รอ ยกรอง วรรณคดแี ละวรรณกรรม ๑๕๑ คาํ ประพันธทีก่ าํ หนดฉนั ทลกั ษณ อนิ ทรวิเชียร ฉันท ๑๑ แผนผงั ตัวอยา ง ไมเ รียกผะกากพุ - ชะกะสีอรุณแสง ปานแกมแฉลมแดง ดรุณี ณ ยามอาย (มทั นะพาธา)
รอ ยกรอง คาํ ประพนั ธทีก่ าํ หนดฉันทลกั ษณ อปุ ฏฐติ า ฉันท ๑๑ แผนผัง ตวั อยาง เห็นเชิงพิเคราะหชอง ชนะคลองประสบสม พราหมณเวทอุดม ธ ก็ลอบแถลงการณ ๑๕๒ (สามัคคีเภทคาํ ฉันท)
รอยกรอง วรรณคดแี ละวรรณกรรม ๑๕๓ คําประพันธท่กี ําหนดฉนั ทลกั ษณ สาลนิ ี ฉันท ๑๑ แผนผัง สดับกลองกระหึมขาน ตัวอยาง ณ กิจเพือ่ เสดจ็ ไป วัชชภี มู ผี อง (สามคั คเี ภทคําฉนั ท) ทกุ ไทไ ปเอาภาร
รอยกรอง คําประพันธท่กี ําหนดฉนั ทลกั ษณ ภชุ งคประยาต ฉันท ๑๒ แผนผัง ตัวอยาง จะถูกผดิ กระไรอยู มนษุ ยผ กู ระทํานา และคูโคกจ็ งู มา ประเทยี บไถมิใชห รือ ๑๕๔ (สามัคคีเภทคําฉันท)
รอยกรอง วรรณคดแี ละวรรณกรรม ๑๕๕ คาํ ประพันธท ี่กาํ หนดฉนั ทลักษณ วสนั ตดลิ ก ฉันท ๑๔ แผนผงั ตัวอยา ง อาโฉมวิไลยะสุปรยิ า มะทะนาสรุ างคศ รี พี่รกั และกอบอภิระตี บ มิเวนสเิ นหหนัก (มัทนะพาธา)
รอ ยกรอง คาํ ประพันธท ีก่ าํ หนดฉันทลักษณ สัททุลวิกกฬี ต ฉันท ๑๙ แผนผงั จอมทัพมาคธราษฎร ธ ยาตรพยหุ กรี ตัวอยาง ธาสูว สิ าลี นคร ๑๕๖ (สามัคคเี ภทคาํ ฉันท)
รอยกรอง วรรณคดีและวรรณกรรม ๑๕๗ คาํ ประพนั ธท ีก่ าํ หนดฉนั ทลักษณ กาพยยานี ๑๑ แผนผงั ตัวอยา ง ดวงจิตคือกระษตั รยิ ผา นสมบตั อิ ันโอฬาร ขา ศกึ คือโรคา เกิดเขน ฆาในกายเรา (คัมภีรฉนั ทศาสตร แพทยศาสตรส งเคราะห)
รอ ยกรอง คาํ ประพันธท่ีกําหนดฉันทลกั ษณ กาพยฉบัง ๑๖ แผนผัง ตวั อยา ง สมัยหนึ่งพระผมู ี พระภาคชินสหี ผโู ลกนาถจอมธรรม ๑๕๘ (มงคลสตู รคําฉนั ท)
รอยกรอง วรรณคดแี ละวรรณกรรม ๑๕๙ คาํ ประพันธทีก่ ําหนดฉันทลักษณ กาพยสุรางคนางค ๒๘ แผนผงั ตัวอยา ง นางมาแลวไซร แตวาฉันใด จึง่ ไมพ ดู จา นางยงั งงงวย ดว ยฤทธิ์มนตรา แตว า ตูขา จะแกบ ัดนี้ (มัทนะพาธา)
รอยกรอง คําประพนั ธทกี่ าํ หนดฉันทลกั ษณ กลอนสุภาพ/กลอนแปด/กลอนตลาด แผนผงั ตัวอยา ง สดุ แตว า จิตพิศวาส ก็นบั เปนวงศญาตกิ นั ได อยา ชักชา เจรจาใหช าไป จะชงิ ชยั ใหเ ห็นฝมอื กนั ๑๖๐ (อิเหนา)
รอ ยกรอง วรรณคดแี ละวรรณกรรม ๑๖๑ คาํ ประพนั ธทก่ี ําหนดฉนั ทลักษณ รายสุภาพ แผนผงั ตัวอยา ง จกั ยาตราตรเู ชา ขาศึกยลแสยงฤทธ์ิ บพิตร ธ เทียบทพั หลวง โดยกระทรวงพยหุ บาตร (ลลิ ิตตะเลงพา ย) เสด็จคืนเขา นิเวศไท เกรยี มอรุ ะราชไหม หมน เศราศรีสลาย อยนู า
รอยกรอง คาํ ประพนั ธท่ีกําหนดฉันทลกั ษณ รา ยยาว แผนผงั ตวั อยาง ตโย เทวปุตฺโต สว นเทพเจา ท้งั สามองคไ ดทรงฟง พระเสาวนยี พระมทั รีเธอไหววอนขอหนทาง พระพกั ตรน างนองไปดว ยน้าํ พระเนตร เทพเจาก็สังเวชในวิญญาณ ๑๖๒ (รายยาวมหาเวสสันดรชาดก กณั ฑม ทั รี)
วรรณคดีและวรรณกรรม ๑๖๓ การอานวรรณคดี การวจิ กั ษ กขา้นัรวตจิ อักนษ วรรณคดี เกิดความเขาใจแจมแจง จนตระหนักในคุณคา ของวรรณคดนี ําไปสู ความซาบซ้งึ หวงแหน และรกั ษาไว เปน สมบตั ชิ าติ ๑. อานเรือ่ งเขาใจ ๔. รูเ จตนารมณผ ูเขียนดี ๒. ประเมินความไพเราะ ๕. ตคี วามตามเนื้อหา การวจิ ารณ วรรณคดี ๓. นิสัยตวั ละครเหมาะสม ๖. พจิ ารณากลวิธี การแสดงความคิดเห็น กาขร้ันวตจิ อานรณ ตัง้ แตช อบหรอื ไมชอบ อะไรดีหรอื ไมด อี ยางไร เพราะเหตุใด ๑. อา น ๒. คิด ๓. วเิ คราะห ๔. ประเมิน ๕. นาํ เสนอ
แนวทางการพิจารณาวรรณคดี เนื้อหาและกลวิธีใน โครงเรื่อง วรรณคดี เรื่องขนุ ชางขุนแผน ตอน ขนุ ชางถวายฎกี า อา นบันเทงิ คดีมอี รรถรส ผูหญงิ คนหน่ึงตกอยู เน้ือเรือ่ ง ในสถานการณคับขัน ตัดสนิ ใจไมได ใคร : พลายงาม วา จะเลือกไปอยกู บั ชายคนใด ทําอะไร : คดิ ถงึ นางวันทอง คดิ พานางมาอยูกบั ตน คนหนง่ึ กด็ ีคนหน่ึงกร็ กั ท่ีไหน : ขุนแผนลอบข้นึ เรอื นขนุ ชา ง อยางไร : ขนุ ชางโกรธถวายฎกี า สมเดจ็ พระพันวษา เปน ความขัดแยงในใจของตวั ละคร ใหนางเลือก นางตัดสนิ ใจไมได จึงส่งั ประหารชีวิต ๑๖๔
ตัวละคร วรรณคดีและวรรณกรรม ๑๖๕ ผทู าํ ใหเกิดเหตุการณ มักกลาวถึง ฉากทอ งเรื่อง ลกั ษณะนสิ ัยของตวั ละคร เวลาและสถานทีท่ เ่ี กิดเหตกุ ารณ เชน ความลงั เลของนางวนั ทอง ในยุคสมัย ที่ผคู นยอมรับอํานาจ ความเรอ ราของขนุ ชา ง ตามระบอบสมบูรณาญาสทิ ธริ าช บทเจรจา ใครพูดกับใคร สาเหตทุ ่พี ดู ทาที อารมณข องผพู ดู และตีความขอ ความท่ีพูด “มนั เกดิ เหตุท้ังนก้ี เ็ พราะหญิง จึงหึงหวงชวงชิงยุงยงิ่ อยู จาํ จะตดั รากใหญใ หหลน พรู ใหล ูกดอกดกอยแู ตก ่งิ เดียว” คาํ พดู พระพนั วษาแสดงอารมณข ุน เคอื งเรื่องการฟองรอ ง เก่ียวกบั นางวนั ทองอยา งไมรจู กั จบส้นิ แกน เร่อื ง ทศั นะทีก่ วีเสนอตอผอู า น ปญ หาความรักระหวาง หนงึ่ หญงิ สองชาย
รสวรรณคดี ๑ ศฤงคารรส รสแหงความรัก ภาวะอารมณร กั คอื ตวั ละครตกอยใู น ความรักตกแตง รางกายใหงดงามลูบไลด ว ย เครอ่ื งหอมบรรยากาศรืน่ รมย โอเ จาแกว แววตาของพี่เอย เจา หลับใหลกระไรเลยเปนหนกั หนา ดังน่ิมนองหมองใจไมน าํ พา ฤๅขดั เคอื งคิดวา พี่ทอดทง้ิ ความรักหนักหนว งทรวงสวาท พ่ีไมค ลาดคลายรกั แตสักสิง่ เผอิญเปน วิปริตพผี่ ิดจรงิ จะนอนนงิ่ ถือโทษโกรธอยูไย (ขนุ ชา งขุนแผน) เ ้นือหาที่สามารถเ ปดแอปพลิเคชันดูไ ด ๑๖๖
วรรณคดีและวรรณกรรม ๑๖๗ ๒ หาสยรส รสแหง ความขบขัน ภาวะอารมณขบขันเมือ่ ผอู า น ผูช มไดร บั รูภาวะขบขัน ทําใหเกิดรสสนกุ สนาน ขุนชา งเหน็ ขา ไมมาใกล ขดั ใจลุกขึน้ ท้งั แกผ า แหงนเถอ เปอ ปง ยืนจงั กา ยา งเทากาวมาไมร ตู วั (ขนุ ชา งขุนแผน)
๓ กรุณารส รสแหง ความเมตตา ภาวะทกุ ขโศก ทําใหเ กดิ รสสงสาร เห็นอกเห็นใจ ครานัน้ พระองคผูทรงเดช ปน ปกนคเรศเรอื งศรี เห็นสามราเขา มาอัญชลี พระปรานเี หมือนลูกในอุทร (ขุนชางขนุ แผน) ๑๖๘
วรรณคดแี ละวรรณกรรม ๑๖๙ ๔ รุทรรส รสแหงความโกรธ ภาวะโกรธทาํ ใหเกดิ รสแคน เคอื งใจ ในความรุนแรง คราน้ันสมเด็จพระพันวษา ทรงพระโกรธาโกลาหล ทุดอายจญั ไรมิใชคน บนบกบนฝง ดังไมม ี ใชที่ใชท างวางเขามา ฤๅอายชางเปน บา กระมงั น่ี เฮย ใครรบั ฟองของมนั ที ตเี สยี สามสบิ จงึ ปลอยไป (ขนุ ชา งขุนแผน)
๕ วรี รส รสแหง ความกลา หาญ ภาวะกลา หาญ ทาํ ใหเ กดิ รสชน่ื ชม ยินดีในวรี กรรม สองโจมสองจูจว ง บาํ รู สองขัตตยิ สองขอชู เชิดดา้ํ กระลึงกระลอกดู ไววอง นกั นา ควาญขบั คชแขง คํ้า เขน เขี้ยวในสนาม (ลลิ ติ ตะเลงพา ย) ๑๗๐
วรรณคดแี ละวรรณกรรม ๑๗๑ ๖ ภยานกรส รสแหง ความกลัว ภาวะอารมณแ หง ความกลวั นา กลวั ทําใหเกดิ รสเกรงกลัว พระพลันเห็นเหตุไซร เสยี วดวง แดเฮย ถนัดด่งั ภผู าหลวง ตกตอ ง กระหมากระเหมน ทรวง ส่ันซีด พกั ตรน า หนกั ฤทยั ทา นรอ ง เรียกใหโหรทาย (ลิลติ ตะเลงพาย)
๗ พภี ัตสรส รสแหงความชงั ภาวะนา รงั เกยี จ ทาํ ใหเ กิดรสรําคาญ เบ่ือระอา ขยะแขยง มาอยไู ยกบั อายหินชาติ แสนอุบาทวใจจิตริษยา ดังทองคาํ ทําเลีย่ มปากกะลา หนา ตาดําเหมอื นมนิ หมอ มอม (ขุนชา งขนุ แผน) ๑๗๒
วรรณคดีและวรรณกรรม ๑๗๓ ๘ อัพภูตรส รสแหงความประหลาดใจ ภาวะต่ืนเตนนา พศิ วง ทาํ ใหเกิดรสอัศจรรยใจ พอวายวรวากยอาง โอษฐพ ระ ดาลมหาวาตะ ต่ืนฟา ทรหงึ ทรหวลพะ- พานพัด หาวแฮ หอบธมุ างคจางจา จรัสดาวแดนสมร (ลลิ ิตตะเลงพา ย)
๙ ศานตริ ส รสแหง ความสงบ อิทธพิ ลของคตพิ ุทธทีถ่ อื วา ความสงบ เปน สง่ิ ประเสริฐ เปน เสนทางสูนพิ พาน อันสองกมุ ารนีพ้ ี่ใหเ ปน ทานแกพ ราหมณแ ตวันวานนแ้ี ลว พระนองแกวเจาอยา โศกศัลย จงตั้งจติ ของเจาน้ันใหโ สมนัสศรทั ธา ในทางอนั กอ กฤดาภินิหารทานบารมี ลจฉฺ าม ปุตเฺ ต ชวี นฺตา ถา เราทง้ั สองน้ยี ังมชี ีวิตอยสู บื ไป อันสองกุมารน้นั ไซรกค็ งจะไดพบกันเปนแมน มน่ั ... (รา ยยาวมหาเวสสันดรชาดก กณั ฑมทั ร)ี ๑๗๔
วรรณคดแี ละวรรณกรรม ๑๗๕ การวิเคราะหค ณุ คาของวรรณคดี ดา นควรณุ รคณา ศลิ ป การสรรคาํ เลอื กใชคาํ ใหส ือ่ ความคิด ความเขา ใจ ความรสู กึ อารมณ โฉอมเามแกรมาุชศหุบจยสักเาอมจดียุทาฟงนราอดผแกนิจยเงลทมงออกอา ง อจยเาูรล(อรนอ ขึกวรินแาดศฤพตอนๅอมเงรหินฤคท็นๅ อร)รเอย
คาํ ไวพจน คําทีม่ คี วามหมายเหมือนกันแตใ ช ในบริบทตางๆ กนั หรอื เรยี กวา คําพอ งความ เชน กลั ยา นารี สดุ า สมร หญิง อทิ สิ ัง ฉันท ๒๐ อา อะรุณแอรม ระเรอ่ื รุจี ประดจุ มโนภริ มยร ตี ณ แรกรัก แสงอรณุ วิโรจนนภาประจักษ แฉลม เฉลาและโศภินัก นะฉันใด หญงิ และชาย ณ ยามระตอี ุทยั สวา ง ณ กลางกมลละไม ก็ฉนั นัน้ (มัทนะพาธา) ๑๗๖
วรรณคดแี ละวรรณกรรม ๑๗๗ คําเลยี นเสียงธรรมชาติ (สทั พจน) ภาพพจนท่เี ลยี นเสยี งธรรมชาติ เชน เสียงดนตรี เสียงสัตว เสียงคลืน่ เสยี งลม เสยี งฝนตก เสียงนํ้าไหล เสยี งไผเ สยี ดสกี นั ฯลฯ ไผซอออเอียดเบยี ดออด ลมลอดไลเลย้ี วเรยี วไผ ออดแอดแอดออดยอดไกว แพใบไลน ้ําลําคลอง (เนาวรตั น พงษไ พบูลย)
คําเลน เสียงวรรณยุกต การใชเ สยี งวรรณยกุ ตท่แี ตกตางกัน ในคาํ ทม่ี พี ยัญชนะตน สระ ตวั สะกดเหมอื นกนั โดยเรยี งลําดับเสียง วรรณยกุ ต เชน บัวตูมตุมตุมตมุ กลางตม เขาขนั คคู คู ู เคยี งสอน ดลยังเวยี งดานดา ว โดยมี เมืองชอื่ กาญจนบรุ ี วา งวาง ผใู ดบอ อกตี ตอบตอ ทพั นา ยลแตเ หยาเรอื นรา ง อยูไรใ ครแรม (ลิลิตตะเลงพาย) ๑๗๘
วรรณคดีและวรรณกรรม ๑๗๙ คําเลน เสยี งสมั ผสั คําที่มเี สียงคลอ งจองกันดวย เสยี งสระ พยญั ชนะทา ยพยางค เชน เจาของตาลรกั หวานข้นึ ปน ตน ระวังตนตนี มือระมัดมั่น งามสองสุริยราชลา้ํ เลอพิศ นาพอ พา งพชั รนิ ทรไพจติ ร ศกึ สราง ฤๅรามเริ่มรณฤทธ์ิ รบราพณ แลฤๅ ทุกเทศทุกทศิ อาง อน่ื ไทไ ปเทียม (ลิลิตตะเลงพาย)
คําเลน เสยี งหนกั เบา คาํ ประพนั ธป ระเภทฉนั ท มลี กั ษณะบังคบั เสียงหนักเบา เรียก ครุ ลหุ ทําใหเกิดจงั หวะ ในการอานบางจงั หวะ ทําใหเ กิดอารมณเ ศรา บางจงั หวะเกิดอารมณสนุกสนาน คึกคัก โดยเฉพาะการอา นทเี่ นนอารมณตามเนื้อหา จะทําใหบ ทประพนั ธม ีความไพเราะยิง่ ขน้ึ รักจริงมิจรงิ ฤ กไ็ ฉน อรไท บ แจง การ? รกั จริงมจิ ริงก็สุระชาญ ชยะโปรดสถานใด? พ่รี กั และหวังวธจุ ะรกั และ บ ทอด บ ทิ้งไป พระรักสมัคร ณ พระหทัย ฤ จะทอดจะทง้ิ เสีย? ความรกั ละเหยี่ อุระระทด เพราะมิอาจจะคลอเคลยี ความรกั ระทดอรุ ะละเหยี่ ฤ จะหายเพราะเคลียคลอ? (มทั นะพาธา) ๑๘๐
วรรณคดีและวรรณกรรม ๑๘๑ คําพองเสยี ง คาํ ท่ีอา นออกเสยี งเหมอื นกนั เขยี นตา งกนั และมคี วามหมายตา งกนั และเมื่อนาํ คาํ พอ งเสยี งมาแตง เปนบทประพันธ จะทาํ ให บทประพนั ธม ีความไพเราะมากยิง่ ขึ้น นางนวลจับนางนวลนอน เหมือนพแี่ นบนวลสมรจินตะหรา จากพรากจบั จากจํานรรจา เหมอื นจากนางสการะวาตี แขกเตา จับเตา รา งรอ ง เหมือนรางหองมาหยารัศมี นกแกว จบั แกวพาที เหมือนแกวพี่ทัง้ สามสง่ั ความมา (อเิ หนา)
คําซํ้า การเลน คาํ คาํ ซ้ํา เปนกลวธิ ที ่ี ใชคําคําเดียวกันซา้ํ คาํ ใน บทประพนั ธแ ตค วามหมายของคาํ จะแตกตา งกันไป แตแมเทีย่ วเซซงั เสาะแสวงทกุ แหงหองหมิ เวศ ทว่ั ประเทศทุกราวปา สดุ สายนยั นาทแ่ี มจ ะตามไปเล็งแล สุดโสตแลว ทแี่ มจ ะซบั ทราบฟง สาํ เนยี ง สุดสรุ เสียงท่ีแมจะรํ่าเรยี กพไิ รรอง สดุ ฝเ ทาทแี่ มจะเย้ืองยองยกยางลงเหยยี บดิน กส็ ุดสน้ิ สุดปญ ญาสดุ หาสุดคน เห็นสดุ คิด (มหาเวสสันดรชาดก กณั ฑม ัทร)ี จําใจจําจากเจา จําจร จาํ นริ าศแรมสมร แมรา ง เพราะเพื่อจกั ไปรอน อริราช แลแม จาํ ทุกขจ าํ เทวศวาง สวาดวิ าหวน่ั ถวิล (ลิลติ ตะเลงพาย) ๑๘๒
วรรณคดแี ละวรรณกรรม ๑๘๓ การใชโ วหาร การพลิกแพลงภาษาทใี่ ช ใหเ กิดรสกระทบใจ ความรสู ึกและอารมณ อุปมา การเปรยี บสิ่งหนึง่ เหมือนกบั อีกสิง่ หน่ึง เลาปน้ันเปนคนมีสติปญญา ถาละไว ชาก็จะมีกําลังมากขึ้น อุปมาเหมือนลูกนก อันขนปก ยงั ไมข นึ้ พรอ ม แมเราจะน่ิงไวใ หอ ยู ในรังฉะนี้ ถา ขนข้ึนพรอมแลวกจ็ ะบินไปทาง ไกลได ซ่ึงจะจับตัวนั้นเห็นจะไดความขัดสน อวนเสี้ยวนั้นมีทหารมากก็จริง แตสติปญญา นอ ย ถึงจะคิดประการใดเรากไ็ มก ลัว (สามกก ตอนกวนอไู ปรับราชการกบั โจโฉ)
อปุ ลกั ษณ การเปรียบเทียบดวยการกลา ววาสิง่ หน่งึ เปนอีกส่งิ หนงึ่ เปน การเปรยี บเทยี บ ที่ไมก ลา วตรงๆ ใชก ารกลาวเปนนยั ใหเ ขา ใจเอง เปน การเปรียบเทยี บ โดยนําเอาลกั ษณะสาํ คญั ของสิ่งท่ตี องการเปรียบเทียบ มาเปรียบเทียบทนั ที โดยไมตอ งมีคาํ เชอ่ื มโยง นํา้ เงนิ คือเงินยวง ขาวพรายชว งสสี ําอาง ไมเทียบเปรยี บโฉมนาง งามเรอื งเรื่อเนื้อสองสี (กาพยเหเรอื ) ๑๘๔
วรรณคดีและวรรณกรรม ๑๘๕ อติพจน อธพิ จน โวหารทกี่ ลาวเกินความจริง เพ่ือเนน ความรูสกึ ทําใหผูฟง เกิดความรูสึกทีล่ ึกซึง้ กท็ ุกล้ินจะรมุ กลาว ผลิ ้ินพจี่ ะมหี ลาย และทกุ ล้นิ จะเปรยปราย แสดงรัก ณ โฉมฉาย พจีวา จะรักยดื ประกาศถอ ยปะฏญิ ญา บจางจดื สิเนหา (มัทนะพาธา)
อวพจน มีความหมายลกึ ซ้งึ ทีก่ วี รูส กึ ทาํ ใหค ําประพนั ธ บทนน้ั มคี วามงดงาม ดว ยรสคาํ อาจกลาวไดวา เปน การกลา วนอ ยไป กวา ท่เี ปน จริง รปู งามนามเพราะนอ ยไปหรือ ใจไมซ อ่ื สมศกั ด์เิ ทา เสน ผม แตใจสตั วมันยังมีทนี่ ิยม สมาคมก็แตถึงฤดมู ัน (ขุนชางขุนแผน) เ ้นือหาที่สามารถเ ปดแอปพลิเคชันดูไ ด ๑๘๖
วรรณคดีและวรรณกรรม ๑๘๗ บุคคลวัต บุคคลสมมตุ ิ บคุ ลาธิษฐาน การสมมตุ ิส่งิ ตา งๆ ใหมีกริ ิยาอาการ ความรสู ึกเหมือนมนษุ ย จากมามาลว่ิ ลาํ้ ลําบาง บเบราือางงแยบผ่เี รรงือับชรวคายาํพพคลลาานอ งางง พเคม่พี ลียรางอ วมงน(านาํ้นริ ตาศมานคารนลินทาอร)
ปฏิพากย ปรพากย การใชถ อ ยคาํ ท่มี ีความหมาย ตรงกันขา ม หรอื ขดั แยงกนั มากลาวอยา งกลมกลืน เพอ่ื เพ่มิ ความหมาย ใหมนี ้ําหนัก แทบฝง ธารท่เี ราเฝา ฝน ถงึ เสียงนา้ํ ซึ่งกระซบิ สาดปราศจากเสยี ง จกั รวาลวุนวายไรส าํ เนยี ง โลกน้เี พยี งแผนภพสงบเยน็ (วารดี ุรยิ างค) ๑๘๘
วรรณคดแี ละวรรณกรรม ๑๘๙ ประโยคคําถาม เชิงวาทศิลป เปนประโยคทไ่ี มต องการคาํ ตอบ แตต อ งการใหยอมรับความจรงิ ถึงไมเล้ียงบุษบาเห็นวา ชว่ั แตเขารอู ยวู าตัวนน้ั เปน พี่ อนั องคท า วดาหาธบิ ดี นน้ั มิใชอาหรือวาไร (อิเหนา)
นามนัย การใชค าํ หรือวลีซง่ึ บงลกั ษณะหรอื คณุ สมบัติของสิ่งใดส่งิ หน่ึง แทนอีกสิ่งหนง่ึ คลายๆ สญั ลักษณแตต า งกันตรงทีน่ ามนัย จะดงึ เอาลักษณะบางสว นของส่งิ หนงึ่ มากลา ว ใหห มายถงึ ท้ังหมด เชน เมอื งโอง หมายถงึ จังหวดั ราชบรุ ี เมืองยา โม หมายถึง จังหวัดนครราชสีมา มอื ทีส่ าม หมายถึง ผูกอความเดือดรอน วา นครรามนิ ทร ผลัดแผนดินเปลีย่ นราชย เยียวววิ าทชิงฉัตร (ลิลิตตะเลงพา ย) ๑๙๐
วรรณคดีและวรรณกรรม ๑๙๑ จินตภาพ การสรา งภาพหรอื ยอ นภาพ เพ่อื สรางประสบการณ ใหเ กิดขึ้นในใจ พระเสด็จโดยแดนชล ทรงเรอื ตนงามเฉดิ ฉาย กิง่ แกว แพรว พรรณราย พายออ นหยบั จบั งามงอน สวุ รรณหงสทรงพหู อ ย งามชดชอยลอยหลงั สนิ ธุ เพยี งหงสท รงพรหมินทร ลินลาศเล่อื นเตือนตาชม (กาพยเ หเ รอื )
คุณคา ดานสังคม อม่ิ อารมณ ความงาม ความไพเราะ สนกุ สนาน เพลดิ เพลนิ อารมณ สามยอดตลอดระยะระยับ วะวะวบั สลบั พรรณ ชอ ฟา ตระการกลจะหยนั จะเยาะย่วั ทิฆัมพร (สามคั คีเภทคําฉันท) ๑๙๒
วรรณคดแี ละวรรณกรรม ๑๙๓ คตเิ ตือนใจ ขอคดิ คาํ สอน เชน ความสํานึกในพระคณุ ของบิดามารดา เปรยี บหนักชนกคุณ ชนนีคอื ภูผา ใหญพ ื้นพสนุ ธรา ก็ บ เทียบ บ เทยี มทนั (นมสั การมาตาปต ุคุณ)
สายใยวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี เชน ความจงรกั ภักดตี อ สถาบนั พระมหากษัตริย อนั พระประชวรครง้ั นี้แททั้งไผทสยาม เหลาขาพระบาทความ วิตกพนจะอปุ มา ประสาแตอยูใกล ท้งั รูใชว า หนกั หนา เลือดเน้อื ผเิ จือยา ใหหายไดจะชิงถวาย (ขตั ติยพนั ธกรณ)ี ๑๙๔
วรรณคดีและวรรณกรรม ๑๙๕ นาํ ไปปฏิบัติ การประยุกตใชใ นชวี ิต ประจําวัน การคบมิตร เพราะจะพาประพฤติผิด หนง่ึ คือ บ คบพาล เพราะจะพาประสบผล หน่ึงคบกะบัณฑติ (มงคลสตู รคําฉนั ท) ความสามคั คี ผิวใครจะใครล อง แมม ากผิกิง่ ไม พลหกั ก็เต็มทน มัดกํากระนน้ั ปอง (สามัคคเี ภทคาํ ฉนั ท)
คำ� สั่งส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน ท่ี ๑๐๐๑ / ๒๕๖๐ เรือ่ ง แต่งตง้ั คณะกรรมการจัดท�ำตน้ ฉบบั หนงั สือส่งเสริมประสิทธิภาพการเรยี นรู้ ............................................... ด้วยส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานจะด�ำเนินการจัดท�ำต้นฉบับหนังสือส่งเสริมประสิทธิภาพ การเรียนรู้ วิชาภาษาไทยและวิชาสังคมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ด้วยการแปลงเน้ือหาในหนังสือเป็นภาพ Infographic และภาพเสมอื นจริง (AR : Augmented Reality) ในการนี้ เพื่อให้การด�ำเนนิ งานเปน็ ไปด้วยความเรยี บร้อย และมีประสทิ ธภิ าพ จึงแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำ� ตน้ ฉบบั หนังสอื สง่ เสริมประสทิ ธิภาพการเรียนรู้ โดยมอี งคป์ ระกอบดังนี้ ที่ปรึกษา ๑. นายการณุ สกลุ ประดิษฐ์ เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน ๒. นายบญุ รักษ์ ยอดเพชร รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ๓. นายณฐั พล นมิ มานพัชรนิ ทร์ ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั งานสง่ เสริมเศรษฐกจิ ดิจิทลั กระทรวงดจิ ทิ ัลเพอื่ เศรษฐกิจและสงั คม คณะกรรมการด�ำเนนิ งาน ประธานกรรมการ ๑. นางสกุ ญั ญา งามบรรจง กรรมการ ทีป่ รึกษาด้านพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ กรรมการ ๒. นางญาณกร จนั ทหาร กรรมการ ผอู้ ำ� นวยการสำ� นักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ กรรมการ ๓. นางสาวนงลักษณ์ เรือนทอง ผู้อ�ำนวยการสำ� นกั บริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย กรรมการ ๔. นางสาวปริญญา ฤทธิ์เจริญ กรรมการ ผ้เู ชีย่ วชาญดา้ นการพัฒนาส่อื และการเรียนร้ ู ๕. นางจารภุ า สังขารมย ์ ผู้เชย่ี วชาญดา้ นการจดั การอบรมและการน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารไปเผยแพร่ ๖. นางสาวนจิ สุดา อภนิ ันทาภรณ ์ รองผอู้ ำ� นวยการส�ำนักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา ๗. นายเฉลมิ ชัย พันธเ์ ลศิ ผูอ้ �ำนวยการสถาบันสังคมศึกษา 196
๘. นายกฤตนัยน์ สามะพทุ ธิ 197 ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิด้านสังคมศกึ ษา ๙. นางมาตรินี รักษ์ตานนทช์ ัย กรรมการ ผทู้ รงคุณวุฒดิ า้ นสังคมศกึ ษา กรรมการ ๑๐. นางชวลีย์ ณ ถลาง กรรมการ ผทู้ รงคุณวฒุ ิดา้ นสังคมศึกษา กรรมการ ๑๑. นางระวิวรรณ ภาคพรต กรรมการ ผู้ทรงคุณวฒุ ดิ ้านสังคมศกึ ษา กรรมการ ๑๒. นางสาวบงกชรตั น์ เตชะไตรศักดิ์ กรรมการ ผู้ทรงคุณวฒุ ิด้านสงั คมศึกษา กรรมการ ๑๓. นางสาวสรุ พี นั ธ์ เกยี นวฒั นา กรรมการ ผู้ทรงคุณวฒุ ดิ ้านสงั คมศึกษา กรรมการ ๑๔. นายเชียง เภาชติ กรรมการ ผู้ทรงคณุ วฒุ ดิ ้านสงั คมศกึ ษา กรรมการ ๑๕. นายไพฑูรย์ ปยิ ะปกรณ ์ กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิดา้ นสังคมศึกษา กรรมการ ๑๖. นางสาวมาลี โตสกุล กรรมการ ผทู้ รงคณุ วุฒดิ า้ นสังคมศกึ ษา กรรมการ ๑๗. นางมนพร จันทร์คล้อย กรรมการ ผทู้ รงคุณวฒุ ดิ ้านสังคมศกึ ษา กรรมการ ๑๘. นางวชิราวรรณ บุนนาค กรรมการ ผู้ทรงคณุ วฒุ ิดา้ นสังคมศึกษา กรรมการ ๑๙. นางสาววรลักษณ์ รตั ตกิ าลชลากร ผทู้ รงคุณวุฒิดา้ นสงั คมศึกษา ๒๐. นางสาวกอบกาญจน์ เทยี นไชยมงคล ผู้ทรงคณุ วุฒดิ า้ นสงั คมศกึ ษา ๒๑. นางสาวพรม้ิ เพรา คงธนะ ผูท้ รงคณุ วฒุ ิด้านสงั คมศกึ ษา ๒๒. นางพิศวาท นอ้ ยมณี ผู้ทรงคุณวฒุ ิด้านภาษาไทย ๒๓. นางสมศริ ิ โพธิพ์ ่มุ ผู้ทรงคณุ วุฒิด้านภาษาไทย ๒๔. นางสาวพชั รี ลนิ ฐิ ฎา ผู้ทรงคุณวุฒิดา้ นภาษาไทย ๒๕. นางสาวพรม้ิ เพราวดี หนั ตรา ผทู้ รงคุณวฒุ ดิ า้ นภาษาไทย ๒๖. นายอรรถพล อนันตวรสกุล อาจารย์ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ๒๗. ผแู้ ทนส�ำนักงานสง่ เสรมิ เศรษฐกิจดิจิทลั กระทรวงดจิ ิทลั เพ่อื เศรษฐกจิ และสังคม
๒๘. นายชเู ดช โลศริ ิ อาจารย์ คณะสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ กรรมการ ๒๙. นายสมหวงั ชยั ตามล ครู โรงเรยี นเทพศิรนิ ทร์ สำ� นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต ๑ กรรมการ ๓๐. นายภาคินนท์ แกว้ ประภาค ครู โรงเรยี นสามเสนวิทยาลยั ส�ำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๑ กรรมการ ๓๑. นายณฏั ฐ์ชฎลิ มาอ่ินแก้ว ครู โรงเรยี นสามเสนวทิ ยาลยั ส�ำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑ กรรมการ ๓๒. นายปริญญา ประเทศ ครู โรงเรยี นสันตริ าษฎรว์ ิทยาลัย ส�ำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑ กรรมการ ๓๓. นายปราศรยั เจตสนั ต ์ิ ครู โรงเรยี นบางปะกอกวทิ ยาคม ส�ำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑ กรรมการ ๓๔. นายอลงกรณ์ อัศวโสวรรณ ครู โรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชปู ถมั ภ ์ กรรมการ สำ� นกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต ๑ ๓๕ นายณฎั ฐเมธร์ ดลุ คนติ ครู โรงเรียนราชวนิ ติ มธั ยม ส�ำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๑ กรรมการ ๓๖ นายพรพรรษ อมั พรพฤติ ครู โรงเรยี นวัดนวลนรดศิ สำ� นกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๑ กรรมการ ๓๗. นายนำ� โชค อ่นุ เวยี ง ครู โรงเรียนเตรยี มอุดมศึกษา ส�ำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต ๑ กรรมการ ๓๘. นางสาวจารุวรรณ ยิง่ ยงค ์ ครู โรงเรียนมธั ยมวดั สงิ ห์ ส�ำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต ๑ กรรมการ ๓๙. นางสาวปารฉิ ัตร พลสมบตั ิ ครู โรงเรยี นสายปญั ญา ในพระบรมราชินูปถมั ภ์ กรรมการ ส�ำนักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต ๑ ๔๐. นายอดิศักด์ิ จนั ทบัตร์ ครู โรงเรียนบดินทรเดชา (สงิ ห์ สงิ หเสน)ี นนทบรุ ี กรรมการ สำ� นักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๓ ๔๑. นายสเุ ทพ เอกปจั ชา ครู โรงเรียนศรียานสุ รณ์ สำ� นกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต ๑๗ กรรมการ ๔๒. นางสาวเพชรประภาร์ ชุมสาย ครู โรงเรียนศรียานุสรณ์ สำ� นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑๗ กรรมการ ๔๓. นางนวกานต์ มณีศรี ครู โรงเรยี นวัดเขาสะพายแรง้ กรรมการ ส�ำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒ ๔๔. นายอานนท์ สดี าพรม ครู ศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษประจ�ำจงั หวดั กำ� แพงเพชร กรรมการ ๔๕. นางสาวฤทยั รัตน์ มปี ัญญา พนักงานราชการ โรงเรยี นอุบลปญั ญานุกูล จังหวดั อบุ ลราชธานี กรรมการ ๔๖. นางวรรณี จนั ทรศริ ิ ผอู้ �ำนวยการกลมุ่ พฒั นาส่อื การเรียนร้ ู กรรมการและเลขานุการ 198
๔๗. นำงรตั นวภิ ำ ธรรมโชต ิ 199 นกั วิชำกำรศกึ ษำช�ำนำญกำรพิเศษ ๔๘. นำงฟำฏนิ ำ วงศ์เลขำ กรรมกำรและผชู้ ว่ ยเลขำนุกำร นักวิชำกำรศึกษำชำ� นำญกำรพิเศษ กรรมกำรและผ้ชู ่วยเลขำนุกำร ๔๙. นำงสำวสมควร เพียรพิทกั ษ์ กรรมกำรและผูช้ ่วยเลขำนกุ ำร นักวิชำกำรศึกษำชำ� นำญกำรพิเศษ กรรมกำรและผู้ช่วยเลขำนุกำร ๕๐. นำงสำวอรอร ฤทธิก์ ลำง กรรมกำรและผชู้ ่วยเลขำนุกำร นักวชิ ำกำรศกึ ษำชำ� นำญกำรพเิ ศษ กรรมกำรและผชู้ ่วยเลขำนุกำร ๕๑. นำงสำวอรณุ วรรณ ผ้ธู นดี กรรมกำรและผู้ชว่ ยเลขำนกุ ำร นักวชิ ำกำรศึกษำชำ� นำญกำรพเิ ศษ กรรมกำรและผ้ชู ่วยเลขำนุกำร ๕๒. นำงสำวเจตนำ พรมประดษิ ฐ ์ กรรมกำรและผชู้ ่วยเลขำนกุ ำร นกั วิชำกำรศึกษำช�ำนำญกำรพิเศษ กรรมกำรและผชู้ ่วยเลขำนกุ ำร ๕๓. นำงเกษศิรินทร ์ สวุ รรณสนุ ทร กรรมกำรและผชู้ ว่ ยเลขำนกุ ำร นกั วิชำกำรศึกษำช�ำนำญกำรพิเศษ กรรมกำรและผูช้ ่วยเลขำนุกำร ๕๔. นำงลตั ติยำ อมรสมำนกุล กรรมกำรและผชู้ ่วยเลขำนุกำร นักวชิ ำกำรศึกษำชำ� นำญกำรพเิ ศษ กรรมกำรและผู้ชว่ ยเลขำนุกำร ๕๕. นำงสำวอังคณำ ผวิ เกลีย้ ง นักวิชำกำรศึกษำช�ำนำญกำร ๕๖. นำงธนำภรณ ์ กอวฒั นำ นกั วิชำกำรศึกษำช�ำนำญกำร ๕๗. นำงสำวธนทัต ไชยำนนท ์ นกั วิชำกำรศึกษำปฏบิ ัตกิ ำร ๕๘. นำยวชริ ะ ชัยสนุ ทร นกั วชิ ำกำรศกึ ษำปฏบิ ตั ิกำร ๕๙. นำงรตั นำ สขุ สโุ ฉม เจำ้ พนักงำนธุรกำรชำ� นำญงำน ๖๐. นำงศรนิ ทร ตงั้ หลกั ชยั เจำ้ พนักงำนธรุ กำรชำ� นำญงำน ให้คณะกรรมกำรดังกล่ำว มีหน้ำที่สังเครำะห์เนื้อหำหนังสือเรียน จัดท�ำโครงสร้ำงเน้ือหำ ยกร่ำงต้นฉบับ ออกแบบภำพ Infographic จำกเนื้อหำ และก�ำหนดจุดท�ำภำพเสมือนจริง (AR : Augmented Reality) พร้อมรำยละเอียด รวมทั้งตรวจบรรณำธิกำรต้นฉบับหนังสือส่งเสริมประสิทธิภำพกำรเรียนรู้ วิชำภำษำไทย และวชิ ำสังคมศึกษำ ระดบั มธั ยมศึกษำตอนปลำย ท้งั น้ี ต้งั แตบ่ ัดนีเ้ ป็นต้นไป ส่ัง ณ วนั ที่ ๓ กรกฎำคม พ.ศ. ๒๕๖๐ (นำยบญุ รกั ษ ์ ยอดเพชร) รองเลขำธกิ ำร ปฎบิ ัตริ ำชกำรแทน เลขำธกิ ำรคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้นั พนื้ ฐำน
ผ้เู ขียนและบรรณาธิการ ผเู้ ขียน นางสาวพชั รี ลินิฐฎา นางพิศวาท น้อยมณี นางสาวพรม้ิ เพราวดี หันตรา นางสมสิริ โพธิพ์ ุ่ม นายสุเทพ เอกปลั ชา นางสาวปาริฉตั ร พลสมบัติ นายอดิศกั ดิ์ จันทปัตร์ นางสาวเพชรประภาร์ ชมุ สาย นางสาวอรอร ฤทธ์ิกลาง บรรณาธกิ าร นางสาวอรอร ฤทธ์กิ ลาง
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204