรยี นจากการดาํ เนนิ งานวจิ ัยในครั้งน้ไี ป แลกเปลีย่ นกบั กลมุ อน่ื ๆทาํ ใหทมี วจิ ยั ไดรบั ความรูแ ละโอกาสในการพัฒนาตนเองทางวิชาการอยา งกวา งขวาง ทีมวจิ ัยใครขอขอบพระคุณผูชวยศาสตราจารยเ รณู อรรฐาเมศร อาจารยชพู นิ จิ เกษมณี นางสาวกลุ วดี เจริญศรี คณะกรรมการผูทรงคุณวฒุ กิ ระบวนการจดั ทาํ ขอ มูลมรดกภมู ปิ ญ ญาทางวัฒนธรรมและอาจารย พะนอม แกวกําเนดิ ผทู รงคุณวุฒิ ที่ใหโ อกาสทีมวิจัยไดร ว มดาํ เนนิ งานครงั้ นีพ้ รอมท้ังการใหค าํ แนะนํา นอกจากน้ที มี ผวู จิ ยั ใครขอขอบคุณปราชญช าวบาน ผูนําชมุ ชน พอบา น แมบา น เดก็ และเยาวชน ทกุ คนในพ้นื ท่ดี ําเนินงาน จังหวดั เชยี งใหม เชยี งรายและแมฮอ งสอน ทใี่ หโ อกาสทมี วจิ ัยเขา ดาํ เนินโครงการใน พนื้ ทีแ่ ละใหค วามรว มมือ/ใหค วามชวยเหลือในการใหข อมูลและรวมกิจกรรมในโครงการตลอดการดาํ เนนิ งาน โครงการคร้งั น้ี ทีมวิจยั ขอขอบคุณคณะกรรมการสมาคมการศกึ ษาและวฒั นธรรมไทใหญท ี่ชว ยประสานงานเครอื ขา ย ในพื้นทกี่ ารดาํ เนินงาน ทา ยทสี่ ดุ ทีมวิจยั ขอขอบคณุ กรมสงเสริมวฒั นธรรมท่ไี ดใหก ารสนบั สนุนงบประมาณใหในการ ดาํ เนนิ งานวจิ ยั ครง้ั น้ี ทาํ ใหการวิจัยในครัง้ น้ีสําเรจ็ ตามวัตถุประสงคทต่ี ง้ั ใจไว ทีมวจิ ยั โครงการกานกก่ิงกะหลา

ฉ สารบญั หนา บทคัดยอ กติ ติกรรมประกาศ สารบัญ บทที่ ๑ บทนาํ ความเปน มาและความสาํ คัญของปญหา โจทยวิจัย วตั ถุประสงคของการวจิ ยั ขอบเขตของการวจิ ัย นยิ ามศพั ทปฏบิ ัติการ ประโยชนที่คาดวา จะไดรบั จากผลงานวิจัย บทที่ ๒ แนวคดิ ทฤษฎีและงานวจิ ัยท่ีเก่ียวขอ ง ๑.ความรเู ก่ยี วกับกา นกก่ิงกะหลา ในประเทศไทย ๑.๑สถานภาพองคค วามรทู ่ีมอี ยู ๒.แนวคิดทใ่ี ชศ กึ ษามรดกภูมิปญ ญาทางวัฒนธรรม ๒.๑วัฒนธรรมกับการพัฒนาขอเสนอของ UNESCO ๒.๒การพฒั นาแนววัฒนธรรมชมุ ชน ๒.๒.๑ ปรัชญาและแนวคิดการพฒั นาแนววฒั นธรรมชุมชน ๒.๒.๒ ทฤษฎกี ระบวนการผลิตซาํ้ ทางวฒั นธรรม (Reproduction) ๓.การศกึ ษามรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมโดยชมุ ชนมีสวนรวม ๓.๑แนวคดิ เรื่องการมสี ว นรวม ๓.๒กระบวนการวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ัติการแบบมีสว นรว ม ๓.๓แนวทาง/วธิ กี ารการรวบรวมและจดั เก็บขอ มูลมรดกภมู ปิ ญ ญาทางวัฒนธรรมแบบมีสวน รวมของชมุ ชน โดยกรมสง เสรมิ วัฒนธรรม

ช บทที่ ๓ วธิ ีการและขั้นตอนการดาํ เนินงานวิจัย ระยะเวลาในการดาํ เนินโครงการ เครอ่ื งมือทใ่ี ชใ นการวจิ ัยและดําเนนิ กิจกรรม การตรวจสอบความถกู ตอ งของขอ มลู หลักการสาํ คญั ในการวางแผนดําเนนิ กจิ กรรม ขัน้ ตอนและวธิ ีการดําเนนิ งาน ขั้นตอนท่ี ๑ การเตรียมดิน : สิทธทิ างวัฒนธรรมของเจา ของวัฒนธรรม ข้ันตอนที่ ๒ การคดั เลอื กเมลด็ พันธุ : โดยชมุ ชน เพอ่ื ชมุ ชน และเปน ของชุมชน ขน้ั ตอนที่ ๓ การปลูกพชื : ตน ไมแหง คณุ คา ขนั้ ตอนที่ ๔ การบํารุงรกั ษา : สานขายขยายผลเร่อื งการปกปองคุมครองมรดกภูมปิ ญ ญา ทางวฒั นธรรม ขั้นตอนท่ี ๕ เกบ็ เกยี่ วผลผลติ : เคียงบา เคียงไหลร ะหวา งเจาของวัฒนธรรม นกั วิจัย/ นักพฒั นา บทบาทของทมี นกั วจิ ยั /นักพฒั นา บทที่ ๔ กลมุ ชาตพิ นั ธไุ ต (ไทใหญ) และบริบทในประเทศไทย ความเปน มาของกลมุ ชาตพิ นั ธุไต(ไทใหญ)ในประเทศไทย บรบิ ทพืน้ ท่กี ารดําเนินงาน บทท่ี ๕ องคความรทู เ่ี กยี่ วกบั กา นกกงิ่ กะหลา ๑.ชว งอดตี อนั หวานชืน่ ๒.ชว งปจ จุบันอนั ขมขน่ื ๓.สรุปผล : อดตี หวานชน่ื และปจจุบันขมขน่ื บทท่ี ๖ การประชุม/เวทเี สวนา : เคร่ืองมือสําคญั เพื่อการเปล่ยี นแปลง 1.คุณลกั ษณะ/องคประกอบของการประชุม/เวทีเสวนา 2.แบบแผนการจัดประชมุ /เวทีเสวนา 3. การวางแผนการออกแบบการจัดประชมุ /เวทเี สวนา

ซ 4.ข้ันตอนของการจดั ประชุม/เวทีเสวนา บทที่ ๗ การมีสวนรว มของเจาของวัฒนธรรม : กญุ แจสําคัญของการปกปอ งคุมครองและ การสืบทอดมรดกภมู ปิ ญ ญาทางวฒั นธรรม ๑.หลกั การดาํ เนินงานโครงการ ๒.การประชุม/เวทเี สวนา : การสื่อสารแบบมีสว นรวมเพอื่ สรา งความมน่ั ใจใหเ จาของวฒั นธรรม ขนั้ ตอนที่ ๑ การเตรยี มดนิ : สิทธิทางวัฒนธรรมของเจา ของวัฒนธรรม ข้นั ตอนที่ ๒ การคดั เลือกเมล็ดพันธุ : เคียงบาเคียงไหล ขั้นตอนที่ ๓ การปลูกพชื : ตนไมแ หง คุณคา (รปู แบบ/คุณคา,เปลือก/แกน/กระพ)ี้ ข้นั ตอนที่ ๔ การบาํ รุงรกั ษา : สานขายขยายผลการปกปองคุมครองมรดกภมู ิปญ ญา ฯ ข้ันตอนที่ ๕ การเก็บเกีย่ วผลผลติ : โดยชุมชน เพอื่ ชมุ ชนและเปนของชุมชน ๓.รูปแบบการส่ือสารแบบมีสว นรวมของการประชมุ /เวทีเสวนา ๔.ปจจยั สงเสรมิ ในการดาํ เนนิ งาน บทท่ี ๘ สรปุ อภปิ รายผลและขอ เสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก

๑ บทที่ ๑ บทนาํ ๑.ความเปน มาและความสําคญั ของปญหา ประเทศไทยประกอบดว ยหลากหลายกลมุ ชาติพนั ธุ หนึง่ ในนนั้ คอื กลุมชาตพิ ันธไุ ทใหญ ซงึ่ คนไต มถี ิ่นฐานกระจายอยูทว่ั ไปในภูมภิ าคแถบเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต ชาวไตตงั้ ถิน่ ฐานอยูมากที่สดุ ในรฐั ฉาน ประเทศสหภาพเมียนมาร ซึง่ รัฐฉานมีอาณาเขตตดิ กับประเทศไทยที่จงั หวัด เชียงราย เชียงใหมและ แมฮ อ งสอน ชาวไต(รัฐฉาน)มีการตดิ ตอ คา ขายกับชาวลา นนาต้ังแตส มยั พระญามงั ราย (สายสม ธรรมธิ,๒๕๓๘: ๓) เหตุการณท ที่ ําใหชาวไตตองอพยพเขามาในประเทศไทยมีหลายเหตุการณ เชน พ.ศ. ๒๔๒๘-๒๔๒๙ อังกฤษไดเ ขา ยึดประเทศพมา เปนเหตุใหห วั เมืองตางๆในรัฐฉานกอ การ จลาจล เกดิ เปนสงครามแยง ชงิ อํานาจ ทาํ ใหช าวไตจาํ นวนมากตอ งลภี้ ัยมาอยใู นประเทศไทยโดยเฉพาะ แถบจังหวดั เชยี งราย เชียงใหมและแมฮ อ งสอนเพราะเปนจังหวดั ทีต่ ดิ กบั ชายแดนรัฐฉาน พ.ศ.๒๔๙๑ ภายหลังจากท่พี มา ไดรับเอกราชจากองั กฤษแลว ไดเกิดความขัดแยงทางการเมอื งการ ปกครองจนเปนเหตใุ หเกิดการสูรบกนั ระหวา งกลมุ ชาตพิ นั ธุต า งๆในประเทศพมาเพือ่ เรียกรองเสรภี าพตาม สัญญาปางหลวง กับกลมุ อํานาจของพมา ทาํ ใหค นไตทะลกั เขามาในประเทศไทยเปน จํานวนมากขนึ้ เรือ่ ยๆ จนถึงปจ จบุ นั ถิ่นท่ีอยอู าศยั ในประเทศไทยของชาวไตเมื่อพจิ ารณาจากแผนท่ีทางภาษาแสดงใหเ หน็ วา มีชาวไตท่ี พูดภาษาไต กระจายอยตู ามทอ งทต่ี า งๆของประเทศไทย (วรรณา จันทนาคม,๒๕๒๖:๒) ดงั นี้ ๑.อําเภอแมสาย จังหวดั เชียงราย ๒.อาํ เภอแมอ าย อาํ เภอฝาง อําเภอเชยี งดาว อําเภอแมแ ตง อําเภอพราว และอําเภอหางดง จงั หวัดเชียงใหม ๓.อําเภอเมอื ง อาํ เภอปาย อําเภอขุนยวม อําเภอแมล านอ ย และอาํ เภอแมเสรยี ง จงั หวดั แมฮ องสอน ๔.อําเภอแมส อด จงั หวดั ตาก ๕.อาํ เภอนครไทย จังหวดั พษิ ณุโลก ๖.อําเภอวังทรายพนู อาํ เภอเมอื ง จังหวัดพิจติ ร จากแผนที่ทางภาษาดงั กลาวแสดงใหเหน็ ถึงการกระจายตวั ของคนไตมีอยหู ลายจงั หวดั ทอ่ี ยูใ น ประเทศไทย คนไตท่ีอยูในประเทศไทยในปจจุบันสามารถแบง ไดเปน ๓ กลมุ ใหญๆ ดังนี้ กลมุ ท่ี ๑ เปน คนไตทอ่ี พยพเขามาอยใู นประเทศไทยชวงประมาณ พ.ศ.๒๔๒๙ สว นมากเปน คนไต ท่มี สี ัญชาติไทยในปจจุบนั กลุม ที่ ๒ เปนคนไตท่ีอพยพเขามาอยูใ นประเทศไทยชวงประมาณ พ.ศ.๒๔๙๑ สวนมากเปนคนไต ทหี่ นีภยั สงคราม กลมุ ท่ี ๓ เปนคนไตทีเ่ ขามาอยใู นประเทศไทยชวงประมาณ พ.ศ.๒๕๒๐ จนถงึ ปจจบุ นั เปน คนไตที่ มที ้ังหนีภยั สงครามและหนคี วามยากจน ซง่ึ คนไตกลุมน้ปี จ จุบนั สวนมากเปน คนเขาเมอื งผิดกฎหมายมาเปน แรงงานตา งดาว ตัง้ แตอ ดตี จนถงึ ปจจุบนั ในการอพยพเคล่อื นยา ยของคนกลุม ชาตพิ ันธไุ ตจากรฐั ฉานทเี่ ขามาอยูใน ประเทศไทย เขาเขา มาพรอมกบั วฒั นธรรมของเขา ดงั นน้ั เราจงึ พบเหน็ วฒั นธรรมไตในประเทศไทย โดยเฉพาะในพื้นทีจ่ ังหวดั แมฮ องสอน เชียงใหมและเชียงรายเน่อื งจากสามจงั หวัดนี้มกี ลมุ ชาติพันธไุ ต อาศยั อยเู ปนจํานวนมากเพราะมชี ายแดนติดกบั รฐั ฉาน

๒ กลุมชาตพิ นั ธุไตท่ีอยูในประเทศไทยมีประเพณวี ฒั นธรรมทีเ่ ปน อตั ลักษณแหง ชาตพิ ันธุของตนเอง ไมวาจะเปนภาษาพดู การแตง กาย การกนิ การแสดง การละเลน วถิ ชี วี ติ ตงั้ แตเ กดิ จนตาย ประเพณี วฒั นธรรมในรอบป ตลอดจนศิลปกรรมและสถาปต ยกรรม ทมี่ คี วามแตกตา งจากคนไทยทว่ั ๆไป กลุม ชาติ พันธุไตมีความเช่อื ในพทุ ธศาสนาอยา งเหนยี วแนน แมวา จะอพยพมาอยใู นเมืองไทยแตย งั คงมกี ารสืบทอด วัฒนธรรมตามประเพณี ๑๒ เดอื น การรวบรวมและจดั เกบ็ ขอมูลมรดกภูมปิ ญญาทางวฒั นธรรมคร้ังนีท้ มี วิจยั มคี วามเชือ่ วา “เจาของวัฒนธรรมมีความรคู วามเขา ใจในเรอ่ื งเกยี่ วกับวัฒนธรรมของตนเองมากกวาคนนอก วัฒนธรรมเพราะเจาของวัฒนธรรมเปน ผผู ลิต ใชและมกี ารสบื ทอดวฒั นธรรมของเขามาอยา งตอเนื่อง วฒั นธรรมเปน เบาหลอมวถิ ชี ีวติ ของเขา แตด ว ยปจจัยตางๆทีท่ าํ ใหวิถชี ีวิตของเขาเปลยี่ นไปดังนั้นการใช วฒั นธรรม การร้ือฟน และการสบื ทอดวัฒนธรรมจึงมีการปรบั เปลี่ยนไปดว ย” จากความเชอื่ ดงั กลา วเพอ่ื ใหเจา ของวัฒนธรรมมสี ว นรว มตั้งแตเร่มิ ตน และรวมเปน เจา ของโดยใหม ี สวนรว มในการคดิ และตดั สินใจเลือกตวั วัฒนธรรม ดังนน้ั กระบวนการรวบรวมและจดั เก็บขอมูลจะ ดําเนนิ การโดยใหค วามสาํ คัญกับเจาของวัฒนธรรม เนนกระบวนการมสี ว นรว ม โดยเร่มิ จาก (๑)การจดั เวทรี ะดับชาวบา นเพอ่ื รวบรวมและเก็บขอมูลในเบื้องตนท่ีวัดบา นเวียงหวาย อ.ฝาง จ. เชยี งใหมเ มือ่ วันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๕ทผ่ี านมา ไดเชญิ ปราชญชาวบา นและผูนาํ ชมุ ชนท่ีเปน ชาติพนั ธไุ ต จากหมบู า นตางๆรวมจาํ นวน ๑๓ คน มาพูดคยุ ประเพณีตางๆของชาวไต เชนประเพณี ๑๒ เดอื น แลวตัง้ คาํ ถามวา อตั ลักษณค นไตคอื อะไร จนตกผลกึ ผูเขารว มเลอื กการรํานกกงิ่ กะหลา เพราะการราํ นกก่ิงกะ หลามเี อกลกั ษณเ ฉพาะทโ่ี ดดเดน เชนการแตง กายที่สวยงามซึ่งเปนวฒั นธรรมของคนไต ปจจบุ นั หาคนทีท่ าํ เปนยาก (๒)วันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๕๕ทีผ่ านมา หัวหนาทีมวิจยั ไดม โี อกาสสนทนากับคณุ ขวญั เมอื ง แสง คํา ซึ่งเปน คณะกรรมการสมาคมการศกึ ษาวัฒนธรรมไทใหญแ ละเปนสมาชิกองคก ารบรหิ ารสว นตาํ บลมอน ปน อําเภอฝาง จงั หวดั เชยี งใหมใ นประเด็นเก่ียวกับวาอตั ลักษณชาวไตคืออะไร คุณขวัญเมอื ง บอกวาท่ีผา น มาคณะกรรมการสมาคมการศกึ ษาวฒั นธรรมไทใหญซึง่ ประกอบดวยตัวแทนคนไตมาจากอาํ เภอตา งๆใน พน้ื ทีจ่ ังหวดั เชยี งใหมและแมฮอ งสอน ไดมีการพดู คุยในประเด็นเก่ยี วกับวฒั นธรรมเหมือนกนั โดยเฉพาะการ ราํ นกก่งิ กะหลา ท่เี ปน อตั ลักษณและเปนวฒั นธรรมของคนไต แตค นท่วั ไปมองวา เปน วฒั นธรรมของคน ภาคเหนือมันใชสวนหนง่ึ แตควรเจาะจงลงไปวาเปนวัฒนธรรมของคนไต คณะกรรมการสมาคมฯตอ งการ ร้ือฟนและสืบทอดใหถ ูกตองแตย งั ไมร วู า จะทาํ อยา งไร ถามโี ครงการน้เี ขา มาชว ยจะทาํ ใหง านถกู ตอ งและ สมบูรณ “กา นกกิ่งกะหลา” เปนภาษาไตคาํ วา “กา ” แปลวา “ฟอนรํา” ดงั นน้ั “กานกกิง่ กะหลา” แปลวา การฟอ นรํานกกิงกะหลา สาํ นกั งานวฒั นธรรมจังหวดั แมฮอ งสอน กลา วถึง “กง่ิ กระหลา ” เปน การแสดง ประเภทหนึง่ ของชาวไตทีอ่ าศยั อยใู นประเทศไทย ชอ่ื “กิง่ กะหลา” เปน คําไต การอา นภาษาบาลี “กินร” (อา นวา กินะระ) ซึ่งชาวไตออกเสยี งเปน “กง่ิ นะหลา หรอื กิ่งกะหลา ” สว นกนิ รนี ้ัน ชาวไตเรียกเปน “นาง นก” ในอดตี การแสดงกงิ่ กะหลา เปน ศิลปะการแสดงสาํ หรับผูชาย เพราะผแู สดงตองมีความแขง็ แรง สามารถรบั นํา้ หนกั ปก หางของนกกับถงุ ทรายที่ถวงอยูด า นหนา ไดน านๆ ตอ มาเม่อื มีการเปลย่ี นใหผหู ญงิ ราํ จึงนยิ มใชหนุ แสดงตัวเลก็ กวาผชู ายคอื ใชผเี สื้อทมี่ ชี ือ่ วา “กาบเบอดง” หรือ”นางแซม” แทน การแสดงกิ่งกะหลา และกาบเบอ ดง หรือนกแซม เปน สว นหนงึ่ ของการเฉลมิ ฉลองเทศกาลออก พรรษาซึ่งแสดงตรงกับเดอื น ๑๑ ภาษาไตเรียกวา “ปอยเดือน ๑๑” หรอื “ออกหวา ” (หวา แปลวา พรรษา) ซึ่งมตี ํานานตามพทุ ธชาดกวา พระพุทธเจา เสด็จนิวตั ิยงั โลกมนษุ ยจากบันไดทิพยท พ่ี ระอินทรเนรมิต ให เทวดา มนุษยและสตั วใ นหมิ พานตจึงตา งพากันไปรบั เสดจ็ ดว ยความยินดี และมีการแสดงตางๆรวมทั้ง

๓ การแสดงราํ ก่ิงกะหลา ดว ยตอมาการรํากิง่ กะหลา ไดถกู ประยุกตใชก บั เทศกาลงานบุญอ่ืนๆเพอื่ ความ สนกุ สนาน จากหลักการและเหตผุ ลท่ีกลาวมาแลวนน้ั การราํ นกกง่ิ กะหลา จงึ มคี วามสาํ คญั ตอ ชาวไตในดา น ศาสนา และวัฒนธรรม มีความเปนมรดกภมู ปิ ญ ญาวัฒนธรรมของชาติ ความสําคญั ในดานศิลปะการแสดง ดังน้ี ๑. มคี ุณสมบัตเิ ฉพาะของวัฒนธรรมน้ันๆที่แสดงใหเ ห็นถึงเอกลักษณแ ละอัตลกั ษณของชาวไต ๒. มอี งคป ระกอบของศลิ ปะการแสดงทบ่ี งบอกใหเ ห็นคุณลักษณะของศลิ ปะการแสดงน้นั ๆ ๓. มีรูปแบบการแสดงหรอื การนําเสนอทีช่ ัดเจน ๔. มกี ารสบื ทอดที่ยังคงมกี ารแสดงอยู หรอื แสดงตามวาระโอกาสของการแสดงนัน้ ๆ ๕. มีคณุ คา ทางสังคม จติ ใจ และวถิ ีชีวติ ชุมชนของชาวไตในเขตจงั หวัดเชยี งใหม เชยี งรายและ แมฮ อ งสอน ปจ จบุ นั สามารถพบการแสดงกงิ่ กะหลา ไดใ นงานรบั รองแขกบานแขกเมืองและการแลกเปลีย่ น วฒั นธรรมระหวางภูมภิ าคและระหวางชาติอีกดว ย ปจ จุบันการรํานกก่งิ กะหลา กาํ ลงั เผชิญกับปญหาสําคญั ไดแ ก (๑)การรํานกก่ิงกะหลาหมดความสาํ คญั ในพิธีกรรม(เจาของวัฒนธรรมเริม่ ขาดความรูความเขาใจ โดยเฉพาะสวนทเ่ี ปนคุณคา ของรํานกกงิ่ กะหลาในพิธีกรรม)เชนในป พ.ศ.๒๕๕๔ ทผี่ า นมาหัวหนา ทีมวิจยั ได มโี อกาสเขา รว มประเพณปี อยออกหวา ท่ีบา นเวียงหวาย จากการสงั เกตพบวา ในประเพณปี อยออกหวา ไมม ี การราํ นกกิง่ กะหลา ท้ังๆทีก่ ารรํานกกิง่ กะหลาเปน สว นสําคัญสว นหน่งึ ในประเพณีปอยออกหวาและจากการ พดู คยุ กับผูนาํ ชมุ ชนและปราชญชาวบา นทุกคนใหความเหน็ ตรงกันวาหาคนท่ที ํานกกง่ิ กะหลายากเลยไมได ทํา นั่นคือเจา ของวัฒนธรรมขาดความรูความเขา ใจในคุณคา และกระบวนการผลติ ซํ้าทางวฒั นธรรมทตี่ อ ง ครบเครอ่ื งเรอื่ งสบื ทอดทงั้ สว นทเ่ี ปน”รูปแบบ”และสว นท่เี ปน “คณุ คาและความหมาย” (๒)มีการนําราํ นก กิง่ กะหลา ไปใชผิดประเภทโดยเฉพาะ”คนนอกวัฒนธรรม”ที่นําไปใชท างธรุ กจิ ดงั จะเหน็ ไดจ ากงานของ นพิ ทั ธพ ร เพ็งแกว (๒๕๕๓) ไดใ หค วามคิดเหน็ ตอ สถานการณป จ จบุ นั ที่มกี ารนาํ เอาฟอ นนกกง่ิ กะหลา ของ คนไต ไปใหก ะเทยนงุ นอยหมนอยราํ ตามคาบาเรต  สถานที่กนิ เหลา เทยี่ วผูหญิง เพราะในอดตี การฟอ นนก ฟอ นโต เอาไวรํารับเจาฟา หรือแสดงเวลามีงานสําคญั ที่สุดของคนไต (๓) เม่อื มกี ารนาํ การแสดงนกก่งิ กะ หลา ไปใชในงานตางๆโดยเฉพาะคนนอกวัฒนธรรมจะไมไ ดบอกวา การราํ นกกิ่งกะหลา เปนของวฒั นธรรมไต สว นมากบอกวา เปน การรําจากจังหวดั ทน่ี าํ มาทําใหคนทัว่ ไปคิดวา การราํ นกกงิ่ กะหลาเปน วฒั นธรรมของคน ลานนาและ(๔)ในปจ จบุ ันพบวา เรมิ่ มีการสืบทอดการราํ นกกง่ิ กะหลาโดยเฉพาะจงั หวัดเชียงใหม เชยี งราย และแมฮองสอน แตพบวา ผทู ่ีมาเรียนรูนน้ั สว นมากเปน “คนนอกวฒั นธรรม” การสืบทอดเนนท่”ี รูปแบบ” คอื เนน เฉพาะ “การแตง ตัวและการรําเทา นั้น” สว นท่เี ปน ”คณุ คาและความหมาย” ของการรํานกก่ิงกะ หลาจงึ คอ ยๆหายไป โดยสรุปการราํ นกกิ่งกะหลาเปน มรดกภูมิปญ ญาทางวัฒนธรรมของกลมุ ชาติพนั ธุไต เปน วฒั นธรรม ทยี่ ังมีชีวติ สามารถทีจ่ ะพฒั นาและสรา งสรรคใหเ กดิ ประโยชนก บั เจา ของวฒั นธรรมอยา งยง่ั ยนื ได แต สถานการณในปจจบุ นั การราํ นกกง่ิ กะหลากําลังเส่ยี งตอการสญู หายโดยเฉพาะในสวนท่เี ปน “คณุ คา ความหมายและกระบวนการในการผลติ ”และนอกจากนแี้ ลวการรํานกกิง่ กะหลา ถูกฉกฉวยนาํ ไปใชในทาง ธุรกิจทีไ่ มเหมาะสม

๔ ๒. โจทยวิจยั ๒.๑มรดกภมู ิปญญาทางวฒั นธรรมท่ีเรียกวา ”กานกกิ่งกะหลา”ในขอบเขตประเทศไทย มีอตั ลกั ษณ สาํ คญั อยา งไรบาง มีความหลากหลายในเรอื่ งแบบแผนการรกั ษาอยางไร และมีความหมายหรอื คณุ คา ตอ ชมุ ชนคนไตอยา งไร ๒.๒จะมีวิธกี าร/กระบวนการอยา งไรในการที่จะไดมาซง่ึ ขอ มูลทีต่ รงกบั ขอ เทจ็ จรงิ เกี่ยวกบั การราํ นกก่ิงกะหลา เพ่อื ทีจ่ ะนาํ มาใชประโยชนในการปกปอ งคมุ ครองมรดกภมู ิปญ ญาทางวัฒนธรรม ๒.๓จะมวี ธิ กี าร/กระบวนการอยา งไรในการกระตนุ สํานกึ ของเจาของวฒั นธรรมใหร วมกันปกปอ ง คุม ครองและสืบทอดการราํ นกก่ิงกะหลาอนั เปน มรดกภมู ปิ ญญาทางวฒั นธรรมของตนเองเพอ่ื รบั ใชค นใน ชุมชน/เจา ของวัฒนธรรมโดยการร้อื ฟนและการสบื ทอดนน้ั ตอง “ครบเครอ่ื งเร่อื งสบื ทอด” นนั่ คอื สบื ทอด ทัง้ สวนทีเ่ ปน “รูปแบบ”และสว นท่เี ปน “คณุ คา และความหมาย” ๓. วตั ถปุ ระสงคของการวิจยั ๓.๑เพอื่ คนหาระบบความรู ความเขาใจเกยี่ วกับการราํ นกกงิ่ กะหลาของคนไตในขอบเขตของ ประเทศไทย ๓.๒เพอ่ื วา กระบวนการรวบรวม และจดั เกบ็ ขอมูลเก่ียวกบั การรํานกกงิ่ กะหลานจี้ ะกระตุน ชุมชน คนไตใหเหน็ ความสําคัญของประเพณีและใหเกิดจติ สํานกึ ทจ่ี ะเคลือ่ นไหวทาํ กจิ กรรม สงวนรกั ษาการราํ นก กงกะหลา ใหส บื ทอดตอ ไปในบริบทที่เหมาะสม ๓.๓เพอ่ื นาํ ไปสูการเสนอใหการรํานกก่ิงกะหลา เปน มรดกภูมิปญญาทางวฒั นธรรมกลมุ ชาตพิ นั ธุไต ในขอบเขตของประเทศไทยและของโลกในกาลขางหนา ๔. ขอบเขตของการวิจยั ทีมวิจัยไดก าํ หนดขอบเขต/วธิ ีการดาํ เนินการรวบรวมและจดั เก็บขอ มลู เรอ่ื งกา นกกิง่ กะหลาไวด ังนี้ ๔.๑ ขอบเขตพ้ืนท่ี โครงการจะดําเนินกิจกรรมในพื้นที่ ๓ จงั หวดั ในเขตภาคเหนือตอนบนของ ประเทศไทยคอื จงั หวัดเชียงใหม(อําเภอฝางและอาํ เภอเวยี งแหง) จังหวัดเชยี งราย (อําเภอแมฟา หลวง) จงั หวดั แมฮองสอน(อาํ เภอเมืองและอาํ เภอขนุ ยวม) เพราะทงั้ สามจังหวัดเปน พืน้ ทีท่ มี่ เี ปนชมุ ชน/หมูบานของกลมุ ชาตพิ ันธไุ ตเปนจาํ นวนมาก ในพ้ืนท่ี ยงั มีปราชญชาวบานทม่ี คี วามรคู วามเขา ใจเก่ียวกบั กานกกงิ่ กะหลา คณะนกั วิจัยมีเครอื ขา ยกับกลมุ ชาตพิ ันธุ ไตในพน้ื ที่ ๔.๒ขอบเขตเนอ้ื หา/และกิจกรรม กจิ กรรม วัตถปุ ระสงค กลุม เปาหมาย วิธีการ -ช้แี จงวัตถุประสงค -ทมี วิจยั ๑.การประชุมเชิง -พัฒนาทมี วิจัยหลกั การจัดเก็บและ -เตรยี มประเดน็ เนอ้ื หาและ ปฏบิ ตั ิการทีมวจิ ัย รวบรวมขอ มลู เทคนคิ การใหช ุมชนมี กระบวนการทจ่ี ะอบรม -เตรียมเอกสารท่ีจะแจกเชนโครงการ สวนรว ม และความรูเกี่ยวกบั กา นก และความรูท่ีเก่ียวกบั การจัดเกบ็ รวบรวม กงิ่ กะหลา เปนตน ขอมลู เชน การจัดเวทีและการตัง้ คาํ ถาม -ทาํ ความเขา ใจภารกิจรวมกัน ความรเู บื้องตน เกย่ี วกับกานกก่ิงกะหลา -แบงบทบาทหนาที่ เปน ตน -รว มกนั วางแผนงาน โดยใชแ นวคิด ”ตน ไมแหงคณุ คา” และ “ตาขา ยความสัมพนั ธ” มาเปนเคร่ืองมือ -บันทกึ ภาพและบนั ทึกเสียง -รว มกันวางแผนงานและแบงหนาที่

๕ กจิ กรรม วตั ถุประสงค กลุม เปา หมาย วิธกี าร ๒.การประสานงานกับ -ชแ้ี จงวตั ถปุ ระสงค -สมาคมการศึกษา -ประสานงานและประชมุ รวมกบั หนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ ง -หาความรวมมอื และการดําเนนิ งาน วัฒนธรรมไทใหญ หนว ยงานท่เี กยี่ วของ รว มกนั -เครอื ขา ยชาติพนั ธผุ หู ญงิ -ชแ้ี จงวัตถุประสงค หาความรว มมอื และ -หาแกนนาํ /ปราชญช าวบา นที่มี ไทใหญ การดําเนนิ งานรวมกัน หาแกนนาํ / ความรเู รือ่ งกา นกกงิ่ กะหลา -ศนู ยไทใหญศึกษาจงั หวดั ปราชญชาวบานที่มีความรูเร่ืองกา นกกิ่ง -แลกเปล่ียนขอมลู /ความรูเร่ือง แมฮ อ งสอน กะหลา แลกเปลี่ยนขอ มลู /ความรเู รอ่ื ง กานกก่งิ กะหลา -เครือขาย/องคกรท่ี กานกกง่ิ กะหลาโดยใชแ นวคิด ”ตน ไม ทํางานกับกลุมชาติพันธุไท แหง คณุ คา มาเปน เครอื่ งมอื และเปนสื่อ ใหญ -บนั ทกึ ภาพและบันทกึ เสียง -ทมี วจิ ัยรวมกันสรุปขอมูลและบทเรียน และวางแผนการดาํ เนินงานตอ ไป ๓.ลงพน้ื ทเี่ กบ็ รวบรวม ช้แี จงวตั ถปุ ระสงค -ผูนาํ ชุมชน -ผชู ว ยนกั วิจัยที่รบั ผดิ ชอบแตล ะพ้นื ท่ี ขอมูล -แลกเปลี่ยนความรูเร่อื งกานกกิง่ -ปราชญชาวบาน ประสานงานผทู ่ีเกย่ี วขอ งในพน้ื ทแ่ี ละ ๓.๑จัดเวทีประชุมกลุม กะหลา ช้ีแจงวัตถปุ ระสงคเบือ้ งตน ยอ ย -หาแกนนํา/ปราชญชาวบานท่ีมี -กอนจัดเวทที มี วจิ ัยลงพ้ืนทีเ่ ตรียมการ ความรูเร่อื งกา นกก่ิงกะหลา กับผูชวยนักวิจัยในพน้ื ท่ี -กระตนุ สํานกึ ใหเ หน็ คุณคาใน -จัดเวทปี ระชุมกลุมยอย8-15คน วฒั นธรรมของตนเอง แลกเปลยี่ นขอมูล/ ความรเู ร่ืองกานกกงิ่ -หาแนวทางการรอื้ ฟนและการสบื กะหลาโดยใชแนวคิด ”ตนไมแหง ทอดกา นกกงิ่ กะหลาเพอื่ รับใช คุณคา” และ “ตาขายความสมั พันธ” มา เจาของวัฒนธรรม เปนเครือ่ งมือและเปน ส่อื -หาแกนนาํ /ปราชญช าวบา นที่มคี วามรู เรื่องกา นกกงิ กะหลา -รว มกนั วางแผนกจิ กรรมตอ ไป -บนั ทึกภาพและบันทึกเสียง -ทมี วจิ ยั รว มกนั สรปุ ขอ มูลและบทเรยี น และวางแผนการดําเนินงานตอ ไป ๓.๒สัมภาษณเ จาะลึกเปน -เกบ็ รวบรวม/แลกเปล่ียนขอมลู -ปราชญช าวบา นทีม่ ี -ผชู วยนักวิจัยท่ีรบั ผดิ ชอบแตล ะพน้ื ท่ี รายบุคคล ความรรู ะดบั ลึกเร่อื งกานกก่ิงกะ ความรเู รือ่ งกานกกงิ กะ ประสานงานปราชญใ นพ้นื ที่ หลา หลา -ทมี วจิ ยั ลงพน้ื ทร่ี ว มเกบ็ รวบรวมขอมลู -สรา งความม่ันใจใหกบั ปราชญ ความรเู รอ่ื งกานกกงิ กะ หลาโดยใช ชาวบา น แนวคดิ ”ตน ไมแหง คุณคา” และ “ตา -หาแนวทางการร้ือฟน และการสืบ ขายความสมั พันธ” มาเปนเครอื่ งมือและ ทอดกานกกง่ิ กะหลา เปน สอื่ -บนั ทกึ ภาพและบนั ทกึ เสียง -ทีมวจิ ยั รว มกันสรุปขอมูลและบทเรยี น และวางแผนการดาํ เนินงานตอไป ๓.๓เวทกี ารพัฒนาแกนนาํ -หาแนวทางการสรา งผสู ืบทอดกานก แกนนาํ เด็กในพืน้ ที่ -วางแผนรวมกับผูนาํ ชมุ ชนและปราชญ เดก็ เพอื่ สรา งผสู ืบทอดชดุ กง่ิ กะหลา โดยเด็กมีสวนรวม ชาวบาน ใหม --สรา งกระบวนการเรยี นรูเร่ืองรํานกกงิ กะหลาโดยชมุ ชนรว ม -แกนนาํ เดก็ รว มกันวางแผนการสบื ทอด ๓.๔จดั เวทคี ืนขอ มูลให -เก็บรวบรวมขอ มลู เพ่มิ เติมและ -ผูน าํ ชุมชน -ผูชวยนกั วจิ ัยที่รบั ผิดชอบแตละพ้นื ท่ี ชุมชน ตรวจสอบขอมลู -ปราชญช าวบา น ประสานงานผทู ่ีเก่ียวของในพื้นทแ่ี ละ -เปน การคืนขอมลู ใหชมุ ชนให -ผูทีส่ นใจ ชแ้ี จงวตั ถปุ ระสงค กลุม เปาหมายไดมโี อกาสแลกเปล่ยี น -กอนจดั เวทที ีมวิจัยลงพืน้ ทีเ่ ตรยี มการ

๖ กิจกรรม วตั ถุประสงค กลุมเปาหมาย วธิ กี าร ๓.๕รวมสงั เกตขั้นตอน ขอมลู ความรเู รื่องกา นกกิง่ กะหลา -ปราชญชาวบานท่ี กบั ผชู ว ยนักวิจัยในพ้ืนท่ี การทําและการแสดง -หาแนวทางการรื้อฟน และการสบื สามารถทํานกกิงกะหลา -จดั เวทคี นื ขอ มูลใหชมุ ชนความรเู ร่อื ง กานกกิง่ กะหลา ทอดกา นกกงิ่ กะหลา ได กานกกิงกะ หราโดยใชแนวคิด ”ตน ไม ๔.การติดตามงาน -สรางเครอื ขา ยและขยายความรเู ร่อื ง -ผูแสดง/คณะแสดงกานก แหง คณุ คา” และ “ตาขาย ๕.เวทเี ครือขาย กานกกิ่งกะหลา กงิ่ กะหลา ความสัมพันธ”มาเปนเคร่ืองมือและเปน ๖.การวิเคราะหขอมลู -เกบ็ รวบรวมขอ มลู เพ่ิมเตมิ และ ทีมวจิ ยั สือ่ ตรวจสอบขอมลู ปราชญช าวบา นจากใน -บันทึกภาพและบนั ทึกเสียง -หาแนวทางการรื้อฟน และการสืบ พน้ื ทีด่ ําเนนิ งาน -ทีมวจิ ัยรว มกันสรปุ ขอ มูลและบทเรยี น ทอดกานกกงิ่ กะหลา ทมี วจิ ัย และวางแผนการดาํ เนนิ งานตอไป -เพือ่ บนั ทกึ ภาพการทาํ และการ -ผูชวยนกั วิจัยทร่ี ับผดิ ชอบแตละพ้นื ท่ี แสดงกานกกง่ิ กะหลา ประสานงานผูท่ีเก่ียวขอ งในพื้นท่ี -เพ่อื ดูความกา วหนาของงาน และ -ทีมวิจยั ลงพนื้ ที่รวมสงั เกตการทําและ ปญ หาพรอ มรวมแกไขปญหาและ การแสดงกา นกกิง่ กะหลา วางแผนดาํ เนนิ งานใหบ รรลุตาม โดยใชแนวคิด ”ตนไมแ หงคณุ คา ” และ วัตถปุ ระสงค “ตาขา ยความสมั พันธ” มาเปนเคร่ืองมือ -เปน กระบวนการสรางการเรียนรู และเปนสื่อ ใหก ับทีมวจิ ยั -บันทึกภาพและบนั ทึกเสียง -เพอื่ สรางเครือขายใหก บั ปราชญ -ทมี วิจัยรว มกนั สรุปขอมูลและบทเรยี น ชาวบา น และวางแผนการดําเนินงานตอไป -เพ่ือสรปุ การดาํ เนนิ งานท่ีผา นมา -ประชุมทกุ ครั้งหลังจากเสร็จกิจกรรม และประมวลหาแนวทางการ -มีการประชมุ พูดคุยอยางตอ เนื่องขึ้นกบั ดาํ เนินงานการปกปอ งคุมครองและ เนอ้ื งาน การสืบทอดรํานกกงิ กะหรา -ทีมวจิ ัยรว มกนั สรุปขอมูลและบทเรยี น -เพือ่ เห็นความเชอื่ มโยงของขอมูลใน และวางแผนการดําเนนิ งานตอ ไป การตอบโจทยวิจยั -ทมี งานประชุมวางแผน -เปนกระบวนการสรา งการเรียนรู -ผูชวยนักวจิ ัยในพนื้ ที่ประสานงานกับ ใหก บั ทีมวจิ ัย กลุมเปาหมาย -ดําเนนิ กิจกรรมตามแผน -ประชมุ ทมี วิจัย -ทีมวจิ ัยรว มกันใสข อมูลและเชอ่ื มโยง ขอมูลเพือ่ ตอบโจทยว ิจัย -หัวหนา โครงการและผูรวมวิจยั เขียน รายงาน ๕.นิยามศัพทปฏบิ ัติการ ๕.๑กลุมชาตพิ นั ธไุ ทใหญ /คนไทใหญ /คนไต หมายถงึ กลมุ คนทค่ี นในสังคมโดยทัว่ ไปเรียกวา “ไท ใหญ” ในงานวิจยั ครงั้ น้ีเรยี กวา “คนไต” ตามความตอ งการของเจา ของวัฒนธรรม ๕.๒ กา นกกงิ่ กะหลา หมายถึง การฟอ นราํ นกกงิ กะหลา ซ่ึงเปนการแสดงประเภทหน่ึงของชาวไตที่ อาศยั อยใู นประเทศไทย ๕.๓ อตั ลกั ษณ หมายถึง การท่ีกา นกก่ิงกะหลาสามารถสรา งตวั ตนท่ีมเี อกลกั ษณเฉพาะท่ีโดดเดน ซ่งึ แตกตางจากวฒั นธรรมอืน่

๗ ๕.๔ การมีสว นรว ม หมายถึง การรวมมอื กันของกลุมบุคคลตางๆท่หี ลากหลายโดยดาํ เนนิ การบน พืน้ ฐานของการเคารพความคดิ เหน็ ของกันและกนั ซง่ึ การมสี ว นรวมในทน่ี ้มี ีต้ังแตร ว มคิด รว มตดั สินใจ รว มวางแผน รว มปฏบิ ัติ รว มตดิ ตามประเมนิ ผลและรว มรับผลประโยชน ๕.๕สทิ ธขิ องเจาของวัฒนธรรม หมายถงึ “คนไต” ทีเ่ ปน เจาของวฒั นธรรมกา นกก่ิงกะหลามี อํานาจในการคดิ และตัดสนิ ใจไดอยา งอสิ ระในสวนทเ่ี ก่ียวกับผลไดผลเสยี ของกานกกิง่ กะหลา ๕.๖มรดกภมู ปิ ญ ญาทางวฒั นธรรม หมายถงึ การปฏิบัติ การเปน ตัวแทน การแสดงออก ความรู ทักษะ ตลอดจนวัตถุ สงิ่ ประดิษฐ และพืน้ ทท่ี างวฒั นธรรมทีเ่ ก่ียวเน่ืองกับส่ิงเหลา นน้ั โดยชมุ ชนน้นั ยอมรบั วา เปนสว นหนงึ่ ของมรดกทางวฒั นธรรมของตนและมรดกภมู ิปญ ญาทางวฒั นธรรมนั้นมีการถา ยทอดจาก คนรนุ หน่ึงไปยังคนอีกรนุ หนง่ึ ในทีน่ ห้ี มายถงึ กา นกกิ่งกะหลา ๖.ประโยชนทคี่ าดวาจะไดรบั จากผลงานวจิ ยั ๖.๑ประเทศไทยมกี ารอนรุ ักษม รดกภูมปิ ญญาทางวัฒนธรรมของกลมุ ชาตพิ นั ธไุ ทใหญซ ึง่ เปน กลุม ชาตพิ นั ธุกลุมหน่งึ ท่ีอยูใ นประเทศไทยใหเ ปนมรดกภูมิปญ ญาทางวฒั นธรรมของชาติ ซ่งึ ทาํ ใหประเทศไทย เปนประเทศท่มี ีความหลากหลายทางวัฒนธรรมแตคนตางวฒั นธรรมสามารถอยรู วมกนั ได ๖.๒กลมุ ชาติพันธุไ ตที่เปนเจา ของวัฒนธรรมเกิดความภาคภูมิใจทป่ี ระเทศไทยใหค วามสาํ คัญกับ กลุมชาตพิ นั ธุไ ตและยอมรบั ในความหลากหลายของวัฒนธรรม ทําใหก ลมุ ชาตพิ นั ธุไตเกดิ ความรกั และหวง แหนในวฒั นธรรมของตนเองก็เทา กับเปนการอนุรกั ษแ ละสืบสานวัฒนธรรมไทย ๖.๓กลุมชาติพันธุไตทีเ่ ปน เจา ของวัฒนธรรมเกิดการรอื้ ฟนและสืบทอดกา นกก่งิ กะหลา ซึง่ การสบื ทอดจะ”ครบเคร่อื งเรอื่ งสืบทอด” คือมีการสืบทอดทั้งสวนที่เปน รูปแบบและคุณคาของกานกกิง่ กะหลา ซงึ่ เจา ของวัฒนธรรมสามารถนาํ กระบวนการดังกลาวไปปรบั ใชก ับการรือ้ ฟน และสืบทอดวฒั นธรรมอน่ื ๆได ๖.๔ผชู ว ยนักวจิ ยั ที่เปนกลมุ ชาตพิ ันธุไตไดเรยี นรทู ้ังในสว นทเี่ ปนทฤษฎีและการปฏบิ ตั ิ เชนแนวคดิ ทฤษฎ”ี ตนไมแ หง คุณคา” และ “ตาขา ยความสัมพนั ธ”และการจดั กระบวนการในการเกบ็ รวบรวมขอมูล และการสืบทอดวฒั นธรรม ทําใหไ ดป ระสบการณตรง เกิดความภาคภมู ใิ จในวัฒนธรรมตนเองและสามารถ นําความรไู ปถายทอดตอได ๖.๕หนวยงานที่เกยี่ วของ เชน คณะมนุษยศาสตรฯ มหาวิทยาลยั ราชภัฎเชยี งใหม มอี าจารย มารว มเปน ทมี วจิ ัย ไดเรยี นรูแนวคิดทฤษฎแี ละการจดั กระบวนการในการเกบ็ รวบรวมขอ มูลและการสืบ ทอดวัฒนธรรม ซ่งึ อาจารยส ามารถนาํ ความรไู ปพัฒนาเปนแนวทางการสอนนกั ศกึ ษาไดแ ละพื้นที่ ดําเนินงานสามารถใชเ ปนพนื้ ท่เี รยี นรูใหก บั นักศึกษา คณะและ มหาวทิ ยาลยั ไดเครือขายการวจิ ยั สามารถ เช่ือมตองานวิชาการและสงเสริมศิลปวฒั นธรรมของชมุ ชนและทองถ่ิน

๘ บทท่ี ๒ แนวคดิ ทฤษฎีและงานวิจยั ท่ีเกยี่ วของ การวิจยั เรือ่ ง “กานกกง่ิ กะหลา” ผูวิจัยใชแ นวคดิ และทฤษฎีที่เกยี่ วของดงั นี้ ๑.ความรเู กย่ี วกับกานกกงิ่ กะหลา ในประเทศไทย ๑.๑สถานภาพองคความรทู ี่มีอยู ๒.แนวคิดทใ่ี ชศกึ ษามรดกภูมปิ ญญาทางวฒั นธรรม ๒.๑วัฒนธรรมกับการพฒั นาขอเสนอของ UNESCO ๒.๒การพัฒนาแนววฒั นธรรมชมุ ชน ๒.๒.๑ ปรชั ญาและแนวคิดการพฒั นาแนววฒั นธรรมชุมชน ๒.๒.๒ ทฤษฎีกระบวนการผลิตซาํ้ ทางวัฒนธรรม (Reproduction) ๓.การศกึ ษามรดกภมู ิปญญาทางวฒั นธรรมโดยชมุ ชนมีสวนรว ม ๓.๑แนวคดิ เร่ืองการมีสว นรวม ๓.๒กระบวนการวจิ ัยเชงิ ปฏิบัตกิ ารแบบมีสวนรวม ๓.๓แนวทาง/วิธกี ารการรวบรวมและจดั เก็บขอมูลมรดกภูมปิ ญญาทางวัฒนธรรมแบบมี สว นรวมของชุมชน โดยกรมสงเสรมิ วัฒนธรรม ๑.ความรเู กย่ี วกบั กานกก่ิงกะหลา ในประเทศไทย สถานภาพองคค วามรูทมี่ อี ยู จากการท่ีชาวไตเปน ชนกลุมนอ ยในประเทศไทย ไมม ีโอกาสกระจายวฒั นธรรมของตนเองออกไป แตก ารฟอ นนกกา นกกง่ิ กะหลา มีเอกลักษณ และความสวยงามของตนเอง ปจจุบนั สามารถพบการแสดงก่ิง กะหลา ไดในงานรับรองแขกบา นแขกเมอื งและการแลกเปลีย่ นวฒั นธรรมระหวางภมู ิภาคและระหวา งชาตอิ กี ดวย การราํ นกกานกกง่ิ กะหลา กําลงั เผชญิ หนา กบั ปญ หาสาํ คัญไดแก การรํานกหมดความสาํ คัญในพิธีกรรม และการราํ นกไปใชผ ดิ ประเภท ไมรคู ุณคา และความหมาย เนน ทางธุรกจิ และความสวยงาม โดยสถานภาพ การรํานกในปจจบุ ัน จดุ ประสงคเพื่อสง เสริมการทอ งเที่ยวดานศิลปวัฒนธรรมทเี่ นนแตรปู แบบ โดยการรวบ เอาอัตลักษณข องกลมุ ชาตพิ ันธยุ อยๆใหม าอยภู ายใตเครอื่ งหมายการคา “ศิลปวฒั นธรรมของชาวลานนา” ทาํ ใหความหลากหลายของกลุมชาตพิ ันธใุ นภูมภิ าคนต้ี กหลนหายไป การไมไ ดใหค วามหมายและคณุ คา ของ วฒั นธรรมดงั กลา ว ทสี่ ุดแลว ก็ถูกลดทอนเหลือเปนเพียงสินคาไวโ ชวแ กน กั ทอ งเทีย่ วเทาน้นั แมจะมกี ารฟน ฟู แตกเ็ ปนไปเพือ่ ความสวยงามและตอบสนองการทอ งเทย่ี ว รบั ใชแ ตคนภายนอก แตไ มไ ดรบั ใชคนทเ่ี ปน เจา ของวัฒนธรรมและคนในชุมชน ดังจะเหน็ ไดจากบทสัมภาษณข องนิพัทธพร เพ็งแกว (๒๕๕๓) ไดใ หค วามคดิ เหน็ ตอ สถานการณ ปจจบุ ันทีม่ ีการนาํ เอาฟอนนกกง่ิ กะหลาของไทใหญ ไปใหก ะเทยนงุ นอยหมนอยราํ ตามคาบาเรต  สถานท่กี นิ เหลา เท่ียวผูหญงิ เพราะในอดีต การฟอนนก ฟอนโต เอาไวร าํ รบั เจา ฟา หรือแสดงเวลามีงานสําคญั ทีส่ ดุ ของไทใหญ ไววา

๙ “อนั นเี้ ปนอกี รปู แบบหนึ่งไปแลว เปน การเลยี นแบบ เปนการดัดแปลงไปแลว การแสดงแบบน้ี ขน้ึ อยกู บั ใจ เราตอ งเขาใจจดุ น้ี กา นก (ราํ นก) ) เปน วัฒนธรรมของไทใหญที่แทจริง ใครกม็ าเลียนแบบไป ไมได ฝรั่งเอาไปแสดง มนั ก็ไมเ หมอื นที่คนไทใหญแสดงเอง เพยี งแตว า คนเอาไปดัดแปลงแบบนี้ วฒั นธรรม ของคนไตมันหายไหม ? มันไมหาย ที่เขาไปทํา ฝร่งั เอาไปทํา มนั เหมือนไทใหญไ หมละ ? มนั ก็ไมเหมอื น วัฒนธรรมเราไมเสยี หาย คนท่เี ลียนแบบตางหากท่ีเสียหาย วัฒนธรรมไทใหญยังคงอยู ยงั ศักดสิ์ ทิ ธอิ์ ยกู ับคน ไต” จากงานสะทอนวธิ ีคดิ ไดว า กระบวนการสบื ทอดอตั ลักษณของชาวไทใหญม ีการปรับเปล่ยี นให สอดคลอ งกบั ยคุ สมยั ปจ จบุ ัน การไมป ฏิเสธการเปลย่ี นแปลงที่จะเกิดขึน้ แตพ ยายามใหความรู ความเขา ใจ ซึ่งถอื เปน แนวทางการสรา งภมู ิคุม กนั ทางวฒั นธรรมท่ีสําคญั แกลูกหลานชาวไตในอนาคตขา งหนา อยางยั่งยืน การยอมรบั วาวฒั นธรรมแมวา จะมีประวัตศิ าสตรย าวนานและยิ่งใหญเ พยี งใด กไ็ มสามารถอยอู ยางโดดเดีย่ ว ได จาํ เปนตอ งอาศัยสงั คมคอยพยุงและคํา้ ชู วัฒนธรรมเหลาน้นั ถงึ จะอยูร อดและเกิดความแขง็ แกรงขน้ึ ดวย ตวั เอง นอกจากนแี้ ลวทีมวิจัยไดม กี ารทบทวนเอกสารและงานวจิ ัยทเี่ กี่ยวขอ งกบั การราํ นกกา นกก่ิงกะหลา พบวา องคค วามรทู ีเ่ กยี่ วกับรํานกกา นกกงิ่ กะหลาทมี่ อี ยูในปจ จุบนั สว นมากเปนความรูเกีย่ วกับประวตั ิความ เปน มาของการราํ นกกา นกกิง่ กะหลา อปุ กรณเ คร่ืองดนตรที ่ใี ชใ นการแสดงและการราํ การแตง ตวั ของผรู ํา และทารํา นัน่ คอื องคค วามรูท ่มี ีอยูเนน เฉพาะสวนทเ่ี ปน ”รปู แบบ” เทาน้ัน ในสว นองคค วามรทู เี่ ปน “คุณคา และความหมาย”และ “กระบวนการการผลิตวัฒนธรรม” นั้นยงั ไมพบ ตัวอยางเชน สน่นั ธรรมธ.ิ (๒๕๔๙)ฟอนกานกกงิ่ กะหลา เปน ศลิ ปะการแสดงของชาวไต คาํ วา \"กานกก่งิ กะ หลา \" เปน คํา ๆ เดยี วกับคาํ วา กินนร หมายถงึ อมนุษยในนยิ ายซงึ่ พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ หนา ๑๒๘ วา มี ๒ ชนดิ ชนดิ หนึง่ เปนครงึ่ คนคร่ึงนก ทอ นบนเปนคนทอ นลา งเปน นก อกี ชนิดหน่งึ มี รูปรา งเหมอื นคน เม่อื จะไปไหนมาไหนกจ็ ะใสป กใสหางบินไป การฟอนกา นกกง่ิ กะหลา เปน การเลียนแบบ อมนษุ ยช นดิ น้ี สําหรับความเปนมานนั้ มีเรื่องเลาวาในสมยั พทุ ธกาล หลงั จากพระพุทธเจา เสดจ็ กลบั จากการ ไปจาํ พรรษาเพอื่ โปรดพทุ ธมารดา ณ สวรรคช ั้นดาวดงึ ส ขณะเสด็จลงสูโลกมนุษยน้นั พุทธศาสนิกชน ท้ังหลายไดพ รอมใจกนั นําอาหารไปทําบุญตกั บาตร ทีเ่ รยี กวา \"ตกั บาตรเทโวโรหนะ\" พรอมน้นั บรรดาสัตว ตา งๆ จากปา หิมพานตอ นั มี กินนร และ กนิ นรี เปน ตน พากนั มาฟอนราํ แสดงความยนิ ดใี นการเสด็จกลบั มา ของพระพุทธองค ดวยเหตนุ ี้จงึ เกดิ ประเพณีตักบาตรเทโวโร-หนะ และเฉพาะชาวไตนยิ มแตงกายเปน กนิ นร และกินนรีแลว รายราํ เลียนแบบอากัปกริ ยิ าของอมนุษยป ระเภทน้เี พือ่ ถวายเปนพทุ ธบชู า เมอ่ื การแสดงชนิด นีเ้ ผยแพรออกไปในวงกวา งจงึ นิยมแสดงในโอกาสอืน่ นอกเหนอื จากแสดงในชว งเวลาดงั กลา ว สวนสําคญั ของการแสดง มีท้ังอปุ กรณ ทา ราํ และดนตรปี ระกอบ มรี ายละเอยี ดดังท่จี ะกลา วถึง ตอ ไปอปุ กรณสําคัญในการฟอ นชนดิ นี้ คอื ตวั กินนร (กานกกง่ิ กะหลา) ที่เรยี กกนั ทั่วไปวา \"ตวั นก\" ซง่ึ มี สว นประกอบ ๓ สวน คอื ปก หาง และลําตวั เฉพาะปกและหางทาํ ดว ยไมไ ผหรอื หวาย แตล ะสว นจะทํา เปน โครงกอ นแลวผา แพรสีตา งๆ ตดิ หุมโครงและใชก ระดาษสตี ดั เปนลวดลายตกแตงใหส วยงาม จากนัน้ นํามาประกอบกนั โดยใชย างรดั เชอื กหรอื หวายรดั ใหแนน พรอมทําเชอื กโยงบังคับปกและหางสําหรับดงึ ให สามารถกระพือปกและแผห างไดเหมือนนก สว นลาํ ตวั ผฟู อนจะใสเ สอ้ื ผา สีเดยี วกับปกและหาง (อุปกรณการ ฟอนน้ี พบวา บางแหงมีเฉพาะหางเทาน้ัน) นอกเหนอื จากนี้ สวนของศรี ษะอาจมีการโพกผาหรอื สวมหมวก ยอดแหลมหรอื สวมหนา กาก ซงึ่ แลว แตค วามนยิ มของทองถนิ่ สว นทาราํ จะเปนทาที่เลียนแบบอากัปกริ ิยาของนกเชน ขยบั ปก ขยบั หาง บนิ กระโดดโลดเตนไป มาตามจงั หวะของกลอง ซึ่งเปนเคร่ืองดนตรสี ําคญั ในการกําหนดทา การฟอนกา นกก่ิงกะหลา บางครง้ั จะ

๑๐ แสดงคูช ายหญิงโดยสมมตุ เิ ปน ตวั ผูและตัวเมีย แตส ว นใหญท พ่ี บมกั เปนตัวเมีย จงึ มีช่อื เรียกตามทเ่ี หน็ อีกชือ่ คือ \"ฟอ นนางนก\" หรอื \"กา นางนก\" (กา=ฟอน) สําหรับดนตรี ท่ใี ชป ระกอบ จะนยิ ม วงกลองกน ยาว (ปูเจ) ตปี ระกอบจงั หวะและใชทว งทํานอง หนา กลองเปน สง่ิ กําหนดทา ราํ ดว ย อนงึ่ มกี ารฟอ นอีกอยา งทม่ี ีลกั ษณะคลา ยกนั เรียกวา \"กาบเบอ ฅง\" คาํ วา \"กาบเบอ\" หมายถงึ ผเี สอื้ ฅง คอื ชื่อแมน าํ้ สาละวนิ การฟอนชนดิ น้ผี ูแ สดงจะแตง กายดว ยเสื้อลายดอก มีสสี ันแพรวพราว ศรี ษะเกลา มวยประดบั ดวยดอกไม มีปก ที่บุดว ยผาลายดอกสวยงาม เวลาแสดงมกี ารหบุ ปก กางปก ตามลลี า เครอ่ื ง ดนตรีทใ่ี ชประกอบ นอกจากจะใชว งกลองกน ยาวแลว ยงั พบวามกี ารใช วงกลองมองเซงิ ประกอบการฟอ น ดว ย สวนงานวจิ ัยทีเ่ กย่ี วกับการรํานกกา นกกิง่ กะหลา โดยตรงนน้ั ไมพบ มเี ฉพาะงานวิจยั ทเี่ กีย่ วกบั วัฒนธรรมไตโดยรวมและสวนมากจะพดู ถงึ เฉพาะสว นท่เี ปนประเพณแี ละวฒั นธรรมเทา นั้นไมไดพ ดู ถึงการราํ นกกานกก่งิ กะหลา โดยตรง เชน ปานแพร เชาวนป ระยรู (๒๕๕๐) เรอื่ ง บทบาทของพทุ ธศาสนาในการผลิตซํ้าอตั ลักษณข องชาว ไต ผลการศกึ ษาพบวา การทรี่ ฐั ไทยสรา งอัตลกั ษณชาวไตในฐานะเปนคนอน่ื ทําใหตองยืนยนั ความเปน ตวั ตน ของตนและสรา งสาํ นกึ ความเปน อนั หนง่ึ เดยี วกัน โดยอาศยั กจิ กรรมทางวัฒนธรรมเชน การใชภ าษาและ อักษรไต บทเพลง ประเพณีตางๆไดแกปอยสา งลอง ฟอนนก ธงชาตไิ ต การสรางความทรงจําเกย่ี วกบั อดตี โดยมีวัดและพระสงฆเปน ส่ือกลางการผลิตซา้ํ อตั ลกั ษณดังกลาว ผลการศกึ ษายงั ช้ใี หเห็นอกี วาอัตลกั ษณของ ชาวไตมคี วามลืน่ ไหลท่ไี มไดมกี ารแสดงออกเฉพาะความเปนไตเทานัน้ แตมีการแสดงความเปนไทยเพื่อ สอดคลอ งกับสงั คมไทย เชนการใชว ดั ในการจัดงานประเพณีเนอ่ื งในวนั สําคัญทางศาสนา การจดั งานแสดง ความจงรักภักดีตอ สถาบนั พระมหากษัตริยใ นโอกาสตางๆ การประดับธงชาติไทย วนั ดี สันตวิ ุฒเิ มธี (๒๕๔๕) ศกึ ษาเรือ่ ง กระบวนการสรา งอตั ลักษณท างชาติพันธุข องชาวไต ชายแดนไทยพมา กรณศี กึ ษาหมบู านเปย งหลวง อ.เวียงแหง จ.เชยี งใหม ไดศ กึ ษาเกี่ยวกับการสรางอตั ลกั ษณของชาวไตทามกลางบริบททเี่ ปลย่ี นแปลง โดยท่ีมคี วามสัมพันธก ับรฐั ไทย ชาวไตบานเปยงหลวงมีการ สรา งประวตั ิศาสตรข องตนเองขนึ้ โดยเนนบุคคลและเหตกุ ารณในประวตั ศิ าสตรไ ดแก เรอ่ื งเจาเสือขา นฟา สมเดจ็ พระนเรศวร นายพลโมเฮง นอกจากนย้ี ังไดม ีการสบื ทอดภาษาและวฒั นธรรมเชน การผลิตตาํ ราชดุ ลก่ิ ไตหัวเสือ การเปด หลักสตู รสอนภาษาไต การแตงเพลงชาติไต การจดั ทําวารสารภาษาไตขึน้ ชอ่ื เจิงแลว (Freedom Way) นอกจากน้หี มูบานเปย งหลวงยงั ไดมีการฟน ฟปู ระเพณเี กาข้นึ มาจัดรปู แบบใหม และมกี าร ประดิษฐป ระเพณีใหมข ึ้นมาใหมเพื่อรบั ใชอดุ มการณเกา เชน งานปอยปใหม งานปอยครูหมอไต งานปอยปด ภาคเรียนภาษาไต เปน ตน ทีมวจิ ยั พบงานท่นี า สนใจคอื เปนงานทางดา นการพัฒนาชมุ ชนของเรณู อรรฐาเมศร โครงการ ราํ นกโตและฟอ นเจิงสอ่ื สัมพันธเพือ่ สขุ ภาพ (๒๕๔๘) วา กลมุ ชาติพันธไุ ตท่บี านแมสาวเมอื งหนอง อ.แมอาย จ.เชยี งใหม สนใจและไดมีการร้อื ฟน วัฒนธรรมการราํ นกกา นกก่งิ กะหลา นขี้ ึน้ มาดวยตนเอง เพราะคนใน ชมุ ชนเหน็ วาการรํากา นกกง่ิ กะหลา เปนอัตลกั ษณเฉพาะของกลมุ ชาตพิ นั ธุไต ตอ งการใหค นนอกวัฒนธรรม เหน็ วา การราํ นกกา นกกงิ่ กะหลา เปนของวฒั นธรรมไต แตในการรอื้ ฟน และการสืบทอดนัน้ ยงั เปนการสบื ทอดเฉพาะสว นทเ่ี ปน “รปู แบบ”เทา นัน้ ขาดการวิเคราะหแ ละสบื ทอดสว นทเ่ี ปน “คณุ คา และความหมาย” ความเปลย่ี นแปลงทางวัฒนธรรมและความเปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกจิ ของชาวไทใหญน ัน้ มผี ล โดยตรงตออัตลกั ษณ เนอ่ื งจากเมอ่ื กลุมชาวไตมกี ารเปลีย่ นแปลงทางวฒั นธรรม เชน การยายถน่ิ เขามาอาศัย

๑๑ ในไทย เกดิ การสรา งประเพณีท่ีอาจมรี ปู แบบทเี่ ปลี่ยนแปลงไปบา ง แตชาวไตที่มบี ทบาทในการสรา งและ ผลิตซํา้ ทางอตั ลักษณน น้ั กไ็ ดมกี ารทํากจิ กรรมดงั กลาวตอ เน่ืองในทกุ ปต ง้ั แตอ ดีตจนถึงปจ จบุ ัน โดยสรปุ การราํ นกกานกกิ่งกะหลาเปนมรดกภมู ปิ ญญาทางวัฒนธรรมของกลมุ ชาตพิ ันธุไตเปน วฒั นธรรมทยี่ งั มชี วี ติ สามารถทีจ่ ะพัฒนาและสรา งสรรคใหเกดิ ประโยชนก บั เจาของวัฒนธรรมอยางย่งั ยืนได แตส ถานการณในปจ จุบนั การราํ นกกา นกก่ิงกะหลา กําลังเสีย่ งตอ การสูญหายโดยเฉพาะในสว นท่ีเปน “คณุ คา ความหมายและกระบวนการในการผลิต”และนอกจากน้ีแลว การรํานกกา นกกงิ่ กะหลา ถกู ฉกฉวย นําไปใชในทางธรุ กิจท่ไี มเหมาะสม ๒.แนวคดิ ท่ีใชศกึ ษามรดกภมู ิปญญาทางวัฒนธรรม ๒.๑วฒั นธรรมกับการพัฒนาขอเสนอของ UNESCO ๒.๒การพฒั นาแนววัฒนธรรมชมุ ชน ๒.๒.๑ ปรัชญาและแนวคิดการพฒั นาแนววฒั นธรรมชมุ ชน ๒.๒.๒ ทฤษฎกี ระบวนการผลิตซํ้าทางวัฒนธรรม (Reproduction) ๒.๑วฒั นธรรมกับการพัฒนาขอ เสนอของ UNESCO องคการศกึ ษาวทิ ยาศาสตรแ ละวฒั นธรรมแหงสหประชาชาตหิ รอื องคก ารยูเนสโก (United Nations Educational Scientific and Cultural Organization หรอื UNESCO) ไดมีการประชมุ ใหญค ร้ัง ท่ี 14 ในเดือน พฤศจกิ ายน 2509 ณ นครปารสี ประเทศฝรงั่ เศส ทปี่ ระชุมไดป ระกาศหลักแหง ความรวมมือ ทางวัฒนธรรมระหวางประเทศ (Declaration of the Principles of International Cultural Co- operation) มีขอ ความบางประการดังน้ี ๑. ทกุ คนมสี ิทธิและหนา ทีใ่ นการทจ่ี ะพฒั นาปรงั ปรงุ วฒั นธรรมของตน ๒. ความรวมมอื ทางวฒั นธรรมระหวา งประเทศ อาจจะมีรูปตา งๆ โดยมวี ตั ถุประสงคทส่ี าํ คญั ประการหนึ่งคือ เพือ่ ยกระดบั ชวี ติ ของมนษุ ย ทงั้ ในดานวตั ถแุ ละจิตใจ (spiritual and materiallife of man) ใหส ูงข้นึ ในทุกภาคของโลก ๓. ความรว มมอื ระหวางวฒั นธรรมควรจะใหความสําคัญแกการศึกษาของเยาวชน ทงั้ ในเร่อื งจริย ศึกษาและพทุ ธศึกษา (moral and intellectual education) เพ่อื ใหเกิดมติ รภาพความเขา ใจระหวาง ประเทศและสันติภาพ ตอมา องคก ารยเู นสโกไดจัดใหม กี ารประชมุ ระหวา งประเทศ วาดว ยนโยบายวฒั นธรรม คร้ังท่ี ๒ ทีน่ ครเม็กซิโกซิตี้ ประเทศเมก็ ซโิ ก ระหวา งวันท่ี ๒๒ กรกฎาคม ถงึ วนั ที่ ๖ สงิ หาคม ๒๕๒๕ ใน การประชมุ ครง้ั นีท้ ป่ี ระชมุ ไดม ตริ บั รองปฏญิ ญานครเม็กซิโกซิตี้วาดวยนโยบายดานวัฒนธรรม (MexicoCity Declaration on Cultural Policies ) โดยไดเนน ใหเห็นความสําคัญของมติ ิใหมท างวัฒนธรรมกับ การพัฒนา และไดเสนอใหส มัชชาใหญแ หง สหประชาชาติ ไดม มี ตปิ ระกาศให พ.ศ. ๒๕๓๑ – ๒๕๔๐ เปน ทศวรรษโลกเพ่อื การพฒั นาทางวฒั นธรรม (World Decade for Cultural Development ๑๙๘๘ – ๑๙๙๗ )

๑๒ ทศวรรษโลกเพื่อการพฒั นาทางวัฒนธรรม ไดก ําหนดวัตถปุ ระสงคส าํ คญั ๔ ประการดงั น้ี ๑. การยอมรบั มติ ิวัฒนธรรมในการพัฒนา (Acknowledging the Cultural Dimension Development ) ๒. การเสรมิ สรา งเอกลกั ษณทางวัฒนธรรม (Affirming and Enriching Cultural Indentities ) ๓. การขยายขอบเขตการมสี ว นรว มในวฒั นธรรม (Broadening Participation in Culture) ๔. การสง เสริมความรวมมือทางวฒั นธรรมระหวา งประเทศ (Promotion of International Cultural Co-operation) ๒.๒การพัฒนาแนววัฒนธรรมชมุ ชน ๒.๒.๑ ปรัชญาและแนวคิดการพฒั นาแนววฒั นธรรมชมุ ชน เน่ืองจากงานวิจัยชิน้ น้มี เี ปา หมายเพ่ือการพฒั นาความสามารถของคน สาํ หรับการสรา งพลังของ ชมุ ชนในการท่ีจะรว มกันแกไขปญหาของชุมชน โดยใชว ฒั นธรรมชมุ ชนเปน เครอ่ื งมือ (การพฒั นาเพ่อื ชมุ ชน โดยชมุ ชนและของชุมชน) ซง่ึ ฉตั รทพิ ย นาถสภุ า (๒๕๔๑)ชช้ี ดั วา วฒั นธรรมชุมชนเปน พลังผลักดนั ชมุ ชนทีส่ าํ คัญ เพราะเปนสง่ิ ทีป่ ระชาชนสรา งขึ้นมาเอง หากนกั พฒั นาตอ งการทาํ ความเขา ใจและปฏบิ ตั ใิ ห สอดคลอ งกับชาวบา น ก็ตอ งเขาใจวัฒนธรรมชมุ ชน แตฉ ัตรทิพยไ มไดบอกวา ในการทําความเขาใจ วฒั นธรรมชมุ ชนนั้นมีวิธกี ารทาํ อยา งไร ผศู ึกษามีความสนใจและตองการหาคําตอบดงั กลาว ดงั นน้ั งานวจิ ัย ชิน้ นี้จึงเปนลักษณะของการวจิ ยั เชิงปฏิบตั กิ ารแบบมีสว นรว ม เนน การทาํ งานเปนกระบวนการ โดยใช ปรัชญาและแนวคดิ ของการทาํ งานพัฒนาแนววฒั นธรรมชมุ ชน เปนฐานในการคดิ กิจกรรมตา งๆ สําหรบั ปรชั ญาของการพฒั นาแนววัฒนธรรมชมุ ชน กาญจนา แกว เทพ(๒๕๓๘) กลา ววา “การ พฒั นาแนววัฒนธรรมชุมชนถอื เอาความสขุ ของมนุษยเปน เปาหมายสงู สดุ ของเกณฑความสําเร็จในการ พฒั นา คือสภาวะท่มี นุษยสามารถดาํ รงชวี ติ ไดอยา งมคี วามสุข อยา งมศี กั ด์ศิ รขี องความเปนมนษุ ย” ดังนน้ั การพฒั นาในแนววัฒนธรรมชมุ ชนนมี้ นุษยจ ึงเปน หัวใจสาํ คัญ และมนษุ ยมศี กั ยภาพทจ่ี ะพัฒนาได ดังนั้น ควรสรา งกระบวนการและเง่อื นไขท่ีเหมาะสมเพื่อใหศกั ยภาพของมนุษยแ ตละคน รวมถึงศกั ยภาพของ ชมุ ชนไดบ รรลุจดุ สงู สุด สาระสําคญั ของสาํ นกั วฒั นธรรมนยิ มสรุปจากแนวคิดของบาทหลวงนิพจน เทียนวหิ าร ทีว่ า ” ชมุ ชนมวี ฒั นธรรมของตนเอง มีระบบคณุ คาทีไ่ ดจ ากประวตั ศิ าสตร มาเปน บทสรุปของความคดิ และการ ปฏิบัตขิ องชุมชน เปนวิถีชีวติ และทิศทางในการพัฒนาชุมชน แกนกลางของวฒั นธรรมชมุ ชนคอื การให ความสําคัญแกค วามเปนคน” จากปรัชญาและแนวคดิ ของการพัฒนาแนววฒั นธรรมชมุ ชน กาญจนา แกวเทพ (๒๕๓๘) ไดเสนอ วธิ ีการทาํ งานแนววัฒนธรรมชมุ ชนโดยมีหลักการสําคญั ๆดังน้ี ๑. การใชย ทุ ธวธิ ที ีเ่ ปล่ียนจาก “บนลงลาง” เปน “ลางขน้ึ บน” ของแนวคิดในการพฒั นา ๒. การเปลีย่ นยทุ ธวธิ ีจากการใช “Negative Approach” คือการมองชาวบานแบบวา งเปลา มา เปน “Positive Approach” คอื ชมุ ชนไมไ ดว า งเปลา มีตนทุนอยู ดังน้นั ในการทาํ งานเปนลักษณะเติมเตม็ ใหชุมชน โดยใหม าคดิ รวมกันในการสานตอวัฒนธรรมเดมิ และปรับเปลย่ี นตามความเหมาะสม ๓. ในการทาํ งานพฒั นาแนววัฒนธรรมชุมชนนนั้ กระบวนการ “ทาํ ไป – คดิ ไตรต รองศกึ ษาไป – แลวทาํ ใหมอ ีก” (Action – Reflection – Action Process) เปน กระบวนการที่ขาดไมไ ด ๔. การใชย ทุ ธวธิ กี ารมสี ว นรวมอยา งแทจ ริงของชาวบา นในการพัฒนา

๑๓ ๕.วฒั นธรรมแบง เปน 2สวนคอื สว นท่ีมองเหน็ ไดเรยี กวา ”รปู แบบ” และสวนทไี่ มสามารถมองเหน็ ได เรียกวา “ความหมาย/คณุ คา ” (โดยผูวจิ ัยเอามาใชเ ปรียบเทยี บเปนรปู ตน ไม) ซ่งึ จะเปนเคร่ืองมอื ทผ่ี วู จิ ัยใช ในการวิเคราะหรูปแบบและเนื้อหา/คุณคาของรํานกก่งิ กะหลา ผวู จิ ัยเรยี กเครอื่ งมือชนดิ น้ีวา “ตน ไมแ หง คุณคา ” แนวคิด “ตน ไมแ หงคณุ คา” มมี ิติการมอง ๒ แบบ แบบแรกพจิ ารณาตนไมแ หง คุณคาในแนวตั้งทําใหแบง ตนไมเ ปน 2สว นคือสวนท่เี ห็นเปนใบ ดอก ผล เราเรยี กสว นนว้ี า “รูปแบบ” และสว นที่เรามองไมเห็นตองขุดจงึ จะเห็นน่ันคอื สว นทีเ่ ปน รากเราเรียก สวนน้วี า”คณุ คา /ความหมาย” แบบทสี่ องพจิ ารณาตนไมแหง คณุ คาในแนวนอน ซง่ึ หากเรามองตน ไมใ นแนวนอนเราจะสามารถ แบง ตน ไมไดเปน ๓ ช้นั คอื ชนั้ แรกคือสว นท่ีเปน “เปลือก” (สวนที่อยูน อกสดุ ของลําตนซึ่งมีการเปลีย่ น ตลอด) ชั้นทีส่ องคือสวนท่ีเรยี กวา “กระพ”ี้ (สวนท่ีอยถู ดั เขามาจากเปลือกเปนสวนที่มกี ารปรับอยาง ตอ เนอ่ื ง) และชนั้ ท่สี ามเรยี กวา “แกน ” (สวนท่ีอยใู นสดุ ของลาํ ตนเปน สวนทสี่ ําคญั ทส่ี ดุ ถา สว นทเ่ี ปนแกน ถูกทาํ ลายตน ไมกไ็ มสามารถอยไู ด) สรปุ การพฒั นาแนววฒั นธรรมชมุ ชน เรมิ่ ตน ท่ีจดุ สาํ นึกวา ชุมชนมวี ิถชี ีวติ และวงจรการผลิตซํ้าของ ตนเอง การศกึ ษาประวตั ศิ าสตรและวัฒนธรรมชมุ ชนจะชวยใหเขา ใจโครงสราง ความเปนอยูและสภาวะ ตา งๆท่ีเกดิ ขึน้ ในชุมชน เพื่อจะไดปรับเปล่ียนแนวคดิ ในการศกึ ษาและลงมอื ปฏบิ ัติงานในชุมชน ท้ังน้ีเพ่อื สรางความม่ันใจและพลงั ของชุมชนในการพัฒนาตอ ไป ๒.๒.๒ ทฤษฎีกระบวนการผลิตซ้ําทางวัฒนธรรม (Reproduction) อางในกาญจนา แกวเทพ , ๒๕๓๙ กลมุ วฒั นธรรมนิยม(Culturalist)นยิ ามคาํ วา “วฒั นธรรม“คือ เปน สง่ิ ท่ีทําหนา ทเี่ ปน ตวั สอ่ื กลาง(mediator)ในการพัฒนา“การดาํ รงอย”ู (Social being) ของคนคนหนึ่ง ใหกลายเปน มนุษยท ่ีมี “จติ สาํ นึกทางสงั คม“ (Social consciousness) ดวยเหตนุ ีล้ กั ษณะวัฒนธรรมของ แตละสงั คมจงึ ขึน้ อยูกับบรบิ ทของสภาพความเปนจริงของสังคมน้นั จากคาํ นิยามดงั กลา วกลมุ วัฒนธรรมนยิ มจึงไดป ฏเิ สธความหมายแบบชนชน้ั สงู ท่ถี ือวา“วฒั นธรรม จะตอ งเปนศิลปะวรรณกรรมชิน้ สดุ ยอดเทานัน้ “ หากแตใชความหมายทผี่ นวกรวมเอา“วัฒนธรรมพื้นบา น “ เขาไปดว ย โดยถือวา วฒั นธรรมเปน “ ปฏิบัตกิ ารทางสงั คม “ ( Social practice ) ทกุ อยาง โดยที่ ปฏบิ ตั กิ ารนั้นจะกอ ตวั มาจากสภาพความจรงิ ของสงั คมแตละแหง สําหรับคาํ วา “ ปฏิบัติการทางสังคม “ นั้นสาํ นักน้ยี งั เนนหนกั วา จะตองเปน ปฏบิ ัติการที่ประชาชน กําลังใชช วี ิตอยใู นปจ จบุ ัน (Lived experience) เพราะฉะนัน้ วฒั นธรรมจึงไมใ ชส ง่ิ ทต่ี ายไปแลว (Dead experience ) แตต อ งเปน สง่ิ ทผี่ ูคนในสงั คมกาํ ลังปฏิบัติอยู จากคํานิยามของคําวา “ วัฒนธรรม “ ท่ีกลาวมาขางตนน้ี กอใหเกิดคํานิยามของวัฒนธรรมอีก อยางหนึ่งคือ วัฒนธรรมจะเปนทั้งความหมาย ( Meaning ) และระบบคุณคา ( Value System ) ท่ีตก ผลกึ มาจากประสบการณท แี่ วดลอ มอยูรอบตัวบุคคล R. Williams นักวิชาการจากกลุมวัฒนธรรมนยิ ม เนนวาแนวทางการศึกษาวัฒนธรรมน้ันจะตอง พิจารณาอยางเปน รปู ธรรม คอื ตองศกึ ษากระบวนการผลติ วัฒนธรรม ( Production ) และการผลิตซ้ําเพ่ือ สบื ทอดวฒั นธรรมนัน้ ( Reproduction ) ในขน้ั ตอนของการวิเคราะหนั้น สํานักน้ีเสนอวา เราไมสามารถ จะแยกดูกิจกรรมยอย ๆ อันใดเพียงอันเดียวได ท้ังน้ีเพราะสังคมเรา ประกอบข้ึนดวยตาขายแหง ความสัมพันธของปฏิบัติการทางสังคมยอย ๆ ที่มีผลกระทบถึงกันอยูตลอดเวลา ดังนั้น เราจึงตอง วิเคราะหเ พือ่ คนหา “ความสัมพันธ” (Relationship)

๑๔ ในทํานองเดียวกนั เมื่อมกี ารรอ้ื ฟน วัฒนธรรมพ้นื บาน หรือการเลอื กเอาสอ่ื พน้ื บานบางอยา งข้นึ มา ใชป ระโยชน เราควรทจ่ี ะศกึ ษาวา ตาขายแหง ความสัมพนั ธท่เี กีย่ วของกับสอื่ พน้ื บานน้นั มีองคประกอบ ยอยอะไรบา ง และมรี ปู แบบความสมั พันธกันอยางไร เพราะหากเราผลติ ซาํ้ (reproduce) แตเ ฉพาะ ปฏิบตั ิการยอยอนั เดยี วโดยไมพ ิจารณาปฏบิ ัติการยอ ยอน่ื ๆ ทอ่ี ยใู นตาขา ยน้ี ความหมายและคุณคา ของส่ือ พน้ื บานน้นั กจ็ ะมไี มเหมือนเดิม สรปุ หลักการสาํ คัญของแนวทาง Cultural Production / process /practice ทีก่ ลมุ วฒั นธรรม นยิ ม(Culturalist) รวบรวมไวมดี ังนี้ (อา งในกาญจนา แกว เทพ , 2545:232-236) ๑. เมอ่ื ”วัฒนธรรม” จําเปนตองมีกระบวนการผลติ กระบวนการน้กี ็จะคลา ยคลงึ กบั การผลิตสินคา คือตอ งมีองคประกอบการผลติ วตั ถดุ ิบ มตี วั ผผู ลติ มีเครื่องมอื การผลติ มอี งคความรใู นการผลิต มี สถานท่ี มีกาลเวลา มีการแพรก ระจาย กระบวนการใช การบรโิ ภคผลผลติ รวมทั้งกลุมคนทใ่ี ช วัฒนธรรมนั้น ๒. Mark ไดกลา วไวว า สาํ หรับเจาของทนุ ทที่ ําการผลิตสนิ คา น้นั หากตอ งการใหทุนน้ันมชี วี ติ ที่ยนื ยาว จะผลติ เพยี งครัง้ เดยี วแลวเลิกไมไ ด จะตอ งมีกระบวนการผลิตซ้ําเพอ่ื สืบทอด(Reproduction) ในกรณี ของการผลติ วฒั นธรรมกเ็ ชนเดียวกนั ในแตล ะวนั มวี ัฒนธรรมมากมายถกู ผลิตข้นึ มา แตห ากวัฒนธรรมนัน้ ไมไ ดร ับการผลติ ซา้ํ เพ่อื สบื ทอด วัฒนธรรมนนั้ กจ็ ะอายุสนั้ หรอื ลมหายตายจากไป ๓. เนอ่ื งจากสาํ นัก Culturalism เช่ือวา ในคนแตล ะกลุมตา งมีวัฒนธรรมของตนเอง ดังนน้ั เมอ่ื มา อยูร วมกันเปนหมูบา น อําเภอ จงั หวัด หรือภาค ฯลฯ วฒั นธรรมยอยๆเหลาน้กี ็อาจจะตอ งขัดแยง ตอ ง ปะทะ ตอ งตอสแู ละตอ รองกัน สาํ หรับระดบั ของการวเิ คราะหน ัน้ กลมุ Culturalismแบงระดบั การวิเคราะหออกเปน ๒ ระดบั คือ ๑.การวิเคราะหกระบวนการภายในของตัวการผลติ ไดแกก ารวิเคราะหอ งคประกอบยอ ยๆของการ ผลติ เชน วตั ถุดิบ มีตวั ผผู ลติ มีเครือ่ งมอื การผลติ มีองคค วามรใู นการผลิต มีสถานท่ี มกี าลเวลา มกี าร แพรกระจาย กระบวนการใช การบรโิ ภคผลผลิต รวมท้งั กลมุ คนทใี่ ชวฒั นธรรม การวเิ คราะห องคประกอบภายในของกระบวนการผลติ น้ี ชว ยอธิบายความอยูยงคงกระพนั ของส่ือพืน้ บานหนึง่ ๆหรอื อาจ สญู สลาย หรือชวยอธิบายการดัดแปลงคลค่ี ลายกลายรปู ของสอื่ พ้ืนบา นแตล ะอยา ง อันเน่อื งมาจากการ ขาดหายหรือการเปลยี่ นแปลงในองคประกอบยอยๆเหลา น้ัน ๒.การวเิ คราะหความสมั พนั ธร ะหวา ง “ภูมปิ ญ ญา” กับ “บริบท/โครงสรา งของชุมชน/สังคม” จาก นยิ ามวา ภมู ิปญญาแตละอยา งเปนปฏกิ ริ ยิ า/ความพยายามที่มนุษยจ ะจดั การกบั บริบทสภาพแวดลอ มของ เขา ดงั น้นั บริบทแวดลอ มจึงเปน เสมอื น “บอ เกิด” ของภมู ปิ ญญา และหากบอเกิดนั้นเปล่ยี นแปลงไป ตัว ภมู ิปญ ญาเองกย็ อ มผันแปรตามไปดว ย สาํ หรบั กระบวนการผลติ ซาํ้ เพ่อื สบื ทอด ซ่ึงเปน หลกั ประกนั การอยยู งคงกระพันของวฒั นธรรม พนื้ บา นแตล ะชนิดนนั้ กาญจนา มีขอ เสนอวา การสบื ทอดนัน้ จะมไี ดหลายลกั ษณะ เร่ิมตง้ั แตส ืบทอดแบบ ลอกเลยี นมาจากตนฉบับอยา งครบถวน ไปจนกระท่ังถงึ การสืบทอดพรอ มท้งั การดดั แปลงไปดวย ซ่ึงใน กรณหี ลังมักจะเปนรูปแบบสวนใหญเนื่องจากขอเทจ็ จริงทีว่ า ผูสบื ทอดจําเปนตองดัดแปลง(adaptation) ของเกาใหเขาชดุ กับบริบทสงั คมใหม สําหรับแนวทางการทาํ งานวัฒนธรรมเพื่อสืบทอดนนั้ กาญจนา แกว เทพ (๒๕๓๘) มขี อ เสนอโดยแบง วัฒนธรรมเปน ๒ สว นใหญๆคือ(๑)สว นทเี่ รามองเหน็ ได อนั เปรียบเสมอื น สว นของลาํ ตน ดอก ใบและผลของตน ไม สว นน้ีเปนสว นของวัฒนธรรมทม่ี ักเขา ใจกนั โดยทั่วไปคือ ถา พดู ถึง วัฒนธรรมกห็ มายถึงรําไทย อาหารไทย การแตงกายดว ยชุดไทยเดมิ หรอื การประกอบพธิ กี รรม เปนตน สวน น้ีอาจจะเรียกวา เปนสว นของ”รปู แบบ” ของวฒั นธรรม เปนสว นทสี่ ามารถสมั ผสั จบั ตองได( ๒)สวนทม่ี องไม

๑๕ เหน็ สมั ผัสไมไ ด เปนสวนท่อี ยลู กึ ถา เปรียบตน ไมก ค็ อื สว นทเ่ี ปนรากอยูใ ตด นิ ตองใชก ารคดิ ไตรต รอง วิเคราะหจ งึ จะเขาใจ สวนท่ีอยูใตดนิ นั้นไดแกระบบคิด ระบบคณุ คา ซึ่งอาจเรียกวา เปนสวนทเ่ี ปน ” เนือ้ หา”ของวฒั นธรรม ฉะนัน้ เวลาท่เี รามองเห็นการทาํ พธิ กี รรม จากสง่ิ ท่เี รามองเห็น(รูปแบบ) เราจะตองคดิ พจิ ารณา ไตรต รองและวเิ คราะหล งไปหาสิง่ ท่ีเรามองไมเ ห็นไดด วยตาแตสามารถสมั ผสั ไดด วยปญ ญาและจติ ใจ กลาวคือในพิธกี รรมดังกลา วมคี ุณคา อะไรอยูเบื้องหลัง วัฒนธรรมเหลานเี้ ปนตวั แทนตอ งการส่อื ความหมาย ใด เชนความเสยี สละ ความรกั เพอ่ื นมนษุ ย ความเมตตากรุณา ความสมถะ ความออ นนอมถอ มตน หรอื เปน ตัวแทนคณุ คา ของความเหน็ แกตวั โลภ ไรเ มตตา ไมส อดคลอ งกับสภาพชวี ิตทีเ่ ปน อยู ในการทาํ งานวัฒนธรรมนี้หากไมละเอียดลกึ ซง้ึ ในการจาํ แนกแยกแยะ ก็จะไดมาแต” รปู แบบ” โดย ขาด ”เน้ือหา” เหมอื นกับการไดมาซ่ึงกระพแ้ี ตข าดแกน เชน เราอาจจะร้ือฟน รปู แบบของการชวยเหลอื กันลงแขก เอาม้อื เอาแรง โดยทรี่ ูปแบบดั้งเดิมนนั้ มีคณุ คา พ้นื ฐานอยทู ก่ี ารรวมแรงรว มใจกันโดยสมัครใจ ถา หากบคุ คลภายนอกไปบงั คับใหช าวบานมารว มกนั ลงแขกโดยชาวบานไมไ ดส มคั รใจหรอื ไมไ ดม คี วามรสู กึ รวมแรงรว มใจกนั อยา งแทจริง ก็เรยี กไดว า ”เหลืออยแู ตรูปแบบโดยปราศจากเนือ้ หา” หรือเรียกวา ”เหลือ แตซ าก ปราศจากชวี ติ ” หากเปน การประกอบพธิ กี รรมกเ็ รยี กวา “ทาํ พอเปนพธิ ี” ซึ่งหมายความวา มแี ต “รูปแบบ” พธิ ีกรรมเทานั้น แตขาด “เน้อื หา/คุณคา/สาระ” ของพธิ ีกรรม ๓.การศกึ ษามรดกภูมปิ ญญาทางวัฒนธรรมโดยชมุ ชนมีสว นรวม ๓.๑แนวคดิ เรือ่ งการมสี ว นรว ม ๓.๒กระบวนการวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ัตกิ ารแบบมีสว นรวม ๓.๓แนวทาง/วิธกี ารการรวบรวมและจดั เก็บขอ มูลมรดกภมู ิปญญาทางวฒั นธรรมแบบมีสว นรว ม ของชมุ ชน โดยกรมสง เสรมิ วัฒนธรรม ๓.๑แนวคิดเรอื่ งการมสี ว นรว ม การมีสวนรวมไมใชเร่ืองใหมในสังคมไทยเพราะสังคมไทยเคยมี “การลงแขก” และ/หรือ “การลง ขัน” มากอ นหนา น้ีแลว แตแ นวคิดการมสี วนรวม ไดก ลายเปนวาระใหมเมื่อดําเนินการภายใตความสัมพันธ เชิงอํานาจระหวา ง “ผูน ํา” กบั “ประชาชน” เกยี่ วกบั การพฒั นาตา งๆ ดังน้ันอาจกลาวไดวา การมีสวนรวม ของประชาชนในมิติใหมเปนเรื่องเกี่ยวของกับอํานาจ (Power) และความสัมพันธเชิงอํานาจ (Power Rerationship) ตลอดจนการถายโอนอํานาจ (Power Transfer) จากบุคคลผูที่มีอํานาจไปสูสมาชิกใน ชุมชน และนอกจากน้ันการมีสวนรวมของประชาชนในมิติใหม ยังเกี่ยวของกับการเพ่ิมพลังอํานาจ (Empowerment) ใหกับสมาชิกในชุมชนในการรวมกันคิด (Collective Thinking) และรวมกันตัดสินใจ (Collective Decision Making) ในเรื่องตางๆท่ีเก่ียวกับการพัฒนาชุมชน ตลอดจนรวมกันปฏิบัติ (Collective Action) ในการพัฒนาชุมชนไปในทิศทางที่เหมาะสมตามความตองการของคนในชุมชน(ปาริ ชาติ สถาปต านนท ,๒๕๔๙) มีผเู สนอแนวคดิ การมสี ว นรว มไวเปนจํานวนมาก ในท่นี ้จี ะเสนอแนวคดิ ของ Cohen (๑๙๙๖) และของสถาบันวิจัยสังคมและสถาบนั วิจัยสภาวะแวดลอมจุฬาฯ (๒๕๔๕) Cohen (๑๙๙๖) กลาววา การมีสว นรว มในงานพฒั นาสามารถอธิบายได ๔ ลักษณะดังนี้ (๑) การมีสว นรวมในเชิงการกระทํา เก่ยี วของกบั การทบ่ี คุ คลฝา ยตางๆในชมุ ชนไดเ สยี สละแรงกาย

๑๖ (๒) ในการรวมกันดําเนินกิจกรรมเพอ่ื ใหง านบรรลุเปา หมาย (๓)การมีสวนรว มในเชิงเงิน หมายถงึ การทค่ี นในชุมชนเสียสละเงินในการรวมเพอื่ ทาํ กจิ กรรมตางๆ ใหบ รรลุตามวตั ถปุ ระสงค (๔)การมสี วนรว มในเชิงความรบั ผดิ ชอบ เกย่ี วของกับการกระจายภารกิจความรบั ผดิ ชอบใหกับ กลมุ บุคคลตา งๆรว มกันรบั ผดิ ชอบเพอ่ื ทาํ กิจกรรมตา งๆใหบรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค (๕)การมสี ว นรว มในเชิงการตดั สนิ ใจ เกีย่ วขอ งกบั การเปลยี่ นแปลงอํานาจในการตดั สนิ ใจซง่ึ หมายถงึ การสรา งความภาคภมู ใิ จใหก บั สมาชกิ ในชมุ ชนผา นการออกแบบกจิ กรรมตา งๆ เพอื่ ใหสมาชิกใน ชุมชนไดม ีสว นรว มในการวางแผนและการตดั สนิ ใจตา งๆ สถาบนั วิจยั สงั คมและสถาบนั วจิ ยั สภาวะแวดลอมจฬุ าฯ (๒๕๔๕) ไดจ ัดประเภทของการมสี วนรวม ของประชาชน โดยองิ มาจากพัฒนาการของโครงการเปนเกณฑ กลาวคอื กระบวนการมสี ว นรว มของ ประชาชนประกอบดว ยภารกิจสาํ คัญ ๕ ประการไดแ ก (๑) การมสี ว นรวมในการวางแผน (Participation in planning) คือการทีป่ ระชาชนมีบทบาทใน กิจกรรมตา งๆท่เี ก่ยี วขอ งกับการวางแผนงานโครงการ นบั ต้งั แตก ารวิเคราะหป ญ หา การกาํ หนดลาํ ดบั ความสําคญั ของปญหา การกาํ หนดเปาหมาย การกาํ หนดแนวทางการดาํ เนนิ งาน การกําหนดแนวทางใน การตดิ ตามและประเมนิ ผล (๒)การมสี วนรว มในการดําเนินกิจกรรม (Participation in implementation) คือการสนับสนนุ ทรพั ยากรตางๆและการประสานความรว มมือในการดาํ เนินกจิ กรรม (๓)การมสี ว นรว มในการใชป ระโยชน (Participation in utilization) หมายถงึ การนาํ เอากจิ กรรม ตา งๆมาใชใ หเ กดิ ประโยชน โดยเฉพาะการเพ่ิมระดับการพงึ่ ตนเองและการควบคุมทางสงั คม (๔)การมีสวนรว มในการไดรับผลประโยชน (Participation in benefit-sharing) หมายถึงการทค่ี น ในชุมชนไดรับผลประโยชนจ ากการพฒั นาชุมชนอยา งยตุ ิธรรม (๕)การมสี วนรว มในการประเมินผล (Participation in evaluation) หมายถงึ การใหประชาชน ไดรับรูรับทราบขอมูลถงึ สภาพปญหาและอุปสรรคตางๆจากการดาํ เนนิ งานเพ่ือรวมกนั หาแนวทางในการ แกไข การมีสว นรว มมบี ทบาทสําคญั ตอ การสืบทอดวัฒนธรรม เพราะการมีสว นรวมน้ันจะผกู โยงอยกู บั ความรสู กึ “การเปน เจาของ” (Sense of Belonging) ความรสู ึกดังกลา วจะนํามาซงึ่ ความสนใจหวงใยและ ตามดว ยการดแู ลรักษา แตในขณะเดียวกนั ความรูส กึ การเปนเจาของจะเกิดขึน้ ไดก ็ตอเมอื่ ผูเปน เจา ของมี อํานาจทจี่ ะสามารถเขาไป “จดั การ” กับสิง่ ของหรือเร่อื งราวน้นั ๆไดซ ึ่งกค็ อื การเขาไปมีสวนรว มนัน่ เอง (กาญจนา แกว เทพ ,๒๕๔๖) การส่อื สารแบบมีสว นรว ม การเสริมสรางพลงั แกค นในชุมชนหมายถงึ การเสริมสรา งใหชมุ ชนมีพลงั ความสามารถทจี่ ะ ดาํ เนินการส่งิ ใดสงิ่ หนงึ่ ดว ยการตดั สินใจของตนเอง ดงั นั้นการสื่อสารแบบมสี ว นรวมซ่งึ เปนสทิ ธิทาง วฒั นธรรมและเปน การสรางเสริมพลังใหคนในชุมชน การสอ่ื สารแบบมสี ว นรวมจงึ เปน หัวใจหลกั ท่ีจะตอ งมี อยอู ยางตอเนื่องและทกุ ขนั้ ตอนในการทาํ งานพฒั นาชมุ ชนกาญจนา แกวเทพ (๒๕๔๖) ตั้งคาํ ถามไวอ ยา ง นาสนใจคอื (๑) การมสี ว นรว มนน้ั เปนการใหม ารวมในเรอ่ื งอะไรและไมไ ดร ว มในเร่ืองอะไร (๒)มีใครบา งท่ี ไดเขารวม (stakeholder) และไดเ ขา รว มในขัน้ ตอนใดบาง และ(๓)การสอ่ื สารแบบไหนท่จี ะเปดโอกาสใหม ี สวนรว มไดมาก

๑๗ โดยทัว่ ไปในวงการนิเทศศาสตรแบง ประเภทของการสื่อสารออกเปน ๒ แบบจาํ ลองใหญๆ คือ(ก)แบบจาํ ลองเชิงการถายทอดขา วสาร (Transmission Model) มลี ักษณะเปน การส่อื สารทางเดียว (one – way communication) คอื มีการถายทอดขา วสารจากผสู งสารไปยังผูรับสารโดยบทบาทของผสู ง สารและผูรบั สารจะตายตวั และหลังจากสอ่ื สารผานชอ งทาง/สอ่ื ตา งๆแลว ผรู ับสารกจ็ ะรับร/ู คดิ ตามทีผ่ ูส ง สารตองการ ในแงน้ผี ูสง สารจงึ เปนผคู วบคมุ กระบวนการสอ่ื สารเปน สว นใหญ สว นผรู บั สารนนั้ จะมี บทบาทและสว นรว มเพียงเปน ผูรองรบั ขาวสารทถ่ี ูกถายทอดไปเทา นนั้ และ(ข)แบบจาํ ลองเชิงพธิ กี รรม (Ritualistic Model)มีลกั ษณะเปน การส่ือสารสองทาง(two – way communication) โดยท่ีผสู งสารและ ผูรับสารนั้นจะมีการสลบั บทบาทกันไปมา หลงั จากสอ่ื สารกนั แลว คกู ารสอ่ื สารท้งั สองฝา ยก็จะเรียนรูขอมลู ขาวสารของกันและกนั แบบพบกนั คร่งึ ทาง(shared meaning) ดังนน้ั ในแบบจําลองเชงิ พิธกี รรมน้จี งึ เปด โอกาสใหคกู ารสือ่ สารทง้ั สองฝา ยมสี วนรว มในกระบวนการสือ่ สารไดมากกวา แบบจาํ ลองเชิงการถา ยทอด ขา วสาร กาญจนา แกวเทพ (๒๕๔๓) ไดช ใ้ี หเ หน็ วา การส่ือสารแบบมีสวนรวมเปนองคประกอบท่สี ําคญั ใน ชมุ ชน พรอ มทงั้ ไดสรุปใหเ หน็ ถงึ เปา หมายของการสือ่ สารแบบมีสว นรวมไวดังน้ี (๑)เพอื่ กระตนุ ใหช มุ ชนมองเหน็ คณุ คาของตนเอง (๒)เพอื่ สรา งความมน่ั ใจใหชาวบานทเ่ี ขามามีสว นรวม และเพอ่ื ใหเ หน็ คณุ คา ความคิดและความเช่อื ของเขา อันทาํ ใหชุมชนมคี วามม่ันใจในคุณคา ของตนเอง (๓)เพ่ือพิสูจนใ หเห็นวา การเขามารวมฝก อบรมการผลติ สอ่ื ของสมาชกิ ในชมุ ชน(เด็กและเยาวชน) จะทําใหเ ขาสามารถใชเ ทคโนโลยีสมยั ใหมไ ดหากมีโอกาส (๔)เพอื่ สรา งทักษะในการสรา งสอ่ื ใหกบั ชุมชม สาํ หรบั เปน ชองทางในการสงขา วสารออกไปจาก จุดยนื มุมมองและทัศนะของตนเอง (๕)เพือ่ ใหชุมชนไดแ สดงความรูสกึ ปญหา วธิ กี ารวเิ คราะหป ญหาและวธิ กี ารแกไขปญ หาจาก ทัศนะของชุมชน (๖)เพือ่ ชวยยกระดบั ความมีสตแิ ละความรับผิดชอบใหก ับทงั้ ชุมชนในการรวมกนั แกไ ขปญหาท่ี เกดิ ขนึ้ ๓.๒กระบวนการวจิ ัยเชิงปฏบิ ัติการแบบมีสว นรวม ( Participatory Action Research : PAR ) การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม เปนการนําแนวคิด ๒ แนวคิดมาผสมผสานกันนั่นคือคําวา “ปฎิบัติการ”(action) หมายถึงกิจกรรมที่โครงการวิจัยจะดําเนินการซึ่งปฏิบัติการมักเปนกิจกรรมที่ เกี่ยวกับการพัฒนาดานใดดานหนึ่ง สวนคําวา”การมีสวนรวม” (participation) หมายถึงการมีสวนรวม เกยี่ วของของทุกฝายที่รว มกจิ กรรมวิจัย ในการวเิ คราะหส ภาพปญ หาหรือสถานการณอันใดอันหน่ึงแลวรวม ในกระบวนการตดั สินใจและการดาํ เนินการจนสิ้นสดุ การวิจัย สุภางค จันทวานิช (๒๕๓๔)ไดช้ีใหเห็นวาในการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวมขอมูลที่ไดจาก การวิจัยทุกข้ันตอนเปนสิ่งที่ชุมชนหรือชาวบานรวมรับรูและไดใชประโยชนดวย ชาวบานเปนผูรวมกําหนด ปญหาของชุมชนและหาแนวทางการแกไขปญหา ชาวบานเปนผูตัดสินใจที่จะแกไขปญหาเหลาน้ัน กระบวนการวิจัยดําเนินไปในลักษณะการแลกเปลี่ยนความเห็นระหวางชาวบานกับผูวิจัย ทําใหชาวบาน คอยๆเรียนรูแ ละเปน การพัฒนาศักยภาพดวยตนเอง ในการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวมน้ีผูวิจัยถือวา ชาวบานเปนผูท่ีรูดีเทาๆกับนักวิจัยหรือนักพัฒนาในการกําหนดปญหาและการเลือกปฏิบัติการใดๆก็ตามท่ี

๑๘ จะนําไปสูการพัฒนาคุณภาพชีวิต ปญหาของการวิจัยจึงตองเริ่มจากชาวบานดวยไมใชจากสมมติฐานของ นักวจิ ยั หรือนกั พัฒนาแตฝายเดียว ดังน้ันจะเห็นไดวาท้ังสามฝายคือชาวบาน นักวิจัยและนักพัฒนาตางก็มี บทบาทเทาเทยี มกันในการรว มกาํ หนดปญ หาและเลือกแนวทางปฏิบัติการ การวจิ ยั ในลกั ษณะน้ีจึงเปนการ ผสมผสานระหวางความรูเชิงทฤษฎีและระเบียบวิธีของนักวิจัย เปาหมายและวัตถุประสงคของนักพัฒนา และความตองการกับความรอบรูของชาวบานดังภาพ ชาวบา น จดุ รวมเดียวกนั (ความตอ งการ ชาวบา น และความรู นักวิจยั นกั พฒั นา ชุมชน) กอน PAR นักพฒั นา นกั วจิ ัย (เปาหมายและ (ทฤษฎีและ วตั ถุประสงค) ระเบยี บวิธี) ก่อนPAR หลงั PAR จากภาพดงั กลา ววงกลมแตล ะวงคือโลกทัศนห รือวธิ มี องปญ หาของคนแตละกลุมที่เก่ียวของกับการ วิจัย โลกทัศนของแตละฝายตางกันไปตามกรอบแนวคิดที่ตนยึดถือ หลังจากที่ท้ังสามฝายไดมีการวิจัยเชิง ปฏิบัติการแบบมีสวนรวมแลวคนทั้งสามกลุมจะมี “โลกทัศนรวม” และความเขาใจรวมกันในเรื่องของการ พัฒนา ส่ิงน้ีเปนรากฐานท่ีสําคัญยิ่งสําหรับความสําเร็จในการพัฒนาความรูความเขาใจที่ไดจากการวิจัยจะ เปนจุดเรมิ่ ตนของการปฏบิ ตั กิ ารอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวมเปนยุทธวิธีที่จะชวยใหประชาชนสามารถรวมตัวกันขึ้นมาใน รูปขององคกรประชาชนและสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ มีความเขมแข็งท้ังโครงสรางและการ ดําเนินงานโดยอาศัยเงื่อนไขของการเพ่ิมขีดความสามารถของประชาชนดวยระบบขอมูลทําใหประชาชน เหน็ ความสําคัญของขอมูลเพราะขอมูลจะชวยใหประชาชนสามารถวิเคราะหปญหาของชุมชนและวางแผน ทํางานพัฒนาตอ ไปได (ธนพรรณ ธาน,ี ๒๕๔๐) ๓.๓แนวทาง/วธิ กี ารการรวบรวมและจัดเก็บขอ มูลมรดกภมู ิปญญาทางวัฒนธรรมแบบมีสวนรว มของ ชุมชน โดยกรมสง เสริมวฒั นธรรม ตามอนุสัญญาวาดวยการปกปองคุมครองมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรม (Convention for the Safeguarding of the Intangible Cultural Heritage) ของยูเนสโก ในวันท่ี ๑๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๔๖

๑๙ (ค.ศ.๒๐๐๓) มรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมมีความสําคัญในฐานะที่เปนบอเกิดความหลากหลายทาง วัฒนธรรม ซ่ึงเปน หลกั ประกันของการพฒั นาท่ีย่งั ยนื ดังน้นั ชุมชนนานาชาติ และรัฐภาคีของอนุสัญญาควร ไดรว มกัน “ปกปองคมุ ครอง” มรดกภูมปิ ญ ญาทางวฒั นธรรม โดยการแลกเปลีย่ นความเขา ใจซงึ่ กนั และกนั ท้ังนี้เจตนารมณสําคัญท่ีปรากฎในอนุสัญญา คือ “ใหการยอมรับชุมชน โดยเฉพาะอยางย่ิง ชุมชน พน้ื เมอื งดั้งเดมิ กลุมชน และปจเจกบุคคล มีบทบาทสําคัญในการผลิต สงวนรักษา ธํารงไว และสรางสรรค ใหมซึ่งมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรม” นอกจากนั้นยังมุงหมายใหมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมดํารงอยู อยางยั่งยืนดวยการปกปองคุมครอง (Safeguarding) ซ่ึงมาตรการการปกปองคุมครองจะตองพัฒนาและ ไดรับการยอมรับมาจากชุมชน รวมทั้งตองเคารพในแนวปฏิบัติจารีตประเพณีของมรดกภูมิปญญาทาง วัฒนธรรมน้ันดวย สวนมาตรการท่ีแทรกแซงมาจากภายนอกจะไมเปนที่ตองการ เน่ืองจากมาตรการ เหลาน้นั อาจจะบดิ เบอื นคณุ คาของมรดกภูมิปญญาทางวฒั นธรรมของชมุ ชน ดังน้ัน กระบวนการปกปองคุมครองมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมจะตองใหชุมชน กลุมคน หรือ ปจ เจกชน ซึ่งถือครอง หรือเกยี่ วของกบั มรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมท้งั ทางตรงและทางออ ม เขา มามีสวน รวมดําเนินการ ในท่ีนี้ “การปกปองคุมครอง” หมายถึง การจําแนก การบันทึกหลักฐาน การวิจัย การสนับสนุนและสงเสริมใหมีการสืบสาน (ครอบคลุมการถายทอด การอนุรักษ และสรางสรรค) มรดกภูมปิ ญ ญาทางวฒั นธรรม อยางยงั่ ยนื ตามสภาพแวดลอมท่ีเหมาะสม กระบวนการการปกปองคุมครองมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมควรเริ่มตนจากการรวบรวมและ จัดเก็บขอมูล (Inventorying) เปนอันดับแรก ซ่ึงอาจมีการศึกษาวิจัยอยางเปนระบบโดยรวบรวมและ จดั เกบ็ ขอ มลู มรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมท่ีมีความสําคัญดวยเหตุผลตาง ๆ เชน มีความสําคัญตอวิถีชีวิต มนษุ ยชาติ กลมุ ชาตพิ ันธุ กลมุ คน หรือบคุ คล หรือตอสังคมโดยรวม และเส่ียงตอการสูญหาย หรือวามรดก ภูมิปญญาทางวัฒนธรรมน้ันมีศักยภาพการสรางสรรคเปนประโยชนตอการพัฒนาวิถีชีวิตอยางยั่งยืน และ แมว า ยเู นสโกมีจุดยืนวารัฐภาคีสามารถพัฒนาแนวทางการรวบรวมและจัดเก็บขอมูลมรดก ภูมิปญญาทาง วัฒนธรรมในขอบเขตรฐั ของตนตามทเ่ี ห็นวา เหมาะสมได แตย เู นสโกไดใหข อเสนอแนะในเรื่องหลักการ และ แบบบันทึกพื้นฐานในการรวบรวมและจัดเก็บขอมูล และตัวอยางกรณีศึกษาในประเทศท่ีไดดําเนินการไป บา งแลว เพอ่ื เปน ประโยชนต อ รฐั ภาคใี นการพฒั นาแนวทางตามความเหมาะสม วัตถปุ ระสงคข องการรวบรวมและจัดเกบ็ ขอมูลมรดกภมู ปิ ญญาทางวฒั นธรรม ๑. เพอ่ื ปกปอ งคุมครองมรดกภมู ิปญ ญาทางวฒั นธรรม โดยรวบรวมและจดั เกบ็ ขอ มูล ซึ่งชุมชนมสี วนรว ม อันเปนการกระตนุ จติ สาํ นกึ ใหเ กดิ การสงวนรักษามรดกภมู ปิ ญญาทางวฒั นธรรม ใหเ ปน วฒั นธรรมทมี่ ชี วี ติ ๒. เพื่อจดั ทาํ คลงั ขอ มลู มรดกภมู ปิ ญญาในขอบเขตประเทศไทย ๓. เพื่อนําไปสูการเสนอขึ้นทะเบียนเปนมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมของชาติ และ นําเสนอยูเนสโกใหเปนมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมของมนุษยชาติเมื่อประเทศไทยเขาเปนภาคี Convention for the Safeguarding of the Intangible Cultural Heritage ในอนาคต

๒๐ จากวตั ถปุ ระสงคของการรวบรวมและจัดเก็บขอมูลมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรม ขอ ๑. เพ่ือปกปองคุมครองมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรม โดยรวบรวมและจัดเก็บขอมูลซ่ึงชุมชนมีสวนรวม อัน เปนการกระตุน จติ สาํ นึกใหเ กดิ การสงวนรกั ษามรดกภูมิปญ ญาทางวัฒนธรรม ใหเ ปนวัฒนธรรมทม่ี ชี ีวิต คาํ ถามหลกั คือ(๑)จะมีวธิ ีการ/กระบวนการอยา งไรในการทจ่ี ะไดมาซ่งึ ขอมลู ทต่ี รงกับขอเท็จจริง เกย่ี วกับมรดกภมู ปิ ญญาทางวฒั นธรรม เพ่อื ทจี่ ะนํามาใชป ระโยชนในการปกปองคมุ ครอง (๒)จะมีวธิ ีการ/ กระบวนการอยางไรในการกระตนุ สาํ นกึ ของเจา ของวัฒนธรรมใหรว มกันปกปองคุมครองและสืบทอดมรดก ภมู ิปญ ญาทางวฒั นธรรมของตนเองเพ่อื รบั ใชคนในชุมชน/เจา ของวฒั นธรรมและ (๓)จะมีวิธกี าร/ กระบวนการอยางไรท่จี ะใหเ จา ของวัฒนธรรมเขามามสี ว นรว มตัง้ แตเ ริม่ ตน เพราะอะไรจึงจําเปนตอ งใหเ จา ของวัฒนธรรมเขามามีสว นรวมตงั้ แตต น มีเหตผุ ลรองรบั ดังน้ี ๑ . ภ า ย ใ ต อ นุ สั ญ ญ า ว า ด ว ย ก า ร ป ก ป อ ง คุ ม ค ร อ ง ม ร ด ก ภู มิ ป ญ ญ า ท า ง วั ฒ น ธ ร ร ม (Convention for the Safeguarding of the Intangible Cultural Heritage) ของยูเนสโก ในมาตราขอ ๑๕ การมีสวนรวมของชุมชน กลุม ชน และปจเจกบคุ คล กลาววา ภายในกรอบของกิจกรรมการปกปองคุมครองมรดกทางวัฒนธรรมที่จับตองไมได แตละ รัฐภาคีจะตองพยายามดําเนินการเพื่อใหชุมชนและกลุมชนมีสวนรวมกวางขวางท่ีสุดและหากเปนการ เหมาะสมใหมีปจเจกบุคคล ซง่ึ สรางสรรค ธํารงรักษาและถายทอดมรดกดังกลาวเขารวมดวยและนําบุคคล เหลา นน้ั เขา มามีบทบาทในการจดั การอยา งแขง็ ขนั ดวย ๒.เนื่องจากวัฒนธรรม”เปนสมบัติรวม” (common property) “เปนมรดกรวม” (collective heritage) ไมใชสมบัติสวนตัวของผูใด/กลุมใดกลุมเดียว ดังน้ันการที่สมบัติหรือมรดกนั้นจะ ดํารงอยูตอไปตองอาศัย “ความรูสึกการเปนเจาของ”(Sense of belonging) และความรูสึกน้ีจะเกิดข้ึนได ก็ตองมีเง่ือนไขเบื้องตนคือเจาของวัฒนธรรมตองสามารถเขามามีสวนรวมในการบริหารจัดการวัฒนธรรม ของเขาได ๓.วฒั นธรรมเปนเบา หลอมและเปนวถิ ชี วี ติ ของเจา ของวฒั นธรรมซึ่งบรรพบรุ ษุ เขาคดิ สรางสรรคข น้ึ มาเพ่อื รับใชเจา ของวัฒนธรรม ดังน้ันเจาของวัฒนธรรมจึงเปนกลุมคนท่ีมีความรูความเขาใจ เรือ่ งเกยี่ วกบั วัฒนธรรมของเขาดีกวาคนนอกวฒั นธรรมและ ๔.เนื่องจาก “การปกปองคุมครอง” มรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมตองเคารพสิทธิทาง วัฒนธรรมของ “บุคคล กลุมคน และชุมชน” ซ่ึงเปนผูถือครองหรือผูเกี่ยวของ จึงสมควรท่ี “บุคคล กลุมคน ชุมชน” หรือ บุคคลท่ีเกี่ยวของเขามามีสวนรวมในกระบวนการรวบรวมและจัดเก็บขอมูล ต้งั แตก ารเสนอรายการมรดกภมู ิปญญาทางวัฒนธรรม เทากับเปนการกระตุนจิตสํานึกเกี่ยวกับความสําคัญ ของมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรม โดยควรตระหนักวาเปาหมายก็คือกระตุนให “ชุมชน” มีจิตสํานึกและ พยายามพฒั นาแนวคดิ เพอื่ “ปกปอ งคุมครอง” มรดกภมู ปิ ญ ญาทางวัฒนธรรมของตนเองได

๒๑ บทที่ ๓ วิธีการและขั้นตอนการดาํ เนินงานวจิ ยั การวิจัยเร่ือง “กา นกกง่ิ กะหลา” ในครงั้ นมี้ วี ตั ถปุ ระสงค( ๑)เพื่อคนหาระบบความรู ความเขา ใจ เกี่ยวกบั การราํ นกกา นกกิ่งกะหลา ของคนไตในขอบเขตของประเทศไทย(๒)เพ่อื วา กระบวนการรวบรวม และ จดั เก็บขอ มูลเกี่ยวกับการราํ นกกา นกกิง่ กะหลา น้ีจะกระตนุ ชมุ ชนคนไตใหเ หน็ ความสําคัญของประเพณแี ละ ใหเกดิ จิตสํานึกที่จะเคลอื่ นไหวทาํ กิจกรรม สงวนรกั ษาการรํานกกา นกกง่ิ กะหลาใหส ืบทอดตอไปในบริบทที่ เหมาะสมและ(๓)เพอื่ นําไปสูก ารเสนอใหก ารราํ นกกา นกก่ิงกะหลาเปน มรดกภมู ิปญญาทางวัฒนธรรมกลุม ชาตพิ นั ธไุ ตในขอบเขตของประเทศไทยและของโลกในกาลขางหนา ดังน้นั ขอมลู /องคความรจู ึงเปนสว นสาํ คัญของงานการรวบรวมและการจดั เก็บ และเนอ่ื งจากการ จดั เกบ็ องคความรเู กย่ี วกบั รายการมรดกภมู ิปญ ญาทางวฒั นธรรมเปน ขอกําหนดเบอื้ งตน ของการปกปอ ง คมุ ครองโดยชุมชน ประเดน็ สาํ คัญอกี ประการหนึง่ คือกระบวนการการไดมาซงึ่ ขอ มลู และกระบวนการ กระตุนสาํ นึกเจา ของวฒั นธรรมซง่ึ งานวจิ ัยชน้ิ นีจ้ ะตองตอบโจทย ๓ ระดบั คอื (๑)จะมีวิธกี าร/กระบวนการ อยา งไรในการทจี่ ะไดม าซงึ่ ขอ มูลทต่ี รงกับขอเทจ็ จริงเก่ียวกับมรดกภมู ปิ ญ ญาทางวฒั นธรรม เพอื่ ทีจ่ ะ นาํ มาใชป ระโยชนในการปกปองคุมครอง (๒)จะมีวธิ กี าร/กระบวนการอยา งไรในการกระตุน สํานกึ ของ เจาของวัฒนธรรมใหรว มกนั ปกปอ งคุมครองและสบื ทอดมรดกภูมปิ ญญาทางวัฒนธรรมของตนเองเพ่ือรับใช คนในชุมชน/เจา ของวัฒนธรรมและ(๓)จะมวี ิธกี าร/กระบวนการอยางไรทจี่ ะใหเ จา ของวฒั นธรรมเขามามี สว นรว มตัง้ แตเ ริ่มตน เพ่ือใหสามารถตอบโจทยแ ละบรรลวุ ตั ถุประสงคของโครงการ ทมี วิจยั จึงใชก ระบวนการวิจัยเชิง ปฏิบัตกิ ารแบบมสี ว นรว ม เนือ่ งจากตามอนุสญั ญาวา ดวยการปกปอ งคุมครองมรดกภมู ิปญญาทาง วฒั นธรรม (Convention for the Safeguarding of the Intangible Cultural Heritage) ของยูเนสโก ใน วนั ท่ี ๑๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๔๖ (ค.ศ.๒๐๐๓) มรดกภมู ิปญญาทางวัฒนธรรมมีความสาํ คญั ในฐานะทเ่ี ปนบอ เกดิ ความหลากหลายทางวฒั นธรรม ซง่ึ เปน หลกั ประกันของการพัฒนาทยี่ ่ังยืน ทง้ั นี้เจตนารมณสาํ คญั ที่ ปรากฎในอนสุ ัญญา คอื “ใหการยอมรบั ชุมชน โดยเฉพาะอยางยิ่ง ชมุ ชนพน้ื เมืองดัง้ เดมิ กลมุ ชน และ ปจเจกบคุ คล มีบทบาทสําคัญในการผลิต สงวนรักษา ธาํ รงไว และสรา งสรรคใหมซ ่ึงมรดกภูมปิ ญ ญาทาง วัฒนธรรม” นอกจากน้นั ยงั มงุ หมายใหมรดกภมู ปิ ญ ญาทางวัฒนธรรมดํารงอยอู ยา งย่งั ยืนดวยการปกปอง คมุ ครอง (Safeguarding) ซึ่งมาตรการการปกปอ งคมุ ครองจะตองพัฒนาและไดรับการยอมรับมาจากชมุ ชน รวมทัง้ ตอ งเคารพในแนวปฏบิ ตั ิจารีตประเพณีของมรดกภูมิปญ ญาทางวฒั นธรรมนน้ั ดว ย สว นมาตรการที่ แทรกแซงมาจากภายนอกจะไมเปนทต่ี องการ เนือ่ งจากมาตรการเหลานน้ั อาจจะบิดเบอื นคุณคา ของมรดก ภมู ิปญญาทางวัฒนธรรมของชุมชน ดังนั้น กระบวนการปกปองคุมครองมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมจะตองใหชุมชน กลุมคน หรือ ปจเจกชน ซ่งึ ถอื ครอง หรือเก่ียวของกับมรดกภูมปิ ญญาทางวัฒนธรรมท้งั ทางตรงและทางออม เขามามีสวน รว มดาํ เนินการ เพราะอะไรจึงจําเปนตอ งใหเจาของวัฒนธรรมเขา มามสี วนรวมตง้ั แตตน มเี หตุผลรองรับดังน้ี ๑.ภายใตอนุสัญญาวาดวยการปกปองคุมครองมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรม (Convention for the Safeguarding of the Intangible Cultural Heritage) ของยูเนสโก ในมาตราขอ ๑๕ การมีสวนรวม ของชุมชน กลุม ชน และปจเจกบุคคล กลา ววา

๒๒ ภายในกรอบของกิจกรรมการปกปองคุมครองมรดกทางวัฒนธรรมท่ีจับตองไมได แตละรัฐภาคี จะตอ งพยายามดําเนินการเพ่ือใหชุมชนและกลุมชนมีสวนรวมกวางขวางท่ีสุดและหากเปนการเหมาะสมให มีปจเจกบคุ คล ซง่ึ สรา งสรรค ธาํ รงรักษาและถายทอดมรดกดังกลาวเขารวมดวยและนําบุคคลเหลานั้นเขา มามีบทบาทในการจัดการอยา งแขง็ ขนั ดวย ๒.เน่ืองจากวัฒนธรรม”เปนสมบัติรวม” (common property) “เปนมรดกรวม”(collective heritage) ของเจา ของวัฒนธรรม ไมใชส มบตั ิสวนตวั ของผใู ด/กลมุ ใดกลมุ เดียว ดงั น้นั การท่ีสมบัตหิ รือมรดก นั้นจะดํารงอยูตอไปตองอาศัย “ความรูสึกการเปนเจาของ”(Sense of belonging) และความรูสึกน้ีจะ เกิดขึ้นไดก็ตองมีเงื่อนไขเบื้องตนคือเจาของวัฒนธรรมตองสามารถเขามามีสวนรวมในการบริหารจัดการ วัฒนธรรมของเขาได ๓.วัฒนธรรมเปนเบาหลอมและเปนวิถีชวี ติ ของเจา ของวัฒนธรรมซ่งึ บรรพบุรุษเขาคิด สรา งสรรคข น้ึ มาเพ่ือรบั ใชเจาของวัฒนธรรม ดังน้ันเจาของวัฒนธรรมจึงเปนกลุมคนท่ีมีความรูความเขาใจ เร่อื งเก่ียวกบั วฒั นธรรมของเขาดกี วาคนนอกวฒั นธรรมและ ๔.เน่ืองจาก “การปกปองคุมครอง” มรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมตองเคารพสิทธิทางวัฒนธรรม ของ “บุคคล กลมุ คน และชมุ ชน” ซ่งึ เปน ผูถ ือครองหรอื ผเู ก่ียวของ จึงสมควรท่ี “บุคคล กลุมคน ชุมชน” หรือ บุคคลที่เกี่ยวของเขามามีสวนรวมในกระบวนการรวบรวมและจัดเก็บขอมูลต้ังแตการเสนอ รายการมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรม เทากับเปนการกระตุนจิตสํานึกเก่ียวกับความสําคัญของมรดกภูมิ ปญ ญาทางวฒั นธรรม โดยควรตระหนกั วา เปา หมายก็คือกระตุนให “ชมุ ชน” มจี ิตสํานึกและพยายามพัฒนา แนวคิดเพ่อื “ปกปอ งคุม ครอง” มรดกภูมปิ ญ ญาทางวฒั นธรรมของตนเองได ขอบเขตของการวิจยั ทมี วจิ ัยไดก าํ หนดขอบเขต/วธิ กี ารดาํ เนินการรวบรวมและจัดเกบ็ ขอมลู เรือ่ งกา นกกา นกกิง่ กะหลา ไวด งั นี้ ๑. ขอบเขตพ้นื ที่ โครงการจะดําเนนิ กจิ กรรมในพื้นท่ี ๓ จังหวดั ในเขตภาคเหนอื ตอนบนของ ประเทศไทยคือ จงั หวัดเชยี งใหม(อําเภอฝางและอําเภอเวียงแหง) จงั หวดั เชียงราย (อําเภอแมฟาหลวง) จงั หวดั แมฮ องสอน(อาํ เภอเมอื งและอําเภอขนุ ยวม) เพราะทง้ั สามจังหวดั เปนพื้นท่ที มี่ เี ปนชมุ ชน/หมบู านของกลมุ ชาตพิ ันธุไตเปน จาํ นวนมาก ในพนื้ ท่ี ยงั มปี ราชญช าวบานท่มี คี วามรคู วามเขาใจเก่ยี วกบั กานกกง่ิ กะหลา คณะนกั วจิ ยั มีเครือขายกับกลมุ ชาตพิ ันธุ ไตในพ้ืนที่ ๒.ขอบเขตเนอ้ื หา ลาํ ดบั ประเดน็ แหลงขอมูล ๑. บทนาํ : ประวัตคิ วามเปน มา/ความสาํ คญั ของกานกกิง่ กะหลา เอกสาร/งานวิจยั ปราชญช าวบาน/กลุมคน/ ๑.๑ความสาํ คญั /หลักการเหตุผล ชมุ ชน ๑.๒ประวัตคิ วามเปนมา ๑.๓สถานภาพองคความรูท ่ีมีอยู ๑.๔การกระจายตัวหรอื การปรากฏตวั ของกานกก่ิงกะหลา ๑.๕ชมุ ชน/กลุม คนที่เกี่ยวของ ๒. สาระของกา นกกิง่ กะหลา ปราชญช าวบา น/กลมุ คน/ ใชแ นวคิด ”ตน ไมแหง คณุ คา ” และ “ตาขายความสมั พนั ธ”มาเปน ชุมชน

๒๓ เครอื่ งมือเพอ่ื ใชเปน กรอบในการตั้งคาํ ถาม ๒.๑ชอ่ื ทป่ี รากฏในทอ งถิน่ หรือชื่อท่ีเทียบเคียง ๒.๒ลักษณะการแสดง/การรํา -แสดง/รําในงานประเภทใดบางและไมแสดงในงานประเภทใด -การแสดง/รําในงานแตละประเภทเหมอื นหรือแตกตางอยางไร -สถานทแี่ สดง/ราํ มีลกั ษณะอยา งไร ๒.๓ประเภท (ดนตร/ี การแสดงการราํ ) ก.ดนตรี -เครอ่ื งดนตรที ี่ใชม อี ะไรบา งแตละอยา งใชจํานวนเทาไหร หนา ท่ี อะไร -อปุ กรณแ ตล ะชนดิ มขี ้นั ตอนการผลิตอยางไร ผูผลิตมคี ุณสมบตั ิ อยางไร มคี วามเช่ือเก่ียวกบั อะไรบา งและมีพิธกี รรมอะไรบาง องคป ระกอบมอี ะไรบาง มีความหมายอยางไร มขี นั้ ตอนการทาํ พิธกี รรมอยางไร ผูท ําพิธเี ปนใครและมีใครบางทเ่ี ขารว ม -อปุ กรณแ ตละชนิดมีความสัมพนั ธก ันอยางไร(อะไรขาดได อะไร ขาดไมได เพราะอะไร) -ผเู ลน ดนตรีแตล ะชนดิ มคี ุณสมบัติอยางไร กวา จะเปนผเู ลนดนตรี ไดตองมีขนั้ ตอนอยา งไรบา ง -ผูเลนดนตรแี ตง ตัวอยางไร มีความหมายวา อะไร ข.การรํา -ชุดการรํา/การแตงกาย เปนอยา งไร แตล ะอยางมีหนาท่ีอะไร -อุปกรณก ารแตง กายแตละชนดิ มขี ั้นตอนการผลิตอยางไร ผูผลิตมี คุณสมบัติอยางไร มคี วามเชื่อเกี่ยวกับอะไรบางและมีพธิ กี รรม อะไรบาง องคป ระกอบมอี ะไรบาง มีความหมายอยางไร มขี น้ั ตอน การทําพิธกี รรมอยา งไร ผูทําพธิ เี ปน ใครและมใี ครบา งที่เขารว ม -อปุ กรณแ ตล ะชนดิ มีความสัมพนั ธก นั อยางไร(อะไรขาดได อะไร ขาดไมได เพราะอะไร) -ผูแสดง/ผรู าํ แตล ะคนมีคณุ สมบัติอยา งไร กวา จะเปนผูแ สดง/ผูราํ ไดตอ งมขี ั้นตอนอยางไรบาง -ผแู สดง/ผรู าํ แตงตัวอยา งไร มคี วามหมายวาอะไร -มีทา รําหลกั /ทา ราํ ท่ีสําคัญกี่ทา อะไรบาง -แตล ะทา รําหลกั มีความหมายอยา งไร -ทา ราํ เพ่มิ เตมิ มอี ะไรบาง มีความหมายอยางไร ๒.๔พัฒนาการ -ความเปล่ียนแปลงจากอดีตถงึ ปจ จุบนั -ผลกระทบทเ่ี กิดจากการเปลย่ี นแปลงดงั กลาว ๒.๕ขนบ ๒.๖ความเช่ือ ๒.๗ลาํ ดับข้ันตอนการแสดง/การราํ -ในการแสดง/การรํา1ครัง้ มใี ครทําหนาทีอ่ ะไรบาง -แตล ะคนตองทาํ อะไร มีขน้ั ตอนอยา งไรบางและมีอุปกรณ อะไรบา ง ๒.๘รปู แบบการจดั แสดง/การราํ -รปู แบบการจัดวางเครอื่ งดนตรเี ปน อยา งไร -รปู แบบการจัดแสดง/การราํ เปนอยางไร

๒๔ ลาํ ดบั ประเดน็ แหลง ขอมูล ๒.๙โนต เพลง บทเพลง บทแสดง/การราํ ๒.๑๐อปุ กรณ -เคร่ืองบูชามอี ะไรบา ง แตล ะอยา งใชเทาไหร มีความหมายวา อยางไร อะไรขาดได อะไรขาดไมไ ด และสามารถใชอะไรทดแทนได -ผทู าํ พิธีบชู าเปนใคร มีคุณสมบตั อิ ยา งไร ทาํ เพ่ืออะไร แตง กาย อยางไร -ผเู ขา รว มพิธีบูชาเปน ใคร มคี ณุ สมบตั อิ ยางไร และตองทาํ อะไรบา ง -การทําพธิ บี ชู า ทําทีไ่ หน เมอ่ื ไหร มีข้ันตอนอยางไรบาง ๒.๑๑กระบวนทา -มีทา รําหลัก/ทารําทีส่ ําคัญกีท่ า อะไรบาง -แตล ะทา ราํ หลักมีความหมายอยา งไร -ทารําเพ่มิ เติมมีอะไรบาง มคี วามหมายอยางไร ใครเปนคนคิด ๒.๑๒ลกั ษณะเฉพาะอน่ื ๆ ๒.๑๓คณุ คา -อดีตคุณคาความหมายคืออะไร -ปจ จุบนั คณุ คาความหมายคอื อะไร มีอะไรหายไป มีอะไรยงั คงอยู และมีอะไรเพ่ิมเขามาใหม สิ่งท่ีเพิ่มเขามาใหมม าไดอยา งไร ชุมชน ตอ งการหรอื ไม -ผลกระทบท่เี กดิ ขึ้นเม่อื มคี ุณคา บางอยางหายไปและคณุ คา บางอยางเขามาแทนที่ ๒.๑๔การถา ยทอดและการสืบทอด -อดตี มกี ารถายทอดอยา งไร -ปจจบุ นั มีการถา ยทอดอยางไร -ผลกระทบที่เกดิ ขึ้นเมอื่ มกี ารเปลี่ยนแปลงเกีย่ วกบั การถา ยทอด และการสืบทอด ๒.๑๕ขอมูลของผูบอกรายละเอียด (ชอ่ื สกลุ ทอ่ี ยู อายุ อาชีพ การศึกษา ฯลฯ) ๒.๑๖ผูเ กบ็ ขอมูลและวนั เวลาทีเ่ ก็บ ๓. เง่อื นไขภาวะวิกฤติ/ปจจยั คุกคามของกา นกกิ่งกะหลา ปราชญช าวบา น/กลมุ คน/ ๓.๑สภาพปจจุบัน ชมุ ชน ๓.๒ปจ จัยคุกคาม ๔. ขอเสนอใหก านกกง่ิ กะหลา เปน มรดกภูมิปญ ญาทางวัฒนธรรมของ ปราชญช าวบาน/กลมุ คน/ ชาติ/มนุษยชาติ ชุมชน ๔.๑เหตผุ ล ๔.๒แนวทางการสง เสริมใหก านกกิ่งกะหลา เปน มรดกภูมิปญญาทาง วัฒนธรรมกลมุ ชาติพนั ธไุ ทใหญในประเทศไทย ๕. พกิ ดั ทางภูมศิ าสตร ระยะเวลาในการดําเนนิ กจิ กรรม ต้ังแตวันท่ี ๑ สงิ หาคม ๒๕๕๕ ถงึ วันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๖ เครือ่ งมือทีใ่ ชใ นการวจิ ัยและดาํ เนินกจิ กรรม ๑.การวจิ ัยเชงิ ปฏิบัติการแบบมสี ว นรว ม ซง่ึ งานวจิ ัยครง้ั นี้มีทง้ั การเก็บรวบรวมขอมลู (การวิจยั )และ การปฏบิ ัติการ(งานพัฒนา)

๒๕ ๒.การวิเคราะหเ อกสาร เปนการศึกษาและวิเคราะหข อมูลจากเอกสาร รายงาน บทความ วารสาร และวิทยานพิ นธท เ่ี ก่ยี วขอ งกับกานกกง่ิ กะหลา ๓.การสมั ภาษณ ทั้งแบบเปนทางการและทีไ่ มเปนทางการ โดยมีทั้งการสมั ภาษณแบบเจาะลกึ และ การสมั ภาษณแ บบกวา งตามประเดน็ ทผ่ี ูว ิจัยตอ งการ ๔.การสงั เกตการณ ทัง้ แบบมสี วนรวมและไมมสี ว นรว ม ๕.การจัดเวทตี างๆ การจดั เวทแี ตล ะครง้ั มีเปาหมายท่ีแตกตา งกันไป ๕.๑จดั ประชมุ /เวทหี าความตองการของเจาของวัฒนธรรม:สิทธิทางวฒั นธรรมทก่ี าวแรก ๕.๒จัดประชมุ /เวทชี าวบาน : เปด พนื้ ทีส่ รา งสรรคชแี้ จงโครงการ ๕.๓จดั ประชมุ /เวทีการพฒั นาศกั ยภาพเดก็ และเยาวชน : คิดเปน ทาํ เปน ๕.๔จัดประชุม/เวทีชาวบา น : การคนื ขอมลู ใหเ จาของวัฒนธรรม ๕.๕การประชุม / เวทเี ครือขา ยเจา ของวฒั นธรรม การตรวจสอบความถกู ตอ งของขอ มูล เพอื่ ใหข อ มูลท่ีไดม คี วามนา เช่ือถือและถูกตอ ง ผวู จิ ัยใชว ธิ กี ารตรวจสอบดังน้ี ๑.ใชว ธิ ีการเก็บรวบรวมขอมลู แบบหลากหลายวิธี เชน การเกบ็ รวบรวมขอ มลู จากเอกสาร การ เก็บรวบรวมขอ มลู ภาคสนาม โดยมกี ิจกรรมจากการจดั เวทตี า งๆ ใชก ารสัมภาษณแบบกลุมใหญ กลมุ ยอย และรายบคุ คล การสงั เกตมที ้งั แบบมีสว นรว มและไมมีสว นรว ม ๒.ใชก ารตรวจสอบขอ มูลแบบสามเสา โดยใชการเกบ็ รวบรวมขอมูลในประเดน็ เดียวกนั จากคน หลายกลมุ เพื่อตรวจสอบวา ขอมูลตรงกนั หรอื ไม นอกจากน้ีผวู จิ ัยยงั มวี ธิ กี ารตรวจสอบขอ มูลอีกวธิ ีหนึง่ คอื ใชว ิธกี ารเก็บขอ มูลจากคนเดยี วกนั แตตา งเวลา ตา งวาระและตา งโอกาสเพือ่ ใหแ นใจวา ขอมลู ดงั กลา วมี ความถกู ตอ ง ๓.ใชว ธิ กี ารจดั เวทคี นื ขอมูลใหช มุ ชนเพอื่ ตรวจสอบความถูกตอ งของขอ มูล หลักการสําคัญในการวางแผนดําเนินกิจกรรมเพ่ือใหเจาของวัฒนธรรมเขา มามสี วนรว ม การทาํ วิจยั ครง้ั นที้ มี วจิ ยั ใชห ลกั คิดในการวางแผนดําเนินกิจกรรม ดังนี้ ๑. ทาํ ความเขาใจโครงการและเปาหมายการทาํ งานครง้ั น้ีอยา งชดั เจน ซ่งึ เปาหมายการทาํ งานวิจัย ครั้งน้ีคือการสรา งความมน่ั ใจใหก ับเจา ของวฒั นธรรม(คนในชุมชน) โดยใชหลักการรอ้ื ฟน วัฒนธรรม”สิทธิ ของเจา ของวัฒนธรรม” ทีใ่ หเ จาของวฒั นธรรมเปน ผตู ัดสนิ ใจ ดังนนั้ ในการคดิ กิจกรรมตางๆนั้นตอ งถอื เปาหมายโครงการเปนหลัก เชน เปน การวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ัตกิ ารแบบมสี วนรว ม ใหคนในชมุ ชนรว มเรยี นรูจาก การปฏิบตั จิ รงิ โดยการใชแ นวคิดการมีสวนรวมทต่ี องใหค นในชุมชนมสี ว นรว มตัง้ แตร ว มคดิ ตดั สนิ ใจ , รว ม วางแผน ,รว มปฏิบัติ , รว มรบั ผลประโยชนแ ละรว มติดตามประเมินผล ๒.ช้ีชัดวตั ถุประสงคแ ละกระบวนการดาํ เนินกิจกรรม การคิดกจิ กรรมตองตอบคาํ ถามแรกๆวา กจิ กรรมนั้น ทําเพอื่ อะไร และทาํ เพอ่ื ใคร เม่อื ตอบคําถามดังกลา วไดแลว จึงคิดตอวา กจิ กรรมนัน้ จะทํา อยางไร ดวยกระบวนการ วธิ กี ารอยา งไร และจะใหกลมุ เปาหมายเขามามีสวนรว มไดอยา งไร สดุ ทา ยจงึ คดิ ถงึ วาจะใชเครื่องมอื อะไรเพอ่ื ตอบโจทยดงั กลา วขา งตน และเครอื่ งมือน้นั จะใชอ ยางไร ใหเ หมาะสมและ สอดคลองกับกลมุ เปา หมาย ๓. ทบทวน ไตรต รอง เม่อื ทาํ กจิ กรรมเสรจ็ เรยี บรอ ยแลวตอ งทบทวน สรุปกจิ กรรมท่ที ําไปวา เหมาะสมหรอื ไม มีจุดออ นตรงไหน และจะปรบั อะไรบา ง จากนั้นนาํ ไปทดลองทําใหม จากปรชั ญาแนวคิดการพฒั นาแนววฒั นธรรมชุมชนและหลักการสําคญั ในการวางแผนทาํ กิจกรรม ดังกลา วขา งตน ทีมผวู จิ ยั ไดนาํ มาเปน แนวทางในการวางแผนขนั้ ตอนและกระบวนการดําเนนิ กิจกรรม ๔.ขัน้ ตอนของการจัดประชุม/เวที ในชมุ ชน ทีมวจิ ยั แบงชวงเวลาการทาํ งาน เปน ๓ ชว งดงั นี้

๒๖ -ชว งกอนการประชมุ -ชว งระหวา งการประชุม -ชว งหลังการประชุม ๕..คุณลักษณะของการประชุม/เวที มดี ังนี้ -มคี วามหลากหลายของกลมุ เปาหมายผูเขารว มประชมุ -จํานวนผูเขารว มประชมุ ขึน้ กบั เปา หมายของการประชุม -เปนรปู แบบการสื่อสารแบบเหน็ หนา เห็นตา -การประชุมเปนกระบวนการเนน การสือ่ สารสองทาง -เปน การส่อื สารแบบตรง/ไมผา นตวั กลาง -วาระ/โอกาส/สถานท่ีในการจดั ประชุม ใหก ลุมเปาหมายตัดสนิ ใจ -เน้ือหา/รูปแบบ/กระบวนการและคาํ ถาม สามารถปรับเปลีย่ นไดตามสถานการณ ขั้นตอนและวิธกี ารดาํ เนนิ งานนี้ ในทนี่ จี้ ะกลาวถึงขน้ั ตอนการดําเนินงานและท่ีมาทไ่ี ปของการดําเนนิ กิจกรรมตา งๆ โดยใช กระบวนการวจิ ัยเชงิ ปฏิบตั กิ ารแบบมีสว นรวมมาเปนเครือ่ งมอื สาํ คญั โดยทมี วิจยั จะนาํ เสนอโดยใชว ิธกี าร เปรยี บเทียบกบั การปลูกพชื ไดด ังนี้ การปลกู พชื กิจกรรมในโครงการ ข้นั ตอนที่ ๑ การเตรยี มดิน สิทธิทางวฒั นธรรมของเจา ของวฒั นธรรม เปนขน้ั ตอนที่สาํ คัญมากถามกี ารเตรียมดนิ ดี -การแสวงหาเครือขายคนทํางาน โอกาสทพี่ ชื จะเจรญิ เตบิ โตก็มีมาก -เวทีหาความตอ งการของเจา ของวฒั นธรรม เชน คิดวาจะปลกู พชื อะไร จะเลอื กพื้นทใ่ี ดทีเ่ หมาะสม -การพฒั นาทมี วิจัย การเตรียมดนิ จะไถกีค่ รง้ั เปนตน ขน้ั ตอนที่ ๒ การคัดเลอื กเมล็ดพันธุ เคียงบา เคียงไหล คัดเลือกเฉพาะเมล็ดพนั ธุท่สี มบูรณ -เปด พน้ื ท่ีสรา งสรรค ข้ันตอนที่ ๓ การปลกู พืช “ตนไมแ หง คณุ คา” จะปลูกอยางไรใหไ ดผลผลิตสงู สดุ -การสมั ภาษณป ราชญช าวบา น -การพัฒนาศกั ยภาพเดก็ และเยาวชน -การคืนขอ มูลใหเจา ของวฒั นธรรม ขัน้ ตอนที่ ๔ การบาํ รุงรกั ษา สานขา ยขยายผลเรื่องการปกปอ งคุมครอง ใหนา้ํ ใหป ุย มรดกภมู ปิ ญญาทางวฒั นธรรม -เวทีการสรา งเครือขายเจา ของวฒั นธรรม ขัน้ ตอนที่ ๕ เก็บเกีย่ วผลผลิต โดยชมุ ชน เพื่อชุมชนและเปนของชุมชน -การตดิ ตามและการประเมินผล

๒๗ รายละเอยี ดของแตละขัน้ ตอนมีดังนี้ ขัน้ ตอนท่ี ๑ การเตรียมดิน : สทิ ธทิ างวัฒนธรรมของเจา ของวัฒนธรรม ๑.๑ การแสวงหาเครอื ขายคนทาํ งาน การดําเนนิ งานวิจัยเชิงปฏบิ ัติการแบบมสี วนรวมครงั้ น้ีมเี ปา หมาย ๒ ระดบั คือเพ่อื เกบ็ รวบรวม ขอมลู ทางดานวัฒนธรรมโดยใหเ จาของวัฒนธรรมมสี วนรวมและเพ่ือกระตนุ สํานกึ ใหเ จา ของวัฒนธรรมเขา มามีสวนรว มในการปกปอ งและคุมครองวัฒนธรรมของตนเอง นอกจากเปา หมาย๒ระดับดงั กลา วแลว พนื้ ท่ี การดาํ เนินงานคอ นขางกวา งเพ่ือใหค รอบคลุมเจาของวัฒนธรรมมากท่สี ดุ จากเง่อื นไขดงั กลาวจึงจาํ เปนตองมที ีมงานที่มคี วามรู ประสบการณแ ละทกั ษะทห่ี ลากหลาย(ทัง้ ที่ เปน นักวชิ าการ นกั พัฒนาและองคกรชาวบาน)มารว มกันดําเนนิ งานเพือ่ ใหบรรลุตามวตั ถปุ ระสงค เปา หมายสําคญั ของการแสวงหาเครอื ขายคนทํางาน ๑.แสวงหาเครอื ขา ยคนทสี่ นใจท่จี ะรว มดาํ เนนิ งานในประเด็นเดยี วกัน ๒.แลกเปลย่ี นประสบการณการดาํ เนินงานที่ผา นมา ๓างแผนและดาํ เนินงานเพอื่ การพัฒนาโครงการ แนวทาง/วธิ ีการแสวงหาเครือขา ยคนทาํ งาน ๑.ประสานหาเครือขายทเ่ี คยทํางานรว มกนั (ทั้งที่เปน นักวิชาการ นักพฒั นาและองคกรชาวบา น) ๒.พูดคยุ แลกเปลย่ี นประสบการณเ นนแบบไมเปนทางการ เนอ้ื หาเกีย่ วกบั กรอบการสนบั สนนุ โครงการ(กรมสง เสริมวฒั นธรรม) , แนวทางการดาํ เนินโครงการโดยใหช ุมชนมสี วนรว ม ,การเลอื ก กลุมเปา หมายและการเลือกพน้ื ทดี่ าํ เนินงาน เปนตน ๓.รว มกนั วางแผนการพฒั นาโครงการโดยใหชมุ ชนมสี ว นรว ม โดยการเลอื กพื้นท่ีทท่ี มี งานจะลงไป ดาํ เนนิ การพฒั นาโครงการ ควรเปนพื้นที่ทที่ ีมงานมีเครือขา ยในพ้นื ที่ มีขอ มูลเบื้องตนเกย่ี วกับพื้นทีแ่ ละ กลมุ เปาหมาย และทมี งานมคี วามสมั พันธท ดี่ ีกับกลุมเปา หมายและ/หรือผนู ําชมุ ชน ๑.๒ จดั ประชุม/เวทีหาความตอ งการของเจาของวัฒนธรรม : สิทธิทางวัฒนธรรมเริ่มทก่ี า วแรก การประชุมเปนเคร่อื งมอื ชนิ้ หน่งึ (จากเครื่องมือหลากหลายช้นิ )ซึง่ เปนเครือ่ งมอื หลกั ท่ที างทีมวจิ ัย ไดใชใ นการทาํ งานเพอื่ ใหบ รรลุวตั ถุประสงค ในการทาํ งานทีมวิจยั จะใชก ารประชุมรูปแบบตา งๆสอดแทรกอยใู นทกุ กิจกรรม โดยถือวา ในทกุ เวที ของการประชมุ น้นั คอื วาระ/โอกาสและพ้ืนท่ี ทจ่ี ะกระตุน สอดแทรกและเก็บเกีย่ วความรู และแนวคดิ ที่ เกย่ี วกับการดาํ เนนิ งานเพื่อการปกปองคมุ ครองวฒั นธรรมของเจาของวฒั นธรรม เปา หมายสําคญั ของการจัดประชุม/เวทีหาความตอ งการของเจาของวัฒนธรรม ๑.เพ่อื ใหเ จา ของวัฒนธรรมมีสวนรว มในการคดิ และตดั สินใจในการเลอื กสรรมรดกภูมิปญ ญาทาง วฒั นธรรมทีจ่ ะทาํ การปกปองคุมครอง โดยชุมชน เพอ่ื ชมุ ชนและเปน ของชุมชน ๒.เพอื่ กระตุนใหเจาของวฒั นธรรมเห็นคุณคาในมรดกภูมิปญ ญาทางวฒั นธรรมของตนเองและเขา มามสี วนรว มในการปกปอ งคมุ ครอง ๓.เพอ่ื หาปราชญช าวบา นและเครอื ขา ยผทู ี่มีความรูความเขาใจเก่ยี วกบั วฒั นธรรมของตนเอง ๔.เพ่อื ใหเ จาของวัฒนธรรมรวมกันตดั สินใจวา จะรับและรวมโครงการหรอื ไม แนวทาง/วิธกี ารจดั ประชมุ /เวทหี าความตอ งการของเจาของวัฒนธรรม

๒๘ การดาํ เนนิ งานแบงเปน ๓ ข้นั ตอนดังน้ี ก.ขน้ั เตรียมการ : ชว งกอ นการประชมุ ทมี วจิ ัยมกี ารประชมุ วางแผนงานรว มกนั ดงั น้ี ๑.รว มกันคดิ เปาหมายของการประชุมครงั้ น้ี ๒.รว มกนั คดิ เนอ้ื หาการประชมุ และคาํ ถามหลัก ๓.รว มกันวิเคราะหว า จะเลือกกลุม เปา หมายเปน ใครบางท่ีจะเขารวมประชมุ และจาํ นวนผเู ขา รว ม ประชุมเทา ไหร ๔.รว มกันคดิ กระบวนการของการประชมุ โจทยค อื จะทาํ อยา งไรใหก ลุมเปาหมายเขามามีสวนรวม ในการคดิ และตดั สินใจ และบทบาทของทมี วจิ ัยควรจะเปนอยางไร ๕.ทีมวิจัยแบง บทบาทหนา ท่ี ๖.กอนจดั ประชุมในพื้นที่ ทมี วจิ ยั ทงั้ หมดมกี ารประชุมรว มกันอกี ครง้ั ๗.การเขา พ้นื ทท่ี ี่จะดาํ เนนิ งานครง้ั แรก ข.ข้ันการดําเนนิ งาน : ชว งระหวางการประชุม ๑.การแนะนาํ ตวั บอกวา เราเปนใครมาจากไหน ๒.การช้ีแจงวตั ถปุ ระสงคข องการจัดประชุม ๒.๑บอกวาเราจะมาทาํ อะไร ทาํ อยา งไร และผลทีเ่ ขาจะไดร บั จากโครงการน้ี ๒.๒บอกวา เราจะเอาขอ คนพบไปทาํ อะไร ๒.๓บอกเหตผุ ลท่เี ลอื กพนื้ ท่ีน้ี ๒.๔บอกบทบาทหนาทวี่ า เขาจะตอ งทําอะไร เราจะตอ งทาํ ใหเขาเสียเวลาหรอื ไมห รือ เสียเวลาเทาใด ใหเขาซึ่งเปนเจา ของวัฒนธรรมเปน คนตัดสินใจวา จะยอมใหทาํ วิจัยชิ้นนี้หรอื ไม ๒.๕บอกวาการประชมุ คร้ังนี้ทมี วจิ ัยจะมกี ารบันทกึ ภาพและเสียงเพ่อื ใชประโยชนท าํ อะไร เขาอนญุ าตหรือไม ๓.กลุมเปา หมายแนะนําตวั วา เปน ใคร มตี าํ แหนง อะไร ๔.ดําเนนิ กิจกรรมโดยวิทยากรกระบวนการระดมความคดิ ใหผ ูเ ขารวมประชุมชว ยกันตอบคําถาม ๔.๑สาํ รวจความรคู วามเขาใจเกี่ยวกบั วัฒนธรรมชมุ ชน (เปา หมายเพือ่ สรางความเขาใจ รว มกันเกี่ยวกับคําวา ”วฒั นธรรม” ) ๔.๒ทําปฏิทนิ วฒั นธรรมชุมชนในรอบ ๑ ปทีผ่ า นมา (เปา หมายเพื่อใหผเู ขา รวมประชมุ เหน็ วาชมุ ชนนม้ี ีตนทนุ ทางวฒั นธรรมเปน จาํ นวนมาก เกดิ ความภาคภมู ิใจในตนเองและเหตผุ ลท่ีใชคําถามใน รอบ๑ปท ่ีผา นมาเพราะในรอบ๑ปชาวบานมวี ัฒนธรรมครบทง้ั ๗ สาขาตามกรอบของกรมสง เสรมิ วฒั นธรรม) ๔.๓สํารวจวัฒนธรรมชมุ ชน ในอดตี ท่ีเคยทาํ (อดตี อันหวานชื่น)แตป จ จบุ ันไมมีการทาํ แลว หรือมกี ารทาํ บางเปนบางปเทา น้นั (ปจ จบุ นั อนั ขมขน่ื ) (เปา หมายเพอื่ ช้ีชดั ใหผูเ ขา รวมประชุมเหน็ วา วัฒนธรรมมหี นา ท่รี บั ใชเ จา ของวัฒนธรรมในชว งบริบทหน่งึ ๆ เม่ือบริบท/สงั คมเปล่ยี นไปถาวฒั นธรรมนั้น ไมไดมกี ารพฒั นา ปรบั ประยุกตเพื่อใหทาํ หนาท่ใี หมใ นบรบิ ท/สงั คมท่ีเปลี่ยนไป วัฒนธรรมนั้นๆกจ็ ะลมหาย ตายจากไป ประเดน็ สําคัญคือในการพัฒนา ปรบั ประยุกตว ฒั นธรรมเพอ่ื ใหท ําหนา ที่ใหมใ นบริบท/สังคมท่ี เปล่ียนไปน้นั ”เจาของวัฒนธรรม” ตองเปน คนตัดสนิ ใจตามหลกั “สทิ ธิทางวัฒนธรรม” ซงึ่ จะเปน การ กระตุนและเปดโอกาสใหเ จา ของวัฒนธรรมมโี อกาสฉกุ คิด) ๔.๔สาํ รวจความรคู วามเขา ใจและใหข อ มลู เกีย่ วกบั คําวามรดกภูมปิ ญ ญาทางวฒั นธรรม (เปา หมายเพอื่ สรา งความเขาใจรว มกันเกี่ยวกับคาํ วา”มรดกภูมปิ ญ ญาทางวัฒนธรรม” )

๒๙ ๔.๕เจา ของวัฒนธรรมรว มกันคิดและรวมกันตัดสนิ ใจเลอื กวฒั นธรรม ๑ ชนิดสาํ หรบั การ จัดเกบ็ รวบรวมขอมูลเพอ่ื ใหเปน มรดกภมู ปิ ญ ญาทางวฒั นธรรมและใหเ จา ของวัฒนธรรมรว มกันปกปอง คมุ ครองมรดกภูมปิ ญญาทางวฒั นธรรมโดยในการเลอื กนั้นใหคิดถึงเกณฑดงั นี้ เชน มปี ระวตั ิความเปนมา มี คุณคา ตอเจา ของวัฒนธรรม เปนวัฒนธรรมทเ่ี จาของวฒั นธรรมมกี จิ กรรมรว มกนั องคความรกู ําลังจะหาย ขาดผูสนใจที่จะสืบทอด และมกี ารนําไปใชผดิ ประเภท เปนตน (เปา หมายเพือ่ สรางกระบวนการมีสวนรว ม และการเปนเจาของ ดังนัน้ เจาของวฒั นธรรมตอ งเปน ผมู ีบทบาทหลักในการคดิ และตัดสินใจต้ังแตตน เมื่อ เจาของวัฒนธรรมเปนคนคดิ และตัดสนิ ใจแลวสิง่ ที่จะตามมาคอื ความรกั ษแ ละความหวงใยซึ่งจะทําใหเกดิ ความหวงแหนในการทีจ่ ะปกปอ งคมุ ครองตอ ไป ตามหลกั การ ”สิทธทิ างวัฒนธรรมของเจา ของวฒั นธรรม” และเพ่ือความยั่งยืนตอ ไป) ๔.๖เรียนรูรว มกนั เกี่ยวกบั วัฒนธรรมท่ผี ูเขา รว มประชมุ คัดเลือก (เปา หมายเพอื่ ช้ีชัดให เห็นวาองคความรทู ม่ี ีอยเู ปนอยางไรและตอ งการหาขอมูลวาผเู ขารว มประชมุ มใี ครบา งเปนผทู มี่ ีความรใู น เร่ืองใด มากนอ ยแคไ หนพรอมทงั้ ดคู วามสนใจและการมีสว นรวมของผูเขา รวมประชมุ ) ๔.๗คาํ ถามประเภทฝากใหคิด ตัวอยา ง เชน ทา นคิดวาเพราะเหตใุ ดวัฒนธรรมบางชนิดจงึ หายไป/ไมมกี ารสืบทอดแลว (เปน คําถามทเี่ กี่ยวของเช่อื มโยงกันระหวา งเจา ของวฒั นธรรมกับตวั วฒั นธรรม ทเี่ ขาตัดสนิ ใจเลือก)ไมต อ งการคาํ ตอบทนั ทใี นเวทีครัง้ น้ี (เปาหมายเพ่อื กระตนุ จติ สาํ นึกและใหผ เู ขารวม ประชมุ ไดฉ ุกคิด) ๔.๘บอกผูเขา รวมประชมุ (อีกครัง้ )วาเราจะเอาขอ คนพบไปทาํ อะไรและเราจะเขา มาทาํ กจิ กรรมอะไรตอไปเพื่ออะไร ๔.๙ใหผูเ ขา รวมประชมุ สะทอ นเนือ้ หาและกระบวนการในการจดั ประชุม(เปา หมายเพ่อื เปนการประเมินผล) ค.ขน้ั สรปุ งาน : ชวงหลงั การประชมุ หลงั จากเสรจ็ สน้ิ การจดั เวทกี ารประชุมในพื้นทที่ มี วิจัยทงั้ หมดจะมีการประชมุ รว มกนั เพอื่ ๑.สรปุ บทเรียนและประเมินผลทั้งสว นที่เปน เนอ้ื หาและกระบวนการ ๒.วิเคราะหผ เู ขารวมประชุมวา เปน อยางไร ๓.วางแผนการจัดประชมุ ครง้ั ตอ ไป ๑.๓ การพัฒนาทมี วจิ ัย ในงานวจิ ยั ชนิ้ นเ้ี ปนการดําเนนิ งานแนววัฒนธรรมชุมชน โดยมีหัวหนา โครงการวจิ ัยซงึ่ ถือวา เปน คน นอกวัฒนธรรมเขาไปมบี ทบาทในการรวมจัดกระบวนการดว ย ดังน้นั หัวหนา โครงการวจิ ยั กย็ อมมี วัฒนธรรมเปนของตนเอง สว นชาวบานซง่ึ เปน เจา ของวฒั นธรรมกไ็ มไดว างเปลา ตา งกม็ วี ัฒนธรรมเปนของ ตนเองเชนกัน น่ันหมายความวา เปน การพบกนั ของสองวฒั นธรรมทีอ่ าจจะมีบางสว นทีเ่ หมอื นกันและ บางสว นที่แตกตา งกนั ดงั น้นั จงึ จาํ เปนที่จะตอ งหากลไกเพ่ือเชอื่ มประสานระหวา งวัฒนธรรมทง้ั สองคือ วฒั นธรรมคนนอก(นักวิจยั /นกั พัฒนา)กับวฒั นธรรมคนใน(เจา ของวัฒนธรรม) โครงการนี้มคี ณะทาํ งานจํานวน ๑๐ คน ในจํานวนดงั กลา วมีผชู วยนกั วจิ ยั จํานวน ๖ คนซงึ่ เปน กลุม ชาตพิ นั ธุเดยี วกนั กับกลมุ เปา หมายและเปนคนอยูในพื้นท่ีดําเนนิ งานโครงการ การทท่ี างโครงการมีผูชวยนกั วจิ ยั ซึ่งเปนคนท่เี ปนกลมุ ชาตพิ ันธุเดยี วกันกับกลุม เปา หมายและอยใู น พน้ื ทด่ี าํ เนินโครงการ มคี ณุ ูปการทีส่ าํ คญั ๕ ประการ (๑)สามารถเลอื กตวั ผูน ํา/ผูใหข อ มูลสําคัญทจี่ ะทํางาน ดว ยไดอยา งถูกตอ ง (๒)สามารถเขาถงึ ผนู ํา/ผใู หขอมลู สาํ คัญทีต่ องการไดง ายข้ึน (๓)ไมมีปญหาเรื่องการ

๓๐ สือ่ สาร (๔)สามารถฝา กําแพงความไมไ ววางใจไดเพราะผูชว ยนกั วจิ ยั จะเปนสะพานเช่ือม และ(๕)สามารถ เกบ็ รวบรวมขอมลู ไดอ ยา งตอเน่อื ง เพ่ือใหคณะทํางานเขาใจในโครงการวจิ ยั มีความรูแ ละความเขา ใจเกีย่ วกบั การเก็บรวบรวมขอมูลที่ เก่ยี วกับการสงั เกตปรากฎการณท ่ีเกดิ ขึ้น และโดยเฉพาะในการตีความทตี่ องใชทศั นะคนใน และรว มกนั วาง แผนการดาํ เนนิ งาน เปา หมายสําคัญของการพัฒนาทีมวจิ ัย ๑.เพือ่ ใหทีมวิจยั มีความเขาใจในการดาํ เนนิ งานโครงการ ๒.เพ่อื ใหทมี วิจยั มีความรคู วามเขา ใจในกระบวนการวจิ ยั เชิงปฏิบตั กิ ารแบบมสี ว นรว ม ๓.เพอ่ื ใหทีมวจิ ัยมีทกั ษะในการเก็บรวบรวมขอ มลู ๔.เพอื่ วางแผนการดาํ เนินกจิ กรรมในพื้นทด่ี าํ เนนิ งาน แนวทาง/วธิ กี ารในการพฒั นาทมี วจิ ัย การดําเนนิ งานแบงเปน ๓ ขั้นดงั นี้ ก.ขัน้ เตรยี มการ : ชว งกอ นการประชุมพฒั นาทมี วจิ ัย ๑.ประชุมทีมวจิ ัยหลัก(หัวหนา โครงการ,นกั วจิ ยั รว มและเลขาฯโครงการ)เพอ่ื หาแนวทางการพฒั นา ทมี วิจยั ๒.การคดั เลือกสอื่ /เอกสารความรทู ่ีเกย่ี วของกับโครงการใหทีมวจิ ยั ทั้งหมดไดอ า นลว งหนา ๓.การใช/ การสนับสนนุ ส่ือใหกับทมี วิจัย ข.ขั้นการดําเนินงาน : ชวงระหวา งการประชุม ๑.จดั เวทพี ดู คยุ แบบไมเ ปน ทางการเพื่อการแลกเปลย่ี นเรยี นรูร วมกนั ๒.ดูวดี ที ัศนเรื่อง ”เทวดาทา จะบอ งส” จากนน้ั แลกเปล่ียนประสบการณจ ากการดวู ดี ที ัศนใ น ประเด็นเรื่องการตคี วามวัฒนธรรม(เปาหมายช้ชี ดั เก่ียวกบั การตีความทางวฒั นธรรมระหวา งคนนอก วัฒนธรรมกบั เจา ของวฒั นธรรม) ๓.แลกเปลีย่ นประสบการณเกีย่ วกบั แนวคําถามทจี่ ะใชใ นการจดั เกบ็ รวบรวมขอ มูล(การสัมภาษณ แบบเจาะลึก) ๔.ผชู ว ยนักวจิ ยั นําแนวคาํ ถามไปทดลองใชใ นพน้ื ท่ี ๕.แลกเปลี่ยนประสบการณผ ลการทดลองใชแ นวคาํ ถาม ๖.รว มกันปรบั แนวคาํ ถาม ๗.เปด เวทีใหมีการซักถาม/อภิปรายและเสนอความคดิ เหน็ ไดต ลอดและใหผ เู ขารว มประชุมสะทอน เนือ้ หาและกระบวนการในการจดั ประชุม ๘.รวมกนั วางแผนการดาํ เนนิ กจิ กรรมในพืน้ ท่ี ค.ขน้ั สรุปงาน : ชว งหลังการประชุม สรุปบทเรียนและประเมินผลวาผลการจดั กิจกรรมเปนอยา งไร ทมี งานไดบ ทเรียนหรือขอคดิ อะไรบาง เพือ่ นําไปใชว างแผนในการพัฒนาทีมวจิ ยั ในครงั้ ตอไป ข้ันตอนท่ี ๒ การคัดเลอื กเมล็ดพันธุ : เคยี งบาเคยี งไหล ๒.๑ จดั ประชุม/เวทชี าวบาน : เปดพ้ืนทีส่ รางสรรคช ้แี จงโครงการ การดําเนินโครงการครง้ั นท้ี ีมวจิ ัยยึดหลักการ ”สทิ ธทิ างวฒั นธรรม” เปน หลกั ในการดาํ เนนิ งาน ดังนน้ั เม่อื จะเรม่ิ ดาํ เนนิ โครงการในพืน้ ทใี่ ดกต็ ามทมี วิจยั จะตอ งมีกระบวนการให “เจาของวฒั นธรรม” เปน

๓๑ คนตดั สินใจวา จะรับหรือจะรวมโครงการนี้หรอื ไม ซ่ึงตามหลักการดงั กลา วจะเปน การสรา งความรสู กึ เรือ่ ง” การมีสว นรว ม”และจากความรสู กึ การมสี ว นรวมจะคอ ยๆถกู พัฒนาเปลีย่ นเปนความรสู ึกในการ“เปน เจาของ” (sense of belonging) และจากความรูสกึ ในการ “เปนเจาของ” จะกอ ตวั เพม่ิ มากขึ้นและจะ นําไปสู “ความสนใจและหวงใย” และเกิดเปน”สาํ นกึ รว มกนั ” ซ่งึ เปน เปา หมายข้นั สูงสุดของการพฒั นา” คน”ในการทจ่ี ะรวมกันปกปองคมุ ครองมรดกภูมปิ ญ ญาทางวฒั นธรรมของตนเองตอ ไป การจดั ประชมุ /เวทนี ด้ี า นหนึง่ เปน ”เครอ่ื งมอื การวิจัย”น่นั คือ “เพือ่ เก็บรวบรวมขอ มูล” แตใ นอกี ดา นหน่งึ ก็เปน กระบวนการเพือ่ กระตุน “กลไกการร้อื ฟนวัฒนธรรมชุมชน” การประชมุ /เวทนี ้ที ําหนาท่ี เปน ”พนื้ ที่สาธารณะ” ใหผ เู ขารว มประชุมไดม ีโอกาสถายทอดความร/ู แลกเปลย่ี นประสบการณและเปน การสรา งความมน่ั ใจใหผูเขา รว มประชมุ ดวย โดยมที มี วิจัยเปนผสู นับสนนุ /อํานวยความสะดวก(facilitator ) กระบวนการจดั ประชุม/เวทีน้ีเปน การใช ”การสอ่ื สารเพ่ือสรา งความเขา ใจรวมกนั ” (shared meaning) ซึง่ จะเปนกระบวนการคอ ยๆสรางความม่นั ใจใหก บั ผูเขา รวมประชมุ เปาหมายสาํ คญั ของการจัดประชุม/เวทีชาวบาน : เปดพน้ื ทส่ี รางสรรคช ้ีแจงโครงการ ๑.เพื่อใหเจา ของวฒั นธรรมมีสว นรว มในการตดั สนิ ใจวาจะรบั และรวมโครงการหรอื ไม ๒.เพื่อกระตนุ ใหเ จาของวัฒนธรรมเห็นคณุ คา ในมรดกภูมปิ ญ ญาทางวัฒนธรรมของตนเอง”กา นก กงิ่ กะหลา”และเขามามสี วนรว มในการปกปองคมุ ครอง ตามหลักการโดยชุมชน เพ่อื ชุมชนและเปนของ ชมุ ชน ๓.เพื่อหาปราชญช าวบา นและเครือขา ยผูที่มคี วามรคู วามเขาใจเก่ยี วกบั ”กา นกก่งิ กะหลา”ทจ่ี ะทํา การปกปองคมุ ครอง แนวทาง/วิธีการจัดประชมุ /เวทชี าวบา น : เปด พนื้ ทีส่ รางสรรคช้แี จงโครงการ การดําเนินงานแบงเปน ๓ ข้นั ดงั น้ี ก.ข้ันเตรยี มการ : ชว งกอ นการประชมุ ทีมวจิ ัยมกี ารประชมุ วางแผนงานรว มกันดงั น้ี ๑.รว มกันคดิ เปาหมายของการประชมุ คร้ังน้ี ๒.รวมกันคดิ เนอ้ื หาการประชุม และคาํ ถามหลัก ๓.รว มกันวเิ คราะหวา จะเลือกกลมุ เปา หมายเปน ใครบางทจ่ี ะเขารวมประชมุ และจาํ นวนผูเขารวม ประชุมเทาไหร ๔.รวมกันคดิ กระบวนการของการประชุม โจทยค อื จะทาํ อยา งไรใหกลมุ เปาหมายเขามามีสว นรว ม และบทบาทของทีมวจิ ัยควรจะเปนอยา งไร ๕.ทมี วจิ ยั แบงบทบาทหนา ท่ี ๖.กอ นจัดประชมุ ในพ้ืนท่ี ทมี วจิ ัยรว มกบั ผชู ว ยนกั วิจัยในพื้นทีม่ กี ารประชมุ รวมกนั ๗.เขาพืน้ ที่ทจี่ ะดําเนินกจิ กรรม ข.ข้นั การดาํ เนินงาน : ชว งระหวา งการประชุม ๑.การแนะนาํ ตวั บอกวา เราเปน ใครมาจากไหน ๒.การช้ีแจงวัตถปุ ระสงคข องการจดั ประชมุ ๒.๑บอกวาเราจะมาทาํ อะไร ทําอยา งไร และผลท่เี ขาจะไดรบั จากโครงการนี้ ๒.๒บอกวา เราจะเอาขอ คน พบไปทําอะไร ๒.๓บอกเหตผุ ลทีเ่ ลอื กพนื้ ทนี่ ี้

๓๒ ๒.๔บอกบทบาทหนา ท่ีวา เขาจะตองทาํ อะไร เราจะตองทาํ ใหเ ขาเสยี เวลาหรอื ไมห รอื เสียเวลาเทาใด ใหเ จาของวฒั นธรรมเปน คนตดั สนิ ใจวา จะยอมใหทาํ วจิ ยั ชน้ิ น้หี รือไมและจะรว มดาํ เนนิ งาน กับโครงการนีห้ รอื ไม ๒.๕บอกวาการประชมุ ครั้งน้ีเราจะมกี ารบนั ทึกภาพและเสยี งเพ่ือใชประโยชนทาํ อะไร เขา อนญุ าตหรอื ไม ๓.กลุมเปา หมายแนะนาํ ตวั วา เปนใคร มตี าํ แหนง อะไร ๔.ดําเนินกจิ กรรมโดยวิทยากรกระบวนการ ระดมความคดิ ใหผูเ ขารวมประชุมชว ยกนั ตอบคาํ ถาม ๔.๑สํารวจความรคู วามเขาใจเกีย่ วกับวฒั นธรรมชมุ ชน(เปา หมายเพื่อสรางความเขาใจ รว มกนั เกยี่ วกบั คําวา ”วฒั นธรรม” ) ๔.๒ทาํ ปฏทิ นิ วัฒนธรรมชุมชนในรอบ ๑ ปท ผี่ านมา(เปา หมายเพอ่ื สรุปใหผูเขา รวมประชมุ เหน็ วาชุมชนนม้ี ตี นทนุ ทางวฒั นธรรมเปนจํานวนมาก เกิดความภาคภมู ใิ จและเหตุผลทีใ่ ชคําถามในรอบ๑ป ทผ่ี า นมาเพราะในรอบ๑ปช าวบา นมีวฒั นธรรมครบทัง้ ๗ สาขา) ๔.๓สํารวจวัฒนธรรมชมุ ชน ในอดตี ทเ่ี คยทาํ (อดตี อันหวานชืน่ )แตปจจุบนั ไมมกี ารทาํ แลว หรอื มกี ารทําบา งเปนบางปเ ทา น้ัน(ปจจบุ ันอันขมขืน่ )(เปา หมายเพอ่ื ชีช้ ัดใหผเู ขารวมประชุมเห็นวา วฒั นธรรมมีหนาท่รี ับใชเ จาของวฒั นธรรมในชวงบรบิ ทหนงึ่ ๆ เมอ่ื บริบท/สงั คมเปล่ียนไปถา วฒั นธรรมนัน้ ไมไดม กี ารพัฒนา ปรบั ประยกุ ตเ พือ่ ใหท าํ หนา ทใ่ี หมในบริบท/สังคมที่เปล่ียนไป วัฒนธรรมนน้ั ๆกจ็ ะลม หาย ตายจากไป ประเดน็ สาํ คัญคอื ในการพัฒนา ปรบั ประยุกตวัฒนธรรมเพื่อใหทาํ หนา ที่ใหมใ นบรบิ ท/สังคมท่ี เปลี่ยนไปนั้น”เจาของวฒั นธรรม” ตอ งเปน คนตดั สินใจตามหลกั “สทิ ธิทางวฒั นธรรม” ซง่ึ จะเปน การ กระตุนใหเ จา ของวฒั นธรรมไดม ีโอกาสทบทวนไตรตรอง) ๔.๔สํารวจความรคู วามเขา ใจและใหข อมลู เกยี่ วกบั คาํ วามรดกภมู ิปญญาทางวัฒนธรรม (เปา หมายเพื่อสรา งความเขา ใจรวมกันเกี่ยวกับคาํ วา”มรดกภมู ปิ ญ ญาทางวัฒนธรรม” ) ๔.๕คาํ ถามคือถาจะมกี ารจดั เก็บรวบรวมขอ มลู เพอ่ื ใหเ ปนมรดกภมู ปิ ญ ญาทางวัฒนธรรม ของคนไทใหญโ ดยใหเจาของวัฒนธรรมเขา มามีสว นรว มในการปกปอ งคุม ครองมรดกภมู ปิ ญ ญาทาง วฒั นธรรมของตนเอง จากการลงพื้นท่เี กบ็ รวบรวมขอมูลเบอื้ งตน พบวา “กา นกก่งิ กะหลา ” เปนวฒั นธรรมการ แสดงช้ันสูงของชาวไทใหญท ่ีมีประวตั ิความเปน มาเก่ียวกบั พระพทุ ธศาสนา มคี ณุ คาตอ เจาของวฒั นธรรม เปน วฒั นธรรมท่ีเจา ของวฒั นธรรมมกี ิจกรรมรว มกนั แตปจจบุ นั องคความรูกาํ ลงั จะหายไป ขาดผสู นใจทจี่ ะ สืบทอด และมีการนาํ ไปใชผ ดิ ประเภท จากขอ มลู ดังกลา วถาทมี วิจยั จะทําการเกบ็ รวบรวมขอมลู อยา งเปน ระบบเพื่อเสนอให“กานกกิ่งกะหลา ” เปนมรดกภูมิปญ ญาทางวัฒนธรรมของคนไทใหญ ๔.๖ใหผูเ ขารวมประชุม/เวทีรวมกนั ตดั สนิ ใจวา จะรับใหโครงการนีด้ าํ เนนิ การในพ้นื ที่ หรือไมและจะเขามามสี วนรว มในการดาํ เนนิ กจิ กรรมโครงการน้หี รอื ไม (เปา หมายเพื่อสรา งใหเ หน็ ถึงการมี สว นรวม และการเปนเจาของ ดงั นั้นเจาของวฒั นธรรมตองเปน ผูม บี ทบาทหลักในการคดิ และตัดสนิ ใจตง้ั แต ตน เมอ่ื เจาของวฒั นธรรมเปน คนคิดและตดั สนิ ใจแลว สงิ่ ที่จะตามมาคอื ความรกั ษแ ละความหวงใยซงึ่ จะทํา ใหเกิดความหวงแหนในการทจี่ ะปกปองคุม ครองตอ ไป ตามหลักการ ”สิทธทิ างวฒั นธรรมของเจา ของ วัฒนธรรม” และเพ่ือความยัง่ ยนื ตอ ไป) ๔.๗เรยี นรูร ว มกนั เก่ียวกับ วฒั นธรรมทผี่ ูเ ขารวมประชมุ คดั เลอื ก (เปา หมายเพอ่ื ช้ีชัดให เห็นวา องคความรทู ่มี อี ยเู ปน อยางไรและตองการหาขอมูลวา

๓๓ ผเู ขารวมประชุมมีใครบางเปนผูท ี่มคี วามรูในเร่ืองใด มากนอยแคไหนพรอมทัง้ ดูความสนใจและการมีสว น รว มของผูเขา รว มประชุม) ๕.ระดมความคดิ โดยการแบงกลมุ ยอ ย (เปา หมายของการแบง กลมุ ยอยโดยแบงเปน ๔ กลุม ประกอบดวยกลมุ ผนู ําทางการ , กลุม ปราชญชาวบา นรวมกับพอบา น , กลุมแมบ าน ,กลุม เดก็ และเยาวชน เนื่องจาก(๑)ตอ งการใหมีการระดมสมองพูดคยุ เนือ้ หากนั ในระดบั ลกึ (๒)ตอ งการความคดิ เห็นจาก หลากหลายกลมุ คนทแี่ ตกตา งกัน(๓)ตอ งการใหทกุ คนมีสวนรว มในการแสดงความคดิ เห็น โดยเฉพาะกลุม คนที่ดอยอํานาจและกลมุ คนทไี่ มคอยมีโอกาสไดเขารวมในการประชุม/เวทที างวัฒนธรรมในชมุ ชนของ ตนเอง เชน กลุมเดก็ และเยาวชนเกดิ ความภาคภมู ิใจและ(๔)ตอ งการใหผ ใู หญเ ห็นวาเดก็ และเยาวชนกม็ ี ความสนใจในวัฒนธรรมชุมชนของตนเองและมศี ักยภาพในการคิดและตัดสินใจถา ผใู หญเ ปดโอกาส) ๕.๑คําถาม(๑)สถานการณแ ละปญ หา(จากอดีตถงึ ปจ จบุ นั )ของกา นกก่ิงกะหลา เปน อยา งไรพรอมหาแนวทางการแกไขและ(๒)เมือ่ กา นกกิง่ กะหลา เร่ิมหายไปจากชุมชนผลกระทบ/ปญ หาที่เกดิ ขนึ้ กบั คนไทใหญใ นชมุ ชนเปนอยางไร(เปา หมายเพอื่ ใหผเู ขารว มประชมุ ไดม โี อกาสทบทวนอดตี วเิ คราะห ปจ จุบนั และมองไปยังอนาคต ซึ่งจะเปนการกระตนุ ใหเจาของวัฒนธรรมไดฉ ุกคดิ ) ๕.๒กลุม ยอยแตละกลุมคดั เลอื กตัวแทนนําเสนอในกลุมใหญ(เปาหมายของกระบวนการนี้ เพอื่ (๑)สรา งความมั่นใจใหก ับเจาของวัฒนธรรม (๒)เปน พืน้ ท่ีสาธารณะ/เวทปี ระชาธปิ ไตยทเี่ ปดโอกาสให เจาของวัฒนธรรมทกุ กลมุ ไดม ีสทิ ธมิ ีเสยี งเทา เทยี มกนั โดยเฉพาะกลุมเด็กและเยาวชน(๓)เปนการแลกเปล่ยี น ขอมลู และความคดิ เหน็ จากคนทห่ี ลากหลายประสบการณและ(๔)ตองการใหผ ใู หญเหน็ วา เด็กและเยาวชนก็ มคี วามสนใจในวัฒนธรรมชุมชนของตนเองและมีศกั ยภาพในการคิดและตดั สนิ ใจถาผใู หญเ ปดโอกาส ) ๖.ตงั้ คาํ ถามประเภทฝากใหค ดิ ไมต อ งการคาํ ตอบทนั ทใี นเวทคี รง้ั น้ี เปนคําถามทีเ่ ชือ่ มโยงกัน ระหวา งเจา ของวฒั นธรรมกบั กา นกก่งิ กะหลา ตวั อยาง เชน ทา นในฐานะทเ่ี ปนเจา ของวัฒนธรรมทานคดิ วา เพราะเหตุใดทา นจงึ ขาดความร/ู ความเขา ใจเก่ียวกับคุณคา/ความหมายในวัฒนธรรมของทา น(เปาหมายเพื่อ กระตนุ จติ สาํ นกึ และใหผเู ขา รวมประชุมไดฉ ุกคดิ และรูวา จะเตรยี มตนเองอยางไรในการทจ่ี ะเขารวมกิจกรรม ครงั้ ตอ ไป) ๗.ใหผเู ขา รวมประชุมสะทอ นเนื้อหาและกระบวนการในการจัดประชุมและบอกวา เราจะเขา มาทาํ กิจกรรมอะไรตอ ไป เพื่ออะไร(เปาหมายเพือ่ เปนการประเมินผล) ค.ข้นั สรปุ งาน : ชว งหลงั การประชุม หลงั จากเสร็จสิน้ การจดั เวทีการประชุมในพื้นทท่ี มี งานทง้ั หมดจะมีการประชมุ รว มกนั เพ่อื ๑.สรปุ บทเรยี นและประเมินผลทงั้ สวนทเ่ี ปน เน้ือหาและกระบวนการ ๒.วิเคราะหผ ูเขารวมประชมุ วาเปน อยางไร ๓.วางแผนการจดั ประชมุ ครง้ั ตอ ไป ข้นั ตอนท่ี ๓ การปลกู พชื : ตน ไมแหงคณุ คา ๓.๑ การสัมภาษณเ จาะลึก วตั ถปุ ระสงคข องงานวิจยั ชิ้นน้ีคือการเกบ็ รวบรวมขอมูลทีเ่ ก่ยี วกับวัฒนธรรมชมุ ชนและการกระตนุ สาํ นกึ ของเจาของวฒั นธรรมใหเ ขา มามีสวนรว มในการปกปองคมุ ครองวฒั นธรรมของตนเอง วฒั นธรรมถกู สรา งสรรคข ้นึ มาเพ่ือรับใชเจา ของวฒั นธรรมในบริบทสงั คมในชวงระยะเวลาหนงึ่ ดังนนั้ องคค วามรูเกยี่ วกบั วฒั นธรรมชุมชนจงึ เปนความสนใจของแตละบุคคลองคความรจู งึ ตดิ อยูทต่ี ัวบคุ คล

๓๔ เมือ่ บริบทสังคมเปล่ยี นไปประกอบกบั ปราชญช าวบานที่มคี วามรเู ร่ืองวัฒนธรรมชมุ ชนไมมีโอกาสได ถายทอดองคความรูท ตี่ นเองมีอยู ดวยปจ จัย เงอื่ นไขและขอ จาํ กัดตา งๆ ทาํ ใหองคค วามรูเริม่ หายไปและ ความมัน่ ใจของปราชญชาวบา นเริม่ ลดลง การสมั ภาษณเ จาะลึกจึงเปน เคร่ืองมือชิน้ หนึง่ ทจี่ ะทําใหง านวิจยั ครงั้ น้ีบรรลตุ ามวตั ถุประสงค เปาหมายสําคัญของการสัมภาษณเ จาะลกึ ๑.เก็บรวบรวมขอมลู ระดบั ลึกประเดน็ เก่ยี วกับ”กานกกิง่ กะหลา” ๒.สรา งความมั่นใจใหกับปราชญช าวบาน ๓.กระตุนสาํ นกึ ใหเจา ของวัฒนธรรมเขา มามีสว นรว มในการปกปอ งคมุ ครองมรดกภูมิปญ ญาทาง วัฒนธรรมของตนเอง”กา นกก่ิงกะหลา” ๔.ตรวจสอบขอ มูล แนวทาง/วิธีการในการสมั ภาษณเ จาะลึก ๑.กลมุ เปา หมายเปน ปราชญช าวบา นที่มีความรเู รอื่ งเกยี่ วกับกา นกกงิ่ กะหลา ซึ่งสว นมากไดเ ขา รว ม ประชุม/เวทชี าวบาน : เปดพ้ืนที่สรา งสรรคช ี้แจงโครงการมาแลว ๒.ผชู ว ยนกั วจิ ัยในพืน้ ทีเ่ ปน ผูท่ีมหี นา ท่ีหลกั ในการเก็บรวบรวมขอมูลโดยมคี าํ ถามหลกั แบบ ปลายเปดตามประเด็นท่ีตอ งการ เปนแนวทางการต้งั คําถาม การดําเนินงานแบงเปน ๓ ขนั้ ดงั นี้ ก.ขัน้ เตรียมการ : ชวงกอ นการสัมภาษณ ๑.ทีมวิจัยรวมกับผชู วยนกั วิจัยในพ้ืนทส่ี รปุ /วิเคราะหข อมูลจากการประชุม/เวทชี าวบาน: เปด พ้ืนที่ สรางสรรคช ี้แจงโครงการ และนาํ ขอมลู มาใชใ นการวางแผนเลอื กปราชญช าวบา นผูทจ่ี ะใหขอมลู หลัก(key informants) ๒.ผชู วยนักวจิ ยั ในพ้ืนทีป่ ระสานงานกบั ปราชญชาวบา น ๓.ผชู วยนกั วจิ ัยในพ้ืนทม่ี ีการเตรียมตัวเองกอ นไปสัมภาษณป ราชญชาวบา น ข.ข้นั การดาํ เนินงาน : ชวงระหวางการสมั ภาษณ ๑.การแนะนําตวั บอกวาเราเปนใครมาจากไหน ๒.การชี้แจงวัตถุประสงคข องการมาพดู คยุ ๒.๑บอกวาเราจะมาทาํ อะไร ทาํ อยา งไร และผลท่เี ขาจะไดรับจากโครงการน้ี ๒.๒บอกวา เราจะเอาขอคนพบไปทําอะไร ๒.๓บอกเหตผุ ลทเ่ี ลอื กปราชญช าวบานคนน้ี ๒.๔บอกบทบาทหนาทว่ี า เขาจะตอ งทําอะไร เราจะตองทาํ ใหเ ขาเสียเวลาหรือไมหรือ เสยี เวลาเทาใด ใหเ จาของวัฒนธรรมเปน คนตดั สนิ ใจวาจะยอมใหส มั ภาษณห รอื ไม ๒.๕บอกวา การพูดคุยครง้ั นีจ้ ะมีการบันทกึ ภาพและเสียงเพื่อใชประโยชนทาํ อะไร เขา อนุญาตหรอื ไม ๓.รูปแบบการสมั ภาษณแ บบเจาะลกึ มีท้ัง ๓.๑การสัมภาษณเปนรายบุคคล ๓.๒การจัดเวทีเสวนากลมุ ยอ ย ระยะแรกใชว ธิ กี ารสัมภาษณเปนรายบุคคลเม่อื ผชู วยนักวจิ ยั สมั ภาษณปราชญ

๓๕ ชาวบา นไดประมาณ ๓-๕ คนแลว ผูชวยนักวิจยั ตอ งการตรวจสอบขอมลู และตอ งการหาคาํ อธบิ ายบาง ประเด็น ผูช ว ยนักวิจยั จะใชวิธีการจดั เวทเี สวนากลมุ ยอ ยโดยมกี ลมุ เปาหมายเปน ปราชญช าวบา นทีผ่ านการ สมั ภาษณเจาะลึกมาแลว โดยใชค าํ ถามตามที่ผชู ว ยนักวิจยั ตองการหาคําตอบและคาํ ถามประเภทใหฉกุ คดิ การใชร ปู แบบการสมั ภาษณท ้งั สองรปู แบบเพราะพบวาปราชญช าวบานแตล ะคนมอี งค ความรูแตกตา งกันไปเชนปราชญชาวบานบางคนมีความรมู ากแตไมล ึก บางคนมีความรูไมมากแตเ ปน ความรใู นระดับลกึ และบางคนมีความรมู ากและรูในระดับลกึ ดว ย เม่อื พบวา ปราชญช าวบานมคี วามรู แตกตางกนั เชนน้ี เพือ่ ใหป ราชญชาวบานไดมีโอกาสเรียนรจู ากซึง่ กันและกนั เปนการสรา งความมัน่ ใจใหกบั ปราชญชาวบานเพมิ่ ขนึ้ และเปนการตรวจสอบขอ มลู ดว ย ผูชวยนักวจิ ยั จงึ จัดเวทกี ลุมยอยตอเพอื่ แสดงให เหน็ วา เนอ้ื หาขอ มลู ทมี่ าจากปราชญชาวบา นทกุ ๆคนน้ันเปนสงิ่ ท่มี ีคุณคาสาํ หรบั คนรนุ ตอ ๆไป ซึง่ เปนไป ตามหลกั การทาํ งานเปน ทีมรว มกนั ทตี่ อ งประสานความรขู องทกุ คน ค.ขั้นสรปุ งาน : ชว งหลงั การสมั ภาษณ ๑.สรุปบทเรยี นรว มกนั ระหวางทีมวิจยั กับผชู ว ยนกั วจิ ยั ในพื้นท่ี ๒. ผูชวยนกั วิจัยในพ้ืนทห่ี ลังจากทที่ ําการสัมภาษณปราชญชาวบา นเรยี บรอ ยแลว ตอ งทําการบันทึก เนื้อหาบางประเดน็ ท่ีคดิ วายังไมส มบรู ณ เนอื้ หานน้ั ตองการคาํ อธบิ ายจากปราชญช าวบา นคนอื่นๆหรอื เนอื้ หาบางประเด็นท่ตี อ งการตรวจสอบขอ มูล เปน ตน เพอื่ ใชวางแผนจดั เวทีเสวนากลุมยอยตอ ไป ๓. ตรวจสอบขอ มูลจากเทปบนั ทึกเสยี ง ๔.วางแผนดําเนินการตอ ไป ๓.๒ จัดประชุม/เวทีการพฒั นาศักยภาพเด็กและเยาวชน : คดิ เปน ทาํ เปน วฒั นธรรม”เปนสมบตั ริ ว ม” (common property) “เปนมรดกรวม”(collective heritage) ไมใชส มบัตสิ วนตวั ของผใู ด/กลุม ใดกลุม เดียว ดงั นน้ั การทสี่ มบตั หิ รือมรดกนั้นจะดาํ รงอยูตอ ไปตองอาศยั “ความรูส กึ การเปนเจาของ”(Sense of belonging) และความรูส ึกนจ้ี ะเกดิ ข้ึนไดก ็ตองมีเงอ่ื นไขเบื้องตน คอื เจาของวัฒนธรรมตอ งสามารถเขามามสี ว นรวมในการบริหารจดั การวฒั นธรรมของเขาไดตามหลักการ โดยชุมชน เพอ่ื ชุมชนและเปน ของชมุ ชน เมอ่ื วฒั นธรรมเปนสมบัติรวมดงั นั้นคนทกุ คน ทุกกลุมทีเ่ ปน ”เจาของวฒั นธรรม”ก็ตอ งมีโอกาส เขาถึงกิจกรรมทางวัฒนธรรมที่ตนเองเปน เจา ของตามหลักการ “สทิ ธทิ างวัฒนธรรม” แตในสังคมปจ จบุ นั พบวาในทกุ วัฒนธรรมมเี ดก็ และเยาวชนเปน คนกลุมหนงึ่ ทไ่ี มม โี อกาสเขา รวม กจิ กรรมทางวฒั นธรรมทตี่ นเองเปน เจาของท้งั ๆทีก่ ลุมเด็กและเยาวชนเปน ผทู จ่ี ะสืบทอดวัฒนธรรมชุมชนใน รุนตอๆไป ซ่งึ อาจจะมปี จจยั หลายๆตวั ทท่ี ําใหเ ด็กและเยาวชนไมม โี อกาสเขารว มในกจิ กรรมทางวฒั นธรรม แตถ าเราไปพูดคุยกบั กลมุ คนท่ีเปนผใู หญโดยสว นมากในมุมมองของผใู หญมักมองวา เด็กและเยาวชนเปน คน ที่ไมสนใจงานวฒั นธรรม สนใจแตส อ่ื สมัยใหม เชน โทรศพั ทมอื ถือ ดูทวี ี เปน ตน สวนในมุมมองของเดก็ และเยาวชนมองวา งานวฒั นธรรมเปน งานของผูส ูงอายุ เด็กและเยาวชนจงึ ไมเ ขาไปยงุ เกี่ยว เราพบวา คน ทั้งสองกลุมทัง้ ๆทอี่ ยใู นหมบู านเดียวกันและเปนคนในวัฒนธรรมเดียวกันแตไ มมีโอกาสทจี่ ะส่ือสารเพือ่ “สรา งความเขา ใจรว มกนั ” ปาหมายสาํ คญั ของจดั ประชมุ /เวทกี ารพฒั นาศกั ยภาพเดก็ และเยาวชน: คดิ เปน ทําเปน ๑.เพ่อื กระตนุ ใหเด็กและเยาวชนท่ีเปนเจาของวฒั นธรรม”กา นกกิ่งกะหลา”เห็นคุณคา ในมรดกภูมิ ปญ ญาทางวฒั นธรรมของตนเองและเขามามสี ว นรว มในการปกปองคมุ ครอง

๓๖ ๒.เพ่ือพัฒนาศักยภาพของเด็กและเยาวชนทเ่ี ปนเจา ของวัฒนธรรม”กา นกกิง่ กะหลา ”ใหส ามารถ เปน ผสู งสาร”กานกกิง่ กะหลา ”ชุดใหมใ นชุมชน ๓.เพื่อปรบั ทศั นคต/ิ มุมมองของคนในชุมชน(เจา ของวฒั นธรรม)ใหเห็นรว มกันวาวฒั นธรรมเปน สมบัตริ วมของคนทกุ คนทเี่ ปนเจาของวัฒนธรรม กลุม เปา หมาย เด็กและเยาวชนที่เปนเจาของวฒั นธรรมกา นกก่ิงกะหลา ซ่ึงกลุมเปา หมายเหลานี้สว นมากไดร วม กจิ กรรม/การประชุม/เวทที ท่ี างโครงการจดั ขนึ้ ในชุมชนมาแลว และมีบางสว นไมเ คยเขา รวมกิจกรรม/การ ประชมุ /เวทที ่ที างโครงการจดั ข้ึนในชมุ ชนแตเรม่ิ สนใจการผลติ ส่อื ครั้งนี้ แนวทาง/วธิ กี ารจดั ประชมุ /เวทีการพฒั นาศักยภาพเดก็ และเยาวชน: คดิ เปน ทําเปน แบง เปน ๓ ขัน้ ตอนดงั นี้ ก.ข้นั เตรียมการ : ชว งกอ นการจดั ประชมุ /เวทีการพฒั นาศกั ยภาพเด็กและเยาวชน: คิดเปน ทําเปน ทมี วจิ ัยมกี ารประชุมวางแผนงานรว มกันดังนี้ ๑.ทมี วิจัยรวมกับผชู วยนกั วจิ ยั ในพ้ืนทส่ี รปุ ขอมลู จากการประชุม/เวทชี าวบา น: เปด พืน้ ที่ สรา งสรรคช ี้แจงโครงการและขอมลู จากการสัมภาษณปราชญชาวบานเพอื่ นาํ ขอ มลู มาใชใ นการวางแผน ๒.รว มกันคดิ เปาหมายของการจดั กิจกรรมครงั้ น้ี ๓.รวมกนั คดิ เนื้อหากจิ กรรม และคาํ ถามหลัก ๔.รว มกันวเิ คราะหว า จะเลือกกลมุ เปา หมายเปนใครบา งท่จี ะเขารว มกจิ กรรมและจาํ นวนผเู ขา รวม ประชมุ เทา ไหร ๕.รวมกนั คดิ กระบวนการของกิจกรรม โจทยค อื จะทําอยางไรใหกลมุ เปา หมายมสี ว นรว ม และ บทบาทของทมี วจิ ยั ควรจะเปน อยางไร ๖.รว มกันคดิ เนอื้ หาและรูปแบบในการผลิตส่ือเพอื่ ใชในการดาํ เนนิ กิจกรรม โดยทมี วจิ ัยนําแนวคดิ “ตนไมแ หงคณุ คา ” มาใชใ นการออกแบบผลติ สอื่ ๗.ทมี วิจัยแบงบทบาทหนา ที่ ๘.ผูชวยนักวจิ ัยในพน้ื ทปี่ ระสานงานกับผูท ่ีเกยี่ วขอ ง ๙.ทมี วจิ ัยท้งั หมดลงพืน้ ทล่ี วงหนากอ นจัดกจิ กรรมโดยทมี วิจัยรว มกับผชู ว ยนักวจิ ยั ในพืน้ ท่ีมกี าร ประชุมรว มกันเพ่ือทาํ ความเขา ใจรวมกันและเปนการเตรียมภาพรวมทง้ั หมด ข.ขัน้ การดาํ เนินงาน : ชวงระหวางการจดั กจิ กรรมเวทีการพัฒนาศักยภาพเดก็ และเยาวชน: คดิ เปน ทาํ เปน ๑.การแนะนําตวั บอกวาเราเปนใครมาจากไหน ๒.การชแ้ี จงวตั ถปุ ระสงคข องการจัดกจิ กรรมคร้ังน้ี ๒.๑บอกวา กจิ กรรมครั้งน้จี ะมาทาํ อะไร ทาํ อยา งไร และผลทเ่ี ขาจะไดร บั จากกิจกรรมนี้ ๒.๒บอกวา เราจะเอาขอ คน พบไปทาํ อะไร ๒.๓บอกเหตผุ ลทเ่ี ลอื กกลมุ เปาหมายเปนเดก็ และเยาวชน ๒.๔บอกบทบาทหนา ทีว่ า เขาจะตอ งทาํ อะไร เราจะตองทาํ ใหเ ขาเสยี เวลาหรอื ไมหรอื เสยี เวลาเทาใด ใหเขาซึง่ เปน เจา ของวฒั นธรรมเปนคนตัดสินใจวา จะรว มกจิ กรรมนีห้ รอื ไม ๒.๕บอกวากจิ กรรมครัง้ นเี้ ราจะมกี ารบนั ทึกภาพและเสยี งเพอ่ื ใชประโยชนทาํ อะไร เขา อนญุ าตหรอื ไม ๓.ใหก ลมุ เปา หมายแนะนาํ ตัววา เปนใคร

๓๗ ๔.ดําเนินกิจกรรม โดยวทิ ยากรกระบวนการเนน ใหกลุมเปา หมายมีสว นรวมและเปด โอกาสใหมกี าร ซักถามและชวยสรปุ ประเดน็ /เนือ้ หาสาํ คัญ กิจกรรมการพฒั นาทกั ษะเดก็ และเยาวชนแบงเปน ๓ กจิ กรรมดังนี้ ๑.การพัฒนาทักษะการเก็บรวบรวมขอ มูล : หลานถามปู ใชวธิ กี ารระดมความคดิ เพอื่ สราง กระบวนการเรียนรูรว มกนั โดยใหผูเขารวมกิจกรรมชวยกันเสนอ/ตอบคําถาม ๑.๑สํารวจความรคู วามเขาใจและใหข อมลู ความรเู กยี่ วกบั “วฒั นธรรม” (เปาหมายเพื่อ สรางความเขาใจรว มกนั เกี่ยวกับคาํ วา วฒั นธรรม) ๑.๒สํารวจความรคู วามเขาใจและใหขอมูลความรูเกีย่ วกับ”กา นกกง่ิ กะหลา ” (เปาหมาย เพือ่ กระตนุ สํานกึ และสรา งความเขา ใจรวมกันเกย่ี วกบั กา นกก่ิงกะหลา) ๑.๓ ฝกการตั้งคําถาม (เปาหมายเพอื่ ใหเด็กและเยาวชนมคี วามคดิ สรา งสรรคในการ ตัง้ คาํ ถามและกลา ทจี่ ะตง้ั คําถามเพ่อื หาความรูเ กย่ี วกบั กานกกง่ิ กะหลา) ๑.๔หาผูใหข อ มูลสาํ คญั เก่ียวกับกา นกกิ่งกะหลา (เปาหมายเพื่อตอ งการรวู า เด็กและ เยาวชนท่ีเปนคนในชุมชนมคี วามสมั พันธก ับปราชญชาวบา นมากนอยเพยี งใด) ๑.๕วางแผนการเกบ็ รวบรวมขอ มูลความรเู ร่ืองเกยี่ วกบั การกานกกิง่ กะหลาจากปราชญ ชาวบานโดยเดก็ และเยาวชนเปน คนดาํ เนนิ การ(เปาหมายเพ่อื ใหเ ดก็ /เยาวชนเรียนรูร ว มกนั เก่ียวกบั การ วางแผนงานและการแบงบทบาทหนา ท่)ี ๑.๖ผูชวยนักวจิ ัยในพืน้ ทปี่ ระสานงานกับปราชญช าวบาน (เปา หมายเพือ่ เตรียมความ พรอ มและสรา งความมนั่ ใจใหก ับปราชญช าวบาน) ๑.๗เด็กและเยาวชนลงชมุ ชนเรียนรเู รือ่ งกา นกกงิ่ กะหลา จากปราชญชาวบา น (เปา หมาย เพ่อื ใหเ ด็ก/เยาวชนเห็นคณุ คาของปราชญช าวบา น มีความรูความเขา ใจเก่ยี วกบั กานกก่ิงกะหลา และเห็นถึง คุณคาในวฒั นธรรมของตนเอง มคี วามเขาใจเก่ียวกับวฒั นธรรมเปน ของทุกคนทเ่ี ปน เจา ของวัฒนธรรมและ ตอ งมผี สู ืบทอด ,ปราชญช าวบานมีความภาคภูมใิ จในตนเอง) ๒.การพฒั นาขอมูลเปน บทหนงั ส้นั ใชว ธิ ีการระดมความคิด เพื่อสรา งกระบวนการเรยี นรูรว มกนั โดยใหผูเ ขา รวมกิจกรรมชว ยกนั เสนอ/ตอบคําถาม ๒.๑เดก็ และเยาวชนนําขอมูลความรูเ รอ่ื งกานกกงิ่ กะหลาทไ่ี ดม าจากการไปสมั ภาษณ ปราชญชาวบานนํามาแลกเปลยี่ นเรยี นรูร วมกัน (เปาหมายเพ่อื ใหเ ดก็ /เยาวชนรจู กั การสรปุ ขอมลู กลา แสดงออกในทางทส่ี รางสรรคแ ละเปนกระบวนการสรา งการเรยี นรรู วมกนั เกย่ี วกบั กา นกกิง่ กะหลา ) ๒.๒วิทยากรกระบวนการชว ยสรุปประเดน็ /เนอื้ หาสาํ คัญ โดยใชส อ่ื ท่ที างโครงการผลติ (ตนไมแหงคุณคา )เปนสอ่ื เพ่ือสรางความเขาใจรวมกนั เกยี่ วกับความรเู รอ่ื งกา นกกงิ่ กะหลา(เปาหมายเพอื่ ให เด็ก/เยาวชนมคี วามรูค วามเขาใจเก่ยี วกบั กานกกงิ่ กะหลา อยา งละเอยี ด) แนวคดิ “ตนไมแหงคุณคา ” มมี ติ กิ ารมอง ๒ แบบ แบบแรกพิจารณาตนไมแ หงคุณคา ในแนวตัง้ ทาํ ใหแบง ตนไมเปน ๒สวนคือสว นที่เห็นเปน ใบ ดอก ผล เราเรียกสว นนวี้ า “รูปแบบ” และสว นท่ีเรามองไมเห็นตองขุดจึงจะเหน็ นนั่ คอื สว นทีเ่ ปนราก เราเรยี กสว นนี้วา ”คณุ คา/ความหมาย” การนําแนวคดิ เร่อื ง “รปู แบบ” คือสวนที่มองเห็น และ”คณุ คา/ความหมาย” คอื สว นทมี่ องไมเ ห็นมาใชในกจิ กรรมคร้งั นมี้ ีเปา หมายเพื่อใหเ จา ของวฒั นธรรมมคี วามรคู วามเขาใจเกย่ี วกับ กา นกกง่ิ กะหลา แบบงา ยๆ และเพ่อื ใหเจาของวัฒนธรรมสามารถนําไปปรับใชเ ม่ือจะมีการสบื ทอด วฒั นธรรม เชนกา นกกิ่งกะหลา นนั่ คอื ถาจะสืบทอดวฒั นธรรม(กานกกิ่งกะหลา )ตองครบเครอ่ื งเรอ่ื งสบื ทอด

๓๘ คอื ตอ งมีการสืบทอดทงั้ สว นท่เี ปนรูปแบบ(คือสว นท่เี รามองเหน็ )และสืบทอดสว นท่ีเปนคุณคา/ความหมาย (สว นท่มี องไมเหน็ )ดว ย เนือ่ งจากปญ หาในปจจบุ ันเราพบวา การสบื ทอดวฒั นธรรมรวมท้งั กา นกกิ่งกะหลาใน พ้นื ท่ีดว ยพบวาสว นมากสบื ทอดเฉพาะสว นท่ีเปน ”รปู แบบ”เทา น้นั สวนทีเ่ ปน “คุณคา /ความหมาย” สว นมากไมมีการสบื ทอด ท้งั ๆท่สี ว นน้ีเปนสวนทีส่ าํ คัญมาก เราจึงพบวา องคความรสู ว นทเ่ี ปน ”คณุ คา / ความหมาย”เร่มิ หายไป แบบทีส่ องพจิ ารณาตนไมแ หงคณุ คา ในแนวนอน ซ่งึ หากเรามองตนไมในแนวนอนเราจะ สามารถแบง ตน ไมไดเปน ๓ ชัน้ คอื ชนั้ แรกคอื สว นที่เปน “เปลือก” (สวนท่ีอยูนอกสดุ ของลําตน ซึ่งมกี าร เปลยี่ นตลอด) ช้ันทีส่ องคอื สวนทีเ่ รียกวา “กระพ้ี” (สวนทอี่ ยูถดั เขา มาจากเปลอื กเปนสวนทม่ี ีการปรบั อยางตอเนอื่ ง) และชัน้ ที่สามเรยี กวา “แกน ” (สวนทอ่ี ยูใ นสดุ ของลําตนเปน สว นทีส่ ําคัญท่สี ุดถาสวนทเ่ี ปน แกนถกู ทําลายตน ไมก ็ไมส ามารถอยูไ ด) การนาํ แนวคดิ เรื่อง “เปลือก” “กระพ้ี” “แกน ” มาใชใ นกจิ กรรมคร้ังน้ีมเี ปา หมาย เพ่ือใหเจาของวัฒนธรรมมคี วามรคู วามเขา ใจเกีย่ วกบั การปรับประยกุ ตแ ละการปกปองคุมครองวฒั นธรรม (กานกกิ่งกะหลา) วา สว นไหนบางที่เปรียบเปน “เปลือก” ทส่ี ามารถเปลีย่ นไดต ลอด สวนไหนบา งทเ่ี ปรียบ เหมือน “กระพ้ี” ทสี่ ามารถปรับไดบ า งและสวนไหนทเ่ี ปรยี บเปน “แกนหรอื หัวใจ” ทไ่ี มส ามารถจะ ปรับเปลี่ยนได ตามแนวคดิ เรื่อง “เปลือก” “กระพี”้ “แกน” นีต้ องใหเ จา ของวฒั นธรรมเปนคนตดั สนิ ใจ วา อะไรคือเปลือก อะไรคอื กระพแี้ ละอะไรคอื เปน สว นทีเ่ ปนแกน ตามหลกั “สทิ ธิทางวฒั นธรรมของ เจาของวัฒนธรรม” วิทยากรกระบวนการนําเสนอขอมลู ที่ไดจากการเก็บรวบรวมขอ มูลในชุมชนผานสอื่ ภาพพมิ พ( ไว นลิ )ทท่ี างโครงการผลติ ขน้ึ จากการใชแ นวคิด “ตน ไมแ หงคณุ คา ” แบง เปน ๕ แผนภาพดังนี้ แผน ภาพท(ี่ ๑)อดีตอนั หวานชนื่ : กานกกิง่ กะหลา -รปู แบบ (สว นทม่ี องเห็น) -คณุ คา /ความหมาย(สวนทีม่ องไมเ ห็น) (เปาหมายเพอ่ื ใหเหน็ ภาพรวมในอดตี ของกา นกกง่ิ กะหลาวามีคณุ คา ความหมายที่ หลากหลายตอคนไทใหญ) แผน ภาพที่(๒)ปจจบุ นั อันขมขืน่ : กานกกงิ่ กะหลา -รูปแบบ (สวนท่ีมองเหน็ ) ในปจ จุบนั ที่หายไปแลว -คุณคา/ความหมาย(สว นท่มี องไมเ หน็ )ในปจจุบันที่หายไปแลว (เปาหมายเพือ่ ใหเ หน็ ภาพรวมในปจ จบุ นั ของกา นกกง่ิ กะหลา วา รูปแบบเรม่ิ เปล่ยี นแปลง ไปสว นท่ีเปนคุณคา/ความหมายไดส ูญหายไปเปนจํานวนมาก) แผน ภาพที่(๓)สาเหตุที่ทาํ ใหกานกกิ่งกะหลาเริ่มหายไป (เปาหมายเพอื่ กระตนุ ใหเจาของวัฒนธรรม/กา นกก่ิงกะหลาเห็นวา สาเหตุทท่ี าํ ใหกานกกิง่ กะหลา เร่ิมหายไปมีหลายสาเหตโุ ดยหน่ึงในนั้นคอื เจาของวัฒนธรรมเปน สวนสําคัญทีท่ าํ ใหก า นกกิง่ กะหลา เรมิ่ หายไป) แผน ภาพท(ี่ ๔)ผลกระทบเม่อื กานกก่งิ กะหลา เริ่มหายไป (เปาหมายเพอ่ื ชี้ชัดใหเ ห็นถงึ คณุ คา /บทบาทหนา ทขี่ องกานกกิ่งกะหลาท่ีมตี อ วถิ ชี วี ิตของ คนไทใหญ) แผนภาพท(ี่ ๕)อนาคตของ”กานกก่งิ กะหลา”จะเปน อยา งไร?

๓๙ -จะมีแนวทางในการปกปองคมุ ครองกานกกิ่งกะหลาอยา งไรขึ้นกบั เจา ของ วัฒนธรรมท่ีจะมาชว ยกนั คิดตามหลักการ “สทิ ธทิ างวัฒนธรรมของเจา ของ วัฒนธรรม” -สวนทีเ่ ปน ”เปลอื ก”(สามารถเปล่ยี นไดตลอด)ของกานกกง่ิ กะหลา คอื อะไร? -สวนที่เปน”กระพ้ี”(สามารถปรบั ได) ของกานกกง่ิ กะหลา คอื อะไร? -สวนทีเ่ ปน”แกน”(ไมส ามารถปรบั เปลยี่ นได)ของกานกกิ่งกะหลา คืออะไร? (เปาหมายเพ่อื ใหมคี วามรูแ ละความเขาใจวา กา นกกงิ่ กะหลาสวนไหนบางทเ่ี ปน เปลือกและกระพ้ีทสี่ ามารถจะปรับไดและสว นไหนบางทีเ่ ปน แกน ที่ไมส ามารถปรบั ได ซึ่งการทจ่ี ะบอกวา อะไรเปนเปลอื ก กระพแี้ ละแกน ของกานกก่ิงกะหลา น้นั ตอ งใหเจาของวัฒนธรรมเปนผูม ีสทิ ธ์ิในการ ตดั สินใจเทา นน้ั ) ๒.๓ตั้งคําถามใหก ลมุ เปาหมายชว ยกันระดมความคดิ เพ่ือหาคําตอบ เปน คาํ ถาม ประเภทกระตุนใหฉ กุ คิดในประเดน็ เชือ่ มโยงเกี่ยวของกันระหวา งเด็ก/เยาวชนท่ีเปนเจาของ วฒั นธรรมกบั กา นกกิง่ กะหลา (เปา หมายเพ่อื กระตุน สํานกึ ใหเด็ก/เยาวชนเห็นถึงคณุ คาของกานกก่ิงกะหลา มีความเขาใจเกี่ยวกบั วฒั นธรรมวาเปน ของทกุ คนท่ีเปนเจาของวฒั นธรรมดงั นัน้ วฒั นธรรมตองมีผสู ืบทอด) ๒.๔เด็กและเยาวชนนําขอ มลู มาแลกเปลี่ยนเรียนรรู วมกัน (เปาหมายเพื่อใหเด็ก/ เยาวชนรจู กั การสรปุ ขอ มลู กลา แสดงออกในทางที่สรา งสรรคและเปนกระบวนการสรา งการเรยี นรรู วมกนั เกย่ี วกับคณุ คาของกานกกิง่ กะหลา ) ๒.๕วิทยากรกระบวนการชวยสรปุ ประเด็น/เนื้อหาสําคญั ๒.๖วิทยากรเทคนคิ จดั กระบวนการพัฒนาทักษะเดก็ และเยาวชน โดยใหน าํ ขอมลู มาพฒั นาเปนบทหนงั ส้นั ๓.การพัฒนาทักษะการผลิตหนงั สัน้ : การแสดง การถา ยทาํ และการตัดตอ หนังสั้น ๓.๑วิทยากรเทคนิคจดั กระบวนการพฒั นาทักษะเดก็ และเยาวชนเกี่ยวกับการแสดง การ เลือกสถานทถ่ี า ยทํา การประสานงาน ผูกาํ กับ การถายทาํ และการตดั ตอหนังส้นั เปนตน ๓.๒เด็กและเยาวชนนาํ บทหนังสน้ั ทีพ่ ัฒนาขนึ้ มาแลวนาํ ไปวางแผนหาตัวแสดงและหา สถานท่ีถายทาํ ๓.๓เดก็ และเยาวชนวางแผนดาํ เนินงานและแบงบทบาทหนา ที่ เชน นกั แสดง ฝา ยสถานท่ี ฝา ยประสานงาน ผกู ํากบั ฝา ยถา ยทําและฝายตดั ตอ เปนตน ๓.๔เดก็ และเยาวชนดาํ เนินงานตามแผนทีว่ างไวโดยมีทมี วิทยากรเทคนคิ ทมี วทิ ยากร กระบวนการและทีมวิจยั ชวยใหคาํ ปรึกษา ๓.๕วทิ ยากรกระบวนการบอกผเู ขา รว มกจิ กรรมวา กิจกรรมครั้งตอ ไปเราจะทํา อะไรและใหผเู ขารว มประชมุ สะทอนเน้ือหาและกระบวนการในการจดั ประชมุ ค.ขน้ั สรุปงาน : ชว งหลังการจดั กจิ กรรม/เวทีการพฒั นาศักยภาพเด็กและเยาวชน: คิดเปน ทาํ เปน ๑.หลังจากเสร็จสนิ้ การจดั กจิ กรรมทีมงานทง้ั หมดจะมีการประชุมสรุปงานรว มกบั แกนนาํ เด็กและ เยาวชน ๒.หลงั จากเสร็จส้นิ การจดั กจิ กรรมในพื้นทีท่ มี งานทัง้ หมดจะมีการประชุมรว มกันเพอื่ สรปุ บทเรียน และประเมนิ ผลวา ผลการจดั กจิ กรรมเปน อยางไร ทีมงานไดบ ทเรยี นหรอื ขอคิดอะไรบาง เพอ่ื นําไปใช วางแผนในการจัดกิจกรรมคร้ังตอ ไป

๔๐ ๓.วเิ คราะหด ูผเู ขา รว มกจิ กรรมวามใี ครบา งทเ่ี ปนผทู มี่ ีบทบาทสําคญั ในประเด็นเกีย่ วกบั เรื่องอะไร เพื่อที่ทมี งานจะไดว างแผนการพฒั นาศกั ยภาพตอไป ๔.เพื่อวางแผนวา การจดั ประชมุ ครัง้ ตอ ไปจะตอเนอ่ื งกบั ครง้ั นอ้ี ยา งไร ๓.๓ จดั ประชุม/เวทชี าวบา น : การคนื ขอมูลใหเจา ของวัฒนธรรมเพ่อื การเปลี่ยนแปลง คาํ ถามหลกั ในการดาํ เนินโครงการวิจยั คร้งั นค้ี ือ(๑)จะมวี ธิ ีการ/กระบวนการอยางไรในการทจ่ี ะ ไดม าซึ่งขอมูลท่ตี รงกับขอ เทจ็ จริงเกยี่ วกับมรดกภมู ปิ ญ ญาทางวฒั นธรรมและเพอ่ื ทจี่ ะนาํ มาใชประโยชนใน การปกปอ งคุม ครอง (๒)จะมวี ิธีการ/กระบวนการอยา งไรในการกระตนุ สาํ นึกเจา ของวฒั นธรรมใหรวมกนั ปกปองคมุ ครองและสบื ทอดมรดกภมู ปิ ญญาทางวัฒนธรรมของตนเองเพอื่ รับใชค นในชุมชน/เจาของ วัฒนธรรมและ (๓)จะมวี ธิ ีการ/กระบวนการอยางไรท่ีจะใหเจา ของวฒั นธรรมเขา มามสี ว นรว มตัง้ แตเ รม่ิ ตน จากคาํ ถามหลกั ดงั กลา วขางตนชีช้ ัดไดว าการดําเนนิ งานวิจัยครง้ั น้มี เี ปา หมาย ๒ ระดับคือ(๑) ตอ งการขอ มลู และ(๒)การกระตนุ สาํ นึกเจา ของวฒั นธรรมใหเ ขา มามีสวนรว มในการปกปองคมุ ครองมรดก ภมู ปิ ญ ญาทางวฒั นธรรมของตนเอง งานวจิ ัยชนิ้ นี้เจา ของวฒั นธรรมจึงไมใ ชเ ปน ผทู มี่ สี ว นรวมเพียงแคเ ปนเจา ของขอมลู และผใู หขอ มลู เทานั้นแตเ จาของวัฒนธรรมตองเขา มามีสว นรวมต้งั แตเร่มิ ตน การพัฒนาโครงการ รว มเปน ผใู หขอมูล รวมกันวเิ คราะหป ระเดน็ ตา งๆทีเ่ ก่ียวของกบั มรดกภูมปิ ญ ญาทางวัฒนธรรมของตนเองและ รว มกนั เสนอ แนวทางการปกปอ งคมุ ครองมรดกภูมปิ ญญาทางวฒั นธรรมของตนเอง การท่ีเจา ของวัฒนธรรมจะสามารถวเิ คราะหประเด็นตา งๆทเ่ี กยี่ วของกบั มรดกภมู ิปญ ญาทาง วฒั นธรรมของตนเองและ รวมกนั เสนอแนวทางการปกปอ งคมุ ครองมรดกภมู ปิ ญ ญาทางวฒั นธรรมของ ตนเองไดนน้ั เจา ของวัฒนธรรมจาํ เปน จะตองมขี อ มูลเพ่ือใชประโยชนจ ากขอมูลในคดิ วิเคราะหแ ละการ วางแผนตอ ไป เปาหมายสําคญั ของการจดั ประชมุ /เวทีชาวบาน : การคนื ขอ มลู ใหเจาของวฒั นธรรมเพอ่ื การเปลย่ี นแปลง ๑.เพือ่ ใหเจา ของวฒั นธรรมไดรบั รพู รอมกบั การสรางความเขา ใจรว มกันเกยี่ วกับขอมูลและเปนการ ตรวจสอบขอ มูลท่ีเกี่ยวกบั กานกกง่ิ กะหลา ๒.เพ่ือกระตนุ ใหเจา ของวัฒนธรรมเขามามสี ว นรว มในการคิดและรว มกันตดั สนิ ใจหาแนวทางการ ปกปองคุมครองกานกกงิ่ กะหลา ๓.เพือ่ เปด พน้ื ทีป่ ระชาธปิ ไตยท่ีสรางสรรคท างวฒั นธรรมตามหลกั การสทิ ธทิ างวัฒนธรรม กลุมเปา หมาย เดก็ เยาวชน พอ บา น แมบาน ปราชญช าวบาน พระสงฆ ผูนําชมุ ชน สภาวัฒนธรรมตาํ บลและ เจาหนาที่ของรัฐ ทเี่ ปน เจาของวฒั นธรรมกา นกกิ่งกะหลา ซึ่งกลมุ เปาหมายเหลา น้สี ว นมากไดร วม กิจกรรม/การประชมุ /เวทีท่ีทางโครงการจดั ข้ึนในชมุ ชนมาแลว และมบี างสวนไมเ คยเขา รว มกิจกรรม/การ ประชุม/เวทที ี่ทางโครงการจดั ขึ้นในชุมชนแตเร่ิมมคี วามสนใจจงึ เขา รว มเวทีครั้งน้ี แนวทาง/วธิ ีการของการจดั ประชมุ /เวทชี าวบา น : การคืนขอมูลใหเ จาของวฒั นธรรมเพอื่ การเปล่ยี นแปลง แบงเปน ๓ ขั้นตอนดังนี้ ก.ขัน้ เตรียมการ : ชว งกอนการจัดประชมุ /เวทชี าวบา น : การคืนขอ มลู ใหเ จา ของวัฒนธรรมเพอื่ การเปลี่ยนแปลง ๑.การเตรยี มทมี วจิ ยั ทมี วจิ ยั มกี ารประชมุ วางแผนงานรวมกนั ดังนี้ ๑.๑ทีมวจิ ัยรวมกับผชู ว ยนักวิจยั ในพ้ืนท่สี รปุ ขอมูลจากการประชมุ /เวทีชาวบานทผี่ านมา

๔๑ เพอ่ื นาํ ขอมลู มาใชในการวางแผน ๑.๒รว มกนั คดิ เปา หมายของการจดั กจิ กรรมคร้ังนี้ ๑.๓รว มกันคิดเน้ือหากจิ กรรม และคาํ ถามหลกั ๑.๔รวมกันวเิ คราะหวา จะเลอื กกลุมเปาหมายเปน ใครบางท่ีจะเขา รว มกิจกรรมและจํานวน ผเู ขา รว มประชุมเทาไหร ๑.๕รว มกันคดิ กระบวนการของกิจกรรม ๑.๖รว มกนั คิดรปู แบบและกระบวนการในการใชส ือ่ ๑.๗ทีมวจิ ยั แบงบทบาทหนา ที่ ๑.๘ผูชวยนักวจิ ยั ในพ้ืนทปี่ ระสานงานกับผูที่เกี่ยวขอ งในพน้ื ที่ ๑.๙ทีมวิจัยทง้ั หมดลงพน้ื ทล่ี ว งหนา กอนจดั กจิ กรรม ทมี วจิ ัยรวมกบั ผูชว ยนักวจิ ัยในพน้ื ท่ี มีการประชมุ รว มกันเพือ่ ทาํ ความเขา ใจรว มกันและเปนการเตรียมภาพรวมท้งั หมด ๒.การเตรยี มทมี เดก็ และเยาวชน ๒.๑ช้แี จงวัตถปุ ระสงค ๒.๑.๑บอกวากิจกรรมคร้งั น้ีเราจะมาทาํ อะไร ทาํ อยา งไร และผลทเี่ ขาจะไดร บั จากกิจกรรมน้ี ๒.๑.๒บอกวา เราจะเอาขอ คน พบไปทาํ อะไร ๒.๑.๓หนาที่ของเด็กและเยาวชนจะตองทาํ อะไรบา ง ๒.๒กระบวนการใชสอ่ื ที่เดก็ และเยาวชนรว มกันผลิต ๒.๒.๑วิทยากรกระบวนการใหเดก็ และเยาวชนดวู ีซดี หี นงั สัน้ ทเี่ ขารว มกันผลติ ขน้ึ มา ๒.๒.๒ใหเ ด็กและเยาวชนชวยกันสรปุ เนอ้ื หา/ประเดน็ สําคญั จากการดูวซี ดี หี นงั ส้ันที่เขารว มกนั ผลิตขน้ึ มา ๒.๒.๓วิทยากรกระบวนการชแ้ี จงกิจกรรมการประชมุ /เวทชี าวบา น : การคนื ขอ มลู ใหชาวบา นท่ีจะจดั ขน้ึ ในชมุ ชน โดยเดก็ และเยาวชนจะเขา ไปมีสวนรว มในการเสนอสอื่ หนงั สนั้ ที่กลุม ตนเองผลติ ข้ึนมาและมสี วนรว มในการคดิ ตดั สนิ ใจหาแนวทางการปกปอ งคมุ ครองกานกก่งิ กะหลา ๒.๒.๔ใหเดก็ และเยาวชนแบงบทบาทหนาที่ทีจ่ ะรวมกจิ กรรมการประชุม/เวที ชาวบา น : การคนื ขอมูลใหชาวบาน ข.ขัน้ การดาํ เนนิ งาน : ชวงระหวางการจัดประชุม/เวทีชาวบาน : การคนื ขอมลู ใหเจาของวัฒนธรรม เพ่อื การเปลย่ี นแปลง ๑.การชแ้ี จงวตั ถปุ ระสงคข องการจดั ประชมุ ๑.๑บอกวากจิ กรรมคร้ังนี้เราจะมาทําอะไรทาํ อยา งไร และผลที่เขาจะไดร บั จากกจิ กรรมนี้ ๑.๒บอกวาเราจะเอาขอคนพบไปทําอะไร ๒.กจิ กรรมแบงเปน ๓ ชวง ๒.๑กิจกรรมชว งแรกการแลกเปล่ยี นเรียนรูรวมกนั เกย่ี วกบั กานกก่ิงกะหลา การนาํ เสนอขอมูลโดยวทิ ยากรกระบวนการจะเปด โอกาสใหผูเขา รวมสามารถซกั ถาม เพม่ิ เตมิ ไดตลอด วิทยากรกระบวนการนําเสนอขอมูลทไี่ ดจ ากการเกบ็ รวบรวมขอมูลในชุมชนผา นส่ือภาพ พมิ พ(ไวนิล)ทที่ างโครงการผลติ ขน้ึ จากการใชแนวคดิ “ตน ไมแ หงคณุ คา ” แบง เปน ๕ แผนภาพดงั น้ี