ตอนท่ี 3 ลักษณะ/พฤตกิ รรม การปฏิบตั ิตน.....103 ในช่วงชีวิตของวัยเรียนและวัยทางาน ของฉันต่างกันมาก ในวัยเรียนฉัน อาจจะไม่ต้องคิดอะไรมาก แต่ในวัย ทางานฉันต้องคิดเสมอว่าฉันจะทา อะไรต่อไป ทกุ เวลามีค่ามากสาหรบั ฉัน มาก การที่ฉันได้ออกมาเผชิญกับโลก ภายนอกท่ีมีผู้คนมากหน้าหลายตา หลากหลายความคิด หลากหลาย รูปแบบ ฉันอาจจะเจอคนท่ีจริงใจและ ไม่จริงใจ คนที่ดีและคนไมด่ ี แต่สิ่งท่ีทาให้ฉันสามารถต่อสู้กับโลกภายนอกได้ ก็คงเป็นส่ิงที่ฉันได้รับจากบ้านที่อบอุ่น “โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๓ จงั หวดั ลพบรุ ี” ทีม่ ีพอ่ ครแู ม่ครูคอยพรา่ สอนและใหข้ อ้ คิดกับ ฉันเสมอ แต่บุคคลที่คอยสอนฉันเสมอ ซ่ึงเป็นคาสอนที่ไม่มีในตาราเรียน คือ “คุณครู พนิดา น้อยศรี” หรือ ”แม่ดา” ที่คอยพร่าสอนจากประสบการณ์ชีวิตจริง ท่ีท่านเคยได้ผ่าน หรอื สมั ผัสมากอ่ น ซ่งึ มีเป็นรอ้ ยคาสอน อย่างเช่น การอยู่ร่วมกบั ผู้อื่นอย่างมีความสุข บางท่ฉี ันคดิ ว่าเป็นเร่ืองเล็กน้อยธรรมดา แต่ แท้จริงแล้วไม่ใช่ ในชีวิตการทางานเราไม่ สามารถท่ีจะอยู่คนเดียวได้ โดยไม่ปรึกษา หรือสนใจคนอื่น เพราะเราต้องทางานกัน เป็นระบบ ความอดทน ฉันตอ้ งทางานบริการผอู้ ่นื ฉันจงึ ตอ้ งใช้ ความ อดทน เปน็ อยา่ งมาก ซ่งึ งานทีฉ่ นั ทาเป็นงาน ที่ต้องทางานร่วมกับผู้ใหญ่ และต้องเจอกับ แขกที่เป็นชาวต่างชาติ มีชาติตระกูล เราจึง ต้องอดทน บริการให้ดีที่สุด ซ่ึงเร่ืองของ ความอดทน เป็นสงิ่ ที่สาคญั มากสาหรบั งาน
ตอนที่ 3 ลักษณะ/พฤตกิ รรม การปฏบิ ัติตน.....104 ความอ่อนน้อมถ่อมตน เปน็ เสนห่ ์อกี อย่างสาหรับงานท่ฉี ันทา เพราะ การท่ีเราวางตัวให้อ่อนน้อมผู้อ่ืนท่ีเราต้อง พึง่ พาอาศัย เพ่ือการถ่ายทอดวิชาความรู้ สิ่ง นี้จะเป็นส่ิงสาคัญมากอีกอย่างหน่ึงที่เราจะ ได้รับความรัก ความเอ็นดูจากผู้ใหญ่ เพราะ การที่ไปแสดงตนเหนือเขา ไปอวดความเด่น ไม่เจียมเน้ือเจียมตัว เราอาจจะไม่ได้รับ ความรใู้ นสง่ิ ทเ่ี ราไมร่ ู้กไ็ ด้ หลายคาสอนท่ี “แม่ดา” ไดท้ าให้ฉันคดิ วา่ ทุกคาสอนที่ ”แมด่ า” ได้พูดพรา่ สอนมาน้ัน สามารถใช้ไดจ้ ริงๆ ออ่ นโยนแตไ่ มอ่ ่อนแอ เข้มแขง็ แตไ่ ม่แขง็ กระด้าง เราควรอ่อนโยนแต่อย่าให้ถึงกับว่าเรา อ่อนแอ แล้วเราก็ควรท่ีจะเข็มแข็ง แต่อย่า แข็งกระด้างเกินไป ทุกส่ิงทุกอย่างท่ีเราทา ไม่ว่าเราจะพูด หรือแสดงออกด้วยการ กระทาของเรา ล้วนแตม่ ีผลทั้งนั้น คาพดู สามารถฆา่ คนได้ บางทีคาพูดของเราที่เราอาจพูดที่พูดออกไป ด้วยอารมณ์ ความคึกคะนองแต่แล้วคาพูดท่ี พูดออกไปทาร้ายความรู้สึกดีๆของอีกฝ่าย มันอาจจะทาให้เขาฟังแล้วความรู้สึกดีๆ หายไปก็ได้ การท่เี ราทางานร่วมกนั เราควรท่ี จะคิดให้ดีก่อนพูด เพราะเราต้องเจอหน้ากัน ทกุ วัน
ตอนที่ 3 ลักษณะ/พฤตกิ รรม การปฏิบตั ติ น.....105 คาว่า ขอโทษ/ขอบคุณ บางคร้ังการท่ีเรามีปัญหาถ้าเราพูดคาว่า ขอโทษ ก็อาจจะทาให้ทุกอย่างดีขึน้ ถึงแม้ว่า เราจะไมใช่คนผิดก็ตาม ทกุ คาสอนของ “ครูดา” ตั้งแต่ฉันออกจากรั้ว บา้ นท่แี สบอบอุ่น ได้มาทางานฉันกย็ ังนึกถงึ คาสอนของครู เสมอ ถึงแม้ว่าเม่ือก่อนฉันอาจจะไม่ใส่ใจเท่าไร คาสอนท่ีฉันมาทางานในกรุงเทพ ฉันต้อง เตือนตัวเองอยูเ่ สมอดว้ ยคาสอนของครู ลมื อะไรก็ลมื ได้ แต่อยา่ ลมื ตวั เสยี อะไรก็เสยี ได้ แตอ่ ย่าเสยี คน ผดิ อะไรกผ็ ดิ ได้ แตอ่ ย่าผดิ ศลี ธรรม เพราะกรุงเทพมีสิ่งที่ชักจูงใจเราง่ายมาก เราจึงต้องคิดเตือนสติตัวเองอยู่เสมอ อย่าคิดไป อยากรู้ อยากลอง เพราะส่ิงสาคัญที่ฉันบอกกับตัวเองเสมอว่าจุดประสงค์ของฉันคืออะไร จุดประสงค์ของฉันคือมาเรียนหนังสือ และมาทางาน สิ่งน้ีจึงทาให้ฉันคิดว่าคาสอนนั้นมี ประโยชน์กับฉันมาก
ตอนที่ 3 ลกั ษณะ/พฤติกรรม การปฏิบัตติ น.....106 บ้านทแ่ี สนอบอุน่ ที่มีพ่อครแู ละแม่ครู ที่เต็มไปดว้ ยความรัก ให้โอกาสดๆี กับฉัน ทาให้ฉันได้มี อนาคตท่ดี ี ทาให้ฉันมีสง่ิ หนึ่งท่ฉี ันไมส่ ามารถทีจ่ ะลืม.... ที่ฉันได้ถูกพร่าสอนมาเปน็ อบั ดบั แรกที่ ฉันจาความได้ ก็คือ ความกตัญญู บ้านหลังน้ีมีบุญคุณกับฉันมาก ให้ทุกส่ิงท่ีฉันไม่เคยมี ไม่เคยได้รับจากท่ีไหน สอนให้ฉันเป็นคนดี ให้ฉันรักษาโอกาสที่มี ได้มีโอกาสเรียน มีท่ีอยู่ อาศัย ถึงแม้ว่าฉันจะจบการศึกษาออกมาจากบ้านหลังนั้นแล้ว แต่ฉันก็ไม่เคยลืม และฉันก็คิด ว่าฉนั จะกลบั มาตอบแทนเสมอ ฉันขอขอบคณุ บา้ นหลังนี้ “โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๓ ลพบุรี” “แม่พนดิ า น้อยศรี” ทไี่ ด้ให้คาสอนในการใช้ชีวติ ทีไ่ ด้เลี้ยง ดู อบรม มอบโอกาสให้กับฉัน ทาใหฉ้ ันมที ุก วนั น้ี มีโอกาสได้เรียนต่อระดบั ปรญิ ญาตรี มี การงานทดี่ ี และใหแ้ ง่คดิ คตเิ ตอื นใจฉนั เสมอ ไมท่ าใหฉ้ ันเดินทางผิด สดุ ทา้ ยนส้ี ง่ิ ทฉ่ี นั ไดร้ บั คาสอนจากครู คงไมม่ คี วามหมาย และฉนั คงไมเ่ ชอื่ คาสอนนนั้ ถา้ ผสู้ อนไมส่ ามารถทาใหฉ้ นั ไดเ้ หน็ ได้ ฉันเช่ือคาสอนของครูดา เพราะทุกคา สอน ครไู ด้ปฏบิ ตั จิ ริงทาจริง จนทาใหฉ้ นั เชอื่ และนาเปน็ แบบอยา่ งในการใช้ ชวี ติ ทาใหท้ กุ วนั นขี้ องฉนั เปน็ วนั ทม่ี คี ณุ คา่ ขอบคณุ ...ทท่ี าใหฉ้ นั ไดพ้ บตน้ แบบ ทดี่ ที ที่ าให้ ชวี ติ ฉนั ไดห้ ลดุ พน้ จากคาวา่ ดอ้ ยโอกาส ขอบคณุ แมด่ า... ตน้ แบบแหง่ ชวี ติ ของลกู คนนี้
ตอนที่ 3 ลักษณะ/พฤตกิ รรม การปฏบิ ตั ิตน.....103 ขา้ พเจา้ เอาใจใส่ ถา่ ยทอดความรู้ หรอื ส่งเสรมิ การแสวงหาความรูโ้ ดยไม่บดิ เบอื น ปิดบงั หวังสงิ่ ตอบแทน ต้ังใจปฏิบัติหน้าท่ีการสอนอย่างเต็มความสามารถ เต็มเวลา ตามหลักสูตร โดยมา ปฏิบัติงานก่อนเวลาและกลับหลังเวลางาน จัดการวางแผนปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ จัดทา การวิเคราะห์ผู้เรียน เพื่อเป็นแนวทางในการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ เพ่ือส่งเสริมให้ นกั เรียนเกิดการเรียนรู้จากหลายสถานการณ์ หลากหลายวธิ กี าร เรียนรู้ตามความแตกต่างของ ผู้เรียน ให้นักเรียนเกิดทักษะการเรียนรู้ ทักษะประสบการณ์ ทักษะการแก้ปัญหา ตาม ความสามารถและเสรมิ สร้างคุณลกั ษณะนิสยั ที่ดงี ามทด่ี งี ามใหแ้ กศ่ ิษยไ์ ปพร้อมๆ กัน นอกจากน้ีจัดกิจกรรมเพื่อเสริมทักษะด้านอาชีพ ทักษะชีวิต ให้แก่นักเรียนเพื่อนาไปใช้ ในชวี ิต มกี ารซอ่ มเสริมให้กบั นักเรียนทีม่ ีปัญหาด้านการเรียนรู้ ดา้ นวชิ าการ สง่ เสรมิ ใหน้ กั เรยี นเรียนร้นู อกตาราเรยี นในช่วง หลังเวลาเรียน หรอื ชว่ งวนั หยดุ ดา้ นวชิ าชพี ถา่ ยทอดความรเู้ กีย่ วกบั การทาขนมเพื่อสรา้ ง รายไดใ้ หน้ กั เรียน ดา้ นวชิ าชวี ติ ใหก้ ารอบรมนักเรยี นเป็นประจา
ตอนที่ 3 ลกั ษณะ/พฤตกิ รรม การปฏิบัตติ น.....108 ข้าพเจ้าถ่ายทอดความส่ิงดีงามให้แก่ศิษย์เสมอ โดยการหาตัวอย่างชีวิตบุคคลที่ได้รับ การยอมรับ ไดร้ ับการยกย่อง หรอื บทความเกย่ี วกับการสชู้ วี ิต การพัฒนาตนเองให้เป็นคนที่มี คณุ ค่า คาคม หรือคากลอน โดยนามาจัดบอรด์ ไวห้ น้าหอ้ ง ก็เข้าเรียนนกั เรียนต้องมาอ่านคาคม แล้วนามาถ่ายทอดความคิดท่ีได้จากการอ่าน เพื่อที่ข้าพเจ้าจะได้ทราบความคิดของนักเรียน และเสรมิ ความเขา้ ใจใหด้ ีย่ิงขึ้น ข้าพเจ้าจะสอนนักเรยี นเสมอ อยากได้ต้องทาเอง หา้ มรอ้ งขอ ใหพ้ ยายามทาก่อน เด็กๆ อยากกินข้าวนอกโรงเรียนบ้าง ข้าพเจ้าเลยให้รายได้เองเพื่อเป็นค่าอาหารเอง ห้ามขอจาก ผู้ปกครองโดยเด็ดขาด จุดประสงค์เพื่อให้เรียนรู้คุณค่าของเงิน และให้นักเรียนเกิดความ พยายามทาด้วยตวั ของตวั เอง ฝกึ ใหค้ ิดการใชช้ วี ติ ดว้ ยตัวเอง
ตอนท่ี 3 ลกั ษณะ/พฤติกรรม การปฏบิ ตั ิตน.....109 สง่ิ ที่ไดเ้ รยี นรจู้ ากกจิ กรรม....คณุ คา่ ของเงนิ ได้รู้คุณคา่ ของ \"เงิน\" เพราะกวา่ พวกเราจะไดเ้ งินเหลา่ นี้มา พวกเราก็ลาบากพยายามท่ี จะทามาโดยตลอด โดยการทาขนมสง่ โรงครวั บางคืนก็นอนดึกและตอ้ งตืน่ แต่เช้าเพอ่ื จะมาทา ตอ่ ตอ้ งยอมรบั วา่ เหน่ือย แต่ก็ไมเ่ คยเป็นอปุ สรรคในการทาคะ เพราะอยา่ งทคี่ รูดาบอกและสอนว่าทุกอย่างที่ครูให้คือการเรียนรู้ มันเป็นความ จริงที่อยู่นอกเหนือตาราเรียน ซึ่งมันมีโอกาสน้อยมากที่เราจะได้เรียนรู้เก่ียวกับสิ่งนี้ หนูดีใจนะคะที่ ครดู า พยายามสอนให้พวกหนเู รียนรทู้ กุ อย่าง อย่างครั้งน้ีก็ได้เรียนรู้ว่าเมื่อเราทางานเราก็ควรได้กินฟรีใครทาน้อยก็ออกเงินตาม ความเหมาะสม ใครไม่ทาเลยก็ออกมากกว่าทุกคนสิ่งที่ครูแนะนาและทามาถือเป็นวิชาท่ีได้ เรยี นร้เู ก่ียวกับความยตุ ิธรรมท่สี ดุ แล้วคะ เพราะอยา่ งท่ีครบู อกเมอื่ เราออกไปสู่สงั คม ไมม่ อี ะไรท่ฟี รี ทกุ อย่างเราต้องดน้ิ รน หาเองทุกอย่าง เพราะสงั คมภายนอกไมไ่ ด้ดีและสวยงามอย่างทเี่ ราคิดค่ะ
ตอนท่ี 3 ลกั ษณะ/พฤติกรรม การปฏบิ ัติตน.....110 ในการท่ีจะเป็นครูเร่ืองข้าพเจ้าให้ความสาคัญคือเรื่องการให้ความรู้แก่ศิษย์ ซึ่งครูต้อง เต็มรู้ คือ มีความรู้บริบูรณ์ อาชีพครูเป็นอาชีพท่ีต้องถ่ายทอด อธิบายให้ความรู้แก่คน ดังน้ัน ข้าพเจ้าจะต้องเป็นผู้ท่ีทาให้ตนเองนั้นบริบูรณ์ หรือเต็มไปด้วยความรู้ ประกอบด้วยความรู้ 3 ประการ คอื 1. ความรดู้ ้านวิชาการและวชิ าชพี ขา้ พเจ้าจะเสาะแสวงหาความรู้ ไม่ว่าจะเป็นการอา่ น ฟัง เข้ารับการอบรม พูดคุยกับผู้รู้ ศึกษาค้นคว้าจาก Internet เพ่ือนาประสบการณ์ใหม่ ๆ มาถ่ายทอดให้นักเรียนได้เกิดความรู้ที่ ทันสมัย ไมว่ ่าจะเปน็ ความรู้ดา้ นวิชาการทตี่ ้องนาไปสอนในห้องเรียน หรือวชิ าชีพทีเ่ ป็นกจิ กรรม เสรมิ เพ่ือใหน้ ักเรยี นเกิดทักษะเพื่อนาไปเปน็ อาชีพต่อไป 2. ความรเู้ รอ่ื งโลก ข้าพเจ้าจะติดตามข่าวสารไม่ว่าจะเป็นข่าวภายใน ภายนอกประเทศ เร่ืองราวท่ีเกิดข้ึน ในชวี ติ ประจาวัน เพือ่ สามารถอธบิ ายบอกเลา่ ถา่ ยทอด ทศั นคติ ความเช่ือ วัฒนธรรม ประเพณี ที่ดีงามของชาติ ของสังคมไปสู่ศิษย์ ครูจะศึกษาเพื่อเข้าใจชีวิตอย่างเพียงพอท่ีจะให้คาแนะนา คาสั่งสอน เพ่ือให้ศิษย์ได้ดาเนินชีวิตท่ีดีในอนาคตได้ ดังน้ัน นอกเหนือจากตาราวิชาการ ข้าพเจา้ จะแสวงหาความรรู้ อบตัวด้านอืน่ ๆ ให้บริบรู ณ์โดยเฉพาะความเป็นไปของสงั คมปจั จบุ ัน การพฒั นาตนเอง หลกั การใชช้ วี ติ ที่ดี 3. ความรู้เรอื่ งธรรมะ ข้าพเจ้าใช้หลักธรรมคาสอนของศาสนา คาสอนของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว คา สอนของพอ่ แม่ ครู อาจารย์ รวมทั้งบคุ คลท่ีประพฤตดิ ี ปฏบิ ัติชอบ เป็นเครอ่ื งยึดเหน่ยี วในการ ดาเนินชีวิต และจิตวิญญาณทางความคิด เพื่อที่จะนาไปอบรมสั่งสอนให้ศิษย์มีความคิดท่ีดี ท่ี ถูกต้อง นาไปส่กู ารมีความประพฤติดี ที่
ตอนที่ 3 ลกั ษณะ/พฤตกิ รรม การปฏบิ ตั ิตน.....111
ตอนที่ 3 ลักษณะ/พฤตกิ รรม การปฏบิ ัตติ น.....112 แสวงหาความร้ดู า้ นความร้วู ิชาการ
ตอนท่ี 3 ลักษณะ/พฤตกิ รรม การปฏบิ ัตติ น.....113 แสวงหาความรู้ดา้ นวิชาชพี ในการพฒั นาอาชพี นกั เรยี น
ตอนที่ 3 ลกั ษณะ/พฤติกรรม การปฏิบัตติ น.....114 แสวงหาความรู้ดา้ นธรรม
ตอนท่ี 3 ลกั ษณะ/พฤติกรรม การปฏบิ ตั ติ น.....115 ข้าพเจ้าจะเตรียมการสอน ส่ิงแรกคือการเตรียมแผนการสอนซ่ึงเป็นหัวใจหลัก ในการจดั สภาพการเรยี นรู้ การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนเพราะการเตรยี มการสอนลว่ งหนา้ ทาให้เราทราบข้อมลู เนอ้ื หาและมีเวลาที่จะจัดส่ือหรอื นวตั กรรมประกอบการสอนเพ่ือให้ผ้เู รียน เข้าใจและสามารถนาไปประยุกตใ์ ชไ้ ด้จริง โรงเรียนแบบประจาเรียกได้ว่าต้องมีการดูแลนักเรียนตลอด 24 ช่ัวโมง ดังนี้ ภาระงานของครูโรงเรียนประจาจึงมีมากกว่าครูโรงเรียนประเภทไปกลับ ในการน้ีภาระงานที่ ข้าพเจ้าได้รับมอบหมายไม่เป็นปัญหาหรืออุปสรรคต่อการจั ดกิจกรรมการเรียนการสอนแต่ อย่างใดข้าพเจ้าอาศัยเวลาในช่วงกลางคืนหลังเสร็จภาระกิจแล้วใช้ในการเตรียมแผนการสอน และจัดทาสื่อการเรียนการสอน โดยมงุ่ คิดและมุ่งหวังเพยี งเพอื่ ให้เยาวชนเขา้ สู่ระบบการปฏิรูป การศึกษาที่ว่า ดี เก่ง และมีความสุข อีกทั้งเป็นความต้ังใจของข้าพเจ้าว่าจะพัฒนาเด็กด้อย โอกาสให้มโี อกาสไม่เป็นภาระกับสงั คม และนาโอกาสทไี่ ด้รบั คนื กลับสู่สังคม ข้าพเจ้าจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดย มุ่ ง เ น้ น ผู้เรียนเป็นสาคัญพยายามสร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ ใ ห้ เ กิ ด กับผู้เรียน เช่นการให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นต่อวิธีการ สอน โปรแกรมท่ีนักเรียนสนใจ ปัญหาอุปสรรคในการจัดการ เ รี ย น การสอน การ จัดหาส่ือ ประกอบการสอน จัดทาใบงานและใช้วิธีการสอนแบบ หลากหลาย เช่น การสอนแบบให้นักเรียนคิดต่อยอดจาก ส่ิงที่ครูสอน การ สอนแบบค้นคว้า การสอนแบบเพื่อน สอนเพ่ือน พ่ีสอน น้อง เพื่อให้นักเรยี น เพ่ือใหน้ ักเรียนเกิด การเรียนรู้ รู้วิธีการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รู้แหล่งข้อมูล และเพ่ือให้เกิดคุณธรรมในเรื่อง ของการเอ้อื เฟื้อเผือ่ แผ่ ไม่เป็นคนเหน็ แก่ตวั ร้จู ักการถ่ายทอดความรใู้ ห้ผ้อู ่ืน ข้าพเจ้าได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนครบทุกจุดประสงค์เพื่อให้นกั เรียนได้มี โอกาสสร้างผลงานทง้ั น้เี พ่อื ให้นกั เรยี นสามารถเห็นผลงานจากการปฏิบัติจรงิ ของตนเองมคี วาม ชื่นชมในผลงานชน้ิ น้นั ๆ การส่งนักเรียนเข้าฝึกประสบการณ์ในช่วงปิดภาคเรียน และข้าพเจ้าจะติดตาม ผลการดาเนินกจิ กรรมของนกั เรยี นเพ่ือนาข้อมูลสะทอ้ นกลบั มาใชใ้ นการพัฒนาการจดั การสอน ตอ่ ไป
ตอนที่ 3 ลกั ษณะ/พฤตกิ รรม การปฏบิ ตั ิตน.....116
เสียงสะท้อนจาก ูลกศิษ ์ย ตอนที่ 3 ลักษณะ/พฤติกรรม การปฏิบตั ติ น.....117 เตรยี มการสอนเปน็ อยา่ งดเี ปน็ ประจา นางสาวหทยั พร สขี า ปวช. รนุ่ 3 จบปกี ารศึกษา 2552 นกั ศึกษามหาวิทยาลยั มหานคร นักศกึ ษาทนุ พระราชทาน มูลนธิ ิราชประชานเุ คราะหใ์ นพระบรมราชูปถมั ภ์ ถ้าหากไม่มีครูหนูคงไม่มีวันประสบความสาเร็จถึงวันน้ี ส่ิงท่ีหนู ประทับใจมากท่ีสุดเลยคือ การไปแข่งขัน E-Book ท่ีหนูได้มีโอกาส ไปถึงระดับประเทศ ถ้าหากไม่มีครูดาสอนและให้คาแนะนา ให้ ความรู้ หนูคงไม่มีโอกาสได้ใช้ความรู้เหล่านั้นให้เป็นประโยชน์ ครูดาเปรียบเสมือนแม่ แม้บางคร้ังจะมีดุแต่ก็เพื่อให้เราได้ดี คอย ประคับประคองให้เราประสบความสาเร็จกันทุกคน คอยส่งเสริม คอยเป็นทปี่ รกึ ษา โดยไมห่ วงั ส่งิ ตอบแทน
ตอนท่ี 3 ลกั ษณะ/พฤติกรรม การปฏิบัตติ น.....118 ครใู ห้ความเทา่ เทียมกับลกู ศษิ ยท์ กุ คน คอยเตือนเม่ือเราทาผดิ คอยใหค้ าปรกึ ษาเมอื่ เรา มีทุกข์ คอยสอนสอนให้เราใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคม คอยเติมในสิ่งท่ีหนูขาดหายไป ครู เปรยี บเสมือนแมค่ นท่ี 2 เมอ่ื ศกึ ษาตอ่ ในมหาวทิ ยาลยั โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ทหี่ นเู คยได้ เรียนมาแล้ว มันทาให้เรามีความรู้ท่ีจะใช้ งานมากกว่าคนอ่ืนๆ เยอะมาก ซึ่งทาให้ หนูได้ทบทวนวิชาไปด้วย ซึ่งคอมพิวเตอร์ ในคณะหนูจะได้เรียนแค่ excel และ dream เท่านั้นเอง หลังจากน้ันก็ไม่ได้เจอวิชา คอมพิวเตอร์อีกเลย ส่ิงที่หนูดีใจมาก คือ หนไู ปสมัครสอบ กพ. ภาค ก. กบั เพอื่ นอีก คนท่ีเรียนสาขา ปวช. บัญชีมา ผลสอบ ออกมาว่าหนูสอบผ่าน แต่เพ่ือนท่ีเรียน ปวช. ในกรุงเทพสอบไม่ผ่าน มันทาให้หนู คิดว่า บา งครั้งสิ่ งท่ีเ รา ได้เ รีย นรู้มา ประสบการณ์ท่ีเราได้รับมันไม่ได้ขึ้นอยู่กับ ว่ า เ ข า เ ป็ น เ ด็ ก ก รุ ง เ ท พ ห รื อ เ ป็ น เ ด็ ก ต่างจังหวัด เพราะโอกาสท่ีได้รับนั้นย่อม แตกต่างกนั อยา่ งเหน็ ไดช้ ดั แตข่ น้ึ อยกู่ บั วา่ เราจะใช้โอกาสนั้นอย่างไรให้คุ้มค่าท่ีสุด หนมู ีความสขุ ท่ีได้ใชช้ ีวิตในบ้านหลงั น้ี ได้มี ครคู อยอบรมสัง่ สอน และดแู ลตลอดเวลา
ตอนท่ี 3 ลกั ษณะ/พฤติกรรม การปฏิบตั ิตน.....119 ขา้ พเจา้ ได้เสนอแนะแนวทางการพัฒนาของศษิ ย์แตล่ ะคน และทกุ คนตามความถนดั ความสนใจ ศกั ยภาพของศษิ ย์ ดังน้ี 1. การจดั กิจกรรมหลากหลายตามสภาพความแตกตา่ งของศิษย์ เพื่อให้แต่ละคน ประสบความสาเรจ็ 2. แนะแนวทางทถ่ี กู ตอ้ งใหศ้ ษิ ย์ 3. ปรกึ ษาหารือกบั ผบู้ รหิ าร เพอ่ื นครู ผูป้ กครอง นักเรยี น เพือ่ หาสาเหตุ และวธิ กี าร แกไ้ ข
ตอนท่ี 3 ลกั ษณะ/พฤตกิ รรม การปฏบิ ตั ติ น.....116 ข้าพเจ้าจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญพยายามสร้าง บรรยากาศแห่งการเรียนรู้ให้เกิดกับผู้เรียน ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติเพ่ือให้เกิดการเรียนและ เป็นความรู้ทคี่ งทนติดตัวนักเรยี น ผอู้ ื่น ข้าพเจ้าได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนครบทุกจุดประสงค์เพื่อให้นักเรียนได้มีโอกาส สร้างผลงานท้ังน้ีเพ่ือใหน้ ักเรียนสามารถเหน็ ผลงานจากการปฏิบัตจิ ริงของตนเองมีความชื่นชม ในผลงานชิน้ น้ันๆ
ตอนท่ี 3 ลกั ษณะ/พฤตกิ รรม การปฏิบัติตน.....121 ขา้ พเจ้ามีความเช่ือว่าการแสดงออกของครใู ดๆ ก็ตามย่อมมีผลในทางบวกหรือลบ ต่อ ความเจรญิ เติบโตของศษิ ย์ เมอ่ื ครูเป็นผู้รบั ผิดชอบโดยตรงต่อการพฒั นาทกุ ๆ ดา้ นของศิษย์ จึง ต้องพิจารณาเลือกแสดงแตเ่ ฉพาะการแสดงออกที่มีผลทางบวก พึงระงับและละเว้นการแสดง ใดๆ ที่นาไปสกู่ ารชะลอหรอื ขัดขวางความก้าวหนา้ ของศษิ ย์ทุกๆดา้ น ขา้ พเจ้าไม่กระทาตนเป็นปฏปิ ักษ์ตอ่ ความเจริญ ทางกาย สติปัญญา จิตใจอารมณ์ และ สงั คมของศิษย์ คือ การตอบสนองต่อศิษย์ในการลงโทษ หรอื ให้รางวัลหรือการกระทาอ่ืนใด ท่ี นาไปสูก่ ารลดพฤตกิ รรมท่พี ึงปรารถนาหรอื เพมิ่ พฤติกรรมท่ีไม่พึงปรารถนา ข้าพเจ้าจะละเว้นการกระทาให้ศิษย์เกิดความกระทบกระเทือนต่อจิตใจ สติปัญญา อารมณ์และสังคมของศิษย์ โดยไม่นาปมด้อยของศิษย์มาล้อเลียน ซึ่งดังได้กล่าวมาแล้วว่า โรงเรียนของข้าพเจ้าเป็นโรงเรียนที่รับเด็กด้อยโอกาสทางการศึกษาดังนั้นไม่ มีเลยว่าเด็กคน ไหนไม่มีปมด้อยในชีวิต บางคนมีมากกว่าหนึ่งปม ซึ่งเร่ืองน้ีข้าพเจ้าไม่เคยนามาใช้ในการ ประจานศิษย์ แตจ่ ะนาปมเหลา่ นคี้ ่อยๆ คลคี ลายออกจากหัวใจของศิษย์ ข้าพเจ้าเคยเจอเหตุการณ์หน่ึงที่ลูกศิษย์ของข้าพเจ้าไม่ทาการบ้าน ไม่ทางาน ไม่สนใจ การเรียนเท่าท่ีควร ข้าพเจ้าเฝ้าสังเกตพฤติกรรมมาได้ระยะหนึ่ง เลยเข้าไปพูดคุยกับนักเรียน คาตอบทขี่ า้ พเจ้าไดร้ ับคอื “ครูจะใหห้ นเู รยี นไปทำไม เดยี วหนูกต็ ำยแลว้ ” ซ่งึ เด็ก คนน้ีติดเช้ือเอดส์มาจากแม่ ถ้าคุณได้คาตอบจากลูกศิษย์แบบน้ีคุณจะตอบเขาไปว่าอย่างไง สาหรับข้าพเจ้าได้นาหลักธรรม และความจริงของมนุษย์มาแก้ไขปัญหาท่ีอยู่ในใจของเด็กคนดี ข้าพเจ้าได้สอนเขาว่าแล้วเธอว่าครูต้องตายไหม ทุกคนต้องตายเหมือนกัน แต่เราไม่รู้วันตาย แตเ่ รารู้วา่ แต่ละวันคือวันท่เี ราสามารถสรา้ งคุณคา่ ใหต้ วั เรา สร้างความสุขกับชีวติ ได้ แล้วเราจะ ปลอ่ ยเวลาท่ีเหลือในชีวิตท้ิงไปทาไม หนูไมไ่ ดต้ ายวันนี้ แล้วหนกู ็ไมร่ ู้ว่าจะตายเมอ่ื ไหร่ ทาไมจึง ทาให้ทุกวันมีแต่ความทุกข์ ส่ิงท่ีข้าพเจ้าได้พูดคยุ สามารถเปน็ แสงไฟเล็กๆ ที่จุดความคดิ ให้กับ เด็กคนหน่ึงคนมาได้ จนเข้าสามารถเรียนจบและเข้าศึกษาต่อในระดับสูง เห็นคุณค่าของชีวิต มากขนึ้ ดงั ความร้สู ึกท่ีนักเรียนไดเ้ ขยี นไวใ้ ห้ข้าพเจา้ กอ่ นทเ่ี ขาจะสาเรจ็ การศกึ ษา แต่ขา้ พเจ้าขอ สงวนชื่อของลูกศษิ ย์ไว้
เสียงสะท้อนจำก ูลกศิษ ์ย ตอนท่ี 3 ลักษณะ/พฤติกรรม การปฏบิ ตั ติ น.....122 มจี ติ วญิ ญำณควำมเปน็ ครู ครผู ใู้ หช้ วี ติ ใหม่ ทพิ ย์ (นามสมมตุ )ิ ปวช. รนุ่ ที่ 5 ปกี ารศกึ ษา 2554-2556 กอ่ นที่ฉันจะไดม้ ำเปน็ ศิษยข์ องครดู ำ ฉันรู้สึกว่าชีวิตฉันมีคุณค่ามากข้ึน ตั้งแต่มีครูดาเข้ามาในชีวิต ครูดาสอนให้ฉัน รจู้ กั กบั คณุ คา่ ของตัวเองทาให้กาลงั ใจของฉนั ท่ีไม่มีเหลือแล้วให้คืนกลับมา ทาให้ฉันมี ความมั่นใจในตัวเองมากขึ้นและฉันกล้า แสดงออกมากกว่าเดมิ สาหรับคนอ่ืนๆ ฉันไม่รู้ว่ารู้สึกยังไง กับครดู าแตส่ าหรับฉนั เวลาท่ีไดอ้ ยู่กับครู ฉัน รู้สกึ ปลอดภยั อุ่นใจ และสบายใจ มีความสุข ในความรู้สึกของฉัน ฉันรู้สึกเหมือนมีแม่ของ ฉันอยู่ข้างๆ ฉันตลอดเวลา เพราะฉันรู้สึกว่า ครูคอยเฝ้ามองการเติบโตของฉันอยู่ข้างๆ เฝ้ามองพัฒนาการของฉัน สำยตำของครู ดำ เวลำที่มองฉัน เหมือนกับสำยตำของ แม่ฉัน บำงทีฉ่ ันก็รู้สึกมองแม่ของฉันอยู่ ในดวงตำของครูและอยูใ่ นตัวของครดู ำ
ตอนท่ี 3 ลักษณะ/พฤตกิ รรม การปฏิบตั ติ น.....123 สงิ่ ทอ่ี ยำกบอกครดู ำ ครูดาทาให้ฉันกล้าท่ีจะบอก ที่จะเล่า ทุกอย่างในใจของฉันให้ครูฟัง เพราะฉันรู้สึก ว่าฉันไม่กล้าปิดปังอะไรครูและครูก็สามารถ ช่วยเหลือฉันได้เสมอ ฉันเลยรักครูดามากๆ บางคนจะบอกว่าครูดาดุ แต่สาหรบั ฉันครดู า เป็นคนท่ีใจดีมากๆ และคาพูดของครูดา เพียงไม่ก่ีคา สามารถสร้างคนคนหน่ึงให้เป็น คนทมี่ ีคณุ ภาพในสังคมได้ เหมือนอยา่ งฉนั ฉันไม่กล้าทาผิดตั้งแต่เม่ือฉันได้มา อยู่กับครูดา ส่ิงที่ฉันกลัวท่ีสุดในตัวครูดาคือ นา้ ตาแห่งความเสียใจ ฉันไม่อยากเห็นน้าตา ของครูดาท่ีไหลออกมาเพราะความเสียใจ หากสักวันน้าตาของครูจะไหล ฉันก็อยากให้ มันไหลออกมาเพราะ ความภาคภูมิใจในตัว นั ก เ รี ย น ที่ ท่ า น ส่ั ง ส อ น ม า ไ ด้ ป ร ะ ส บ ความสาเร็จท่ีสุดในชีวิตมากท่ีสุด เวลาท่ีครู โกรธ ฉันจะทาอะไรไม่ถูก ไม่เป็นตัวของ ตัวเอง ฉันจะกลายเป็นคนคิดมากทันที เหมือนกับตอนท่ีแม่ของฉันโกรธฉันเลย เพราะครดู ากค็ อื แม่ของฉันคนหนึง่ ฉันชอบคาหนึ่งท่ีครูบอกว่า \"เราต้อง กา้ วขา้ มเส้นของความกลัวต้องกา้ วขา้ มมันไป ให้ได้และชีวิตของเราจะได้อะไรอีกหลายๆ อย่าง\" ฉันก็เอามาปฏิบัติและมันก็เป็นจริง ครูคะ หนูรักครูมากๆ เลยค่ะ หนูไม่รู้ว่าถ้า หนูไม่ได้มาเจอครูชีวิตหนูก็คงไม่มีค่าในสาย ของใครเหมือนเม่ือก่อนหนูก็คงจะโดนเขาดู ถูก เหมือนที่เคยโดนมาเป็นคนท่ีไม่เอาไหน ในสายตาคนอน่ื เปน็ คนโงท่ ่ีเรียนไม่ไดเ้ ร่ือง
ตอนที่ 3 ลกั ษณะ/พฤติกรรม การปฏิบัตติ น.....124 ต้งั แต่หนไู ดม้ าอยูก่ ับครู ได้มาเปน็ ลกู ครู ชีวติ หนูก็เปล่ียนไป พี่สาวรักหนูมากขึ้น หนูมี ทักษะในการใช้ชีวิตที่เหลือ ได้มีค่ามากข้ึน เพราะถ้าวันนี้ไม่มีแม่คนน้ีอยู่ในราชประชาฯ ๓๓ หรือถ้าหนูไม่ได้มาเจอหรือมารู้จักกับแม่ คนน้ีวันน้ีคงไม่มีทิพย์ท่ีเป็นเด็กดีในสายตา ของผู้ใหญ่ ไม่มีโอกาสได้รับทุน ไม่มีโอกาส ได้พดู ความรสู้ ึกท่ีมนั กดดันอย่ใู นใจใหใ้ ครฟัง เชื่อไหมค่ะในชีวิตหนูตอนน้ีครูคือ กำลังใจ คำสอนท่ีหนูประทับใจและสร้ำงคนใหม่ หลักที่ทำให้หนูอยำกมีชีวิตอยู่ต่อไปใน ในรำ่ งเดิมของหนู โลกท่ีว่ำงเปล่ำของหนู ครูคือผู้ใหญ่ท่ีทาให้ หนูกลายเป็นเด็กท่ีดีและเก่งในสายตาของ \"เราไม่สามารถท่ีจะเลือกเกิดได้ แต่ คนอืน่ ๆ หนูรักครู รกั ครูดา รักครูดา เราเลอื กทีจ่ ะเปน็ ได\"้ ไม่มีหน่วยวัดได้เลยค่ะในความรักน้ี \"เราต้องก้าวข้ามความกลัวให้ได้ และ หนูรักครูทั้งหมดกาแล็กซี่เลยค่ะครูต้องดูแล เราจะไดร้ ับอะไรอกี หลายๆ อย่าง\" ตัวเองมากๆ นะค่ะ สิ่งสุดท้ายหนูอยาก ขอบคุณ ครูดาค่ะ ที่อดทนเพื่อพวกหนูมา \"ใครทาใครได้ เราทาเรากไ็ ด้\" ตลอดตอ่ ไปหนูจะอดทนเพอ่ื ครบู า้ งค่ะ หนจู ะ นี้คือคาสอนที่ทาให้ทิพย์ อยู่ทุกวันน้ี อดทนกับอุปสรรคที่จะเกิดขึ้นในอนาคตและ ด้วยความเข้มแข็งและได้กาลังใจมาจากครู จะผ่านมันไปให้ได้ เพือ่ ครูดาและเพื่อตัวของ คะ่ หนูเองค่ะ
ตอนท่ี 3 ลกั ษณะ/พฤติกรรม การปฏิบัติตน.....125 ข้าพเจ้ารับราชการ เป็นข้าราชการ คือข้าราชการในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็น ข้าของแผ่นดิน ที่ทาหน้าท่ี “ครู” ซ่ึงอาชีพครู จะทาอะไรทอี่ อกนอกเร่ืองนอกราวแทบจะไม่ได้ เลย เพราะครูนอกจากจะเปน็ เจา้ หน้าที่ของรัฐ ซึ่งอยู่ในกฎและระเบยี บแลว้ ครูตอ้ งยึดถอื และ ปฏิบัติตามจรรยาบรรณ ซ่ึงแต่ละข้อล้วนแล้วแต่เป็นส่ิงท่ีครูมากด้วยความเมตตาปราณีที่มีต่อ ศิษย์ท้ังน้ัน โดยเฉพาะการมาปฏิบัติหน้าที่ท่ีโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ครูต้องรับผิดชอบ ต้องปฏิบัติหน้าท่ีตลอดเวลา 24 ชั่วโมงก็ว่าได้ เพราะที่น้ีเป็นโรงเรียนประจา ครูต้องอยู่กับ นักเรียน ต้องสอนมากกว่าความรู้ในห้องเรียน สอนท้ังวิชาการใช้ชวี ิต สอนทงั้ วชิ าชีพ เวลาท่ีจะ ทาอาชีพเสริมแทบจะไม่มีเลย ถ้าครูมุ่งแต่หารายได้เพิ่ม รายได้เสริม ก็จะทาหน้าที่ของความ เปน็ ครรู าชประชาไดอ้ ยา่ งไมเ่ ตม็ ที่ จึงทาใหม้ รี ายไดเ้ พียงทางเดียวนนั้ คือ “เงนิ เดอื น” เงินเดือน คือเงินท่ีในหลวงทรงพระราชทานให้กับเจ้าหน้าท่ีของรัฐ เจ้าพนักงานของรัฐ เพอ่ื เปน็ ค่ายงั ชีพและเปน็ ค่าใชจ้ ่ายประจาเดือนในครอบครัว แต่ข้าพเจ้าคิดวา่ ตวั เองโชคดมี ากที่ได้มาอยู่ในโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๓ จังหวัด ลพบุรี ซึง่ เป็นโรงเรยี นทนี่ าหลกั ความพอเพยี งมาใชใ้ นทกุ กิจกรรมของโรงเรยี น ทาให้ขา้ พเจา้ นา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้กับการดารงชีวิต ทาให้ชีวิตพบความสุข ไม่ เดอื ดร้อน ไม่ตอ้ งดนิ้ รน้ จนต้องทง้ิ จติ วญิ ญาณของความเปน็ ครู หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบไปด้วยสามห่วง คือความมีเหตุผล ความ พอประมาณ และการมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดี ซ่ึงมีอีกสองเงื่อนไข คือ เงื่อนไขความรู้ กับ เงือ่ นไขคณุ ธรรม ซ่งึ หากเอย่ ถึงความพอดหี รอื พอประมาณแลว้ ถือไดว้ า่ เปน็ พ้ืนฐานสาคัญของ การดาเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง โดยจะต้องมีความพอประมาณ ซึ่งกค็ ือ ความพอดีที่ไม่ มากและไมน่ อ้ ยจนเกนิ ไป หากพูดถงึ รวมๆ ก็คือเปน็ การบริโภคแต่พอดี และใชจ้ ่ายใหน้ ้อยกว่า ทห่ี าได้ในปัจจุบนั คือการใช้ชีวิต ใชจ้ ่ายอย่างมีสติ รวู้ ่าเรามีเท่าไร รวู้ ่าใชจ้ ่าย ตัดสินใจบนหลัก ว่า “นกน้อยทารังแต่พอตัว” มีน้อยก็ใช้น้อย มีมากก็สามารถใช้ให้มากขึ้นได้ สมกับฐานะ แต่ ไม่เกินตัว เพื่อท่ีจะทาให้มีเงินออมเก็บไว้เป็นทุนสารองสาหรับไว้ใช้จ่ายยามเกษียณอายุ หรือ ในช่วงที่ไม่มีรายได้จากการทางาน ในอนาคต หากขาดพื้นฐานท่ีมั่นคง อาจจะทาให้การ ยกระดับฐานะล้มเหลวลงได้ เมื่อได้พื้นฐานมั่นคงพร้อมและพอควรต่อการปฏิบัติได้แล้ว จึง คอ่ ยทาการเสริมสร้างและค่อยเสริมความเจริญ รวมถึงยกระดับฐานะเศรษฐกิจในขน้ั ท่สี ูงข้ึน
ตอนท่ี 3 ลักษณะ/พฤติกรรม การปฏิบตั ิตน.....126 การยกระดับฐานะให้ดีขึ้นของข้าพเจ้าจะค่อยๆ ทาอย่างม่ันคง ข้าพเจ้าจะปฏิบัติวิชาชีพของ ตนเองอย่างสุจริต และดาเนินเดินสายกลางซ่ึง และมีการนาเงินออม ในส่วนทีเ่ กินจาก เงนิ ทุน สารองไปลงทนุ ต่อยอด โดยการลงทนุ ผ่านช่องทางการเงนิ หรือทเี่ รยี กว่าใชเ้ งินทางานแทน ขา้ พเจา้ นาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั คอื ครอบครวั ของขา้ พเจา้ อยแู่ บบเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดาริทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรง ดงั นี้ 1. พอมพี อกนิ ปลกู พชื สวนครัวไวก้ นิ เองบา้ ง ปลกู ไม้ผลไว้ พอทีจ่ ะมีไวก้ ินเองใน ครวั เรอื น แบง่ ใหเ้ พอ่ื นบา้ นบา้ ง เหลอื จงึ ขายไป 2. พออยพู่ อใช้ ทาใหบ้ า้ นนา่ อยู่ ปราศจากสารเคมี กลน่ิ เหมน็ ใชแ้ ต่ของทเี่ ปน็ ธรรมชาติ รายจ่ายลดลง สขุ ภาพจะดีขนึ้ (ประหยัดคา่ รักษาพยาบาล) เน้นเก่ยี วกบั เรือ่ งไฟฟ้า และนา้ ประปา ช่วยกันประหยดั ไมว่ า่ จะอยู่ทบ่ี า้ นหรอื โรงเรยี น กค็ วรปิดน้า ปดิ ไฟ เมือ่ เลกิ ใชง้ านทกุ คร้ัง 3. พออกพอใจ รู้จักพอ รูจ้ กั ประมาณตน ไมใ่ คร่อยากใครม่ ีเชน่ ผอู้ ่นื เพราะเราจะหลงติด กบั วตั ถุ ชีวิต โดยจะอยู่ในกจิ กรรม “ออมวันน้ี เศรษฐีวันหนา้ ” 4. เม่อื มีรายได้แตล่ ะเดือน จะแบ่งไว้ใช้จา่ ยใชจ้ า่ ย และเกบ็ ออม 5. ยดึ ความประหยัด ตดั ทอนรายจา่ ยในทุกๆ วนั ท่ไี มจ่ าเปน็ ลดละความฟมุ่ เฟอื ย 6. ซอ่ มกอ่ นซอื้ ใหม่ ถา้ มอี ปุ กรณ์เสียถา้ สามารถซอ่ มได้ก็ซอ่ มแตถ่ ้าซอ้ื ใหมถ่ กู กวา่ กซ็ อ้ื ใช้ ให้คมุ้ ค่ากอ่ นทง้ิ
ตอนท่ี 3 ลักษณะ/พฤตกิ รรม การปฏิบตั ิตน.....127 ประยกุ ตห์ ลกั เศรษฐกจิ พอเพยี งในการจดั กจิ กรรม Ping Studio บรษิ ทั สมมตุ ใิ นการนา ภาพพมิ พล์ งในวสั ดุ การนาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ด้านความพอประมาณ พอประเมนิ ในดา้ นเวลา การทางานจะไม่กระทบกับ ดังนั้นการทางานจะต้องมกี ารแบ่งเวลา เรียงลาดบั เวลาเรียน หรือเวลาที่ใช้ใน ความสาคญั ของเวลา เพราะโรงเรียนจะมกี ิจกรรมให้ การทากิจกรรมของโรงเรียน นักเรียนทาตลอดเวลา จะเน้นการทางานเพ่ือสว่ นรวม โดยจะทาหลังเลิกเรียน เวลา ก่อนแล้วถงึ มาทางานอาชพี ทีหลงั 18.30 น. – 19.45 น. และวัน เสาร์-อาทิตย์ เวลา 13.00- 17.00 น. เพราะวันเสาร์จะมี ก า ร พั ฒ น า โ ร ง เ รี ย น วั น อ า ทิ ต ย์ จ ะ มี ก า ร ท า อ า ชี พ สอร. ของโรงเรียน โรงเรียน จะรบั ประทานอาหารเย็นเวลา 17.00-18.00 น. รวมนักเรียน ตอนเย็นเวลา 18.00-18.30 น. เวลา 20.00 น. นักเรียนต้อง รว มเ พื่อตร วจสอ บ คว า ม เป็นอยู่ทุกวันเวลาประมาณ 20.00 น. ที่หอนอนบ้านพัก กรณีพอประมาณ เวลา ในกรณีมีลูกค้าสั่งงานมากแต่เวลามีจากัด จะแก้ไขโดยการนา เครอื่ งมือและระบบการทางานที่ดีเข้ามาช่วย พอประมาณดา้ นบคุ ลากร คน หลักการใช้คนนอ้ ย แต่สามารถทางานทห่ี ลากหลายแทนกนั ได้ เพราะในการ ทางานอาจจะมบี างคนตอ้ งทางานอ่นื ดงั นนั้ ทกุ คนตอ้ งทางานแทนกนั แต่ละคน ตอ้ งมคี วามชานาญ มคี วามสามารถเฉพาะดา้ นเฉพาะเรอื่ งอยา่ งแทจ้ ริง เพอื่ ให้ การทางานเร็ว ทันเวลา และมีคุณภาพ จึงตอ้ งมกี ารจัดสรรคนใหเ้ หมาะกบั งาน
ตอนที่ 3 ลกั ษณะ/พฤติกรรม การปฏบิ ัติตน.....128 พอประมาณดา้ นพอประมาณดา้ นงบประมาณ หลักการใช้งบประมาณจะดาเนินการแบบค่อยเปน็ คอ่ ยไป ใชว้ ัสดุอุปกรณ์ไมส่ งู บางอยา่ งยืมจากทางโรงเรยี น คอ่ ยๆ ดาเนินการพฒั นาผลติ ภณั ฑต์ ามงบประมาณทม่ี ีอยู่ ไม่ สรา้ งนสิ ยั การเปน็ หน้ี ถา้ เป็นหนต้ี ้องสามารถคาดการณ์ได้วา่ สามารถหามาคืนได้ ด้านความมเี หตผุ ล ด้านความมีเหตุผลคานึงถงึ ผลที่จะเกดิ ขนึ้ จากการกระทาน้นั ๆดว้ ยความ รอบคอบ สงิ่ ทคี่ านึงถึงด้วยเหตผุ ล คือ 1. การเลอื กคนให้เหมาะกบั งาน 2. การกาหนดราคาสนิ คา้ 3. การเลอื กทาผลติ ภัณฑใ์ ห้เหมาะสมกับลูกคา้ 4. การลงทุน 5. การปรับเปล่ยี นงานใหเ้ หมาะกบั เวลา ด้านการมีภมู คิ มุ้ กัน การเตรียมความพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงกับสถานการณ์ต่างๆ ท่ีอาจ เกิดขึ้นได้ในอนาคต ภูมิกันทค่ี วรมใี นการทางานนี้ควรมีดังนี้
ตอนท่ี 3 ลักษณะ/พฤติกรรม การปฏบิ ัตติ น.....129 1. ต้องมขี บวนการทางานทด่ี ี เพื่อใหก้ ารทางานราบร่ืน 2. การดแู ล เอาใจใสล่ กู คา้ 3. การสรา้ งความประทับใจใหก้ ับลกู คา้ 4. การควบคมุ อารมณเ์ มื่อถูกปฏิเสธหรือถูกตอ่ วา่ เงอ่ื นไขทน่ี ามาใชใ้ นการทางาน เง่ือนไขความรู้ คือความรอบรู้เก่ียวกับวิชาการต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องอย่างรอบด้าน การทางานนี้มี ดังนี้ 1. ความรเู้ กยี่ วกบั โปรแกรมคอมพวิ เตอร์กราฟิก 2. หลกั การแตง่ ภาพ 3. ความรู้เกีย่ วกบั ระบบคอมพวิ เตอรแ์ ละอุปกรณ์ต่อพว่ ง 4. หลักการถา่ ยภาพ 5. หลกั การประชาสมั พนั ธ์ 6. หลกั การขาย 7. หลักการบญั ชี ความรอบคอบเกี่ยวกับความรู้เหล่านี้มาพิจารณาให้เช่ือมโยงเพื่อประกอบการ วางแผนด้วยความระมัดระวงั ในขั้นการปฏิบตั ิงาน เง่อื นไขความรูท้ ี่ผู้ปฏิบัตงิ านควรมเี ปน็ พืน้ ฐาน มีความมุ่งม่นั อดทน ความรับผิดชอบ ความซ่อื สัตย์ เอาใจเขามาใสใ่ จเรา ใช้สติ ในการทางานและแกไ้ ขปญั หา มคี วามภาคภูมใิ จในงานทีท่ า ไปดูตามกาลังทนุ กาลงั คน ตามแนวทางทีอ่ งค์พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู ัวทรง พระราชทานใหเ้ ปน็ แนวทางในการใชช้ วี ิต ซ่งึ ไดน้ ามาใชท้ าให้เห็นผลวา่ ความพอเพยี งพอ ทาให้ เราเพียงพอ และสามารถดาเนนิ ธรุ กิจไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ สุขทัง้ ผ้ลู งทนุ สุขทง้ั ลกู ค้า เพราะเรา ไม่ตอ้ งการกา้ วหน้าโดยตอ้ งไปเอาเปรยี บลกู ค้า
ตอนที่ 3 ลักษณะ/พฤติกรรม การปฏบิ ัติตน.....130 ข้าพเจ้าเป็นผ้ลู ะเว้นอบายมุข และส่ิงเสพตดิ โดยมพี ฤตกิ รรมที่แสดงถึงการเป็นผลู้ ะเว้น ดังนี้ ไมฝ่ กั ใฝ่ในอบายมขุ และสง่ิ เสพยต์ ิดใดๆ ไม่เคยทดลองเสพสง่ิ เสพติดให้โทษ ไม่ เลน่ การพนัน ร่วมปรกึ ษากับผปู้ กครองการประชุมผูป้ กครอง เพอ่ื นาข้อมลู ของนักเรยี นที่ผา่ น การคดั กรองนกั เรียนกลมุ่ เส่ียง โดยความร่วมมอื ระหวา่ งครู นกั เรยี นและ ผ้ปู กครอง ประพฤตปิ ฏิบตั ติ นเป็นแบบอยา่ งทดี่ ี แก่เพ่อื นร่วมงาน นกั เรยี น โดยการปฏบิ ตั ิ ตนอยใู่ นศลี ธรรมอันดี ละเว้นอบายมขุ และสิง่ เสพตดิ ทีเ่ ป็นอนั ตรายต่อตนเอง และคนทอ่ี ยู่ใกลเ้ คียง รวมทัง้ การเขา้ ร่วมกิจกรรมรณรงค์ต่อต้านยาเสพตดิ การ ส่งเสริมและใหค้ วามรเู้ กย่ี วกบั สิ่งเสพติดท้งั ในโรงเรยี นและนอกโรงเรยี น จัด กิจกรรมส่งเสรมิ การออกกาลงั กาย
ตอนที่ 3 ลักษณะ/พฤตกิ รรม การปฏบิ ตั ิตน.....131 ในปัจจุบันข้าวของเคร่ืองใช้ ไม่ว่าจะเป็นของ กนิ ของใช้สว่ นตัว ของใช้ภายในบ้าน ที่ต่างก็ มีราคาแพงมากมาย มนุษย์เงนิ เดือนตอ้ งรู้จกั การใช้จ่าย การวางแผนทางการเงิน โดยจะ แบ่งเงินในการใช้จ่าย 80% ของเงินเดือน ที่ เหลือเป็นเงินเก็บสารอง จะไม่พยายามสร้าง หนี้โดยไม่จาเป็นหรือเป็นหนี้ท่ีไม่ก่อให้เกิด ประโยชน์ ฝึกใช้ชีวิตแบบพอเพียง หรือ ประมาณตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง จะมีหลักที่คิดคือ ต้องมีก็คือการ รู้จักออมเงินให้มีความเพียงพอก่อนใช้จ่าย ซึ่งการออมเงินถือเป็นพ้ืนฐานของความ พอมีพอกิน และยังช่วยสร้างความสบายใจ หลังจากเกษียณอายุราชการ คือออมหนึ่ง ส่วนและใช้สามส่วน รวมถึงการใช้หลักออม ก่อนใช้ เพ่ือท่ีจะได้ทาให้ไม่ใช้เงินแบบ เพลิดเพลินจนไม่เหลือเก็บ ส่วนเงินส่วนท่ี เหลือ ก็ไม่ถึงกับว่าจะนาไปใช้จ่ายแบบ สิ้นเปลือง แต่ให้รู้จักใช้จ่ายและดาเนินชีวิต แบบเรียบง่าย และมีความสะดวกสบาย พอสมควร กิน เที่ยว ได้แต่ไม่ฟุ่มเฟือยเกิน ตัว หรือใช้จ่ายแบบหรูหราจนเกิน ซึ่งหากมี เงินเหลอื จากการใช้จ่าย ก็สามารถนามาเก็บ ออมเพ่ิมเติมได้ การจัดทาบัญชีรับ-จ่าย เพ่ือ ต ร ว จ ส อ บ แ ล ะ ค ว บ คุ ม ตั ว เ อ ง ใ น ก า ร ใ ช้ จ่ายเงิน มีการนาเงินออมไปลงทุนกับเพ่ือให้ เกิดดอกผล ซ่ึงในปัจจุบันนี้ครอบครัวอยู่ อย่างมีความสุข มีเงินพอจับจ่ายใช้สอย ไม่ เป็นหนี้
ตอนที่ 3 ลกั ษณะ/พฤตกิ รรม การปฏบิ ตั ิตน.....132
ตอนท่ี 3 ลักษณะ/พฤติกรรม การปฏบิ ัตติ น.....133 ครูเป็นบุคคลท่ีมีความสาคัญท่ีสุดในวงการศึกษา เพราะเป็นผู้ท่ีก่อให้เกิดองค์ความรู้ อนั จะเป็นประโยชน์ต่อสังคม และโลก นอกจากนั้นยังเปน็ ผู้มอี ิทธพิ ลต่อการสรา้ งเดก็ อย่างมาก เด็กจะมีความคิดที่ดี มีวิธีการวิเคราะห์อย่างถูกต้อง และมีระบบระเบียบในการปฏิบัติงาน ตลอดจนการพัฒนาบุคลิกภาพเชิงวิชาการ เชิงวิชาชีพ เชิงวิชาชีวิต ซ่ึงควรได้รับการปลูกฝัง อบรมจากครูผู้สอน และบุคลิกภาพของครู ย่อมสง่ ผลไปสู่เด็กๆ ดังคากลา่ วที่ว่า “อยากรู้ว่าตัว ครเู ป็นฉนั ใด จงดูไดจ้ ากศษิ ยท์ ี่สอนมา” (ม.ล. ปิ่น มาลากุล) จากคากล่าวของ ม.ล. ปิ่น มาลากุล ข้าพเจ้าจึงต้องพัฒนาจิตสานึกของความเป็นครู เพราะครู จาเป็นตอ้ งมีขอ้ กาหนดอยใู่ นใจ เพ่ือใหม้ ีหลกั ในการดารงตนใหเ้ ป็นครู ส่ิงแรกท่ีข้าพเจ้าพัฒนาก็คือ การสร้างคุณธรรมหรือครุธรรมให้เกิดขึ้น ซ่ึงความเป็น จริงน้ัน “ครุธรรม” คือ ธรรมสาหรับครู เป็นสิ่งท่ีครูต้องปฏิบัติ ครุธรรมเป็นสิ่งท่ีจาเป็นมาก สาหรับการดาเนินอาชีพครูอันเป็นอาชีพท่ีมีเกียรติเป็นอาชีพท่ีคนทั่วไปยกย่อง และถือว่า เป็น อาชีพท่ีสาคัญในการพฒั นาสงั คมหรือประเทศชาติ ครทู ี่ขาดครุธรรมจะเปรียบเสมือนเรือท่ีขาด หางเสอื ดงั นน้ั การจะพาศษิ ย์ไปสจู่ ุดหมายปลายทางอย่างถูกตอ้ ง ยอ่ มเป็นสิ่งทที่ าไดย้ ากอย่าง แน่นอน ท่านพุทธทาสกล่าวอยู่เสมอว่า “ธรรม” คือ หน้าที่ ผู้ท่ีมีธรรมะคือผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่ อย่างดีแล้ว ครุธรรมจึงเป็น “หน้าท่ีสาหรับครูก็คือ “การอบรมส่ังสอนศิษย์” แต่การอบรมสั่ง สอนศิษย์ของครแู ต่ละคนก็มกี ารปฏิบตั ิทีแ่ ตกตา่ งกัน ครูบางคนกอ็ าจจะคดิ ว่าหน้าทีข่ องครู คือ สอนวิชาการท่ีตนได้รับมอบหมายให้สอน แต่สาหรับข้าพเจ้าแล้ว ครูควรทาหน้าท่ีสอนคนให้ เป็นคนที่สมบูรณ์นอกเหนือจากการสอนวิชาการ ข้าพเจ้ายังสอนวิชาชีพ และวิชาชีวิตให้กับ นกั เรียน ข้าพเจ้าตระหนักอยู่เสมอว่า ครูมิได้สอนแต่หนังสืออย่างเดียว แต่ต้องสอนคนให้เป็น คนที่สมบูรณ์ด้วย โดยเฉพาะนักเรยี นโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๓ จังหวัดลพบุรี ที่ข้าพเจ้า ตง้ั ปณิธานไวว้ ่าจะนาพาชวี ติ ของเด็กๆ เหล่าน้ีใหพ้ น้ คาว่า “ด้อยโอกาส” การท่ีข้าพเจ้าจะปฏิบัติหน้าของครูอย่างเต็มศักด์ิศรีและเต็มความภาคภูมิได้นั้น จาเป็นต้องมีหลักยึดเพ่ือนาตนไปสู่ส่ิงที่สูงสุดหรือเป็นอุดมคติของอาชีพ นั่นก็คือ การมี อุดมการณ์ครู อุดมการณ์ครู มีหลักการที่จะยึดไว้ประจาใจทุกขณะที่ประกอบภารกิจของครูมี อยู่ 5 ประการ ดงั นี้
ตอนท่ี 3 ลักษณะ/พฤติกรรม การปฏิบัตติ น.....134 1. เตม็ รู้ 2. เตม็ ใจ 3. เตม็ เวลา 4. เตม็ คน 5. เต็มพลัง สาหรบั ขา้ พเจา้ แลว้ คาวา่ เตม็ เวลา คอื การรบั ผดิ ชอบ การทมุ่ เทเพอื่ การสอน จะต้องใช้ชีวติ ครู อย่างเต็มเวลาทง้ั 3 สว่ น คอื 1. งานสอน ใช้เวลาในการเตรียมการสอนอย่างเต็มที่ วางแผนการสอนค้นคว้าหา วิธีการท่ีจะสอนศษิ ย์ในรปู แบบต่าง ๆ และในขณะท่ีดาเนินการสอนต้องสอนให้ครบตามเวลาที่ กาหนด เขา้ สอนตรงเวลา เลิกสอนใหต้ รงเวลา 2. งานครู นอกเหนือไปจากการสอน ข้าพเจ้าจะให้เวลาแก่งานด้านต่าง ๆ เช่น งาน บริหาร งานดูแลหอนอนบ้านพัก งานกิจการนักเรียน งานบริการและงานท่ีจะทาให้โรงเรียน กา้ วหน้า 3. งานนกั ศกึ ษา ให้เวลาในการอบรม แนะนาสงั่ สอนศิษย์ เม่ือศษิ ย์ต้องการคาแนะนา หรือต้องการความช่วยเหลือ หรือเราเห็นศิษย์กาลังทาในสิ่งท่ีไม่ถูกต้อง ไม่ว่าในเวลาทางาน หรือนอกเวลาทางาน ข้าพเจา้ จะให้เวลากบั ศิษยเ์ สมอ เวลาท่ีขา้ พเจ้ามสี ว่ นใหญจ่ ะหมดไปกบั การพฒั นาลกู ศษิ ย์ ไมว่ า่ จะเป็นเวลาช่วงเยน็ หลัง เลิกงานตามปกติของระเบียบทางราชการ วันหยุด หรือแม้แต่ช่วงปิดภาคเรยี น ท่ีโรงเรียนก็ยัง มีนักเรียนท่ีไม่ได้กลับบ้าน ไม่มีผู้ปกครองมารับ ข้าพเจ้าก็จะพาเด็กๆ เหล่าน้ีทากิจกรรม หรือ สอนเพิ่มเติม ให้เขาอยู่เสมอ แม้แต่บางงานที่ไมใ่ ชเ่ วรที่ทางโรงเรียนกาหนดใหร้ ับผิดชอบ หรือ มไิ ด้ขอร้อง ถ้าขา้ พเจ้าสามารถช่วยได้ กจ็ ะมาชว่ ยโดยไมต่ อ้ งออกมาเป็นคาส่งั สงิ่ ท่ภี ูมิใจในวิชาชพี ครูของข้าพเจา้ เอง คอื การไม่เบยี ดบังเวลาของทางราชการมาใชเ้ พ่ือ ประโยชน์ส่วนตัว จนทาให้ผู้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงานวิชาชีพ บุคคลที่รู้จักข้าพเจ้าให้การ ยอมรับ ในการทมุ่ เทการทางานเพือ่ วงการศึกษา จนไดร้ บั รางวลั ยอดครูผมู้ ีอุดมการณ์
ตอนท่ี 3 ลกั ษณะ/พฤติกรรม การปฏิบตั ติ น.....135 รางวลั ยอดครูผู้มอี ุดมการณ์ รางวัลขา้ ราชการครูดีเด่น ครูผ้สู อนดเี ด่น กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพฯ
ตอนท่ี 3 ลักษณะ/พฤตกิ รรม การปฏบิ ัติตน.....136 ตวั อยา่ งกจิ กรรมทใี่ ชเ้ วลานอกราชการ เพอ่ื กอ่ เกดิ ประโยชนก์ บั นกั เรยี นและโรงเรยี น กจิ กรรมปดิ ทองหลังพระ ตอน... ปวช. อาสาพาน้องโรงเรียนบา้ นวงั กระโดนน้อย สรรสรา้ งผลงานดว้ ยคอมพวิ เตอร์ กิจกรรมยอ่ ย ปวช. อาสาลกู ราชประชา ๓๓
ตอนท่ี 3 ลกั ษณะ/พฤตกิ รรม การปฏบิ ตั ติ น.....137 ทม่ี าของความตง้ั ใจ กิจกรรมการเปน็ วทิ ยากรและการทเ่ี ดก็ ๆ ไดม้ โี อกาสเรยี นรกู้ ารเปน็ ผชู้ ว่ ยวทิ ยากร กาเนดิ เกิดมาจากการได้รับการติดตอ่ จากพ่บี ุญเชิด คณุ ครูโรงเรยี นบา้ น วังกระโดน นอ้ ย ใหช้ ว่ ยสอนนกั เรียนท่ีเรียนรู้ชา้ (เดก็ LD) จานวนประมาณไม่เกิน 30 คน ทีแ่ ตกตา่ ง ท้ังอายแุ ละ ระดับการเรยี นรู้ ซง่ึ มเี วลาคิดและเตรียมการเพยึ งแค่ครง่ึ วนั วทิ ยากร ผชู้ ่วยวทิ ยากร จากโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๓ จังหวัดลพบรุ ี และนกั เรียนโรงเรียนบ้านวงั กระโดนนอ้ ย ในการสรรสรา้ งผลงานดา้ นคอมพิวเตอร์ เป็นโจทย์ท่ีแปลก ใหม่ และท้าทาย แต่เป็นผลดีทั้งต่อโรงเรียน ตัวเอง โดยเฉพาะเด็ก ปวช. ทจ่ี ะได้พิสูจนส์ ่ิงที่เรียนมากบั บทบาทการเปน็ ผสู้ อน หรอื เปน็ คณุ ครตู วั นอ้ ย เวทนี คี้ ง เป็นอีกเวทที ่ีวดั ความสามารถของครูดา วา่ สิง่ ที่สอนเด็กๆ มาในโรงเรียน เด็กๆ จะนามาปรับประยุกต์ใช้ในสนามรบแห่งการใช้ความรู้ สนามน้ีได้ หรือไม่ ไม่ว่าจะเป็นการใช้โปรแกรมในการทาปฏิทิน (มีรูปของตัวเอง ทาเข็มกลัดรูป ตัวเอง)
ตอนท่ี 3 ลักษณะ/พฤติกรรม การปฏิบัตติ น.....138 รวมท้งั เรอ่ื งมารยาท การทางาน ความอดทน ถา้ ทกุ ทา่ นอยากทราบขอเชญิ อา่ นบนั ทกึ ความพงึ พอใจของนกั เรยี นบา้ นวงั กระโดนนอ้ ย ความพงึ พอใจของคณุ ครทู เ่ี ปน็ เจา้ ของโครงการและสงิ่ ทนี่ กั เรยี นไดเ้ รยี นรจู้ ากการเปน็ ผชู้ ว่ ยวทิ ยากร แลว้ ทา่ นจะไดร้ วู้ า่ กจิ กรรมเลก็ ๆ กส็ ามารถทาใหเ้ ดก็ ไดเ้ รยี นรอู้ ะไรได้ มากมาย
ตอนที่ 3 ลกั ษณะ/พฤตกิ รรม การปฏบิ ตั ิตน.....139
ตอนท่ี 3 ลักษณะ/พฤตกิ รรม การปฏบิ ตั ิตน.....140 รูส้ ึกตื่นเต้น เพราะเปน็ การ เม่ือถึงเวลาสอนจรงิ ๆ ผมก็ ไปสอนนอกโรงเรียนเป็นครั้งแรก ทาได้ เพราะส่ิงที่ครูสอน ส่ิงที่ครู และได้รู้ว่าต้องไปสอนน้องท่ีมี ฝกึ ใหผ้ มทามนั ยากกว่าส่งิ ท่ผี มมา ปัญหาการเรียนรู้ที่ช้า ย่ิงคิดหนัก สอนนอ้ งๆ ครง้ั นี้ แต่เม่ือครูดามอบโอกาส ผมต้อง ทาให้เต็มท่ีถึงแม้จะมีเวลาในการ ผมรู้แล้วว่ายิ่งเราผ่านบท เตรียมตัวแค่คร่ึงวัน ผมเลยไป ฝึกยากๆ พอถงึ เวลานามาใชจ้ ะทา ซ้อมการใช้โปรแกรมสร้างชิ้นงาน ใหเ้ ราใชง้ านได้คลอ่ งไม่ตดิ ขัด ตามที่จะไปสอนน้องๆ เพ่ือเสริม ความมน่ั ใจในตวั เอง รฐั พงษ์ ฤทธฉ์ิ ่า พี่แมค๊ ปวช. 3 รุ่น 7
ตอนที่ 3 ลักษณะ/พฤติกรรม การปฏิบตั ิตน.....141 หนูเคยแต่ใช้โปรแกรมใน และที่สาคัญทาให้หนูได้ การทาชิ้นงานและสอนให้น้อง เ รี ย น รู้ ว่ า ก า ร เ ป็ น ค รู น้ั น ย า ก ปวช. 1-2 มาก่อน แต่ไม่เคยสอน โดยเฉพาะสอนคนที่ไม่รู้เรื่อง เดก็ เล็กๆ ไมร่ ูว้ ่าน้องจะเข้าใจหรือ นอ้ งๆ คงเหมือนหนูเม่ือก่อน และ เปลา่ หนเู ลยกังวลไปบ้าง ครูก็คงเหมือนหนูในตอนน้ี หนู ต้องยกความดี ความเก่ง ให้ ก า ร ส อ น ค ร้ั ง นี้ เ ป็ น ไ ป คุณครูที่สอนให้หนูสามารถสอน ด้วยดี เพราะน้ องที่ห นู ได้ รั บ คนอื่นได้ มอบหมายให้สอน สามารถทา ผลงานออกมาได้ทุกคน แต่ ศริ ิลกั ษณ์ จีนลกั ษณ์ (แปน้ แปน๋ ) อาจจะช้าไปบ้าง ภูมิใจท่ีสอน ปวช. 3 รนุ่ 7 น้ อ ง ๆ ไ ด้ แ ล ะ เ ห็ น น้ อ ง ๆ มี ความสุขเมื่อได้เห็นผลงานของ ตวั เอง
ตอนที่ 3 ลกั ษณะ/พฤตกิ รรม การปฏบิ ตั ิตน.....142
ตอนที่ 3 ลักษณะ/พฤติกรรม การปฏิบตั ิตน.....143 ค ณ ะ วิ ท ย า ก ร เ ป็ น ผู้ มี ข อ บ คุ ณ ค ณ ะ วิ ท ย า ก ร ที่ ความรู้ความสามารถมีเทคนิค ต้งั ใจ ใสใ่ จ เมตตาต่อเดก็ มี วิ ธี ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม เ ป็ น ขั้นตอนชัดเจนนักเรียนเข้าใจ ครบู ญุ เชดิ แยม้ สัจจา ง่าย และสามารถปฏิบัติกิจกรรม ครู คศ.3 โรงเรียนบ้านวงั กระโดนนอ้ ย ได้ นักเรียนมีความกระตือรือร้น มคี วามสขุ ท่ีได้เรียนรแู้ ละสามารถ สร้างช้ินงานไดด้ ว้ ยตนเอง ทาให้เด็กๆ ภาคภูมิใจและ เห็นคุณค่าของตนเอง
ตอนท่ี 3 ลักษณะ/พฤติกรรม การปฏบิ ตั ิตน.....144 ครูและพี่ๆ มาสอนเป็นคร้ังแรก ขอบคุณครูและพี่ๆ ที่ทาให้ผมมี ส อ น ดี ม า ก ส อ น เ ก่ ง มี วันท่ีผมไดภ้ าคภมู ิใจ ความสามารถ สอนใหผ้ มทาได้ ครูและพี่ๆ ทาให้ผมมีความรู้ ประเสรฐิ ศกั ดิ์ นันทเวช เม่ือก่อนผมไม่เคยทาอะไรได้เป็น นกั เรียนโรงเรยี นบา้ นวังกระโดนนอ้ ย ป.5 ชิ้นเป็นอนั วนั น้ีผมภูมใิ จ ผมทาได้
ตอนท่ี 3 ลกั ษณะ/พฤติกรรม การปฏิบัตติ น.....145 อยากให้พีแ่ ละคุณครู มาสอนอีก สนุก และได้ความรู้ หนูไมเ่ คยทาอะไรเอง ไดเ้ ลย แต่วันน้หี นทู าได้ และสวยด้วย ภูมใิ จทส่ี ดุ ขอบคุณ คุณครูและพๆี่ จากราชประชาฯ ค่ะ ปารชิ าติ อสิ ระภาพ นักเรยี นโรงเรยี นบา้ นวงั กระโดนน้อย ป.4
ตอนที่ 3 ลกั ษณะ/พฤติกรรม การปฏิบัตติ น.....146 ตวั อยา่ งการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี เพอื่ ใหเ้ กดิ ผลดกี บั ทางโรงเรยี น โดยไมเ่ บยี ดบงั เวลาสอน ใหก้ ารตอ้ นรบั ผู้มาเย่ียมโรงเรยี น หรือมาตดิ ต่อราชการ ถงึ ไมใ่ ช่หนา้ ทเี่ วรรบั ผิดชอบ ถา้ มผี มู้ ีจิตศรทั ธาตอ้ งการใหท้ างโรงเรยี นจดั เตรียมของสาหรบั บรจิ าค ขา้ พเจา้ จะใชเ้ วลาในวนั หยดุ ในการจดั หา ในชว่ งเวลาหลงั เลกิ เรยี นจะใหร้ ุ่นพ่มี าสอนนอ้ งๆ ทาการบ้าน เพือ่ เป็นการสรา้ งความสมั พนั ธท์ ี่ดรี ะหวา่ งพี่กบั นอ้ ง
ตอนท่ี 3 ลักษณะ/พฤตกิ รรม การปฏบิ ตั ิตน.....147 การแต่งกาย จัดเป็นภาษาทางวัตถุ (object language) ประเภทหนึ่งท่ีใช้สื่อสารระหว่าง กัน การแต่งกายของบุคคลจะถูกแปลความ ประเมิน และตัดสิน โดยดูจากเสื้อผ้า ทรงผม รองเทา้ และเครื่องประดบั ทสี่ วมใส่ ผลการตัดสินอาจเป็นความพึงพอใจ ความรู้สึกยอมรับนับถือ ความรู้สึกให้เกียรติต่อ ผูอ้ น่ื หากบคุ คลน้ันแต่งกายเหมาะสม หรือในทางตรงกนั ขา้ ม อาจเกิดความรสู้ ึกไม่พอใจ รู้สึกดู ถูก และรสู้ ึกไม่ตอ้ งการสนทนาด้วย หากการแต่งกายของบคุ คลน้นั ไม่เปน็ ไปตามความคาดหวงั ความรู้สึกต่อการแต่งกายจะค่อนข้างรุนแรงในกลุ่มคนท่ีชอบประเมินคนจากลักษณะภายนอก แม้ว่าในความเป็นจริง เราไม่ควรตัดสินคนจากสภาพที่เห็นภายนอก และการแต่งกายเป็น เสรีภาพเฉพาะบุคคล แต่การอยู่ร่วมกันในสังคมย่อมต้องมีกรอบ “ความเหมาะสม” บาง ประการท่กี าหนดขึ้น เปน็ เหมอื นขอ้ ตกลงท่ียอมรับรว่ มกัน ในการแต่งกายข้าพเจ้าจะยึดหลักให้ถูกต้องตามระเบียบทางราชการ ตามระเบียบ ปฏบิ ัตขิ องทางโรงเรยี น ถ้านอกเวลาราชการจะแต่งกายให้เหมาะสมกับเวลา สถานที่ กจิ กรรม เหมาะสมกบั วยั เพื่อเป็นแบบอย่างให้กับนักเรียนและเพื่อนร่วมวชิ าชีพ และเป็นท่เี ช่ือม่ัน ชนื่ ชม กับผู้พบเห็น
ตอนที่ 3 ลักษณะ/พฤติกรรม การปฏบิ ตั ติ น.....148 ไม่ว่าเวลาจะผ่านมาก่ยี ุคก่ีสมัยเราทุกคนคงต้องยอมรับว่าโรงเรียนเปรียบ เสมือนบ้าน หลังท่ีสองของเหล่าบรรดานักเรียนท้ังหลายซ่ึงใช้ชีวิตส่วนใหญ่ อยู่ภายใต้หลังคาบ้านหลังน้ี สถานที่ทซี่ ่ึงคอยสร้างเสรมิ ประสบการณ์ต่างๆ ให้แก่ผ้เู รียน ชวี ิตของคนเราน้ันเร่ิมตั้งแต่ในวัย เด็กจะได้รับความรู้เบื้องต้นในการดารงชีวิต จากพ่อแม่ผู้ปกครอง เม่ือเติบใหญ่ถึงวัยเรียนก็ จะต้องเข้าโรงเรียนเพ่ือเข้ารบั การศกึ ษา บรรยากาศความอบอุ่นในการดารงชวี ิตจากครอบครัว เปล่ียนแปลงไป ต้องห่างจากครอบครัวในชว่ งเวลาหนงึ่ เพ่ือเข้ารบั การเรียนรู้จากครูในโรงเรียน และแน่นอนผู้ท่ีมีบทบาทและเป็นกาลังสาคัญในการขับเคล่ือนกลไกเหล่าน้ีก็ คือ “ครู” “ครู” ยังคงเป็นบคุ คลสาคัญอนั ดับแรกทจ่ี ะชว่ ยสร้างคน สรา้ งชาติ ยิ่งสงั คมยคุ ใหมพ่ ่อ แม่ต้องด้ินรนทามาหากิน ส่งผลให้มีเวลาดูแลลูกๆ น้อยลง ครูจึงต้องทางานหนักขึ้นอีกหลาย เทา่ นอกจากจะสอนหนังสือแลว้ ครยู งั ตอ้ งเปน็ พ่อแมค่ นที่ 2 คอยอบรมส่ังสอนประคับประคอง ให้เด็กเติบโตเป็นกาลังสาคัญของประเทศในวันข้างหน้า โดยเฉพาะการได้มาเป็นครูใน โรงเรียนราชประชานเุ คราะหแ์ หง่ นี้ เมื่อข้าพเจ้าได้มาเป็น “ครูราชประชา” ข้าพเจา้ ทุ่มเททงั้ กาลังกาย กาลังใจ กาลังทรพั ย์ ในการถ่ายทอดวิทยาการต่างๆ ให้กับศิษย์อย่างเต็มท่ีได้ มอบความรู้ให้โดยไม่ปิดบัง สอน โดยไม่หวังผลตอบแทน ให้ความรัก ความเมตตา และความเอาใจใส่ มีความปรารถนาดี เป็น ที่ปรึกษาท่ีดีของศิษย์ในทุกเร่ือง มีความยุติธรรมและมีความเป็นกลาง ไม่เลือกที่รักมักที่ ชัง เข้าใจในความแตกต่างแต่ละคน ไม่ยึดถือเอาอารมณ์และความต้องการของตนเองเป็น ใหญ่ และท่ีสาคัญท่ีสุดคือ ต้องให้ความรักแก่ศิษย์ด้วยใจที่บริสุทธิ์ โดยเพียงต้องการให้ศิษย์ เป็นคนดี มีสตปิ ญั ญา สร้างตัวเองและครอบครัวให้ดี สรา้ งสังคม และสร้างงาน
ตอนที่ 3 ลกั ษณะ/พฤติกรรม การปฏิบัตติ น.....149 ในการปฏิบัติหน้าท่ีข้าพเจ้าพร้อมที่จะอุทิศแรงกาย สติปัญญา เพื่อก่อใหเ้ กิดประโยชน์ แก่ส่วนรวม ได้เข้าร่วมกิจกรรมและให้ความช่วยเหลือกับผู้ร่วมงานในโรงเรียน ตลอดจน กิจกรรมส่าคัญของหน่วยงานราชการ องค์กรและชุมชนอย่างสม่าเสมอ ร่วมมือในการประสาน ส่งเสริมความสามัคคีในหมู่คณะด้วยความจริงใจ นอกจากนี้ยังช่วยเหลือเพื่อนร่วมงานในการ พัฒนางานด้านวิชาการ การน่าความรู้ท่ีตนมีเผยแพร่และให้ความช่วยเหลือ ให้ค่าปรึกษา ค่าแนะน่าแก่เพ่อื นครูเพ่ือนรว่ มอาชีพเดยี วกนั ทัง้ โรงเรยี นของตนเองและโรงเรยี นอ่นื การช่วยเหลอื เกอื้ กลู หวั ใจหลกั ในการทา่ งานของข้าพเจ้า การช่วยเหลอื ผอู้ ่นื ตอ้ งใช้ ความเสยี สละ การมปี ฏสิ มั พันธก์ บั ผคู้ นอยตู่ ลอดเวลาการปฏสิ มั พันธ์น้ีจะนา่ มาซงึ่ การใหค้ วาม ร่วมมือและการชว่ ยเหลอื ซง่ึ กันและกัน ทา่ ใหม้ ผี ลข้าพเจา้ มคี วามสุขกับการทา่ งาน ส่งผลให้งาน ส่าเรจ็ ลลุ ่วงอย่างมีประสทิ ธภิ าพ และเป็นแบบอยา่ งใหก้ ับลกู ศษิ ยใ์ นเรอื่ งการมนี า่้ ใจ ข้าพเจ้าตระหนักอยู่ตลอดเวลาว่าข้าพเจ้าท่างานในส่วนของทางราชการซ่ึงมีหน้าท่ี บริการโดยเฉพาะการบริการให้ความรู้แก่ครู นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน ชุมชน ตลอดจน ประชาชนทุกคนโดยไม่มุ่งหวังผลตอบแทนใดๆ ด้วยอธั ยาศยั ไมตรี ยิ้มแยม้ แจ่มใส ขา้ พเจา้ เคย ให้ความช่วยเหลือและแกป้ ญั หาให้ทกุ ๆ คนตามบทบาทหนา้ ทที่ ี่กระทา่ ได้ ข้าพเจ้าบริการผู้ปกครองนักเรียนในเร่ืองของการให้ข้อมูลข่าวสารของทางโรงเรียนใน เรื่องรับสมัครนักเรียน ปิดภาคเรียน ความเป็นอยู่ของบุตรหลาน ให้ความเป็นกันเองให้ความ สะดวกในการมาติดต่อประสานงานกับโรงเรยี น
ตอนท่ี 3 ลกั ษณะ/พฤตกิ รรม การปฏิบตั ติ น.....150 ข้าพเจ้าได้รับคาส่ังบรรจุเป็นข้าราชการครู เม่ือวันที่ 17 กรกฎาคม 2544 ซ่ึงข้าพเจ้า มีสิทธิเลือกบรรจุได้ 2 โรงเรียน คือโรงเรียนยางรากวิทยา ซ่ึงเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา ประจาอาเภอ ประเภทไปกลับ อกี ท่ีหนึ่งคอื โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๓ จงั หวัดลพบุรี ซึ่ง เป็นโรงเรยี นประจา ขณะน้นั ร้ขู อ้ มลู แต่ละโรงเรยี นมาเพียงแค่นี้ ข้าพเจ้าไดเ้ ดินทางมาดโู รงเรียนท้ัง 2 โรงเรียน โรงเรยี นแรกที่ข้าพเจ้าไปดู คือโรงเรียน ยางรากวิทยา เป็นโรงเรียนที่มีความพร้อม มีอาคารเรียนขนาดใหญ่ มีบ้านพักครู โรงเรียนอยู่ ในหม่บู า้ น หลังจากน้ันข้าพเจ้า สภาพ เดิ น ท า ง ม า ท่ี โร ง เรี ย น “โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๓ จังหวดั ลพบรุ ี” ราชประชานุเคราะห์ ๓๓ จังหวัดลพบรุ ี ตลอดเส้นทาง ทจี่ ะมาที่โรงเรียนมีบ้านผูค้ น น้อยมาก สองข้างทางเต็ม ไปด้วยป่าอ้อย มีเพียงรถ มอเตอร์ไซต์ชาวบา้ นที่นานๆ จะขบั สวนมาสักคัน เม่ื อ ม าถึ ง เห็ น ป้ าย ช่ือ โรงเรยี น “ราชประชา นุ เคราะห์ ๓๓ จังหวดั ลพบุรี” เมื่อข้าพ เจ้าลงมา จากรถกลับมองเห็นธงชาติ โ บ ก ไ ส ว อ ยู่ ก ล า ง ทุ่ ง ห น้ า มองไปรอบๆ เห็นเป็นเพียง พ้ืนที่โล่ง มีแค่เพียงเสาปูน รอการก่อสร้างเป็นอาคาร เรียนมองหาบ้านพักครูก็ไม่ เห็นมี
พอดีมีผู้ชายคนหน่ึงท่ีอยู่บริเวณ ตอนท่ี 3 ลกั ษณะ/พฤติกรรม การปฏบิ ตั ิตน.....151 นั้น ข้าพเจ้าได้สอบถามเก่ียวกับ เรื่องราวของโรงเรียนแห่งน้ี แล้ว ทอี่ ยู่ในความทรงจา ณ วนั ทีไ่ ด้เลอื ก ผู้ ช า ย ค น นั้ น ก็ เล่ า ให้ ฟั ง ว่ า มาปฏบิ ัติหนา้ ที่ขา้ ราชการครู โรงเรียนตอนนี้อาศัยพื้นที่ของ 17 กรกฎาคม 2544 โครงการธรรมรักษ์นิเวศน์ 2 ท่ี ผ่านมาด้านหน้า ที่เป็นบ้านหลัง เล็กๆ หลังคาสีเขียว เปน็ โรงเรยี น และทพี่ กั ชวั่ คราว ข้าพเจ้าได้ขับรถย้อนกลับไปดู พื้นท่ีดังกล่าว พบบ้านหลังเล็กๆ หลังคาสีเขียว มีห้องเรียนเป็น ศาลาริมน้า และโรงเลี้ยงไก่ที่ถูก ดัดแปลงมาเป็นห้องสมุด ห้อง คอมพิวเตอร์ ที่ข้าพเจ้าต้องใช้ สอน เพราะข้าพเจ้ามาบรรจุใน ต า แ ห น่ ง ค รู ผู้ ส อ น วิ ช า คอมพิวเตอร์ บา้ นพกั /ที่ทางานของขา้ พเจา้ จากสภาพท่ีเห็นไม่มีสิ่งใดบ่งบอก ถึ ง ค ว า ม ส ะ ด ว ก ส บ า ย ไ ด้ เล ย ขา้ พเจ้าตัดสินใจไม่เลือกโรงเรียน น้ี แ น่ ยิ่ งรู้ว่า พ้ื น ท่ี โค ร งก า ร ธรรมรักษ์นิเวศน์ 2 ท่ีข้าพเจ้าต้อง ใช้เป็นที่ทางานและท่ีพัก เป็นท่ี อย่ขู องผู้ป่วยทตี่ ิดเช้ือ HIV
ตอนที่ 3 ลกั ษณะ/พฤติกรรม การปฏบิ ตั ติ น.....152 แต่เม่ือข้าพเจา้ เดนิ ไปท่โี รงเกบ็ ของ มแี ผน่ ป้ายไมเ้ ขยี นข้อความวา่ ซึ่งทาให้ข้าพเจ้าต้องหยุดอ่านแผ่นป้ายนั้นจนหมดข้อความ ซึ่งมีส่ิงหน่ึงแว๊บ มาในความคิด ของขา้ พเจา้ วา่ “ถ้าเราได้เป็นครูสอนที่ โรงเรี ย น น้ี เราจ ะได้ ทางานตอบแทนคุณของ แ ผ่ น ดิ น คุ ณ ข อ ง พ ระบ าท ส ม เด็ จ พ ระ เจ้าอยหู่ วั ไดเ้ ตม็ ที่ เพราะ โรงเรียนแห่งนี้มีพระองค์ ท่านเปน็ ผูด้ ูแล“ ทาให้ข้าพเจ้าตัดสินใจที่ จะมาเป็นครู “ครูราช ประชา” ต้งั แต่วนิ าทีนั้น การที่หลายคนได้สวมชุดข้าราชการถือว่าเป็นความภาคภูมิใจ แต่สาหรับ ข้าพเจ้าแล้วการได้ใส่ชุดสีฟ้ามีตราพระมหาชัยมงกุฎซึ่งเป็นหน่วยงานท่ีทางาน ภายใต้เบื้องพระยุคลบาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยิ่งเป็นความ ภาคภูมิใจหาทสี่ ุดมไิ ด้
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187