Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสำหรับเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ปีการศึกษา 2563

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสำหรับเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ปีการศึกษา 2563

Published by Anurat Onsong, 2021-08-08 02:58:20

Description: ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 1 จังหวัดนครปฐม

Keywords: ฺbookschool

Search

Read the Text Version

ความนา กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายการพัฒนาการศึกษาปฐมวัยอย่างจริงจังและต่อเน่ือง โดยได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช ๒๕๖๐ เพ่ือใช้ในการจัดการศึกษาปฐมวัย ที่ต้องพัฒนาเดก็ ต้ังแตแ่ รกเกดิ – ๖ ปี ใหม้ พี ฒั นาการด้านรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ สังคมและสติปัญญา ท่ีเหมาะสมกับวัย ความสามารถ และความแตกต่างระหว่างบุคคลเป็นการเตรียมความพร้อม ทจี่ ะเรียนรแู้ ละสรา้ งรากฐานชวี ติ ใชพ้ ฒั นาเด็กปฐมวัยไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นคนดี มีวินัย ภูมใิ จในตนเอง และมีความรับผิดชอบตอ่ ตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ อาศัยความตามพระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ (๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๑๐ กาหนดไว้ว่า “การจัดการศึกษาต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอ กันในการรับการศึกษาข้ันพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีท่ีรัฐต้องจัดให้อย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย” และพระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๕ กาหนดใหค้ นพกิ ารมีสิทธิทางการศกึ ษาโดยไม่เสียคา่ ใช้จา่ ยต้ังแตแ่ รกเกิดหรือพบความพิการจนตลอด ชีวิต พร้อมทั้งได้รับเทคโนโลยีสิ่งอานวยความสะดวก ส่ือ บริการและความช่วยเหลืออื่นใดทาง การศึกษา เลือกบริการทางการศึกษา สถานศึกษา ระบบ และรูปแบบการศึกษาโดยคานึงถึง ความสามารถ ความสนใจ ความถนัดและความตอ้ งการจาเปน็ พเิ ศษเฉพาะบุคคลนั้น ดังนั้นเพื่อให้การจัดการศึกษาสาหรับเด็กพิการได้รับการพัฒนาต้ังแต่แรกเกิดถึง ๖ ปี ให้มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและมีสติปัญญาท่ีเหมาะสมเต็มศักยภาพ ศนู ย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา ๑ จงั หวัดนครปฐม ได้แต่งตั้งคณะทางานพัฒนาหลักสูตรปฐมวัย สาหรับเด็กที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ พุทธศักราช ๒๕๖๓ โดยคณะทางานได้เพิ่มทักษะจาเป็น เฉพาะความพิการสาหรับเด็กพิการแต่ละประเภท เพ่ือใหส้ อดคล้องกับสภาพความพกิ ารและศักยภาพ ของแต่ละบุคคล หลักสูตรนี้จึงเหมาะสาหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ นอกจากน้ีสถานศึกษา สถานพัฒนาเด็กเล็กและหน่วยงานท่ีมีเด็กที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ สามารถนาไปใช้เป็นกรอบ และแนวทางในการพฒั นาเด็กทมี่ ีความตอ้ งการจาเปน็ พิเศษระดับปฐมวัยให้มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม สติปัญญา และทักษะท่ีจาเป็นสาหรับเด็กพิการแต่ละประเภทเพื่อให้ดารงชีวิต อยู่ในสังคมไดอ้ ย่างมคี วามสุข

๒ ปรชั ญาการศกึ ษาปฐมวยั สาหรบั เด็กทมี่ ีความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ การศึกษาปฐมวัยสาหรับเด็กที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ เป็นการพัฒนาเด็กตั้งแต่แรก เกดิ ถงึ ๖ ปีบรบิ ูรณ์ อยา่ งเป็นองค์รวมบนพื้นฐานการอบรมเลีย้ งดูและการสง่ เสรมิ กระบวนการเรียนรู้ ทส่ี นองตอ่ ธรรมชาติและพฒั นาการตามสภาพความพกิ ารของเด็กแต่ละบุคคลให้เต็มศักยภาพ ภายใต้ บริบทสังคมและวัฒนธรรมที่เด็กอาศัยอยู่ ด้วยความรัก ความเอื้ออาทร และความเข้าใจของทุกคน เพื่อสร้างรากฐาน คุณภาพชีวิตให้เด็กพัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ เกิดคุณค่าต่อตนเอง ครอบครัว สังคม และประเทศชาติ วิสัยทศั น์ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสาหรับเด็กที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ มุ่งพัฒนาเด็กทุกคน ใหไ้ ด้รับการพฒั นาดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม สติปัญญา และทักษะที่จาเป็นสาหรับเด็กพิการ แต่ละประเภท อย่างมีคุณภาพและต่อเนื่อง ได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างมีความสุข และเหมาะสมตามศักยภาพ มีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นคนดี มีวินัย และสานึกความเป็นไทย โดยความร่วมมือระหว่างสถานศึกษา พ่อแม่ ครอบครัว ชมุ ชนและทกุ ฝาุ ยทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั การพัฒนาเด็ก หลักการ เดก็ ทกุ คนมีสิทธทิ จี่ ะได้รับการอบรมเลย้ี งดูและการส่งเสรมิ พัฒนาการตามอนุสัญญาว่าด้วย สทิ ธเิ ดก็ ตลอดจนไดร้ บั การจัดประสบการณก์ ารเรยี นรูอ้ ยา่ งเหมาะสม ดว้ ยปฏสิ มั พนั ธ์ท่ีดีระหว่างเด็ก กับพ่อแม่ เด็กกับผู้สอน เด็กกับผู้เลี้ยงดู หรือผู้ท่ีเก่ียวข้องกับการอบรมเลี้ยงดู การพัฒนา และใหก้ ารศึกษาแก่เด็กปฐมวัย เพือ่ ใหเ้ ด็กมีโอกาสพัฒนาตนเองตามลาดับขั้นของพัฒนาการทุกด้าน อย่างเปน็ องค์รวม มคี ุณภาพ และเต็มตามศกั ยภาพ โดยกาหนดหลกั การ ดงั นี้ ๑. ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาการที่ครอบคลุมเด็กปฐมวัยท่ีมีความต้องการ จาเป็นพเิ ศษทกุ คน ๒. ยึดหลักการอบรมเล้ียงดูและให้การศึกษาท่ีเน้นเด็กเป็นสาคัญ โดยคานึงถึง ความแตกต่างระหว่างบคุ คล และวิถชี ีวิตของเดก็ ตามบรบิ ทของชมุ ชน สงั คม และวัฒนธรรมไทย ๓. ยึดพัฒนาการและการพัฒนาเด็กโดยองค์รวม ผ่านการเล่นอย่างมีความหมาย มกี ิจกรรมที่หลากหลาย ไดร้ ับเทคโนโลยี ส่ือ สิ่งอานวยความสะดวก บริการและความช่วยเหลืออ่ืนใด ทางการศึกษา ได้ลงมือกระทาในสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ เหมาะสมกับสภาพความพิการ และมีการพักผ่อนเพยี งพอ ๔. จัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้ใหเ้ ดก็ มีทักษะชวี ติ และสามารถปฏิบัติตนตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง เปน็ คนดี มีวนิ ยั และมคี วามสุข ๕. สร้างความรู้ ความเข้าใจ และประสานความร่วมมือในการพัฒนาเด็กระหว่าง สถานศึกษากับพ่อแม่ ครอบครัว ชุมชน และทุกฝุายที่เกี่ยวข้องกับกา รพัฒนาเด็กปฐมวัย ที่มคี วามตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ

๓ หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั สาหรับเด็กทม่ี คี วามตอ้ งการจาเปน็ พเิ ศษ ตงั้ แตแ่ รกเกิด - ๖ ปี

๔ หลักสูตรการศึกษาปฐมวยั สาหรับเด็กทมี่ ีความต้องการจาเปน็ พเิ ศษ สาหรบั เดก็ อายุแรกเกิด - ๖ ปี หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสาหรับเด็กที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ อายุแรกเกิด - ๖ ปี เป็นการจดั การศกึ ษาในลักษณะของการอบรมเลีย้ งดูและให้การศึกษา เด็กจะได้รับการพัฒนาทั้งด้าน ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม สติปัญญา และทักษะท่ีจาเป็นสาหรับเด็กพิการแต่ละประเภทตาม สภาพความพิการ และความสามารถของแตล่ ะบุคคล จดุ หมาย หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสาหรับเด็กท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ มุ่งให้เด็ก ที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษมีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ และมีความพร้อมในการเรียนรู้ต่อไป จงึ กาหนดจดุ หมายเพอ่ื ใหเ้ กดิ กับเดก็ เมอื่ จบการศึกษาระดบั ปฐมวยั ดังนี้ ๑. ร่างกายเจรญิ เตบิ โตตามวัย แขง็ แรง และมสี ุขนสิ ยั ทีด่ ี ๒. สขุ ภาพจิตดี มสี นุ ทรยี ภาพ มีคณุ ธรรม จริยธรรม และจติ ใจทด่ี ีงาม ๓. มีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีวินัย และอยรู่ ว่ มกับผู้อ่นื ได้อย่างมคี วามสุข ๔. มที ักษะการคดิ การใช้ภาษาส่ือสาร และการแสวงหาความรไู้ ดเ้ หมาะสมกับวยั ๕. มที กั ษะท่ีจาเป็นเฉพาะความพกิ ารสาหรับเดก็ พิการแตล่ ะประเภท กลุ่มเปา้ หมาย กลมุ่ เปาู หมายตามหลักสูตรปฐมวัยสาหรับเด็กท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ ตามประกาศ กระทรวงศกึ ษาธิการ เรื่องกาหนดประเภทและหลกั เกณฑข์ องคนพิการทางการศึกษา พ.ศ.2552 ๑. บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเห็น ได้แก่ บุคคลท่ีสูญเสียการเห็นตั้งแต่ระดับ เลก็ นอ้ ยจนถึงตาบอดสนทิ ซึ่งแบ่งเป็น ๒ ประเภทดังน้ี ๑.๑ คนตาบอด หมายถงึ บคุ คลที่สูญเสยี การเห็นมาก จนต้องใช้ส่ือสัมผัสและสื่อเสียง หากตรวจวดั ความชดั ของสายตาขา้ งดีเมื่อแกไ้ ขแล้ว อยู่ในระดับ ๖ ส่วน ๖๐ (๖/๖๐) หรือ ๒๐ ส่วน ๒๐๐(๒๐/๒๐๐) จนถึงไมส่ ามารถรบั รู้เร่อื งแสง ๑.๒ คนเห็นเลือนราง หมายถึง บุคคลที่สูญเสียการเห็น แต่ยังสามารถอ่านอักษร ตัวพมิ พ์ขยายใหญด่ ว้ ยอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ หรือเทคโนโลยีส่ิงอานวยความสะดวก หากวัด ความชัดเจนของสายตาขา้ งดีเม่ือแก้ไขแล้วอย่ใู นระดับ ๖ สว่ น ๑๘ (๖/๑๘) หรือ ๒๐ ส่วน ๗๐ (๒๐/๗๐) ๒. บุคคลทีม่ ีความบกพรอ่ งทางการไดย้ นิ ได้แก่ บคุ คลที่สญู เสยี การได้ยินตั้งแต่ระดับหูตึง น้อยจนถงึ หูหนวก ซึง่ แบง่ เป็น ๒ ประเภท ดังนี้ ๒.๑ คนหูหนวก หมายถึง บุคคลที่สูญเสียการได้ยินมากจนไม่สามารถเข้าใจการพูด ผา่ นทางการได้ยินไม่ว่าจะใส่หรือไมใ่ ส่เครื่องช่วยฟัง ซึ่งโดยท่ัวไปหากตรวจการได้ยินจะมีการสูญเสีย การได้ยนิ ๙๐ เดซเิ บลขึน้ ไป

๕ ๒.๒ คนหูตึง หมายถึง บุคคลที่มีการได้ยินเหลืออยู่เพียงพอท่ีจะได้ยินการพูดผ่าน ทางการได้ยิน โดยท่ัวไปจะใส่เครื่องช่วยฟัง ซึ่งหากตรวจวัดการได้ยินจะมีการสูญเสียการได้ยิน นอ้ ยกว่า ๙๐ เดซิเบลลงมา ถึง ๒๖ เดซิเบล ๓. บุคคลทม่ี ีความบกพร่องทางสติปัญญา ได้แก่ บุคคลท่ีมีความจากัดอย่างชัดเจนในการ ปฏิบัติตนในปัจจุบัน ซึ่งมีลักษณะเฉพาะ คือ ความสามารถทางสติปัญญาต่ากว่าเกณฑ์เฉลี่ยอย่างมี นัยสาคัญร่วมกับความจากัดของทักษะการปรับตัวอีกอย่างน้อย ๒ ทักษะ จาก ๑๐ ทักษะ ได้แก่ การส่ือความหมาย การดูแลตนเอง การดารงชีวิตภายในบ้าน ทักษะทางสังคม/การมีปฏิสัมพันธ์กับ ผู้อ่นื การรจู้ ักใช้ทรพั ยากรในชมุ ชน การรู้จักดูแลควบคุมตนเอง การนาความรู้มาใช้ในชีวิตประจาวัน การทางาน การใช้เวลาวา่ ง การรักษาสขุ ภาพอนามัยและความปลอดภัย ท้ังน้ีได้แสดงอาการดังกล่าว กอ่ นอายุ ๑๘ ปี ๔. บุคคลท่ีมีความบกพร่องทางร่างกายหรือการเคล่ือนไหวหรือสุขภาพ ซึ่งแบ่งเป็น ๒ ประเภทดังนี้ ๔.๑ บคุ คลท่ีมคี วามบกพร่องทางร่างกายหรือการเคลื่อนไหว ได้แก่ บุคคลที่มีอวัยวะ ไมส่ มส่วนหรอื ขาดหายไป กระดูกหรือกล้ามเนื้อผิดปกติ มีอุปสรรคในการเคล่ือนไหว ความบกพร่อง ดงั กล่าวอาจเกิดจากโรคทางระบบประสาท โรคของระบบกล้ามเน้ือและกระดูก การไม่สมประกอบ มาแตก่ าเนดิ อบุ ัตเิ หตุและโรคตดิ ต่อ ๔.๒ บุคคลที่มีความบกพร่องทางสุขภาพ ได้แก่ บุคคลที่มีความเจ็บป่วยเร้ือรัง หรอื มโี รคประจาตวั ซง่ึ จาเปน็ ตอ้ งไดร้ ับการรักษาอยา่ งต่อเน่ือง และเปน็ อปุ สรรคต่อการศึกษา ซึ่งมีผล ทาให้เกดิ ความจาเปน็ ต้องไดร้ ับการศกึ ษาพิเศษ ๕. บคุ คลที่มีความบกพร่องทางการเรยี นรู้ ได้แก่ บคุ คลทม่ี คี วามผิดปกติในการทางานของ สมองบางส่วนท่แี สดงถงึ ความบกพรอ่ งในกระบวนการเรียนรู้ที่อาจเกดิ ขน้ึ เฉพาะความสามารถด้านใด ดา้ นหน่ึงหรอื หลายด้าน คอื การอา่ น การเขยี น การคดิ คานวณ ซ่ึงไมส่ ามารถเรียนรู้ในด้านที่บกพร่อง ได้ ทั้งทม่ี ีระดบั สติปญั ญาปกติ ๖. บุคคลที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา ได้แก่ บุคคลที่มีความบกพร่องในการ เปล่งเสียงพูด เช่น เสียงผิดปกติ อัตราความเร็วและจังหวะการพูดผิดปกติ หรือบุคคลที่มีความ บกพร่องในเรื่องความเข้าใจหรือการใช้ภาษาพูด การเขียนหรือระบบสัญลักษณ์อ่ืนท่ีใช้ ในการตดิ ต่อสื่อสาร ซ่ึงอาจเกี่ยวกับรปู แบบ เนอื้ หาและหน้าที่ของภาษา ๗. บุคคลทม่ี ีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ ไดแ้ กบ่ คุ คลท่ีมพี ฤติกรรมเบ่ียงเบน ไปจากปกติเป็นอย่างมาก และปัญหาทางพฤติกรรมนั้นเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นผลจากความ บกพร่องหรือความผิดปกติทางจิตใจหรือสมองในส่วนของการรับรู้ อารมณ์หรือความคิด เช่น โรคจติ เภท โรคซึมเศรา้ โรคสมองเสอ่ื ม เปน็ ตน้

๖ ๘. บคุ คลออทสิ ตกิ ได้แก่ บุคคลทีม่ คี วามผดิ ปกติของระบบการทางานของสมองบางส่วน ซึ่งส่งผลต่อความบกพร่องทางพัฒนาการด้านภาษา ด้านสังคมและการปฏิสัมพันธ์ทางสังคม และมีข้อจากัดด้านพฤติกรรม หรือมีความสนใจจากัดเฉพาะเร่ืองใดเรื่องหน่ึง โดยความผิดปกตินั้น คน้ พบได้ก่อนอายุ ๓๐ เดือน ๙. บุคคลพิการซ้อน ได้แก่ บุคคลที่มีสภาพความบกพร่องหรือความพิการมากกว่าหนึ่ง ประเภทในบุคคลเดยี วกัน มาตรฐานคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสาหรับเด็กที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ กาหนดมาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงค์จานวน ๑๓ มาตรฐาน ประกอบด้วย ๑. พฒั นาการด้านร่างกาย ประกอบด้วย ๒ มาตรฐาน คือ มาตรฐานที่ ๑ ร่างกายเจริญเติบโตและมีสขุ นิสยั ทดี่ ี มาตรฐานที่ ๒ กลา้ มเนื้อใหญแ่ ละกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรง ใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและประสาน สัมพันธก์ นั ๒. พัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ประกอบดว้ ย ๓ มาตรฐาน คือ มาตรฐานท่ี ๓ มีสุขภาพจิตดีและมคี วามสุข มาตรฐานที่ ๔ ชนื่ ชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว มาตรฐานที่ ๕ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และมจี ติ ใจทดี่ ีงาม ๓. พฒั นาการด้านสังคม ประกอบด้วย ๓ มาตรฐาน คือ มาตรฐานท่ี ๖ มที ักษะชวี ติ และปฏิบตั ิตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มาตรฐานที่ ๗ รักธรรมชาติ สง่ิ แวดล้อม วฒั นธรรมและความเปน็ ไทย มาตรฐานท่ี ๘ อยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมใน ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข ๔. พัฒนาการด้านสตปิ ัญญา ประกอบดว้ ย ๔ มาตรฐาน คือ มาตรฐานที่ ๙ ใชภ้ าษาส่อื สารไดเ้ หมาะสมตามศักยภาพ มาตรฐานท่ี ๑๐ มีความสามารถในการคดิ ที่เปน็ พน้ื ฐานในการเรียนรตู้ ามศักยภาพ มาตรฐานท่ี ๑๑ มีจนิ ตนาการและความคิดสร้างสรรค์ตามศกั ยภาพ มาตรฐานท่ี ๑๒ มีเจตคติท่ีดีต่อการเรียนรู้และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ได้ตาม ศกั ยภาพ ๕. พัฒนาการด้านทักษะท่จี าเป็นเฉพาะความพิการ ประกอบด้วย ๑ มาตรฐาน คือ มาตรฐานที่ ๑๓ มกี ารพฒั นาทกั ษะจาเป็นเฉพาะความพกิ ารแตล่ ะประเภท ในมาตรฐานนี้ แบ่งมาตรฐานได้ 8 ประเภทความพิการ คอื มาตรฐานท่ี ๑๓.๑ มีการพัฒนาทักษะจาเปน็ เฉพาะความบกพรอ่ งทางการเหน็

๗ มาตรฐานท่ี ๑๓.๒ มกี ารพฒั นาทักษะจาเปน็ เฉพาะความความบกพร่องทางการไดย้ ิน มาตรฐานท่ี ๑๓.๓ มกี ารพฒั นาทกั ษะจาเป็นเฉพาะความบกพรอ่ งทางสตปิ ัญญา มาตรฐานท่ี ๑๓.๔ มีการพัฒนาทกั ษะจาเป็นเฉพาะความบกพร่องทางร่างกายหรือการ เคลอื่ นไหวหรอื สุขภาพ มาตรฐานท่ี ๑๓.๕ มกี ารพฒั นาทกั ษะจาเป็นเฉพาะความบกพร่องทางการเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๑๓.๖ มกี ารพัฒนาทักษะจาเปน็ เฉพาะความบกพรอ่ งทางการพูดและภาษา มาตรฐานที่ ๑๓.๗ มีการพัฒนาทักษะจาเป็นเฉพาะความบกพร่องทางพฤติกรรมหรือ อารมณ์ มาตรฐานที่ ๑๓.๘ มีการพฒั นาทักษะจาเปน็ เฉพาะบุคคลออทิสติก ตัวบง่ ช้ี ตวั บ่งชี้เปน็ เปูาหมายในการพัฒนาเด็กท่ีมคี วามสัมพันธ์สอดคล้องกับมาตรฐานคุณลักษณะ ท่ีพงึ ประสงค์ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ สภาพท่ีพึงประสงค์เป็นพฤติกรรมหรือความสามารถตามวัยที่คาดหวังให้เด็กเกิด บนพ้ืนฐานพัฒนาการตามวัยหรือความสามารถตามธรรมชาติในแต่ละระดับอายุ เพ่ือนาไปใช้ ในการกาหนดสาระการเรยี นรู้ในการจดั ประสบการณ์ และประเมินพัฒนาการเด็ก โดยมีรายละเอียด ของมาตรฐาน คุณลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ ตัวบง่ ช้ี และสภาพที่พงึ ประสงค์ ดังน้ี มาตรฐานท่ี ๑ รา่ งกายเจรญิ เตบิ โตตามวัยและมสี ุขนสิ ยั ทด่ี ี ตัวบง่ ชี้ ๑.๑ นา้ หนัก ส่วนสงู และเส้นรอบศีรษะตามเกณฑ์ อายุ สภาพทีพ่ ึงประสงค์ แรกเกดิ – ๓ ปี 1. น้าหนกั และสว่ นสงู ตามเกณฑ์ 2. เส้นรอบศรี ษะตามเกณฑ์ ๓ – ๖ ปี 1. น้าหนกั และสว่ นสงู ตามเกณฑ์ของกรมอนามัย ตัวบง่ ช้ี ๑.๒ มสี ขุ ภาพอนามยั สขุ นิสยั ทีด่ ี อายุ สภาพที่พงึ ประสงค์ แรกเกิด – ๓ ปี 1. มีภูมิต้านทานโรค ไม่ปุวยบ่อย ขับถ่ายเป็นเวลา รับประทานอาหาร นอนและพักผอ่ นเหมาะสมกบั วยั ๒. กิจกรรมการเคล่ือนไหวสอดคลอ้ งตามพฒั นาการ ๓ – ๔ ปี 1. ยอมรับประทานอาหารท่ีมีประโยชนแ์ ละด่มื น้าที่สะอาดเม่อื มีผูช้ ้ีแนะ 2. ลา้ งมือก่อน-หลังรับประทานอาหารและหลังจากขับถ่าย การใช้ห้องน้า หอ้ งสว้ มเม่อื มีผชู้ ีแ้ นะ ๓. ดูแลสขุ ภาพช่องปากและฟัน เล็บ ผม หู ผวิ หนงั โดยมผี ้ชู แ้ี นะ

๘ อายุ สภาพที่พึงประสงค์ ๔ – ๕ ปี ๔. นอนพกั ผ่อนเป็นเวลา ๕. ออกกาลังกายอยา่ งสม่าเสมอ 1. รับประทานอาหารทม่ี ีประโยชนแ์ ละด่ืมน้าสะอาดด้วยตนเอง 2. ลา้ งมือก่อน-หลังรับประทานอาหารและหลังจากขับถ่าย การใช้ห้องน้า ห้องสว้ มได้ด้วยตนเอง ๓. ดูแลสุขภาพช่องปากและฟนั เล็บ ผม หู ผวิ หนัง ไดด้ ว้ ยตนเอง ๔. นอนพักผอ่ นเป็นเวลา ๕. ออกกาลังกายเป็นเวลา ๕ – ๖ ปี 1. รับประทานอาหารท่ีมีประโยชน์ตามหลักโภชนาการอาหารหลัก 5 หมู่ และดื่มน้าสะอาดไดด้ ้วยตนเอง 2. ลา้ งมือก่อน-หลังรับประทานอาหารและหลังจากขับถ่าย การใช้ห้องน้า ห้องสว้ มได้ดว้ ยตนเอง ๓. ดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน เล็บ ผม หู ผิวหนัง ได้ด้วยตนเอง ๔. นอนพักผอ่ นเปน็ เวลา ๕. ออกกาลงั กายเป็นเวลา ตัวบ่งช้ี ๑.๓ รกั ษาความปลอดภยั ของตนเองและผู้อนื่ อายุ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ ๓ – ๔ ปี 1. เลน่ และทากิจกรรมอย่างปลอดภยั เม่อื มผี ู้ช้ีแนะ ๔ – ๕ ปี 1. เล่นและทากิจกรรมอยา่ งปลอดภัยด้วยตนเอง ๕ – ๖ ปี 1. เลน่ ทากิจกรรมและปฏิบตั ติ ่อผอู้ น่ื อยา่ งปลอดภยั มาตรฐานที่ ๒ กลา้ มเนื้อใหญ่และกลา้ มเนอ้ื เลก็ แข็งแรง ใชไ้ ด้อยา่ งคล่องแคลว่ และ ประสานสมั พนั ธ์กนั ตัวบ่งชี้ ๒.๑ เคลือ่ นไหวรา่ งกายอยา่ งคลอ่ งแคล่วประสานสัมพนั ธ์และทรงตัวได้ อายุ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ แรกเกดิ – ๒ เดอื น 1. นอนควา่ ยกศรี ษะและหันไปขา้ งใดขา้ งหนง่ึ ได้ ๒ – ๔ เดือน 1. นอนควา่ ยกศีรษะและอกพ้นพน้ื 2. เมื่อจบั ยืนเร่มิ ลงน้าหนกั ท่ีเทา้ ทัง้ สองข้างได้ ๔ – ๖ เดือน 1. ยนั หน้าอกพ้นพ้นื โดยใช้แขนชว่ ย 2. นง่ั ได้ โดยตอ้ งมีผปู้ ระคอง นั่งโดยใชม้ ือยนั พื้นด้วยตนเอง ๖ – ๙ เดอื น 1. น่ังหลงั ตรงและเอีย้ วตวั ใช้มือเลน่ ได้อย่างอสิ ระ 2. คลานโดยใช้มือและเข่า 3. ยืนเกาะเครื่องเรอื นสูงระดับอกได้ ๙ เดอื น – ๑ ปี 1. ยืนทรงตัว (ตัง้ ไข)่ ไดช้ ว่ งสนั้ ๆ 2. หย่อนตัวลงนัง่ จากท่ายืน

๙ อายุ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ ๑ ปี – ๑ ปี ๖ เดือน 1. ลกุ ขึ้นยนื ด้วยตนเอง 2. ยนื ได้เองอย่างอิสระ 3. ยืนแล้วกม้ ลงหยบิ ของทีพ่ ้นื ได้ 4. เดนิ ไดเ้ องโดยปล่อยแขนเปน็ อสิ ระและแกวง่ แขนตามสบาย 5. เร่ิมวง่ิ หรือเดนิ เร็วๆ ได้ ๑ ปี ๖ เดือน – ๒ ปี 1. เดินขนึ้ บันได โดยมอื ข้างหนึ่งจับราวบันไดอีกมือจบั มอื ผใู้ หญก่ ้าวเทา้ โดยมกี ารพกั เทา้ ในขั้นเดียวกนั ๑ ปี ๖ เดือน – ๒ ปี 2. วิ่งและหยุดได้ทนั ที และเริ่มว่งิ ใหม่ ๒ – ๓ ปี 1. นั่งยองๆ เล่น โดยไมเ่ สียการทรงตวั 2. เดินถอยหลังได้ 3. เดนิ ข้นึ ลงบันได โดยมอื ข้างหนง่ึ จับราวและก้าวเท้าโดยมีการพักเทา้ ใน ขนั้ เดียวกัน 4. กระโดดอย่กู ับท่ี โดยเท้าทง้ั สองข้างลอยพน้ พนื้ 5. ยืนขาเดียวได้ ๓ – ๔ ปี 1. เดนิ ตามทศิ ทางทกี่ าหนดได้ 2. กระโดดสองขาขึ้นลงบนพน้ื ต่างระดับได้ 3. กระโดดข้ามส่ิงกีดขวางได้ 4. ว่ิงแลว้ หยดุ ได้ตามที่กาหนด 5. รับลกู บอลโดยใช้มอื และลาตวั ชว่ ย ๔ – ๕ ปี 1. เดนิ ต่อเท้าไปข้างหน้าเปน็ เสน้ ตรงไดโ้ ดยไม่ต้องกางแขน 2. กระโดดขาเดยี วอยู่กับทีไ่ ด้ โดยไมเ่ สียการทรงตวั 3. วิ่งหลบหลีกส่งิ กีดขวางได้ 4. รบั ลูกบอลโดยใช้มือทั้งสองข้าง ๕ – ๖ ปี 1. เดนิ ต่อเท้าถอยหลงั เปน็ เสน้ ตรงไดโ้ ดยไมต่ ้องกางแขน 2. กระโดดขาเดยี วไปขา้ งหนา้ ได้อย่างต่อเนื่องโดยไมเ่ สยี การทรงตวั 3. ว่งิ หลบหลกี สิง่ กีดขวางได้อย่างคล่องแคลว่ 4. รบั ลูกบอลท่กี ระดอนขนึ้ จากพ้นื ได้ ตัวบ่งช้ี ๒.๒ ใช้มือ-ตาประสานสมั พนั ธ์กนั อายุ สภาพทพี่ งึ ประสงค์ แรกเกดิ – ๒ เดือน 1. จ้องมองได้และมองเหน็ ในระยะห่าง ๘-๑๒ นวิ้ ๒ – ๔ เดอื น 1. มองตามวตั ถุทเี่ คลือ่ นไหว 2. กาหรือจบั สงิ่ ของท่ีใสใ่ ห้ในมอื ๔ – ๖ เดอื น 1. เอ้อื มคว้าใกลๆ้ ตัวได้ 2. เปลยี่ นมอื ถอื ของไดท้ ลี ะมอื

๑๐ อายุ สภาพทีพ่ ึงประสงค์ ๖ – ๙ เดือน 1. มองตามของตก 2. จบั ของมากระทบกนั ดว้ ยมือ ๒ ข้าง 3. เร่มิ ใช้นวิ้ หวั แม่มอื น้วิ ช้ีและนิว้ กลางหยิบของชน้ิ เล็กๆ ๙ เดอื น – ๑ ปี 1. หยบิ ของใส่และเอาออกจากภาชนะได้ 2. ถือ กดั และเคย้ี วอาหารไดด้ ว้ ยตนเอง ๑ ปี – ๑ ปี ๖ เดอื น 1. วางก้อนไมซ้ อ้ นกนั ได้ ๒ ก้อน 2. เปดิ หนงั สือทีละ ๓-๔ หน้า ๑ ปี ๖ เดือน – ๒ ปี 1. วางก้อนไม้ซอ้ นกนั ได้ ๔-๖ ก้อน 2. เปดิ พลกิ หน้าหนงั สือไดท้ ีละแผน่ ๒ – ๓ ปี 1. จับสเี ทยี นแท่งใหญ่เพอ่ื ขีดเขยี นได้ 2. เลียนแบบลากเสน้ เป็นวงต่อเนอ่ื งหรอื เส้นตรงแนวดิง่ ๓ – ๔ ปี 1. ใชก้ รรไกรตดั กระดาษขาดจากกันไดโ้ ดยใชม้ อื เดยี ว ๔ – ๕ ปี 2. เขยี นรูปวงกลมตามแบบได้ ๕ – ๖ ปี 3. ร้อยวสั ดุทีม่ ีรขู นาดเส้นผา่ นศนู ยก์ ลาง ๑ ชม. ได้ 1. ใช้กรรไกรตดั กระดาษตามแนวเสน้ ตรงได้ 2. เขียนรูปส่เี หลีย่ มตามแบบได้อยา่ งมีมมุ ชัดเจน 3. ร้อยวัสดทุ ่มี ีรูขนาดเสน้ ผา่ นศูนย์กลาง ๐.๕ ชม. ได้ 1. ใชก้ รรไกรตดั กระดาษตามแนวเส้นโค้งได้ 2. เขียนรูปสามเหลย่ี มตามแบบไดอ้ ย่างมีมมุ ชัดเจน 3. รอ้ ยวสั ดทุ ่ีมรี ูขนาดเส้นผา่ นศูนย์กลาง ๐.๒๕ ชม. ได้ มาตรฐานท่ี ๓ มสี ขุ ภาพจิตดีและมคี วามสขุ ตัวบ่งช้ี ๓.๑ แสดงออกทางอารมณไ์ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม อายุ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ แรกเกิด – ๓ ปี 1. อารมณด์ ี ย้มิ แย้ม หัวเราะงา่ ย แววตามีความสุข ๓ – ๔ ปี 1. แสดงอารมณ์ ความรูส้ กึ ได้เหมาะสมกับบางสถานการณ์ ๔ – ๕ ปี 1. แสดงอารมณ์ ความรู้สึกไดต้ าม สถานการณ์ ๕ – ๖ ปี 1. แสดงอารมณ์ ความรู้สกึ ได้สอดคล้องกบั สถานการณอ์ ยา่ งเหมาะสม ตัวบง่ ชี้ ๓.๒ มคี วามรู้สึกทีด่ ีต่อตนเองและผู้อ่ืน อายุ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ แรกเกดิ – ๒ เดือน 1. ยิม้ และหัวเราะไดเ้ มอื่ พอใจ 2. สบตา จ้องหนา้ พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลย้ี งดู ๒ – ๔ เดอื น 1. ผูกพันกบั พ่อแม่ หรือผู้เล้ียงดใู กลช้ ดิ 2. ยิม้ ทักทายเม่ือเหน็ หน้าคนคนุ้ เคย

๑๑ อายุ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ ๔ – ๖ เดือน ๖ – ๙ เดือน 1. แสดงอารมณท์ ่ีหลากหลายผ่านการสง่ เสยี ง ๙ เดอื น – ๑ ปี 1. แสดงอารมณต์ ามความร้สู กึ ๙ เดอื น – ๑ ปี 2. แสดงอาการกลัวคนแปลกหนา้ ๑ ปี – ๑ ปี ๖ เดือน ๑ ปี ๖ เดอื น – ๒ ปี 1. แสดงความสนใจ ตดิ ผเู้ ลีย้ งดตู นเองมากกวา่ คนอน่ื 2. แสดงความตอ้ งการของตนเองมากขึ้น ๒ – ๓ ปี 1. แสดงความชอบไม่ชอบส่วนตัวอยา่ งชัดเจน ๓ – ๔ ปี 1. แสดงความรักตอ่ ผู้อ่นื ๔ – ๕ ปี 2. แสดงความกังวลเมื่อแยกจากคนใกล้ชดิ ๕ – ๖ ปี 1. แสดงความภาคภูมิใจเม่อื ทาสง่ิ สิ่งต่างๆ สาเร็จ 2. ชอบพดู คาวา่ “ไม่” แม้จะเปน็ สงิ่ ท่ีตอ้ งการ 1. กลา้ พูดกล้าแสดงออก 2. แสดงความพอใจในผลงานตนเอง 1. กล้าพดู กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมบางสถานการณ์ 2. แสดงความพอใจในผลงานและความสามารถของตนเอง 1. กล้าพูดกล้าแสดงออกอยา่ งเหมาะสมตามสถานการณ์ 2. แสดงความพอใจในผลงานและความสามารถของตนเองและผูอ้ ืน่ มาตรฐานท่ี ๔ ช่ืนชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว ตวั บ่งช้ี ๔.๑ สนใจ มคี วามสขุ และแสดงออกผ่านงานศิลปะดนตรี และการเคลือ่ นไหว อายุ สภาพทีพ่ ึงประสงค์ แรกเกดิ – ๒ เดือน 1. หยดุ รอ้ งไห้เมอ่ื มคี นอมุ้ ๒ – ๔ เดือน 1. มีปฏกิ ิรยิ าโต้ตอบด้วยการเคลื่อนไหวร่างกายหรือใชส้ ายตา เมื่อเหน็ ๔ – ๖ เดือน หรือไดย้ ินเสยี งคนและสิ่งท่ีคุน้ เคย ๖ – ๙ เดอื น 1. ยม้ิ ทกั ทายแสดงอาการดใี จ เมื่อเหน็ สิ่งทีต่ ัวเองพอใจ ๙ เดอื น – ๑ ปี 2. จาหนา้ แม่และคนคุ้นเคยได้ 3. เล่นของเล่นทม่ี ีเสียงได้ 1. แสดงออกถงึ การรับรู้อารมณ์และความรสู้ ึกของผ้อู ื่น 2. เลยี นแบบกิริยาท่าทางของผอู้ นื่ อย่างงา่ ยๆ 1. มองผูใ้ หญ่หรอื เดก็ คนอื่นๆทากิจกรรมอย่างใกล้ชิด ๑ ปี – ๑ ปี ๖ เดือน 1. เร่มิ คุน้ เคยกบั คนอนื่ ๑ ปี ๖ เดอื น – ๒ ปี 2. ขอความชว่ ยเหลือ เมอื่ ต้องการ ๒ – ๓ ปี 1. ชอบการออกไปเท่ียวนอกบ้าน 2. แสดงความเปน็ เจ้าของ 1. สนใจหรือมีความสุขเมือ่ ได้ยินเสียงดนตรี

๑๒ อายุ สภาพท่พี ึงประสงค์ ๓ – ๔ ปี 1. สนใจ มีความสุข และแสดงออกผ่านงานศลิ ปะ ๔ – ๕ ปี 2. สนใจ มีความสขุ และแสดงออกผ่านเสยี งเพลง ดนตรี 3. สนใจ มีความสขุ และแสดงท่าทาง/เคลอื่ นไหวประกอบเพลง ๔ – ๕ ปี ๕ – ๖ ปี จงั หวะ และดนตรี 1. สนใจ มีความสุข และแสดงออกผา่ นงานศลิ ปะ 2. สนใจ มีความสขุ และแสดงออกผา่ นเสียงเพลง ดนตรี 3. สนใจ มีความสขุ และแสดงทา่ ทาง/เคลื่อนไหวประกอบเพลง จงั หวะ และดนตรี 1. สนใจ มีความสขุ และแสดงออกผ่านงานศลิ ปะ 2. สนใจ มีความสขุ และแสดงออกผา่ นเสียงเพลง ดนตรี 3. สนใจ มีความสุข และแสดงท่าทาง/เคล่อื นไหวประกอบเพลง จงั หวะ และดนตรี มาตรฐานที่ ๕ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมจี ิตใจที่ดงี าม ตวั บ่งชี้ ๕.๑ ซ่อื สตั ย์สุจริต อายุ สภาพทีพ่ ึงประสงค์ ๓ – ๔ ปี 1. บอกหรือชี้ไดว้ ่าส่งิ ใดเป็นของตนเองและสง่ิ ใดเปน็ ของผ้อู น่ื ๔ – ๕ ปี 1. ขออนุญาตหรอื รอคอยเมือ่ ตอ้ งการส่ิงของของผ้อู ื่นเมอ่ื มผี ชู้ ีแ้ นะ ๕ – ๖ ปี 1. ขออนญุ าตหรือรอคอยเมอ่ื ตอ้ งการส่ิงของของผู้อนื่ ดว้ ยตนเอง ตัวบง่ ชี้ ๕.๒ มีความเมตตากรณุ า มนี า้ ใจและช่วยเหลอื แบ่งปนั อายุ สภาพทีพ่ ึงประสงค์ ๓ – ๔ ปี 1. แสดงความรกั ต่อเพื่อนและมีเมตตาต่อสัตว์เล้ียง ๔ – ๕ ปี 1. แสดงความรักต่อเพอื่ นและมเี มตตาตอ่ สตั ว์เลีย้ ง ๕ – ๖ ปี 1. แสดงความรักต่อเพื่อนและมีเมตตาตอ่ สตั ว์เลย้ี ง ตัวบ่งช้ี ๕.๓ มีความเห็นอกเหน็ ใจผูอ้ น่ื อายุ สภาพที่พึงประสงค์ ๓ – ๔ ปี ๑. แสดงสีหน้าหรือท่าทางรบั รูค้ วามร้สู กึ ผอู้ น่ื ๔ – ๕ ปี 1. แสดงสหี นา้ และท่าทางรับรู้ความรู้สึกผู้อ่นื ๕ – ๖ ปี 1. แสดงสหี น้าและทา่ ทางรบั รคู้ วามรู้สึกผูอ้ ่ืนอยา่ งสอดคล้องกบั สถานการณ์

๑๓ ตัวบง่ ชี้ ๕.๔ มีความรับผิดชอบ อายุ สภาพท่ีพึงประสงค์ ๓ – ๔ ปี 1. ทางานทีไ่ ดร้ ับมอบหมายจนสาเรจ็ เม่อื มผี ้ชู ่วยเหลอื ๔ – ๕ ปี 1. ทางานท่ีได้รบั มอบหมายจนสาเร็จ เม่ือมผี ู้ช้ีแนะ ๕ – ๖ ปี 1. ทางานท่ไี ด้รบั มอบหมายจนสาเรจ็ ด้วยตนเอง มาตรฐานที่ ๖ มีทกั ษะชีวติ และปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ตวั บ่งชี้ ๖.๑ ชว่ ยเหลอื ตนเองในการปฏิบัตกิ จิ วัตรประจาวนั อายุ สภาพที่พงึ ประสงค์ ๖ – ๙ เดอื น 1. ต้องการถือขวดนมด้วยตนเอง ๙ เดอื น – ๑ ปี 1. หยิบอาหารกนิ ได้ 2. ด่มื นา้ จากแก้ว 3. ให้ความร่วมมอื เวลาแตง่ ตัว ๑ ปี – ๑ ปี ๖ เดือน 1. ถอดเสือ้ ผา้ งา่ ยๆ ได้ 2. เร่ิมชว่ ยเหลือตนเองในการแปรงฟนั ล้างมือ โดยมผี ู้ใหญ่ดแู ล 3. เร่ิมฝึกขับถา่ ย ๑ ปี ๖ เดือน – ๒ ปี 1. ใช้ช้อนตกั อาหารเขา้ ปาก แต่หกบา้ ง 2. ชอบชว่ ยเหลอื งานบ้านง่ายๆ ๒ – ๓ ปี 1. สวมเส้อื ผ้าโดยมคี นชว่ ย 2. บอกไดว้ ่าตนเองต้องการขับถ่าย ๓ – ๔ ปี 1. แต่งตัวโดยมีผชู้ ว่ ยเหลือ 2. รบั ประทานอาหารด้วยตนเอง 3. ใชห้ อ้ งน้าหอ้ งสว้ ม โดยมีผชู้ ่วยเหลือ ๔ – ๕ ปี 1. แตง่ ตัวด้วยตนเอง 2. รบั ประทานอาหารดว้ ยตนเอง 3. ใช้ห้องน้าหอ้ งสว้ มด้วยตนเอง ๕ – ๖ ปี 1. แต่งตวั ดว้ ยตนเองไดอ้ ย่างคล่องแคล่ว 2. รับประทานอาหารดว้ ยตนเองอยา่ งถกู วธิ ี 3. ใช้และทาความสะอาดหลงั ใชห้ อ้ งน้าห้องสว้ ม ดว้ ยตนเอง ตวั บง่ ชี้ ๖.๒ มวี ินัยในตนเอง อายุ สภาพท่ีพงึ ประสงค์ ๓ – ๔ ปี 1. เก็บของเล่นของใช้เขา้ ที่เม่ือมีผู้ชีแ้ นะ 2. เขา้ แถวตามลาดบั กอ่ นหลงั ไดเ้ มื่อมีผู้ชี้แนะ ๔ – ๕ ปี 1. เกบ็ ของเล่นของใชเ้ ข้าที่ดว้ ยตนเอง 2. เข้าแถวตามลาดบั กอ่ นหลงั ไดด้ ้วยตนเอง ๕ – ๖ ปี 1. เก็บของเล่นของใช้เขา้ ที่อย่างเรยี บร้อยดว้ ยตนเอง 2. เขา้ แถวตามลาดบั กอ่ นหลังได้ด้วยตนเอง

๑๔ ตัวบ่งช้ี ๖.๓ ประหยัดและพอเพียง อายุ สภาพที่พึงประสงค์ ๓ – ๔ ปี 1. ใช้สง่ิ ของเครอื่ งใช้อย่างประหยัดและพอเพยี ง โดยการช่วยเหลอื ๔ – ๕ ปี 1. ใช้สงิ่ ของเคร่อื งใชอ้ ย่างประหยัดและพอเพยี ง เมอ่ื มผี ูช้ ้แี นะ ๕ – ๖ ปี 1. ใชส้ ่งิ ของเครอื่ งใช้อย่างประหยัดและพอเพยี ง ดว้ ยตนเอง มาตรฐานท่ี ๗ รกั ธรรมชาติ สง่ิ แวดล้อม วัฒนธรรมและความเปน็ ไทย ตวั บง่ ชี้ ๗.๑ สนใจและเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตวั อายุ สภาพที่พึงประสงค์ แรกเกดิ – ๒ เดือน 1. สนใจมอง ใบหน้าคนมากกว่าสิ่งของ ๒ – ๔ เดอื น 1. กรอกตามองตามส่ิงของหรือสงิ่ ท่มี เี สยี ง ๔ – ๖ เดือน 1. มองส่งิ ของทอี่ ยู่รอบๆ และในระยะใกล้ 2. แสดงความอยากรู้อยากเห็นเก่ียวกับสิ่งต่างๆ และพยายามหยิบของ ในระยะที่เอ้อื มถึง ๖ – ๙ เดอื น 1. เริม่ รจู้ กั สง่ิ ของในชีวิตประจาวัน ๙ เดือน – ๑ ปี 1. รับรแู้ ละแสดงออกถงึ การกลับมาของบคุ คลหรอื สง่ิ ของ ๑ ปี – ๑ ปี ๖ เดอื น 1. สารวจสงิ่ ของ โดยใชห้ ลายๆวิธี ๑ ปี ๖ เดือน – ๒ ปี 1. สังเกต สารวจลองผดิ ลองถูกกบั คุณสมบัติของสิ่งตา่ งๆ ๒ – ๓ ปี 1. อยากเรยี นรู้สิ่งตา่ งๆ 2. ถามบอ่ ยถามซ้า 3. จดจ่อตอ่ สง่ิ ใดสง่ิ หนึ่งได้ยาวนานข้ึน ตัวบง่ ช้ี ๗.๒ ดแู ลรักษาธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม อายุ สภาพทีพ่ ึงประสงค์ ๓ – ๔ ปี 1. มีสว่ นรว่ มดแู ลรกั ษาธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ มโดยการช่วยเหลอื 2. เกบ็ และทงิ้ ขยะไดถ้ กู ท่ีโดยการช่วยเหลอื ๔ – ๕ ปี 1. มสี ่วนร่วมดแู ลรักษาธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม เม่อื มีผชู้ ี้แนะ 2. เกบ็ และท้ิงขยะไดถ้ กู ท่ีเมือ่ มีผูช้ ี้แนะ ๕ – ๖ ปี 1. ดูแลรักษาธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ มด้วยตนเองและเป็นแบบอยา่ ง 2. เกบ็ และทงิ้ ขยะไดถ้ ูกท่ีด้วยตนเองและเปน็ แบบอยา่ ง ตัวบ่งชี้ ๗.๓ มมี ารยาทตามวฒั นธรรมไทย และรกั ความเปน็ ไทย อายุ สภาพท่พี ึงประสงค์ ๓ – ๔ ปี 1. ปฏิบัติตนตามมารยาทไทยได้เมอ่ื มผี ชู้ ี้แนะ 2. กล่าวคาขอบคุณและขอโทษเมื่อมีผู้ชี้แนะ 3. หยดุ ยืนเม่อื ได้ยนิ เพลงชาติไทยและเพลงสรรเสรญิ พระบารมี ๔ – ๕ ปี 1. ปฏบิ ตั ิตนตามมารยาทไทยไดด้ ้วยตนเอง

๑๕ อายุ สภาพท่พี งึ ประสงค์ ๔ – ๕ ปี 2. กล่าวคาขอบคุณและขอโทษด้วยตนเอง 3. ยืนตรงเมอื่ ไดย้ นิ เพลงชาตไิ ทยและเพลงสรรเสรญิ พระบารมี ๕ – ๖ ปี 1. ปฏบิ ัตติ นตามมารยาทไทยได้ตามกาลเทศะ 2. กลา่ วคาขอบคณุ และขอโทษด้วยตนเอง 3. ยนื ตรงและร่วมรอ้ งเพลงชาตไิ ทยและเพลงสรรเสรญิ พระบารมี มาตรฐานท่ี ๘ อยูร่ ว่ มกบั ผู้อนื่ ไดอ้ ย่างมคี วามสุขและปฏบิ ัตติ นเปน็ สมาชกิ ทดี่ ีของสังคม ในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ ตัวบง่ ชี้ ๘.๑ ยอมรบั ความเหมอื นและความแตกตา่ งระหว่างบุคคล อายุ สภาพทีพ่ งึ ประสงค์ ๓ – ๔ ปี 1. เลน่ และทากิจกรรมรว่ มกบั เดก็ ทแ่ี ตกต่างไปจากตน ๔ – ๕ ปี 1. เลน่ และทากิจกรรมร่วมกับเด็กทแ่ี ตกต่างไปจากตน ๕ – ๖ ปี 1. เลน่ และทากิจกรรมรว่ มกับเด็กทแี่ ตกตา่ งไปจากตน ตวั บ่งชี้ ๘.๒ มปี ฏสิ ัมพันธ์ที่ดีกับผูอ้ ่ืน อายุ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ ๓ – ๔ ปี 1. เล่นรว่ มกบั เพ่อื นเมื่อมผี ้ชู ีแ้ นะ 2. ย้ิมหรือทกั ทายผ้ใู หญ่และบุคคลทคี่ ุ้นเคย เมื่อมีผชู้ แ้ี นะ ๔ – ๕ ปี 1. เลน่ หรอื ทางานรว่ มกับเพอ่ื นเปน็ กลุ่มเมอ่ื มีผูช้ แี้ นะ 2. ย้มิ ทกั ทายหรอื พูดคยุ กับผู้ใหญแ่ ละบคุ คลที่คนุ้ เคยได้ด้วยตนเอง ๕ – ๖ ปี 1. เลน่ หรอื ทางานรว่ มมอื กบั เพ่ือนอย่างมเี ปาู หมาย 2. ย้ิม ทักทายหรือพูดคุยกับผู้ใหญ่และบุคคลท่ีคุ้นเคยได้เหมาะสม กบั สถานการณ์ ตัวบง่ ชี้ ๘.๓ ปฏิบัตติ นเบอื้ งต้นในการเปน็ สมาชกิ ท่ีดขี องสังคม อายุ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ ๓ – ๔ ปี 1. ปฏบิ ตั ติ ามข้อตกลงเมอ่ื มผี ้ชู แ้ี นะ 2. ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผู้นาและผู้ตามเม่ือมีผู้ช้ีแนะ 3. ยอมรบั การประนปี ระนอมแกไ้ ขปัญหาเมอื่ มผี ู้ชแ้ี นะ ๔ – ๕ ปี 1. มีสว่ นรว่ มสรา้ งขอ้ ตกลงและปฏิบตั ติ ามข้อตกลงเมือ่ มผี ชู้ แ้ี นะ 2. ปฏบิ ตั ิตนเปน็ ผูน้ าและผตู้ ามได้ดว้ ยตนเองเมื่อมผี ู้ชแ้ี นะ 3. ประนีประนอมแก้ไขปัญหาโดยปราศจากการใช้ความรุนแรง เม่ือมีผู้ชแี้ นะ ๕ – ๖ ปี 1. มสี ว่ นรว่ มสร้างขอ้ ตกลงและปฏบิ ัตติ ามขอ้ ตกลงดว้ ยตนเอง 2. ปฏิบัตติ นเปน็ ผนู้ าและผู้ตามไดเ้ หมาะสมกับสถานการณ์ 3. ประนีประนอมแก้ไขปัญหาโดยปราศจากการใช้ความรุนแรง ด้วยตนเอง

๑๖ มาตรฐานที่ ๙ ใชภ้ าษาสื่อสารไดเ้ หมาะสมตามศักยภาพ ตัวบ่งช้ี ๙.๑ รับรู้และเขา้ ใจความหมายของภาษาได้ อายุ สภาพท่ีพงึ ประสงค์ แรกเกดิ – ๒ เดือน 1. ตอบสนองต่อเสยี ง ๒ – ๔ เดือน 1. หยดุ ฟังเสียง และหนั ตามเสยี งเคาะ ๔ – ๖ เดอื น 1. หนั ตามเสยี งจอ้ งมองปากคน ๖ – ๙ เดอื น 1. รับรู้ภาษาและแสดงสีหนา้ ท่าทาง 2. หันหาเม่ือเรยี กช่ือ 3. ตอบสนองต่อคาสง่ั งา่ ย ๆ เมื่อใช้ท่าทางประกอบ ๙ เดือน – ๑ ปี 1. รู้วา่ คา แต่ละคามีความหมายต่างกัน อยา่ งน้อย 3-5 คา 2. ปฏิบัติตามคาส่ังงา่ ย ๆ โดยใช้ท่าทางประกอบ 3. ตอบสนองตอ่ คาโดยใช้ท่าทางประกอบคา ๑ ปี – ๑ ปี ๖ เดือน 1. หยิบหรอื ชี้ตามคาบอก 2. ชี้สว่ นตา่ งๆ ของร่างกายตามคาบอกอย่างน้อย ๑ สว่ น ๑ ปี ๖ เดือน – ๒ ปี 1. ปฏิบตั ติ ามคาสัง่ ได้ ทีละ 1 คาสั่ง 2. สนใจของจาลองหรอื รูปภาพตามระยะเวลาทค่ี รูกาหนดไว้ ๒ – ๓ ปี 1. ฟงั และสนใจดูหนังสือนิทานภาพ 2. แสดงทา่ ทางประกอบเพลง ตวั บง่ ชี้ ๙.๒ แสดงออกและ/หรอื พดู เพอื่ สอื่ ความหมายได้ อายุ สภาพที่พึงประสงค์ แรกเกิด – ๒ เดอื น 1. สง่ เสียงในคอ ๒ – ๔ เดือน 1. ส่งเสียง ออ้ แอ้ โตต้ อบ ๔ – ๖ เดือน 1. ส่งเสยี งทไ่ี ม่มีความหมาย 2. สง่ เสียงได้หลายเสียง ๖ – ๙ เดือน 1. พยายามเลยี นเสยี งตา่ งๆ 2. ทาเสียงซ้าๆ เชน่ หม่า หมา่ ๙ เดือน – ๑ ปี 1. รู้จกั เชอื่ มโยงคาพดู กับการกระทา เชน่ ไม่จะสั่นหัว 2. พูดคาพยางคเ์ ดยี วได้อย่างน้อย ๒ คา ๑ ปี – ๑ ปี ๖ เดือน 1. พดู คาพยางคเ์ ดยี ว ท่ีมีความหมายไดอ้ ย่างน้อย ๒ คา ๑ ปี ๖ เดอื น – ๒ ปี 1. พูดคาตามพยางค์ทา้ ย ๒ – ๓ ปี 1. พดู เปน็ วลีส้ันๆ เชน่ ไปเท่ยี ว กนิ ขา้ ว 2. มักจะถามคาถาม “อะไร” และ “ทาไม”

๑๗ ตวั บ่งช้ี ๙.๓ สนทนาโตต้ อบและเลา่ เรอื่ งให้ผอู้ นื่ เข้าใจ อายุ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ ๓ – ๔ ปี 1. แสดงอาการรับรู้หรอื เข้าใจจากเร่อื งท่ฟี ัง 2. ตอบคาถามงา่ ย ๆ เกยี่ วกบั ตนเองได้ ๔ – ๕ ปี 1. แสดงอาการรับรูห้ รือเขา้ ใจและสนทนาโต้ตอบจากเรื่องท่ีฟัง 2. ตอบคาถามเกีย่ วกับเรอ่ื งรอบตวั ๕ – ๖ ปี 1. บอกความตอ้ งการของตนเองได้ 2. ตอบคาถามเกยี่ วกับเร่อื งเลา่ หรือนทิ าน ตัวบ่งชี้ ๙.๔ อ่าน เขยี นภาพและสญั ลักษณไ์ ด้ อายุ สภาพที่พึงประสงค์ ๓ – ๔ ปี 1. อา่ นภาพ และเขา้ ใจความหมายของภาพ 2. เขียนขีดเข่ีย อย่างอิสระ ๔ – ๕ ปี 1. อา่ นภาพ สญั ลกั ษณ์ คา พร้อมทัง้ ช้ีหรอื กวาดตามองขอ้ ความตาม บรรทัด 2. เขยี นเสน้ พน้ื ฐาน 13 เสน้ 3. เขยี นคล้ายตัวอักษร ๕ – ๖ ปี 1. อ่านภาพสญั ลักษณ์ คา ด้วยการช้ีหรอื กวาดตามอง จุดเริ่มต้นและ จุดจบของขอ้ ความ 2. เขียนตวั อักษรตามรอยปะ 3. การเขยี นชอ่ื ของตนเองตามแบบ เขียนข้อความดว้ ยวิธที ่ีคดิ ข้ึนเอง มาตรฐานที่ ๑๐ มีความสามารถในการคดิ ทเี่ ปน็ พน้ื ฐานในการเรยี นรูต้ ามศกั ยภาพ ตัวบง่ ชี้ ๑๐.๑ มีความสามารถในการคิดรวบยอด อายุ สภาพทพี่ ึงประสงค์ ๓ – ๔ ปี 1. บอกลักษณะของสิ่งตา่ งๆ จากการสังเกตโดยใช้ประสาทสมั ผัส 2. จบั คูห่ รอื เปรยี บเทยี บสงิ่ ต่างๆ โดยใช้ลกั ษณะหรือหนา้ ทกี่ ารใชง้ าน เพียงลกั ษณะเดียว 3. คัดแยกสงิ่ ตา่ งๆ ตามลกั ษณะหรอื หนา้ ทีก่ ารใช้งาน ๔ – ๕ ปี 1. บอกลักษณะ และส่วนประกอบของสงิ่ ต่างๆ จากการสงั เกตโดยใช้ ประสาทสมั ผสั 2. จับคู่และเปรียบเทียบความแตกตา่ งหรอื ความเหมือนของสิ่งตา่ งๆ โดยใช้ลักษณะทีส่ ังเกตพบเพียงลักษณะเดียว 3. จาแนกและจดั กลุ่มส่งิ ต่างๆ โดยใชอ้ ยา่ งน้อยหนง่ึ ลกั ษณะเป็นเกณฑ์ 4. เรยี งลาดับขนาดของสิง่ ของ อยา่ งน้อย 3 ลาดับ

๑๘ อายุ สภาพทพี่ ึงประสงค์ ๕ – ๖ ปี 1. บอกลกั ษณะสว่ นประกอบ การเปลี่ยนแปลงหรอื ความสัมพันธ์ของ สิ่งตา่ งๆ จากการสงั เกตโดยใชป้ ระสาทสัมผสั 2. จับคู่และเปรยี บเทยี บความแตกตา่ งและความเหมอื นของส่ิงต่างๆ โดยใช้ลกั ษณะทสี่ ังเกตพบสองลกั ษณะขนึ้ ไป 3. จาแนกและจดั กลมุ่ ส่ิงตา่ งๆ โดยใชต้ ั้งแต่สองลกั ษณะขึ้นไปเป็นเกณฑ์ 4. เรียงลาดับขนาดของสิ่งของอย่างนอ้ ย 4 ลาดบั ตวั บง่ ชี้ ๑๐.๒ มีความสามารถในการคดิ เชิงเหตุผล อายุ สภาพทพ่ี ึงประสงค์ ๓ – ๔ ปี 1. ระบุผลทเ่ี กดิ ข้ึนในเหตกุ ารณ์หรอื การกระทาเมอ่ื มีผู้ชแ้ี นะ ๔ – ๕ ปี 1. ระบุสาเหตุหรอื ผลท่เี กดิ ข้นึ ในเหตุการณห์ รือการกระทาเมอ่ื มีผชู้ ี้แนะ 2. คาดเดา หรือคาดคะเนสง่ิ ที่อาจจะเกิดขึน้ ๕ – ๖ ปี 1. อธบิ ายเชือ่ มโยงสาเหตุและผลท่ีเกดิ ขน้ึ ในเหตกุ ารณห์ รอื การกระทา ดว้ ยตนเอง 2. คาดเดา หรือคาดคะเน สิ่งที่อาจจะเกิดขึ้น หรือมีส่วนร่วม ในการลงความเหน็ จากขอ้ มลู ตวั บ่งชี้ ๑๐.๓ มคี วามสามารถในการคดิ แก้ปญั หาและตัดสินใจ อายุ สภาพทพี่ งึ ประสงค์ ๓ – ๔ ปี 1. ตดั สินใจในเรือ่ งง่ายๆ 2. แก้ปัญหาโดยลองผดิ ลองถูก ๔ – ๕ ปี 1. ตดั สินใจในเรื่องงา่ ยๆ และเร่ิมเรยี นรผู้ ลทเ่ี กดิ ข้นึ 2. ระบุปญั หา และแกป้ ญั หาโดยลองผดิ ลองถูก ๕ – ๖ ปี 1. ตัดสนิ ใจในเรอ่ื งง่ายๆ และยอมรบั ผลทเี่ กดิ ขึ้น 2. ระบุปญั หาสร้างทางเลอื กและเลือกวิธีแกป้ ัญหา มาตรฐานท่ี ๑๑ มีจนิ ตนาการและความคดิ สรา้ งสรรคต์ ามศกั ยภาพ ตวั บง่ ชี้ ๑๑.๑ ทางานศลิ ปะตามจินตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์ อายุ สภาพทพ่ี ึงประสงค์ ๓ – ๔ ปี 1. สรา้ งผลงานศลิ ปะเพือ่ ส่ือสารความคดิ อย่างอสิ ระ ๔ – ๕ ปี 1. สร้างผลงานศลิ ปะเพื่อสอื่ สารความคดิ ความรูส้ กึ ของตนเอง ๕ – ๖ ปี 1. สร้างผลงานศิลปะเพื่อส่ือสารความคิด ความรู้สึกของตนเอง โดยมกี ารดัดแปลงแปลกใหม่จากเดิม

๑๙ ตัวบง่ ชี้ ๑๑.๒ แสดงทา่ ทาง/เคล่ือนไหวตามจนิ ตนาการอยา่ งสรา้ งสรรค์ อายุ สภาพทพ่ี ึงประสงค์ ๓ – ๔ ปี 1. เคลือ่ นไหวท่าทางเพอ่ื สื่อสารความคดิ ความร้สู กึ ของตนเอง ๔ – ๕ ปี 1. เคลื่อนไหวทา่ ทางเพือ่ เลยี นแบบบทบาทของผ้อู ื่น หรอื แสดงบทบาท สมมติเปน็ เรอ่ื งราว ๕ – ๖ ปี 1. เคลื่อนไหวทา่ ทางเพอื่ ส่ือสารความคิด ความรสู้ ึกของตนเองอยา่ ง หลากหลายและแปลกใหม่ มาตรฐานที่ ๑๒ มเี จตคตทิ ด่ี ตี ่อการเรยี นรแู้ ละมคี วามสามารถในการแสวงหาความรไู้ ด้ ตามศักยภาพ ตัวบง่ ช้ี ๑๒.๑ มีเจตคตทิ ่ดี ีตอ่ การเรยี นรู้ อายุ สภาพท่ีพงึ ประสงค์ ๓ – ๔ ปี 1. กระตอื รอื ร้นในการเขา้ ร่วมกิจกรรม 2. สนใจฟังดว้ ยตนเอง ๔ – ๕ ปี 1. กระตอื รอื รน้ ในการเขา้ รว่ มกจิ กรรม 2. สนใจเก่ียวกับสญั ลกั ษณ์หรือตัวหนงั สอื ทพ่ี บเหน็ ๕ – ๖ ปี 1. กระตอื รอื รน้ ในการรว่ มกิจกรรมตงั้ แต่ต้นจนจบ 2. สนใจหยิบหนังสอื มาอ่านส่ือความคิดด้วยตนเอง ตัวบง่ ช้ี ๑๒.๒ มีความสามารถในการแสวงหาความรู้ อายุ สภาพท่พี งึ ประสงค์ ๓ – ๔ ปี 1. ใช้ประโยคคาถามวา่ “ใคร” “อะไร” ในการคน้ หาคาตอบ ๔ – ๕ ปี 1. ค้นหาคาตอบของขอ้ สงสยั ต่างๆ ตามวธิ กี ารท่ีมีผู้ช้แี นะ 2. ใชป้ ระโยคคาถามวา่ “ท่ีไหน” “ทาไม” ในการคน้ หาคาตอบ ๕ – ๖ ปี 1. ค้นหาคาตอบของข้อสงสยั ต่างๆ ตามวธิ ีการของตนเอง 2. ใชป้ ระโยคคาถามวา่ “เมื่อไร” “อย่างไร” ในการค้นหาคาตอบ มาตรฐาน ๑๓ มีการพฒั นาทกั ษะจาเปน็ เฉพาะความพกิ ารแต่ละประเภท มาตรฐาน ๑๓.๑ การพัฒนาทกั ษะจาเปน็ เฉพาะความบกพรอ่ งทางการเห็น ตัวบง่ ช้ี สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ ๑. มีความสามารถในการบรู ณาการ ๑.๑ รบั รู้ต่อการใช้ประสาทสัมผัสทางการเห็นทเี่ หลืออยู่ ประสาทสัมผัสทเี่ หลืออยู่ในการ (สาหรับบุคคลสายตาเลือนราง) ในการมองสิ่งต่างๆ ดารงชีวิต รอบตัวได้ ๑.๒ รับรู้ต่อการใช้ประสาทสัมผัสทางการได้ยินเสียง ต่างๆ ในสภาพแวดลอ้ มได้

๒๐ ตัวบ่งช้ี สภาพท่พี ึงประสงค์ ๒. มคี วามสามารถในการสรา้ ง ๑.๓ รับรู้ต่อการใช้ประสาทสัมผัสทางการดมกล่ิน ความคนุ้ เคยกบั สภาพแวดลอ้ ม ส่ิงตา่ งๆ รอบตัวได้ และการเคลือ่ นไหวของคนตาบอด ๑.๔ รับรู้ต่อการใช้ประสาทสัมผัสทางการชิมรสสิ่งต่างๆ 3. มกี ารเตรียมความพรอ้ มในการอา่ น ในชวี ติ ประจาวนั ได้ อกั ษรเบรลล์ ๑.๕ รับรู้ต่อการ ใช้ประสาทสัมผัสทางผิวกายสัมผัส 4. มีการเตรียมความพร้อมในการเขยี น สงิ่ ตา่ งๆ รอบตวั และในสภาพแวดล้อมได้ อกั ษรเบรลล์ ๑.๖ รับรู้ตอ่ การใชป้ ระสาทการรับรู้การทรงตวั ได้ ๕. มีความสามารถในการอ่านอกั ษร ๑.๗ รับรู้ต่อการใช้ประสาทการรับรู้การเคลื่อนไหว เบรลลพ์ ยญั ชนะไทย พยัญชนะ ภาษาอังกฤษและตัวเลข เอ็นและขอ้ ต่อได้ ๑.๘ ใชป้ ระสาทสัมผสั ในการรับประทานอาหาร ๖. มีความสามารถในการเขยี นอกั ษร ๒.๑ มีความคิดรวบยอดที่เก่ียวข้องกับการสร้าง เบรลลพ์ ยัญชนะไทย พยัญชนะ ภาษาอังกฤษและตัวเลข ความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อม และการเคลื่อนไหว ของคนตาบอด ๗. มีความสามารถในการใช้ลกู คิด ๒.๒ เดินทางกบั ผู้นาทางได้อย่าง เหมาะสมและปลอดภัย 8. สามารถใช้เทคโนโลยีสง่ิ อานวยความ ๒.๓ เดินโดยอิสระในสถานท่ีคุ้นเคยได้อย่างอิสระและ และปลอดภยั สะดวก เครือ่ งช่วยในการเรยี นรู้ ๓.๑ เคล่ือนที่มือและนิ้วมือในการสัมผัสจุดนูน เส้นนูน และภาพนนู ไดต้ ามแบบ 4.๑ ใส่และเล่อื นกระดาษในสเลส (Slate) ไดอ้ ย่างถกู วิธี ๔.๒ จับสไตลัส (Stulus) ในการเขียนจุดนูนได้อย่าง ถูกวิธี ๕.๑ การอา่ นอกั ษรเบรลลพ์ ยญั ชนะไทย ๕๒ การอ่านอักษรเบรลลพ์ ยัญชนะภาษาอังกฤษ ๕๓ การอ่านอักษรเบรลลต์ วั เลข ๖.๑ การเขยี นอกั ษรเบรลล์พยัญชนะไทย ๖.๒ การเขยี นอักษรเบรลล์พยญั ชนะภาษาองั กฤษ ๖.๓ การเขียนอกั ษรเบรลล์ตัวเลข ๗.๑ การใช้ลกู คดิ ในการบวกลบงา่ ยๆ 8.๑ ใชอ้ ปุ กรณ์ช่วยในการส่ือสารทางเลอื ก 8.๒. ใช้อุปกรณ์ช่วยในการเข้าถึงคอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้ 8.๓ ใช้โปรแกรมเสริมผ่านคอมพิวเตอร์เพ่ือช่วย ในการเรียนรู้

๒๑ มาตรฐาน ๑๓.๒ การพัฒนาทักษะจาเป็นเฉพาะความบกพร่องทางการได้ยิน ตัวบง่ ชี้ สภาพทพี่ ึงประสงค์ ๑. สามารถใชแ้ ละดูแลเครอ่ื งช่วยฟังหรือ ๑.๑ บอกส่วนต่าง ๆ ของเครื่องช่วยฟังหรือเครื่อง เครือ่ งประสาทหเู ทียม ประสาทหูเทียม ๑.๒ ใช้เครื่องช่วยฟังได้ถูกต้องหรือเครื่องประสาทหู เทยี ม ๑.๓ ดแู ลรกั ษาเคร่อื งช่วยฟงั หรือเครื่องประสาทหูเทียม ๒. สามารถใช้การไดย้ นิ ท่หี ลงเหลืออยู่ใน ๒.๑ ร้วู า่ มีเสียง/ไม่มเี สยี ง ชีวิตประจาวัน ๒.๒ บอกเสยี งท่ไี ดย้ ิน ๒.๓ บอกแหล่งท่ีมาของเสยี ง ๓. สามารถเปล่งเสยี งหรอื พูดตามแบบ ๓.๑ เปล่งเสียงคาที่ไม่มีความหมายตามแบบ ๓.๒ พดู คางา่ ยๆ ทมี่ ีความหมายตามแบบ ๓.๓ พูดเปน็ วลีง่ายๆ ตามแบบ ๓.๔ พูดเป็นประโยคงา่ ยๆตามแบบ ๔. สามารถอา่ นริมฝีปาก ๔.๑ อ่านรมิ ฝีปากและเขา้ ใจความหมาย ๔.๒ ทารปู ปากเป็นคาท่ีมีความหมายและผู้อ่ืนเขา้ ใจได้ ๔.๓ ทารูปปากเป็นวลงี า่ ยๆ และผู้อ่นื เข้าใจได้ ๔.๔ ทารปู ปากเป็นประโยคงา่ ยๆ และผอู้ น่ื เข้าใจได้ ๕. สามารถใช้ภาษาท่าทางและภาษามือ ๕.๑ ใชภ้ าษาท่าทางในการสื่อสาร ในการสือ่ สาร ๕.๒ ใช้ภาษามือบอกชอื่ สิง่ ตา่ งๆ รอบตัว ๕.๓ ใช้ภาษามอื เพอื่ การสนทนาและสอื่ สาร ๖. สามารถสะกดนว้ิ มอื ๖.๑ สะกดน้ิวมือพยัญชนะไทย ๖.๒ สะกดนิ้วมือ สระและสระเปลีย่ นรูป ๖.๓ สะกดนวิ้ มอื วรรณยุกต์ ๖.๔ สะกดน้ิวมอื ชื่อตนเอง ๖.๕ สะกดนวิ้ มือคางา่ ยๆ ๖.๖ สะกดนว้ิ มอื อักษรภาษาองั กฤษ 7. สามารถใช้เทคโนโลยีสง่ิ อานวยความ 7.๑ ใช้อุปกรณ์ช่วยในการส่ือสารทางเลือก สะดวก เครอื่ งชว่ ยในการเรยี นรู้ 7.๒. ใช้อุปกรณ์ช่วยในการเข้าถึงคอมพิวเตอร์เพื่อการ เรยี นรู้ 7.๓ ใช้โปรแกรมเสริมผ่านคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการ เรยี นรู้

๒๒ มาตรฐาน ๑๓.๓ การพฒั นาทักษะจาเปน็ เฉพาะความบกพร่องทางสติปัญญา ตวั บ่งชี้ สภาพทีพ่ ึงประสงค์ ๑. สามารถส่ือสารไดเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์ ๑.๑ สอ่ื สารไดเ้ หมาะสมกับสถานการณ์ ๒. สามารถช่วยเหลอื ตนเองและดแู ลความ ๒.๑ ช่วยเหลือตนเองและดูแลความปลอดภัยใน ปลอดภยั ในชีวติ ประจาวัน ชีวิตประจาวัน ๓. มีปฏิสมั พันธท์ างสงั คมกบั ผอู้ นื่ อย่าง ๓.๑ มปี ฏสิ มั พนั ธ์ทางสงั คมกบั ผอู้ ื่นอยา่ งเหมาะสม เหมาะสม ๔. รู้จักใช้ทรพั ยากรในชุมชน ๔.๑ ใชส้ ง่ิ ของสาธารณะอย่างเหมาะสม 5. สามารถใชเ้ ทคโนโลยีสิ่งอานวยความสะดวก 5.๑ ใช้อปุ กรณช์ ่วยในการส่ือสารทางเลอื ก เครอื่ งชว่ ยในการเรียนรู้ 5.๒ ใช้อุปกรณ์ช่วยในการเข้าถึงคอมพิวเตอร์เพ่ือ การ เรียนรู้ 5.๓ ใช้โปรแกรมเสริมผ่านคอมพิวเตอร์เพ่ือช่วยในการ เรียนรู้ มาตรฐาน ๑๓.๔ การพัฒนาทกั ษะจาเป็นเฉพาะความบกพร่องทางรา่ งกายหรือการ เคลอ่ื นไหว หรือสขุ ภาพ ตัวบ่งช้ี สภาพท่พี ึงประสงค์ ๑. ดูแลสุขอนามยั เพ่อื ปอู งกัน ๑.๑ การดแู ล และรักษาความสะอาดแผลกดทบั ภาวะแทรกซ้อน ๑.๒ บริหารกล้ามเน้อื และคงสภาพขอ้ ตอ่ ๑.๓ การปอ้ งกันและการจดั ท่าทางเพื่อปอ้ งกนั ภาวะแทรกซอ้ น ๑.๔ ดแู ลอปุ กรณ์ เครอื่ งช่วยสว่ นตัวได้ ๒. สามารถใช้และดแู ลรักษาอุปกรณ์ ๒.๑ เคล่ือนย้ายตนเองจากทีห่ น่ึงเข้าส่อู ุปกรณ์ เครอ่ื งชว่ ยในการเคลอ่ื นยา้ ยตนเอง เครือ่ งช่วยและออกจากอุปกรณ์เครือ่ งช่วย (Walker รถเข็น ไม้เทา้ ไม้ค้ายนั ฯลฯ) ๒.๒ ทรงตัวอยูใ่ นอุปกรณ์เครือ่ งชว่ ยในการเคล่อื นย้ายตนเอง ได้ ๒.๓ เคลอื่ นย้ายตนเองดว้ ยอุปกรณ์ เครือ่ งชว่ ยบนทางราบ ทางลาดและทางต่างระดับได้ ๓. สามารถใช้และดูแลรกั ษากาย ๒.๔ เกบ็ รักษาและดูแลอุปกรณเ์ ครื่องชว่ ยในการเคล่อื นย้าย ตนเองได้ อุปกรณเ์ สรมิ กายอุปกรณ์ อุปกรณ์ ดดั แปลง ๓.๑ ถอดและใสก่ ายอุปกรณ์เสรมิ กายอปุ กรณ์ อุปกรณ์ ดดั แปลง ๓.๒ ใชก้ ายอปุ กรณ์เสรมิ กายอปุ กรณ์ อปุ กรณ์ดัดแปลงในการ ทากิจกรรม ๓.๓ เก็บรกั ษาและดูแลกายอปุ กรณเ์ สริมกายอุปกรณ์ อปุ กรณ์ ดดั แปลง

๒๓ ตัวบง่ ช้ี สภาพทพี่ งึ ประสงค์ ๔. สามารถใชเ้ ทคโนโลยีสง่ิ อานวยความ ๔.๑ ใช้อปุ กรณช์ ว่ ยในการส่ือสารทางเลอื ก สะดวก เครื่องชว่ ยในการเรียนรู้ ๔.๒. ใชอ้ ุปกรณ์ชว่ ยในการเขา้ ถึงคอมพิวเตอร์เพอ่ื การเรยี นรู้ ๔.๓ ใช้โปรแกรมเสรมิ ผา่ นคอมพิวเตอรเ์ พือ่ ช่วยในการเรยี นรู้ ๕. ควบคุมอวัยวะทีใ่ ช้ในการพดู การเค้ียว ๕.๑ ควบคมุ กล้ามเนือ้ รอบปากได้ และการกลืน ๕.๒ ควบคุมการใช้ล้นิ ได้ ๕.๓ เปาุ และดดู ได้ ๕.๔ เคีย้ วและกลนื ได้ ๕.๕ ควบคุมนา้ ลายได้ มาตรฐาน ๑๓.๕ การพฒั นาทกั ษะจาเป็นเฉพาะความบกพร่องทางการเรยี นรู้ ตวั บ่งชี้ สภาพทีพ่ ึงประสงค์ ๑. มีความสามารถในการรบั รู้การไดย้ ิน ๑.๑ จาเสียงจากสิง่ ที่ไดย้ ินในชีวิตประจาวัน ๑.๒ จาแนกเสียงทีแ่ ตกต่าง ๑.๓ แยกเสียงท่กี าหนดใหอ้ อกจากเสยี งอ่นื ๆได้ ๒. มีความสามารถในการรับร้กู ารเหน็ ๒.๑ การจาภาพทเี่ หน็ ในชีวิตประจาวัน ๒.๒. การแยกวตั ถุ ภาพ ตัวพยัญชนะทีก่ าหนดให้อยู่ในพ้ืนฉาก ท่ีตา่ งกัน ๒.๓ ตากับมือเคล่ือนไหวสัมพนั ธ์กนั ๒.๔ การบอกส่วนทห่ี ายไปของรปู ภาพทกี่ าหนด ๒.๕ บอกความสมั พนั ธข์ องคณุ ลักษณะตาแหน่ง ลาดับ รูปร่าง ของสงิ่ ท่ีอยู่รอบตัว ๓. มคี วามสามารถในการจัดลาดับความคิด ๓.๑ เรียงลาดับเหตุการณ์ ข้ันตอนในการเล่นหรือการทา กิจกรรมได้ ๔. มีความสามารถในการจัดระเบียบ ๔.๑ จดั การตนเองได้ ตนเอง ๔.๒ จัดลาดบั กจิ กรรมตนเองได้ ๕. มีความสามารถในการบอกตาแหนง่ / ๕.๑ บอกทศิ ทางหรอื ตาแหนง่ ของสง่ิ ตา่ งๆ ทศิ ทาง 6. สามารถใช้เทคโนโลยีสงิ่ อานวยความ 6.๑ ใช้อุปกรณ์ชว่ ยในการสอ่ื สารทางเลอื ก สะดวก เคร่ืองชว่ ยในการเรยี นรู้ 6.๒. ใชอ้ ุปกรณช์ ่วยในการเข้าถงึ คอมพวิ เตอร์เพอื่ การเรียนรู้ 6.๓ ใชโ้ ปรแกรมเสริมผ่านคอมพวิ เตอร์เพอ่ื ช่วยในการเรียนรู้

๒๔ มาตรฐาน ๑๓.๖ การพัฒนาทกั ษะจาเปน็ เฉพาะความบกพร่องทางการพูดและภาษา ตวั บง่ ชี้ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ ๑. สามารถควบคมุ อวัยวะในการออกเสยี ง ๑.๑ เคล่อื นไหวอวยั วะในการพูด ๑.๒ ควบคมุ อวยั วะในการพูด ๒. สามารถออกเสียงตามหน่วยเสยี งได้ ๒.๑ การออกเสยี ง หนว่ ยเสียงสระไดช้ ดั เจน ชัดเจน ๒.๒ การออกเสียง หน่วยเสยี งพยญั ชนะได้ชัดเจน ๒.๓ การออกเสยี งคาได้ชดั เจน ๓. สามารถเปล่งเสียงให้เหมาะสมกับ ๓.๑ เปลง่ เสยี งในระดับเสยี งที่ทาให้ผู้อื่นฟังได้ ธรรมชาติของแตล่ ะคน ๔. สามารถควบคมุ จังหวะการพดู ๔.๑ ควบคมุ จงั หวะการพดู ไดเ้ ป็นจงั หวะปกติ (๗๐-๑๐๐ คาตอ่ นาที) ๔.๒ พูดได้คล่องหรอื ลดภาวะการตดิ อ่าง ๔.๓ พดู เวน้ วรรคตอนได้ถูกต้อง 5. สามารถใช้เทคโนโลยีสง่ิ อานวยความ 5.๑ ใช้อปุ กรณช์ ่วยในการสื่อสารทางเลือก สะดวก เคร่ืองช่วยในการเรยี นรู้ 5.๒. ใช้อุปกรณ์ช่วยในการเข้าถึงคอมพิวเตอร์เพ่ือ การเรียนรู้ 5.๓ ใช้โปรแกรมเสริมผ่านคอมพิวเตอร์เพ่ือช่วย ในการเรยี นรู้ มาตรฐาน ๑๓.๗ การพฒั นาทกั ษะจาเปน็ เฉพาะความบกพรอ่ งทางพฤตกิ รรมหรือ อารมณ์ ตวั บง่ ชี้ สภาพทพ่ี ึงประสงค์ ๑. สามารถจัดการกับอารมณ์ของตนเองได้ ๑.๑ ควบคมุ ความรู้สึกหรืออารมณข์ องตนเองได้ ๑.๒ แสดงออกทางอารมณ์อย่างเหมาะสมตาม สถานการณ์ ๒. สามารถควบคุมพฤติกรรมของตนเอง ๒.๑ ควบคุมตนเองในการทากจิ กรรมร่วมกบั เพอ่ื นได้ ไดอ้ ย่างเหมาะสม อยา่ งเหมาะสม ๓. สามารถปรบั ตวั ในการอย่รู ว่ มกับสงั คม ๓.๑ การปฏบิ ตั ิตามกฎกตกิ าและมารยาททางสังคมได้ อย่างถกู ต้อง ๔. สามารถใชเ้ ทคโนโลยีสิ่งอานวยความ ๔.๑ ใช้อปุ กรณ์ช่วยในการสื่อสารทางเลือก สะดวก เครื่องชว่ ยในการเรยี นรู้ ๔.๒. ใช้อุปกรณช์ ่วยในการเข้าถงึ คอมพวิ เตอร์เพอ่ื การ เรียนรู้ ๔.๓ ใชโ้ ปรแกรมเสรมิ ผา่ นคอมพวิ เตอรเ์ พอ่ื ช่วยในการ เรียนรู้

๒๕ มาตรฐาน ๑๓.๘ การพฒั นาทกั ษะจาเป็นเฉพาะบุคคลออทสิ ติก ตัวบ่งช้ี สภาพที่พงึ ประสงค์ ๑. ตอบสนองต่อสง่ิ เรา้ จากประสาทสัมผัส ๑.๑ ตอบสนองตอ่ การทรงตัวได้เหมาะสม ได้เหมาะสม ๑.๒ ตอบสนองต่อการเคลื่อนไหวเอ็นและข้อต่อได้ เหมาะสม ๑.๓ ตอบสนองต่อกายสัมผสั ได้เหมาะสม ๑.๔ ตอบสนองต่อการดมกล่นิ ได้เหมาะสม ๑.๕ ตอบสนองต่อเสียงที่ไดย้ นิ ไดเ้ หมาะสม ๑.๖ ตอบสนองตอ่ การเหน็ ได้เหมาะสม ๑.๗ ตอบสนองต่อการลิม้ รสได้เหมาะสม ๒. เขา้ ใจภาษาและแสดงออกทางภาษาได้ ๒.1 ปฏิบตั ิตามคาสงั่ ได้ อยา่ งเหมาะสม ๒.๒ ส่ือสารโดยการใช้ท่าทาง รูปภาพ สัญลักษณ์ คาพดู ในชีวิตประจาวนั ๓. แสดงพฤตกิ รรมท่ีเหมาะสมตาม ๓.๑ รับรู้และแสดงอารมณ์ของตนเองและบุคคลอื่น สถานการณ์ อยา่ งเหมาะสม ๓.๒ ปฏิบัติตามขอ้ ตกลงของห้องเรียนและโรงเรยี น ๓.๓ ปฏิบตั ติ นเหมาะสมตามสถานการณ์ ตา่ ง ๆ 3.4 สามารถรอคอยในสถานการณ์ตา่ งๆได้ 3.5 เข้าใจและยอมรบั การเปล่ียนแปลงในสถานการณ์ ต่างๆ ได้ 3.6 สามารถควบคมุ ตนเองในสถานการณ์ตา่ งๆได้ ๔. สามารถใชเ้ ทคโนโลยีส่งิ อานวยความ ๔.๑ ใชอ้ ปุ กรณ์ชว่ ยในการสือ่ สารทางเลือก สะดวก เคร่อื งชว่ ยในการเรยี นรู้ ๔.๒. ใชอ้ ุปกรณช์ ว่ ยในการเข้าถงึ คอมพิวเตอร์เพือ่ การ เรยี นรู้ ๔.๓ ใชโ้ ปรแกรมเสรมิ ผ่านคอมพิวเตอร์เพอ่ื ชว่ ยในการ เรยี นรู้ การจดั เวลาเรยี น หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสาหรับเด็กท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ กาหนดกรอบ โครงสรา้ งเวลาในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก ใน 1 ปีการศึกษาโดยประมาณ มีเวลาเรียนไม่น้อย กว่า ๑๘๐ วัน ในแต่ละวันจะใช้เวลาไม่น้อยกว่า ๕ ชั่วโมง ท้ังนี้ ขึ้นอยู่กับอายุของเด็กที่เร่ิมเข้า สถานศึกษาหรือศูนย์การศึกษาพิเศษ เวลาเรียนจึงข้ึนอยู่กับความพร้อม พัฒนาการและศักยภาพ ของเด็กพกิ ารตามประเภทและสภาพความพิการของแตล่ ะบุคคล

๒๖ สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ เป็นส่ือกลางในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็ก เพื่อส่งเสริม พัฒนาการเด็กทุกด้าน ให้เป็นไปตามจุดหมายของหลักสูตรที่กาหนด ประกอบด้วย ประสบการณ์ สาคัญ และสาระที่ควรเรยี นรู้ ดงั นี้ ๑. ประสบการณ์สาคัญ ประสบการณ์สาคัญเป็นแนวทางสาหรับผู้สอนนาไปใช้ ในการออกแบบการจัดประสบการณ์ให้เด็กปฐมวัยเรียนรู้ ลงมือปฏิบัติ และได้รับการส่งเสริม พฒั นาการครอบคลมุ ทกุ ด้าน ดังน้ี ๑.๑ ประสบการณ์สาคัญท่ีส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย เป็นการสนับสนุน ให้เด็กได้มีโอกาสพัฒนาการใช้กล้ามเน้ือใหญ่ กล้ามเนื้อเล็ก และการประสานสัมพันธ์ระหว่าง กลา้ มเนอื้ และระบบประสาท ในการทากิจวัตรประจาวันหรือทากิจกรรมต่างๆ และสนับสนุนให้เด็ก มโี อกาสดูแลสขุ ภาพและสขุ อนามัย สขุ นสิ ยั และการรกั ษาความปลอดภัย ดังน้ี ด้านรา่ งกาย ประสบการณส์ าคัญ ๑.๑.๑ การใช้กลา้ มเนอื้ ใหญ่ (1) การเคลอื่ นไหวอย่กู ับที่ ๑.๑.๒ การใช้กล้ามเนอื้ เลก็ (2) การเคลื่อนไหวเคล่อื นท่ี (3) การเคลื่อนไหวพร้อมวัสดอุ ปุ กรณ์ (4) การเคลอ่ื นไหวทีใ่ ชก้ ารประสานสัมพันธ์ของการใช้กล้ามเนื้อ ใหญ่ในการขว้าง การจบั การโยน การเตะ (5) การเลน่ เคร่ืองเล่นสนามอยา่ งอสิ ระ (1) การเลน่ เครื่องเล่นสมั ผสั และการสร้างจากแทง่ ไม้ บลอ็ ก (2) การเขยี นภาพและการเล่นกับสี (3) การปน้ั (4) การประดิษฐ์ส่ิงต่างๆ ด้วย เศษวัสดุ การหยิบจับ การใช้ กรรไกร การฉีก การตัด การปะ การรอ้ ยวัสดุ และการพบั ๑.๑.๓ การรักษาสุขภาพ (1) การปฏบิ ตั ิตนตามสุขอนามัย สขุ นสิ ยั ทด่ี ีในกจิ วัตรประจาวัน อนามยั สว่ นตน ๑.๑.๔ การรักษาความ (1) การปฏิบัตติ นใหป้ ลอดภัยในกจิ วตั รประจาวนั ปลอดภยั (2) การฟังนิทาน เร่ืองราว เหตุการณ์ เก่ียวกับการปูองกัน และรักษาความปลอดภยั (3) การเล่นเครือ่ งเลน่ อย่างปลอดภยั (4) การเลน่ บทบาทสมมตเิ หตกุ ารณ์ต่างๆ ๑.๑.๕ การตระหนักรูเ้ ก่ียวกบั (1) การเคลื่อนไหวโดยควบคุมตนเองไปในทิศทาง ระดับ ร่างกายตนเอง และพนื้ ท่ี (2) การเคล่อื นไหวข้ามสิ่งกดี ขวาง

๒๗ ๑.๒ ประสบการณ์สาคัญทีส่ ่งเสริมพฒั นาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ เปน็ การสนับสนุนให้เด็ก ได้แสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกของตนเองที่เหมาะสมกับวัย ตระหนักถึงลักษณะพิเศษเฉพาะ ท่เี ปน็ อัตลักษณ์ ความเปน็ ตวั ของตวั เอง มีความสุข รา่ เริงแจ่มใส การเห็นอกเห็นใจผู้อ่ืน ได้พัฒนาคุณธรรม จรยิ ธรรม สนุ ทรยี ภาพ ความรู้สกึ ทด่ี ตี อ่ ตนเอง และความเชอ่ื มั่นในตนเองขณะปฏิบตั ิกิจกรรมต่างๆ ดงั นี้ ดา้ นอารมณ์ ประสบการณส์ าคญั ๑.๒.๑ สนุ ทรยี ภาพ ดนตรี (1) การฟงั เพลง การรอ้ งเพลง และการแสดงปฏกิ ิริยาโต้ตอบ (2) เสยี งดนตรี (3) การเล่นเคร่อื งดนตรปี ระกอบจงั หวะ (4) การเคลอื่ นไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี (5) การเลน่ บทบาทสมมติ (6) การทากจิ กรรมศลิ ปะต่างๆ (7) การสร้างสรรคส์ ิ่งสวยงาม ๑.๒.๒ การเลน่ (1) การเล่นอสิ ระ (2) การเล่นรายบคุ คล กลุ่มย่อย กลมุ่ ใหญ่ (3) การเล่นตามมุมประสบการณ์ (4) การเล่นนอกห้องเรยี น ๑.๒.๓ คุณธรรม จรยิ ธรรม (1) การปฏบิ ัตติ นตามหลักศาสนาท่นี บั ถือ (2) การฟงั นิทานเกีย่ วกบั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม (3) การร่วมสนทนาและแลกเปล่ียนความคิดเหน็ เชงิ จริยธรรม ๑.๒.๔ การแสดงออกทาง (1) การพูดสะทอ้ นความรสู้ กึ ของตนเองและผู้อืน่ อารมณ์ (2) การเลน่ บทบาทสมมติ (3) การเคล่ือนไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี (4) การร้องเพลง (5) การทางานศลิ ปะ ๑.๒.๕ การมีอตั ลักษณเ์ ฉพาะ (1) การปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตา่ งๆ ตามความสามารถของตนเอง ตนและเชื่อวา่ ตนเองมี ความสามารถ ๑.๒.๖ การเหน็ อกเหน็ ใจผู้อ่นื (1) การแสดงความยนิ ดเี ม่อื ผ้อู ื่นมีความสุข เหน็ ใจเมื่อผ้อู นื่ เศรา้ (2) หรือเสียใจและการช่วยเหลือปลอบโยนเมื่อผู้อ่ืนได้รับ บาดเจ็บ

๒๘ ๑.๓ ประสบการณ์สาคัญท่ีส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้มี โอกาสปฏสิ มั พันธ์กบั บคุ คลและสิ่งแวดลอ้ มต่างๆ รอบตวั จากการปฏิบตั กิ ิจกรรมต่างๆ ผ่านการเรียนรู้ ทางสงั คม เชน่ การเลน่ การทางานกับผอู้ ่ืน การปฏิบตั กิ จิ วตั รประจาวนั การแกป้ ญั หาขอ้ ขดั แย้งตา่ งๆ ด้านสงั คม ประสบการณ์สาคัญ ๑.๓.๑ การปฏบิ ตั กิ ิจวตั ร (1) ก า ร ช่ ว ย เ ห ลื อ ต น เ อ ง ใ น กิ จ วั ต ร ป ร ะ จ า วั น ไ ด้ แ ก่ ประจาวนั การรับประทานอาหาร การแต่งตัว การอาบน้า การใช้ หอ้ งน้า การทาความสะอาดหลังใชห้ ้องน้าแล้ว (2) การปฏิบัติตนตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง ๑.๓.๒ การดูแลรักษา (1) การมีส่วนร่วมรับผิดชอบดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมทั้งภายใน ธรรมชาติและ และภายนอกหอ้ งเรยี น สิง่ แวดล้อม (2) การใชว้ ัสดแุ ละสงิ่ ของเคร่ืองใชอ้ ย่างคมุ้ ค่า (3) การทางานศิลปะท่ีนาวัสดุหรือส่ิงของเครื่องใช้ที่ใช้แล้ว มาใชซ้ า้ หรือแปรรูปแลว้ นากลบั มาใช้ใหม่ (4) การเพาะปลูกและดแู ลตน้ ไม้ (5) การเลย้ี งสตั ว์ (6) การสนทนาข่าวและเหตุการณ์ที่เก่ียวกับธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อมในชีวิตประจาวนั ๑.๓.๓ การปฏบิ ตั ิตาม (1) การเลน่ บทบาทสมมติการปฏบิ ัติตนในความเป็นคนไทย วฒั นธรรมทอ้ งถนิ่ (2) การปฏิบตั ติ นตามวฒั นธรรมท้องถ่นิ ทีอ่ าศัยและประเพณไี ทย และความเป็นไทย (3) การประกอบอาหารไทย (4) การศึกษานอกสถานท่ี (5) การละเลน่ พืน้ บา้ นของไทย ๑.๓.๔ การมีปฏสิ ัมพันธ์ (1) การร่วมกาหนดข้อตกลงของห้องเรยี น มีวินยั มีส่วนรว่ ม (2) การปฏบิ ัติตนเปน็ สมาชกิ ทีด่ ขี องห้องเรียน และบทบาทสมาชกิ (3) การให้ความร่วมมอื ในการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมตา่ งๆ ของสังคม (4) การดแู ลห้องเรยี นร่วมกนั (5) การร่วมกิจกรรมวนั สาคัญ (6) ส่อื สารแนะนาตัวเองกับสมาชกิ ในหอ้ งเรยี น (7) บอกชือ่ เพื่อนหรือสมาชิกในหอ้ งไดอ้ ย่างนอ้ ยหน่ึงชือ่ ๑.๓.๕ การเล่นและทางาน (1) การร่วมสนทนาและแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ แบบร่วมมอื รว่ มใจ (2) การเลน่ และทางานรว่ มกับผูอ้ ื่น (3) การทาศิลปะแบบรว่ มมอื ๑.๓.๖ การแกป้ ญั หา (1) การมสี ่วนรว่ มในการเลอื กวิธกี ารแกป้ ัญหา ความขดั แยง้ (2) การมสี ่วนร่วมในการแก้ปัญหาความขดั แย้ง ๑.๓.๗ การยอมรบั ในความเหมือน (1) การเลน่ หรือทากจิ กรรมร่วมกบั กลมุ่ เพือ่ น และความแตกต่างระหวา่ งบุคคล

๒๙ ๑.๔ ประสบการณ์สาคัญท่ีส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา เป็นการสนับสนุนให้เด็ก ได้รับรู้และเรียนรู้ส่ิงต่างๆ รอบตัวผ่านการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม บุคคลและสื่อต่างๆ ดว้ ยกระบวนการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กพัฒนาการใช้ภาษา จินตนาการความคิด สร้างสรรค์ การแก้ปัญหา การคิดเชิงเหตุผล และ การคิดรวบยอดเก่ียวกับสิ่งต่างๆ รอบตัว และมีความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ท่ีเปน็ พ้นื ฐานของการเรยี นรใู้ นระดับที่สงู ข้นึ ต่อไป การพัฒนาดา้ น ประสบการณ์สาคัญ ๑.๔.๑ การใชภ้ าษา (1) การฟังเสียงต่าง ๆ หรือได้รับการกระตุ้นจากส่ิงเร้าทางการ สอ่ื สารในสิ่งแวดล้อม (2) การฟงั และปฏบิ ัติตามคาแนะนา (3) การฟังเพลง นทิ าน คาคล้องจอง บทร้อยกรองหรือเร่ืองราว ต่างๆ (4) การพดู แสดงความคดิ ความรู้สกึ และความตอ้ งการ (5) การพดู กบั ผู้อน่ื เกย่ี วกับประสบการณ์ของตนเอง หรือพูดเล่า เรอ่ื งราวเกย่ี วกบั ตนเอง (6) การพดู อธิบายเก่ียวกับสิ่งของ เหตุการณ์ และความสัมพันธ์ ของสง่ิ ตา่ งๆ (7) การพูดอย่างสร้างสรรค์ในการเลน่ และการกระทาตา่ งๆ (8) การรอจงั หวะทเ่ี หมาะสมในการพูด (9) การพดู เรยี งลาดบั คาเพ่ือใชใ้ นการส่อื สาร (10) การอ่านหนงั สอื ภาพ นทิ าน หลากหลายประเภท/รปู แบบ (11) การอ่านอย่างอิสระตามลาพัง การอ่านร่วมกัน การอ่าน โดยมีผชู้ ี้แนะ (12) การเห็นแบบอยา่ งของการอา่ นท่ีถูกต้อง (13) การสงั เกตทศิ ทางการอ่านตวั อักษร คา และขอ้ ความ (14) การอ่านและช้ีข้อความ โดยกวาดสายตาตามบรรทัด จากซ้ายไปขวา และจากบนลงล่าง (15) การสงั เกตตวั อกั ษรในช่อื ของตน หรือคาคุน้ เคย (16) การสังเกตตัวอกั ษรทปี่ ระกอบเปน็ คาผ่านการอา่ นหรือเขียน ของผู้ใหญ่ (17) การคาดเดาคา วลี หรือประโยค ท่ีมีโครงสร้างซ้าๆ กัน จากนิทาน เพลง คาคล้องจอง (18) การเลน่ เกมภาษา (19) การเหน็ แบบอย่างของการเขียนท่ถี กู ต้อง (20) การเขียนร่วมกนั ตามโอกาส และการเขียนอสิ ระ (21) การเขียนคาทม่ี คี วามหมายกบั ตวั เด็ก/คาคุ้นเคย (22) การคิดสะกดคาและเขียนเพื่อส่ือความหมายด้วยตนเอง อยา่ งอิสระ

๓๐ การพฒั นาด้าน ประสบการณ์สาคัญ ๑.๔.๒ การคิดรวบยอด (1) การสังเกตลักษณะ ส่วนประกอบ การเปล่ียนแปลง การคดิ เชิงเหตุผล และความสัมพันธ์ของส่ิงต่างๆ โดยใช้ประสาทสัมผัส การตดั สินใจและ อยา่ งเหมาะสม แก้ปัญหา (2) การสงั เกตส่งิ ตา่ งๆ และสถานทจ่ี ากมมุ มองท่ีตา่ งกัน ๑.๔.๓ จนิ ตนาการและ (3) การบอกและแสดงตาแหน่ง ทิศทาง และระยะทาง ความคดิ สร้างสรรค์ ของส่งิ ต่างๆ ดว้ ยการกระทา ภาพวาด ภาพถา่ ย และรปู ภาพ (4) การเล่นกับส่ือต่างๆ ท่ีเป็นทรงกลม ทรงส่ีเหลี่ยมมุมฉาก ทรงกระบอก กรวย (5) การ คัดแยก ก ารจัดก ลุ่ม และก ารจาแนกสิ่งต่าง ๆ ตามลกั ษณะ และรูปร่าง รูปทรง (6) การต่อของช้ินเล็กเติมในชิ้นใหญ่ให้สมบูรณ์ และการแยก ชน้ิ สว่ น (7) การทาซา้ การตอ่ เติม และการสรา้ งแบบรูป (8) การนับและแสดงจานวนของสิ่งตา่ งๆ ในชีวิตประจาวนั (9) การเปรียบเทยี บและเรียงลาดบั จานวนของส่ิงต่างๆ (10) การรวมและการแยกสิ่งตา่ งๆ (11) การบอกและแสดงอันดับทีข่ องส่ิงตา่ งๆ (12) การชั่ง ตวง วัดสิ่งต่างๆ โดยใช้เครื่องมือและหน่วยท่ีไม่ใช่ หนว่ ยมาตรฐาน (13) การจับคู่ การเปรียบเทียบ และการเรียงลาดับ ส่ิงต่างๆ ตามลกั ษณะความยาว/ความสงู นา้ หนกั ปรมิ าตร (14) การบอกและเรียงลาดับกิจกรรมหรือเหตุการณ์ตาม ช่วงเวลา (15) การใช้ภาษาทางคณติ ศาสตร์กบั เหตกุ ารณใ์ นชวี ิตประจาวนั (16) การอธิบายเช่ือมโยงสาเหตุและผลท่ีเกิดขึ้นในเหตุการณ์ หรอื การกระทา (17) การคาดเดาหรือการคาดคะเนส่ิงท่ีอาจจะเกิดขึ้น อยา่ งมีเหตุผล (18) การมีส่วนรว่ มในการลงความเหน็ จากข้อมูลอย่างมเี หตุผล (19) การตัดสนิ ใจและมีสว่ นรว่ มในกระบวนการแกป้ ญั หา (1) การรับรู้ และแสดงความคิดความรู้สึกผ่านส่ือ วัสดุ ของเล่น และช้นิ งาน (2) ก า ร แ สด ง ค ว าม คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ผ่ า น ภ า ษ า ท่ า ท า ง การเคลอ่ื นไหวและศิลปะ (3) การสร้างสรรค์ช้ินงานโดยใช้รูปร่างรูปทรงจากวัสดุ ทห่ี ลากหลาย

๓๑ การพัฒนาด้าน ประสบการณ์สาคญั (4) การแสดงความคิดสร้างสรรค์โดยการแสดงท่าทางเลียนแบบ ๑.๔.๔ เจตคตทิ ด่ี ตี อ่ การ เรยี นรู้และการ บทบาทสมมติเป็นเรือ่ งราว แสวงหาความรู้ (1) การสารวจสง่ิ ต่างๆ และแหลง่ เรยี นรู้รอบตัว (2) การตัง้ คาถามในเรื่องท่ีสนใจ (3) การสืบเสาะหาความรู้เพอื่ ค้นหาคาตอบของขอ้ สงสยั ต่างๆ (4) การมีส่วนร่วมในการรวบรวมข้อมูลและนาเสนอข้อมูล จากการสืบเสาะหาความรู้ในรูปแบบต่างๆ และแผนภูมิ อย่างง่าย ๑.๕ ประสบการณ์สาคัญทีส่ ่งเสรมิ การพัฒนาทักษะจาเปน็ เฉพาะความพกิ าร ๑.๕.๑ ประสบการณ์สาคัญทสี่ ่งเสริมการพัฒนาทักษะจาเป็นเฉพาะความบกพรอ่ งทางการเห็น ทักษะจาเปน็ เฉพาะความ ประสบการณส์ าคัญ บกพร่องทางการเหน็ ๑. มีความสามารถในการ บรู ณาการประสาทสมั ผัสท่ี เหลอื อยใู่ นการดารงชวี ติ ๑.๑ รบั รู้ต่อการใช้ประสาท (1) การมองแสงในทิศทางต่างๆ สัมผัสทางการเหน็ ท่ี (2) การมองวตั ถทุ ่มี สี สี ันสดใสทีอ่ ยกู่ ับที่ เหลอื อยู่ (สาหรบั บุคคล (3) การมองตามวัตถทุ ีม่ ีสสี ันสดใสทเี่ คลอื่ นไหว สายตาเลือนราง) ในการ (4) การมองหาวัตถุกาหนดให้ มองสงิ่ ตา่ งๆรอบตวั ได้ (5) การหยบิ ส่งิ ของทีม่ ขี นาดและสีท่ีแตกต่างกนั (6) การสารวจส่ิงตา่ งๆรอบตวั ๑.๒ รบั รตู้ ่อการใช้ประสาท (7) การโยงเส้นไปตามตาแหนง่ ทก่ี าหนดให้ สัมผสั ทางการไดย้ นิ เสยี ง (8) การมองภาพตามทกี่ าหนด ต่างๆในสภาพแวดลอ้ มได้ (9) การมองของจริงแลว้ ใหเ้ ลอื กภาพทต่ี รงกบั ส่ิงที่มองเหน็ (10) การบรรยายภาพจากสิง่ ท่ีเห็น ๑.๓ รบั ร้ตู ่อการใชป้ ระสาท (11) การเลียนแบบสหี น้าท่าทาง สมั ผัสทางการดมกลนิ่ สิ่ง (12) การบอกรายละเอียดของวัตถุท่ีเห็น (1) การบอกเสยี งจากส่งิ ที่ได้ยิน (2) การบอกแหลง่ ทีม่ าของเสยี ง (3) การแยกความแตกต่างของเสียงชนิดต่างๆ (4) การบอกจงั หวะของเสยี ง (1) การดมกลิ่นของใช้ประเภทต่างๆ (2) การดมกลนิ่ อาหารประเภทต่างๆ (3) การดมกลนิ่ ผลไม้ประเภทต่างๆ

๓๒ ทักษะจาเป็นเฉพาะความ ประสบการณส์ าคัญ บกพรอ่ งทางการเหน็ (4) การดมกลิน่ ดอกไมป้ ระเภทต่างๆ ตา่ งๆรอบตัวได้ (5) การดมกล่ินต่างๆในสภาพแวดลอ้ ม ๑.๔ รบั รตู้ อ่ การใช้ประสาท (1) การชมิ และบอกรสชาติของอาหารชนิดตา่ งๆ สัมผัสทางการชมิ รสส่ิง (2) การชิมและบอกชื่ออาหาร ผกั ผลไมป้ ระเภทตา่ งๆ ต่างๆในชวี ิตประจาวันได้ (3) การชิมและบอกลักษณะของอาหาร ประเภทตา่ งๆ ๑.๕ รบั รตู้ ่อการ ใชป้ ระสาท (1) การบอกชอื่ สิ่งของต่างๆดว้ ยการสมั ผสั ทางผวิ กาย สมั ผัสทางผิวกายสมั ผัสส่ิง (2) การบอกลักษณะรปู ร่างของส่ิงต่างๆด้วยการสมั ผัสทางผิวกาย ตา่ งๆรอบตัวและใน (3) การบอกลกั ษณะพนื้ ผิวของส่ิงตา่ งๆดว้ ยการสมั ผสั ทางผิวกาย สภาพแวดล้อมได้ (4) การบอกสภาพแวดลอ้ มโดยการรบั รู้ทางผิวกาย (5) การสมั ผัสสิง่ ต่างๆทมี่ อี ณุ หภูมิท่แี ตกต่างกัน (6) การบอกสถานะของสงิ่ ตา่ งๆ ๑.๖ รับรตู้ อ่ การใช้ประสาทการ (๑) การหมุนศรี ษะและการเคลอื่ นไหวไปในระนาบทแี่ ตกต่างกัน รบั รู้การทรงตัวได้ (๒) การน่ังทรงตวั การเคล่อื นไหวแบบราบเรยี บและทศิ ทางตา่ งๆ (๓) การนงั่ เคร่อื งเล่นหรอื อุปกรณท์ ีม่ กี ารเคลือ่ นไหว (๔) การยนื ทรงตัวในรปู แบบตา่ งๆ (๕) การเดนิ ทรงตวั (๖) การเล่นเครื่องเลน่ ที่ใชก้ ารปีน ป่าย ห้อย โหน กระโดด ๑.๗ รับรตู้ อ่ การใชป้ ระสาทการ (๑) การเค้ยี วอาหารหรือวัตถทุ ่มี ีความเหนยี ว รับร้กู ารเคล่อื นไหวเอน็ (๒) การนวดทม่ี ีการลงน้าหนักทีข่ ้อต่อ และข้อตอ่ ได้ (๓) การคลานบนสภาพแวดล้อมท่ีแตกต่างกนั (๔) การทาทา่ ประกอบเพลงที่มจี งั หวะเบาๆ สบายๆ (๕) การกระโดดในรปู แบบต่างๆ (๖) การออกกาลงั กายในทา่ ตา่ งๆ (๗) การหว้ิ ลาก ผลัก ดงึ ยก สิ่งของหรือวัตถทุ ่มี นี า้ หนกั (๘) การเล่นเครือ่ งเลน่ ที่มกี ารโหนหรือปีนป่าย ๑.๘ การรบั รู้ต่อการใช้ประสาท (๑) ตาแหนง่ ของภาชนะใส่อาหาร สัมผสั ในการรับประทาน (๒) ตาแหนง่ ของอุปกรณใ์ ชส้ าหรบั รับประทานอาหาร อาหาร

๓๓ ทกั ษะจาเปน็ เฉพาะความ ประสบการณส์ าคัญ บกพรอ่ งทางการเห็น (1) การรบั รู้เกีย่ วกับเวลา ๒. การสรา้ งความคนุ้ เคยกับ (2) การรับรู้เกย่ี วกับทศิ ทาง สภาพแวดล้อม และการ (3) การรับรู้เก่ยี วกับระยะทาง เคล่ือนไหวของคนตาบอด (4) การรับรู้เกย่ี วกับพน้ื ผวิ (5) การรบั รเู้ กี่ยวกบั อุณหภมู ิ ๒.๑ ความคดิ รวบยอดท่ี (6) การรบั รเู้ กย่ี วกบั กลน่ิ เก่ียวข้องกับการสร้าง (7) การรบั รเู้ กย่ี วกับเสียง ความคุ้นเคยกบั (8) การรับรูเ้ กยี่ วกบั สภาพแวดล้อม สภาพแวดล้อม และการ (9) การเรยี งลาดบั ของสถานท่ี เหตุการณ์ หรอื เวลา เคลื่อนไหว (๑) การยืนกอ่ นการเดินกับผู้นาทางเม่ือมผี นู้ าทาง (๒) การรับร้สู ัญลักษณก์ อ่ นการเดินทาง ๒.๒ การเดินทางกบั ผนู้ าทาง (๓) การเลอ่ื นมือและจบั แขนของผู้นาทาง ๒.๒.๑ การแตะนา และ การจบั แขนผู้นาทาง ๒.๒.๒ การกา้ วเดินโดยมี (1) การกา้ วเดนิ กับผู้นาทาง ผู้นาทาง (2) การรจู้ งั หวะการเดนิ กับผนู้ าทาง ๒.๒.๓ การเปลีย่ นขา้ ง (1) การเล่อื นมือกอ่ นการเปลย่ี นขา้ ง ๒.๒.๔ การหมนุ กลบั ตวั (2) การจับแขนผู้นาทางขณะเปลย่ี นข้าง (1) การหมนุ ตวั เขา้ หากัน (2) การยื่นมือไปจับแขนอกี ขา้ งของผูน้ าทาง (3) การปลอ่ ยแขนและเดินต่อ ๒.๒.๕ การตอบรับหรือ (1) การตอบรับการนาทาง ปฏิเสธการนาทาง (2) การปฏิเสธการนาทาง ๒.๒.๖ การเดินทางแคบ (1) การใชส้ ัญลักษณ์เมือ่ ต้องการเดนิ ในทางแคบ โดยมีผู้นาทาง (2) การจับแขนผู้นาทางเมอื่ เดนิ ในทางแคบ ๒.๒.๗ การเดนิ กบั ผู้นาทาง ข้นึ ลงบันไดได้ (3) การกา้ วเดินกบั ผู้นาทางเมอ่ื เดินในทางแคบ ๒.๒.๘ การเดินกับ (4) การกลบั มาเดนิ ในเสน้ ทางปกติ ผู้นาทาง ในการเขา้ -ออกประตู (1) การขึน้ -ลงบนั ไดกบั ผนู้ าทางโดยไมจ่ บั ราว (2) การข้ึน-ลงบนั ไดกบั ผู้นาทางและจบั ราวบันได (1) การเข้า-ออกประตทู ี่เปน็ ประตูชนิดผลกั ออกจากตวั (2) การเข้า-ออกประตทู เ่ี ป็นประตูชนดิ เปิดเขา้ หาตัว (3) การเขา้ -ออกประตทู ่ีเป็นประตชู นดิ เล่อื น

๓๔ ทักษะจาเปน็ เฉพาะความ ประสบการณ์สาคญั บกพรอ่ งทางการเหน็ ๒.๒.๙ การนั่งเก้าอ้ี (1) การสารวจ การจับ และการนง่ั เกา้ อท้ี ไี่ ม่มพี นักพงิ (2) การสารวจ การจบั และการน่งั เกา้ อ้ที ี่มีพนักพิง ๒.๒.๑๐ การหาของ (3) การน่ังเกา้ อ้ีที่ไมม่ โี ต๊ะ (4) การนั่งเกา้ อ้ีท่ีมีโตะ๊ ๒.๒.๑๑ การขึน้ -ลง (๑) การหาของบนโตะ๊ ยานพาหนะ (๒) การหาของที่พนื้ (๑) การขนึ้ รถ ๒.๒.๑๒ การเขา้ -ออก (๒) การลงรถ ลฟิ ต์ (๑) การเข้าลิฟต์ ๒.๓ การเดนิ โดยอสิ ระใน (๒) การออกลฟิ ต์ สถานทีค่ ุ้นเคย (1) การใชแ้ ขนในการปอู งกนั ตนเองส่วนบน ๒.๓.๑ การเดินโดยการ ปอู งกนั ตนเองส่วนบน (1) การใช้แขนในการปูองกันตนเองส่วนลา่ ง ๒.๓.๒ การเดินโดยการ ปูองกันตนเองส่วนลา่ ง (1) การยนื่ มอื จับราวในการเดิน ๒.๓.๓ การเดนิ โดยการ เกาะราว (1) การยืน่ มือแตะผนงั หรือราวในการเดินละเลาะ ๒.๓.๔ การเดนิ โดยการ ละเลาะ (๑) การจบั ไม้เท้า ๒.๓.๕ การเดนิ โดยใชไ้ ม้ (๒) การแกว่งไมเ้ ท้า เท้าขาว (๓) การเดินร่วมกับไม้เท้า (๔) การเดนิ บนพ้ืนต่างระดบั โดยใช้ไมเ้ ทา้ ขาว ๓. การเตรยี มความพรอ้ มการ อ่านอักษรเบรลล์ (1) การเคลื่อนมือและน้ิวมือข้างเดียว สัมผัสภาพนูน เส้นนูน ๓.๑ การเคล่อื นทขี่ องมือ จุดนูน ในทิศทางตา่ งๆ และนิว้ มอื ในการสมั ผัส (2) การเคลื่อนมือและนิ้วมือทั้งสองข้างสัมผัสภาพนูน เส้นนูน จดุ นูน ในทิศทางตา่ งๆ ๔. การเตรยี มความพรอ้ มการ เขียนอกั ษรเบรลล์ (3) การเคลอื่ นมือบนเส้นจดุ นนู อกั ษรเบรลล์ ๔.๑ การใสแ่ ละเลื่อน (1) การรจู้ ักอปุ กรณ์การเขียนอักษรเบรลล์ กระดาษ (2) การใสแ่ ละเลอ่ื นกระดาษ

๓๕ ทักษะจาเปน็ เฉพาะความ ประสบการณ์สาคัญ บกพร่องทางการเห็น ๔.๒ การจับสไตลสั (1) การจับสไตลัส ในการเขียน (Stylus) ในการเขียนจดุ (2) การกดจุดอกั ษรเบรลล์ ๕. มคี วามสามารถในการอ่าน อกั ษรเบรลล์พยญั ชนะไทย พยญั ชนะภาษาองั กฤษ และตัวเลข (๑) การอา่ นอักษรเบรลล์พยญั ชนะภาษาไทย กลมุ่ จดุ ๑,๒,๔,๕ ๕.๑ การอา่ นอักษรเบรลล์พ (ก จ ด ห) ยัญชนะไทย (๒) การอา่ นอกั ษรเบรลล์พยัญชนะภาษาไทย กลมุ่ จุด ๑,๒,๓,๔,๕ (ข ฉ ถ น ม ร ล ส อ) (๓) การอ่านอกั ษรเบรลล์พยัญชนะภาษาไทย กลุ่มจดุ ๑,๒,๓,๔,๖ (ค ง ช ซ ต ท บ ป ผ ฝ พ ฟ ว ฮ) (๔) การอา่ นอักษรเบรลลพ์ ยญั ชนะไทยทม่ี ีสองเซลล์ (ฃ ฅ ฆ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ธ ภ ศ ษ ฬ) ๕.๒ การอา่ นอกั ษรเบรลล์ (๑) การอา่ นพยญั ชนะภาษาอังกฤษ a-z พยัญชนะภาษาอังกฤษ (๒) การอ่านพยัญชนะภาษาอังกฤษ A-Z ๕.๓ การอ่านอกั ษรเบรลล์ การอ่านตัวเลขอกั ษรเบรลลจ์ านวน ๑ – ๑๐ ตวั เลข ๖. มีความสามารถในการ เขยี นอกั ษรเบรลลพ์ ยญั ชนะ ไทย พยญั ชนะภาษาอังกฤษ และตวั เลข ๑) การอ่านอักษรเบรลล์พยัญชนะภาษาไทย กลุ่มจุด ๑,๒,๔,๕ ๖.๑ การเขยี นอกั ษร (ก จ ด ห) เบรลลพ์ ยญั ชนะไทย (๒) การอา่ นอกั ษรเบรลล์พยัญชนะภาษาไทย กลุ่มจุด ๑,๒,๓,๔,๕ (ข ฉ ถ น ม ร ล ส อ) (๓) การอา่ นอักษรเบรลล์พยัญชนะภาษาไทย กลุ่มจุด ๑,๒,๓,๔,๖ (ค ง ช ซ ต ท บ ป ผ ฝ พ ฟ ว ฮ) (๔) การอ่านอกั ษรเบรลลพ์ ยัญชนะไทยทมี่ ีสองเซลล์ (ฃ ฅ ฆ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ธ ภ ศ ษ ฬ) ๖.๒ การเขียนอักษร (๑) การอา่ นพยญั ชนะภาษาองั กฤษ a-z เบรลลพ์ ยญั ชนะภาษาอังกฤษ (๒) การอา่ นพยัญชนะภาษาองั กฤษ A-Z

๓๖ ทกั ษะจาเป็นเฉพาะความ ประสบการณ์สาคัญ บกพร่องทางการเห็น การอา่ นตัวเลขอกั ษรเบรลล์จานวน ๑ – ๑๐ ๖.๓ การเขยี นอักษรเบรลล์ (1) การตงั้ ค่าและอ่านค่าลูกคดิ ตวั เลข (2) การบวกจานวนท่ีมผี ลลพั ธ์ไมเ่ กนิ สบิ (3) การลบจานวนท่มี ีตวั ตัง้ ไมเ่ กินสบิ ๗. มคี วามสามารถในการใช้ ลูกคดิ (1) การใช้อุปกรณช์ ว่ ยในการสือ่ สารทางเลอื ก ๗.๑ การใช้ลูกคิดในการ (1) การใช้อุปกรณ์ชว่ ยในการเขา้ ถงึ คอมพิวเตอร์ บวกลบงา่ ยๆ (1) การใชโ้ ปรแกรมเสรมิ ผา่ นคอมพิวเตอร์เพื่อชว่ ยในการเรียนรู้ 8. สามารถใช้เทคโนโลยสี ิ่ง อานวยความสะดวก เครื่องช่วยในการเรียนรู้ 8.๑ ใชอ้ ปุ กรณช์ ่วยในการ สื่อสารทางเลือก 8.๒ ใช้อปุ กรณ์ช่วยในการ เข้าถึงคอมพวิ เตอร์เพอ่ื การ เรยี นรู้ 8.๓ ใช้โปรแกรมเสริมผา่ น คอมพวิ เตอร์เพ่อื ชว่ ยในการ เรียนรู้ ๑.๕.๒ ประสบการณ์สาคัญทส่ี ง่ เสรมิ การพฒั นาทักษะจาเปน็ เฉพาะความบกพรอ่ งทางการไดย้ นิ ทกั ษะจาเป็นเฉพาะความ ประสบการณท์ สี่ าคัญ บกพร่องทางการไดย้ นิ ๑. สามารถใชแ้ ละดแู ล เครือ่ งชว่ ยฟงั ๑.๑ บอกส่วนต่าง ๆ ของ (1) การบอกส่วนต่าง ๆ ของเครื่องช่วยฟังหรือเคร่ืองประสาทหู เคร่ืองช่วยฟงั หรอื เครอื่ ง เทยี มจากของจริง ประสาทหูเทียม ๑.๒ ใช้เคร่ืองช่วยฟงั หรอื (1) การใส่และถอดเครือ่ งช่วยฟังหรือเครือ่ งประสาทหเู ทียม เครอ่ื งประสาทหเู ทยี มไดถ้ กู ตอ้ ง (2) การเปดิ -ปดิ เครื่องชว่ ยฟังหรอื เคร่อื งประสาทหูเทยี ม (3) การปรบั ระดับเสียงเครื่องชว่ ยฟังหรอื เคร่อื งประสาทหเู ทยี ม (4) การตรวจสอบการทางานของเคร่ืองช่วยฟังหรือเครื่อง ประสาทหูเทยี ม ๑.๓ ดูแลรกั ษาเคร่อื งชว่ ย (1) การทาความสะอาดเครอ่ื งชว่ ยฟงั หรือเครือ่ งประสาทหูเทยี ม ฟังหรอื เคร่ืองประสาทหเู ทยี ม (2) การเก็บรักษาเครือ่ งช่วยฟังหรือเครอ่ื งประสาทหูเทยี ม

๓๗ ทักษะจาเป็นเฉพาะความ ประสบการณ์ท่ีสาคญั บกพรอ่ งทางการไดย้ ิน ๒. สามารถใช้การไดย้ นิ ท่ี (1) การเคาะ ดีด สี ตี เปุา เขยา่ เครือ่ งดนตรี หลงเหลืออยูใ่ น (2) การฟังเสยี งจากเคร่อื งเลน่ ชีวติ ประจาวัน (3) การฟงั เสยี งจากส่งิ แวดลอ้ ม ๒.๑ ร้วู า่ มเี สียง/ไม่มีเสยี ง (1) การบอกเสยี งที่ได้ยินจากเคร่ืองดนตรี (2) การบอกเสยี งทไ่ี ด้ยนิ จากเครือ่ งเล่น ๒.๒ บอกเสียงทไี่ ด้ยนิ (3) การบอกเสียงท่ีได้ยนิ จากส่ิงแวดล้อม (4) การจาแนกเสียง ๒.๓ บอกแหล่งทม่ี าของ (5) การเปรยี บเทยี บเสียง เสยี ง (1) การฟงั เสยี งส่ิงตา่ งๆ รอบตวั และบอกแหลง่ ที่มาเสียง ๓. สามารถเปล่งเสียงหรอื พูด (1) การกาหนดลมหายใจเขา้ ออก ตามแบบ (2) การกล้นั /กกั ลมหายใจ ๓.๑ เปลง่ เสียงคาท่ีไมม่ ี (3) การเปล่งเสียงคาทไ่ี ม่มีความหมายตามแบบ ความหมายตามแบบ (4) การเปล่งเสียงพยญั ชนะตามฐานการเกิดเสียงตามแบบ (5) การเปลง่ เสียงสระ และเปรียบเทยี บเสยี งสระสั้น-ยาว ตามแบบ ๓.๒ พูดคางา่ ยๆ ท่มี ี (6) การเปล่งเสียงวรรณยุกต์ และเปรียบเทียบเสียงวรรณยุกต์ ความหมายตามแบบ สูง-ต่า ตามแบบ ๓.๓ พดู เป็นวลีงา่ ยๆ ตาม (7) การจดั รูปริมฝปี ากตามฐานการเกิดเสยี งตามแบบ แบบ (1) การพดู เปน็ คาง่ายๆเก่ียวกบั ตนเองตามแบบ (2) การพูดเป็นคาง่ายๆเก่ียวกับบุคคลและสถานท่ีแวดล้อมตามแบบ ๓.๔ พูดเปน็ ประโยคง่ายๆ (3) การพดู เปน็ คาง่ายๆเกย่ี วกบั ธรรมชาติรอบตวั ตามแบบ ตามแบบ (4) การพูดเป็นคาง่ายๆเก่ยี วกับส่งิ ต่างๆรอบตัวตามแบบ ๔. สามารถอ่านริมฝปี าก (1) การพดู เปน็ วลงี ่ายๆ ตามแบบ ๔.๑ อ่านรมิ ฝีปากและ (1) การพูดเปน็ ประโยคงา่ ยๆ ตามแบบ เข้าใจความหมาย (1) การอ่านริมฝปี ากและปฏิบตั ติ าม ๔.๒ ทารปู ปากเปน็ คาท่ีมี ความหมายและผู้อน่ื เข้าใจได้ (1) การทารปู ปากเป็นคาทม่ี คี วามหมายง่ายๆ

๓๘ ทักษะจาเป็นเฉพาะความ ประสบการณท์ ่สี าคัญ บกพร่องทางการได้ยนิ ๔.๓ ทารปู ปากเป็นวลีง่ายๆ (1) การทารูปปากเปน็ วลีง่ายๆ และผ้อู ืน่ เข้าใจได้ ๔.๔ ทารูปปากเป็นประโยค (1) การทารปู ปากเปน็ ประโยคง่ายๆ งา่ ยๆ และผู้อน่ื เขา้ ใจได้ ๕. สามารถใชภ้ าษามอื ในการ สอ่ื สาร ๕.๑ ใช้ภาษาท่าทางในการ (1) การจดั ทา่ และการเคล่ือนไหวของมือพน้ื ฐานในการใช้ภาษามอื ส่อื สาร การใช้สหี นา้ ประกอบท่าทางในการสอื่ สาร ๕.๒ ใชภ้ าษามือบอกช่ือส่งิ (1) การใชภ้ าษามือบอกชื่อบคุ คล ตา่ งๆ รอบตวั (2) การใช้ภาษามอื บอกชอ่ื อาหาร ผักและผลไม้ (3) การใชภ้ าษามอื บอกช่ือสัตว์ (4) การใช้ภาษามือบอกช่ือสิ่งของ (5) การใชภ้ าษามอื บอกชอื่ สิ่งแวดลอ้ มรอบตวั ๕.๓ ใชภ้ าษามือเพอ่ื การ (1) การใช้ภาษามอื เพ่ือการสอ่ื สารเกี่ยวกับตนเอง สนทนาและส่ือสาร (2) การใชภ้ าษามือเพอื่ การสือ่ สารเกีย่ วกับบุคคลและสถานที่ (3) การใชภ้ าษามอื เพอ่ื การสื่อสารเกยี่ วกบั ธรรมชาติรอบตัว (4) การใชภ้ าษามอื เพือ่ การสื่อสารเกีย่ วกับสิ่งต่างๆรอบตวั ๖. สามารถสะกดน้ิวมอื ๖.๑ สะกดนิ้วมอื พยญั ชนะ (1) การฝึกสะกดน้ิวมือพยัญชนะไทยชดุ ก ข ค ฆ ไทย (2) การฝกึ สะกดนิว้ มือพยญั ชนะไทยชดุ ต ถ ฐ ฒ ฑ ฏ (3) การฝึกสะกดนิ้วมือพยัญชนะไทยชดุ ส ศ ษ (4) การฝึกสะกดนิ้วมอื พยญั ชนะไทยชุด พ ป ผ ภ (5) การฝึกสะกดนว้ิ มอื พยญั ชนะไทยชุด ห ฮ (6) การฝึกสะกดนิ้วมอื พยญั ชนะไทยชดุ ด ฎ (7) การฝกึ สะกดนว้ิ มอื พยัญชนะไทยชุด ฟ ฝ (8) การฝึกสะกดนิ้วมอื พยัญชนะไทยชุด ล ฬ (9) การฝกึ สะกดนว้ิ มอื พยญั ชนะไทยชดุ ย ญ (10) การฝึกสะกดนว้ิ มอื พยญั ชนะไทยชุด น ณ ง (11) การฝึกสะกดนว้ิ มือพยัญชนะไทยชุด ท ธ (12) การฝึกสะกดนวิ้ มอื พยัญชนะไทยชดุ ฉ ช ฌ (13) การฝึกสะกดน้ิวมือพยัญชนะไทย จ ซ บ ร ม ว อ ๖.๒ สะกดน้วิ มอื สระและ (1) การสะกดนิว้ มอื สระ อิ อี อึ อือ โอ ไอ ใอ สระเปล่ียนรูป (2) การสะกดนว้ิ มอื สระ อะ อา อุ อู เอ แอ อา ไมไ้ ตค่ ู้ (3) ไมห้ นั อากาศ การนั ต์ ฤ และ เครอ่ื งหมาย ฯ ๖.๓ สะกดน้วิ มือ วรรณยุกต์ (1) การสะกดน้ิวมอื วรรณยกุ ต์

๓๙ ทกั ษะจาเปน็ เฉพาะความ ประสบการณ์ท่สี าคัญ บกพร่องทางการได้ยนิ (1) การสะกดนวิ้ มอื ชือ่ ตนเอง ๖.๔ สะกดนวิ้ มอื ชอื่ ตนเอง (1) การสะกดนิ้วมือคางา่ ยๆ เก่ยี วตนเอง ๖.๕ สะกดนิ้วมอื คาง่ายๆ (2) การสะกดนวิ้ มอื คางา่ ยๆ เกย่ี วกับบคุ คลและสถานทีแ่ วดลอ้ ม (3) การสะกดน้ิวมอื คางา่ ยๆ เกยี่ วกบั ธรรมชาตริ อบตัว ๖.๖ สะกดน้ิวมืออกั ษร (4) การสะกดนว้ิ มือคาง่ายๆ เกย่ี วกบั สง่ิ ต่างๆรอบตัว ภาษาอังกฤษ (1) การสะกดนิ้วมืออักษรภาษาอังกฤษ A B C D E F (2) การสะกดนิ้วมอื อักษรภาษาองั กฤษ G H I J K 7. สามารถใช้เทคโนโลยสี งิ่ (3) การสะกดนว้ิ มืออกั ษรภาษาอังกฤษ L M N O P อานวยความสะดวก (4) การสะกดนิ้วมอื อกั ษรภาษาองั กฤษ Q R S T U เครื่องชว่ ยในการเรยี นรู้ (5) การสะกดนว้ิ มืออกั ษรภาษาองั กฤษ V W X Y Z 7.๑ ใชอ้ ปุ กรณช์ ่วยในการ (1) การใช้อุปกรณ์ชว่ ยในการสือ่ สารทางเลอื ก ส่ือสารทางเลอื ก 7.๒ ใชอ้ ปุ กรณช์ ว่ ยในการ (1) การใช้อุปกรณช์ ่วยในการเขา้ ถึงคอมพิวเตอร์ เข้าถงึ คอมพิวเตอร์เพ่ือการ (1) การใชโ้ ปรแกรมเสรมิ ผา่ นคอมพิวเตอร์เพือ่ ชว่ ยในการเรียนรู้ เรียนรู้ 7.๓ ใช้โปรแกรมเสริมผา่ น คอมพิวเตอร์เพอ่ื ชว่ ยในการ เรยี นรู้ ๑.๕.๓ ประสบการณส์ าคัญท่ีสง่ เสรมิ การพัฒนาทักษะจาเป็นเฉพาะความบกพรอ่ งทางสตปิ ญั ญา ทกั ษะจาเปน็ เฉพาะความ ประสบการณ์สาคญั บกพรอ่ งทางสตปิ ญั ญา ๑. สามารถสอื่ สารไดเ้ หมาะสม กับสถานการณ์ (1) การใช้ภาษาท่าทางบอกความตอ้ งการ ๑.๑ สื่อสารไดเ้ หมาะสมกบั (2) การใช้ภาษาได้เหมาะสมกบั สถานการณ์ สถานการณ์ (3) การสนทนาโตต้ อบ/เล่าเรือ่ งดว้ ยประโยคสั้นๆ ได้

๔๐ ทักษะจาเป็นเฉพาะความ ประสบการณ์สาคัญ บกพร่องทางสตปิ ัญญา ๒. สามารถชว่ ยเหลอื ตนเองและ (1) การทากิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจาวันดว้ ยตนเอง ดแู ลความปลอดภยั ใน (2) การเลือกรับประทานอาหารท่เี ป็นประโยชน์ ชีวิตประจา้ วนั (3) การระมดั ระวงั เรอื่ งความปลอดภยั ตนเอง ๒.๑ ชว่ ยเหลือตนเองและดแู ล (4) การทางานบ้านงา่ ยๆ ความปลอดภยั ในชวี ิตประจาวัน (5) การทาอาหารงา่ ยๆ ๓. มปี ฏสิ มั พันธท์ างสังคมกับผู้อื่น (1) การมปี ฏสิ มั พันธ์กับผู้อน่ื อยา่ งเหมาะสม (2) การเลน่ กบั เพ่ือน ๓.๑ การมปี ฏสิ ัมพันธท์ าง (3) การเลน่ เลียนแบบผอู้ ่ืน สังคมกับผู้อน่ื อย่างเหมาะสม (4) การเลน่ ตามกติกา (5) การเลน่ บทบาทสมมตุ ิ (6) การปฏิบัตติ ามกฎกตกิ าทางสังคม ๔. รจู้ กั ใชท้ รพั ยากรในชมุ ชน (1) การใชส้ งิ่ ของสาธารณะอย่างเหมาะสม ๔.๑ การรูจ้ กั ใช้ทรัพยากรใน (2) การปฏิบัติตามข้อตกลงการใช้สิ่งของสาธารณะ ชุมชน อยา่ งเหมาะสม (3) การดูแลรักษาสง่ิ ของสาธารณะได้อย่างเหมาะสม 5. สามารถใชเ้ ทคโนโลยสี ิ่ง (1) การใชอ้ ปุ กรณช์ ่วยในการสือ่ สารทางเลือก อานวยความสะดวก เครื่องชว่ ยในการเรยี นรู้ (1) การใช้อปุ กรณ์ช่วยในการเข้าถงึ คอมพวิ เตอร์ 5.๑ ใช้อปุ กรณช์ ่วยในการ (1) การใช้โปรแกรมเสริมผ่านคอมพิวเตอร์เพื่อช่วย สอ่ื สารทางเลือก ในการเรยี นรู้ 5.๒ ใชอ้ ุปกรณ์ช่วยในการ เข้าถงึ คอมพวิ เตอรเ์ พื่อการเรียนรู้ 5.๓ ใช้โปรแกรมเสริมผ่าน คอมพิวเตอร์เพ่อื ช่วยในการเรียนรู้ ๑.๕.๔ ประสบการณ์สาคัญที่ส่งเสริมการพัฒนาทักษะจาเป็นเฉพาะความบกพร่องทาง รา่ งกายหรือการเคลอ่ื นไหวหรอื สุขภาพ ทักษะจาเปน็ เฉพาะความ ประสบการณท์ ี่สาคัญ บกพร่องทางรา่ งกาย ๑. ดแู ลสุขอนามยั ของตนเอง เพือ่ ปอ้ งกนั ภาวะแทรกซอ้ น

๔๑ ทักษะจาเปน็ เฉพาะความ ประสบการณ์ท่สี าคัญ บกพรอ่ งทางรา่ งกาย (1) การใชอ้ ุปกรณช์ ่วยปอู งกนั แผลกดทบั ๑.๑ การดูแลและรักษา (2) การดูแลและรกั ษาความสะอาดผิวหนัง ความสะอาดแผลกดทบั (1) การยืดเหยียดกลา้ มเนือ้ (2) การลงน้าหนกั ๑.๒ บรหิ ารกล้ามเนอื้ และ (3) การเพ่มิ กาลงั กลา้ มเน้ือ ขอ้ ตอ่ เพอ่ื คงสภาพ ๑.๓ จัดท่านอน ท่านั่ง และ (1) การจดั ทา่ นอนทถ่ี ูกต้อง ทากจิ กรรมในทา่ ทางทถ่ี กู ตอ้ ง (2) การจัดท่านง่ั ที่ถูกตอ้ ง (3) การจดั ท่าขณะทากจิ กรรมที่ถกู ตอ้ ง ๑.๔ ดแู ลอุปกรณ์ (1) การดูแลและการปฏิบัติตนเม่ือใส่อุปกรณ์เครื่องช่วยส่วนตัว เครอ่ื งช่วยส่วนตวั ได้ ได้ เช่น สายสวนปัสสาวะ ถุงขับถ่ายบริเวณหน้าท้อง ทอ่ อาหาร ฯลฯ ๒. สามารถใช้อุปกรณ์ เครอื่ งช่วยในการ เคล่อื นยา้ ยตนเอง (Walker รถเข็น ไม้เท้า ไม้คา้ ยัน (๑) การเคล่ือนย้ายตนเองเข้าไปจับ Walker และออกจาก ๒.๑ เคลอ่ื นย้ายตนเองจาก Walker (๒) การเคล่ือนย้ายตนเองเข้าไปนั่งเก้าอ้ีรถเข็น และออกจาก ท่ีหนึ่งเข้าสอู่ ุปกรณ์เครือ่ งชว่ ย รถเขน็ และออกจากอุปกรณเ์ ครอื่ งช่วย (๓) การเคล่ือนย้ายตนเองเข้าไปจบั ไม้เทา้ และออกจากไม้เท้า (๔) การเคลื่อนย้ายตนเองเขา้ ไปใชไ้ ม้คา้ ยันและออกจากไม้คา้ ยัน ๒.๒ ทรงตัวอยใู่ นอุปกรณ์ (1) การทรงตวั อยใู่ นอุปกรณ์เครื่องช่วยในการเคล่อื นย้ายตนเอง เคร่อื งช่วยและปอู งกนั ตนเอง (2) การทรงตัวอย่ใู นอุปกรณเ์ ครื่องช่วยในการเคลื่อนย้ายตนเอง ขณะเคลื่อนย้ายตนเองได้ เมือ่ มีแรงต้าน (3) การทรงตัวอยู่ในอุปกรณเ์ ครื่องช่วยในการเคลื่อนย้ายตนเอง โดยมีการถ่ายนา้ หนกั ไปในทิศทางตา่ งๆ (4) ปูองกันตนเองขณะล้มจากการใช้อุปกรณ์เคร่ืองช่วยในการ เคลื่อนย้ายตนเอง ๒.๓ เคล่ือนย้ายตนเองด้วย (1) การเคลื่อนย้ายตนเองโดยใชอ้ ปุ กรณเ์ คร่ืองช่วยบนทางราบ อุปกรณเ์ ครอื่ งชว่ ยได้ (2) การเคลอ่ื นย้ายตนเองโดยใชอ้ ุปกรณ์เคร่ืองช่วยบนทางลาด (3) การเคลื่อนย้ายตนเองโดยใช้อุปกรณ์เครื่องช่วยบนทางต่าง ระดับ

๔๒ ทกั ษะจาเป็นเฉพาะความ ประสบการณ์ทส่ี าคัญ บกพรอ่ งทางรา่ งกาย (1) การเก็บรักษาและดูแลอุปกรณ์เครื่องช่วยในการเคล่ือนย้าย ๒.๔ เก็บรักษาและดูแล ตนเอง อปุ กรณ์เคร่ืองชว่ ยในการ เคลอ่ื นย้ายตนเอง (1) การถอดและใสก่ ายอปุ กรณเ์ สรมิ ๓. สามารถใชแ้ ละดูแลรักษา (2) การถอดและใส่กายอปุ กรณ์เทียม (3) การถอดและใสอ่ ปุ กรณ์ดัดแปลง กายอปุ กรณ์เสรมิ (1)การใช้กายอุปกรณ์เสริมในการทากิจกรรม หรือเมื่อมีแรง กายอุปกรณ์เทียม อปุ กรณ์ดดั แปลง ตา้ นต่างๆ ๓..๑ ถอดและใส่กาย (2) การ ใช้ ก าย อุ ปก ร ณ์ เที ย มใน การ ทากิ จกร ร ม หรื อเม่ื อมี แร ง อปุ กรณ์เสริม กายอปุ กรณ์เทียม หรอื อปุ กรณ์ดดั แปลง ตา้ นตา่ งๆ ๓.๒ ใชก้ ายอุปกรณ์เสรมิ (3) ก าร ใช้ อุ ปก ร ณ์ ดั ดแ ปลง ใ น ก าร ท ากิ จก ร ร ม ห รื อ เม่ื อ มี แร ง กายอุปกรณ์เทียม หรอื อุปกรณ์ ดัดแปลงในการทากจิ กรรม ต้านต่างๆ (1) การเกบ็ รกั ษาและดแู ลกายอปุ กรณเ์ สริม ๓.๓ เกบ็ รกั ษาและดแู ล (2) การเก็บรักษาและดูแลกายอปุ กรณ์เทียม กายอปุ กรณ์เสรมิ กายอุปกรณ์ (3) การเก็บรกั ษาและดแู ลอปุ กรณ์ดัดแปลง อปุ กรณ์เทียม หรืออุปกรณ์ ดัดแปลง (1) การใชอ้ ุปกรณ์ช่วยในการสอื่ สารทางเลอื ก ๔. สามารถใชเ้ ทคโนโลยสี ิ่ง (1) การใช้อุปกรณช์ ่วยในการเขา้ ถงึ คอมพิวเตอร์ อานวยความสะดวก เครอ่ื งช่วยในการเรยี นรู้ (1) การใช้โปรแกรมเสริมผ่านคอมพวิ เตอร์เพอ่ื ช่วยในการ ๔.๑ ใชอ้ ปุ กรณช์ ว่ ยในการ เรยี นรู้ ส่อื สารทางเลอื ก ๔.๒ ใชอ้ ุปกรณช์ ่วยในการ เข้าถงึ คอมพวิ เตอร์เพ่ือการ เรียนรู้ ๔.๓ ใชโ้ ปรแกรมเสริมผ่าน คอมพวิ เตอรเ์ พือ่ ช่วยในการ เรยี นรู้

๔๓ ทกั ษะจาเป็นเฉพาะความ ประสบการณท์ ส่ี าคัญ บกพรอ่ งทางรา่ งกาย ๕. ควบคมุ อวยั วะท่ีใชใ้ น การพดู การเค้ียว และการ กลืน ๕.๑ ควบคุมกล้ามเนอ้ื รอบ (1) การเคล่ือนไหวรมิ ฝปี าก ปาก (2) การควบคุมกลา้ มเนอ้ื รอบปาก ๕.๒ ควบคุมการใช้ลนิ้ (1) การเคลื่อนไหวลิน้ ตามทกี่ าหนด ๕.๓ เปุาและดดู (1) การเปาุ ลมออกจากปาก (2) การดูดของเหลว ๕.4 การกลืนและเค้ียวได้ (1) การขยับขากรรไกร (2) การกลืนน้าลาย (3) การกลืนอาหารข้น (4) การกลืนอาหารเหลว (5) การกดั อาหารประเภทตา่ งๆ (6) การเค้ยี วอาหารประเภทตา่ งๆ 5.4 การควบคุมนา้ ลาย (1) การปดิ รมิ ฝีปาก (2) การใชร้ มิ ฝีปากคาบ (3) การบริหารริมฝีปาก ๑.๕.๕ ประสบการณ์สาคญั ท่สี ง่ เสริมการพัฒนาทกั ษะจาเป็นเฉพาะความบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้ ทักษะจาเป็นเฉพาะความ ประสบการณ์ทส่ี าคัญ บกพรอ่ งทางการเรยี นรู้ ๑. มคี วามสามารถในการรบั รู้ การได้ยนิ ๑.๑ จาเสยี งทไี่ ดย้ นิ ใน (1) การพูดตามเสยี งทไี่ ด้ยนิ ชีวติ ประจาวัน (2) การพูดย้อนกลบั จากเสียงท่ีไดย้ นิ (3) การบอกเสียงทเ่ี คยได้ยิน ๑.๒ จาแนกเสียงที่แตกตา่ ง (1) การแยกเสียงบคุ คล เสียงสตั ว์ เสยี งในชวี ติ ประจาวัน (2) การแยกเสยี งธรรมชาติ (3) การแยกเสยี งเหมอื น- ตา่ ง ดัง – เบา ๑.๓ แยกเสียงท่กี าหนดให้ (1) การบอกเสยี งท่กี าหนดออกจากเสียงอื่นๆ ออกจากเสียงอน่ื ๆได้ ๒. มีความสามารถในการรับรู้ การเห็น ๒.๑. การจาภาพที่เห็นใน (1) การบอกภาพจากการจดจา ชีวิตประจาวัน (2) การบอกภาพสัญลกั ษณจ์ ากการจดจา

๔๔ ทักษะจาเปน็ เฉพาะความ ประสบการณท์ ีส่ าคญั บกพรอ่ งทางการเรียนรู้ ๒.๒. การแยกวัตถุ ภาพ ตัว (1) การแยกวตั ถทุ ี่กาหนดให้ออกจากสิ่งต่างๆท่ตี ่างกัน พยญั ชนะทก่ี าหนดใหอ้ ยใู่ นพ้นื (2) การแยกภาพที่กาหนดให้ออกจากฉากหลงั ที่ต่างกนั ฉากที่ต่างกัน (3) การแยกตัวอักษรท่ีกาหนดให้ออกจากฉากหลังท่ีตา่ งกนั (4) การแยกสัญลกั ษณท์ ่กี าหนดใหอ้ อกจากฉากหลังท่ีต่างกนั ๒.๓ ตากบั มอื เคล่ือนไหว (1) การสร้างสรรค์สง่ิ สวยงาม สมั พนั ธก์ นั (2) การเขยี นภาพและการเลน่ กับสี (3) การป้ัน (4) การประดิษฐ์ส่งิ ตา่ งๆด้วยเศษวสั ดุ (5)การหยิบจับการใช้กรรไกร การฉีก การตัด การปะ และการรอ้ ยวัสดุ ๒.๔ การบอกสว่ นที่หายไป (1) การบอกสว่ นท่หี ายไปของรปู ภาพ ของรปู ภาพท่กี าหนด (2) เติมองคป์ ระกอบของรูปภาพทีห่ ายไปใหส้ มบรู ณ์ (3) เตมิ สว่ นของรูปเรขาคณติ ที่หายไป ๒.๕ บอกความสมั พันธ์ของ (1) การจดั การเรียนรคู้ วามสัมพันธข์ องตาแหน่ง ลาดบั รูปร่าง คุณลกั ษณะตาแหน่ง ลาดับ ของสิง่ ทอี่ ยูร่ อบตัว ได้อย่างเหมาะสม รปู รา่ งของส่งิ ท่อี ยู่รอบตัว (2) การบอกความสัมพนั ธ์ของสง่ิ ต่างๆรอบตัว (3) การบอกตาแหน่งของส่งิ ต่างๆตามท่กี าหนด (4) การวางวัตถุหรอื สิง่ ของตามตาแหน่งที่กาหนด (5) การเรียงลาดบั รปู ร่าง ตวั เลข พยัญชนะ คาศัพท์ตามแบบ (6) การประกอบรปู รา่ งเรขาคณิตเป็นสงิ่ ของ เคร่อื งใช้ สัตว์ คน (7) การต่อเตมิ และการสร้างแบบรูปตามจนิ ตนาการ (8) การคดั ลอกรูปภาพ (9) สรา้ งภาพวาดด้วยตนเอง ๓. มคี วามสามารถในการ (1) การบอกและเรียงลาดับกิจกรรม จดั ลาดบั ความคิด (2) การบอกและเรยี งลาดบั เหตกุ ารณต์ ามชว่ งเวลา (3) การบอกข้ันตอนในการเลน่ หรือการทากจิ กรรม ๓.๑. เรยี งลาดับเหตุการณ์ ขนั้ ตอนในการเล่นหรอื การทา (4) การเล่านิทาน กจิ กรรมได้ (5) การเลา่ เร่อื งเกี่ยวกับชีวิตประจาวนั ๔. มคี วามสามารถในการจัด (1) การรบั ผิดชอบงานท่ไี ด้รบั มอบหมาย ระเบียบตนเอง (2) การร่วมมอื ในการทางานร่วมกับผอู้ ื่น ๔.๑ จัดการตนเองได้

๔๕ ทกั ษะจาเปน็ เฉพาะความ ประสบการณ์ทสี่ าคญั บกพร่องทางการเรียนรู้ (1) การจัดลาดับกจิ กรรมตนเองในชีวิตประจาวัน ๔.๒ จดั ลาดบั กิจกรรม (2) การปฏบิ ัติกจิ รรมประจาวนั ตามตารางท่ีกาหนด ตนเองได้ ๕. มีความสามารถในการบอก ตาแหน่ง/ทิศทาง ๕.๑ บอกทิศทางหรือ (1) การวางสิง่ ของท่ีอยู่ทางซา้ ย-ขวา บน-ล่าง หน้า-หลัง ตาแหน่งของสิง่ ต่างๆ (2) การบอกหรอื ชี้ตาแหน่งสง่ิ ของหรอื วตั ถุ (3) การจัดตาแหน่งของภาพ สัญลักษณ์ สิ่งของหรือวัตถุ ตามทก่ี าหนด (4) การจัดตาแหน่งหรือทิศทางส่ิงของหรือวัตถุให้อยู่ทิศทาง เดยี วกนั (5) การจัดตาแหนง่ หรอื ทิศทางรูปภาพให้อยู่ทิศทางเดยี วกัน (6) การบอกตาแหน่ง ทิศทางของสถานทีท่ ค่ี ุ้นเคย 6. สามารถใช้เทคโนโลยี (1) การใช้อุปกรณช์ ว่ ยในการสอื่ สารทางเลอื ก สง่ิ อานวยความสะดวก (1) การใช้อุปกรณช์ ว่ ยในการเข้าถงึ คอมพิวเตอร์ เครอ่ื งชว่ ยในการเรยี นรู้ 6.๑ ใช้อุปกรณ์ชว่ ยในการ (1) การใช้โปรแกรมเสริมผ่านคอมพิวเตอร์เพ่ือช่วย ในการเรยี นรู้ สือ่ สารทางเลือก 6.๒ ใชอ้ ปุ กรณ์ชว่ ยในการ เข้าถึงคอมพวิ เตอรเ์ พ่อื การ เรียนรู้ 6.๓ ใชโ้ ปรแกรมเสรมิ ผา่ น คอมพิวเตอรเ์ พ่ือช่วยในการ เรียนรู้ ๑.๕.๖ ประสบการณ์สาคญั ทีส่ ่งเสรมิ การพัฒนาทกั ษะจาเป็นเฉพาะความบกพร่องทางการ พดู และภาษา ทกั ษะจาเป็นเฉพาะความ ประสบการณ์สาคญั บกพรอ่ งทางการพดู และภาษา ๑.สามารถควบคุมอวยั วะใน การออกเสียง (1) การควบคมุ อวัยวะในปาก ๑.๑ ควบคมุ อวัยวะในการ (2)การบริหารความแข็งแรงของกล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้องกับ พดู การพดู (3) การควบคุมลมหายใจ (4) การกักและพน่ ลม

๔๖ ทักษะจาเปน็ เฉพาะความ ประสบการณส์ าคัญ บกพร่องทางการพดู และภาษา ๑.๒ เคลอ่ื นไหวอวยั วะใน (1) การเคล่ือนไหวล้ิน การพดู (2) การอา้ หุบ หอ่ ปาก (3) การยิงฟนั และพน่ ลมผา่ นไรฟนั ๒. สามารถออกเสียงตาม หน่วยเสียงไดช้ ดั เจน ๒.๑ ออกเสยี งใหช้ ัดเจน (1) การออกเสยี งพยัญชนะตามหน่วยเสยี ง (2) การออกเสียงตามฐานทเี่ กดิ เสียงจากงา่ ยไปหายาก (3) การออกเสยี งคาควบกลา้ (4) การออกเสยี งคาท่ีขาดหาย ๓. เปลง่ เสยี งใหเ้ หมาะสมกับ ธรรมชาติของแตล่ ะคน ๓.๑ เปลง่ เสียงในระดบั (1) การเปลง่ เสียงสูงต่าประกอบจังหวะ เสยี งท่ที าให้ผูอ้ ืน่ ฟังได้ (2) การเปล่งเสยี งพูดโดยใชค้ างา่ ยๆในระยะใกล้-ไกล (3) การเปล่งเสียงดังหรือเบา ๔. สามารถควบคุมจังหวะ การพูด ๔.๑ ควบคุมจังหวะการพูด (1) การพดู ตามจังหวะท่ีกาหนด ไดเ้ ปน็ จังหวะปกติ (2) การออกเสียงตามจงั หวะท่ีเคาะ ช้า-เรว็ (๗๐-๑๐๐คาต่อนาที) (3) การกาหนดการหายใจเข้า-ออก/ทอ้ งโปุง-แฟบ (4) การเล่าเรือ่ งกับกับตนเอง (5) การเล่านิทานส้ันๆ ๔.๒ พูดได้คลอ่ งหรอื ลด (1) การผ่อนคลายกล้ามเนือ้ ขากรรไกรและอวยั วะในการพดู ภาวะการตดิ อา่ ง (2) การลากเสยี งสระและพยญั ชนะให้ยาวจนสุดลมหายใจ (3) การเคลือ่ นไหวอวัยวะของการพดู หนึ่งชว่ งลมหายใจ (4) การหายใจและการผอ่ นลมหายใจ ๔.๓ พูดเวน้ วรรคตอนได้ (1) การพูดหรอื เลา่ เร่อื งราวเกี่ยวกบั ตนเอง ถูกต้อง (2) การอ่านข้อความโดยทาเครอื่ งหมายวรรคตอน 5. สามารถใช้เทคโนโลยี สิ่งอานวยความสะดวก เคร่ืองชว่ ยในการเรียนรู้ 5.๑ ใช้อุปกรณช์ ่วยในการ (1) การใชอ้ ุปกรณช์ ว่ ยในการสื่อสารทางเลือก สือ่ สารทางเลอื ก 5.๒ ใช้อุปกรณ์ชว่ ยในการ (1) การใช้อปุ กรณ์ชว่ ยในการเขา้ ถึงคอมพิวเตอร์ เข้าถึงคอมพิวเตอรเ์ พ่อื การ เรียนรู้

๔๗ ทกั ษะจาเป็นเฉพาะความ ประสบการณ์สาคัญ บกพรอ่ งทางการพูดและภาษา 5.๓ ใช้โปรแกรมเสริมผา่ น (1) การใช้โปรแกรมเสริมผ่านคอมพิวเตอร์เพ่ือช่วย คอมพิวเตอรเ์ พื่อชว่ ยในการ ในการเรียนรู้ เรยี นรู้ ๑.๕.๗ ประสบการณส์ าคัญท่ีส่งเสริมการพัฒนาทกั ษะจาเป็นเฉพาะความบกพร่อง ทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ ทกั ษะจาเป็นเฉพาะความ บกพรอ่ งทางพฤตกิ รรมหรือ ประสบการณส์ าคัญ อารมณ์ ๑. สามารถจดั การกบั อารมณ์ ของตนเอง ๑.๑ ควบคุมความรู้สกึ หรือ (1) การพดู สะทอ้ นความรสู้ ึกของตนเองและผูอ้ ื่น อารมณ์ของตนเองได้ (2) การเล่นบทบาทสมมตุ ิ (3) การได้ทาในส่งิ ทนี่ ักเรยี นชอบ (4) การทางานศลิ ปะ (5) การเลน่ เปน็ กลุ่ม ๑.๒ แสดงออกทางอารมณ์ (1) การเล่นบทบาทสมมตุ ิ อยา่ งเหมาะสมตามสถานการณ์ (2) การทากจิ กรรมดนตรี (3) การทากจิ กรรมศลิ ปะ (4) การฟงั นิทานและเล่าเร่อื ง (5) การน่งั สมาธิ ทากิจกรรมฝกึ สมาธิ (6) การออกกาลังกาย (7) การทากิจกรรมนนั ทนาการ (8) การทากจิ กรรมในชุมชน (9) การเดนิ เลน่ (10)การทากิจกรรมทางสังคมร่วมกับเพื่อน ๒. สามารถควบคมุ พฤตกิ รรม ของตนเองไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ๒.๑ ควบคุมตนเองในการ (1) การมอบหมายงานให้ทารว่ มกบั เพอ่ื น ทากจิ กรรมร่วมกบั เพอื่ นได้ (2) การเล่นกับเพอื่ นแบบมกี ติกา อยา่ งเหมาะสม (3) การปฏบิ ตั ิตนตามกฎกติกาของชน้ั เรียน (4) การฝกึ ระเบียบวินยั (5) การรบั ผิดชอบงานที่ไดร้ บั มอบหมาย (6) การเล่นบทบาทสมมุติ (7) การปรบั ตัวให้เขา้ กบั ผูอ้ ่นื และสิง่ แวดลอ้ ม

๔๘ ทกั ษะจาเป็นเฉพาะความ ประสบการณส์ าคญั บกพร่องทางพฤติกรรมหรอื (1) การรบั ผิดชอบงานทีไ่ ด้รับมอบหมาย อารมณ์ (2) การปฏิบัติตามขอ้ ตกลงของหอ้ งเรียนและโรงเรียน (3) การปฏบิ ตั ติ ามกตกิ าการเล่น ๓. สามารถปรับตวั ในการอยู่ (4) การปฏบิ ตั ิตนในสถานทต่ี ่าง ๆ อยา่ งเหมาะสม รว่ มกบั สงั คม (5) การปฏบิ ตั ิตนตามมารยาททางสงั คม ๓.๑ การปฏิบัติตามกฎกตกิ า และมารยาททางสงั คมได้อย่าง เหมาะสม ๑.๕.๘ ประสบการณ์สาคญั ที่สง่ เสริมการพฒั นาทักษะจาเปน็ เฉพาะบุคคลออทสิ ติก ทกั ษะจาเป็นเฉพาะสาหรบั ประสบการณ์สาคัญ บคุ คลออทสิ ติก ๑. ตอบสนองตอ่ สิง่ เรา้ จาก ประสาทสัมผัสไดเ้ หมาะสม ๑.๑ ตอบสนองตอ่ การทรง (๑) การเล่นเคร่ืองเล่นท่ีทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงตาแหน่ง ตัวได้เหมาะสม ของศีรษะ การปนี ปุาย หอ้ ย โหน (๒) การเล่นเครื่องเลน่ ท่ีมีการเคลื่อนไหวไปในระนาบที่แตกตา่ งกัน (๓) การนัง่ เคร่อื งเล่นหรอื อปุ กรณท์ ม่ี กี ารเคลืน่ ไหว (๔) การยนื ทรงตวั บนอปุ กรณห์ รอื ในรปู แบบตา่ งๆ (๕) การเดนิ ทรงตัว (๖) การหมุนศีรษะและการเคลื่อนไหวไปในระนาบท่แี ตกต่างกนั (๗) การเคล่ือนไหวแบบราบเรียบและทิศทางตา่ งๆ ๑.๒ ตอบสนองตอ่ การ (๑) การกระโดดในรปู แบบตา่ งๆ เคล่ือนไหวกล้ามเนือ้ เอน็ และ (๒) การเล่นเครื่องเลน่ ท่มี กี ารโหนหรอื ปนี ปาุ ย ขอ้ ตอ่ ไดเ้ หมาะสม (๓) การห้วิ ลาก ผลกั ดึง ยก ส่งิ ของหรอื วัตถุที่มนี า้ หนกั (๔) การออกกาลงั กายในท่าตา่ งๆ (๕) การคลานบนสภาพแวดล้อมทีแ่ ตกต่างกนั (๖) การทาท่าประกอบเพลงทม่ี จี ังหวะชา้ หรือเรว็ (๗) การเค้ยี วอาหารหรือวตั ถุที่มีความเหนยี ว (๘) การลงน้าหนกั ท่ีข้อต่อ

๔๙ ทกั ษะจาเปน็ เฉพาะสาหรบั ประสบการณ์สาคัญ บคุ คลออทิสตกิ (๑) การเพม่ิ แรงกดลงบรเิ วณผวิ หนงั รา่ งกาย ๑.๓ ตอบสนองต่อกาย (๒) การกอดรัดหรือใส่อุปกรณ์ท่ีมีการลงน้าหนักบนร่างกาย สมั ผสั ได้เหมาะสม ของเดก็ ๑.๔ ตอบสนองต่อการดม (๓) การทากิจกรรมศิลปะท่ีใช้วัสดุท่ีมีพื้นผิวหรือลักษณะที่ กลิ่นได้เหมาะสม แตกต่างกัน (๔) การเลน่ อสิ ระบนพืน้ ผิวหรือลกั ษณะที่แตกต่างกนั (๕) การนวดสมั ผสั แบบต่างๆ (๖) การสมั ผสั สง่ิ ต่างๆทีม่ อี ุณหภูมิและลกั ษณะที่แตกต่างกนั (๑) การดมกล่ินส่ิงตา่ งๆ ในชวี ิตประจาวนั (๒) การไปทศั นศกึ ษา นอกสถานท่ีท่มี ีกล่นิ ตา่ งๆ (๓) การปรบั ตัวต่อสภาพแวดล้อมทม่ี กี ล่นิ ต่างๆ ๑.๕ ตอบสนองตอ่ เสยี งที่ (๑) การฟงั เสยี งท่ีมรี ะดบั ความดงั ทแี่ ตกต่างกัน ได้ยินไดเ้ หมาะสม (๒) การเลน่ เครื่องดนตรี (๓) การเคลือ่ นไหวตามเสยี งเพลง (๔) การร้องเพลง (๕) การเลน่ ของเล่นท่มี เี สียง (๖) การทศั นศกึ ษานอกสถานที่ทม่ี ีเสียงตา่ งๆ ๑.๖ ตอบสนองต่อการเห็น (๑) การลดแสงสวา่ งปอู งกันการหนั เหความสนใจ ได้เหมาะสม (๒) การทากจิ กรรมทอ่ี ยู่ในสภาพแวดล้อมท่ีมีแสงสว่าง หรือแสงสี แตกต่างกัน (๓) การเล่นของเล่นทต่ี อ้ งใชส้ ายตา (๔) การเลน่ ของเลน่ ที่มีแสงและสีสนั สดใส (๕) การทากิจกรรมท่ีใช้วัสดุท่ีมีแสงสว่าง หรือแสงสี กระตุ้น ความสนใจ ๑.๗ ตอบสนองต่อการลม้ิ (๑) การชิมอาหารท่ีมีรสชาตติ า่ งๆ รสได้เหมาะสม (๒) การชมิ อาหารท่มี อี ุณหภมู ติ า่ งๆ (๓) การชมิ อาหารท่มี ีลกั ษณะต่างๆ (๔) การประกอบอาหารง่ายๆ ๒. เขา้ ใจภาษาและแสดงออก ทางภาษาได้อย่างเหมาะสม ๒.1 ปฏิบตั ิตามคาสง่ั ได้ (๑) การปฏบิ ตั ติ ามคาสง่ั ง่ายๆ (๒) การปฏบิ ัติตนตามตารางกจิ กรรม