Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือ 75 ปี คุรุสภา

หนังสือ 75 ปี คุรุสภา

Published by Napash.bie, 2020-02-27 00:23:52

Description: 2 มีนาคม 2563 คุรุสภามีอายุครบ 75 ปี
หนังสือครบรอบ 75 ปี จะบอกเล่าเรื่องราว ผลการมุ่งมั่น พัฒนา มาตรฐานวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ และหน่วยสนับสนุนวิชาชีพทุกหน่วยในสำนักงานเลขาธิการคุรุสภา

Search

Read the Text Version

สำนักงานเลขาธกิ ารคุรสุ ภา 2 มีนาคม 2563



สำนักงานเลขาธิการครุ สุ ภา 2 มีนาคม 2563 พมิ พ์ครงั้ ที่ 1 มนี าคม 2563 จ�ำนวนพมิ พ์ 700 เล่ม จัดพิมพ์และเผยแพร่ ส�ำนักงานเลขาธกิ ารครุ ุสภา พิมพ์ท ่ี บริษทั ออนป้า จ�ำกดั ISBN 978-616-7746-60-9 0175 ปี ส�ำนกั งานเลขาธกิ ารครุ ุสภา

สารรฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร ประธานกรรมการคุรุสภา เนอื่ งในโอกาส ครบรอบ 75 ปี ส�ำนกั งานเลขาธกิ ารคุรสุ ภา วันที่ 2 มีนาคม 2563 เนื่องในโอกาส 75 ปี ส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา ผมขอขอบคณุ และชนื่ ชม ผบู้ รหิ ารและพนกั งานเจา้ หนา้ ทส่ี ำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา ผมู้ สี ว่ นรว่ ม จดั การศกึ ษาทกุ คน ทกุ ภาคสว่ นทงั้ ภาครฐั ภาคเอกชน ภาคประชาชน และผปู้ ระกอบวชิ าชพี ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาทุกท่าน ครูมีความส�ำคัญในการขับเคล่ือนการศึกษาไทย ตลอดระยะเวลาท่ีผ่านมา ได้เห็น ความมุ่งมั่นตั้งใจของครู จิตวิญญาณความเป็นครู ในการสร้างเด็กไทยให้เป็นเยาวชนคนเก่ง คนดี และพร้อมปฏิบตั ิตนเป็นตัวอยา่ งท่ดี ีให้กับศิษย์ ปจั จบุ นั เทคโนโลยเี ขา้ มามบี ทบาทสำ� คญั และทำ� ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ส่งผลให้ครจู ะต้องปรับตัวเพอื่ ใหเ้ ท่าทันกบั ความเปล่ยี นแปลงดงั กลา่ ว ครูจะตอ้ งปรบั เปลยี่ น บทบาทของตนเองตอ้ งพฒั นาตนเองอยา่ งไมห่ ยดุ นง่ิ ควบคไู่ ปกบั การพฒั นาและเตรยี มความพรอ้ ม ผู้เรยี นใหเ้ ป็นก�ำลังคนคุณภาพของประเทศ สามารถแขง่ ขนั ในระดบั โลกได้ รฐั บาลมนี โยบายสง่ เสรมิ การศกึ ษาในทกุ ดา้ น และใหค้ วามสำ� คญั กบั “คร”ู ไดเ้ รยี นรู้ สิ่งใหม่ ๆ เพื่อสร้างเด็กไทยให้รู้เท่าทันการเปล่ียนแปลงของโลก และมีบทบาทส�ำคัญ ในการพัฒนาเด็กและเยาวชนเติบโตเป็นพลเมืองท่ีดี มีคุณภาพ และมีศักยภาพเหมาะสม กับการด�ำเนินชวี ิตในโลกศตวรรษท่ี 21 การสรา้ งกำ� ลงั คนเปน็ หนา้ ทหี่ ลกั ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร การสรา้ งครใู หม้ คี ณุ ภาพ ยกระดบั มาตรฐานและจติ วญิ ญาณความเปน็ ครเู ปน็ หนา้ ทห่ี ลกั ของครุ สุ ภาในฐานะสภาครแู ละ บุคลากรทางการศึกษา และการขับเคล่ือนการศึกษาของประเทศ ต้องได้รับความร่วมมือ จากครทู กุ คน ตอ้ งยอมรบั วา่ เทคโนโลยไี มส่ ามารถทดแทนครไู ด้ โดยเฉพาะการปลกู ฝงั คณุ ธรรม จริยธรรมให้กบั เด็ก ครจู งึ มคี วามสำ� คัญสำ� หรบั เดก็ เสมอ ในโอกาสอันเป็นมงคลนี้ ผมขออวยพรให้ทุกท่าน จงมีแต่ความสุข ความเจริญ เพอ่ื เปน็ พลงั สำ� คญั ในการพฒั นางานครุ สุ ภาและรว่ มพฒั นาการศกึ ษาของชาตใิ หเ้ จรญิ กา้ วหนา้ อย่างย่ังยืน สอดคล้องกับนโยบายไทยแลนด์ 4.0 และการเตรียมอนาคตของชาติ เพื่อเข้าสู่ ศตวรรษท่ี 21 (นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ) รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธิการ ประธานกรรมการคุรสุ ภา 02 75 ปี สำ� นักงานเลขาธิการครุ ุสภา

สารเลขาธกิ ารคุรสุ ภา เนื่องในโอกาส ครบรอบ 75 ปี ส�ำนักงานเลขาธกิ ารครุ ุสภา เนอื่ งในโอกาสครบรอบ 75 ปี สำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา วนั ท่ี 2 มนี าคม 2563 ส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภาด�ำเนินงานตามภารกิจของคุรุสภาในฐานะสภาครูและบุคลากร ทางการศกึ ษาตามพระราชบญั ญตั สิ ภาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2546 ในการพฒั นา มาตรฐานวชิ าชพี กำ� กบั ดแู ลการประกอบวชิ าชพี พฒั นาวชิ าชพี และสง่ เสรมิ ครแู ละบคุ ลากร ทางการศกึ ษาใหม้ คี ณุ ภาพตามมาตรฐานวชิ าชพี ประสาน สง่ เสรมิ การศกึ ษาและวจิ ยั เกยี่ วกบั การประกอบวชิ าชพี และพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การ โดยใชเ้ ทคโนโลยที เี่ หมาะสม มเี ปา้ หมาย ใหผ้ ปู้ ระกอบวชิ าชพี ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษามจี ติ วญิ าณความเปน็ ครู มคี วามรคู้ วามสามารถ ตามมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐาน การศกึ ษาของชาติ และสง่ เสรมิ ทกั ษะทจี่ ำ� เปน็ ของโลกในศตวรรษท่ี 21 ตลอดระยะเวลาปี 2562 ท่ีผ่านมา ส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภาร่วมกับเครือข่าย การพัฒนาครู ได้พัฒนาและยกระดับบทบาทภารกิจอย่างต่อเน่ืองตามหลักการท่ีว่า “สรา้ งมาตรฐานและจติ วญิ าณความเปน็ ครู สคู่ ณุ ภาพการศกึ ษาไทย” เพอื่ เปน็ หลกั ประกนั แก่สังคมว่าผู้ประกอบวิชาชีพครูเป็นผู้มีความรู้ความสามารถและจิตวิญญาณความเป็นครู อยา่ งแทจ้ รงิ และมศี กั ยภาพเหมาะสมในโลกศตวรรษท่ี 21 รวมทงั้ ยกระดบั การบรกิ ารดา้ นวชิ าชพี เพอื่ อำ� นวยความสะดวก ลดระยะเวลาและรวดเรว็ มากยง่ิ ขนึ้ สอดคลอ้ งกบั นโยบายไทยแลนด์ 4.0 ของรัฐบาล ผลการด�ำเนินงานท่ีส�ำคัญหลายประการ อาทิ การก�ำหนดมาตรฐานวิชาชีพครู ใหเ้ ปน็ ท่ียอมรบั ของผ้ปู ระกอบวชิ าชพี และสงั คม การสรา้ งสือ่ สง่ เสรมิ จิตวิญาณความเป็นครู การพฒั นาหอสมดุ ครุ สุ ภาใหเ้ ปน็ Smart Library การพฒั นากระบวนการยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รติ วิชาชีพให้เป็นท่ียอมรับของผู้ประกอบวิชาชีพและสังคม การสร้างเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ เกย่ี วกบั การเผยแพรง่ านวจิ ยั นวตั กรรม องคค์ วามรวู้ ชิ าชพี และสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การรวมตวั กนั เปน็ เครอื ขา่ ยพฒั นาวชิ าชพี แบบชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ (PLC) และชมุ ชนแหง่ การเรยี นรดู้ า้ นจรรยาบรรณ วิชาชีพผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (e-PLC) รวมทั้งการน�ำระบบเทคโนโลยีดิจิทัล มาใชใ้ นการปฏบิ ตั ิงานและการให้บรกิ ารผ่านระบบ KSP e-Service ในโอกาสส�ำคัญน้ี ดิฉันขอขอบคุณทุกท่านท่ีมุ่งมั่นเสียสละร่วมพัฒนางานคุรุสภา และร่วมพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เจริญก้าวหน้าตามล�ำดับ ขอจงประสบแต่ ความสุขความเจริญ เพ่อื รว่ มกนั พัฒนาการศกึ ษาของชาตใิ หเ้ จรญิ กา้ วหน้าอยา่ งยัง่ ยืนสืบไป (ดร.วฒั นาพร ระงบั ทุกข์) เลขาธกิ ารคุรุสภา 0375 ปี ส�ำนกั งานเลขาธิการครุ ุสภา

คา นิยม วส� ยั ทศั น (V ision) (Values) คุรุสภาเปนองคกร เรียนรใู นงาน วช� าช�พท่มี รี ะบบและกลไก บรกิ ารดวยใจ ในการสงเสร�มสนบั สนนุ เช�อ่ มโยง กา วไปอยาง การผลิตการคัดกรองและพฒั นา ผูประกอบว�ชาช�พครูและบคุ ลากร มีสว นรวม ทางการศึกษาทม่ี คี ณุ ภาพ ไดมาตรฐานสากล 1. พัฒนามาตรฐานวิชาชีพ และกำกบั ดูแล การประกอบวิชาชีพ พันธกิจ 2. พฒั นาวชิ าชพี และสง เสริมครูและบุคลากร ทางการศกึ ษาใหม คี ณุ ภาพ ตามมาตรฐานวชิ าชพี (Mission) 3. ประสาน สงเสรมิ การศกึ ษาและ วจิ ัยเกย่ี วกับการประกอบวชิ าชพี 4. พฒั นาระบบบริหารจดั การ โดยใชเทคโนโลยีทีเ่ หมาะสม 04 75 ปี ส�ำนักงานเลขาธกิ ารคุรุสภา

การขับเคล่อื นยทุ ธศาสตร 1ยทุ ธศาสตรที่ เปา หมายที่ 1 ¼àŒÙ ÃÕ¹ä´àŒ ÃÕ¹áŒÙ ºÑ ¼ŒÙ»ÃÐ¡ÍºÇªÔ Òª¾Õ ¤ÃÙ การพฒั นามาตรฐานวช� าชพ� áÅк¤Ø Åҡ÷ҧ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ·èÕÁÕ¨ÔµÇÞÔ ÞÒ³ ที่บง ช้ร� ะดับคุณภาพของสมรรถนะ และจ�ตวญ� ญาณความเปน ครแู ละ ¢Í§¤ÇÒÁ໹š ¤ÃÙ Á¤Õ ÇÒÁäŒÙ ÇÒÁÊÒÁÒöÍ‹ҧ᷌¨Ã§Ô บคุ ลากรทางการศึกษา เปา หมายที่ 2 ¼àÙŒ ¢ŒÒÊ‹ÇÙ ÔªÒª¾Õ ¤ÃáÙ ÅкؤÅҡ÷ҧ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ à»š¹¼ÁÙŒ ¨Õ µÔ ÇÔÞÞÒ³¢Í§¤ÇÒÁ໹š ¤ÃÙ Á¤Õ ÇÒÁÌ٤ÇÒÁÊÒÁÒöÍÂÒ‹ §á·Œ¨ÃÔ§ 2ยุทธศาสตรท่ี เปาหมายที่ 1 ¤ÃÙáÅк¤Ø Åҡ÷ҧ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒä´ÃŒ Ѻ¡ÒþѲ¹Ò Í‹ҧ໚¹Ãкº พัฒนาระบบและกลไก ในการ สงเสร�ม สนับสนนุ เชอ�่ มโยง เปาหมายท่ี 2 ÁÕÃкºáÅСÅä¡ã¹¡ÒÃàªè×ÍÁ⧠¡ÒÃ¼ÅµÔ ¡Òä´Ñ ¡Ãͧ การผลติ การคดั กรองและ áÅСÒþѲ¹Ò¤ÃáÙ Åк¤Ø Åҡ÷ҧ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ การพัฒนาครู 3ยุทธศาสตรที่ เปา หมายที่ 1 ÁÍÕ §¤¤ ÇÒÁÃÙŒáÅйÇѵ¡ÃÃÁà¾Íè× ¡Òà »ÃСͺÇÔªÒªÕ¾¤ÃÙáÅк¤Ø Åҡ÷ҧ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ ประสาน สง เสรม� ศกึ ษา และ ·ÁèÕ ¤Õ سÀÒ¾ã¹ÃдºÑ ÊÒ¡Å วจ� ยั เกยี่ วกับการประกอบ วช� าช�พและพัฒนาว�ชาช�พ เปา หมายที่ 2 ¼Ù»Œ ÃСͺÇÔªÒªÕ¾¤ÃáÙ Åк¤Ø Åҡ÷ҧ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ ÁÕáËÅ‹§àÃÂÕ ¹ÃŒáÙ ÅйÇѵ¡ÃÃÁà¾×Íè ¡ÒûÃÐ¡ÍºÇªÔ ÒªÕ¾ 4ยุทธศาสตรท ่ี ·èÕÁÕ¤³Ø ÀÒ¾ การเรง พฒั นาระบบบรห� ารจดั การ เปา หมายท่ี 1 ÃкººÃËÔ Òè´Ñ ¡ÒÃÁ»Õ ÃÐÊ·Ô ¸ÀÔ Ò¾ 㪷Œ Ã¾Ñ ÂÒ¡ÃÍÂÒ‹ §¤ÁŒØ ¤Ò‹ ทมี่ ีประสทิ ธภ� าพโดยใชเทคโนโลยี µÃǨÊͺ䴌 Áا‹ ์¹¡ÒÃÁÊÕ ‹Ç¹Ã‹ÇÁ¨Ò¡·¡Ø ÀÒ¤ÊÇ‹ ¹ สารสนเทศทเี่ หมาะสมและ มธี รรมาภบิ าล เปาหมายท่ี 2 ¾§èÖ ¾Òµ¹àͧ䴌 ÁàÕ ·¤â¹âÅÂáÕ ÅйÇѵ¡ÃÃÁ·èÕàËÁÒÐÊÁ 㹡ÒÃãËŒºÃÔ¡Òà เปาหมายท่ี 3 ¤‹Ò㪌¨‹Ò´Ҍ ¹º¤Ø ÅÒ¡ÃäÁà‹ ¡¹Ô ÃŒÍÂÅÐ 30 ¢Í§§º»ÃÐÁÒ³ ·è¤Õ ³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃ͹ØÁµÑ ËÔ Ã×ͤǺ¤ØÁ¤Ò‹ 㪨Œ ‹Ò´Ҍ ¹º¤Ø ÅÒ¡Ã äÁ㋠ˌʧ٠¢¹Öé เปาหมายที่ 4 º¤Ø ÅÒ¡ÃÁÕÊÁÃö¹ÐÃÍ§ÃºÑ µÍ‹ ¡ÒÃà»ÅÂÕè ¹á»Å§ Á¢Õ ÇÞÑ ¡ÓÅ§Ñ ã¨ã¹¡Òû¯ºÔ µÑ §Ô Ò¹ÁÕÊÁ´ØŪÕÇµÔ áÅÐ ¡Ò÷ӧҹ (Work-Life Balance) เปาหมายท่ี 5 ͧ¤¡ ÃÁÕ¤ÇÒÁÂ´× Ë¹‹Ø äÁ‹ÂÖ´µÔ´ÃкºÃÒª¡Òà ໹š ÊÓ¹¡Ñ §Ò¹ÊÁÂÑ ãËÁ‹ 0575 ปี ส�ำนกั งานเลขาธิการครุ สุ ภา

ค�ำน�ำ พระราชบญั ญตั สิ ภาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๓๔ กำ� หนดใหม้ สี ำ� นกั งาน เลขาธกิ ารครุ สุ ภา มหี นา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบเกย่ี วกบั การดำ� เนนิ งานของครุ สุ ภา ในฐานะสภาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ซ่ึงมีอ�ำนาจหน้าท่ีก�ำหนดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ก�ำกับดูแล การปฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวชิ าชพี และการพฒั นาวชิ าชพี ประสานและดำ� เนนิ การเกยี่ วกบั กิจการอื่นที่คุรุสภามอบหมาย และจัดท�ำรายงานประจ�ำปีเกี่ยวกับการด�ำเนินงานเสนอต่อคุรุสภา ทั้งนี้ กำ� หนดใหม้ เี ลขาธกิ ารครุ สุ ภารบั ผดิ ชอบบรหิ ารกจิ การของสำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา ภายใตก้ ารบรหิ ารงาน ของคณะกรรมการ 2 คณะ คือ คณะกรรมการครุ สุ ภา และคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชพี 2 มีนาคม 2563 ในโอกาสครบรอบ 75 ปี ส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา และก้าวเข้าสู่ปีที่ 76 นี้ สำ� นักงานเลขาธิการคุรสุ ภา ร่วมกบั เครือข่ายทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ร่วมกนั ขับเคลื่อน บทบาทภารกิจของคุรุสภา ตามหลักการที่ว่า “คุรุสภา มุ่งสร้างมาตรฐานและจิตวิญญาณความเป็นครู สู่คุณภาพการศึกษาไทย” มีเป้าหมายเพ่ือเป็นหลักประกันแก่สังคมว่า ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา มีจิตวิญญาณความเป็นครูอย่างแท้จริง มีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ และมีศักยภาพเหมาะสมในโลกศตวรรษที่ 21 ในวาระครบรอบ 75 ปี ส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา ส�ำนักงานได้จัดท�ำหนังสือเล่มนี้ข้ึน เพอ่ื รวบรวมประวตั คิ วามเปน็ มาของครุ สุ ภาและสำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา อำ� นาจหนา้ ที่ ลำ� ดบั เหตกุ ารณ์ ที่สำ� คัญและความกา้ วหน้าการด�ำเนินงานของสำ� นักงานเลขาธิการคุรุสภาในรอบปี 2562 เพ่อื เป็นทร่ี ะลึก และเปน็ รอ่ งรอยผลการดำ� เนนิ งานทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ อ่ การพฒั นางานของสำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภาตอ่ ไป สำ� นกั งานเลขาธิการคุรสุ ภา 2 มีนาคม 2563 06 75 ปี สำ� นักงานเลขาธิการครุ ุสภา

สารบัญ สารรฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ 2 สารเลขาธิการคุรุสภา 3 ค่านยิ ม วสิ ยั ทัศน์ พันธกจิ 4 การขบั เคลื่อนยุทธศาสตร ์ 5 ประวตั ิความเป็นมาของคุรสุ ภา 8 สัญลกั ษณข์ องครุ ุสภา 10 บรู พาจารยผ์ ู้สร้างคณุ ูปการตอ่ คุรุสภา 11 ประวตั สิ ำ� นักงานเลขาธกิ ารครุ ุสภา 12 หน้าท่ีของส�ำนักงานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา 13 ท�ำเนยี บเลขาธกิ ารครุ สุ ภา 14 ท�ำเนียบรองเลขาธิการคุรุสภา 16 โครงสรา้ งการจดั แบง่ ส่วนงานของสำ� นกั งานเลขาธิการคุรุสภา 19 ลำ� ดับเหตุการณ์ส�ำคญั ของส�ำนกั งานเลขาธกิ ารครุ ุสภา 20 ผลงานเด่น ปี 2562 23 คณะผูบ้ รหิ ารและพนกั งานเจา้ หน้าที ่ 56 0775 ปี สำ� นักงานเลขาธกิ ารครุ ุสภา

ประวัติความเปน็ มาของคุรุสภา ครุ สุ ภามปี ระวตั อิ นั ยาวนาน เรมิ่ ตงั้ แตเ่ สนาบดคี นแรก โดยเฉพาะครรู นุ่ ใหม่ใหไ้ ดฝ้ ึกหดั การสมาคม และใหเ้ ป็นสโมสร ของกระทรวงศึกษาธิการ เจ้าพระยาภาสกีวงศ์ (พร บุนนาค) กีฬา ดนตรี และการบันเทิงของครูสมาคมน้ีมีทั้งกรรมการ ไดจ้ ดั ตง้ั “วทิ ยาทานสถาน” ขน้ึ ในกรงุ เทพมหานคร เมอื่ พ.ศ. 2438 โดยตำ� แหน่ง และกรรมการโดยเลอื กตั้งจากครู ท�ำการฝึกอบรมครูโดยให้นายสน่ัน เทพหัสดิน ณ อยุธยา ในปี พ.ศ. 2447 สามัคยาจารย์สมาคมได้รับช่วง (เจ้าพระยาธรรมศกั ดิ์มนตร)ี เป็นผใู้ หก้ ารอบรม อกี 5 ปี ต่อมา เอาหนังสือพิมพ์ วิทยาจารย์ ซ่ึงเดิมออกโดยโรงเรียนฝึกหัด วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2543 วิทยาทานสถานได้ย้ายมาต้ังที่ อาจารย์มาเป็นหนังสือของสมาคมและให้สมาชิกของสมาคม วัดใหม่วินัยช�ำนาญ (วัดเทพพลู) แขวงบางกอกน้อย ธนบุรี มีสิทธิได้รับหนังสือวิทยาจารย์ หนังสือวิทยาจารย์นี้นับเป็น โดยใช้ชอื่ วา่ “สภาไทยาจารย์” นติ สารรายเดอื นทางวชิ าชพี ทเี่ กา่ ยงั่ ยนื นานทสี่ ดุ ฉบบั หนง่ึ มาจนบดั นี้ ปี 2445 ย้ายมาต้ังที่โรงเรียนทวีธาภิเศก ในบริเวณ สามคั ยาจารยส์ มาคมในสมยั นน้ั จงึ เปน็ สมาคมวชิ าชพี วัดอรุณราชวราราม จังหวัดธนบุรี ให้ชื่อว่า “สามัคยาจารย์ ครูอันมีเกียรติและเกียรติคุณของสมาคมก็ยิ่งสูงเด่นยิ่งขึ้น สโมสรสถาน” โดยมีเจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี เมอื่ พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ครงั้ ยงั ดำ� รงพระราช (ม.ร.ว.เปีย มาลากุล) ซ่ึงสมัยนั้นยังมีบรรดาศักดิ์เป็นพระยา อิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชเจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ วสิ ทุ ธ สรุ ยิ ศักดิ์ อธิบดกี รมศกึ ษาธิการ เปน็ สภานายกคนแรก สยามมกฎุ ราชกมุ าร มพี ระมหากรณุ าธคิ ณุ ทรงรบั สามคั ยาจารย์ ในปีต่อมา พ.ศ. 2446 ได้ยา้ ยสโมสรนขี้ ้ามฟากมายัง สมาคมไวใ้ นพระบรมราชูปถมั ภ์ เม่อื พ.ศ. 2448 ฝ่งั พระนคร โดยตั้งอยใู่ นโรงเรยี นมธั ยมวัดราชบูรณะ (โรงเรยี น เมื่อมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติครู พุทธศักราช สวนกุหลาบปัจจุบัน) และในปี พ.ศ. 2447 จึงได้จัดต้ังเป็น 2488 จัดต้ัง “คุรุสภา” ขึ้นเป็นสภาในกระทรวงศึกษาธิการ รูปสมาคมท่ีสมบูรณ์ ช่ือว่า “สามัคยาจารย์สมาคม” โดยมี โดยท่ีคุรุสภามีวัตถุประสงค์และความมุ่งหมายกว้างขวาง วัตถุประสงค์ใหญ่ 3 ประการ คือ การให้สมาคมน้ีเป็นแหล่ง ครอบคลมุ กจิ การของสมาคมมาเปน็ ครุ สุ ภา และใหจ้ ดั ตง้ั สโมสร วิทยาการของครูอาจารย์ เป็นที่สังสรรค์สโมสรของครูอาจารย์ สามัคยาจารย์สมาคมขน้ึ ใหม่เปน็ แผนกหน่ึงของคุรุสภา 08 75 ปี สำ� นกั งานเลขาธกิ ารคุรุสภา

คุรุสภาตามพระราชบัญญัติครู พุทธศักราช 2488 บริหารองค์การค้าของส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม มหี ลกั การ 3 ประการคอื 1) เพอื่ เปน็ สภาทปี่ รกึ ษาของกระทรวง สวัสดกิ ารและสวสั ดภิ าพครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา โดยให้ ศกึ ษาธิการ 2) เพอ่ื ช่วยฐานะครู 3) เพื่อให้ครปู กครองครู ตอ่ มา กรรมการคุรุสภา แห่งพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากร เมื่อมีการตราพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ทางการศึกษา พ.ศ. 2546 ซึง่ อย่ใู นวันก่อนวันที่คำ� สง่ั น้ีใช้บงั คับ เพ่อื ปฏริ ปู การศกึ ษาครงั้ ใหญ่ คุรสุ ภาได้ปรบั บทบาทใหม่ โดยมี พ้นจากต�ำแหน่ง และมิให้มีการแต่งต้ังบุคคลขึ้นมาแทนท่ี การตราพระราชบญั ญตั สิ ภาครแู ละบคุ ลากรการศกึ ษา พ.ศ. 2546 โดยให้คณะกรรมการคุรุสภาตามกฎหมายว่าด้วยสภาครูและ เป็นกฎหมายว่าด้วยสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา บคุ ลากรทางการศึกษา ประกอบดว้ ย รฐั มนตรวี า่ การกระทรวง มีเหตุผลส�ำคัญเพื่อสืบทอดเจตนารมณ์ของการจัดต้ังคุรุสภา ศกึ ษาธกิ าร เปน็ ประธานกรรมการ รฐั มนตรชี ว่ ยวา่ การกระทรวง ใหเ้ ปน็ สภาวชิ าชพี ครตู อ่ ไป พระราชบญั ญตั สิ ภาครู ฯ มผี ลบงั คบั ใช้ ศกึ ษาธกิ าร ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา ต้ังแต่ 12 มิถุนายน 2546 ก�ำหนดให้มีองค์กรวิชชาชีพ เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เลขาธิการ 2 องคก์ ร คอื สภาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา เรยี กวา่ “ครุ สุ ภา” คณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา มฐี านะเปน็ เป็นนติ บิ คุ คล อยใู่ นกำ� กบั ของกระทรวงศึกษาธิการ เลขาธกิ ารคณะกรรมการขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ท�ำหน้าที่เกี่ยวกับการควบคุมและรักษามาตรฐานวิชาชีพครู ผู้อำ� นวยการสำ� นกั บรหิ ารงานคณะกรรมการสง่ เสริมการศกึ ษา และบุคลากรทางการศึกษา อีกองค์กรหน่ึง คือ ส�ำนักงาน เอกชน และหัวหน้าส�ำนักงานคณะกรรมการมาตรฐาน คณะกรรมการสง่ เสรมิ สวสั ดกิ ารและสวสั ดภิ าพครแู ละบคุ ลากร การบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น เป็นกรรมการ และ ทางการศึกษา มฐี านะเป็นนิติบุคคล อยู่ในกำ� กับของกระทรวง ใหเ้ ลขาธิการคุรสุ ภา เปน็ เลขานกุ าร ศึกษาธิการ มีหน้าที่เก่ียวกับการส่งเสริมสนับสนุน นอกจากนี้ ใหเ้ ลขาธิการครุ สุ ภา ซงึ่ อยู่ในวนั ก่อนวันท่ี การจดั การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ คำ� สง่ั นใ้ี ชบ้ งั คบั หยดุ การปฏบิ ตั หิ นา้ ทไี่ ปกอ่ นจนกวา่ หวั หนา้ คณะ เม่ือวันท่ี 16 เมษายน 2558 ได้มีค�ำส่ังหัวหน้าคณะ รักษาความสงบแห่งชาติจะมีค�ำส่ังเปล่ียนแปลงเป็นอย่างอ่ืน รกั ษาความสงบแหง่ ชาติ ที่ 7/2558 เร่อื ง การปฏิบตั ิหนา้ ที่ของ และให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในระดับเดียวกัน คณะกรรมการคุรุสภา คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและ ขึน้ ไปปฏิบตั หิ น้าทใ่ี นต�ำแหน่งเลขาธกิ ารครุ สุ ภา สวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา และคณะกรรมการ 0975 ปี สำ� นักงานเลขาธกิ ารคุรุสภา

สัญลักษณ์ของคุรสุ ภา ปี พ.ศ. 2443 หนงั สอื พมิ พว์ ทิ ยาจารย์ เปน็ หนงั สอื วชิ าการของครเู ลม่ แรก หนงั สอื พมิ พ์วทิ ยาจารย์ ของประเทศไทย จดั พมิ พฉ์ บบั แรก ในเดอื นพฤศจกิ ายน พ.ศ. 2443 เดิมเป็นหนังสือของโรงเรียน ปี พ.ศ. 2452 ฝึกหดั อาจารย์ ซง่ึ สามัคยาจารย์ ซมุ้ ประตูครุ ุสภา สมาคมรับมอบกรรมสิทธ์ิจาก กรมศึกษาธิการมาด�ำเนินการ ซุ้มประตูคุรุสภา ถือว่าเป็นส่ิงก่อสร้าง เม่ือเดือนมกราคม พ.ศ. 2477 ทสี่ ำ� คญั ซง่ึ มเี อกลกั ษณท์ โ่ี ดดเดน่ สวยงาม ในอดตี คอื ต่อมาคุรุสภารับมอบกิจการและ “วงั จนั ทร”์ หรอื “วงั จนั ทรเกษม” เรม่ิ กอ่ สรา้ งปี พ.ศ. 2452 ทรัพย์สินจากสามัคยาจารย์ ก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2454 พระบาทสมเด็จ สมาคม จงึ ไดร้ บั วารสารวทิ ยาจารย์ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชานุญาต มาดำ� เนนิ การจนถงึ ปจั จบุ นั ใชว้ งั จนั ทรเกษมเปน็ ทที่ ำ� การของกระทรวงธรรมการ ซง่ึ ตอ่ มาเปลยี่ นเปน็ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารและเปน็ ทตี่ ง้ั ของครุ สุ ภาจนถึงปจั จุบนั ปี พ.ศ. 2488 ตราสัญลักษณ์เป็นรูป ตราคุรุสภา พระพฤหัสบดี มีความหมายว่า เปน็ ครขู องเทวดาในทางวชิ าความรู้ มีกวางเป็นพาหนะ พระหัตถ์ขวา ปี พ.ศ. 2500 ถือดอกบัว พระหัตถ์ซ้ายถือ หอประชุมคุรสุ ภา พระขรรค์กับรัศมีเป็นปริมณฑล ลอ้ มรอบ ตราครุ สุ ภานี้ ออกแบบ หอประชุมคุรุสภา เป็นสิ่งก่อสร้างท่ีน�ำ โดยพระยาอนมุ านราชธน เมอ่ื ครง้ั ความภาคภมู ใิ จมาสบู่ รรดาครทู ว่ั ประเทศ ดว้ ยครทู กุ คน ด� ำ ร ง ต� ำ แ ห น ่ ง อ ธิ บ ดี ก ร ม ไดร้ ว่ มกนั บรจิ าคเงนิ เดอื นคนละ 1 วนั ตามคำ� เชญิ ชวน ศิลปากรและคณะกรรมการ ของครุ สุ ภา รวมกบั เงนิ ขององคก์ ารคา้ และเงนิ สบทบ อำ� นวยการครุ สุ ภา ในการประชมุ จากรัฐบาลเป็นงบประมาณการก่อสร้าง หอประชุม ค ร้ั ง ที่ 8 / 2 4 8 8 เ ม่ื อ วั น ท่ี ครุ สุ ภาสรา้ งเมอื่ วนั ที่ 3 ตลุ าคม 2500 ทำ� พธิ เี มอ่ื วนั ท่ี 3 กรกฎาคม 2488 มมี ตใิ หใ้ ชต้ รา 11 พฤษภาคม 2502 ของครุ ุสภาจนถึงปจั จบุ นั 10 75 ปี ส�ำนกั งานเลขาธกิ ารครุ ุสภา

พ.ศ. 2412 บูรพาจารยผ์ สู้ ร้างคุณปู การตอ่ ครุ สุ ภา พ.ศ. 2454พระยาศรสี ุนทรโวหาร พ.ศ. 2459 “ผคู ดิ แบบสอนหนังสอื ไทยข้ึน 1 ชดุ รวม 6 เลม คือ มูลบทบรรพกิจ วาหนติ ิน์ ิกร อกั ษรประโยค สงั โยคพธิ าน ไวพจนพิจารณ พศิ าลการันต เปนแบบเรยี นภาษาไทยเลมแรกของไทย” พ.ศ. 2488 เจาพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หมอ มราชวงศเ ปย มาลากลุ ) พ.ศ. 2488 “ผจู ดั ตัง้ สามัคยาจารยสมาคม เปน แหลง สง เสรมิ ความรูทางวชิ าการ และเปน สถานทีช่ ุมนมุ ของครู อาจารย และหนังสือพมิ พวทิ ยาจารย เรม่ิ ตง้ั แตเ ดอื นพ.ศ. 2504 มกราคม พ.ศ. 2447 วิทยาจารยถือเปนวารสารสื่อสารความรูของสมาชิกครู ทั่วประเทศสืบมาจนถงึ ทุกวนั นี้ เจา พระยาธรรมศักดม์ิ นตรี “ผูจดั ต้ังวิทยาทานสถาน ซ่ึงเปนสถานที่จดั อบรมครแู หงแรกของไทย” นายทวี บณุ ยเกตุ “ผจู ดั ตั้งครุ ุสภาข้นึ เปน สภาครใู นกระทรวงศึกษาธิการ ทา นได ชี้แจงหัวใจของการจัดตั้งคุรุสภา โดยใชถอยคำสั้น ๆ วา เพื่อใหครู ปกครองครู” พระยาอนุมานราชธน “ผอู อกแบบรูปตราครุ ุสภา ในป พ.ศ. 2488 เสนอใหใชคณะกรรมการอำนวยการครุ สุ ภา พิจารณา และไดรบั เลือกใหใชเ ปน ตราครุ ุสภาจนถงึ ปจ จบุ นั ” นายนาค เทพหสั ดิน ณ อยุธยา “ผรู เิ ริ่มปรบั ปรุงงานครุ สุ ภาหลายดาน จดั ต้งั มูลนิธิชว ยครู อาวโุ ส ในพระบรมราชปู ถมั ภ และดว ยใจทร่ี กั อาชพี ครู ประสงคท จ่ี ะ เทดิ ทนู ครู ทา นเปนผูริเร่มิ ใหมกี ารแตงประวัติครูจดั พมิ พลงในหนังสอื ประวตั คิ รเู ปน เลม แรกตั้งแต ป พ.ศ. 2500 เปน ตน มาจนถึงปจ จุบัน” 1175 ปี สำ� นกั งานเลขาธิการคุรสุ ภา

ประวัตสิ �ำนักงานเลขาธิการครุ ุสภา จากการจดั ตง้ั ครุ สุ ภา ตามพระราชบญั ญตั คิ รู พทุ ธศกั ราช 5. หลวงครุ นุ ติ พิ ศิ าล (ขา้ หลวงตรวจการศกึ ษา) รกั ษาการ 2488 ซง่ึ มผี ลบงั คบั ใชเ้ มอื่ วนั ที่ 16 มกราคม 2488 และบรหิ ารงาน ในตำ� แหน่งหวั หน้าแผนกรักษาผลประโยชนข์ องครู โดยคณะกรรมการอ�ำนวยการคุรุสภา น้ัน เม่ือคุรุสภาได้แต่งต้ัง 6. หลวงบรหิ ารสกิ ขกจิ (ขา้ หลวงตรวจการศกึ ษา) รกั ษาการ คณะกรรมการอ�ำนวยการคุรุสภาชุดแรก เพ่ือท�ำหน้าท่ีบริหารงาน ในต�ำแหน่งหวั หน้าแผนกชว่ ยเหลอื อุปการะครูและครอบครวั ของครุ สุ ภาโดยสมบรู ณต์ ามกฎหมายแลว้ สงิ่ ทจ่ี ะตอ้ งดำ� เนนิ การตอ่ ไป 7. นายบุญช่วย สมพงษ์ รักษาการในต�ำแหน่งหัวหน้า คอื แตง่ ตงั้ เจา้ หนา้ ทผี่ ปู้ ฏบิ ตั งิ านตามมตขิ องคณะกรรมการอำ� นวยการ แผนกส่งเสริมความรู้ ครุ สุ ภา ซงึ่ ตามมาตรา 9 แหง่ พระราชบญั ญตั คิ รู พทุ ธศกั ราช 2488 8. ขนุ ทรงวรวทิ ย์ รกั ษาการในตำ� แหนง่ หวั หนา้ แผนกการคลงั กำ� หนดให้ “คณะกรรมการอำ� นวยการครุ สุ ภา แตง่ ตงั้ เลขาธกิ ารครุ สุ ภา ขณะเดยี วกันประธานกรรมการอำ� นวยการครุ สุ ภา กไ็ ดม้ ี และเจ้าหน้าที่อื่นตามสมควร” ดังนั้น คณะกรรมการอ�ำนวยการ คำ� สงั่ แตง่ ตงั้ ใหศ้ กึ ษาธกิ ารจงั หวดั และศกึ ษาธกิ ารอำ� เภอ เปน็ เจา้ หนา้ ที่ คุรุสภา จึงมีมติแต่งต้ังข้าราชการประจ�ำของกระทรวงศึกษาธิการ คุรุสภาประจ�ำจังหวัดและเจ้าหน้าท่ีคุรุสภาประจ�ำอ�ำเภอ มารกั ษาการในตำ� แหนง่ เลขาธกิ ารครุ สุ ภา และหวั หนา้ แผนกตา่ ง ๆ ตามล�ำดับ โดยมีส�ำนักงานอยู่ท่ีแผนกศึกษาธิการจังหวัดและ เพอ่ื เปน็ เจา้ หนา้ ทปี่ ฏบิ ตั งิ าน โดยรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร แผนกศกึ ษาธกิ ารอ�ำเภอ ประธานกรรมการอ�ำนวยการคุรุสภาได้ลงนามแต่งต้ังข้าราชการ การก�ำหนดวันสถาปนาส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภานั้น กระทรวงศกึ ษาธกิ ารมาปฏบิ ตั งิ านของครุ สุ ภาชดุ แรก จำ� นวน 9 คน กำ� หนดขนึ้ โดยยดึ วนั ทมี่ คี ำ� สงั่ แตง่ ตง้ั เจา้ หนา้ ทเ่ี พอ่ื เรม่ิ ปฏบิ ตั งิ านของ ตง้ั แตว่ นั ที่ 2 มนี าคม พ.ศ. 2488 ประกอบดว้ ย ส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา เม่ือวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2488 1. พระยาจินดารักษ์ (อธิบดีกรมพลศึกษา) รักษาการ เปน็ วนั สถาปนาสำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา แมว้ า่ ครุ สุ ภาจะปรบั เปลยี่ น ในต�ำแหนง่ เลขาธิการครุ สุ ภา มาเป็นสภาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ในปี พ.ศ. 2546 ปจั จบุ ัน 2. นายบญุ ชว่ ย สมพงษ์ (หวั หนา้ กองศกึ ษาผใู้ หญ)่ รกั ษาการ แมว้ า่ ภารกจิ หนา้ ทขี่ องสำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภาจะมกี ารปรบั เปลยี่ น ในต�ำแหน่งผู้ชว่ ยเลขาธิการคุรสุ ภา ไปจากเดิมแล้วก็ตาม ส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา ก็ยังคงยึดวันที่ 3. นายวญิ ญาต ปตุ ระเศรณี (หวั หนา้ กองกลาง สำ� นกั งาน 2 มนี าคม ของทกุ ปี เปน็ วนั คลา้ ยวนั สถาปนาสำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา ปลดั กระทรวง) รกั ษาการในตำ� แหนง่ หวั หนา้ แผนกสารบรรณ สบื ตอ่ มาจนถงึ ปจั จบุ นั และในวนั ที่ 2 มนี าคม 2563 นี้ เปน็ วนั ครบรอบ 4. นายบรุ นิ ทร์ สมิ พะสกิ (หวั หนา้ กองโรงเรยี นประชาบาล) 75 ปี การสถาปนาสำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา รักษาการในต�ำแหน่งหัวหน้าแผนกทะเบียน 12 75 ปี ส�ำนกั งานเลขาธกิ ารครุ ุสภา

หนา้ ท่ีของสำ� นักงานเลขาธิการคุรุสภา พระราชบญั ญตั สิ ภาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาพ.ศ. 2546 1. บรหิ ารกจิ การของสำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภาใหเ้ ปน็ ไป มาตรา 34 กำ� หนดให้ส�ำนักงานเลขาธกิ ารครุ ุสภามหี น้าที่ ดงั น้ี ตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ของคุรุสภา ระเบียบ ข้อบังคับ 1. รับผิดชอบเกี่ยวกับการด�ำเนินงานของคุรุสภา ซ่ึงมี ข้อก�ำหนด นโยบาย มติ และประกาศของคณะกรรมการคุรุสภา อำ� นาจหนา้ ทกี่ ำ� หนดมาตรฐานวชิ าชพี ออกและเพกิ ถอนใบอนญุ าต และเปน็ ผบู้ งั คบั บญั ชาพนกั งานเจา้ หนา้ ทที่ กุ ตำ� แหนง่ เวน้ แตผ่ ตู้ รวจสอบ ประกอบวชิ าชพี กำ� กบั ดแู ลการปฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานและจรรยาบรรณ ภายใน ให้ข้ึนตรงต่อประธานกรรมการคุรุสภา ตามระเบียบท่ี ของวิชาชพี และการพฒั นาวิชาชีพ คณะกรรมการคุรุสภาก�ำหนด 2. ประสานและด�ำเนินการเก่ียวกับกิจการอื่นท่ีคุรุสภา 2. ดแู ลรักษาทะเบียนผู้ได้รับใบอนญุ าต มอบหมาย 3. ควบคุมดูแลทรพั ย์สนิ ของคุรสุ ภา 3. จดั ทำ� รายงานประจำ� ปเี กย่ี วกบั การดำ� เนนิ งานเสนอตอ่ 4. เสนอรายงานประจ�ำปีเกี่ยวกับผลการด�ำเนินงาน ครุ สุ ภา ด้านต่าง ๆ ของสำ� นักงานเลขาธิการครุ สุ ภา รวมทงั้ รายงานการเงนิ การดำ� เนนิ งานของสำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา กำ� หนดให้ และบญั ชี ตลอดจนเสนอแผนดำ� เนนิ งาน แผนการเงนิ และงบประมาณ เลขาธกิ ารครุ สุ ภารบั ผดิ ชอบบรหิ ารกจิ การของสำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา ของปีต่อไป ต่อคณะกรรมการครุ ุสภาเพือ่ พจิ ารณา รวมทงั้ ดำ� เนนิ การตามทป่ี ระธานกรรมการครุ สุ ภาคณะกรรมการครุ สุ ภา 5. เสนอความเห็นเกี่ยวกับการปรับปรุงกิจการและ มอบหมาย โดยรับผิดชอบต่อคณะกรรมการคุรุสภา นอกจากน้ี การดำ� เนนิ งานใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและเปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงคข์ องครุ สุ ภา ยังมีหน้าทีด่ งั ต่อไปนี้ ต่อคณะกรรมการครุ สุ ภา 1375 ปี สำ� นกั งานเลขาธกิ ารคุรุสภา

ทำ� เนยี บเลขาธกิ ารคุรสุ ภา ตั้งแต่ พ.ศ. 2488 - ปจั จุบัน 1. พระยาจนิ ดารักษ์ (รก.) 6 7 2 มีนาคม 2488 ถึง 15 กมุ ภาพันธ์ 2489 8 1 2. หลวงบรหิ ารสกิ ขกิจ 15 กมุ ภาพนั ธ์ 2489 ถงึ 16 กมุ ภาพนั ธ์ 2498 3. นายประเวศ จันทนยิง่ ยง 16 กมุ ภาพันธ์ 2498 ถงึ 16 กมุ ภาพันธ์ 2504 2 4. นายนาค เทพหัสดนิ ณ อยธุ ยา 5 ตุลาคม 2504 ถงึ 1 เมษายน 2510 5. นายเยอื้ วชิ ยั ดษิ ฐ 1 พฤษภาคม 2510 ถึง 31 ธันวาคม 2512 3 6. นายจรัส มหาวจั น์ 8 มกราคม 2513 ถึง 7 มกราคม 2519 7. นายจำ� ลอง เวศอไุ ร 9 4 8 มกราคม 2519 ถงึ 1 สงิ หาคม 2525 8. นายจรูญ มิลนิ ทร์ 16 สิงหาคม 2525 ถงึ 24 เมษายน 2531 9. นายส�ำเริง นิลประดิษฐ์ 1 พฤษภาคม 2531 ถงึ 1 มนี าคม 2535 5 10 10. นายโกวิท สรุ สั วดี 1 มนี าคม 2535 ถงึ 18 พฤศจกิ ายน 2537 14 75 ปี สำ� นักงานเลขาธิการครุ สุ ภา

11. นายปรีดา บุญเพลิง 12 มกราคม 2538 ถึง 11 มกราคม 2542 11 12. นายยทุ ธชยั อุตมา 16 17 12 มกราคม 2542 ถงึ 4 ตุลาคม 2545 18 13. ดร.จกั รพรรดิ วะทา 7 ตุลาคม 2545 ถงึ 30 มิถนุ ายน 2551 12 14. นางสาวรจนา วงศ์ข้าหลวง (รก.) ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั อำ� นวยการ 1 กรกฎาคม 2551 ถงึ 16 ตลุ าคม 2551 15. ดร.องค์กร อมรสริ นิ ันท์ 17 ตลุ าคม 2551 ถงึ 16 ตลุ าคม 2555 13 16. นางสาวรจนา วงศ์ขา้ หลวง (รก.) 19 ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั อำ� นวยการ 17 ตลุ าคม 2555 ถงึ 16 มถิ นุ ายน 2556 14 17. ดร.อำ� นาจ สุนทรธรรม 17 มิถนุ ายน 2556 ถงึ 17 เมษายน 2558 18. นายกมล ศริ ิบรรณ 21 เมษายน 2558 ถึง 30 กนั ยายน 2558 20 15 19. ดร.ชัยยศ อม่ิ สุวรรณ์ 1 ตลุ าคม 2558 ถึง 21 กนั ยายน 2559 20. ดร.สมศักดิ์ ดลประสิทธ์ิ 21 22 กนั ยายน 2559 ถงึ 5 กนั ยายน 2561 21. ดร.วัฒนาพร ระงบั ทุกข์ 6 กันยายน 2561 ถงึ ปจั จบุ ัน 1575 ปี ส�ำนกั งานเลขาธิการครุ ุสภา

ทำ� เนียบรองเลขาธิการคุรุสภา ตง้ั แต่ พ.ศ. 2488 - ปจั จุบัน 1. นายวญิ ญาต ปุตระเศรณี 6 7 10 มกราคม 2501 ถึง 12 มกราคม 2507 8 1 2. นายเยอ้ื วชิ ัยดษิ ฐ 9.1 9.2 3 กุมภาพนั ธ์ 2507 ถงึ 1 พฤษภาคม 2510 3. นายจรสั มหาวจั น์ 1 กรกฎาคม 2511 ถึง 8 มกราคม 2513 2 4. นายกมล ประสิทธิสา 25 มิถนุ ายน 2514 ถงึ 24 มถิ นุ ายน 2518 5. ดร.สุรฐั ศิลปอนนั ต์ 2 ตลุ าคม 2518 ถึง 2 ตุลาคม 2522 3 4 6. นายทนิ กร ปรชี พันธ์ุ 5 16 75 ปี สำ� นกั งานเลขาธกิ ารคุรสุ ภา 15 พฤศจกิ ายน 2522 ถึง 15 พฤศจกิ ายน 2526 7. นายประยูร ธีระพงษ์ 16 พฤศจกิ ายน 2525 ถงึ 14 พฤศจิกายน 2529 8. นายถนอม ทัฬหพงศ์ 9 สิงหาคม 2527 ถึง 23 ธนั วาคม 2531 9.1 ดร.ประวิทย์ ทองศรีนนุ่ 16 ตลุ าคม 2529 ถงึ 16 ตลุ าคม 2533 9.2 นายโกวทิ สรุ สั วดี 1 มนี าคม 2532 ถึง 29 กมุ ภาพันธ์ 2535

10.1 นายสมพงษ์ พละสรู ย์ 12.2 13.1 20 พฤศจิกายน 2533 ถึง 11 มกราคม 2542 10.1 10.2 นายสมชาย วงศ์เวช 7 กรกฎาคม 2535 ถงึ 11 มกราคม 2542 11.1 ดร.จกั รพรรดิ วะทา 12 มกราคม 2542 ถึง 11 มกราคม 2546 10.2 11.2 นายสมศักด์ิ ฮดโท 12 มกราคม 2542 ถงึ 11 มกราคม 2546 12.1 นายบำ� เรอ ภานุวงศ์ 12 มกราคม 2546 ถึง 30 มถิ นุ ายน 2547 11.1 13.2 11.2 12.2 นายรังสนั ต์ ศรีพทุ ธิรัตน์ 12 มกราคม 2546 ถึง 30 มิถนุ ายน 2547 13.1 ดร.องค์กร อมรสิรนิ ันท์ 14.1 22 พฤศจกิ ายน 2547 ถึง 30 มถิ นุ ายน 2551 12.1 13.2 ดร.สมศักด์ิ ดลประสทิ ธิ์ 22 พฤศจกิ ายน 2547 ถงึ 30 มิถนุ ายน 2551 14.1 นายณรงคฤ์ ทธ์ิ มะลิวลั ย์ 14.2 19 ธันวาคม 2551 ถงึ 16 ตุลาคม 2555 14.2 นายศรายุทธ เจริญผล 19 ธันวาคม 2551 ถงึ 16 ตุลาคม 2555 1775 ปี ส�ำนักงานเลขาธิการครุ สุ ภา

14.3 นายสรุ นิ ทร์ อนิ ทรักษา 15.5 14.3 19 ธันวาคม 2551 ถึง 16 ตลุ าคม 2555 16 17 15.1 นายสนอง ทาหอม 18 1 ตลุ าคม 2556 ถงึ 23 ธนั วาคม 2556 15.2 ดร.ส�ำเริง กจุ ิรพันธ์ 15.1 1 ตลุ าคม 2556 ถึง 20 สิงหาคม 2558 15.3 นายสรุ นิ ทร์ อินทรกั ษา 1 ตุลาคม 2556 ถึง 16 มิถุนายน 2558 15.4 ดร.กก๊ ดอนสำ� ราญ 1 ตลุ าคม 2556 ถึง 1 สงิ หาคม 2558 15.2 15.3 15.5 ดร.สมพงษ์ ปานเกล้า 15.4 1 ตุลาคม 2556 ถึง 1 สิงหาคม 2558 18 75 ปี ส�ำนกั งานเลขาธกิ ารครุ ุสภา 16. ดร.ส�ำเริง กุจิรพนั ธ์ 21 สิงหาคม 2558 ถงึ 30 กนั ยายน 2559 17. ดร.ทินสริ ิ ศริ ิโพธ์ิ 13 มีนาคม 2560 ถงึ 1 มิถุนายน 2562 18. ดร.บรู พาทศิ พลอยสุวรรณ์ 27 มกราคม 2560 ถงึ ปัจจุบัน

โครงสรา้ งการจัดแบ่งสว่ นงานของสำ� นักงานเลขาธิการครุ สุ ภา คุรสุ ภา คณะกรรมการคุรุสภา ประธานกรรมการครุ ุสภา หนว่ ยตรวจสอบภายใน สำ� นักงานเลขาธิการคุรุสภา คณะกรรมการ กล่มุ พัฒนาระบบงาน สถาบันครุ ุพฒั นา ส�ำนักมาตรฐานวิชาชีพ สำ� นกั ทะเบยี นและใบอนญุ าต ส�ำนกั จรรยาบรรณ สำ� นักพฒั นาและ สำ� นกั นโยบายและแผน สำ� นกั เทคโนโลยสี ารสนเทศ ส�ำนกั อำ� นวยการ ประกอบวชิ าชพี วิชาชพี และนิติการ สง่ เสรมิ วชิ าชีพ และการส่อื สาร กลุ่มบรหิ ารงานกลาง กลมุ่ มาตรฐาน กลมุ่ ใบอนญุ าต กลมุ่ ก�ำกับดูแล กลุม่ พฒั นาวิชาชีพ กลุ่มแผน และงบประมาณ กล่มุ พฒั นาระบบ กลุ่มบรหิ ารงานบุคคล การประกอบวชิ าชีพ ประกอบวิชาชีพ 1 จรรยาบรรณวชิ าชพี กลมุ่ ยกย่องและ กลมุ่ วจิ ัย ติดตาม เทคโนโลยีสารสนเทศ กลุ่มการเงินและบัญชี กลุม่ รบั รองปริญญาและ กลุ่มใบอนญุ าต ผดงุ เกยี รติวิชาชพี และประเมินผล กลุ่มสือ่ สารองค์กร ประกอบวิชาชีพ 2 กลุ่มกฎหมาย กลมุ่ สง่ เสรมิ กลุม่ วเิ ทศสัมพนั ธ์ กล่มุ การพสั ดแุ ละ ประกาศนียบัตร กลมุ่ ทะเบยี นใบอนญุ าต จรรยาบรรณวิชาชีพ กลุ่มวทิ ยบริการ อาคารสถานท่ี กลุ่มรับรองความรู้และ ประกอบวิชาชพี กลุ่มการประชุมและ ประสานงาน ความชำ� นาญ

ลำ�ดับเหตุก�รณ์ส�ำ คัญ ของส�ำ ปนักี งพ�น.เศลข.�ธ2ิก5�ร6ค2ุรสุ ภ� งาน 74 ป ี ส�านักงานเลขาธกิ ารคุรสุ ภา ส�านักงานเลขาธิการคุรุสภา ร่วมกับคณะครุศาสตร ์ มีนายปรีชา สุนทรานันท์ ผู้ช่วยเลขานุการ คณะศกึ ษาศาสตร ์ และคณะครศุ าสตรอ์ ตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็น ของสถาบันอุดมศึกษา จ�านวน 7 แห่ง คือ มหาวิทยาลัย ประธานในพิธ ี ณ หอประชมุ ครุ ุสภา เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัยศิลปากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และ มหาวิทยาลัยทักษิณ ด�าเนินการ 2 กิจกรรม คือ การจัด ประกวดหนงั สน้ั (Short Film) ประจา� ป ี 2562 ในหวั ขอ้ ครสู รา้ งคน ภายใต้แนวคิดครูดีเพราะมีจรรยาบรรณ และการจัดอบรม เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร (Workshop) เพอื่ ใหค้ วามรแู้ กน่ สิ ติ นกั ศกึ ษาครู เกย่ี วกบั การผลติ หนงั สนั้ ใหม้ คี ณุ ภาพ ณ หอ้ งประชมุ ไทยาจารย์ ชนั้ 3 อาคาร 2 สา� นกั งานเลขาธกิ ารคุรสุ ภา 2 มีนาคม 2 เมษายน 24 เมษายน 25 เมษายน 2 พฤษภาคม 2562 2562 2562 2562 2562 พิธีเปิดหอสมุดคุรุสภา (KHURUSAPHA e-Library) ปรับรูปแบบใบอนุญาตประกอบ โดย ดร. วฒั นาพร ระงบั ทกุ ข ์ เปน็ ประธานในพธิ ี เพอื่ ใหเ้ ปน็ ศนู ยร์ วม วิชาชีพทางการศึกษาเป็นแบบสองภาษา แ หล่งความรู้เฉพาะทางด้านวิชาชีพทางการศึกษา ที่มุ่งเน้น สา� หรบั ผ้ไู ดร้ บั ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การสรา้ งสงั คมแหง่ การเรยี นร ู้ การบรกิ ารสารสนเทศ การจดั การ ในรูปแบบเดิมยังสามารถใช้เป็นหลักฐาน ทรัพยากรสารสนเทศ รวมถึงคลังปัญญาวิชาชีพ ด้วยการน�า ในการประกอบวชิ าชพี ตามประเภททไี่ ดร้ บั เทคโนโลยมี าประยกุ ต์ใช ้ ณ หอสมดุ ครุ สุ ภา ชน้ั 2 หอประชมุ ครุ สุ ภา ส�านักงานเลขาธกิ ารคุรุสภา ดร.บูรพาทิศ พลอยสุวรรณ์ ดร.ทินสิริ ศิริโพธ ์ิ คณะผบู้ รหิ ารและพนกั งานเจา้ หนา้ ทร่ี ว่ มพธิ บี รรพชาอปุ สมบท 20 75ปี ส�ำนักงำนเลขำธิกำรคุรุสภำ เฉลิมพระเกียรติ เน่ืองในโอกาสมหามงคลพระราชพิธี บรมราชาภเิ ษก ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร มผี เู้ ขา้ รว่ มอปุ สมบท จ�านวน 68 ราย ณ บรเิ วณสนามหญา้ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ด ร . วั ฒ น า พ ร ร ะ งั บ ทุ ก ข ์ สา� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา รว่ มกบั บรษิ ทั เชฟรอนประเทศไทยสา� รวจและผลติ การตัดสินผลการประกวดหนังส้ัน (Short คณะผู้บริหารและพนักงานเจ้าหน้าท่ี จ�ากัด และมูลนิธิคีนันแห่งเอเชีย ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือด้านการ ประจา� ป ี 2562 หวั ขอ้ เรอ่ื ง “ครสู รา้ งฅน” จดั โดยสา� น รว่ มพธิ ตี กั บาตรพระสงฆ ์ จา� นวน 68 รปู พัฒนาวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษาแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ เลขาธกิ ารครุ สุ ภา รว่ มกบั คณะครศุ าสตร ์ คณะศกึ ษาศ ตามโครงการบรรพชาอุปสมบท เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือ รวมพลังของครู และผู้ที่เกี่ยวข้อง คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี ของสถ เฉลิมพระเกียรติ เน่ืองในโอกาส ทเี่ รยี กวา่ “ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชพี ” ณ หอ้ งประชมุ ไทยาจารย ์ ชนั้ 3 อาคาร 2 อุดมศึกษา จ�านวน 7 แห่ง ประกอบด้วย มหาวิทย มหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก มีเลขาธิการครุ สุ ภา ดร.วัฒนาพร ระงบั ทกุ ข์ ผจู้ ดั การฝ่ายนโยบายดา้ นรฐั กิจและ พระจอมเกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัยศิลปากร จุฬาลง ณ กระทรวงศึกษาธิการ กิจการสัมพันธ์ บริษัท เชฟรอนประเทศไทยส�ารวจและผลิต จ�ากัด คุณหทัยรัตน ์ มหาวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ มหาวทิ อติชาติ และประธานอ�านวยการ มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย คุณปิยะบุตร ชลวิจารณ ์ นเรศวร มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม และมหาวทิ ยาลยั ท ร่วมลงนามบันทกึ ขอ้ ตกลงความร่วมมือ มี ดร.ทินสิริ ศิริโพธ์ิ ประธานกรรมการคัดเลือ ตัดสินผลงานการประกวดหนังส้ัน เป็นประธานเปิด ณ โรงภาพยนตร์เมเจอร์ซีนีเพล็กซ์ สุขุมวิท – เอ กรุงเทพมหานคร 3 พฤษภาคม 4 พฤษภาคม 7 พฤษภาคม 9 – 11 พฤษภาคม 30 พฤษภาคม 1 มถิ นุ ายน 3 มถิ ุนายน 2562 2562 2562 2562 2562 2562 2562 ดร.วัฒนาพร ระงับทุกข์ พร้อมคณะผู้บริหารและพนักงานเจ้าหน้าที่ แถลงข่าวเปิดรายชื่อครู ดร.สุเทพ ชิตยวงษ์ เลขาธิการ พ เลขาธกิ ารครุ สุ ภารว่ มพธิ ลี งนามถวายพระพรชยั มงคล เนอ่ื งในการพระราชพธิ ี รางวลั สมเดจ็ เจา้ ฟา้ มหาจกั ร ี ครง้ั ท ี่ 3 คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โครงก บรมราชาภิเษก และร่วมเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทในการพระราชพิธี ป ี 2562 ม ี ดร.กฤษณพงศ ์ กรี ตกิ ร เปน็ ประธานในพธิ ที า� บญุ ตกั บาตร เนอ่ื งใน ส�าหร บรมราชาภเิ ษก โดยนายแพทยธ์ รี ะเกยี รต ิ เจรญิ เศรษฐศลิ ป ์ รฐั มนตรวี า่ การ ประธานมลู นธิ ริ างวัลสมเด็จเจ้าฟา้ โอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จ คณุ ภา กระทรวงศกึ ษาธิการ เป็นประธานในพธิ ี มหาจกั รเี ปน็ ประธานการแถลงขา่ ว พระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ อุ ทั ย เป็นรางวัลเพ่ือเชิดชูการท�างาน พระบรมราชนิ ี ม ี ดร.วฒั นาพร ระงบั ทกุ ข์ เพ่ือก การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ คร้ังที่ 29 ประจ�าปี 2562 : ของคร ู ผู้ไดร้ บั พระราชทานรางวลั เลขาธิการคุรุสภา พร้อมคณะผู้บริหาร ทศิ ทา วิจัยและนวัตกรรมเพ่ือการพัฒนาท่ีย่ังยืน โดยความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัย มาจากการคัดเลือกของกระทรวง แ ล ะ พ นั ก ง า น เ จ ้ า ห น ้ า ที่ ส� า นั ก ง า น นายส ทักษิณ สา� นกั งานเลขาธกิ ารครุ ุสภา และ บริษทั เชฟรอนประเทศไทยสา� รวจและผลติ ศกึ ษาธกิ ารในอาเซยี นและตมิ อร-์ เลสเต เลขาธิการคุรสุ ภา รว่ มพธิ ี ณ กระทรวง ศิลธร จา� กดั ม ี ดร.ทนิ สริ ิ ศริ โิ พธ ิ์ รองเลขาธกิ ารครุ สุ ภา รว่ มบรรยายในหวั ขอ้ “การพฒั นา ทงั้ 11 ประเทศ ณ หอสมุดครุ ุสภา ศกึ ษาธกิ าร และรว่ มลงนามถวายพระพร วิจัยแ คุณภาพการศึกษาและครูไทยในยุค 4.0” ณ โรงแรมสยามออเรียนทัล อ�าเภอ ส�านกั งานเลขาธิการคุรุสภา ชยั มงคล ณ พระบรมมหาราชวงั คณะก หาดใหญ ่ จังหวัดสงขลา เลขา ทางก และ น ทางก ศึกษา

Film) ประกาศเจตจ�านงการบริหารงาน การประชุมทางวิชาการของคุรุสภา พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรณุ า นกั งาน สา� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา ดว้ ยการ “ยดึ มนั่ ประจา� ป ี 2562 เรอ่ื ง “ครแู หง่ อนาคต เพอ่ื ผเู้ รยี น โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ พระเจ้าวรวงศ์เธอ ศาสตร์ คุณธรรมและนิติธรรม ซ่ือสัตย์ สุจริต แห่งอนาคต” (Future Teachers For พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ ทรงปฏิบัติ ถาบัน โปร่งใส ตรวจสอบได้ รวดเร็ว ฉบั ไว เตม็ ใจ Future Learners) เพ่ือเป็นเวทีทางวิชาการ พระราชกรณียกิจแทนพระองค์ ประทาน ยาลัย ให้บริการ และเป็นแบบอย่างท่ีดี” สนอง ส�าหรับการแลกเปล่ียนเรียนรู้องค์ความรู้ พระวโรกาสให ้ นายณฏั ฐพล ทปี สวุ รรณ รฐั มนตรี งกรณ์ นโยบายของรัฐบาลตามยุทธศาสตร์ในการ ทางวชิ าการและทางวชิ าชพี โดยไดร้ บั ความรว่ มมอื ว่าการกระทรวงศึกษาธิการ พร้อมด้วย ทยาลยั ปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ม ี ดร.วฒั นาพร จากหนว่ ยงานภาครฐั และเอกชน ทง้ั ในประเทศ คณะกรรมการครุ สุ ภา คณะกรรมการมาตรฐาน ทกั ษณิ ระงบั ทกุ ข ์ เปน็ ประธาน ณ หอ้ งประชมุ จนั ทรเกษม และต่างประเทศ จ�านวน 16 หน่วยงาน วิชาชีพ และคณะกรรมการมูลนิธิช่วยครูอาวุโส อกและ สา� นักงานเลขาธกิ ารคุรสุ ภา มี นายณัฏฐพล ทปี สุวรรณ รัฐมนตรีว่าการ ในพระบรมราชูปถัมภ์ น�าครูอาวุโส ประจ�าป ี ดงาน กระทรวงศึกษาธิการเป็นประธานเปิดงาน 2560 จ�านวน 1,614 ราย เฝ้า ฯ รับประทาน อกมัย ณ โรงแรมเซน็ ทรา ศนู ยร์ าชการและคอนเวนชนั เคร่ืองหมายเชิดชูเกียรติ ประกาศนียบัตร เซน็ เตอร ์ แจง้ วฒั นะ และเงินช่วยเหลือครูอาวุโส ประจ�าปี 2560 ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั สวนจติ รลดา พระราชวงั ดสุ ติ 25 มิถนุ ายน 3 กรกฎาคม 16 – 17 สงิ หาคม 20 กันยายน 21 กันยายน NEXT PAGE 2562 2562 2562 2562 2562 พิธีลงนามข้อตกลงความร่วมมือการด�าเนินงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณา การครรู กั (ษ)์ ถน่ิ โครงการสรา้ งโอกาสทางการศกึ ษา โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ พระเจ้าวรวงศ์เธอ รับนักเรียนในพ้ืนท่ีห่างไกลเป็นครูรุ่นใหม่เพื่อพัฒนา พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์ ทรงปฏิบัติพระราช าพโรงเรยี นของชมุ ชน ระหวา่ ง 6 หนว่ ยงาน ม ี รศ.ดร.ดารณี กรณียกิจแทนพระองค์ ประทานพระวโรกาสให ้ รัตนกิจ อดีตรองประธานคณะกรรมการอิสระ นายณัฏฐพล ทปี สวุ รรณ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวง การปฏิรูปการศึกษาและประธานอนุกรรมการก�ากับ ศึกษาธิการ พร้อมด้วยคณะกรรมการคุรุสภา าง โครงการสรา้ งโอกาสทางการศกึ ษา ฯ เปน็ ประธาน คณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชพี และคณะกรรมการมลู นธิ ิ สทุ นิ แกว้ พนา ผชู้ ว่ ยปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร รศ.สรนติ ช่วยครูอาวุโส ในพระบรมราชูปถัมภ์ น�าครูอาวุโส รรม ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ ประจา� ป ี 2560 จา� นวน 1,798 ราย เฝ้า ฯ รบั ประทาน และนวัตกรรม นายสนิท แย้มเกษร รองเลขาธิการ เครอื่ งหมายเชดิ ชเู กยี รต ิ ประกาศนยี บตั ร และเงนิ ชว่ ย กรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ดร.อษุ ณยี ์ ธโนศวรรย ์ เหลือครูอาวุโส ประจ�าปี 2560 ณ ศาลาดุสิดาลัย ธิการคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากร สวนจิตรลดา พระราชวังดสุ ติ การศกึ ษา ดร.วฒั นาพร ระงบั ทกุ ข ์ เลขาธกิ ารครุ สุ ภา นพ.สภุ กร บวั สาย ผจู้ ดั การกองทนุ เพอื่ ความเสมอภาค การศึกษา ร่วมลงนาม ณ ห้องราชวัลลภ กระทรวง าธกิ าร

ปรับรูปแบบการออกหนังสือ มีค�าส่ังส�านักงาน มลู นธิ ริ างวลั สมเดจ็ เจา้ ฟา้ มหาจกั รี กา� หนดใหย้ นื่ ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี อนญุ าตใหป้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา เลขาธิการคุรุสภา แต่งตั้ง จดั พธิ มี อบรางวลั คณุ ากร ครยู งิ่ คณุ ผ่านคุรุสภาในส�านักงานศึกษาธิการจังหวัด เล โ ด ย ไ ม ่ มี ใ บ อ นุ ญ า ต ป ร ะ ก อ บ วิ ช า ชี พ นายศุภชัย ไชยสิทธิ์ และครูขวัญศิษย์ ประจ�าปี 2562 ทุกจังหวัดทั่วประเทศ โดยใช้ระบบบริการ อุ ผ่านระบบ KSP School ต้ังแต่วันที่ เป็นผู้ทรงคุณวุฒิ ใน โดยมี นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ อิเล็กทรอนิกส์ (e – Services) ท่ีคุรุสภา ร่ 1 สิงหาคม 2562 เป็นต้นไป เพื่อให้ ต� า แ ห น ่ ง ผู ้ เ ชี่ ย ว ช า ญ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พฒั นาขนึ้ เพอื่ ลดคา่ ใชจ้ า่ ยในการเดนิ ทางของ ณ สอดคลอ้ งกบั นโยบายไทยแลนด ์ 4.0 ของ พิ เ ศ ษ เ ฉ พ า ะ ด ้ า น ข อ ง เป็นผู้มอบรางวัล ณ โรงแรม ผ้รู บั บริการ นค รัฐบาล โดยสถานศึกษาท่ีย่ืนค�าขอ ส� า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร เซน็ ทาราแกรนดแ์ ละบางกอกคอนเวนชนั ขอ สามารถดา� เนินการทุกขั้นตอนผา่ นระบบ คุรสุ ภา ด้านกฎหมาย เซนเตอรเ์ ซ็นทรัลเวิลด ์ กรงุ เทพ ฯ มีค “KSP School” โดยไมต่ อ้ งรอการจดั พมิ พ์ และจดั ส่งจากคุรสุ ภา 1 สิงหาคม 1 สงิ หาคม 7 ตุลาคม 15 ตลุ าคม 16 ตลุ าคม 22 ตลุ าคม 1 พฤศจิกายน 3 พฤศจิกายน 2562 2562 2562 2562 2562 2562 2562 2562 ให้สถานศึกษายื่นค�าขอต่ออายุ พิธีพระราชทานรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักร ี ส�านักงานเลขาธิการคุรุสภา ร่วมมือกับสถาบัน ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา คร้ังท่ี 3 ปี 2562 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า ทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) จัดท�า ผา่ นระบบ KSP School เนอื่ งจากครุ สุ ภา กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี บนั ทกึ ขอ้ ตกลงความรว่ มมอื การดา� เนนิ การจดั การทดสอบ เปลี่ยนระบบการต่อใบอนุญาตประกอบ เสดจ็ พระราชทานรางวลั สมเดจ็ เจา้ ฟา้ มหาจกั ร ี ครง้ั ท ี่ 3 เพ่ือขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ณ ห้องประชุม วิชาชีพของสถานศึกษาและหน่วยงาน ปี 2562 เพื่อเชิดชูเกียรติครูดีเด่นในอาเซียน และ ไทยาจารย์ ชั้น 3 อาคาร 2 ส�านักงานเลขาธิการคุรุสภา การศกึ ษา จากระบบ KSP Renew เปน็ ระบบ ตมิ อร ์ - เลสเต 11 ประเทศ ณ โรงแรมเซน็ ทาราแกรนด์ โดยม ี ดร.วฒั นาพร ระงบั ทกุ ขเ์ ลขาธกิ ารครุ สุ ภา และผชู้ ว่ ย KSP School เพอ่ื ความสะดวกรวดเรว็ และบางกอกคอนเวนช่ันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ ศาสตราจารย์ ดร.ศิริดา บุรชาติ ผู้อ�านวยการสถาบัน กรงุ เทพฯ ทดสอบทางการศกึ ษาแหง่ ชาต ิ (องคก์ ารมหาชน) รว่ มลงนาม บันทกึ ข้อตกลงความร่วมมอื

คณะผู้บริหาร และพนักงานเจ้าหน้าท่ีส�านักงาน พิธีรับมอบหมวกและผ้าพันคอพระราชทานในโครงการ งานวันครูคร้ังท่ี 64 พ.ศ. 2563 ลขาธิการคุรุสภา มอบส่ือการเรียน การสอน จติ อาสา “เราทา� ความดี ดว้ ยหัวใจ” ของผู้บรหิ ารและพนักงาน ณ หอประชุมครุ สุ ภา มี พลเอก ประยทุ ธ ์ ปกรณ์การเรียน ชุดนักเรียน ตามโครงการคุรุสภา เจา้ หนา้ ทสี่ า� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา มผี แู้ ทนจากศนู ยอ์ า� นวยการ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธาน วมใจ…สานสายใยสู่สังคม ครั้งท่ี 3 ปี 2562 ใหญ่ จิตอาสาพระราชทาน ซักซ้อมและแนะน�าการแต่งกาย โ ด ย ก� า ห น ด จั ด ทั้ ง ส ่ ว น ก ล า ง แ ล ะ ณ โรงเรียนบ้านปรางคล้า อ�าเภอปากช่อง จังหวัด การปฏบิ ตั ติ น และเขา้ รว่ มกจิ กรรมของจติ อาสา ม ี ดร.วฒั นาพร ส่วนภูมิภาค ก�าหนดแก่นสาระ (Theme) ครราชสีมา เพอื่ สง่ เสรมิ และเพิม่ โอกาสในการเรียนรู้ ระงบั ทกุ ข ์ เลขาธกิ ารครุ สุ ภาเปน็ ประธาน ณ หอ้ งประชมุ บณุ ยเกต ุ วา่ “โลกกา้ วไกล ครไู ทยกา้ วทนั สรา้ งสรรค์ องเด็กและเยาวชน เตรียมพร้อมเป็นพลเมืองที่ดี หอประชมุ คุรสุ ภา ส�านกั งานเลขาธิการครุ สุ ภา คุณภาพเด็กไทย” เพ่ือระลึกถึงพระคุณ คุณภาพในอนาคต บูรพาจารย์ เพื่อยกย่องเชิดชูเกียติและ ประกาศใช้ข้อบังคับคุรุสภา พฒั นาวชิ าชีพครู วา่ ดว้ ยใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี (ฉบับที ่ 2) พ.ศ. 2562 น 8 พฤศจิกายน 9 พฤศจกิ ายน 26 พฤศจกิ ายน 18 ธันวาคม 7 มกราคม 16 มกราคม 2562 2562 2562 2562 2563 2563 งานวัน “ทวี บุณยเกตุ” จัดโดยมูลนิธิ พิธีถวายผ้าพระกฐินพระราชทาน มอบดอกกล้วยไม้ ดอกไม้ประจ�าวันครู และซีดีเพลง บุณยเกต ุ ส�านกั งานคณะกรรมการ สกสค. และ ประจา� ป ี 2562 ของสา� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา “เทิดเกียรติคุณครู” ให้แก่ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ส�านักงานเลขาธิการคุรุสภา มี นายวราวชิ กา� ภ ู มี ด ร . คุ ณ ห ญิ ง กั ล ย า โ ส ภ ณ พ นิ ช นายกรฐั มนตร ี และคณะรฐั มนตร ี โดยม ี นายณฏั ฐพล ทปี สวุ รรณ ณ อยุธยา ท่ีปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวง รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และ ดร.วัฒนาพร ศึกษาธิการ เป็นประธาน ณ หอประชุมคุรุสภา เปน็ ประธานในพธิ ีิ ม ี ดร.วฒั นาพร ระงบั ทกุ ข์ ระงบั ทกุ ข ์ เลขาธกิ ารครุ สุ ภา พรอ้ มคณะผบู้ รหิ ารสา� นกั งาน สา� นักงานเลขาธกิ ารครุ ุสภา เลขาธกิ ารครุ สุ ภา คณะผบู้ รหิ ารและพนกั งาน เลขาธิการคุรุสภา คณะนักเรียน นักศึกษา พร้อมศิลปิน เ จ ้ า ห น ้ า ท่ี ส� า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า ดารา ร่วมกิจกรรม ณ ท�าเนียบรัฐบาล ก่อนการประชุม ผู้บริหาร ข้าราชการ และบุคลากรทางด้าน คณะรัฐมนตรี การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร หวั หนา้ สว่ นราชการ สว่ นราชการในจงั หวดั นครราชสมี า นักเรียน และประชาชนทั่วไป ร่วมพิธี ณ วดั วชริ าลงกรณวราราม (ธ) พระอาราม หลวง ต�าบลหนองน�้าแดง อ�าเภอปากช่อง จังหวดั นครราชสีมา

ปี 2562ผลงานเดน่ 2375 ปี สำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ ุสภา

งานมาตรฐานวิชาชีพ “ยกระดับสมรรถนะครู สู่คุณภาพผ้เู รียนในยุค Digital” ด้วยบริบทสังคมท้ังในประเทศและสังคมโลกในปัจจุบัน เทคโนโลยีดิจิทัลมีบทบาทส�ำคัญ ในการด�ำรงชีวิตของคนในสังคมเป็นอย่างมาก ท้ังด้านเศรษฐกิจ การเงิน การธนาคาร อุตสากรรม ด้านต่าง ๆ รวมทั้งด้านการจัดการศึกษา ผู้เรียนสามารถเข้าถึงและเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง อย่างรวดเรว็ กวา้ งขวาง และไรข้ ดี จำ� กดั ดังน้ัน ผปู้ ระกอบวชิ าชีพครจู งึ ต้องปรบั เปลย่ี นตนเองโดยเร็ว เพอ่ื ใหเ้ ทา่ ทนั ความเปลยี่ นแปลงดงั กลา่ ว และใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ ในการพฒั นา ตนเองและพัฒนางานในวิชาชีพของตนเอง งานเดน่ ในรอบปี 2562 พัฒนามาตรฐานวิชาชีพ และขบั เคลอื่ นการผลิตครสู มรรถนะสงู สำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา ในฐานะเปน็ หนว่ ยงานทม่ี หี นา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบเกย่ี วกบั การดำ� เนนิ งาน ตามวัตถุประสงค์และอ�ำนาจหน้าท่ีของคุรุสภา โดยเฉพาะอย่างย่ิงการก�ำหนดมาตรฐานวิชาชีพ ทางการศึกษาเพ่ือเป็นเครื่องมือในการคัดกรองและก�ำกับดูแลให้ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา มีความรู้ความสามารถในการประกอบวิชาชีพ และมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ตามมาตรฐานวิชาชีพ ทคี่ รุ สุ ภากำ� หนด เพอ่ื สรา้ งความเชอื่ มน่ั ใหก้ บั ผรู้ บั บรกิ ารทางการศกึ ษาและสงั คมวา่ ผไู้ ดร้ บั ใบอนญุ าต ประกอบวชิ าชพี เปน็ ผมู้ คี วามรคู้ วามสามารถ และมจี ติ วญิ ญาณความเปน็ ครอู ยา่ งแทจ้ รงิ จงึ ดำ� เนนิ การ พัฒนามาตรฐานวิชาชีพ และกระบวนการคัดกรองบุคคลเข้าสู่วิชาชีพ เพื่อให้ได้บุคคลที่มีสมรรถนะ ตามมาตรฐานวชิ าชพี ทค่ี ุรสุ ภาก�ำหนด 1. ปรับปรุงแก้ไขข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556 ออกเป็นข้อบังคับ ครุ สุ ภา วา่ ดว้ ยมาตรฐานวชิ าชพี (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ. 2562 โดยปรบั ปรงุ มาตรฐานความรแู้ ละประสบการณ์ วิชาชีพ และมาตรฐานการปฏิบัติงานของครู ให้มีสมรรถนะที่สอดคล้องกับความเปล่ียนแปลง ดา้ นเทคโนโลยีดิจทิ ลั และทักษะที่จำ� เปน็ ในศตวรรษที่ 21 2. ยกระดับการคัดกรองบุคคลเข้าสู่วิชาชีพครู โดยก�ำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการขอรับ ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ผู้ขอรับใบอนุญาตจะต้องผ่านการทดสอบและประเมินสมรรถนะ ทางวิชาชีพตามมาตรฐานวิชาชีพที่คุรุสภาก�ำหนด เพื่อให้ได้ครูท่ีมีจิตวิญญาณความเป็นครูและ มีความรคู้ วามสามารถอยา่ งแทจ้ ริง เตรียมการทดสอบเพื่อขอรบั ใบอนญุ าตประกอบวิชาชพี ครู ส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภาได้ด�ำเนินการพัฒนาแนวทางการทดสอบเพ่ือขอรับใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพครูให้มีความชัดเจน และก�ำหนดมวลสาระการทดสอบและประเมินสมรรถนะ ตามมาตรฐานวชิ าชพี ครู โดยคณะอนกุ รรมการพฒั นาแนวทางการทดสอบ ฯ ซงึ่ มศี าสตราจารยศ์ ริ ชิ ยั 24 75 ปี ส�ำนกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา

กาญจนวาสี เปน็ ประธานอนกุ รรมการ และผทู้ รงคณุ วฒุ ทิ ม่ี คี วามรแู้ ละประสบการณส์ งู ในดา้ นการศกึ ษา การวดั และประเมนิ ผล และการบรหิ ารจดั การทดสอบ รว่ มเปน็ คณะอนกุ รรมการ ซงึ่ คณะอนกุ รรมการ ดังกล่าว ได้พัฒนาแนวทางการทดสอบ ฯ เสนอต่อคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพเพื่อพิจารณา ใหค้ วามเหน็ ชอบ เมอ่ื วนั ที่ 7 มถิ นุ ายน 2562 และเสนอตอ่ คณะกรรมการครุ สุ ภาเพอ่ื พจิ ารณา เมอื่ วนั ที่ 29 สงิ หาคม 2562 ซ่ึงมีมติเห็นชอบแนวทางการทดสอบ ฯ และการก�ำหนดมวลสาระการทดสอบ ฯ ที่ได้ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ โดยการทดสอบและประเมินสมรรถนะ ทางวิชาชพี ครู มีองคป์ ระกอบ 2 สว่ น ประกอบดว้ ย 1. ความรู้และประสบการณ์วชิ าชีพ ตามมาตรฐานวิชาชพี ครู ไดแ้ ก่ (1) การใชภ้ าษาไทย ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอื่ สาร และการใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพอื่ การศกึ ษา (2) วชิ าชีพครู (3) วชิ าเอก (ตามกลมุ่ วชิ าทกี่ ำ� หนดในมาตรฐานคณุ วฒุ ิ ระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาครศุ าสตร์ ศึกษาศาสตร์ และครุศาสตร์อุตสาหกรรม) 2. การปฏิบตั ิงานและการปฏิบัติตน ตามมาตรฐานวชิ าชพี ครู ได้แก่ (1) การจัดการเรยี นรู้ (2) ความสัมพันธก์ ับผ้ปู กครองและชุมชน (3) การปฏบิ ัติหน้าที่ครู และจรรยาบรรณของวิชาชพี การด�ำเนินการทดสอบ ฯ จะเริ่มด�ำเนินการครั้งแรก ในปี พ.ศ. 2563 ส�ำหรับผู้มีคุณวุฒิ ปรญิ ญาทางการศกึ ษา หรอื เทยี บเทา่ หรอื คณุ วฒุ อิ นื่ ทคี่ รุ สุ ภารบั รอง ตามเงอ่ื นไขทก่ี ำ� หนดในขอ้ บงั คบั คุรุสภา ว่าด้วยใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 ซ่ึงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เม่ือวนั ท่ี 26 พฤศจิกายน 2562 โดยขอ้ บงั คบั ดงั กลา่ ว ขอ้ 3 ขอ้ 4 และข้อ 5 ก�ำหนดใหผ้ ูต้ ้องการ ประกอบวิชาชีพครูท้ังชาวไทย และชาวต่างประเทศ ต้องผ่านการทดสอบและประเมินสมรรถนะ ทางวชิ าชพี ครู ตามหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารที่คณะกรรมการคุรุสภาก�ำหนด ทัง้ นี้ จะเปิดโอกาสใหน้ สิ ติ นักศึกษาท่ีเข้าศึกษาในหลักสูตรปริญญาโททางการศึกษา (วิชาชีพครู) และประกาศนียบัตรบัณฑิต วิชาชีพครู ในปีการศึกษา 2562 ที่อยู่ระหว่างศึกษาในหลักสูตรดังกล่าว สามารถสมัครเข้ารับ การทดสอบ ฯ ในปี พ.ศ. 2563 ได้ ซงึ่ การดำ� เนนิ การทดสอบ ฯ ดำ� เนนิ การโดยคณะอนกุ รรมการอำ� นวยการ ทดสอบ เพื่อขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ที่คณะกรรมการคุรุสภาแต่งตั้งเม่ือวันท่ี 11 พฤศจกิ ายน 2562 ให้มีอำ� นาจหนา้ ท่กี ำ� หนดนโยบายและแนวทางการสรา้ งข้อสอบวดั สมรรถนะ ดา้ นความรภู้ าคทฤษฎแี ละความรทู้ เ่ี กดิ จากการปฏบิ ตั งิ าน การจดั ทำ� คลงั ขอ้ สอบ และสรา้ งเครอื่ งมอื ประเมินสมรรถนะด้านการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตน อ�ำนวยการจัดการทดสอบและประเมิน สมรรถนะวิชาชีพครู ก�ำกับ ติดตาม และประเมินผลการด�ำเนินการทดสอบและประเมินสมรรถนะ วชิ าชพี ครู เพอ่ื การออกใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ครู และรายงานผลการดำ� เนนิ งานตอ่ คณะกรรมการ คุรสุ ภา 2575 ปี ส�ำนกั งานเลขาธิการครุ ุสภา

การรับรองปรญิ ญาและประกาศนยี บัตรทางการศึกษา กระบวนการรับรองปริญญาและประกาศนียบัตรทางการศึกษา เป็นการด�ำเนินงานเพื่อให้ ผู้ส�ำเร็จการศึกษาสามารถใช้คุณวุฒิจากปริญญาหรือประกาศนียบัตรท่ีคุรุสภารับรอง เป็นคุณวุฒิ ในการขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา หรือ ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา ทั้งนี้ เพื่อเป็นการประกันคุณภาพผู้ส�ำเร็จการศึกษา จากปริญญาหรือประกาศนียบัตรท่ีคุรุสภารับรองว่าเป็นผู้ท่ีมีความรู้และประสบการณ์เพียงพอท่ีจะ ประกอบวชิ าชพี ไดแ้ ละมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานทก่ี ำ� หนด รวมทง้ั เพอื่ สรา้ งความเชอื่ มนั่ ในคณุ ภาพของ ผ้ปู ระกอบวิชาชีพให้กับผรู้ บั บริการทางการศึกษาและสงั คม การด�ำเนินงานรับรองปริญญาหรือประกาศนียบัตรทางการศึกษาตามมาตรฐานวิชาชีพ พจิ ารณาจากหลกั เกณฑ์ 3 ดา้ น คอื (1) มาตรฐานหลักสูตร (2) มาตรฐานการผลิต และ (3) มาตรฐาน บัณฑิต โดยในรอบปี 2562 มีจ�ำนวนสถาบันและหลักสูตรท่ีได้รับการรับรองปริญญาและ ประกาศนยี บตั รทางการศกึ ษา ดงั นี้ จ�ำนวนสถาบนั ปรญิ ญาโททางกาจรำ�บนรวหิ นาร2ก8าสรศถกึาบษันา ปจ�ำรนญิ วญน 9าเอสกถทาบางันการบรหิ ารการศกึ ษา ปรญิ ญจา�ำโนทวทนาง1ก0าสรศถึกาบษันา ประกาศนยี บตัจร�ำนบณัวนฑ4ติ 8วชิ สาถชพีาบคนัรู จำ� นวนหลกั สูตร ปจ�ำรนญิ วญน 8าต9รสที ถาางบกันารศึกษา (หลกั สตู ร 5 ป)ี ปรญิ ญาโททางกจาำ� รนบวรนิหา2ร9กหาลรกัศสึกูตษรา ปรญิ ญาโททางกจาำ� รนศวกึ นษา12(วหชิ าลชกั พี สคตู รร)ู จป�ำรนิญวญน 1าเ0อกหทลักางสกตู ารรบริหารการศึกษา จป�ำรนิญวญน 4าต12รที หาลงกักสาตูรศรึกษา (หลกั สูตร 5 ป)ี ประกาศนียบจัตำ� รนบวณั นฑ4ิต9วหิชลาชักีพสตูครรู 26 75 ปี สำ� นกั งานเลขาธกิ ารคุรุสภา

งานกำ� หนดระดบั คณุ ภาพของมาตรฐานในการประกอบวชิ าชีพครู คุรุสภาได้มีการปรับมาตรฐานวิชาชีพครูใหม่ โดยยึดหลักการก�ำหนดมาตรฐานในรูป สมรรถนะวิชาชีพตามข้อเสนอเชิงนโยบายของคณะกรรมาธิการการศึกษาและการกีฬา สภานิตบิ ัญญตั แิ ห่งชาติ (สนช.) และประกาศใช้ขอ้ บงั คบั คุรสุ ภา ว่าด้วยมาตรฐานวชิ าชีพ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562 เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรา 49 แหง่ พระราชบญั ญตั สิ ภาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2546 ที่ก�ำหนดให้มีการประเมินระดับคุณภาพของผู้รับใบอนุญาตอย่างต่อเนื่อง เพ่ือด�ำรงไว้ซ่ึงความรู้ ความสามารถและความชำ� นาญการ ตามระดบั คณุ ภาพของมาตรฐานในการประกอบวชิ าชพี ตามหลกั เกณฑ์ และวิธกี ารท่คี ุรสุ ภาก�ำหนด ส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภาได้ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับ ความเป็นมา ระดับคุณภาพของครู (NTQ : National Teacher Qualification) พ.ศ. 2541 แนวคดิ ทเี่ กยี่ วกบั การพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์ การประเมนิ สมรรถนะ กรอบการประเมนิ สมรรถนะของสภาวชิ าชพี ตา่ ง ๆ ในประเทศไทย กรอบการประเมนิ สมรรถนะวิชาชีพครูของต่างประเทศ ได้แก่ ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย พม่า ออสเตรเลีย อังกฤษ สหรัฐอเมริกา ชิลี และญี่ปนุ่ แล้วไดน้ �ำขอ้ มลู ดงั กล่าวมาวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ และน�ำไปประยกุ ตใ์ ช้ ในการดำ� เนนิ การจดั ทำ� กรอบแนวคดิ และ (รา่ ง) ระดบั คณุ ภาพของมาตรฐานในการประกอบวชิ าชพี ครู จากนั้นได้มีการจัดประชุมผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อพิจารณากรอบแนวคิด และ (ร่าง) ระดับคุณภาพของ มาตรฐานในการประกอบวิชาชีพครู เมื่อเดือนพฤษภาคม 2562 โดยองค์ประกอบในแต่ละระดับ คุณภาพพิจารณาครอบคลุมในเรื่องคุณลักษณะ วิธีการท�ำงานและเป้าหมายการพัฒนา ซ่ึงเป็นการ พิจารณาแบบองคร์ วม (Holistic) งานในอนาคต 1. การพัฒนามาตรฐานวิชาชพี ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บรหิ ารการศึกษา และศกึ ษานิเทศก์ 2. การทดสอบเพอ่ื รบั ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ครู ดว้ ยระบบ e-Testing และการเชอื่ มโยง การใช้ผลการทดสอบระหว่างคุรุสภา และหน่วยงานวัดประเมินผลด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ การทดสอบเพ่ือรับใบอนญุ าตประกอบวชิ าชีพครขู องครุ ุสภา 3. การก�ำหนดระดับคุณภาพมาตรฐานการปฏิบัติงานของผู้ประกอบวิชาชีพครู รวมถึง จดั ท�ำเครื่องมือและคู่มือการประเมนิ ระดบั คุณภาพ ฯ 4. การพัฒนาหลักเกณฑ์และวิธีการรับรองปริญญา และประกาศนียบัตรทางการศึกษา เพอ่ื การประกอบวชิ าชพี ใหส้ อดคลอ้ งกบั บรบิ ทสงั คม บรบิ ทโลกทเี่ ปลยี่ นไป และสอดคลอ้ งกบั การดำ� เนนิ งาน ในยคุ Digital 2775 ปี ส�ำนกั งานเลขาธกิ ารคุรสุ ภา

งานใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา “ถูกตอ้ ง โปรง่ ใส ดว้ ยหัวใจบรกิ าร” ส�ำนกั งานเลขาธกิ ารคุรสุ ภา โดยสำ� นักทะเบียนและใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพ ด�ำเนนิ งาน ตามภารกิจของคุรุสภาในดา้ นใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา ตามทีค่ ณะกรรมการครุ สุ ภา คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพมอบหมาย มีหน้าท่ีความรับผิดชอบเก่ียวกับการเสนอแผนและ แนวทางในการจดั ระบบงานใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา การออกและตอ่ อายใุ บอนญุ าต และดำ� เนนิ การอนุญาตใหป้ ระกอบวิชาชพี ในกรณอี นื่ ๆ การจดั ท�ำและดแู ลรกั ษาทะเบียนใบอนุญาต และทะเบยี นสมาชกิ จดั ทำ� ขอ้ มลู สารสนเทศและตรวจสอบรบั รองขอ้ มลู ผไู้ ดร้ บั ใบอนญุ าตจากครุ สุ ภา งานเด่นในรอบปี 2562 ในปี 2562 สำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา ไดด้ ำ� เนนิ งานดา้ นใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ที่โดดเด่นจากปที ีผ่ า่ นมา ดงั นี้ งานให้บริการ 1) รบั แบบคำ� ขอขนึ้ ทะเบยี นรบั ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ครชู าวไทยและชาวตา่ งประเทศ ที่มายื่นด้วยตนเอง ณ จุดบริการส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา ยื่นผ่านทางไปรษณีย์ และในระบบ Ksp Bundit จำ� นวน 49,334 ราย 2) ตรวจสอบคุณสมบัติผู้ขอขึ้นทะเบียนรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูชาวไทยและ ชาวตา่ งประเทศเพอ่ื นำ� เสนอคณะอนกุ รรมการกลนั่ กรองการออกและตอ่ อายใุ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา และเสนอคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบและอนุมัติ การออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา และน�ำเสนอคณะกรรมการคุรุสภาเพ่ือทราบ จ�ำนวน 48,750 ราย 3) รบั แบบคำ� ขอตอ่ อายใุ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ครชู าวไทยและชาวตา่ งประเทศทม่ี ายนื่ ณ จดุ บริการส�ำนักงานเลขาธิการครุ สุ ภาและสง่ มาทางไปรษณีย์ จำ� นวน 121,200 ราย 4) ตรวจสอบคุณสมบัติผู้ขอต่อใบอนุญาตประกอบวิชาชีพท่ีมาย่ืนเอกสาร ณ จุดบริการ สำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา ทางไปรษณยี ์ และระบบ e-Service เพอื่ นำ� เสนอคณะอนกุ รรมการกลนั่ กรอง เร่ืองการออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ และ คณะกรรมการครุ สุ ภา จ�ำนวน 190,099 ราย 5) ออกใบแทนใบอนุญาตกรณีช�ำรุด สญู หาย จ�ำนวน 7,981 ราย 6) ออกใบอนุญาตปฏิบัติการสอนให้แก่ผู้ที่ผ่านการรับรองความรู้ตามมาตรฐานวิชาชีพครู ทค่ี รุ สุ ภากำ� หนดดว้ ยวธิ กี าร เทยี บโอน ทดสอบ หรอื ฝกึ อบรม เพอื่ ใหใ้ ชเ้ ปน็ หลกั ฐานในการประกอบวชิ าชพี ครู ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งตามกฎหมาย จำ� นวน 1,587 ราย 28 75 ปี ส�ำนกั งานเลขาธิการคุรสุ ภา

7) ออกหนังสืออนุญาตให้ประกอบวิชาชีพโดยไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพช่ัวคราว ให้แก่ครูชาวไทยและชาวต่างประเทศ และผู้บริหารสถานศึกษา กรณีสถานศึกษามีความจ�ำเป็น ต้องรับบุคคลท่ียังไม่มีคุณสมบัติในการขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูหรือผู้บริหารสถานศึกษา จ�ำนวน 21,602 ราย งานคืนเงนิ ให้แกผ่ ูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา 1) กรณขี าดคุณสมบตั ิ ช�ำระเงินผิดประเภท จำ� นวน 1,600 ราย 2) บรหิ ารจดั การฐานขอ้ มลู การขอคนื เงนิ คา่ ธรรมเนยี มใบอนญุ าต 500 บาท ตามประกาศ สำ� นกั งานเลขาธกิ ารคุรุสภา วนั ที่ 7 มีนาคม 2562 จ�ำนวน 114,191 ราย โดยดำ� เนินการ (1) จัดเก็บ รวบรวม จ�ำแนกจัดหมวดหมู่ การขอคืนเงินค่าธรรมเนียมใบอนุญาต ฯ (2) บันทึกข้อมูลในระบบ การขอคนื เงนิ คา่ ธรรมเนยี มใบอนญุ าต (3) บนั ทกึ ขอ้ มลู ในระบบรบั - สง่ เอกสารงานใบอนญุ าต (4) บนั ทกึ การขอคืนเงินคา่ ธรรมเนยี ม กรณีมีใบเสร็จรบั เงิน งานทะเบียนใบอนญุ าตและบัตรสมาชิกคุรุสภา 1) บริหารจดั การเอกสารใบอนญุ าต ฯ ตกี ลบั จำ� นวน 745 ราย 2) เปลย่ี นแปลงแกไ้ ขขอ้ มูลทางทะเบยี น จำ� นวน 1,114 ราย 3) รบั ส่ง - เอกสารแบบคำ� ขอและเอกสารอืน่ ที่เกยี่ วขอ้ งกบั งาน ใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพ จำ� นวน 68,505 ราย 4) จดั พมิ พ์ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี และบตั รสมาชิกคุรุสภา จำ� นวน 246,830 ราย พฒั นาการให้บริการ 1) ปรับปรุงและพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริการงานใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ทางการศกึ ษาเพอื่ อำ� นวยความสะดวก ลดขนั้ ตอนกระบวนงาน ลดสำ� เนาเอกสาร มงุ่ สคู่ วามเปน็ ผนู้ ำ� ทางดา้ นการบริการด้วยระบบที่สามารถเช่ือมโยงบูรณาการข้อมูลกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องทั้งภายใน และภายนอก ให้มีความสะดวก รวดเร็ว โดยการน�ำระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ (e-Service) มาใช้ ในการให้บรกิ ารอยา่ งเต็มรปู แบบ 2) ปรับปรุงและพัฒนารูปแบบหนังสืออนุญาตให้ประกอบวิชาชีพโดยไม่มีใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพเป็นการชั่วคราวเป็นแบบดิจิทัลเพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้กับสถานศึกษา สามารถดาวน์โหลดไฟล์ข้อมูลและพิมพ์หนังสืออนุญาตให้ประกอบวิชาชีพโดยไม่มีใบอนุญาต ประกอบวชิ าชีพเปน็ การชั่วคราวดจิ ิทลั ให้กบั ผยู้ ่นื ค�ำขอได้จากเวบ็ ไซตค์ ุรุสภา 3) พัฒนาระบบบริการงานใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษาโดยการกระจายงาน ไปยังจุดบริการงานคุรุสภาในส�ำนักงานศึกษาธิการจังหวัด จ�ำนวน 76 จังหวัด ใน 4 งานบริการ ดังน้ี (1) งานขึ้นทะเบียนรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ (2) งานต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ (3) งานใบแทนใบอนญุ าต และ (4) งานใบอนุญาตปฏบิ ัตกิ ารสอน 2975 ปี สำ� นกั งานเลขาธกิ ารคุรสุ ภา

4) จัดระบบการติดต่อสื่อสารงานใบอนุญาตประกอบวิชาชีพให้มีประสิทธิภาพ โดยจัด ใหม้ เี จา้ หนา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบตอบคำ� ถามในแตล่ ะชอ่ งทาง ดงั น้ี (1) ระบบตอบรบั อตั โนมตั ิ (Call Center) (2) จัดต้ังกลุ่มไลน์เพ่ือใช้ในการติดต่อสื่อสารระหว่างพนักงานเจ้าหน้าท่ีส�ำนักทะเบียนใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพกับพนักงานเจ้าหน้าท่ีคุรุสภาในส�ำนักงานศึกษาธิการจังหวัด และ (3) ตอบค�ำถาม ผ่านสอ่ื สังคมออนไลนท์ ุกชอ่ งทาง 5) ก�ำหนดรูปแบบผลงานวิชาการของศึกษานิเทศก์ในการขอขึ้นทะเบียนรับใบอนุญาต ประกอบวชิ าชีพศกึ ษานเิ ทศก์ 6) จัดท�ำคู่มือการใช้งานระบบบริการสถานศึกษา (Ksp School) การขอหนังสืออนุญาต ประกอบวิชาชีพเปน็ การช่วั คราวครูชาวไทยและครูชาวตา่ งประเทศ 7) แกไ้ ขข้อบงั คบั ครุ สุ ภาวา่ ดว้ ยใบอนุญาตประกอบวิชาชพี (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2562 งานในอนาคต 1. พัฒนาการให้บริการเป็นระบบบริการดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ตั้งแต่กระบวนการ ยื่นค�ำขอ การตรวจสอบคุณสมบัติ การช�ำระเงิน การน�ำเสนอคณะอนุกรรมการกล่ันกรองการออก และต่ออายุใบอนุญาตทางการศึกษา คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ และคณะกรรมการคุรุสภา รวมถึงกระบวนการพมิ พใ์ บอนญุ าต ฯ 2. ปรับปรุงและพัฒนารูปแบบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา และรูปแบบ หนงั สอื อนญุ าตใหป้ ระกอบวชิ าชพี โดยไมม่ ใี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี เปน็ การชวั่ คราวเปน็ แบบดจิ ทิ ลั ท้ังระบบ 3. ปรบั ปรงุ และพฒั นารปู แบบการบนั ทกึ กจิ กรรมการตอ่ อายใุ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ใหอ้ ยใู่ นรปู แบบการบนั ทกึ กจิ กรรมการตอ่ อายใุ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ดจิ ทิ ลั ดว้ ยระบบทสี่ ามารถ เชอื่ มโยงและบรู ณาการข้อมูลกบั หนว่ ยพฒั นาเพ่อื ใชป้ ระโยชนข์ อ้ มูลรว่ มกนั ได้ 4. ตรวจสอบตดิ ตามการมใี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี เพอื่ เปน็ ขอ้ มลู ในการสรา้ งการรบั รู้ และพัฒนางานใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี 5. ปรบั ปรงุ ขอ้ กฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั งานใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ใหม้ คี วามทนั สมยั และเหมาะสมกับบริบทปัจจบุ นั 6. พัฒนาคู่มือการใช้งานระบบบริการสถานศึกษา (Ksp School) และการขอหนังสือ อนุญาตประกอบวิชาชพี เป็นการช่วั คราว ครูชาวไทยและครชู าวต่างประเทศ 30 75 ปี สำ� นักงานเลขาธกิ ารครุ ุสภา

งานสง่ เสริม พัฒนา และผดงุ เกียรตวิ ิชาชพี “ส่งเสรมิ ยกย่อง และผดงุ เกียรติผปู้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ให้มีคุณภาพอย่างตอ่ เนอ่ื งไปสคู่ วามเปน็ เลิศ คอื หวั ใจของการพฒั นาวชิ าชีพ” การพฒั นาวชิ าชพี ทางการศกึ ษา เปน็ หนงึ่ ในวตั ถปุ ระสงคข์ องการจดั ตงั้ ครุ สุ ภา ตามพระราชบญั ญตั ิ สภาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2546 มาตรา 8 (1) ทีใ่ ห้คุรสุ ภาก�ำหนดมาตรฐานวิชาชพี ออกและเพกิ ถอนใบอนญุ าต กำ� กบั ดแู ลการปฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานวชิ าชพี และจรรยาบรรณของวชิ าชพี รวมทง้ั การพฒั นาวชิ าชพี มาตรา 8 (2) ใหค้ รุ สุ ภากำ� หนดนโยบาย และแผนพฒั นาวชิ าชพี และใหค้ รุ สุ ภา มีอ�ำนาจหนา้ ท่ตี ามมาตรา 9 (5) และ (6) สนบั สนนุ สง่ เสริมและพฒั นาวชิ าชีพตามมาตรฐานวชิ าชพี และจรรยาบรรณของวชิ าชพี และ สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ยกยอ่ ง และผดงุ เกยี รตผิ ปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา งานเดน่ ในรอบปี 2562 งานส่งเสริม และพัฒนาวิชาชพี การพฒั นาวชิ าชพี ทางการศกึ ษา เปน็ กระบวนการเรยี นรขู้ องผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา อยา่ งตอ่ เนอ่ื งในชว่ งทด่ี ำ� รงวชิ าชพี เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความมน่ั ใจวา่ ครู ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ผบู้ รหิ ารการศกึ ษา และศึกษานิเทศก์ จะมีความรู้ ทักษะ และสมรรถนะที่จ�ำเป็นส�ำหรับการปฏิบัติการสอนและ การปฏิบัติงานท่ามกลางการเปล่ืยนแปลงของสังคม เศรษฐกิจ และเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว ท่มี ผี ลกระทบต่อการเรียนรแู้ ละการสอน ในปีที่ผ่านมา ส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา พัฒนาวิชาชีพทางการศึกษาผ่านการจัดประชุม ทางวิชาการของคุรุสภา การส่งเสริมให้ครูและสถานศึกษาได้มีการคิดค้นผลงานวิจัย และนวัตกรรม สถานศกึ ษา ทเ่ี หมาะสมกบั บรบิ ทและความตอ้ งการอยา่ งแทจ้ รงิ อกี ทง้ั การสง่ เสรมิ ใหผ้ ปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษามกี ารรวมตวั กนั พฒั นาวชิ าชพี ดว้ ยการใชก้ ระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชพี การประชมุ ทางวชิ าการของครุ สุ ภา ประจำ� ปี 2562 หวั ขอ้ “ครแู หง่ อนาคตเพอ่ื ผเู้ รยี นแหง่ อนาคต” สำ� นักงานเลขาธิการคุรุสภา สร้างความร่วมมอื เปน็ เจา้ ภาพร่วมกับหน่วยงานทางการศกึ ษา และหน่วยงานท่ีมีภารกิจส่งเสริม สนับสนุนด้านการศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน รวม 16 แห่ง จดั ประชมุ ทางวชิ าการของครุ สุ ภา ประจำ� ปี 2562 ภายใตห้ วั ขอ้ “ครแู หง่ อนาคตเพอ่ื ผเู้ รยี นแหง่ อนาคต : Future Teachers for Future Learners” ระหว่างวนั ที่ 16 - 18 สงิ หาคม 2562 ณ ศูนย์ประชมุ วายุภักษ์ โรงแรมเซ็นทรา บายเซ็นทารา ศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร โดยไดร้ ับเกยี รตจิ าก นายณฏั ฐพล ทีปสุวรรณ รฐั มนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เป็นประธานในพิธีเปิดการประชุมการปาฐกถาพิเศษ และมอบรางวัลผลงานวิจัย ประจ�ำปี 2562 “ระดับภูมิภาค” ผู้เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วย ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา คณาจารย์ นิสิต นักศึกษา และผู้สนใจ จ�ำนวนทั้งส้ิน 4,743 คน โดยมีการถ่ายทอดสดกิจกรรมภายในงาน ผ่านทาง เว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต http://sdib.dusit.ac.th/ และเฟซบุ๊กแฟนเพจคุรุสภา www.facebook.com/Khurusaphaofficial/ 3175 ปี สำ� นกั งานเลขาธกิ ารคุรสุ ภา

กแใรนวิจลรกใแมอนกวะิจลนมอรนก7ะำนรรวน07คมำรัตวต0คกมชกัตตำกั่แวชรกรำโลร่ัแวแมระมโลรลงแมกสะมกลงคำกถสเกรลคำปำถพเรินลนลปำพัฒิกน่ีนศยลัฒในิกนึกี่ศยบใำนษนเึกอบรวผส เำพษเำนียิอชำู�้ปรวอื่ำหุนนญำียิชมรกชรุรนญำะำาำมบัีพชู้รกตรกำำกพคีพทู้อปตกำรฒกัท่ีกสบรปวกรแู ำนิะอจ่ีสว่ำรเลวราพกกิดชะอ่ำเว7อรพคาก่ิมดผชิ รช7บอ0ลคพเู้่ิามรมีพชวบ้อ0ลพูนยี ภพีผิชทงว้อนูนกากำลผิชกางใรยกชับกจนงิงำละใรีกพกชำับศองนบะรนาีพำตนศกรบวรแนวาตมาศนรลวแครกวรึวกนทรระลตาปมษษวรนทัระศรแแมทษาทนิทนัศะลลท้ังท่ีชิทน์รดะกแ2ก้ัุมงรก่ีเ้์ำดลป2ิจ1กศาทนร้ำะลริกจ1กศานกสยี่จพกรงำกนำถกำจฒัวรรำรเาำนิรชำมขรรวนนรยีนวามกอขิจาวนศนกววักงอำยิจรึกานชิห้รูังำย1กรษาทอหรนา1าชรทปอิศบน่ว1ทพีเพิศทบรเยร่ว่ีครทะม่ิทมเำงยร่ือิดรส่ีกพำงมำงเงื่อคอชอนนกูำงเงด้นิบชกงกนำกคคปแรริำกงดำควะลปศรฏลรำ้วำวบอ้จศึกระฏยิบมำวงัดจพึษกิบมนรัตกกัดนษัฒำ่วทรับัติกิจนสิทมำ่ศวัิศนกำกสิำทนมรรตำารหดำร์มือรวผรจหา้ศรรรือมลนจำับศจกรรกงกนำษับจำกำคาาานวนรทำำครนรรนวผนวรูแวี่รยว2จนิผลูลนแวิจก12ยั ลงลนะัยย24จำท๕งผะแ่อนำ�4ศำิ๕ผู้เลงนเนทรแวรู้เเะเวีชยาริจแหวื่อรนนงิีดยนิัยจหื่่องงกวชนัย1่างงัตูเร1กกศเียรกึรรรษอื่ มตางิ ปรปะรกะอกบอดบ้วดย้วยบบริษริัษทัทเชเฟชกฟราอรนอจัดนปนปริทะรเระทรเทศไกศทาไทรยผสยลำสงรำาวรนจววจแิจลแัยะลแผะลลผะิตลนิตวจัตำจกกำรัดกรัดมมสูมลถนูลานิธนิคธศิีคนึกีนั ษันแาหแมห่งเา่งอกเอเกซเวีซย่าียบ7บร0ิษริษผัทลัทไงมาไมโนคโครซรวซอมอฟทฟั้งทกท์ ิจ์ กรรม (ป(รปะรเะทเศทไศทไยท)ยจ) ำจกำัดกดั สถสำถบำกันบากรนั อำกบรำจรรมัดจเกัดชำงกิ รปำปฏรปัญบิ ตัญกิ ญำาภรำภวิจัฒำ�วิ นฒั นวน์ ก์ 2อก4งอเทรงอท่ืุนงุนเพรเวพอื่ มคื่อ7วค0ำวมชำวั่มเสโเมมสงมอคภอลภำนิ คำกิ คทใบทำองำนกงญุำกรำาศรตศึกปึกษระษำกำอแบลแวละชิ บะาบรชิษพรี ษิัทแทัลวะิสวนสิดทิ ดรรศการ อมอไมวไดว์ดจ์ ำจกำดักัด(T(rTarianiFnlFixli)xจข)�อำกงหัดนวม่ ยูลงนาิธนิคคีนวาันมแรหว่ ม่งมเออื เซจีำ�ยนบวนริษ5ัทแหไง่ มปโคระรกซออบฟดทว้ ์ย(ปบรรษิะเทั ทเศชไฟทรยอ)นปจร�ำะกเัดทศสไทถยาสบำ�ันรกวาจรแจลัดะผกลาติร กปากญั ราคญรัดคาภสัดิวรสฒัรผรนลผ์ กงลอางงนาทนวนุ ิจวเัยิจพขัยอื่ ขอคงวอผางมผู้ปเู้ปรสะมรกะออกภบอาคบวทชิวาชิางชากชพีารพีทศทากึ งาษกงาากแราศลระศกึ บกึษรษาิษาัท วสิ ดอมไวด์ จำ� กดั (TrainFlix) การคดั สรรผลงานวิจยั ของผปู้ ระกอบวิชาชพี ทางการศึกษา ทปคุณรำทคปะงุณรำสกเะงมมสำกเนิมบรมำคศินับตรกุณึกคศิำคัตกษุณึกรภริำคคษำบรำภรสัดคพำบถำ่งสสัด้พผวถผ่งรสนล้ผวลผรงนลเงผลปำรงเำนงลผ็ปนำนำวงนล็นไนวำจิปวงคเว ิไจนวปัยำจิิชปตดััยิจน็นวัยาสำตฯเัยิผจชวขรมำฯเลัยีพิรจ้ำขเมงผตกขัยรท้ำาเลำัตบอณกขรานกงมำงังบกอณาวาฑเกมผรจินำงกกฑ์ทาคเู้ปยัผรวณำกรั์ดท่ีทคปจิู้ปรรณศฑสยัม่ีัด่ีคปะรรึกรฑไ์ทคีะสักดะรดษรณุท์กี่กระสอกป้ผารำำก่ีกสบอลสรหศกรมำำะงบ่งวหันบไาศกเบผิชวมวนันบลไดตัคิำชนิ้ววงคิุดรคชจำค้ิจมารุสีรพชำจณุัยนบีผมุภสนีพำทขวลภถีผภำนวอิจทำว้งาลนำังวยนำงพจำงผนนเกเำงผำจขป๒ู้ปนกำวนลำ้าน็๒ร๔รจิำวงนรวะไศาัย๔รจิับ6นปวกนึศผกยัก6นตอว่ำึผ๒เกษาาบจิรน่ำรม๒เษ๖ำยั่ือวรนคเเ๖ำิชก6ื่กองฯัดปเาณกณ6งสปครตชเณฑรรฑะาีคพรณเร่ือมรฑท์จะ์แณทกะื่องเำปจ่ีล์แกาับกะงปำรงะลณใคกระกปนีไะใุรฑรกดา๒นีจไุสมรราท์ด้ร๒ำจ๕ภศศมกบัก่ี้รนำ๕๖ไึกากำับำ�รวนว๖ษหร๒ำำ้รนจจวคงารน๒ำำ��ำนวคังมดดนนปลันว้ีเัมดีผสวปวมรัลี้เีนู้ผสปรนโะปผี็นดรู้ปจโลร2็นผดยผ2ร�ำะง4รผลยแผป6าล6กะลนง6บแลีงกอเำ2งวรำบ่งงอบนเำจิ5อ่ืนอำรง่ บนยัว6วงน่ืออวิผิช2จววคองิกจวา่ิิชัจยำณิกัจเยมนใัชยปำทัเยนะไีผเชปีทพ็นกี่ดมกไูจ้ปีพ็นณี่ดม้ร�ำรร้ีนะฑมกวแ์กนอลาบนะรี้ ๒๒ระรดะบัดับคือคือ“ร“ะรดะบัดภบั ูมภภิูมำิภไดคำ้ร”คับ”แราลแงะลวะลั “ร“โดะรดยะแบัดบบัป่งปรอะรอเะกทเเทศป”ศน็ ”ด2งัดรนังะนี ดี ับ คอื “ระดบั ภมู ิภาค” และ “ระดับประเทศ” ดงั น้ี ผลผงลางนานววิจิจัยยัขขอองงคคุรรุสสุ ภภาาปปรระะจจาาปปี ี ๒2๕56๖2๒ ผผลงลางนาวนิจวยัิจขัยอขงอคงุรคสุ ุรภุสาภปารปะรจะาจปาี ป25ี ๒6๕2๖๒ \"ร\"2ะดรเี2เดะดรอื่เน่ีเับดรดงื่อน่ับภง ูภมิูภมิภาคาเร9ด\"ค่ือเีรง9ด\"่ือีง \"ร\"ะรดะดับับปประรเะทเทศศ\" \" ชมชเมชยเชย 2121เรเอื่ รง่ือง ดีเดีเน ดน่0,เ0รอื่ เงรือ่ ง ชมชเชมยเช3ย,เร3่ือเงร่ือง ดี ด5ี,เ5รือ่ เงรอ่ื ง ไม่ผไม่ำผ่น่ำเกนณเกฑณ์ ฑ์ ชมชเมชเยชย ไมไผ่ มำ่ ่ผน่ำเนกณเกฑณ์ ฑ์ ดีเดเี่นด่น ดี ดี ชมชเมชเยชย 2ร1ะ4ดับเรภือ่ มู งภิ าค 214 เรือ่ ง ดเี ด่นีเด่น ดี ดี ๑๑) ร) ำรงำวงัลวผัลลผงลำงนำ วนิจวยัิจขัยอขงอค1ง)ุรค ุสรรภุสาภำงวำปัลปรผะรลจะงำจาปนำปีว๒ิจี ๒๕ัยข๕๖อ๖2ง2ค“ุรร“ุสะรภดะาับดับปภภรูมะูมิภจิภำ�ำคำปค”ี ”2จ5ำจ6นำ2นวนว“นร3ะ3ด2ับ2รภำรูมงำิภวงัลาวคัลป”ปรจะร�ำกะนกอวอบนบดด้ว3ยว้2ยรางวัล ระรดะับดดับเีดดเี ่นด่นจำจนำวนนวน22รำรงปำวงรลัวะัลกรอำรบงำวดงัลว้ รยลั ะรดะบัดับดีดจเี ำดจน่ำนวจนวำ� น9ว9นรำร2งำรวงาัลวงลั วแัลลแระลาระงะรวดะลั บัดรบัะชดมชับมเชดเยชี จยำ�จนำจวนำนนวนว9นร2า21งว1ลัรำรแงำลวงะัลวรลั ะดบั ชมเชย จ�ำนวน ระรดะบัดดบั ีดจ๒ี ำจน)๒ำรวน)ำนรวงำนว๕งัลว๕รผัลำลรผงำงลวงำงัลวนำลัวแน 2ิจลวแ1ัยะจิลขรรัยะำาอขรงงงำอววคงงลัลัวุร2ครัลุส)ุระ รภุสดะรำภบัดาำปงชับวมรปชัละเมรชผจะเยชลำจยปงำจาปีำจ2นนีำ2ว5วนิจ56นวัย6น23ข2อ3“รงร“ำรคะรงำุรดวะงุสัลับดวภลัับปาประรปเะทรเะทศจ”ศ�ำ”จปำจี นำ2นว5นว6น288“รรำระงำวดงัลับวเอัลปเปอกรปรกะสะรเกสะาทอการศบอหร”บดหมด้วจมาย้ว�ำายยนรยเวำรลนเงำลวขงลัว8ขัล1ร1างวัล ประกอบดว้ ย รางวลั ระดบั ดี จ�ำนวน 5 รางวลั และรางวลั ระดบั ชมเชย จำ� นวน 3 รางวัล กากราครดัคสัดรสรผรลผงลางนานหหนน่งึ โ่งึ รโงรเงรเียรนียนหหนนง่ึ น่ึงนวตัวตักรกรมรม 32 75 ปี ส�ำนักกงำกานรำเลครขัาดคธักิสดารสรครรุ ผสุรภลผา งลำงนำนหหนึ่นงโึ่งรโงรเงรเียรีนยนหหนน่ึงน่ึงนวัตวัตกกรรมรมปประรจะจำปำปี 2ี 25566๒๒มมีสีสถถำนำนศศึกึกษษำสำส่งผ่งผลลงำงนำนเขเข้ำ้รำับรับ กำกรำครัดคสัดรสรกรับกับคุรคุสรุภสภำ ำจำจนำนวนวน๒๒๙๙๒๒ผลผงลำงนำนในในจำจนำนวนวนนี้ม้ีมผีผลลงำงนำนทท่ีม่ีมคีุคณุณสสมมบบัตัติคิครบรบถ้ถว้นวนเปเป็น็นไปไปตตำมำมเกเกณณฑฑ์ ์

การคัดสรรผลงานหน่ึงโรงเรยี น หนงึ่ นวตั กรรม การคัดสรรผลงานหน่ึงโรงเรียน หน่ึงนวัตกรรม ประจ�ำปี 2562 มีสถานศึกษาส่งผลงาน เข้ารบั การคดั สรรกบั คุรสุ ภา จำ� นวน 292 ผลงาน ในจำ� นวนนมี้ ีผลงานท่ีมีคุณสมบัติครบถว้ นเปน็ ไป ตามเกณฑ์ท่ปี ระกาศไว้ จ�ำนวน 283 ผลงาน โดยคณะกรรมการคัดสรรผลงาน ฯ ไดป้ ระเมนิ คณุ ภาพ ผลงาน ฯ ตามเกณฑ์ท่ีก�ำหนด มีผลงานท่ีผ่านเกณฑ์และได้รับรางวัล แบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ “ระดบั ภูมภิ าค” และ “ระดบั ประเทศ” ดงั นี้ 1) รางวลั ผลงานหนง่ึ โรงเรยี น หนง่ึ นวตั กรรม “ระดบั ภมู ภิ าค” จำ� นวน 225 ผลงาน ประกอบดว้ ย เหรียญทอง จ�ำนวน 41 ผลงาน เหรียญเงิน จ�ำนวน 116 ผลงาน และเหรียญทองแดง จ�ำนวน 68 ผลงาน 2) รางวลั ผลงานหนง่ึ โรงเรยี น หนงึ่ นวตั กรรม “ระดบั ประเทศ” จำ� นวน 40 ผลงาน ประกอบดว้ ย 1เห3รผียลญเงหทารนอียงญเจหท�ำร๒อนีย)งวญจนทำร๒อนำ1ง)ง2ววนจัลผำร๑ผลนำงล๒งวางวนนำผัลนล๑ผเหงหล๒ำนรงนียำึ่ผงนโญลเรหหงเงรงำนเินียนร่ึงญียโเจนรหเ�ำงงรนนิ หเยี รวนญจียน่ึงำนเนนง1ินวหว5ัตนนจผกึ่งำ๑ลรนน๕รงววามัตนนผก“ล๑แรง๕รำละมนะดผเับแห“ลปลรรงีรำยะะนะเญดหเับททแรปียอลศญรงะ”แะเทหดจเทอรงำงียศนแจญ”วด�ำนทนงจอวำ๔จงนนำ๐แนวดนวผงนล๔จง๑ำ๐ำน๓นวผผนปลลรง๑งะำำ๓นกนอผปบลรดงะ้วำกนยอบด้วย ง(Pาrนoเfคeรsอื sขioา่ nยงาaพนlฒั Lเคนeงราaาือวrนnิชขเiา่าคnชยรgพีพอื C(คขัฒPoร่าrนmแูยoาลพfmวะe(ฒัิชบPusาุคsrนnoiชลาoitfีพาวnyeกิชคasร:ารslทPiชูแoLาLลีพeงnCะกคa)บาrรlปnรคุแู Lศรiลneะกึ าะจgaษกบ�ำrาCรnปคุ แทoiีลบn2าmาบ5gงกก6mชCร2าุมทouรชาศmnนงกึiแtกmษyหา:าuรง่ แPกศnบLาึกitรCบษyเ)รช:ายี ุมแปPนบชLรระCนบู้ทจ)แชาาหงุมปปว่งชรีชิกะ2นาาจ5แชราห6ีพเปร่ง2ยีี ก2นา5รทู้6เรา2ยี งนวรชิ ้ทู าชางีพวิชาชีพ ท(เเทส ก5สรปพ,มนบัดาี่ยี5ี่ือ2งรุกบทีน0วส5รวรสี่0รชิถ่ง6ิทษิ,วู้ดุ เา0น2ิทสยัทช0(ะ–์รBยใีพ0ผพเนิมeาช2รรเู้ ปล(ศบsร5ฟููปปPสtังยีางีา6รงงLนคPสบทน4าาอCิrดัตบป)นนนaเ)รรดรศสรcปทเููปป์ำ�PPะรนพtกรส่ีเiงงษมLLcุนนา่ือะอาาCCาeฐรนอิเนนดณทกจsแนงค)ัดจิศลาPPาคลพพกนะไคLLรอ้ท.าพเอตศCCอคงรยเัฒ.กบรพเสบร2อืบันคยี�ำยีร5ขบลรางนิห6า่ววมุรแร2ยาจิชิบเ้คูลรพปแาสทงณะฒัาล้ช�ำาแบหะีพตินนนลทผมศคักโาะบปท๒คทไแ๗ดลาางวรคดยาสรติยลาี่สำูชแิ๕ฏว้ทกทกูแนตงมะาอลาิจ๖บกาลผลชำรเูละผมดำ�ลร์ำุ่นู้บัม๒พีะนบตตกคลกทป๒คทไแ๗พขรำ�บเคัดิธนิุค้อดัาิลตทราลี่สำปศฒั๕ทฏ–ิครรุค้ทงกลธูแ้อง่ีะอึก้ำแดแูาพิีนนก๖กิบลากจลำึงกหผ๒งดษลลีาาันกฒัาทำกำำุ่บัม๒กะตขะะคลมรำร๕รกแร7ก่ีับาบนเัสนอม้บิอคิลำตททปศหรร๖ัโด–บากุุยคลูคุยุรตทด้อาดศท่ีึก้งำดทลา่สุ๔นรลลจงกึงเใกึหย๒แษำงีปักมุ่อิภบกทานธิำกำ)(ลษงขแมมลษำก๕เเิครากาBทกี่ปับกซปสงท้าอีวดำะรรไะะนีรe๖ัโดแคียีงำบุดา้ัต้จทยศตดโำมกกดทนัsบรหดลวท้ร๔รถึกาเกาtอูใลสยแแศำปยปงินมะำิบงำ�นุรปษ)(ลบนงมหนPึกลกใมคบารริรแนBทปรากนงับดrีว่งดยาิ้หูธะษะะวรนัลeแะaงแคงีเำปรัตส้วิมค่ำำวนมกอะำปทcบสsบำศรลวียนถมเมำีแเนเ2tงัอูtลรึกนงศบกึปซพนะำiณุสปุนต5บะมคบcันขPษึกกียชมเครื่อิอืน6งก้อรeืค์เอบอ้ดrิุมาำธะษวรรบพ2ะaเพองงsตครกร้ชวิปม่วช่คำวโำป)cกสบื่ำอ.โืดกจณุอยมัุมมบนน็มศำีแนคtรนำงคสดยลัแดคiขณชตแร.บบลมะครรcันว้่งกมเงรกหน้่ะำงหน้อมกั2eืค์เอบยรควีำกอยพำสหย่พงษา่งงsยิแษ5วรตักรชกราะเกรณ)กา่ืพอบ่ำณห.าืจอถัทุอมรบ6เาศเมิวาำคมงสวรัฒปัุเ่แดงรคขะชเธิร.2บชแรลจียร่งกจซรเสรกหผีป่เำนลฟอ2น่วท�ำชาเรรนดัะำียนอู้เำสสยฏ่งมนุยีิแยรษร5มฟ้จำสรกร3รัำเบรบิพอบยีมว่นำหเวงรู้วัาทอเ6เรเนิมรปนนนสงัตือคปรัริิริฒทช่งปคอเี2ยกัแียู้ีิ์นกซ็เนสำย้นลแำนนงทชนุำีนยชำสรำุลปหรมฟ้จำรศีนะพัำบู้ะทรแเวรู้วเมรเนำยรเสเคปะิิงำิทลชปลอสพียำกัะนงเร็ะนำขย้นตแทำน่ืองเยวูแุพนชำำวรรปลิชหรศรกลธศีัลนะฒ์พู้ะ่ทวำรแไกิกมะำำยำเชทมเคะนำลลำำสพบรำะีพคงเรยรำะรข๓ตทืุ่อพเยควู้นคแวจสพำวริช(ศรัลิชกัุรดฒหธำปลัฒ์P่วำุไสำำกิกรกะำำีำLชทมนชนกภวำำวำ(บรCีพคปพียรจำรริรธำำ๓ุพ)ค้นควจสีี (ัลิชัุรดฒหำปPุสำำรกำีLนชกภววำ(Cปพีจริรธำำ)ีี เสรมียรนรถรเสู้คนรมียณะรผนริตู้เถรรศู้คนียำณะนสผติตเู้เศรรศร์ียำษกนสฐำตเกรศรพิจร์ พัฒษกอฐำนเกรพำพิจทียพัฒงักอษนแเพละำทะกียบงัำกทรษแรบละู้หำะกนทบำัผงทรสู้นรบือู้ำหำทนท7คำ5ัผงุงณสู้นกปืลอีำำสัทรกำ� นศคษำกั ึกุงณงณกาษนลำะเำลัรกผขโศาษู้เดธึกรกิณยีายษรใะคนำนุรผุสโภู้เดารยียใ3นน3

ผลการดำ� เนนิ งานในปที ผ่ี า่ นมา ไดจ้ ดั สรรเงนิ อดุ หนนุ ฯ ใหแ้ กเ่ ครอื ขา่ ยฯ จำ� นวน 102 เครอื ขา่ ย รวมเปน็ เงนิ จำ� นวน 7,729,000 บาท ประกอบดว้ ย เครอื ขา่ ยระดบั ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา จำ� นวน 46 เครอื ขา่ ย เปน็ เงนิ จำ� นวน 2,157,000 บาท เครอื ขา่ ยระดบั หนว่ ยงานทางการศกึ ษา จำ� นวน 49 เครอื ขา่ ย เปน็ เงนิ จำ� นวน 4,072,000 บาท เครอื ขา่ ยระดบั กลมุ่ สมาชกิ วชิ าชพี ครู จำ� นวน 3 เครอื ขา่ ย เปน็ เงนิ จำ� นวน 300,000 บาท และเครอื ขา่ ยระดบั พน้ื ทกี่ ารศกึ ษา ทเ่ี ปน็ โครงการ Thailand School Improvement Program (TSIP) เป็นเครือข่ายที่มีความสามารถในการขยายผลการด�ำเนินการ ภายในกลมุ่ โรงเรยี นทอ่ี ยภู่ ายใตส้ ำ� นกั งานเขตพนื้ ท่ี จำ� นวน 4 เครอื ขา่ ย เปน็ เงนิ จำ� นวน 1,200,000 บาท นอกจากน้ี ยงั ไดจ้ ดั ทำ� วจิ ยั ประเมนิ ผลการพฒั นาวชิ าชพี แบบชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชพี ในรอบ 3 ปี ทผ่ี า่ นมา (ปี 2559 - 2561) เพอื่ สะทอ้ นผลการดำ� เนนิ งานของผทู้ เี่ กย่ี วขอ้ งทงั้ หมด อนั จะทำ� ให้ ได้ประเด็นค�ำตอบที่จะน�ำไปสู่ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการพัฒนาวิชาชีพด้วยรูปแบบชุมชน แห่งการเรยี นร้ทู างวิชาชีพใหม้ ีประสทิ ธิภาพตอ่ ไป งานยกยอ่ งและผดุงเกียรตวิ ิชาชีพ สำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภาไดด้ ำ� เนนิ งานยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รตผิ ปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา รวมถงึ บคุ ลากรทางการศกึ ษาอนื่ ทงั้ ในประจำ� การ และนอกประจำ� การ ซง่ึ เปน็ ผทู้ ป่ี ระพฤตปิ ฏบิ ตั ติ น ตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวชิ าชพี เพอ่ื เปน็ ขวญั กำ� ลงั ใจแกผ่ ปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา และ เป็นต้นแบบของครูดีท่ีสร้างแรงบันดาลใจแก่ผู้ร่วมวิชาชีพและสังคมให้เป็นท่ีประจักษ์ และได้รับ การยกย่องจากสาธารณชน เป็นแบบอย่างท่ีดีต่อคนในสังคม สร้างความเช่ือม่ันในวิชาชีพ และเป็น การยกระดบั วชิ าชพี ครทู างหนงึ่ โดยดำ� เนนิ การคดั เลอื กใหไ้ ดร้ บั รางวลั ตา่ ง ๆ ของครุ สุ ภา จำ� นวน 5 รางวลั ดงั นี้ 1. รางวลั ครภู าษาไทยดเี ดน่ เพอื่ รบั เขม็ เชดิ ชเู กยี รตจิ ารกึ พระนามาภไิ ธยยอ่ สธ ในปี 2562 ไดป้ ระกาศรายชื่อครูภาษาไทยดีเดน่ จ�ำนวน 27 คน 2. รางวัลครูภาษาฝร่ังเศสดีเด่น เพ่ือรับเข็มเชิดชูเกียรติจารึกพระนามาภิไธยย่อ กว ในปี 2562 ได้ประกาศรายชื่อครภู าษาฝร่งั เศสดีเดน่ จ�ำนวน 6 คน 3. รางวลั ครุ สุ ภา ไดป้ ระกาศรายชอ่ื ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ใหไ้ ดร้ บั รางวลั ครุ สุ ภา จ�ำนวน 27 คน ประกอบด้วย “ระดับดีเด่น” จ�ำนวน 9 คน ในจ�ำนวนน้ีเป็นครู 5 คน ผู้บริหาร สถานศึกษา จ�ำนวน 2 คน ผบู้ ริหารการศกึ ษา จ�ำนวน 1 คน และศกึ ษานิเทศก์ จ�ำนวน 1 คน และ “ระดับดี” จำ� นวน 18 คน 4. รางวัลครูผู้สอนดีเด่น ในปี 2562 ได้ประกาศรายช่ือครูผู้สอนดีเด่น จ�ำนวน 21 คน ประกอบด้วย “ระดบั ดเี ดน่ ” จ�ำนวน 11 คน และ “ระดบั ดี” จำ� นวน 10 คน 5. รางวลั คุรุสดดุ ี ในปี 2562 ได้ประกาศรายชือ่ ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ใหไ้ ด้รบั เครอื่ งหมายเชดิ ชเู กยี รติ “คุรสุ ดุดี” จำ� นวน 1,047 คน 34 75 ปี สำ� นกั งานเลขาธิการครุ สุ ภา

เม่ือผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาได้ปฏิบัติหน้าที่จนอายุครบ 60 ปี โดยปฏิบัติหน้าที่ เปน็ เวลาไมน่ อ้ ยกว่า 30 ปี และเปน็ ผูม้ ีความประพฤตเิ ปน็ แบบอย่างทดี่ ีตามจรรยาบรรณของวชิ าชพี จะได้รับการประกาศเกยี รติคณุ เปน็ “ครอู าวุโส” และเข้าเฝา้ ฯ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ ัว เพอ่ื รบั พระราชทานประกาศนยี บตั รเครอื่ งหมายเชดิ ชเู กยี รติ และเงนิ ชว่ ยเหลอื ในปี 2562 ไดน้ ำ� ครอู าวโุ ส ประจำ� ปี 2560 จำ� นวน 3,142 คน เขา้ เฝา้ ฯ รบั พระราชทานประกาศนยี บตั ร เครอื่ งหมายเชดิ ชเู กยี รติ และเงนิ ชว่ ยเหลือ เมอ่ื วนั ที่ 20 – 21 กนั ยายน 2562 ณ ศาลาดสุ ดิ าลัย สวนจติ รลดา นอกจากนี้ คุรุสภายังได้ยกย่องเชิดชูเกียรติผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา หรือบุคคลที่มี คุณูปการต่อการศึกษา ที่ประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างท่ีดี ต้ังแต่เร่ิมท�ำงานจนถึงแก่ชีวิต โดยรวบรวมประวตั แิ ละผลงานท่โี ดดเด่นของผู้ถงึ แกก่ รรม จัดพิมพ์ใน “หนังสือประวัตคิ รู” เพอ่ื เป็น อนุสรณ์ให้แก่อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษาเรียนรู้ และระลึกถึงคุณงามความดี ซึ่งจัดท�ำและเผยแพร่ ในงานวนั ครูทุกปี ในปี 2562 ได้จัดท�ำ “หนังสือประวัตคิ รู 16 มกราคม 2563” มจี �ำนวน 19 ประวัติ แบ่งเป็น 4 กล่มุ ประวัติ ดังนี้ 1. ครูผู้สั่งสอนศิษยใ์ ห้น�ำทักษะไปใช้ในการด�ำเนินชวี ิต จำ� นวน 5 ประวตั ิ 2. ครผู ทู้ มุ่ เทและใชท้ กั ษะในการสง่ั สอนใหผ้ เู้ รยี นพฒั นาอยา่ งเตม็ ศกั ยภาพ จำ� นวน 6 ประวตั ิ 3. ครผู ู้รเิ ร่ิมน�ำความรู้มาพัฒนาใหเ้ กิดผลสัมฤทธิ์ต่อการศกึ ษาไทย จ�ำนวน 5 ประวัติ 4. ครูศิลปินแห่งชาติผู้ใช้ทักษะทางศิลปะเป็นต้นแบบแนวคิด พัฒนาศิษย์ให้มีความถนัด เฉพาะตัว จ�ำนวน 3 ประวัติ นอกจากการยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รตผิ ปู้ ระกอบวชิ าชพี แลว้ ไดด้ ำ� เนนิ งานยกยอ่ งและผดงุ เกยี รติ วิชาชีพครู โดยการจัดงานวันครูเป็นประจ�ำทุกปี ต้ังแต่ปี 2500 สืบเน่ืองจนถึงปัจจุบัน การจัด งานวนั ครู ในปี 2562 นบั เปน็ ครงั้ ที่ 63 ไดก้ ำ� หนดการจดั งานทง้ั สว่ นกลางและสว่ นภมู ภิ าค ภายใตห้ วั ขอ้ “คณุ ธรรมนำ� ครไู ทย สรา้ งเดก็ ไทยหวั ใจซอ่ื ตรง” ในสว่ นกลางจดั งานระหวา่ งวนั ที่ 16 – 18 มกราคม 2562 ณ หอประชุมคุรุสภา และบริเวณสนามหญ้ากระทรวงศึกษาธิการ โดยมีนายกรัฐมนตรี (พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา) เปน็ ประธาน และมอบคำ� ขวญั วนั ครู คอื “ครดู ี ศษิ ยด์ ี มพี ฒั นา กา้ วหนา้ สเู่ ทคโนโลย”ี สำ� หรับส่วนภมู ภิ าค จัดท่ีศกึ ษาธิการจังหวัดทกุ จังหวดั การจดั งานวันครู ครง้ั ท่ี 63 พ.ศ. 2562 เป็นการจดั งานท่กี ระทรวงศกึ ษาธิการได้บูรณาการ ระหว่างการจัดงานวันครู กับการน�ำเสนอผลงานของกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งได้ขับเคลื่อนการจัด การศกึ ษาตามยทุ ธศาสตรช์ าติ และนโยบายของรฐั บาล โดยมอี งคก์ รหลกั หนว่ ยงานในกำ� กบั ของกระทรวง ศึกษาธิการ น�ำไปสู่การปฏิบัติโดยการเชื่อมโยงและบูรณาการกับภาคีเครือข่าย และภาคประชารัฐ ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง ซึง่ ความสำ� เรจ็ ของการด�ำเนนิ งานเกิดเป็นผลงานเชิงประจักษใ์ นรอบ 4 ปี เพอ่ื เป็นการสร้าง การรบั รใู้ หส้ าธารณชนเกดิ เจตคตทิ ดี่ ี มคี วามศรทั ธาเชอ่ื มนั่ และเกดิ ความรว่ มมอื ในการพฒั นาคณุ ภาพ การศกึ ษาของชาติต่อไปมผี ู้เข้าร่วมงานทง้ั ส่วนกลางและส่วนภมู ิภาค รวมจ�ำนวน 311,592 คน 3575 ปี สำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา

งานสง่ เสรมิ จรรยาบรรณวชิ าชพี ดว้ ยวิชาชีพทางการศึกษาเป็นวิชาชีพชั้นสูง จงึ ตอ้ งมีการกำ� หนดข้อหา้ มมิใหส้ มาชกิ กระท�ำ หรอื ประพฤติ อันจะกอ่ ใหเ้ กิดความเสียหาย เสอื่ มเสียต่อวชิ าชีพโดยส่วนรวมสง่ิ ท่ชี ว่ ยยับย้งั เตือนสติ การกระทำ� นี้ คอื จรรยาบรรณของวชิ าชพี สำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภาไดด้ ำ� เนนิ การสง่ เสรมิ จรรยาบรรณ วิชาชีพ เพื่อให้ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างท่ีดีแก่ศิษย์ ต้องมีกิริยามารยาทที่งดงาม มีจรรยาบรรณและวินัยในตนเอง เพื่อเป็นกรอบและแนวทางในการ ปฏบิ ัติตน โดยในปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 ไดด้ �ำเนินการ ดงั นี้ 1. การจดั กจิ กรรมรณรงค์ (Campaign) สง่ เสรมิ จรรยาบรรณวชิ าชพี ในโครงการจรรยาบรรณ สู่ครูดี...เพ่ือเด็กดี ประจ�ำปี 2562 กิจกรรม “ครูดีจึงบอกต่อ” มีครูและบุคลากรทางการศึกษา นสิ ิต นกั ศกึ ษา และนักเรียน รวมถึงประชาชนทั่วไป เข้ารว่ มกิจกรรม จำ� นวนไมน่ ้อยกวา่ 1,425 คน โดยด�ำเนนิ งานจดั กิจกรรม 2 ชว่ ง คอื 1) จัดกิจกรรมรณรงค์ทางออนไลน์ ระหว่างวันที่ 6 สิงหาคม – 30 กันยายน 2562 โดยอดั คลิปวดิ โี อบอกเล่าลักษณะครดู ีและครูดที ตี่ นเองชื่นชอบ หรอื บอกเล่าครดู ผี ่านภาพถ่าย 2) จัดบูธนิทรรศการในงานประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจ�ำปี 2562 ระหว่าง วนั ท่ี 16 - 18 สงิ หาคม 2562 ณ ศนู ยป์ ระชมุ วายภุ กั ษ์ โรงแรมเซน็ ทรา บายเซน็ ทารา ศนู ยร์ าชการและ คอนเวนชนั เซน็ เตอร์ แจ้งวฒั นะ โดยผู้เข้าร่วมกิจกรรมเขียนโพสตอ์ ิทบอกเล่าลักษณะของครูดี และ เขียนให้กำ� ลงั ใจแก่ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา พรอ้ มท้ังเผยแพร่หนงั สัน้ ครดู ีเพราะมีจรรยาบรรณ “ครสู รา้ งฅน” ซง่ึ เปน็ ผลผลติ จากการประกวดหนงั สนั้ ประจำ� ปี 2562 และไดร้ บั เกยี รตจิ าก นายณฏั ฐพล ทปี สวุ รรณ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เขยี นขอ้ ความใหก้ ำ� ลงั แกค่ รแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ความวา่ “เป็นก�ำลังใจใหค้ ณุ ครทู กุ ๆ คน เช่อื ม่ันในความต้ังใจ รว่ มกนั พฒั นาเยาวชนของไทย ใหเ้ ปน็ คนดขี องประเทศ คนไทยไม่แพ้ใครครับ” 2. การส่งเสริมกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพ่ือพัฒนาจรรยาบรรณ วชิ าชพี ผา่ นระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ (Ethics in Professional Learning Community : e-PLC) การด�ำเนินงานส่งเสริมเป็นการบูรณาการหลักจรรยาบรรณของวิชาชีพทางการศึกษากับหลักการ ชมุ ชนแหง่ การเรียนร้ทู างวชิ าชีพ ท่มี ีลักษณะท่สี ำ� คัญ 5 ประการ ประกอบดว้ ย การสร้างบรรทัดฐาน และค่านยิ มรว่ มกนั (Shared Values and Norms) การปฏิบัตทิ ่ีมเี ปา้ หมายร่วมกนั คอื การเรียนรู้ ของผู้เรียน (Collective Focus on Students Learning) การร่วมมือรวมพลังของสมาชิกชุมชน วชิ าชพี (Collaboration) การเปิดรบั การชแ้ี นะการปฏบิ ัติ และการร่วมเรยี นรู้ ณ บรบิ ทจริง (Expert Advice and Study Visit) และการสนทนาที่มงุ่ สะทอ้ นผลการปฏิบตั ิงาน (Reflection Dialogue) โดยด�ำเนินการผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ด้วย TrainFlix Platform ซึ่งเป็น Application สรา้ งประสบการณท์ างวชิ าชพี ครสู กู่ ารปฏบิ ตั กิ ารสอนในชน้ั เรยี นของนสิ ติ นกั ศกึ ษาครู มีครูประจ�ำการเป็นผู้น�ำ เป็นแบบอย่าง และเป็นผู้ก�ำกับดูแล มีผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ผไู้ ดร้ บั รางวลั ตา่ ง ๆ ของครุ สุ ภา ผเู้ ตรยี มเขา้ สวู่ ชิ าชพี ทางการศกึ ษา และอาจารยน์ เิ ทศก์ รวมถงึ เครอื ขา่ ย สถาบันอุดมศึกษา และสถานศกึ ษาตา่ ง ๆ ทว่ั ประเทศ เข้ารว่ มกิจกรรม 36 75 ปี สำ� นักงานเลขาธิการครุ สุ ภา

งนิสิต นักศึกษาครู มีครูประจาการเป็นผู้นา เป็นแบบอย่าง และเป็นผู้กากับ ศึกษา ผู้ได้รับรางวัลต่าง ๆ ของคุรุสภา ผู้เตรียมเข้าสู่วิชาชีพทางการศึกษา ายสถาบันอุดมศึกษา และสถานศกึ ษาต่าง ๆ ทั่วประเทศ เขา้ ร่วมกจิ กรรม อบปี ร่วม กษา กอบ สถาบนั อดุ มศึกษา สถานศกึ ษา งวัล 24 แหง่ 1,825 แหง่ ข้าสู่ ารย์ ภาค ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ คน 16,840 คน สรภรยำาผบลริตรสณื่อส ขสถ่องานเงสศวกึริชษิกมาาาจรช1ดร,8ีพ�ำร2เทน5ยินาแำงหงบาง่กนรแาใรลนรณะรศจอำ�ขึกบนปอษวีทนงา่ีผผว่าปู้ิชนรำมะกชาอีพมบีสวทถชิ ำาาบชงพีันกทอำุดารงมกศศาึึกกรษศษกึาำเษขา้าเรผพ่วไู้ ดม่ือร้กเบั ิจสรการรงิมรวมลั สตจรา่ �ำง้ำนๆงวขนอ2งค4รุ แสุ หภา่ง ะรหะนกักอใบนวกิชำำรชรผปวู้เีพตมรรจทะียำ� พมำนเงวขฤนก้าตสำ1ปิู่ว6ริช,ฏศ8า4ชบิึก0ีพัษตทคิตำานงนแกลตาระำศมผึกู้จษเตารรรแียยลมะำอบเาขรจ้ำารสรณยู่ว์นขิชิเทอำศงชกวีพ์เิชขท้าำรชำ่วงมีพกกิจำดกรว้รศรยมึกจษทิต้ังวำ4ผิญ่ำภญนูมำิภสณา่ือคทั่วประเทศ ท๖ัน๒สมมัยกี ำโรดผยลค ผเวลิตผาิตสมยสต่อืื่อแรสะพด3่งหเร.ังนสง่สนกัราใิมื่อี้นนจผผกรลา่ำรรติ นยปสารชอื่ บะส่อพรง่ รฤงเณสตทรปิขำมิ ฏอจงบิงรอวตัริชอติยานานชบตีพไารลมรทณจนารงข์ขรกอยอางารวบงศชิรคึกราุรษณชุสาพีขภอทเพงาำวง่ือชิกเเาสาชชรรพีศ่นิมกึดสษว้เรวยา้าจง็บสตคิ ำ�ไววนซญิากั มตญงรา์าู้นยณคเูทลขวขอาูบมางธคเขกิว้าาารมใจคเปรุ แน็สุ ลภคะราู วปสใวั้นจิดไหีโมอัว่ทขห้งิ ้อใัวเครขร เทใื่อฟห้ไอ่ีหเ้งซวกลเบ้ขดิรา“ุ๊กข้ำก่ือคน้ึงหโงรดแห1ลกยูด)าล“ผ่ตยกีเปู้ังั้งคพแาแร”รลระรตผะกูด่ปำจลทอะีีิตขำ2บันมคน5อวสล6ชิีจวมงิป0ารันยฉชว–รพีิดันโย1ท2ีโดอ”ำ5ายง6ขบเหกผ2จน้ิารัวยรำมขรแศกี้อนณพกึมาเรษวรรผี”ื่อ่สผาน้เูงแื่อลจขลผิต“1ำะำ้ ส่าคผนชนอ่ื3รเู้ ตมชูดวดร่อีขนสังชยี องนื่อม้ิทนง6้ีเฉขาจันา้ง“ชสอำ”วู่คอ้ินนชิจนววา�ำไแชำนนลพีลมวนทน3ะ์ขซาอง1่ื1อ“กง3,าคสค9รุรชรัตศ2ุสิ้นูสกึ ยภ8ษร“์าสา้ำคผุจคเงวา่ชารรคน่นมัง้ิสตนซอ่ืเ””่ือวร็บปูสัตแไซบยตบ์ส์ุจตยรา่ ูทงิตูบๆ” นรวียนนจ3ร8รย,8ำบ0ร3จ 71ร�ำน,ณ9คว2นวร8ิชงั้ 7คำ2ร)ชช้งั กิ้นีพารอแผลอละตินห“ไนลเปงั นส็นน้ั์ครมหูดวัีเ้วขนยอ้ ื้อหเรัวหอ่ื ใงจำค“ไคมรร่ทอดู ้ิงบเี พใคครราลไะวุมม้ขจีจ้ารงรรหรยลายังบำ”รบรจณร�ำร”นณวจนำ� ขนอ1วนงขว6้ินิชชมำนิ้ ีผชแู้เีพขล้าะทช“งั้มคสร่ือสู รจา้ �ำงนคนวน” กำรเรียนรู้ จมำ� ีผนวู้ปนร1ะ4กชอ้นิ บมวผี ิู้เชขำ้าชชมีพสอ่ืทจำำ� งนกวำนร3ศ8,ึก80ษ7ำครแ้งั ละผู้เตรียมเข้ำสู่วิชำชีพทำง ไะดก้รอับบกกำำรรพจฒั ัด วทชินงั้โาคช5ำรพีจดงทร้ากานร3งำก)ย9รกาำราผขศบรอ้ลผกึ รษลิตจรติา�ำคณบนรรวทววมเูเนรพถิชยี งึ1ำอ่ืนอ5ชจาพจรหีพารฒั นรย่วยานจยน์บำกำเิรทานรทศรณว้อเไรวดนงียชิ ร้ นถาทบั ชริน่ก้งัพีู้ ามสอรีผปพ้ินอปู้ ฒนัรรไะ2นะลากจน4จอ์ำรม,บรป3เี นยวีาิช1อ้ื 2บาห4ชรา5รพีคณ6ครทวอาน3ชิบงากคชาลพีนรมุ ศจอจกึำ�รกนษรยวจานาำแบทกลรงั้ ะรสนณผนิ้ ีู้้เข2ตอ4รง,ยี3วม1ชิ 4เาขชค้าพีนสู่ นอกจากนี้ ได้มีการน�ำบทเรียนออนไลน์ไปประกอบการจัดโครงการผลิตครูเพื่อพัฒนาท้องถิ่น ประจ�ำปี 2563 3775 ปี สำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา

งานในอนาคต 1. การพัฒนาวิชาชีพดว้ ยการสรา้ งชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี 1) งานเครอื ขา่ ยพฒั นาวชิ าชพี ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาแบบชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) โดยขยายการพัฒนาเครือข่ายระดับ โรงเรยี นรว่ มพัฒนาวิชาชีพ Thailand School Improvement Program (TSIP) เป็นเครอื ขา่ ยทม่ี ี ความสามารถในการขยายผลการด�ำเนินการภายในกลุ่มโรงเรียนท่ีอยู่ภายใต้ส�ำนักงานเขตพ้ืนที่ ในปี 2563 นี้ จะดำ� เนนิ การพฒั นาโดยจำ� แนกตามภมู ภิ าค 5 ภมู ภิ าค (ภาคกลางรวมกรงุ เทพ ภาคตะวนั ออก ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ภาคเหนอื และภาคใต)้ ภมู ิภาคละ 5 เครือข่าย เครือข่ายละ 5 โรงเรยี น รวม 25 เครือข่าย 100 โรงเรียน เพื่อให้สามารถก�ำกับติดตามได้ท่ัวถึง และมีประสิทธิภาพ ในการดำ� เนินการ 2) งานส่งเสริมกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพ่ือพัฒนาจรรยาบรรณ วชิ าชีพผา่ นระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ (Ethics in Professional Learning Community: e-PLC) เพื่อพัฒนาจรรยาบรรณวิชาชีพผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา ไดท้ ำ� ความรว่ มมอื กบั บรษิ ทั วสิ ดอมไวด์ จำ� กดั ใชแ้ พลตฟอรม์ (Platform) TrainFlix สรา้ งประสบการณ์ ทางวิชาชีพครูสู่การปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนของนิสิต นักศึกษาครู มีครูประจ�ำการเป็นผู้น�ำและ ก�ำกับดูแล เป็นแบบอย่าง ในปี 2563 นี้ คาดว่าจะมีผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาและผู้เตรียม เขา้ สวู่ ชิ าชพี ทางการศกึ ษา ไดร้ บั การพฒั นาจรรยาบรรณวชิ าชพี เพมิ่ ขน้ึ จำ� นวนไมน่ อ้ ยกวา่ 16,000 คน ทั่วประเทศ 2. การจดั ท�ำฐานข้อมลู และสรา้ งเครอื ข่ายผ้ปู ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา จัดท�ำฐานข้อมูลผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาท่ีได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ ให้ได้รับรางวัลต่าง ๆ ของคุรุสภา และรางวัลจากหน่วยงานอื่น ๆ รวมท้ังสร้างเครือข่าย ผู้ได้รับรางวัล อันเป็นการต่อยอดการท�ำงานของครูเครือข่าย ซึ่งนอกจากจะเป็นการยกย่องและ เห็นคุณค่าของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาแล้ว ยังเป็นการดึงศักยภาพของผู้ประกอบวิชาชีพ สูส่ าธารณะ อันจะทำ� ให้สาธารณชนเกิดการรบั รดู้ ้านบวกตอ่ วชิ าชพี ทางการศึกษา 38 75 ปี สำ� นกั งานเลขาธิการคุรสุ ภา

งานจรรยาบรรณวชิ าชพี และนติ กิ าร “สร้างเครอื ขา่ ยจรรยาบรรณวิชาชีพ เพอ่ื เสริมสร้างความเข้มแขง็ การศึกษาไทย” พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 มาตรา 9 (2) ก�ำหนด ให้คุรุสภามีอ�ำนาจหน้าที่ในการควบคุมความประพฤติและการด�ำเนินงานของผู้ประกอบวิชาชีพ ทางการศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ คุรุสภาจึงมีการรณรงค์ สง่ เสรมิ ความรู้ ความเขา้ ใจ และปลกู ฝงั เจตคตใิ นการประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษาตามจรรยาบรรณ ของวิชาชีพ โดยการสร้างระบบการควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม ปลูกฝังให้เกิดความรัก ความศรัทธาต่อวิชาชีพ สร้างความเช่ือมั่นต่อสังคม และต่อผู้รับบริการ ทางการศกึ ษา เพอ่ื ใหผ้ ปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษามคี ณุ ภาพและประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นตามจรรยาบรรณ ของวิชาชพี งานเดน่ ในรอบปี 2562 การแกไ้ ขเพ่ิมเติมข้อบังคบั ครุ ุสภา จ�ำนวน 2 ฉบับ ได้แก่ 1. ขอ้ บงั คบั คุรสุ ภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชพี (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562 2. ขอ้ บงั คบั ครุ สุ ภา ว่าด้วยใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2562 โดยเป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556 ในสว่ นของวชิ าชพี ครเู พอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั การเปลย่ี นแปลงและทศิ ทางการศกึ ษาของชาติ อาศยั อำ� นาจ ตามความในมาตรา 9 (1) และ (11) (ฉ) และมาตรา 49 แห่งพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากร ทางการศึกษา พ.ศ. 2546 ประกอบกับมติคณะกรรมการคุรุสภา ในการประชุม คร้ังที่ 13/2561 เมื่อวันท่ี 17 ธันวาคม 2561 โดยได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ คุรุสภาจึงออกข้อบงั คับครุ สุ ภา ว่าดว้ ยมาตรฐานวชิ าชพี (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ. 2562 นอกจากน้ี การบังคับใช้ข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ พ.ศ. 2559 ในปัจจุบันยังมีข้อปัญหาเก่ียวกับการต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ประกอบกับ คณะกรรมการครุ สุ ภาในการประชมุ ครง้ั ที่ 6/2562 เมอ่ื วนั ท่ี 29 สงิ หาคม 2562 มมี ตเิ หน็ ชอบในหลกั การ ใหใ้ ชก้ ระบวนการทดสอบเพอ่ื การขอรบั ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ทกุ กลมุ่ วชิ าชพี เพอื่ ใหก้ ารบงั คบั ใช้ เป็นไปตามสภาวการณ์ปจั จบุ นั และเป็นไปอย่างมีประสิทธภิ าพ จึงต้องแก้ไขเพิม่ เติมข้อบังคบั ครุ ุสภา ว่าด้วยใบอนญุ าตประกอบวชิ าชีพ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2562 3975 ปี ส�ำนกั งานเลขาธกิ ารครุ ุสภา

งานในอนาคต 1. การปรบั ปรงุ แกไ้ ขระเบยี บ ขอ้ บงั คบั และประกาศของสำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา เป็นอีกภารกิจหนึ่งที่ส�ำนักงานจะต้องเร่งด�ำเนินการให้แล้วเสร็จภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เพื่อลดปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงาน ให้สามารถบริหารงานตามภารกิจได้อย่าง มีประสทิ ธภิ าพ มคี วามพรอ้ มและทนั สมัยตอ่ การเปลยี่ นแปลงของสังคมในยุคดจิ ทิ ัล ประกอบด้วย 1.1 ร่าง พระราชบัญญตั ิสภาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. .... 1.2 ร่าง ข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยการพิจารณาการประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. .... 2. การสืบสวนและการสอบสวนการประพฤตผิ ดิ จรรยาบรรณวิชาชีพ สร้างเครือข่ายทางจรรยาบรรณของวิชาชีพทางการศึกษา โดยเสริมสร้างความรู้ ความเขา้ ใจทางดา้ นจรรยาบรรณของวชิ าชพี ตามขอ้ บงั คบั ครุ สุ ภา วา่ ดว้ ยการพจิ ารณาการประพฤตผิ ดิ จรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2553 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 โดยการอบรม ผู้ประกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา ใหม้ คี วามรู้ ทักษะ และประสบการณ์ด้านจรรยาบรรณของวชิ าชพี ทางการศึกษา ใน 4 ภูมิภาค เพื่อเป็นเครือข่ายสร้างความเข้มแข็ง ด้านจรรยาบรรณของวิชาชีพ ให้ครอบคลมุ ท่ัวประเทศ 40 75 ปี สำ� นกั งานเลขาธิการคุรสุ ภา

งานนโยบายและแผน “เป็นสว่ นงานหลกั ในการบรหิ ารจดั การทรพั ยากร เพ่ือสนบั สนนุ ภารกิจของคุรุสภา และประสานความรว่ มมอื กบั ตา่ งประเทศอย่างตอ่ เนื่อง” “Takes a main part in the resource allocation to fulfill Khurusapha's missions and collaborate with other countries continuously.” สำ� นกั นโยบายและแผน ไดด้ ำ� เนนิ งานตามวตั ถปุ ระสงคแ์ ละอำ� นาจหนา้ ทแี่ หง่ พระราชบญั ญตั ิ สภาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2546 ในมาตรา 8 (2), (3) มาตรา 9 (5), (9), (10) อยา่ งมงุ่ มนั่ ท่ีจะขับเคลื่อนภารกิจของคุรุสภา โดยมีเป้าหมายเพ่ือยกระดับคุณภาพครู สู่คุณภาพการศึกษาไทย ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ไดด้ �ำเนนิ งานท่ีส�ำคัญ ดังนี้ งานเดน่ ในรอบปี 2562 การบรหิ ารแผนและงบประมาณประจ�ำปี ดำ� เนนิ การศกึ ษาวเิ คราะหย์ ทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ ประเดน็ การพัฒนาการเรยี นรู้ (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนปฏิรูปประเทศ ด้านการศกึ ษา แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 และแผนการศกึ ษาชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 รวมทง้ั ไดว้ เิ คราะห์ ทบทวน Roadmap แผนพฒั นาวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ระยะ 20 ปี พ.ศ. 2560 - 2579 แผนยทุ ธศาสตรค์ รุ สุ ภา พ.ศ. 2560 - 2564 และผลการด�ำเนินงานของคุรุสภาในปีที่ผ่านมา เพ่ือสังเคราะห์เป็นข้อมูล ในการวางแผนการแก้ไขปัญหา พัฒนาระบบงาน และก�ำหนดทิศทางการขับเคลื่อนภารกิจ ตามวัตถุประสงค์และอ�ำนาจหน้าท่ีของคุรุสภา ให้สามารถบรรลุวิสัยทัศน์ในการเป็นองค์กรวิชาชีพ ทมี่ รี ะบบและกลไกในการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ เชอื่ มโยง การผลติ การคดั กรอง และพฒั นาผปู้ ระกอบวชิ าชพี ครู และบุคลากรทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพได้มาตรฐานสากล รวมท้ังเป็นส่วนหน่ึงในการขับเคลื่อน เปา้ หมายตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ. 2561 - 2580 ด้านการพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพคน ในการสรา้ งคนไทยเปน็ คนดี คนเก่ง มีคุณภาพพรอ้ มส�ำหรับวถิ ีชีวิตในศตวรรษที่ 21 ภายใตข้ อ้ จ�ำกดั ด้านทรัพยากร โดยได้จัดท�ำ (ร่าง) แผนปฏิบัติการคุรุสภา พ.ศ. 2563 - 2565 แผนปฏิบัติราชการ และแผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ของสำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา และ (รา่ ง) แผนปรับปรงุ ค่าใชจ้ ่ายด้านบคุ ลากร ระยะ 3 ปี พ.ศ. 2563 - 2565 สำ� นกั งานเลขาธิการคุรุสภา (องค์การมหาชน) ส�ำหรับเป็นกรอบทิศทางในการด�ำเนินงาน การบริหารแผนงาน และงบประมาณ ประจ�ำปีของส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา รวมท้ังได้มีการติดตามประเมินผลการด�ำเนินงาน รวมถึง การเขา้ รว่ มประชมุ กบั หนว่ ยงานตา่ ง ๆ เกยี่ วกบั การจดั ทำ� แผน งบประมาณ ตดิ ตามผล และรายงานผล 4175 ปี สำ� นกั งานเลขาธกิ ารคุรสุ ภา

การพฒั นาองค์ความรเู้ พ่ือการพัฒนาวชิ าชพี ทางการศึกษา ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ได้มีการด�ำเนินงานวิจัยเพ่ือพัฒนาวิชาชีพทางการศึกษา (ต่อเนื่อง) จ�ำนวน 1 เรื่อง คือ การพัฒนารูปแบบกลไกและระบบการคัดกรองผู้ประกอบวิชาชีพครู ตามมาตรฐานวชิ าชพี ของครุ สุ ภา รวมทง้ั มกี ารผลกั ดนั และสนบั สนนุ ใหม้ กี ารนำ� ผลจากการวจิ ยั ไปใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ในการดำ� เนนิ งาน และการจดั ทำ� (รา่ ง) แผนปฏบิ ตั กิ ารดา้ นการวจิ ยั ของสำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา พ.ศ. 2563 - 2565 เพ่อื เป็นกรอบแนวทางการในการด�ำเนินงานวจิ ยั ของส�ำนกั งานเลขาธกิ ารครุ ุสภา การเสริมสร้างการพัฒนาวิชาชีพทางการศึกษากับองค์กรวิชาชีพ ในต่างประเทศ 1. ดำ� เนนิ ความรว่ มมอื กบั องค์กรการศึกษาโลก (Education International) ในการ จดั ประชุมสมัชชานานาชาติ คร้งั ท่ี 8 (The 8th World Congress of Education International) ในหวั ข้อ “Educators and their Unions Taking the Lead” ระหวา่ งวนั ท่ี 21 - 26 กรกฎาคม 2562 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพ ฯ โดยมีผู้เข้าร่วมการประชุม เป็นตัวแทนขององค์กรครูและผู้ปฏิบัติด้านการศึกษาจาก 178 ประเทศทั่วโลก รวมจ�ำนวนกว่า 1,200 คน 2. ดำ� เนนิ โครงการแลกเปลย่ี นครใู นภมู ภิ าคอาเซยี น เพอ่ื เสรมิ สรา้ งความรว่ มมอื ระหวา่ ง องค์กร ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาในระดับภูมิภาคอาเซียน และส่งเสริมให้ครูได้เปิดโลกทัศน์ และมีประสบการณ์ด้านการสอน ส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภาร่วมมือกับสหภาพวิชาชีพครูแห่งชาติ มาเลเซยี (National Union of the Teaching Profession, NUTP) โดยได้มีการด�ำเนนิ การ ดังน้ี 2.1) สง่ คณะครไู ทยเดนิ ทางไปแลกเปลยี่ น ณ ประเทศมาเลเซยี ระหวา่ ง 4 - 18 ตลุ าคม 2562 จำ� นวน 5 คน 2.2) รับคณะครูแลกเปลี่ยนจากประเทศมาเลเซีย ณ ประเทศไทย ระหว่างวันท่ี 23 พฤศจิกายน - 7 ธันวาคม 2562 จำ� นวน 5 คน 3. ดำ� เนนิ งานโครงการพฒั นาศกั ยภาพผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา โดยความรว่ มมอื ระหว่างส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภากับ National Institute for School Teachers and Staff Development (NITS) ประเทศญีป่ ุ่น สถาบันพฒั นาครู คณาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา และ สถาบันวิจัยและพัฒนาวิชาชีพครูส�ำหรับอาเซียน มหาวิทยาลัยขอนแก่น ด�ำเนินการพัฒนาผู้บริหาร สถานศึกษาท่ีได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมโครงการ จ�ำนวน 20 คน ตามกระบวนการพัฒนา 4 ระยะ ระหวา่ งตลุ าคม 2561 - กมุ ภาพนั ธ์ 2562 โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพใหแ้ กผ่ ปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ส่งเสริมการพัฒนาวิชาชีพทางการศึกษาในประเทศไทยและเสริมสร้างความร่วมมือ และเครือข่ายการพัฒนาวิชาชีพทางการศึกษาระหว่างประเทศไทยและประเทศญ่ีปุ่น และ ด�ำเนินการคัดเลือกผู้บริหารสถานศึกษาและศึกษานิเทศก์ เข้าร่วมโครงการพัฒนา รุ่น 2 ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 42 75 ปี สำ� นักงานเลขาธิการครุ ุสภา

การประชมุ สภาครอู าเซยี น (ASEAN Council of Teachers Convention) คุรุสภาในฐานะตัวแทนผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาของประเทศไทย ได้มีการส่งเสริม ความรว่ มมอื ดา้ นการศกึ ษาและพฒั นาวชิ าชพี ในประเทศภมู ภิ าคอาเซยี น โดยการนำ� คณะผแู้ ทนครุ สุ ภา และผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาเข้าร่วมการประชุมสภาครูอาเซียน+1 (ASEAN Council of Teachers) ครั้งที่ 35 ณ ประทศบรูไนดารุสซาลาม จำ� นวน 80 คน ในหวั ข้อ “Reducing Regional Educational Gap: Mobility of ASEAN Teachers” โดยไดม้ กี ารนำ� เสนอรายงาน Country Report ของประเทศไทย ในหัวข้อ “Reducing Regional Educational Gap: Mobility of ASEAN Teachers” และน�ำเสนอในกลุ่มย่อย ในหัวข้อ “ASEAN+1 Teacher Exchange Program\" งานในอนาคต 1) สนบั สนนุ การขบั เคลอื่ นภารกจิ ของครุ สุ ภารองรบั แผนแมบ่ ทภายใตแ้ ผนยทุ ธศาสตรช์ าติ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างทรัพยากรมนษุ ย์ และแผนปฏริ ูปประเทศดา้ นการศึกษา 2) พัฒนาองค์ความรู้เพ่ือพัฒนาวิชาชีพทางการศึกษาและการพัฒนางานของคุรุสภา อย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นฐานข้อมูลในการพัฒนาการด�ำเนินงานตามภารกิจของคุรุสภา รวมท้ังจัดท�ำ แผนปฏบิ ตั กิ ารด้านการวิจัยของสำ� นกั งานเลขาธิการคุรุสภา พ.ศ. 2563 - 2565 และการขอจัดสรร งบประมาณของหนว่ ยงาน ดา้ นการวจิ ยั ประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 จากสำ� นกั งานคณะกรรมการ สง่ เสรมิ วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม (สกสว.) 3) เขา้ รว่ มประชมุ สภาครอู าเซยี น ครง้ั ที่ 36 ในฐานะตวั แทนผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ของประเทศไทย เพอื่ สรา้ งความรว่ มมอื ดา้ นการศกึ ษาและการพฒั นาวชิ าชพี ครู รวมถงึ การแลกเปลย่ี น เรียนรทู้ างวชิ าการและวชิ าชีพในระดบั ภูมิภาคอาเซยี น ณ สาธารณรฐั อินโดนีเซยี 4) แลกเปลี่ยนครูในภูมิภาคอาเซียน เพ่ือเสริมสร้างความร่วมมือกับองค์กรวิชาชีพ ทางการศึกษาในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศต่าง ๆ ในการพัฒนาและยกระดับ มาตรฐานวชิ าชพี 5) พฒั นาศกั ยภาพผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ดำ� เนนิ การสง่ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา และ ศกึ ษานเิ ทศก์ จำ� นวน 34 คน ทผี่ า่ นการคดั เลอื กเขา้ รบั การพฒั นาตามแผนการดำ� เนนิ งาน 4 ระยะ ดงั นี้ ระยะที่ 1 การปฐมนิเทศ ณ สถาบันวิจัยและพัฒนาวิชาชีพครูส�ำหรับอาเซียน มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ระหวา่ งวันท่ี 21 - 22 ตุลาคม 2562 ระยะที่ 2 ด�ำเนนิ การพัฒนา ณ สถาบนั NITS ประเทศญีป่ นุ่ ระหวา่ งวันที่ 26 ตลุ าคม - 4 พฤศจกิ ายน 2562 ระยะท่ี 3 การนำ� ความรทู้ ่ไี ดจ้ ากการพฒั นาไปประยุกต์ใช้ในสถานศึกษา ในเดือนพฤศจกิ ายน 2562 - กุมภาพันธ์ 2563 ระยะท่ี 4 ตดิ ตามและประเมนิ ผลการอบรม ณ สถาบนั พฒั นาครู คณาจารย์ และบคุ ลากร ทางการศึกษา ในเดอื นมีนาคม 2563 4375 ปี สำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา

งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร “พฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร มุง่ ส่กู ารเป็นครุ สุ ภาดิจิทลั ” งานเดน่ ในรอบปี 2562 การพฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ยุคเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล มีผลกระทบต่อการด�ำเนินงานของคุรุสภาทั้งกระบวนการ บริหารจัดการและการบริการงานวิชาชีพทางการศึกษา จึงจ�ำเป็นต้องคิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ ทต่ี อบสนองตอ่ การเปลย่ี นแปลงทางดา้ นเทคโนโลยแี ละความตอ้ งการของผรู้ บั บรกิ าร ใหม้ คี วามสะดวก รวดเร็ว และเกิดประโยชน์สูงสุดท้ังในด้านการพัฒนากระบวนงานหรือระบบงาน การติดต่อส่ือสาร การทำ� งานรว่ มกนั การปฏบิ ตั งิ าน รวมถงึ การเสรมิ สรา้ งสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ โดยนำ� เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั มาประยุกต์ใชอ้ ย่างเหมาะสม ในรอบปี 2562 สำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา ในฐานะหนว่ ยปฏบิ ตั งิ านของครุ สุ ภา ไดด้ ำ� เนนิ การ พฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร ดงั นี้ 1. จัดจ้างท�ำแผนปฏิบัติการดิจิทัลของส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา พ.ศ. 2563 - 2565 เพ่ือใช้เป็นกรอบแนวทางในการด�ำเนินงานด้านดิจิทัลและสอดคล้องกับนโยบายและแผนระดับชาติ ว่าดว้ ยการพฒั นาดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกิจและสงั คม 2. จดั หาอปุ กรณค์ อมพวิ เตอร์ จำ� นวน 7 รายการ ไดแ้ ก่ 1) เครอ่ื งคอมพวิ เตอรแ์ มข่ า่ ย จำ� นวน 4 เคร่อื ง 2) อุปกรณ์สำ� หรบั จดั เกบ็ ขอ้ มูลภายนอก (External Storage) จำ� นวน 2 เครอ่ื ง 3) เครอ่ื ง สแกนเนอร์ ส�ำหรับศูนย์เอกสาร จ�ำนวน 13 เครื่อง 4) คอมพิวเตอร์แทบเล็ต จ�ำนวน 30 เครื่อง 5) เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ สำ� หรบั ประมวลผล จำ� นวน 76 เครอื่ ง 6) เครอ่ื งพมิ พ์ Multifunction ชนดิ เลเซอร์ จ�ำนวน 1 เคร่ือง และ 7) ตสู้ ำ� หรบั จัดเกบ็ เครอ่ื งคอมพิวเตอรแ์ ละอปุ กรณ์ จ�ำนวน 1 ตู้ เพื่อใช้สำ� หรบั การปฏิบัตงิ านทัง้ ในสำ� นักงานเลขาธิการคุรสุ ภาสว่ นกลางและส่วนภูมิภาค 3. พฒั นาระบบสารสนเทศและปรบั ปรงุ แกไ้ ขฟงั กช์ นั่ การทำ� งานของระบบฐานขอ้ มลู รองรบั การด�ำเนินงานตามภารกิจของคุรุสภา อันจะน�ำไปสู่การเป็น Big Data ของคุรุสภาในอนาคต ดังน้ี 1) พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ (MIS) 2) พัฒนาประสิทธิภาพระบบสารสนเทศ ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา (TEPIS) 3) พัฒนาระบบสารสนเทศประเมินเพ่ือรับใบอนุญาต ประกอบวชิ าชพี ครู 4) พฒั นาประสทิ ธภิ าพระบบบรกิ าร KSP e-Service ใหม้ คี วามคลอ่ งตวั ดว้ ยระบบ ทส่ี ามารถบรู ณาการเชอื่ มโยงฐานขอ้ มลู เพอ่ื ใชป้ ระโยชนข์ อ้ มลู รว่ มกนั อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 5) ปรบั ปรงุ แก้ไขฟังกช์ ัน่ การท�ำงานของระบบบริการอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (KSP e- Service) รองรับการกระจายงาน ไปยงั จดุ บรกิ ารงานครุ สุ ภาในสำ� นกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั จำ� นวน 76 จงั หวดั 6) ปรบั ปรงุ แกไ้ ขฟงั กช์ นั การทำ� งานของระบบคา่ ธรรมเนยี มการประกอบวชิ าชพี รองรบั การตอ่ อายใุ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ลา่ ชา้ 44 75 ปี สำ� นกั งานเลขาธิการครุ สุ ภา

4. ปรับปรงุ ระบบตอบรบั อตั โนมัติ (Call Center) รองรับการตดิ ต่อส่อื สารในรูปแบบดิจิทัล 5. ติดต้ัง ทดสอบ และน�ำระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ที่พัฒนาประสิทธิภาพข้ึนมาใหม่ ไปใช้งานจริง 6. ตดิ ตามและประเมนิ การใชง้ านระบบเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ณ จดุ บรกิ ารงานครุ สุ ภาในสำ� นกั งาน ศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั จำ� นวน 15 จงั หวดั ไดแ้ ก่ จงั หวดั รอ้ ยเอด็ มหาสารคาม กระบ่ี พงั งา ภเู กต็ เพชรบรุ ี สมุทรสาคร อุทัยธานี แพร่ อุตรดิตถ์ พิษณุโลก นราธิวาส ยะลา ปัตตานี และสงขลา ซึ่งน�ำมาสู่ การปรับปรงุ แกไ้ ข และพฒั นาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลใหม้ ปี ระสิทธภิ าพมากยิง่ ขึน้ 7. พัฒนาบุคลากรให้มี ความรู้ ความสามารถ และมีทักษะในการพัฒนาระบบเทคโนโลยี ดจิ ทิ ลั และการใชง้ านระบบสารสนเทศเพอ่ื การปฏบิ ตั งิ าน ดงั นี้ 1) จดั อบรมพนกั งานเจา้ หนา้ เทคโนโลยี สารสนเทศให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการพัฒนาองค์ความรู้ เคร่ืองมือ กระบวนการ ดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ จนสามารถประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ 2) ใหค้ วามรเู้ รอื่ งการใชร้ ะบบ บรกิ ารอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e-Service) แกพ่ นกั งานเจา้ หนา้ ทจ่ี ดุ บรกิ ารงานครุ สุ ภาในสำ� นกั งานศกึ ษาธกิ าร จงั หวดั และผเู้ กย่ี วขอ้ ง ไดร้ บั ทราบ รบั รู้ และเขา้ ใจถงึ วธิ กี ารใชง้ านระบบ 3) จดั อบรมการใชง้ านระบบ สารบรรณอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ใหแ้ กเ่ จ้าหน้าทผ่ี ้ปู ฏิบตั งิ าน ท้ังในสว่ นของผ้ดู แู ลระบบและผใู้ ช้งานระบบ การพัฒนาการสือ่ สารรองรบั โลกดิจทิ ัล สำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา ตระหนกั วา่ การสอ่ื สารจะสำ� เรจ็ หรอื ไมข่ นึ้ อยกู่ บั ความพงึ พอใจ ของผูป้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา และสาธารณชน เราจงึ ได้พัฒนาช่องทางการสือ่ สาร และนำ� ส่ือ สมยั ใหมม่ าใช้ในการประชาสัมพันธ์ สร้างการรบั รู้เพ่อื ใหส้ ือ่ ประชาสมั พันธม์ คี วามน่าสนใจ สามารถ เขา้ ถงึ ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษาและผรู้ บั บรกิ ารทกุ พนื้ ทไ่ี ดอ้ ยา่ งทว่ั ถงึ และรวดเรว็ ดว้ ยการเพม่ิ ช่องทางการส่ือสารผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพ่ือให้สอดรับกับพฤติกรรมการเปิดรับข่าวสาร ทีเ่ ปลยี่ นแปลงไปในยคุ ไทยแลนด์ 4.0 และสง่ เสริมภาพลักษณท์ ่ีดีของสำ� นกั งานเลขาธกิ ารคุรุสภา ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษาสามารถเขา้ ถงึ สอื่ ประชาสมั พนั ธข์ องสำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา ไดง้ า่ ยผา่ นทาง Application Platform Smartphone ทง้ั ทางแอปพลเิ คชนั ไลน์ Line@ (ไลนแ์ อด) เฟซบุ๊กแฟนเพจ อินสตาแกรม ยูทูบ และทวิตเตอร์ อีกทั้งยังสามารถติดต่อสอบถามข้อมูลต่าง ๆ ของสำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภาไดแ้ บบ one to one communication ผา่ นทางไลน์ และ messenger เฟซบุ๊ก เพื่อให้เป็นช่องทางที่ผู้รับบริการสามารถเข้าถึงได้ง่าย สะดวกและรวดเร็ว รวมถึงการจัดท�ำ ส่ือประชาสัมพันธ์ในรูปแบบ Infographic Motion graphic และคลิปวีดิโอสั้น เพื่อให้มีรูปแบบ ท่ีทันสมัยและเนื้อหามีความน่าสนใจย่ิงขึ้น และได้สร้างความตระหนักรู้ให้แก่พนักงานเจ้าหน้าท่ี สำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา โดยไดก้ ำ� หนดแนวทางการใชส้ อื่ ออนไลนเ์ พอื่ ใหน้ ำ� ไปปรบั ใชใ้ หเ้ หมาะสม กับบริบทและอำ� นาจหนา้ ท่ขี องตนเอง นอกจากน้ี ยังได้มีการด�ำเนินกิจกรรมด้านความรับผิดชอบต่อสังคม โดยได้จัดซื้ออุปกรณ์ การเรียนการสอนมอบให้แก่โรงเรียนท่ีขาดแคลนในจังหวัดต่าง ๆ อีกทั้งผู้บริหารและพนักงาน เจ้าหน้าท่ียังร่วมเป็นส่วนหนึ่งของโครงการจิตอาสาเราท�ำความดีด้วยหัวใจอีกด้วย และด�ำเนินการ จัดท�ำอัตลกั ษณ์ของส�ำนักงานเลขาธิการคุรสุ ภา เพอ่ื ยกระดบั การดำ� เนินงานของครุ สุ ภาต่อไป 4575 ปี สำ� นกั งานเลขาธิการครุ ุสภา

การพัฒนาหอสมุดคุรุสภา หอสมดุ ครุ สุ ภา ศนู ยร์ วมแหลง่ ความรเู้ ฉพาะทางดา้ นวชิ าชพี ทางการศกึ ษา เนน้ การใหบ้ รกิ าร ในรูปแบบห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (e-Library) ควบคู่กับการให้บริการพื้นท่ีภายในหอสมุดคุรุสภา เพอ่ื เสรมิ สรา้ งสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ ดว้ ยการนำ� เทคโนโลยมี าประยกุ ตใ์ ช้ เปดิ ใหบ้ รกิ ารแกผ่ ปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ผเู้ กยี่ วขอ้ งทางการศกึ ษา นสิ ติ นกั ศกึ ษา คณาจารย์ ตลอดจนประชาชนทว่ั ไป โดยในปี 2562 ได้มกี ารด�ำเนนิ การ ดงั นี้ 1. การจดั “พธิ เี ปดิ หอสมดุ ครุ สุ ภา” เมอ่ื วนั ที่ 2 เมษายน 2562 ซง่ึ เปน็ วนั คลา้ ยวนั พระราชสมภพ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเจริญ พระชนมายคุ รบ 64 พรรษา เพอื่ นอ้ มเทดิ พระเกยี รตคิ ณุ ในฐานะทพี่ ระองคท์ รงเปน็ สมาชกิ กติ ตมิ ศกั ดิ์ ตามพระราชบญั ญตั คิ รู พทุ ธศกั ราช 2488 ทรงเปน็ ครู และทรงเปน็ ผมู้ คี วามสนพระทยั และสง่ เสรมิ งาน การพัฒนาหอ้ งสมุด 2. การใหบ้ รกิ ารทรพั ยากรสารสนเทศผา่ นทาง “เวบ็ ไซตห์ อสมดุ ครุ สุ ภา” โดยมกี ารเชอ่ื มตอ่ กับระบบสืบค้นสารสนเทศ จ�ำนวน 2 ระบบ ได้แก่ ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ PMB บริการสืบค้น ทรพั ยากรสารสนเทศภายในหอสมดุ ครุ สุ ภาและฐานขอ้ มลู ตา่ งประเทศ (DOAB : Directory of Open Access Books) และระบบสืบค้นข้อมูล GURU Search โดยความร่วมมือกับส�ำนักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม บริการสืบค้นข้อมูลจากฐานข้อมูลห้องสมุดภายนอก และฐานข้อมูลคลังทรัพยากร การศกึ ษาแบบเปดิ ในรปู แบบการสบื คน้ จดุ เดยี ว (One Search) ซงึ่ ผใู้ ชบ้ รกิ ารสามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ได้ โดยไมจ่ ำ� กดั สถานที่ เวลา และการใหบ้ รกิ ารภายในหอสมดุ ครุ สุ ภา บรเิ วณชนั้ 2 อาคารหอประชมุ ครุ สุ ภา 3. การจัดเก็บรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับประวัติคุรุสภา เพื่อเตรียมจัดท�ำเป็นจดหมายเหตุ ของครุ สุ ภา 4. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การสร้าง Infographic เพื่อการสื่อสาร อย่างมีประสิทธิภาพ” ให้แก่พนักงานเจ้าหน้าท่ีส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา สังกัดส�ำนักเทคโนโลยี สารสนเทศและการสอื่ สาร 46 75 ปี สำ� นักงานเลขาธกิ ารคุรสุ ภา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook