ภาษาไทย ๕๑ ประกาศอย่างเปน ทางการ ๑. ชอื่ หน่วยงาน ๒. เร่ืองที่ประกาศ ประกาศกรมอุตนุ ิยมวิทยา เร่ือง การเรม่ิ ตน้ ฤดูฝนของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๙ ฤดูฝนของประเทศไทยในปน้ีไดเริ่มข้ึนแลว เมื่อวันที่ ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เนื่องจากลมท่ีพัดปกคลุมประเทศไทยไดเปล่ียนเปนลมตะวันตกเฉียงใต ซึ่งพัดพาความช้ืน จากทะเลอันดามันเขามาปกคลุมประเทศไทยและอาวไทยตอเนื่อง สวนลมระดับบน ไดเปล่ียนเปนลมตะวันออกเฉียงเหนือและตะวันออกพัดปกคลุม ประกอบกับประเทศไทย มีฝนตกตอเน่ืองเกือบท่ัวไป อยางไรก็ตามในชวงตนฤดูการกระจายของฝนจะไมสมํ่าเสมอ โดยจะมีฝนเพิ่มข้ึนในระยะครึ่งหลังของฤดู และจะส้ินสุดฤดูฝนประมาณกลางเดือนตุลาคม แตในภาคใตโดยเฉพาะฝงตะวันออกจะยังคงมีฝนตกตอไปอีกถึงเดือนธันวาคม จึงขอประกาศ ใหประชาชนไดทราบทั่วกนั ประกาศ ณ วันท่ี ๒๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ (ลงชื่อ) วันชัย ศักดิอ์ ดุ มไชย (นายวนั ชัย ศักดอิ์ ุดมไชย) อธิบดกี รมอุตนุ ยิ มวทิ ยา ๓. เนือ้ ความทีป่ ระกาศมี ๒ สว่ น คอื ๔. วัน เดอื น ป ทป่ี ระกาศ ๕. ลงนามผูป้ ระกาศ - เหตุผลหรือความเปนมา - จุดประสงคสําคญั มรี ายละเอียด เง่อื นไขตางๆ ขน้ั ตอนในการปฏิบตั ิ
ใแบชลรภ้ ระายพษารยารอณธนิบาาย การอธิบาย การใชภ้ าษาท�าให้บุคคลอน่ื เกิดความเข้าใจ ๑ วิธีการอธบิ าย ช้แี จง ๓ ๔ ตามลา� ดบั ขั้นตอน เปรยี บเทียบ บอกสาเหตุ ๒ ความเหมอื น และผลลัพธ์ และความตา่ งกัน ท่สี ัมพันธก์ นั ใช้ตัวอยา่ ง ๕๒
ภาษาไทย ๕๓ การบรรยาย การเลา่ เร่อื งและกล่าวถึงเหตุการณ์ ทีต่ ่อเน่ืองกนั ว่าใคร ทา� อะไร ทไ่ี หน อย่างไร เพื่ออะไร ผลลพั ธท์ ต่ี ามมาคืออะไร การพรรณนา การแสดงรายละเอยี ดของสง่ิ ใดสิ่งหน่งึ ไมว่ า่ จะเปน บคุ คล วัตถุ สถานที่ โดยมุ่งให้ผูอ้ า่ นเห็นภาพอย่างแจม่ แจ้ง
ระดบั ภาษา การพูด ในโอกาสตา งๆ ภาษากับความคดิ
กาแรลฟะงกากราพรูดดู การพดู การพดู ในทปี่ ระชุมชน อภปิ ราย
ภาษากบั ความคดิ ความสมั พันธ ระหวา งภาษากับความคิด การคดิ กระบวนการทาํ งาน ของจติ ใจมนษุ ย ขณะทีพ่ ยายามหาคําตอบ หรือทางออกเก่ยี วกับ เรือ่ งใดเรื่องหน่งึ ๕๖
ภาษาไทย ๕๗ ความคดิ ผลของกระบวนการคดิ ภาษา เปน เครอื่ งมอื ของการคดิ ระเบยี บวธิ กี ารคดิ และแสดงความคดิ การแสดงทรรศนะ
ระเบยี บวธิ กี ารคดิ ๑ แยกแยะเพอ่ื ใหเ กิดความเขา ใจ เชงิ วิเคราะห ๒ รวมเขา ดวยกนั เพ่อื สรางสรรคส ิง่ ใหม เชงิ สงั เคราะห ๓ ใชด ุลพินิจตัดสนิ คุณคา เชิงประเมนิ คณุ คา ๕๘
ภาษาไทย ๕๙ การแกป ญหา ๑ สาเหตุ ประเภท เชงิ วเิ คราะห สภาพแวดลอ มของปญหา เพ่อื ใหเขาใจ ทางเลือก วถิ ที างเลือก ๒ วธิ กี ารในการแกป ญ หา เชิงสังเคราะห เพื่อหาทางแกป ญ หา ๓ ทางเลอื กในการแกป ญหา เชิงประเมิน วา ทางเลือกใดดที ่สี ดุ เพ่อื นาํ ไปใช คณุ คา
การฟง ความหมาย การรับรูความหมาย ของการฟง จากเสยี งทไี่ ดย ิน การฟง การฟงใหไดรับ ใหส มั ฤทธผิ์ ล ความสาํ เรจ็ ๖๐
ภาษาไทย ๖๑ ระดับขั้นของการฟงใหสมั ฤทธิ์ผล ขน๔้ั ท่ี สารนั้นมีคณุ คาหรือไมอยางไร ขัน้๓ท่ี นา เชอื่ ถอื หรือไม ข๒ัน้ ท่ี ความครบถว นแลว หรือไม ข๑ัน้ ท่ี จดุ ประสงคไ ดแกอะไร
กวาิจราฟรณงใญหเากณดิ การฟงโดยใชป ญญา ที่สามารถรูหรือใหเหตุผลท่ถี กู ตอ ง กระบวนการฟง การฟงอยางมีวิจารณญาณ ใหเ กิด วเิ คราะห ใครค รวญ วินิจฉยั ประเมนิ คา วิจารณญาณ ไดย ิน ไดอ าน รบั รู เขา ใจ ๖๒
ภาษาไทย ๖๓ แนวทางการพฒั นาวิจารณญาณ โดยการฟง สารประเภทตา งๆ ๑. สารใหความรู สารประเภทใหขอ เท็จจริง ขอ มูลขาวสารเปนความรู ๑ ๒ พจิ ารณาสารนน้ั ตัง้ ใจฟง ควรฟง หรอื ไม จบั ประเดน็ สําคญั ๓ ๔ ๕ แยกขอ เท็จจริง บนั ทกึ ประเมนิ คณุ คา ออกจากขอ คดิ เหน็ ประเดน็ สาํ คญั ประโยชนของสาร ๖ พจิ ารณาภาษา และกลวธิ นี ําเสนอ
๒. สารโนมนา วใจ สารประเภทดงึ ดดู ความสนใจ ใหผูฟง คลอ ยตาม ๑ ๒ สารดงึ ดูดความสนใจ สารสนองความตองการ ผูฟงเพียงใด ของผฟู งเพียงใด นา เชอื่ ถือหรือไม ๓ ๔ ๕ ผูพูดเสนอผลประโยชน สารนั้นเราใจผฟู ง ใชภาษาโนม นาวใจ และสนองความตอ งการ ใหเ ชื่อถือและ เราอารมณอ ยางไร ตองการใหผ ฟู ง อยา งไร ปฏบิ ัตอิ ยา งไร ๖๔
ภาษาไทย ๖๕ ๓. สารประเภทยกระดบั จิตใจ สารจรรโลงใจ ของมนษุ ยใ หส งู ขน้ึ ๑ ต้ังใจฟง ดวยความสบายใจ ๒ ๓ ทําความเขาใจ พิจารณาสารนน้ั เน้อื หาสาระสาํ คญั จรรโลงใจดานใด สมเหตุสมผลหรือไม ใชจ นิ ตนาการ ใหตรงตามจุดประสงค ของสาร ๔ พิจารณาวาใชภ าษา เหมาะสมกบั รูปแบบ เนอ้ื หา และผูรบั สาร หรอื ไม
เปน มนุษยส ุดนิยมเพียงลมปาก จะไดยากโหยหวิ เพราะชิวหา แมนพูดดมี คี นเขาเมตตา จะพดู จาพเิ คราะหใหเหมาะความ พระสุนทรโวหาร (ภ)ู ๖๖
ภาษาไทย ๖๗ การพดู มี ๒ ประเภท ๑. การพูดระหวา งบคุ คล ทกั ทายปราศรยั การแนะนําตนเอง การสนทนา ๒. การพดู ในกลุม การเลาเรอ่ื งราว การเลาเหตุการณ
การพูดระหวางบุคคล การทกั ทายปราศรัย การแนะนาํ ตนเอง การสนทนา การทักทายปราศรยั หนาตายิม้ แยม เรม่ิ ตน คําวา กิริยาอาการ แจมใส “สวสั ด”ี เหมาะสม “สบายดีหรอื คะ” ตามวฒั นธรรม ไมล วงล้าํ กา วกาย ไมทกั ทาย ไมถ าม เรอื่ งสว นตัว เร่ืองท่ที าํ ให เร่อื งเกีย่ วกบั ผอู ่นื ไมส บายใจ การเงนิ ๖๘
ภาษาไทย ๖๙ การแนะนาํ ตนเอง ขั้นท่ี ๑ การแนะนําตนเอง สนทนาส้นั ๆ ในทีส่ าธารณะ การปรารภลอยๆ ข้นั ท่ี ๒ สหี นาทาทาง แสดงความยินดี ข้ันท่ี ๓ ข้นั ท่ี ๔ แสดงความเปนมิตร แนะนําตัวเอง ชวยเหลอื หรือบรกิ าร บอกชอ่ื นามสกุล และสถาบนั ท่สี ังกดั นดั ลว งหนา ตรงตอ เวลา การแนะนําตนเอง แตงกายสภุ าพ ในการทําธรุ กจิ บอกชอื่ สกลุ และกจิ ธุระของตน
พูดเร่ือง การสนทนา พูดเรอ่ื ง ทมี่ ีความรู ท่ีเหมาะสม และความสนใจ พูดเร่ือง แกกาลเทศะ รว มกนั ที่เปน ปจ จุบนั ไมคุยโออวด หรือเปน ขา ว ความสามารถ ไมพูด ไมป รับทกุ ข ของตน เร่อื งสวนตวั ไมนินทา ของตนเอง เรียกรอง วา รา ยผอู น่ื หรอื ผอู ่ืน ความสนใจ ๗๐
ภาษาไทย ๗๑ การพดู ในกลุม ขนั้ ที่ ๕ การเลาเรือ่ งราว จําเร่อื งได เรยี งลําดับถกู ตอง ขัน้ ท่ี ๑ ข้นั ที่ ๓ ขนั้ ที่ ๔ ขั้นที่ ๖ เลา เนอ้ื หาและ น้าํ เสียงชัดเจน ใชกริ ิยาทา ทาง ประเดน็ สาํ คัญๆ มีทว งทํานอง ประกอบทเ่ี หมาะสม สรุปใหขอคิด ทิง้ ทา ยใหคิด ขนั้ ท่ี ๒ ใชภาษาเขาใจงา ย ประโยคสั้นๆ
การเลา เหตุการณ ขนั้ ที่ ๑ ขน้ั ที่ ๓ ขนั้ ที่ ๘ แสดงเหตผุ ล ขั้นที่ ๒ กลาวถงึ บคุ คลทสี่ ําคัญ ในการเลาเหตกุ ารณ ในเหตกุ ารณน น้ั แสดงขอ คิดเพม่ิ เตมิ ระบุวนั เวลา ขัน้ ที่ ๔ ตามควร สถานทเี่ กิดเหตกุ ารณ ข้ันที่ ๗ ขน้ั ท่ี ๕ เลาเหตกุ ารณ ตามลาํ ดับท่ีเกดิ สหี นา ทา ทาง กิรยิ า ใชถ อ ยคาํ และสํานวน ประกอบเปนธรรมชาติ ขนั้ ท่ี ๖ ทท่ี าํ ใหเ กดิ จนิ ตนาการ นา้ํ เสยี งแจม ใส มีทว งทาํ นองและลลี า ๗๒
การพูดใหส ัมฤทธ์ิผล ภาษาไทย ๗๓ เลือกเร่ืองราวท่เี หมาะสม ขั้นที่ ๑ คํานงึ ถงึ วัย พ้นื ความรู ประสบการณ ใหเ กียรติผูฟง ดวยวาจาสภุ าพ ทวงที ทาทางออนโยน ขัน้ ที่ ๔ ข้ันที่ ๒ สรา งศรทั ธาดวยผูพดู เปนผูรูจ ริง ไวใ จได มเี จตนาดี ข้ันท่ี ๓ ใชภ าษาแจมแจง ชดั เจน ลําดับความเขาใจงา ย
การพดู ในโอกาสตางๆ ประเภทของการพูด แบงตาม แบง ตาม วธิ ีนาํ เสนอ ความมงุ หมาย ๑ ๑ ๒ การพูด การพูด การพูด โดยฉบั พลัน เพอ่ื ใหความรู เพือ่ โนมนาวใจ หรือขอเทจ็ จรงิ ๒ ๓ ๓ การพดู การพดู ๔ โดยอาศัยตน รา ง เพือ่ จรรโลงใจ การพดู โดยทองจาํ ๔ การพูด เพ่อื คน หาคาํ ตอบ การพูด โดยอา นจากรา ง ๗๔
ภาษาไทย ๗๕ แบง ตาม เนอ้ื หาท่พี ูด ๑ แบง ตาม โอกาส การพดู เก่ยี วกับ นโยบาย ๒ ๑ ๒ ๓ การพูดเก่ยี วกบั การพูด การพดู ขอเท็จจริง อยา งเปนทางการ ก่ึงทางการ การพูดเก่ียวกับ ๓ คุณคาและ การพดู คณุ งามความดี อยางไมเ ปน แบงตาม ทางการ รปู แบบ ๑ ๒ การบรรยาย การอภปิ ราย ๓ การโตว าที
หลกั การพูดในที่ประชุมชน ๑ ๒ กําหนดจุดมุงหมาย วิเคราะหผฟู ง ๓ กําหนดขอบเขต ๕ ๖ ๔ ทาํ เคา โครงเรื่อง เตรยี มวธิ ีใชภ าษา รวบรวมเนอ้ื หา ๗ ซักซอ ม ๗๖
ภาษาไทย ๗๗ รวบรวมความคดิ รดู ี รจู รงิ ๒ มีคณุ ธรรม ๓ เขา ใจคน ๖เปน ระบบ ๑ ๕ใชว จั นภาษา วัย พน้ื ความรู คณุ สมบตั ิ และอวจั นภาษา ผพู ดู ท่ีดี ใหม ีประสทิ ธภิ าพ ๔ มีเหตุผล เชือ่ ถือได
ประเมนิ พฤติกรรมการพดู ๑ ผพู ูด จุดมงุ หมาย ๒ การเตรยี มตัว ๓ ๔ วธิ ีการนาํ เสนอ คุณธรรม ๕ การใชภาษา วัจนภาษา อวจั นภาษา ๗๘
ภาษาไทย ๗๙ สาร ๑ เน้ือหา ๒ ปรมิ าณ ๓ การจดั ลําดบั ผูฟ ง ปฏกิ ริ ิยา การตอบสนอง
การพดู อภิปราย การพดู เพอ่ื แสดงความคดิ เห็นและแลกเปลย่ี นความรู ทรรศนะเกย่ี วกบั เร่อื งใดเรื่องหนึง่ จุดมุงหมายของการพดู อภปิ ราย แลกเปล่ยี นความรู ความคิด ๑ และประสบการณก ัน ๒ หาขอ สรปุ ขอเทจ็ จริง เปนการเผยแพรองคความรู ๓ เปด โอกาสใหบุคคลตา งๆ ๔ ผอู ภปิ รายและผรู วมอภิปราย ไดแสดงออกเหตุผล เขาใจหลักปฏิบัตติ นรว มกัน ตามสิทธิมนุษยชนและประชาธปิ ไตย ๕ ๘๐
ภาษาไทย ๘๑ ประเภทของการพูดอภปิ ราย ๑ การอภปิ รายในกลมุ ๒ การอภปิ รายในที่ประชุม - การอภปิ รายเปนคณะ - การอภิปรายซมิ โพเซยี ม - การอภปิ รายซกั ถาม
บทบาทหนา ที่ ของผูดาํ เนินการอภปิ ราย ประสานงานกบั ๑ คณะผูอภปิ รายกอ นลวงหนา ๒ เตรียมศกึ ษาหาความรหู วั ขอ ท่ีจะอภปิ ราย เร่ิมตนการอภิปราย ๓ โดยกลาวทักทายผฟู ง ๔ กลา วแนะนาํ คณะผูอภปิ รายตามลาํ ดับ กลา วเชญิ คณะผอู ภิปราย ๕ พรอ มท้งั สรปุ ประเดน็ สาํ คัญ ๖ กลาวสรุปสาระสาํ คญั ท้ังหมด เชิญผูฟงการอภิปรายซักถาม ๗ และแสดงความคดิ เหน็ รว มกนั ๘ สรปุ สาระสําคญั ขอเสนอแนะ แนวทางการแกป ญหา แลวกลาวเปด อภปิ ราย ๘๒
ภาษาไทย ๘๓ บทบาทหนาทข่ี องผูอ ภิปราย ๑ เขา ใจเน้อื เร่ืองที่จะพูด เปนอยางดี เตรียมสือ่ อุปกรณท ี่ใช ๒ ประกอบการพูดใหพรอม ๓ ประชุมปรกึ ษากบั คณะผอู ภิปราย ๔ อภปิ รายในประเดน็ แบงหัวขอตามความถนดั ไมนอกเรื่อง รักษาเวลาในการพูด ๕ ใชภาษาพูดท่กี ะทัดรดั ชดั เจน ๖ อยางเครงครัด ๗ รักษามารยาทในการพดู ๘ ผูอภปิ รายเปดโอกาส ใหผอู ่ืนพดู บา ง เพม่ิ เตมิ เนือ้ หาบางตอน ๙ ๑๐คารวะผูฟ ง ทักทาย หากยงั ไมสมบูรณครบถว น เมอ่ื ผูดําเนนิ การอภปิ ราย แนะนาํ ตัว
ความคิดเหน็ การแสดงทรรศนะ ทีป่ ระกอบดว ยเหตผุ ล โครงสราง ทม่ี าเหตุผล ขอ สนบั สนุน ขอ เทจ็ จริงหลกั การ สวนทีเ่ ปนเรอื่ งราว สาเหตทุ ่ที ําใหเ กิด เพอื่ ประกอบกนั เปน เหตผุ ล การแสดงทรรศนะ เสริมสนับสนนุ ทีม่ า ขอ สรปุ ผล สว นทเ่ี ปน ผลจากทม่ี า อนั เปน ขอสรุปสุดทา ย หรือเกิดจากการประเมินคา ประเภทของทรรศนะ ๘๔
ภาษาไทย ๘๕ ประเภทของทรรศนะ ขอเทจ็ จริง เร่ืองที่เกิดข้ึนแลว เปน ความจริง คุณคา มกี ารตัดสินดี ไมดี มปี ระโยชน นโยบาย เสนอแนะวา ควรทาํ อยางไรในอนาคต
การโนมนา วใจ มงุ ใหผูรับสารเปลีย่ นความเชอ่ื ทัศนคติ พฤตกิ รรมตามทผ่ี ูสง สารตอ งการ ๖ ๖ กลวธิ ี ๑ เรา ใหเกิดอารมณ การโนม นา วใจ อยางแรงกลา แสดงความนาเชื่อถอื สรางความหรรษา แสดงความหนกั แนน ๕ ๒ของเหตุผล แสดงทางเลอื กทัง้ ดานดี แสดงใหประจักษถงึ ความรูสึก และดา นเสยี หรืออารมณร ว มกนั ๔ ๓ ๘๖
ภาษาไทย ๘๗ สารโนม นา วใจ คําเชิญชวน บอกจดุ ชี้ประโยชน ประสงค แกส วนรวม บอกวธิ ี ปฏบิ ัติ รูเทาทัน จบั จุดออน เน้ือหาความดี สาระสน้ั ๆ โฆษณาสนิ คา ดว ยการ วิเศษของ รับรฉู ับพลัน หรือบริการ วิเคราะห กลุม เปา หมาย คณุ ภาพสนิ คา แตฉาบฉวย ปรากฏซา้ํ ๆ หรอื บริการ สว นนํา สะดุดใจ โฆษณา ชวนเชอื่ ตราช่ือ
หนว ยในภาษา หลักภาษา การเพ่ิมคาํ พยางค
หลักการใชภ้ าษาไทย วลี สํานวนไทย การใช คําราชาศพั ท ประโยค คํา
ภาษาในการสอ่ื สาร วจั นภาษา ภาษาทีใ่ ชเ้ สยี งพูด ในการส่อื สาร รวมถึงตวั อักษร ทใี่ ชถ้ ่ายเสียง 0:00/2:56 90
ภาษาไทย 91 ภาษาทีไ่ ม่ใช่ถ้อยค�า ในการสอ่ื สาร ไดแ้ ก่ กริ ยิ า ทา่ ทาง สหี นา้ สายตา อวจั นภาษา น�้าเสียง สญั ญาณ สญั ลักษณ์ การสัมผัส ภาษาวตั ถุ ฯลฯ เน้อื หำที่สำมำรถเปดแอปพลเิ คชนั ดไู ด้
หน่วยในภาษา เรื่องราว หน่วยเสียง ประโยค พยางค์ ก(ลว่มุ ลคี)า� คา� 92
ภาษาไทย 9๓ หน่วยเสียง หนว่ ยเสยี งสระ หน่วยเสยี งวรรณยกุ ต์ หนว่ ยเสียงพยัญชนะ
หนว่ ยเสยี งสระ หน่วยเสียงสระเด่ียว (สระแท้) ๑ อิ - อี ลิน้ สว่ นหน้า อิ - อี ๑ เอะ - เอ เอะ - เอ ๑ แอะ - แอ แอะ - แอ อึ - อือ ๒ ลิน้ ส่วนกลาง อึ - อือ เออะ - เออ ๒ เออะ - เออ อะ - อา อะ - อา ๒ 9๔
ภาษาไทย 95 ๓ อุ - อู ลิน้ สว่ นหลงั อุ - อู ๓ โอะ - โอ โอะ - โอ ๓ เอาะ - ออ เอาะ - ออ สระเลือ่ น (สระประสม) /ia/ / a/ อี อา เอยี /เอยี ะ/ /ua / อือ อา เอือ/เอือะ/ อู อา อัว/อวั ะ/
หน่วยเสยี งพยญั ชนะ (เสยี งแปร) พยัญชนะเดย่ี ว (๒๑ เสียง) /kก/ /kคh/ /ง/ /cจ/ /cชh/ //ซs// //dด// //ตt // //tทh// //nน// //บb// //pป/ //pพh// //ฟf// //mม// //ยj // //รr// //ลl // //wว// //อ// //hฮ// 96
ภาษาไทย 9๗ หน่วยเสียงพยญั ชนะประสม (๑๑ เสียง) //ปpฺรr// //ปpลฺl // //ตtrรฺ // //กkฺรr// //กkลฺl // //kกwวฺ // //kคhลฺ l// //kคhรฺ r// //kคhฺวw// //pพhฺรr// //pพhลฺ l// ปจจบุ ันมคี า� ยืมจากภาษาอังกฤษ ท�าใหม้ กี ารออกเสยี งพยญั ชนะควบกลา�้ เพิ่มขึ้น //บbฺรr// //บbฺลl// //ดdฺรr// //tทhรฺ r// //ฟflฺล// //ฟfrรฺ // //ซsตtlลฺ //
หน่วยเสียงตัวสะกด บปพภฟ จฑดฒตชถซทศธ ษฎ สฏ เสียงตวั สะกด ๙ เสียง กขคฆ ป /p/ ม ต /t / นณญรลฬ ก /k / ง ม /m/ ย น /n/ ว ง // ย /j / พยางค์ทปี่ ระสมสระเสียงสน้ั ไมม่ ีตวั สะกด ว /w/ อ // 9๘
พยางค์ มคี วามหมาย ภาษาไทย 99 ไมม่ ีความหมาย กล่มุ เสียงท่เี ปลง่ พยางค์ / คำ� ออกมาครง้ั หน่ึง พยางค์ ลกั ษณะพยางค์ พยางคเ์ ปิด พยางค์ทไี่ มม่ ีตวั สะกด เชน่ ปา เสยี พยางคป์ ิด พยางค์ที่มตี ัวสะกด เชน่ ปาก เสยี ง
ส่วนประกอบของพยางค์ ประสม ๓ ส่วน พยัญชนะ + สระ + วรรณยกุ ต์ เชน่ กา สู ประสม ๔ สว่ น พยัญชนะ + สระ + วรรณยกุ ต์ + ตัวสะกด เช่น การ สรู ประสม ๔ สว่ นพิเศษ พยญั ชนะ + สระ + วรรณยกุ ต์ + การนั ต์ เช่น การ์ สูร์ ประสม ๕ ส่วน พยัญชนะ + สระ + วรรณยกุ ต์ + ตัวสะกด + การนั ต์ เช่น การณ์ สรู ย์ 100
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204