Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จดหมายเหตุคุรุสภาฉบับแนะนำ

จดหมายเหตุคุรุสภาฉบับแนะนำ

Published by Napash.bie, 2021-02-25 05:43:27

Description: จดหมายเหตุคุรุสภา เป็นหนังสือที่รวบรวมประวัติศาสตร์ของวิชาชีพทางการศึกษา และคุรุสภา ซึ่งมีประวัติความเป็นมาและดำเนินงานเพื่อส่งเสริมและพัฒนาวิชาชีพและผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษามาเป็นระยะเวลายาวนานตั้งแต่ปี ๒๔๓๘ – ปี ๒๕๖๓ รวม ๑๒๕ ปี
เพื่อเป็นร่องรอย หลักฐาน ไว้ให้ผู้สนใจเรื่องวิชาชีพทางการศึกษาได้ค้นคว้า
และให้บุคลากรในหน่วยงานมีความภาคภูมิใจในประวัติศาสตร์การทำงานการศึกษาของชาติอย่างยาวนาน

Keywords: วิชาชีพทางการศึกษา,คุรุสภา

Search

Read the Text Version

คุรสุ ภา ๑๒๕ ปี ครุ สุ ภา (พ.ศ. ๒๔๓๘ - ๒๕๖๓)

คำ�นำ� ครุ ุสภามปี ระวัตยิ าวนานควบค่กู บั กระทรวงศึกษาธกิ าร ประมาณ พ.ศ. ๒๔๓๐ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระบรมราชโองการให้ตั้งกรมศึกษาธิการข้ึน โดยประวัติความเป็นมา ของครุ ุสภา เร่มิ ตงั้ แตม่ ีการอบรมครหู รอื ประชมุ ครคู รง้ั แรกที่ “วิทยาทานสถาน” ในปี ๒๔๓๘ และต้ังสภา สำ�หรับอบรมและประชุมครูที่เรียกว่า “สภาไทยาจารย์” ในปี พ.ศ. ๒๔๔๓ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๔๕ กรมศกึ ษาธกิ ารไดจ้ ดั ตง้ั สถานทป่ี ระชมุ อบรมและสอนครขู นึ้ ใหช้ อ่ื วา่ “สามคั ยาจารยส์ โมสรสถาน” กอ่ นทจ่ี ะ มีจัดตง้ั คุรุสภาตามพระราชบญั ญัตคิ รู พุทธศกั ราช ๒๔๘๘ เพอ่ื ใหค้ รุ สุ ภาเปน็ สภาในกระทรวงศกึ ษาธกิ าร มีอำ�นาจหน้าที่ส่งเสริมฐานะครูและพัฒนาครูให้มีความรู้ ความสามารถ คุณภาพ และประสิทธิภาพ รวมท้ังส่งเสริมให้ครูได้รับสวัสดิการและสวัสดิภาพตามสมควรนับต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๔๘๘ จนกระท่ัง มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ ได้ปรับสภา ในกระทรวงศึกษาธิการเป็นสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา มีอำ�นาจหน้าท่ีกำ�หนดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ กำ�กับดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณ ของวิชาชีพ รวมท้ังการพัฒนาวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา โดยคุรุสภา ไดด้ �ำ เนนิ การตามอำ�นาจหน้าทท่ี บ่ี ัญญัติไว้ในพระราชบญั ญตั ิมาด้วยดีโดยตลอด จากความเปน็ มาและการด�ำ เนินงานของคุรุสภาดังกล่าว สำ�นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภาตระหนกั ถงึ คณุ ค่า และความสำ�คัญของคุรุสภาต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน แสดงถึงหลักฐานและพัฒนาการด้านวิชาชีพทางการศึกษา ของชาติ ซง่ึ ในอดตี ทผี่ า่ นมายงั ไมม่ กี ารรวบรวม จดั เกบ็ และเผยแพรข่ อ้ มลู อยา่ งเปน็ ระบบ ท�ำ ใหข้ อ้ มลู ไมเ่ ปน็ เอกภาพ ส่งผลใหเ้ อกสารสำ�คญั ในการปฏบิ ตั งิ าน ชำ�รดุ สญู หาย ไม่สามารถตรวจสอบและใชอ้ า้ งอิง ในการแบง่ ส่วนงาน ของส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารครุ ุสภาตามประกาศส�ำ นกั งานเลขาธิการครุ สุ ภา เรอื่ ง การจดั แบง่ สว่ นงานภายใต้สำ�นัก ในสำ�นักงานเลขาธิการคุรุสภา พ.ศ. ๒๕๖๐ จึงกำ�หนดให้กลุ่มวิทยบริการ สำ�นักเทคโนโลยีสารสนเทศและ การส่อื สาร มีหน้าท่จี ัดทำ�หอจดหมายเหตุวิชาชีพคุรุสภา และแต่งต้งั คณะกรรมการจัดทำ�จดหมายเหตุคุรุสภา ใหม้ หี น้าท่ีให้ค�ำ ปรึกษา แนะนำ� ใหข้ ้อเสนอแนะ วเิ คราะห์เอกสาร ด�ำ เนินการคดั เลอื กและจัดท�ำ เปน็ จดหมายเหตุ คุรสุ ภา เพอื่ ใหม้ ีขอ้ มลู สำ�หรบั ใหบ้ รกิ ารในรปู แบบของหนังสือฉบับพมิ พ์และหนังสอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ผ่านผา่ นเว็บไซต์ หอสมดุ ครุ สุ ภา คณะกรรมการจัดทำ�จดหมายเหตุของคุรุสภาได้พิจารณาแล้วเห็นว่า คุรุสภามีประวัติความเป็นมา และด�ำ เนนิ งานเพอื่ สง่ เสรมิ และพฒั นาวชิ าชพี และผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษามาเปน็ ระยะเวลายาวนาน ตง้ั แต่ ปี ๒๔๓๘ - ปี ๒๕๖๓ รวม ๑๒๕ ปี และมีข้อมูลเป็นจำ�นวนมาก จึงจัดทำ�จดหมายเหตุคุรุสภาเป็น ๔ เล่ม และก�ำ หนดระยะเวลาดำ�เนนิ การดงั น้ี 2 / จดหมายเหตุครุ สุ ภา

กำ�หนดระยะเวลาการจดั ท�ำ จดหมายเหตคุ ุรสุ ภา วันที่ การดำ�เนนิ การ วันที่ ๒ มนี าคม ๒๕๖๔ ประกาศรูปแบบและแนวทาง (วันคล้ายวนั สถาปนา สำ�นกั งานเลขาธิการครุ สุ ภา) การจดั ทำ�จดหมายเหตคุ รุ ุสภา วันท่ี ๕ ตุลาคม ๒๕๖๔ เผยแพร่จดหมายเหตุคุรุสภา เลม่ ๑ (วนั ครูโลก) วันท่ี ๑๖ มกราคม ๒๕๖๕ เผยแพร่จดหมายเหตคุ ุรสุ ภา เล่ม ๒ (วันคร)ู วันที่ ๒ มนี าคม ๒๕๖๕ เผยแพร่จดหมายเหตุครุ ุสภา เล่ม ๓ (วนั คล้ายวันสถาปนาส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารคุรสุ ภา) วนั ท่ี ๕ ตลุ าคม ๒๕๖๕ เผยแพรจ่ ดหมายเหตคุ รุ ุสภา เล่ม ๔ (วันครโู ลก) คณะกรรมการจัดทำ�จดหมายเหตุของคุรุสภาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า จดหมายเหตุคุรุสภาจะเป็นประโยชน์ต่อ หนว่ ยงานทางการศึกษา สถาบันการศึกษา และหนว่ ยงานที่เกย่ี วข้อง ตลอดจนครู คณาจารย์ นสิ ติ นักศกึ ษา และผ้สู นใจ โดยทว่ั ไปตามสมควร คณะกรรมการจดั ท�ำ จดหมายเหตุของครุ ุสภา ๒ มนี าคม ๒๕๖๔ จดหมายเหตุคุรสุ ภา / 3

4 / จดหมายเหตุคุรสุ ภา

ประวัติความเปน็ มา ตามพระราชบญั ญตั ิครู พุทธศักราช ๒๔๘๘ จดหมายเหตุครุ ุสภา / 5

ประวตั คิ วามเป็นมากอ่ นการจัดตัง้ ครุ สุ ภา ตามพระราชบัญญัตคิ รู พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๘ ประวตั คิ วามเปน็ มา กอ่ นการจัดตัง้ ครุ สุ ภา ตามพระราชบัญญัติครู พุทธศกั ราช ๒๔๘๘ คุรุสภามีประวัติยาวนานควบค่กู ับกระทรวงศึกษาธิการ ประมาณ พ.ศ. ๒๔๓๐ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงมพี ระบรมราชโองการโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ ม ให้ตั้งกรมศึกษาธิการข้ึน กิจการของกรมศึกษาธิการใน พ.ศ. ๒๔๒๙ มีโรงเรียนในสังกัด ทั่วราชอาณาจักร ๓๔ แห่ง ครู ๘๑ คน นักเรียน ๑,๙๙๔ คน ใน พ.ศ. ๒๔๓๕ จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าโปรดกระหมอ่ มประกาศตั้งกระทรวงธรรมการ ในระยะ ๓ - ๔ ปีต่อมา ทางราชการได้จัดการศึกษาให้เจริญก้าวหน้าย่งิ ข้นึ ทง้ั ในกรงุ เทพฯ และหวั เมอื ง ทง้ั โรงเรยี นรฐั บาลและโรงเรยี นราษฎร์ ซง่ึ สมยั นน้ั เรยี กวา่ โรงเรยี น เชลยศักด์ิ ต่อมาใน พ.ศ. ๒๔๓๘ ได้มีการแก้ไขเพ่ิมเติมระเบียบสอบไล่หนังสือไทย ตามพระราชบญั ญตั กิ ารสอบวชิ า พ.ศ. ๒๔๓๓ (ร.ศ. ๑๑๐) เปน็ ประโยค ๑ แบง่ เปน็ ๓ ชน้ั และ ประโยค ๒ แบง่ เปน็ ๓ ชนั้ มวี ชิ าทสี่ อบสงู ขนึ้ และหลายวชิ านอกจากวชิ าพนื้ ๆ คอื อา่ น เขยี นตาม ค�ำ บอก ลายมอื ไวยากรณ์ เลข (บวก ลบ คูณ หาร) แล้วยงั มวี ิชาน่ารู้ เร่อื งร่างกายของเรา พระราชพงศาวดาร เรยี งความ ย่อความ เลขคณิต (สูงขึ้น) ฉะนน้ั จงึ มคี วามจ�ำ เปน็ จะตอ้ ง มีการประสิทธ์ิประสาทความรู้ใหม่ ๆ ใหแ้ กค่ รยู ง่ิ ขน้ึ ตลอดจนตอ้ งมกี ารอบรมครใู หร้ วู้ ชิ าครู และวธิ สี อนดว้ ย สมยั นน้ั มคี รทู ่ีไปเรยี นทางวชิ าการศกึ ษา (วชิ าคร)ู มาจากต่างประเทศเพยี ง ไม่กี่คน ครูเหล่าน้ีเองที่นำ�วิชาซึ่งตนเรียนมาเผยแพร่ให้แก่ครูในประเทศให้มีความรู้ย่ิงขึ้น จึงได้เปดิ การอบรมครูหรือประชุมครูขึ้นเป็นครงั้ แรกท่ี “วทิ ยาทานสถาน” ในปี พ.ศ. ๒๔๓๘ ผอู้ บรมครคู นแรก คอื เจา้ พระยาธรรมศกั ดมิ์ นตรี ซง่ึ ขณะนนั้ ยงั เปน็ นายสนน่ั เทพหสั ดนิ ณ อยธุ ยา นับต้ังแต่จัดต้ัง “วิทยาทานสถาน” สามารถลำ�ดับความเป็นมาก่อนการจัดตั้งคุรุสภา ตามพระราชบัญญัตคิ รู พุทธศักราช ๒๔๘๘ ได้ดงั น้ี 6 / จดหมายเหตุครุ สุ ภา

บน : สามคั ยาจารยส์ โมสรสถาน ไดย้ า้ ยไปตง้ั อยู่ในโรงเรยี นมธั ยม วดั ราชบรู ณะ จังหวัดพระนคร (ปัจจุบันคือโรงเรียนสวนกหุ ลาบ วทิ ยาลัย) และมีการฉลองใน วนั ท่ี ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๔๖ ลา่ ง : ศาลาพระเสดจ็ ทท่ี �ำ งาน ของสามคั ยาจารยส์ มาคม จดหมายเหตุคุรุสภา / 7

ประวัตคิ วามเปน็ มาก่อนการจดั ตงั้ ครุ ุสภา ตามพระราชบัญญัตคิ รู พุทธศกั ราช ๒๔๘๘ วทิ ยาทานสถาน วทิ ยาทานสถาน จดั ตงั้ ในปี พ.ศ. ๒๔๓๘ โดย เจา้ พระยาภาสกรวงศ์ (พร บนุ นาค) เสนาบดคี นแรก กระทรวงธรรมการ ต้ังอยู่ที่สี่กั๊กพระยาศรี ใกล้ห้างแลยีริกันตี ณ สถานท่ีนี้ได้จัดให้มีการชุมนุมเชื้อเชิญผู้มีความร้มู าบรรยายเร่อื งต่าง ๆ ต่อมาได้ย้ายไปต้ังท่ีโรงเล้ียงเด็กหรือโรงเรียนสายสวลีสัณฐาคาร จึงนับว่าวิธีการของวิทยาทานสถานเป็นต้นเค้าของ การแสดงปาฐกถา ณ สามคั ยาจารย์สมาคม สภาไทยาจารย์ ตอ่ มาในวนั ที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๔๓ นายตรวจแขวง (ศกึ ษา) แขวงบางกอกนอ้ ย จงั หวดั ธนบรุ ี ไดร้ บั อนญุ าตให้ ตง้ั สภาส�ำ หรบั อบรมและประชมุ ครขู น้ึ ทว่ี ดั ใหมว่ นิ ยั ช�ำ นาญ (วดั เทพผล)ู ในแขวงบางกอกนอ้ ย จงั หวดั ธนบรุ ี โดยตงั้ ชอ่ื สถานทน่ี ้ี วา่ “สภาไทยาจารย”์ เปิดทำ�การสอนครทู กุ วนั พระอันเป็นวันหยุดราชการ นายตรวจแขวงเปน็ ผ้สู อนเอง หนังสอื พมิ พ์ วิทยาจารยเ์ ล่มแรกซงึ่ เป็นหนงั สือพิมพ์ของครูได้ออกในเดอื นพฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๔๓ ด้วย นายตรวจแขวง คอื ผทู้ ส่ี �ำ เรจ็ การศกึ ษาไดป้ ระกาศนยี บตั รจากโรงเรยี นฝกึ หดั อาจารย์ และไดร้ บั การแตง่ ตง้ั จาก กรมศกึ ษาธกิ ารใหอ้ อกตรวจโรงเรยี นตามทอ้ งทซ่ี ง่ึ จดั เปน็ แขวง ๆ โดยตรวจสถานทว่ี า่ เหมาะแกก่ ารอนามยั หรอื ไม่ หรอื มี อุปสรรคอะไร นอกจากน้ียังตรวจบัญชีเรียกช่ือ ทะเบียน สมุดหมายเหตุ และเข้าดูการสอนของครูในช้ันต่าง ๆ ด้วย เม่ือครบสัปดาห์ นายตรวจแขวงต้องทำ�รายงานการตรวจโรงเรียนเสนอเจ้ากรมตรวจ กรมศึกษาธิการ ซ่ึงขณะนั้นคือ หลวงไพศาลศิลปะสาคร (สนัน่ เทพหัสดนิ ณ อยธุ ยา) ตอ่ มาเป็น เจา้ พระยาธรรมศกั ด์ิมนตรี เสนาบดีกระทรวงธรรมการ คนที่ ๔ เจ้ากรมกบ็ นั ทกึ ขอ้ ที่จะต้องแก้ไขตักเตอื นครู พอถงึ วนั เสารก์ ม็ กี ารประชมุ ครมู าฟงั ค�ำ ชแ้ี จงและตกั เตอื นแนะน�ำ ใหร้ ทู้ างแก้ไข เพอ่ื ใหก้ ารจดั โรงเรยี นและการสอน ดขี นึ้ การประชมุ ครใู นวนั เสารน์ เ้ี จรญิ กา้ วหนา้ เพราะเจา้ กรมสนใจไปเปน็ ประธานเสมอ ขา้ ราชการทเ่ี กย่ี วขอ้ งก็ไปรว่ มประชมุ ดว้ ย นอกจากจะมีการช้ีแจงให้ครูทราบว่าการงานบกพร่องข้อใด และใครได้รับการชมเชยแล้วยังมีการเสนอปาฐกถาต่อท้าย โดยทางราชการเชิญผู้เช่ียวชาญในวิชาครูบ้าง ประวัติศาสตร์ หรือวิชาอื่น ๆ บ้าง มาแสดง บางครั้งมีการโต้วาที มีขา้ ราชการกระทรวงอน่ื ๆ และสภุ าพชนไปประชุมกันล้นหลาม 8 / จดหมายเหตุครุ ุสภา

ซา้ ย : เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี ขวา : เจา้ พระยาพระเสดจ็ สเุ รนทราธบิ ดี สามัคยาจารย์ สโมสรสถาน ปี พ.ศ. ๒๔๔๕ กรมศึกษาธิการจัดต้ังสถานท่ีประชุมอบรมและสอนครูข้ึนท่ี โรงเรยี นทวธี าภเิ ศก ในบรเิ วณวดั อรณุ ราชวราราม จงั หวัดธนบุรี ใหช้ ื่อวา่ “สามคั ยาจารย์ สโมสรสถาน” โดยมีเจา้ พระยาพระเสดจ็ สเุ รนทราธบิ ดี (ม.ร.ว. เปีย มาลากุล) ซึ่งสมัยนั้น ยังมีบรรดาศักดิ์เป็นพระยาวิสุทธสุริยศักดิ์ อธิบดีกรมศึกษาธิการ เป็นสภานายกคนแรก มกี ารประชุมกันเดอื นละ ๒ คร้งั ครั้งแรกประชมุ กันเมือ่ วนั ท่ี ๑๕ กันยายน พ.ศ. ๒๔๔๕ ท่านสภานายกผู้น้ีมาเป็นประธานในที่ประชุมเสมอมิได้ขาด แสดงว่ามีความสนใจใน กิจการของสมาคมเป็นอย่างย่ิง การประชุมคร้ังสุดท้าย ณ สถานที่น้ี คือ ครั้งที่ ๒๖ เมอ่ื วนั ท่ี ๑๗ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๔๔๖ ปรากฏว่าในวนั นัน้ มีพระภกิ ษสุ งฆ์สามเณรมาประชมุ ๖๗ รปู คฤหัสถ์ ๑๕๗ คน รวม ๒๒๔ คน ตอ่ จากนัน้ ก็ย้ายสถานที่ตง้ั ของสามคั ยาจารย์ สโมสรสถานไปต้ังอยู่ในโรงเรียนมัธยมวัดราชบูรณะ จังหวัดพระนคร (คือโรงเรียน สวนกุหลาบวิทยาลัย) และได้มีการฉลองสามัคยาจารย์สโมสรสถานกับโรงเรียนมัธยม วัดราชบรู ณะ เมอ่ื วันท่ี ๓๑ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๔๔๖ และวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๔๗ จดหมายเหตุครุ ุสภา / 9

ประวตั ิความเป็นมาก่อนการจดั ตง้ั คุรุสภา ตามพระราชบญั ญตั ิครู พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๘ สามคั ยาจารย์สมาคม ในวันท่ี ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๔๗ (ร.ศ. ๑๒๓) กรมศึกษาธิการได้จัดต้ังสถานท่ีอบรมและประชุมครู ขึ้นเปน็ รูปสมาคม ชื่อ สามัคยาจารย์สมาคม โดยมี พระยาวิสุทธสุรยิ ศักดิ์ (หรือ หม่อมราชวงศเ์ ปีย มาลากุล ตอ่ มา เป็นเจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี) ปลัดทูลฉลองกระทรวงธรรมการในสมัยน้ันเป็นคนส�ำ คัญในการจัดตั้ง และเป็น สภานายกคนแรกของสมาคม โดยมีรปู แบบและการดำ�เนินงานของสมาคม ดังน้ี ๔.๑ ความหมาย สามคั ยาจารยส์ มาคม แปลวา่ สมาคมครสู ามคั คี เปน็ ทรี่ วมของครเู พอื่ สรา้ งความสนทิ สนมคนุ้ เคยเรยี นรู้ ซงึ่ กนั และกนั และรว่ มกนั ท�ำ กจิ กรรมเพอื่ ความเจรญิ ยงิ่ ขนึ้ ไปของการศกึ ษา เปน็ สมาคมแรกของผมู้ วี ชิ าชพี ครใู นประเทศไทย แตร่ ับผู้ใฝ่ร้อู ่ืน ๆ เป็นสมาชกิ ด้วย ๔.๒ เครือ่ งหมายของสมาคม เครื่องหมายของสมาคมเป็นภาพประดิษฐ์ มีรูปดอกกุหลาบ แสดงความระลึกถึงโรงเรียนพระตำ�หนัก สวนกหุ ลาบ รปู มอื สองมอื จบั กนั แนน่ หมายความวา่ เพอื่ ปลกู สามคั คี และมรี ปู เครอื่ งดนตรี เครอ่ื งมอื ศลิ ปะ และเครอ่ื งมอื สำ�หรับเลน่ กีฬา เพื่อแสดงถึงกจิ กรรมต่าง ๆ ทส่ี มาชิกเลอื กท�ำ ได้ในสมาคม 10 / จดหมายเหตุครุ ุสภา

๔.๓ วตั ถุประสงค์ สามัคยาจารยส์ มาคมเมือ่ แรกตง้ั พ.ศ. ๒๔๔๗ มีวตั ถปุ ระสงคต์ ามระเบียบการสามคั ยาจารย์สมาคม ฉบับแรกว่าด้วยอายุของสมาคม ดงั น้ี (๑) เพื่อให้สมาคมนี้เป็นบ่อเกิดแห่งศิลปวิทยา คือหมายความว่าให้เป็นที่ชุมนุมสำ�หรับปรึกษาหารือ การท่ีเก่ียวข้องด้วยการศึกษา เพ่ือจะคิดค้นหาวิชาและอุปเท่ห์ท่ีจะจัดทำ�นุบำ�รุงการนี้ให้เป็นประโยชน์ถึงซ่ึงความเจริญ ย่ิงข้ึนไป เป็นที่ชมุ นมุ สอน และฝกึ หดั อธิบายหรือแสดงบรรดาสรรพศิลปวทิ ยาแก่สมาชกิ ทป่ี ระสงค์จะฝึกหดั เลา่ เรยี น (๒) เพ่ือให้สมาคมนี้เป็นท่ีประชุมผู้มีบรรดาศักดิ์ ใหญ่น้อย ผู้เป็นเพื่อนราชการท่ัวไป ตลอดจนนักเรียน ซ่ึงยังอยู่ในเวลาเล่าเรียน ซึ่งมีความพอใจที่จะเข้าเป็นสมาชิกเพื่อกระทำ�ความคุ้นเคยและรู้จักอัธยาศัยใจคอซึ่งกันและกัน เปน็ อันดี และเพ่ือเปน็ อุบายที่จะฝกึ หัดใหค้ นหนมุ่ ๆ ใหม่ ๆ ซง่ึ เป็นสมาชิกได้รับความคนุ้ เคยในทป่ี ระชุมกระท�ำ ความมีสง่า และความองอาจกล้าหาญให้บังเกิดแก่สมาชิกนั้น ๆ เหมือนเป็นความฝึกหัดอันหน่ึงซ่ึงมีช่ือเรียกว่า “โสเชียลไสเอนส์” อันเป็นความฝึกหัดอย่างสงู ซึง่ จะเรยี นด้วยวธิ ีอน่ื ๆ ไม่ได้ นอกจากตอ้ งเขา้ ท่ปี ระชุม (๓) เพ่ือให้สมาคมน้ีเป็นท่ีประชุมกระทำ�ความบันเทิงทั้งใจและกายในท่ีชอบ และเป็นคุณประโยชน์ มีการกรีฑา และการดนตรี ขับร้อง เป็นต้น เพื่อเป็นเคร่ืองชำ�ระความเมื่อยล้าขุ่นมัวแห่งร่างกายและดวงจิต ให้ชุ่มช่ืน ตนื่ เต้นสดใสข้ึนใหม่ ส�ำ หรับจะไดเ้ ป็นก�ำ ลงั ทจ่ี ะประกอบการงานต่อไป ๔.๔ กรรมการ หนงั สอื ๓๐ ปคี รุ สุ ภา กลา่ วถงึ กรรมการในระเบยี บการสามคั ยาจารยส์ มาคมฉบบั แรกวา่ ดว้ ยอายสุ มาคม ดังน้ี “กรรมการของสมาคม กรรมการสำ�หรับจัดการสมาคม ตามปรกตติ ้ังปีละคร้ัง มี ๓๙ คน ประกอบด้วย สภานายก ๑ อุปนายก ๑ ๓ ตำ�แหนง่ น้กี รมศกึ ษาธิการเลอื กตงั้ เลขาธกิ าร ๑ กรรมการทปี่ รกึ ษา ๑๒๒๔ กรรมการ ๒ ชดุ นี้สมาชิกเลอื กตง้ั ผชู้ ว่ ยกรรมการทปี่ รึกษา ในกรรมการทป่ี รกึ ษาและผชู้ ว่ ยกรรมการทป่ี รกึ ษาเหลา่ นี้ ทปี่ ระชมุ ของกรรมการยอ่ มจะเลอื กในพวกกนั เอง ขึน้ เป็นเจ้าหน้าท่ีประจ�ำ การตา่ ง ๆ ตามต�ำ แหนง่ เหล่านี้ คอื ผู้ชว่ ยเลขาธิการ ๑ เหรญั ญกิ ๑ ผชู้ ว่ ยเหรัญญกิ ๑ บรรณารักษ ์ ๑ ผู้ช่วยบรรณารกั ษ ์ ๑ ปฏคิ ม ๑ ผู้ช่วยปฏคิ มไม่มากกวา่ ๓ สาราณียกร ๑ ผู้ช่วยสาราณียกรไมม่ ากกว่า ๓ จดหมายเหตุคุรุสภา / 11

ประวตั ิความเป็นมากอ่ นการจัดต้งั คุรุสภา ตามพระราชบัญญตั ิครู พุทธศักราช ๒๔๘๘ กรรมการชดุ แรก กรรมการของสามคั ยาจารยส์ มาคมชุดแรกใน พ.ศ. ๒๔๔๗ คือ สภานายก พระยาวสิ ุทธสรุ ยิ ศักด์ิ (เจ้าพระยาพระเสดจ็ สเุ รนทราธบิ ดี) อปุ นายก นายดบั เบลิ ย.ู ย.ี ยอนสนั เลขาธกิ าร พระไพศาลศลิ ปสาตร์ (เจ้าพระยาธรรมศกั ดม์ิ นตร)ี กรรมการทีป่ รกึ ษา ๑. หลวงบ�ำ เหน็จวรญาณ ๒. หลวงอนกุ ิจวิธรู (พระยาอนกุ จิ วิธูร) ๓. หลวงประสารอกั ษรพรรณ ๔. ขนุ จรสั ชวนะพนั ธ์ (พระยาเมธาธิบดี) (พระประสารอกั ษรพรรณ) ๕. หลวงวนิ ิจวิทยาการ ๖. ขนุ วจิ ติ รวรสาสน์ (พระยาวนิ จิ วิทยาการ) (พระยาวิจิตรวรสาสน)์ ๗. ขุนอปุ กติ ศิลปสาร ๘. ขนุ ประสาสนอ์ ักษรการ (พระยาอปุ กติ ศิลปสาร) ๙. ขุนจรัลชวนะเพท ๑๐. นายรนื่ (พระยาราชนกูล) (พระยาจรลั ชวนะเพท) ๑๑. ขุนวิเทศดรุณการ ๑๒. ขุนวิทรู ดรุณกร (พระยาวทิ ูรดรุณกร) กรรมการผูช้ ว่ ยทปี่ รกึ ษา ๒. ขนุ วทิ ิตดรณุ กูล (พระยาวิทติ ดรุณกลู ) ๑. ขนุ อปุ กาศศลิ ปสิทธิ์ ๓. ขนุ จรูญชวนะพฒั น์ ๔. นายชติ ๕. ขุนบรรหารวรอรรถ ๖. ขนุ วธิ านดรณุ กิจ (พระยาบรรหารวรอรรถ) ๗. ขุนประการวุฒิสิทธ์ิ ๘. ขนุ ประกอบวุฒสิ ารท (พระยาราชโยธา) ๙. นายกำ�จดั ๑๐. ขุนประพนธเ์ นติประวัติ ๑๑. ขนุ อปุ การศลิ ปเสรฐ ๑๒. พระครอู ดุ มพิทยากร (พระยาอุปการศลิ ปเสรฐ) ๑๓. นายอน่ั ๑๔. ขุนช�ำ นิอนสุ าสน์ ๑๕. พระครวู ิหารกิจจานุการ ๑๖. ขุนประกาศวุฒสิ าร ๑๗. พระครูอักขรานสุ ฐิ ๑๘. นายเงนิ (พระครปู ลัด) ๑๙. นายโชต ิ ๒๐. พระสมหุ ศ์ ขุ ๒๑. นายสงั ข ์ ๒๒. หลวงฤทธศิ กั ด์ิชลเขตต์ ๒๓. ขุนอนสุ าสนว์ ินิจ ๒๔. นายทดั 12 / จดหมายเหตุครุ สุ ภา

กรรมการท่ีเป็นเจ้าหน้าท่ี มดี งั ตอ่ ไปน้ี ผู้ชว่ ยเลขาธิการ หลวงบ�ำ เหน็จวรญาณ เหรัญญิก หลวงประสารอักษรพรรณ ผู้ชว่ ยเหรญั ญิก ขุนวิทติ ดรณุ กูล บรรณารักษ์ ขนุ จรญู ชวนะพัฒน์ ผ้ชู ว่ ยบรรณารกั ษ์ (วา่ ง) ปฏิคม ขนุ วิทรู ดรณุ กร ผู้ช่วยปฏคิ ม นายสงั ข์ (ครูโรงเรียนมธั ยมราชบรุ ณะ) สาราณยี กร ขุนจรสั ชวนะพันธ์ ผชู้ ว่ ยสาราณียกร ขนุ จรัลชวนะเพท” รองศาสตราจารย์นิรมล ตีรณสาร สวัสดิบุตร เขียนในสารานุกรมวิชาชีพครู เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ ัว เน่ืองในโอกาสฉลองสริ ิราชสมบัตคิ รบ ๖๐ ปี ว่า “สามคั ยาจารย์สมาคมมีกรรมการ ๒ ประเภท คือ กรรมการอ�ำ นวยการและกรรมการทป่ี รึกษา ก. กรรมการอ�ำ นวยการ มี ๓ ประเภท คอื (๑) เจ้าหนา้ ที่ ๙ ตำ�แหนง่ ๆ ละ ๑ คน คือ สภานายก อปุ นายก เลขาธกิ าร (ทง้ั ๓ ต�ำ แหนง่ น้ี กรมศึกษาธกิ ารเลอื กและต้ัง) เหรญั ญกิ สาราณยี กร บรรณารักษ์ ปฏคิ ม (๔ ต�ำ แหนง่ น้สี มาชกิ เป็นผเู้ ลือกตั้ง) ริคอเดอร์ อินเวสตเิ กเตอร์ (๒ ตำ�แหน่งน้ี สภานายกเลือกเองและกรรมการอนญุ าตตั้ง) (๒) ผชู้ ว่ ย ๕ ตำ�แหน่ง ๆ ละกค่ี นก็ได้ คอื ผชู้ ่วยเลขาธิการ ผู้ช่วยเหรญั ญกิ ผ้ชู ่วยสาราณียกร ผชู้ ว่ ยบรรณารกั ษ์ ผู้ช่วยปฏคิ ม (ทั้ง ๕ ตำ�แหน่งน้เี จ้าหน้าทเี่ ลือกและกรรมการอนุญาตต้ัง) (๓) นายกและเลขานุการของกรรมการสาขา (เช่น สโมสรอังกฤษ สโมสรบรรเลง) นายวงของ กรรมการบนั เทงิ นายสนามของกรรมการกรีฑา ข. กรรมการที่ปรกึ ษา จำ�กัดจ�ำ นวนใหม้ ีไดเ้ พียง ๓๐ คน สมาชกิ เป็นผู้เลอื กตั้ง มีการต้ังกรรมการปีละ ๑ คร้ัง คือ ต้นเดือนธันวาคมมีการเลือกกรรมการใหม่และตั้งในส้ินเดือน ธันวาคม แตถ่ า้ จ�ำ เปน็ กเ็ ลอื กและตง้ั ในก�ำ หนดเปน็ พเิ ศษได้ ต�ำ แหนง่ กรรมการทค่ี นสมัยใหม่อาจไมค่ นุ้ เคย คือ รคิ อเดอร์ กบั อินเวสติเกเตอร์ ริคอเดอร์ มีหน้าที่เรียบเรียงพงศาวดารประวัติของการศึกษาท่ัวไปและการศึกษาเฉพาะท่ี เฉพาะอยา่ งทเี่ กดิ ขนึ้ และจะมขี น้ึ ในประเทศไทย ตอ้ งสบื สวนคน้ ควา้ เหตกุ ารณท์ ผี่ า่ นมาคอยสดบั ตรบั ฟงั เหตกุ ารณท์ เ่ี กดิ ขนึ้ ใหม่ และรวบรวมไว้ใหเ้ ป็นหลักฐานแห่งการศึกษาส�ำ หรับประเทศไทยตอ่ ไป อินเวสติเกเตอร์ มีหน้าท่ีคอยสดับตรับฟังและตรวจสืบข่าวคราวที่เก่ียวข้องกับการศึกษา ไม่ว่าจะ เป็นความคิด ความเห็น ระเบยี บการจัดการศกึ ษา วธิ ีสอน การสอนตามตำ�รบั ต่าง ๆ ทีเ่ กดิ ขนึ้ ในประเทศ ต่าง ๆ เรอื่ งใด ท่ีแปลกและดีกน็ �ำ มาเป็นความรแู้ ก่สมาชิก โดยเล่าเร่ืองในท่ีประชมุ ครูหรือเขยี นลงพิมพ์ในวารสารวทิ ยาจารย์ และซื้อหา หนังสือต�ำ รานัน้ มาไว้สำ�หรบั สมาคม และประกาศให้สมาชิกทราบจะไดอ้ ่านเป็นเครอื่ งประกอบความรูค้ วามคดิ ” จดหมายเหตุคุรสุ ภา / 13

ประวตั ิความเป็นมาก่อนการจดั ตงั้ ครุ ุสภา ตามพระราชบญั ญัติครู พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๘ ๔.๕ สมาชิก สามัคยาจารยส์ มาคมมสี มาชกิ ๒ ประเภท คอื (๑) สมาชิกสามัญ คือ คนท่ัวไปสมัครเป็นสมาชิกได้โดยต้องมีผู้เป็นสมาชิกอยู่แล้วเป็นผู้นำ�มาคนหน่ึง และเป็นผู้รับรองอีกอย่างน้อย ๒ คน เว้นแต่ผู้มีประกาศนียบัตรของกรมศึกษาธิการในวิชาครู และครูประกาศนียบัตร ต่างประเทศซ่ึงรับราชการอยู่ในกรมศึกษาธิการเท่านั้นที่ไม่ต้องมีผู้นำ�และผู้รับรอง สมาชิกในระยะแรก เสียค่าบำ�รุง ปลี ะ ๑๒ บาท (นบั ว่าแพงเม่ือเทยี บกบั เงินเดอื นครู ๒๐ บาทในสมยั นัน้ ) (๒) วิสามัญสมาชิก คือ ผู้ที่สมาคมเห็นควรเชิญเป็นสมาชิกพิเศษ สมาชิกอย่างนี้ไม่ต้องเสียเงินบำ�รุง รายปี รายงานประจำ�ปีท่ี ๒ ของสามัคยาจารย์สมาคมแจ้งว่ามีผู้ไม่ได้เก่ียวข้องในวงการศึกษาถึง ๙๖ คน (หรอื ประมาณร้อยละ ๒๐ ของสมาชกิ สามญั ทัง้ หมด ๔๘๓ คน) เปน็ เจ้านาย ผูพ้ พิ ากษา ข้าหลวงมหาดไทย ข้าราชการ กระทรวงต่างประเทศ กระทรวงนครบาล กระทรวงวัง กระทรวงพระคลัง ฯลฯ หรือบางคนก็เป็นพ่อคา้ ประชาชนธรรมดา อาจเป็นเพราะสมาคมน้ีมกี ิจกรรมนา่ สนใจ และมหี อ้ งสมุดท่ดี ี ซึ่งมที ัง้ หนงั สอื ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ๔.๖ กิจกรรม สามคั ยาจารยส์ มาคม ไดด้ �ำ เนนิ การตามวตั ถปุ ระสงคข์ องสมาคมตลอดมา โดยจดั ใหม้ กี ารพบปะวสิ าสะ สนทนากนั ระหวา่ งสมาชกิ ซง่ึ ตง้ั ต้นด้วยในปแี รกมีสมาชกิ รวม ๒๑๓ คน นอกจากนั้นยงั จัดใหม้ กี ารแสดงปาฐกถาพิเศษ จัดสอนวิชาภาษาอังกฤษ วิชาดนตรี และวิชาชุดครูขึ้นเป็นประจำ� ณ สโมสรของสมาคมอันมีนามว่า “สามัคยาจารย์ สโมสรสถาน” ซ่ึงต้ังอยู่ ณ ที่ต้ังของสมาคมในบริเวณโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และเปิดเม่ือวันที่ ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๔๗ สโมสรแหง่ น้มี หี อ้ งประชมุ ใหญ่ หอ้ งประชมุ เลก็ หอ้ งสมดุ หอ้ งนง่ั เลน่ สถานฝกึ และซอ้ มดนตรี สถานฝกึ หดั การชา่ ง หอ้ งอาหารซง่ึ มเี ครอ่ื งดม่ื และเครือ่ งว่างขาย ในสนามก็จัดให้มีกฬี ากลางแจ้ง เช่น เทนนสิ และแบดมินตนั เปน็ ตน้ สถานท่ีน้ีนับว่าทำ�ให้ครูในกรุงเทพฯ ได้รู้จักกัน ปลูกความสามัคคีและได้รับความรู้สูงข้ึนเป็นอันมาก ส่วนสมาชิกซึ่งอยู่ ณ ตา่ งจงั หวดั ก็ไดร้ บั ความรู้โดยทางหนงั สอื นติ ยสารของสมาคมชอ่ื “หนงั สอื พมิ พว์ ทิ ยาจารย”์ หนงั สอื พมิ พว์ ทิ ยาจารยน์ ี้ เดิมเป็นหนังสือของโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ สมาคมได้รับมอบกรรมสิทธ์ิจากกรมศึกษาธิการมาตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๔๔๗ เมอ่ื ผู้ใดสมคั รเขา้ เป็นสมาชกิ ของสมาคม ทางสมาคมกจ็ ะส่งหนังสือพิมพว์ ิทยาจารย์เปน็ การให้เปล่าดว้ ย นอกจากน้ันสมาคมยังจัดการอบรมวิชาต่าง ๆ ที่บรรจุในหลักสูตรให้แก่ครู และจัดการปาฐกถาพิเศษเพ่ือเพิ่มพูนความรู้ ในสาขาต่าง ๆ กับต้ังสโมสรช่าง ซ่ึงดำ�เนินการสอนและรับทำ�งานช่างเขียน ช่างแกะสลัก สโมสรอังกฤษสอนวิชา ภาษาอังกฤษ สโมสรบันเทิง สอนวิชาขับร้องและดนตรี กับมีสโมสรกรีฑา เปิดโอกาสให้สมาชิกได้ออกกำ�ลังกายและ เล่นกฬี าตา่ ง ๆ 14 / จดหมายเหตุคุรสุ ภา

รองศาสตราจารย์นิรมล ตีรณสาร สวัสดิบุตร เขียนในสารานุกรมวิชาชีพครู เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เนอ่ื งในโอกาสฉลองสริ ริ าชสมบตั คิ รบ ๖๐ ปี วา่ สามคั ยาจารยส์ มาคมมกี จิ กรรมส�ำ คญั คอื ๑. การออกหนงั สอื พมิ พ์วทิ ยาจารย์ เปน็ รายเดอื น แจกให้ฟรแี ก่สมาชิกของสมาคม เดิมหนงั สือพมิ พน์ ้ี เปน็ ของโรงเรยี นฝกึ หดั อาจารย์ สามคั ยาจารยส์ มาคมไดร้ บั มอบกรรมสทิ ธต์ิ งั้ แตเ่ ดอื นมกราคม พ.ศ. ๒๔๗๗ หนงั สอื พมิ พ์ วิทยาจารย์น้ีใหป้ ระโยชนแ์ กค่ รเู ป็นอยา่ งมาก เพราะนอกจากจะลงพิมพ์เรื่องท่ีเป็นความรู้เก่ยี วกับวิชาการสำ�หรับครูแล้ว ยงั มีขา่ วของกระทรวงธรรมการลงพิมพเ์ ป็นประจ�ำ เป็นสอื่ สำ�คญั ทท่ี �ำ ให้ครูทราบความเคลื่อนไหวในงานด้านต่าง ๆ ของ กระทรวงธรรมการ สามารถปฏิบัติงานไปในทิศทางเดียวกัน ท้ังยังได้ทราบว่าใคร ทำ�อะไร ท่ีใด ในวงการศึกษาด้วย สมาชิกของสามัคยาจารย์สมาคมที่อยู่ต่างจังหวัดได้ประโยชน์จากหนังสือพิมพ์วิทยาจารย์น้ีเท่าน้ัน เพราะไม่สะดวกที่จะ เดนิ ทางมารว่ มกจิ กรรมอน่ื ๆ ของสมาคมในกรุงเทพฯ ๒. การแสดงปาฐกถาพิเศษ ในเร่ืองที่เป็นความรู้สำ�หรับครู ผู้แสดงปาฐกถาเป็นบุคคลสำ�คัญ เช่น พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวขณะดำ�รงพระยศท่ีมกุฎราชกุมาร เสนาบดีกระทรวงธรรมการ คือ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัติ (ต่อมาคือ พระวรวงศ์เธอ กรมหม่ืนพิทยลาภพฤฒิยากร) พระยาเมธาธิบดี (สาตร สทุ ธเิ สถยี ร) อธบิ ดกี รมวชิ าการ เปน็ ตน้ ปาฐกถาเหลา่ นเ้ี ปน็ ประโยชนแ์ กผ่ ฟู้ งั และมผี ู้ไปรว่ มประชมุ อยา่ งลน้ หลามเสมอ ๓. การเล็คเชอร์วิชาชุด สำ�หรับให้ครูศึกษาเพ่ือสอบไล่วิชาชุดเหล่าน้ัน เช่น วิชาบอตานี วิชาฟิสิกส์ วิชาภูมิศาสตร์ และพงศาวดาร วิชาโปลิติแกลอิคอนอมี การสอบวิชาเหล่านี้มิใช่ให้ผ่านกันได้ง่าย ๆ ตัวอย่างเช่น ใน ร.ศ. ๑๒๘ - ๑๒๙ มีรายงานกรรมการอำ�นวยการฯ ประจำ�ปีท่ี ๖ ว่า มีการสอบวิชาบอตานี (Botany) สมาชกิ เข้าสอบ ๗๐ คน ไดอ้ ย่างดี ๑๑ คน อยา่ งสามัญ ๒๑ คน ตก ๓๘ คน ๔. การกีฬา เช่น มีการเล่นเทนนิส ว่าว แบดมินตัน ฟุตบอล โครเก ตะกร้อ ปิงปอง หมากรุก ยมิ นาสตกิ ฯลฯ ๕. การสอนภาษาอังกฤษ มีผู้นิยมเรียนกันมาก เช่น ในรายงานกรรมการอำ�นวยการประจำ�ปีท่ี ๖ (ร.ศ. ๑๒๘ - ๑๒๙) แสดงวา่ มนี กั เรียนเทอมต้น ๑๓๒ คน เทอม ๒ มี ๑๔๕ คน เทอม ๓ มี ๑๖๐ คน ๖. การสอนงานชา่ ง เชน่ ชา่ งเขยี น ชา่ งแกะ ชา่ งปนั้ ช่างกลึง ฯลฯ ๗. การสอนจิตรกรรม มีครูและสมาชิกอ่ืน ๆ ของสมาคมมาเรียนตอนเย็นเม่ือเลิกงานแล้ว เช่น ใน ร.ศ. ๑๒๘ - ๑๒๙ มีผมู้ าเรียนเฉล่ียวันละ ๒๒ คน ๘. การบันเทงิ เช่น การฝึกซ้อมดนตรี การจดั งานรนื่ เริง การแสดงละคร ๙. การจำ�หนา่ ยอาหารและเคร่อื งดื่ม (ไม่มีสุรา) ๑๐. การจดั ห้องสมดุ มีหนังสอื และสถานท่ีให้สมาชกิ อา่ นหนังสือและขอยมื หนงั สือ จดหมายเหตุคุรุสภา / 15

ประวตั ิความเปน็ มาก่อนการจดั ตั้งครุ ุสภา ตามพระราชบญั ญตั ิครู พทุ ธศักราช ๒๔๘๘ พระบาทสมเดจ็ พระมงกฏุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั เมอ่ื ยงั ด�ำ รงพระราชอสิ รยิ ยศเปน็ สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช เจา้ ฟา้ มหาวชริ าวธุ สยามมกฏุ ราชกมุ าร ทรงรบั สามัคยาจารยส์ มาคม อยู่ในพระบรมราชูปถัมภ์ กิจกรรมข้างต้นล้วนมีประโยชน์แก่ครูทั้งในด้านการประเทืองปัญญา และการผ่อนคลายความเครียด จากการทำ�งานท้ังส้ิน และถ้าพิจารณาความเป็นมาและกิจกรรมต่าง ๆ ของสามัคยาจารย์สมาคมแล้วเห็นได้ว่า สามคั ยาจารยส์ มาคม เปน็ สมาคมของครทู ่ชี ว่ ยใหค้ รูองอาจสงา่ งาม ท้ังในดา้ นความรู้ ร่างกาย และจติ ใจ องอาจสง่างามในด้านความรู้ เพราะได้เพิ่มพูนเนื้อหาความรู้และวิชาครู จากการฟังปาฐกถา การฟังบรรยาย การอ่านหนงั สอื ในหอ้ งสมุด และการสนทนากันในหมูผ่ รู้ ู้ องอาจสง่างามในด้านร่างกาย เพราะได้เล่นกีฬา ออกกำ�ลังกาย และได้ขัดเกลากิริยามารยาท การพดู จาในทป่ี ระชุม หรือการสังคม ดว้ ยการไดฝ้ ึกหดั และได้เรียนรจู้ ากขา้ ราชการ ชั้นผู้ใหญ่ทน่ี า่ นบั ถอื และไดส้ มาคม กับเพือ่ นครูหรือสมาชกิ อน่ื ท่ีเป็นผูม้ กี ารศกึ ษาดี 16 / จดหมายเหตุคุรสุ ภา

องอาจสงา่ งามในดา้ นจติ ใจ เพราะไดเ้ พมิ่ ความมน่ั ใจในตนเองเมอื่ มคี วามรมู้ ากขน้ึ และเปน็ ทยี่ อมรบั ของ สมาคม ทั้งยงั ได้รบั ความเบิกบานใจจากงานศลิ ปะ ดนตรี และการเลน่ รน่ื เริงต่างๆ ตามควรแก่โอกาส ครทู ่ีองอาจสง่างามดังกล่าวข้างต้นยอ่ มเป็นทต่ี ้องการย่ิงไมว่ ่าสมัยใด สามัคยาจารย์สมาคมได้รับเกียรติอย่างสูง เม่ือคร้ังพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อยังดำ�รงพระราชอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฏราชกุมาร มีพระมหากรุณาธิคุณทรงรับสามัคยาจารย์สมาคมอยู่ในพระบรมราชูปถัมภ์ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๔๘ ตลอดมา จงึ เปน็ สมาคมทเ่ี ชดิ หนา้ ชตู าสงู สง่ แหง่ หนงึ่ ในประเทศไทย พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทกุ พระองคน์ บั แตพ่ ระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั มาก็ไดเ้ สดจ็ พระราชด�ำ เนนิ มาประทบั ทอดพระเนตรละครหรอื ทรงฟงั ปาฐกถาพเิ ศษทส่ี ามคั ยาจารย์ สมาคมหลายครง้ั กจิ การไดด้ �ำ เนนิ มาตามวตั ถปุ ระสงคด์ งั กลา่ วแลว้ มคี วามเจรญิ เพม่ิ พนู ความรแู้ ละความสามัคคีให้แก่ครู ด้วยดีมาเปน็ เวลา ๔๐ ปเี ศษ มจี ำ�นวนสมาชกิ ประมาณ ๓,๐๐๐ คน เมอ่ื ประเทศไทยตอ้ งประสบภาวะคบั ขนั ในมหายทุ ธ สงครามโลกครง้ั ท่ี ๒ ประเทศไทยไดร้ บั ความกระทบกระเทอื น กรงุ เทพมหานคร ไดร้ บั ภัยทางอากาศหลายครงั้ หลายหน สมาคมจงึ ตอ้ งอพยพพสั ดสุ ง่ิ ของออกไปนอกเมอื ง ครน้ั ถงึ พ.ศ. ๒๔๘๘ เมอ่ื สน้ิ ภาวะสงครามแลว้ ทางสมาคมไดน้ �ำ พสั ดสุ ง่ิ ของ ของสมาคมซง่ึ ยา้ ยไปเกบ็ ไวน้ อกเมอื งชว่ั คราวกลบั คนื มา ณ สถานทเ่ี ดมิ คอื ณ สามคั ยาจารยส์ โมสรสถานในบรเิ วณโรงเรยี น สวนกหุ ลาบวทิ ยาลยั และเมอื่ ไดต้ ง้ั ครุ สุ ภาขน้ึ ตามพระราชบญั ญตั คิ รโู ดยใชบ้ งั คบั ตง้ั แตว่ นั ท่ี ๑๖ มนี าคม พ.ศ. ๒๔๘๘ เปน็ ตน้ ไปแลว้ ทป่ี ระชมุ สามคั ยาจารยส์ มาคม เมอ่ื วนั ที่ ๒๕ มกราคม ๒๔๘๘ มมี ติใหร้ วมกจิ การของสามคั ยาจารยส์ มาคมเขา้ กบั ครุ สุ ภา กระทรวงศกึ ษาธกิ ารจงึ ไดต้ กลงใหร้ วมกจิ การและทรพั ยส์ นิ ของสามคั ยาจารยส์ มาคมเปน็ ของครุ สุ ภา และไดม้ ี การประชุมใหญ่สามัคยาจารย์สมาคมเป็นครั้งสุดท้าย เมื่อวันศุกร์ที่ ๔ พฤษภาคม ๒๔๘๘ ณ ห้องอาหารของ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เพราะขณะนน้ั สถานทข่ี องสามคั ยาจารยส์ โมสรสถานยงั ไมเ่ รยี บรอ้ ย (บรเิ วณโรงเรยี นสวนกหุ ลาบวทิ ยาลยั ประสบภยั ทางอากาศ) ในการประชมุ วนั นน้ั ทปี่ ระชมุ ไดล้ งมตริ บั รองงบดลุ ตามทผ่ี ชู้ �ำ ระบญั ชีไดเ้ สนอแลว้ สามคั ยาจารยส์ มาคม ในพระบรมราชูปถมั ภ์ จงึ สนิ้ สภาพในวนั นน้ั เมอ่ื รวมกจิ การของสามคั ยาจารยส์ มาคมเขา้ กบั ครุ สุ ภาแลว้ ครุ สุ ภาไดจ้ ดั ตงั้ สโมสรสามคั ยาจารยส์ มาคม ขน้ึ เปน็ แผนกหนึง่ ของครุ ุสภา ตอ่ มากจิ การของสามัคยาจารย์สมาคมสโมสรได้ยตุ ิลงในปีพทุ ธศักราช ๒๕๐๒ เนอ่ื งจาก ครุ สุ ภามิใช่เปน็ สมาคมของครู แต่เปน็ สภาของครู จดหมายเหตุครุ สุ ภา / 17

18 / จดหมายเหตุคุรสุ ภา

ครุ ุสภา จดหมายเหตุคุรุสภา / 19

พระราชบญั ญัตคิ รู พุทธศักราช ๒๔๘๘ พระราชบัญญตั คิ รู พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๘ คุรุสภา เป็นนิติบุคคลอยู่ ในกระทรวงศึกษาธิการ ตั้งข้ึนตามพระราชบัญญัติครู พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๘ ซงึ่ ไดต้ ราขนึ้ เมอื่ วนั ท่ี ๙ มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๘ ในสมยั นายควง อภยั วงศ์ เปน็ นายกรฐั มนตรี และ นายทวี บณุ ยเกตุ เปน็ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๖๒ ตอนท่ี ๔ วนั ท่ี ๑๖ มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๘ และในพระราชบญั ญตั กิ �ำ หนดไวว้ ่า พระราชบญั ญัตนิ ม้ี ผี ลบงั คบั ใชต้ ั้งแต่ วันที่ ๑๖ มนี าคม พ.ศ. ๒๔๘๘ เปน็ ตน้ ไป เจตนารมณ์ในการจดั ตั้งคุรสุ ภา ตามพระราชบญั ญัตคิ รู พุทธศกั ราช ๒๔๘๘ สาเหตุท่ีต้ังคุรุสภาเป็นประการใดน้ัน ขอนำ�ความตอนหน่ึงแห่งบันทึกเร่ืองพระราชบัญญัติครู พทุ ธศักราช ๒๔๘๘ ของนายทวี บณุ ยเกตุ ซง่ึ เขยี นลงหนงั สอื พิมพว์ ิทยาจารย์เมอื่ พ.ศ. ๒๔๘๙ ดังตอ่ ไปน้ี “การท่ีรัฐบาล (ปี พ.ศ. ๒๔๘๘) ได้ดำ�ริให้มีพระราชบัญญัติครูข้ึน ก็ด้วยได้พิจารณาเห็นว่า การศกึ ษาของชาตเิ ป็นสิง่ ส�ำคญั ยงิ่ ของประเทศ เพราะเปน็ เครอื่ งวดั ความเจริญและยังเห็นว่าการศกึ ษาของ ประเทศยงั เดนิ ลา้ สมยั อยมู่ าก จ�ำนวนพลเมอื งทมี่ คี วามรแู้ มแ้ ตช่ น้ั อา่ นออกเขยี นได้ กย็ งั มเี ปอรเ์ ซน็ ตต์ ำ่� อยมู่ าก นับแต่ได้มีการเปล่ียนแปลงการปกครองเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๕ เป็นต้นมา การศึกษาของประเทศยังอยู่ ในสภาพท่ีล้มลุกคลุกคลาน มีการเปล่ียนแปลงแก้ไขไม่หยุดหย่อน การศึกษาของชาติย่ิงแก้ไขบ่อยเท่าใด กย็ งิ่ ทำ�ความอลเวงและความไมแ่ นน่ อนมาสยู่ วุ ชนของชาติมากข้นึ เท่าน้นั กระทรวงศกึ ษาธิการถือว่าเป็นกระทรวงที่ส�ำ คัญย่งิ กระทรวงหน่ึง เพราะเปน็ กระทรวงทผ่ี ลติ คน (ข้าราชการ) ใหก้ บั กระทรวงทบวงกรมอ่นื ๆ ทว่ั ไปหมด ไม่วา่ จะเป็นฝา่ ยทหารหรอื พลเรือน ฉะนัน้ ถ้าจะ พูดว่ากระทรวงศึกษาธิการเป็นแม่กระทรวงก็คงจะไม่ผิดอะไรมากนัก เดิมเราเคยถือว่าเงินเป็นเรื่องสำ�คัญ แตม่ าบดั นเ้ี หน็ จะไมม่ ีใครเถยี งกระมงั วา่ เงนิ มคี วามส�ำ คญั นอ้ ยกวา่ คน เราจะไดย้ นิ ค�ำ วา่ Corruption อยทู่ ว่ั ไป ฉะน้นั รฐั บาลครัง้ กระนน้ั จึงคิดท่ีจะปรบั ปรุงการศกึ ษาของชาติใหเ้ ป็นไปอยา่ งถาวร แตเ่ นือ่ งจากเป็นระหว่าง สมัยสงคราม จึงยงั ไม่สามารถจะปรับปรุงได้ ประกอบทัง้ ยังมีสิง่ ท่ีเปน็ อปุ กรณอ์ ื่น ท่จี ะตอ้ งปรบั โดยรบี ดว่ น ก่อนอะไรหมด สิง่ นัน้ ก็คือ ครู 20 / จดหมายเหตุคุรสุ ภา

การศกึ ษาของชาตหิ าไดอ้ ยทู่ มี่ ีโครงการดเี ทา่ นนั้ ไม่ แตเ่ รา ฯพณฯ นายทวี บณุ ยเกตุ ผกู้ ่อตั้งครุ สุ ภา ต้องมีครูดีด้วย คือต้องได้ครูที่มีความสามารถ ในอันท่ีจะสอนเด็ก ทั้งในด้านวิชาการและในทางอบรมจิตใจ ซ่ึงประการหลังนี้ถือว่า สำ�คัญที่สุด นอกจากนั้นครูยังต้องรักอาชีพและฝักใฝ่ในวิชาอาชีพ ของตน ไม่ใช่ว่าสอนเพ่อื ให้แลว้ ไปวนั หน่งึ ๆ ครทู จ่ี ะไดม้ ีคณุ สมบตั ิ ดังกล่าวนี้หาได้ไม่ง่ายนัก และย่ิงกว่าน้ันแม้ที่มีอยู่แล้วก็พยายาม ละอาชีพครูลาออกไป เพราะทนต่อความเป็นครูท่ีมีเงินเดือนน้อย ไม่ได้ จะเห็นได้ง่าย ๆ ว่า ผู้ท่ีสำ�เร็จการศึกษาออกมารับราชการ พร้อม ๆ กัน มีความรเู้ ท่ากัน วนั ราชการเทา่ กัน แตผ่ ู้ทรี่ ับราชการ อยู่ในกระทรวงอ่ืน จะได้รับตำ�แหน่งและอัตราเงินเดือนสูงกว่า ผู้ทีส่ มคั รเปน็ ครูอยา่ งเปรยี บกนั ไม่ได้ เกอื บจะวา่ ร้อยท้ังรอ้ ย ด้วยเหตุนี้รัฐบาลคร้ังกระนั้น จึงจับงานเร่ืองครูก่อน และได้เสนอร่างพระราชบัญญัติครู พุทธศักราช ๒๔๘๘ ไปยัง สภาผู้แทนราษฎร และไดป้ ระกาศใช้เปน็ กฎหมายแล้ว เหตใุ ดจงึ ตอ้ งมพี ระราชบญั ญตั คิ รู และพระราชบญั ญตั คิ รู น้ีมีประโยชน์อย่างไร คำ�ถามน้ีอาจมีผู้สงสัยและอยากรู้กันอยู่มาก จนถึงกับได้มีผู้แทนราษฎร ได้เสนอร่างพระราชบัญญัติยกเลิก แต่ก็ได้ตกไป เนื่องจากพระราชบัญญัติครูนี้ ได้เกิดข้ึนในสมัยที่ ข้าพเจา้ เปน็ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการอยู่ และผทู้ ่รี เู้ ร่ืองนี้ ก็ได้ออกจากราชการไปแล้วเป็นส่วนมาก ผู้ท่ีมาบริหารงานรุ่นหลัง อาจไม่ทราบเหตุผลดี ข้าพเจ้าจึงได้ทำ�บันทึกนี้ข้ึนไว้เพ่ือประกอบ การพจิ ารณาของผบู้ ริหารงานรุ่นหลัง ๆ ต่อไป” หลกั การใหญข่ องพระราชบญั ญตั คิ รู พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๘ นี้ กเ็ พอื่ ใหม้ คี รุ สุ ภาขน้ึ และมหี ลกั การซง่ึ เปน็ สาระส�ำ คญั อยู่ ๓ ประการ คือ (๑) เพ่ือให้ความคิดเห็นเป็นสภาท่ีปรึกษา และรักษา นโยบายการศกึ ษาของชาติ (๒) เพ่อื ช่วยฐานะครู (๓) ทำ�หนา้ ทแี่ ทน ก.พ. จดหมายเหตุครุ ุสภา / 21

พระราชบัญญัติครู พุทธศกั ราช ๒๔๘๘ การประชุมก่อนการจดั ตง้ั คุรสุ ภาเปน็ ทางการ ก่อนตราพระราชบญั ญตั คิ รู พุทธศกั ราช ๒๔๘๘ มีการประชุมเรื่องครุ สุ ภาเม่ือวันเสารท์ ่ี ๖ มกราคม ๒๔๘๘ ณ ห้องประชุมกระทรวงศกึ ษาธิการ โดยรฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร เป็นประธาน สรปุ ไดด้ ังน้ี ๑. ใหค้ งช่อื “สามัคยาจารย”์ ไว้ แตย่ ุบสมาคมตั้งเป็นสโมสร ๒. สมาชกิ ตลอดชพี ของสามคั ยาจารยส์ มาคมไม่ใชส่ มาชกิ ของครุ สุ ภา เวน้ แตจ่ ะมคี ณุ สมบตั ติ ามพระราชบญั ญตั คิ รู พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๘ กย็ อ่ มมสี ิทธสิ มคั รเขา้ เปน็ สมาชกิ ของครุ ุสภาได้แลว้ แตก่ รณี ๓. ทรพั ย์สนิ ของสามคั ยาจารยส์ มาคม โอนเปน็ ทรพั ย์สินของครุ สุ ภา ๔. สถานทปี่ ระชมุ ใช้โรงเรยี นฝกึ หัดครูประถมเป็นการชว่ั คราว ๕. เลือกกรรมการอำ�นวยการคุรุสภา ตามนัยแห่งพระราชบัญญัติครู โดยที่ประชุมตกลงกันในหลักการว่า กรรมการประเภทน้ี เลือกจากครูโรงเรยี นรัฐบาล ๓ คน ครโู รงเรียนราษฎร ๒ คน ครหู ญิง ๒ คน ครูทอี่ อกจากราชการ รับบำ�นาญ ๑ คน ครูหรืออาจารย์ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ๑ คน ซึ่งผลของการเลือกมดี ังน้ี ๕.๑ นายเฟือ่ ง ภารสาร (หลวงภารสาร) ๕.๒ นายบุญ อปุ การ บุญปาลติ (หลวงบุญปาลติ ) ๕.๓ นายยูร ผลาชวี ะ ๕.๔ นางประยงค์ ถ่องดกิ ิจฉการ ๕.๕ นางสาวกรองแก้ว วนิกนนั ทน์ ๕.๖ นายเจรญิ วิชยั ๕.๗ นายประพัฒน์ วรรธนะสาร ๕.๘ ครูหรืออาจารยท์ ่จี ะเลือกจากจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัยนั้น ให้ทางจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัยคัดเลอื ก แลว้ เสนอขน้ึ มา ซ่งึ ไดแ้ ก่ หลวงพิลาศวรรณสาร เม่ือมีการตราพระราชบัญญตั ิครู พทุ ธศักราช ๒๔๘๘ ณ วนั ที่ ๙ มกราคม พุทธศักราช ๒๔๘๘ และประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา ตอนท่ี ๔ เล่ม ๖๒ วนั ท่ี ๑๖ มกราคม ๒๔๘๘ โดยให้ใชบ้ ังคับไดเ้ มื่อพ้นก�ำ หนดหกสบิ วนั นบั แต่ วนั ท่ีประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นตน้ ไป ไดม้ กี ารเตรยี มการด�ำ เนนิ งานของคุรสุ ภา โดยมีการประชมุ ๑. การประชุมครั้งท่ี ๑/๒๔๘๘ (พิเศษ) เม่ือวันอังคารท่ี ๑๖ มกราคม ๒๔๘๘ ณ ห้องประชุมกระทรวง ศกึ ษาธิการ โดยมี รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ เป็นประธาน สรุปได้ดงั นี้ ๑.๑ ประธานกลา่ ววา่ การทเ่ี ชญิ มาในวนั น้ี เปน็ การปรกึ ษาหารอื ภายใน เพอ่ื เตรยี มการไว้ เมอ่ื พระราชบญั ญตั คิ รู ไดป้ ระกาศใชแ้ ลว้ จะไดด้ �ำ เนนิ การตอ่ ไป ความจรงิ ทม่ี พี ระราชบญั ญตั คิ รขู นึ้ นก้ี ็โดยพจิ ารณาเหน็ วา่ ครทู งั้ หลายมกั จะรอ้ งวา่ ทางราชการไมเ่ อาใจใส่ ท่ีจริงรัฐบาลไดค้ ิดและเอาใจใส่อยู่ แต่เกยี่ วกับงบประมาณ ถ้าจะปรบั ปรงุ เพิม่ เงนิ เดอื นให้แก่ครู เพียงคนละ ๒ - ๓ บาท ก็เป็นจำ�นวนหลายล้านบาท จึงคิดว่า ถา้ มีพระราชบญั ญัติครู กค็ งชว่ ยให้ครูมีฐานะดขี ึ้นกวา่ นี้ พระราชบัญญัติครู เป็นส่วนหน่ึงของ ก.พ. เวลาน้ีการปรับปรุงเลื่อนบรรจุครูเป็นหน้าท่ีของ ก.พ. เม่ือครูไม่ได้รับ 22 / จดหมายเหตุครุ ุสภา

ความยุติธรรม ก็ร้องไปยังกรรมการคุรุสภา ผลประโยชน์ของคุรุสภานั้น จะได้รับจากเงินค่าบำ�รุงและจากเงินอุดหนุน บรรดาบตุ รของครกู ็ได้รับสทิ ธิพเิ ศษไดร้ ับการอดุ หนุน เช่น ไดย้ กเวน้ เงินค่าเลา่ เรียน ได้ลดเปอร์เซนต์ คา่ เคร่อื งเขยี นแบบ เรยี น นอกจากน้ัน ทางการจะไดต้ ิดต่อกบั องค์การแพทย์ เมอื่ ครเู จ็บป่วยกจ็ ะไดร้ บั การพยาบาลได้ถูกทส่ี ุด และให้ไดร้ บั การลดหยอ่ นคา่ พาหนะเดนิ ทาง ซงึ่ ระหวา่ งนกี้ �ำ ลงั ตดิ ตอ่ อยู่ ในหลกั การตกลงกนั วา่ จะใหเ้ มอ่ื เสรจ็ สงครามแลว้ นอกจากนน้ั ก็จะได้พยายามช่วยเหลอื สงิ่ อื่น ๆ อีกตอ่ ไป ๑.๒ ลงคะแนนเลอื กผู้ดำ�รงต�ำ แหนง่ เลขาธกิ ารและนายทะเบียน ผู้ไดร้ บั เลือก คือ นายบญุ ชว่ ย สมพงษ ์ เปน็ เลขาธกิ าร ขนุ ทรงวรวิทย์ เปน็ เหรัญญิก นายเจริญ ชยั ชนะ เป็นนายทะเบยี น ๑.๓ ควรตั้งอัตราเงินเดือน เลขาธิการ ๕๐๐ บาท เหรัญญิก ๓๕๐ บาท นายทะเบียน ๓๕๐ บาท ทง้ั น้ี จะต้องพจิ ารณาใหเ้ หมาะสมกบั ตัวบคุ คลผู้ไดร้ บั ตัง้ ด้วย ๑.๔ ก�ำ หนดอตั ราคา่ ธรรมเนยี มผทู้ เ่ี ปน็ สมาชกิ โดยสมาชกิ สามญั กบั สมาชกิ สมทบ ควรเรยี กคา่ ธรรมเนยี ม ปลี ะ ๑๒ บาท สมาชิกวสิ ามัญปลี ะ ๓ บาท ให้เก็บเปน็ งวดๆ ละ ๔ เดอื น ๑.๕ กรมสามัญศึกษาอนุญาตให้ใช้โรงเรียนฝึกหัดครูประถมเป็นสถานท่ีทำ�การชั่วคราว ส่วนที่ประชุม รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ ารอนุญาตให้ใชห้ อ้ งประชมุ ของกระทรวง ๑.๖ การเปิดครุ ุสภา ควรใหผ้ ้สู ำ�เร็จราชการแทนพระองค์เป็นผู้เปิด และใหค้ รมู ีอาวุโสเปน็ ผู้อ่านรายงาน การประชุม โดยใช้กระทรวงเป็นท่ีทำ�พิธีเปดิ ส่วนการเปิดปา้ ยใหร้ อไวจ้ นกวา่ จะได้สถานที่ ๒. การประชมุ กรรมการครุ สุ ภา (ภายใน) จ�ำ นวน ๖ ครัง้ ดงั นี้ ครง้ั ที่ ๑ เมอ่ื วนั ท่ี ๒ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๔๘๘ ณ หอ้ งประชมุ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร โดยมี ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เปน็ ประธานแทนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ผเู้ ขา้ ร่วมประชมุ ประกอบดว้ ย อธิการบดีจฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย อธบิ ดกี รมสามัญศกึ ษา อธบิ ดีกรมอาชีวะศกึ ษา และอธบิ ดีกรมพละศกึ ษา นอกจากนี้ มีผ้เู ข้าประชุม ประกอบด้วย หัวหนา้ กองโรงเรียนประชาบาล (นายหนู พชิ ากร แทน) หัวหนา้ กองกลาง และเจ้าหนา้ ท่ี ๓ คน คือ นายบญุ ช่วย สมพงษ์ นายเจริญ ไชยชนะ และนายแม้น ทำ�รงวรวิทย์ ซึ่งที่ประชุมได้พิจารณาเรื่องสมัครเป็นสมาชิกสมทบเกี่ยวกับใบสมัคร การย่นื ใบสมัคร การออกใบเสร็จรับเงิน การท�ำ ทะเบียน และการร่างหนงั สอื ช้แี จงวธิ ีการสมคั รเป็นสมาชกิ สมทบ ครง้ั ที่ ๒ เมอื่ วนั ที่ ๕ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๔๘๘ ณ หอ้ งประชมุ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร โดยมปี ลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เป็นประธานแทนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ผู้เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วย อธิบดีกรมสามัญศึกษา อธิบดีกรมอาชีวะศึกษา อธิบดีกรมพละศึกษา นายบุญ อุปการ บุญปาลิต นายเฟ่ือง ภารสาร นายเจริญ วิชัย นายประพัฒน์ วรรธนะสาร หลวงพลิ าศวรรณสาร และ ม.ร.ว.สดบั ลดาวัลย์ นอกจากนี้มผี เู้ ข้าประชุม ประกอบด้วย หวั หนา้ กองโรงเรยี นประชาบาล (นายทมิ เงนิ ชถู น่ิ แทน) นายพณิ ครุ นุ ติ พิ ศิ าล และเจา้ หนา้ ที่ ๓ คน คอื นายบญุ ชว่ ย สมพงษ์ นายเจริญ ไชยชนะ และนายแม้น ท�ำ รงวรวิทย์ ซงึ่ ท่ปี ระชุมไดพ้ จิ ารณาเร่อื งใบสมัคร ค�ำ ช้แี จงใบสมัคร หนังสือเวียนท่ี จะแจง้ จงั หวดั การท�ำ ทะเบยี นสมาชกิ การออกใบเสรจ็ รบั เงนิ และตงั้ อนกุ รรมการพจิ ารณาเรอื่ งตา่ ง ๆ ๓ คณะ ประกอบดว้ ย จดหมายเหตุคุรสุ ภา / 23

พระราชบัญญตั คิ รู พทุ ธศักราช ๒๔๘๘ คณะท่ี ๑ การทะเบียนช่ัวคราว ใบสมัคร หนังสอื เวียนแจง้ จังหวดั คณะที่ ๒ การท�ำ ทะเบียนใหญข่ องคุรุสภาสว่ นกลาง และคณะท่ี ๓ เร่ืองเงินและวธิ ีช่วยเหลอื สมาชิกของคุรุสภา คร้ังท่ี ๓ เมื่อวันท่ี ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๔๘๘ ณ ห้องประชุมกระทรวงศึกษาธิการ โดยมี รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เปน็ ประธาน ผเู้ ขา้ รว่ มประชมุ ประกอบดว้ ย ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร อธบิ ดกี รมสามญั ศกึ ษา อธิบดีกรมอาชีวะศึกษา อธิบดีกรมพละศึกษา อธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นายบุญ อุปการ บุญปาลิต นายเฟ่ือง ภารสาร หลวงพิลาศวรรณสาร นายประพัฒน์ วรรธนะสาร นายเจริญ วิชยั นางประยงค์ ถ่องดิกจิ ฉการ น.ส.กรองแก้ว วนกิ นันทน์ และเจ้าหน้าท่ี คือ นายบญุ ชว่ ย สมพงษ์ ซ่งึ ทีป่ ระชุมไดพ้ จิ ารณาเรื่องหนงั สือเวียนและค�ำ ชีแ้ จง ประกอบ พ.ร.บ. ครู เกี่ยวกับคา่ บำ�รงุ คุรุสภา ใบเสรจ็ รบั เงินค่าบ�ำ รุงครุ ุสภา ใบสมัครสมาชกิ ใบแจง้ การเปล่ียนแปลง ประเภทสมาชิก และบญั ชีส�ำ รวจสมาชิก คร้ังที่ ๔ เมอ่ื วันท่ี ๒๐ กุมภาพนั ธ์ ๒๔๘๘ ณ หอ้ งประชุมกระทรวงศึกษาธิการ โดยมี รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธาน ผู้เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วย ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ อธิบดีกรมอาชีวะศึกษา อธิบดีกรมพละศึกษา นายบุญ อุปการ บุญปาลิต นายเฟ่ือง ภารสาร หลวงพิลาศวรรณสาร นายเจริญ วิชัย นางประยงค์ ถอ่ งดกิ จิ ฉการ น.ส.กรองแกว้ วนกิ นนั ทน์ และเจา้ หนา้ ที่ คอื นายบญุ ชว่ ย สมพงษ์ ซง่ึ ทปี่ ระชมุ ไดพ้ จิ ารณาเรอ่ื ง ๑. แบบทะเบยี น ประกอบดว้ ย ทะเบยี นใหญส่ ำ�หรับสมาชกิ ประเภทตา่ ง ๆ และบัตรประจ�ำ ตวั ของสมาชกิ ๒. การวางรูปองค์การบริหารของคุรุสภา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการจัดต้ังสำ�นักงานเลขาธิการคุรุสภา ซึ่งท่ีประชุมลงมติให้ยืมข้าราชการในกระทรวงศึกษาธิการไปช่วยรักษาการในตำ�แหน่งหัวหน้าแผนกต่าง ๆ ทางคุรุสภา เปน็ การช่ัวคราว ๓. อ.ก.พ.คุรสุ ภา ๔. ตราครุ สุ ภา ๕. พ.ร.ก. กำ�หนดต�ำ แหนง่ ข้าราชการครูเกยี่ วแกก่ ารศกึ ษา ครัง้ ท่ี ๕ เมือ่ วนั ท่ี ๖ มีนาคม ๒๔๘๘ ณ หอ้ งประชมุ กระทรวงศึกษาธิการ โดยมี ปลดั กระทรวง ศกึ ษาธกิ าร เปน็ ประธาน ผเู้ ขา้ รว่ มประชมุ ประกอบดว้ ย อธกิ ารบดจี ฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลยั อธบิ ดกี รมสามญั ศกึ ษา อธบิ ดี กรมอาชวี ะศึกษา อธิบดกี รมพละศึกษา นายบุญ อปุ การ บุญปาลติ หลวงพิลาศวรรณสาร นายประพัฒน์ วรรธนะสาร นายเจริญ วชิ ยั น.ส.กรองแกว้ วนิกนนั ทน์ และเจ้าหน้าที่ คือ นายบุญ ช่วย สมพงษ์ ซึง่ ทปี่ ระชมุ ได้พิจารณาเร่ืองดงั น้ี ๑. รับทราบเรื่องรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการได้แต่งต้ังข้าราชการ เป็นเจ้าหน้าท่ีชั่วคราวของ คุรุสภา ต้ังแต่วันท่ี ๒ มนี าคม ๒๔๘๘ ๒. ตราครุ ุสภา ๓. เงินทุนสำ�รองไว้ใชจ้ ่ายสำ�หรับกิจการครุ ุสภา เปนจ�ำ นวนเงิน ๕,๐๐๐ บาท ๔. การจา่ ยเงินเดือนเจ้าหนา้ ทสี่ ามคั ยาจารยส์ มาคม ซึง่ ตอ่ ไปจะโอนมาครุ ุสภา ๕. พ.ร.ก. ก�ำ หนดต�ำ แหนง่ ขา้ ราชการในกระทรวงศึกษาธกิ าร ๖. การลดค่าโดยสารรถรางแก่ครู 24 / จดหมายเหตุครุ ุสภา

๗. วันเปดิ ครุ สุ ภา ก�ำ หนดทำ�บุญเลี้ยงพระในวันพฤหสั บดที ่ี ๑๕ มนี าคม ๒๔๘๘ ณ ห้องประชุมกระทรวง ศกึ ษาธกิ าร โดยปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการรับไปทำ�ความตกลงกบั รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กับกรมศาสนา ๘. ขอ้ บังคบั ครุ ุสภา ๙. การแจ้งขา่ วต่อหนังสือพิมพ์ ให้เลขาธิการเป็นผแู้ จง้ ข่าว ครงั้ ท่ี ๖ เม่อื วนั ท่ี ๑๓ มนี าคม ๒๔๘๘ ณ หอ้ งประชุมกระทรวงศึกษาธิการ ซ่ึงเปน็ การประชุมภายใน คร้ังสุดท้าย โดยมี ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานในคร่ึงเวลาแรก และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานในครงึ่ เวลาหลัง ผู้เขา้ รว่ มประชุม ประกอบดว้ ย อธกิ ารบดีจุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลยั อธิบดีกรมอาชวี ะศกึ ษา อธิบดีกรมพละศึกษา นายบญุ อปุ การ บญุ ปาลิต นายประพัฒน์ วรรธนะสาร นายเจรญิ วิชัย นางประยงค์ ถอ่ งดิกจิ ฉการ น.ส.กรองแก้ว วนกิ นนั ทน์ และเจ้าหนา้ ท่ี คือ นายบญุ ช่วย สมพงษ์ ซึง่ ทป่ี ระชมุ ได้พิจารณาเร่ือง ๑. การทำ�บุญเล้ียงพระ จะนิมนต์พระสงฆ์วัดมกุฏกษัตริย์ ๑๐ รูป (พระสาสนโสภณ เป็นประธาน) เจริญพระพุทธมนตร์ ณ ห้องประชุมกระทรวง เวลา ๑๐.๐๐ น. เวลา ๑๑.๐๐ น. ถวายอาหารเพล เสร็จแล้ว ถวายไทยทาน ดอกไมธ้ ปู เทยี น เม่ือเสร็จเลีย้ งพระสงฆแ์ ลว้ ในตอนบ่ายให้กลบั บา้ นได้ ทงั้ นเ้ี ป็นการภายใน ๒. ให้นำ�เสนอร่าง พ.ร.ก. กำ�หนดตำ�แหน่งข้าราชการ ซึ่งได้ปรับแก้ไขใหม่จากมติที่ประชุมครั้งที่ ๕ ส่งหัวหน้ากองกลาง เพ่ือดำ�เนินการเสนอไปยังเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเพื่อคณะรัฐมนตรีพิจารณาประกาศเป็น กฎหมายต่อไป ๓. ตราครุ สุ ภา ๔. การเก็บเงินสมาชกิ สามญั และวิสามัญ ๕. อ�ำ นาจการส่ังจ่ายของเจ้าหนา้ ทค่ี ุรสุ ภา ๖. ทุนเรยี นส�ำ หรบั บตุ รครู ๗. ก�ำ หนดวนั ประชมุ ครุ สุ ภาเป็นทางการ เม่ือพระราชบัญญัติครู พุทธศักราช ๒๔๘๘ มีผลบังคับใช้ต้ังแต่วันท่ี ๑๖ มีนาคม ๒๔๘๘ ได้จัดประชุม คณะกรรมการอำ�นวยการครุ สุ ภาเป็นทางการคร้ังแรก เมือ่ วนั ท่ี ๒๐ มนี าคม ๒๔๘๘ จดหมายเหตุครุ ุสภา / 25

๖๑ ๑๖ มกราคม ๒๔๘๘ ราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๖๒ ตอนที่ ๔ พระราชบญั ญัติ ครู พทุ ธศักราช ๒๔๘๘ ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั อานันทมหิดล ผ้สู ำ�เรจ็ ราชการแทนพระองค์ (ตามประกาศสภาผ้แู ทนราษฎร ลงวันท่ี ๑ สงิ หาคม พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๗) ปรดี ี พนมยงค์ ตราไว้ ณ วันท่ี ๙ มกราคม พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๘ เปน็ ปที ี่ ๑๒ ในรชั กาลปจั จบุ ัน * พระราชบญั ญตั คิ รู พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๘ นี้ พมิ พต์ ามตน้ ฉบบั จรงิ ทปี่ รากฎในราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๖๒ ตอนท่ี ๔ 26 / จดหมายเหตุคุรสุ ภา

๖๒ ตอนท่ี ๔ เล่ม ๖๒ ราชกจิ จานเุ บกษา ๑๖ มกราคม ๒๔๘๘ โดยที่สภาผู้แทนราษฎรลงมติวา่ สมควรมีกฎหมายวา่ ดว้ ยครู จงึ มีพระบรมราชโองการให้ตราพระราชบัญญัติข้ึนไว้ โดยค�ำ แนะน�ำ และยนิ ยอมของสภาผู้แทนราษฎร ดังตอ่ ไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้ให้เรียกว่า “พระราชบัญญัติ ครู พุทธศักราช ๒๔๘๘” มาตรา ๒ พระราชบญั ญตั นิ ี้ให้ใช้บังคับไดเ้ ม่ือพ้นก�ำ หนด หกสิบวันนับแตว่ ันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการรักษา การตามพระราชบัญญัติน้ี หมวด ๑ คุรุสภา มาตรา ๔ ให้มีสภาในกระทรวงศึกษาธิการ เรียกว่า “ครุ สุ ภา” และใหส้ ภานเ้ี ปน็ นติ ิบุคคล มาตรา ๕ คุรุสภาอาจมรี ายไดด้ ังต่อไปน้ี (๑) เงินอุดหนนุ จากงบประมาณแผน่ ดนิ (๒) เงนิ คา่ บำ�รุงและค่าธรรมเนียมต่าง ๆ จดหมายเหตุคุรสุ ภา / 27

๖๓ ๑๖ มกราคม ๒๔๘๘ ราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๖๒ ตอนที่ ๔ (๓) เงินผลประโยชน์ต่าง ๆ จากการลงทุนและการ จัดตัง้ องคก์ ารจดั หาผลประโยชน์ของคุรสุ ภา (๔) เงินและทรัพย์สินอย่างอื่น ๆ ซึ่งบุคคลอุทิศให้ คุรุสภาและภายใต้บังคับแห่งเงื่อนไข ข้อบังคับหรือวัตถุ ประสงค์ซึ่งผู้อุทิศกำ�หนดไว้ ให้คุรุสภารักษาและจัดการตาม ทเี่ หน็ สมควรแกป่ ระโยชนแ์ หง่ คุรสุ ภา มาตรา ๖ คุรุสภามีอ�ำ นาจหน้าท่ี ดังต่อไปนี้ (๑) รับปรึกษาให้ความเห็นแก่กระทรวงศึกษาธิการ ในเรอื่ งนโยบายการศึกษาทว่ั ไป (๒) ให้ความเห็นแก่กระทรวงศึกษาธิการในเรื่อง หลักสูตร แบบเรียน การสอน การอบรม การสอบไล่ และ อน่ื ๆ ท่ีเกย่ี วกบั การศกึ ษา (๓) ควบคุมและสอดส่องจรรยา มรรยาท และ วินัยของครู พิจารณาลงโทษครู ผู้ประพฤติผิดตลอดจน พจิ ารณาค�ำ ร้องทุกข์ของครู (๔) รักษาผลประโยชน์ของครูและส่งเสริมให้ฐานะ ของครูเปน็ ทีม่ ั่นคง 28 / จดหมายเหตุครุ สุ ภา

๖๔ ตอนที่ ๔ เล่ม ๖๒ ราชกิจจานเุ บกษา ๑๖ มกราคม ๒๔๘๘ (๕) หาทางให้ครูหรือครอบครัวของครูได้รับการ ช่วยเหลือและอุปการะตามสมควร (๖) ส่งเสริมฐานะของครูในทางความรู้ ความ ประพฤติ ความสามัคคี และความเป็นอยู่โดยจัดให้มีการ อบรม ปาฐกถา การเผยแพร่ความรู้ การสโมสร และอืน่ ๆ (๗) ปฏิบัติการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราช การพลเรือนแทนคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน และแต่ง ต้ังอนุกรรมการต่าง ๆ ให้มีอำ�นาจหน้าที่และปฏิบัติการแทน อนุกรรมการข้าราชการพลเรือนต่าง ๆ แล้วแต่กรณี สำ�หรับ ข้าราชการครู มาตรา ๗ ให้มีคณะกรรมการอำ�นวยการของคุรุสภา ประกอบด้วย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการเป็นประธาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการเป็นรองประธาน อธิบดีกรมสามัญ ศึกษา อธิบดีกรมอาชีวะศึกษา อธิบดีกรมพลศึกษา อธิการ บดีจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เป็นกรรมการโดยตำ�แหน่ง และกรรมการอ่ืนไม่เกินเก้าคน ซึ่งท่ีประชุมสามัญแห่งคุรุสภา ได้เลือกต้ังจากผู้ซึ่งเคยดำ�รงตำ�แหน่งเป็นครู มีเวลารวมกันไม่ น้อยกวา่ สบิ ห้าปี จดหมายเหตุครุ ุสภา / 29

๖๕ ๑๖ มกราคม ๒๔๘๘ ราชกิจจานเุ บกษา เล่ม ๖๒ ตอนที่ ๔ กรรมการซ่ึงท่ีประชุมสามญั แหง่ ครุ ุสภาเลือกตงั้ ให้อยู่ใน ตำ�แหน่งคราวละสี่ปี และอาจได้รับแต่งต้ังใหม่อีกได้ ถ้า ตำ�แหน่งว่างลงก่อนถึงคราวออกตามวาระ จะทรงพระกรุณา โปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งกรรมการใหม่ข้ึนแทนตำ�แหน่งท่ีว่างอยู่ ก็ได้ แต่กรรมการใหม่นี้ให้ดำ�รงตำ�แหน่งได้เพียงเท่ากำ�หนด เวลาของผู้ซง่ึ ตนแทน มาตรา ๘ ให้คณะกรรมการอ�ำ นวยการแต่งต้ังเลขาธิการ และเจา้ หนา้ ที่อ่ืนตามสมควร มาตรา ๙ ให้ประธานเป็นผู้เรียกประชุมคณะกรรมการ อำ�นวยการ และให้เลขาธิการเป็นผู้ดำ�เนินกิจการตามมติ ของคณะกรรมการอำ�นวยการ ในความควบคุมของประธาน หรอื ผ้ทู ี่ประธานมอบหมาย มาตรา ๑๐ ให้คณะกรรมการอำ�นวยการเป็นผู้ใช้อำ�นาจ และปฏิบัติหน้าที่ของคุรุสภาตามมาตรา ๖ และจะแต่งตั้ง อนุกรรมการ หรือมอบหมายให้กรรมการอำ�นวยการคนหน่ึง คนใดไปท�ำ การใด ๆ แทนก็ได้ 30 / จดหมายเหตุครุ สุ ภา

๖๖ ตอนท่ี ๔ เลม่ ๖๒ ราชกจิ จานเุ บกษา ๑๖ มกราคม ๒๔๘๘ มาตรา ๑๑ การประชุมของคณะกรรมการอำ�นวยการ หรืออนุกรรมการต้องมีกรรมการอ�ำ นวยการหรืออนุกรรมการ แล้วแต่กรณี มาประชุมไม่น้อยกว่าก่ึงจำ�นวนจึงเป็นองค์ ประชมุ ได้ ในกรณีที่ประธานไม่มาประชุม ให้รองประธานเป็น ประธานในท่ีประชุม ถ้าประธานและรองประธานไม่มา ประชุม ให้ผู้ท่ีมาประชุมเลือกกรรมการอำ�นวยการคนใด คนหน่งึ ทม่ี าประชมุ นงั่ เปน็ ประธาน การลงมติให้ถือเอาคะแนนเสยี งขา้ งมากเป็นประมาณ กรรมการคนหนึ่งย่อมมีเสียงหน่ึงในการลงคะแนน ถ้ามี จำ�นวนเสียงลงคะแนนเท่ากัน ให้ผู้ที่นั่งเป็นประธานออกเสียง เพม่ิ ขน้ึ อกี เสยี งหนึ่งเปน็ เสยี งชี้ขาด มาตรา ๑๒ สมาชิกของคุรสุ ภา มสี ามประเภท คือ (๑) สมาชิกสามัญ (๒) สมาชกิ วสิ ามญั (๓) สมาชิกสมทบ คณะกรรมการอ�ำ นวยการอาจแต่งตงั้ ผู้หน่ึงผู้ใดให้เป็น สมาชกิ กติ ตมิ ศักดิ์ของครุ สุ ภาก็ได้ จดหมายเหตุคุรสุ ภา / 31

๖๗ ๑๖ มกราคม ๒๔๘๘ ราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๖๒ ตอนที่ ๔ มาตรา ๑๓ สมาชกิ ของครุ ุสภาต้องมีคณุ สมบัตดิ งั นี้ (๑) ไม่เคยต้องโทษจ�ำ คกุ โดยค�ำ พิพากษาโทษให้ จำ�คุก เว้นแต่ความผิดในลักษณะฐานลหุโทษ หรือความ ผดิ อันไดก้ ระทำ�โดยความประมาท (๒) ไม่เป็นผู้มีกายทุพพลภาพ ไร้ความสามารถ หรือจติ ตฟ์ ่ันเฟือนไม่สมประกอบ (๓) ไมเ่ ป็นผูบ้ กพรอ่ งในศีลธรรมอนั ดี (๔) ไม่เป็นผู้เคยถูกปลดออก หรือไล่ออกจาก ราชการ (๕) ไมเ่ ป็นผู้มหี นีส้ นิ ล้นพน้ ตวั (๖) เป็นผู้เลื่อมใสในการปกครองระบอบรัฐธรรม นญู ด้วยความบรสิ ุทธิ์ใจ มาตรา ๑๔ สมาชิกสามัญต้องมีพื้นความรู้และอยู่ใน เงื่อนไขดังนี้ (๑) ได้ประกาศนียบัตรวิชาครูหรือสำ�เร็จวิชาช้ัน อุดมศกึ ษา และ (๒) มีอาชีพเป็นครูสอนในสถานศึกษาท่ีอยู่ในความ ควบคุมของกระทรวงศึกษาธิการ หรือได้เคยมีอาชีพเป็น 32 / จดหมายเหตุคุรุสภา

๖๘ ตอนที่ ๔ เล่ม ๖๒ ราชกจิ จานุเบกษา ๑๖ มกราคม ๒๔๘๘ ครูสอนในสถานศึกษาดังกลา่ วแล้วเป็นเวลารวมกนั ไม่น้อย กว่ายี่สิบปี และออกจากตำ�แหน่งโดยไม่มคี วามผิด เงื่อนไขในการมีอาชีพเป็นครูตาม (๒) จะต้องได้รับเงิน เดือน การเป็นครูสอนโดยได้รับค่าสอนคิดเป็นรายช่ัวโมง หรือรายสัปดาห์ หรือได้รับเป็นรายเดือน แต่ได้รับฉะเพาะ เดอื นทีม่ ีการสอน ไม่ตลอดปี ไม่อยู่ในเง่อื นไขนี้ มาตรา ๑๕ สมาชิกวิสามัญ ต้องมีพื้นความรู้ในการ เป็นครูตามกฎหมายว่าด้วยปถมศึกษา หรือกฎหมายว่าด้วย โรงเรียนราษฎร์ และจะต้องอยู่ในเงื่อนไขตามมาตรา ๑๔ (๒) เม่ือสมาชิกวิสามัญผู้ใดมีพื้นความรู้ตามมาตรา ๑๔ (๑) ให้สมาชิกผู้น้ันเป็นสมาชิกสามัญ และต้องแจ้งให้คุรุสภา ทราบ มาตรา ๑๖ ผทู้ จ่ี ะสมคั รเปน็ สมาชกิ สมทบตอ้ งมคี ณุ สมบตั ิ ตามมาตรา ๑๓ และมีพ้ืนความรู้ตามมาตรา ๑๔ (๑) หรือ มาตรา ๑๕ แต่มิได้มีอาชีพเป็นครูตามเง่ือนไขในมาตรา ๑๔ (๒) จดหมายเหตุคุรสุ ภา / 33

๖๙ ๑๖ มกราคม ๒๔๘๘ ราชกจิ จานเุ บกษา เล่ม ๖๒ ตอนที่ ๔ เม่ือสมาชิกสมทบผู้ใดมีอาชีพเป็นครูตามเง่ือนไขใน มาตรา ๑๔ (๒) ให้สมาชิกผู้น้ันเป็นสมาชิกสามัญหรือสมาชิก วสิ ามัญ แล้วแตก่ รณี และตอ้ งแจ้งให้คุรสุ ภาทราบ สมาชิกสมทบมีสิทธิท่ีจะเสนอความเห็นต่อท่ีประชุม สามัญหรือวิสามัญ แต่ไม่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนน และ ไม่ไดร้ บั สิทธิตามมาตรา ๖ (๕) มาตรา ๑๗ ให้กรรมการอำ�นวยการเป็นสมาชิกสามัญ แม้ว่าจะไดพ้ ้นจากตำ�แหนง่ ไปแลว้ กต็ าม มาตรา ๑๘ สมาชิกคุรุสภาต้องเสียค่าบำ�รุงและค่า ธรรมเนียมตามอัตรา และภายในระยะเวลาท่ีคณะกรรมการ อำ�นวยการกำ�หนดไว้ มาตรา ๑๙ สมาชิกครุ ุสภาพน้ จากสมาชกิ ภาพเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) ขาดคณุ สมบตั ิตามมาตรา ๑๓ (๔) มิได้มีอาชีพเป็นครูตามเงื่อนไขในมาตรา ๑๔ (๒) สำ�หรับกรณีสมาชิกสามัญหรือสมาชิก วสิ ามัญ หรือ 34 / จดหมายเหตุคุรสุ ภา

๗๐ ตอนท่ี ๔ เลม่ ๖๒ ราชกิจจานุเบกษา ๑๖ มกราคม ๒๔๘๘ (๕) ประพฤติผิดวินยั และคณะกรรมการอ�ำ นวยการ วินิจฉัยให้ออกโดยคะแนนเสียงไม่ต�ำ่ กวา่ กง่ึ จำ�นวนของกรรมการทงั้ หมด มาตรา ๒๐ ให้มีการประชุมสามัญของคุรุสภาปีละคร้ัง แต่ถา้ จำ�เป็นจะมีการประชมุ วสิ ามัญในเวลาหนง่ึ เวลาใดก็ได้ ให้คณะกรรมการอำ�นวยการเป็นผู้กำ�หนดวัน และเรียก ประชุมสามัญ สำ�หรับการประชุมวิสามัญน้ัน ถ้ามีเร่ืองสำ�คัญ เร่งด่วน และคณะกรรมการอำ�นวยการเห็นสมควรจะเรียก ประชุมเม่ือใดก็ได้ หรือถ้าสมาชิกสามัญมีจำ�นวนไม่น้อยกว่า รอ้ ยคนรอ้ งขอ กใ็ หค้ ณะกรรมการอ�ำ นวยการเรียกประชุม มาตรา ๒๑ ในการประชุมสามัญ ให้คณะกรรมการ อำ�นวยการแถลงผลงานที่ได้ดำ�เนินมาในรอบปีที่แล้ว ตลอด จนฐานะการเงินของคุรุสภา และให้สมาชิกมีสิทธิสอบถาม ข้อความและสนอความคิดเห็น อันเกี่ยวกับงานในหน้าที่ของ คณะกรรมการอ�ำ นวยการได้ มาตรา ๒๒ ในการประชุมสามัญหรือวิสามัญ ต้องมี สมาชิกมาประชุมไม่น้อยกว่าร้อยคน โดยไม่นับผู้ท่ีเป็น กรรมการอำ�นวยการ จงึ เป็นองค์ประชมุ ได้ จดหมายเหตุครุ สุ ภา / 35

๗๑ ๑๖ มกราคม ๒๔๘๘ ราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๖๒ ตอนที่ ๔ ให้นำ�ความในวรรคสองและวรรคสามของมาตรา ๑๑ มา ใช้บงั คบั แก่การประชุมสามญั และวสิ ามญั โดยอนโุ ลม มาตรา ๒๓ ให้คณะกรรมการอำ�นวยการมีอำ�นาจวาง ระเบียบเพื่อปฏิบัติการตามอำ�นาจและหน้าที่ของคุรุสภา โดย ประกาศให้สมาชิกทราบโดยเปิดเผย หมวด ๒ ครู มาตรา ๒๔ ครูได้แก่ข้าราชการครูและผู้ทำ�การสอนใน สถานศึกษาท่ีอยู่ในความควบคุมของกระทรวงศึกษาธิการและ ได้รับเงินเดือนเปน็ ประจ�ำ มาตรา ๒๕ ข้าราชการครูได้แก่ข้าราชการพลเรือนซึ่ง ด�ำ รงต�ำ แหน่งเป็นผู้สอนประจ�ำ ในสถานศึกษาของกระทรวง ศึกษาธิการ หรือซ่ึงดำ�รงตำ�แหน่งอ่ืนในกระทรวงศึกษาธิการ อันเกี่ยวกับการให้การศึกษาตามที่ก�ำ หนดไว้โดยพระราช กฤษฎีกา มาตรา ๒๖ ครูต้องเปน็ สมาชกิ ของคุรุสภา 36 / จดหมายเหตุครุ ุสภา

๗๒ ตอนที่ ๔ เล่ม ๖๒ ราชกจิ จานเุ บกษา ๑๖ มกราคม ๒๔๘๘ มาตรา ๒๗ ครูท่ีได้ทำ�การสอนติดต่อกันเป็นเวลา สิบห้าปีขึ้นไป แม้จะไปดำ�รงตำ�แหน่งอ่ืนในกระทรวง ศึกษาธกิ ารก็ใหถ้ อื วา่ เป็นสมาชกิ สามัญ หมวด ๓ จรรยา มรรยาท และวนิ ยั มาตรา ๒๘ ครูต้องมีจรรยามรรยาทอันดีงาม อยู่ในวินัยตามระเบียบประเพณีของครูตามทค่ี ุรุสภาจะไดก้ �ำ หนด ไว้ และตามระเบยี บของสถานศึกษาทต่ี นมหี น้าทท่ี �ำ การสอน มาตรา ๒๙ คณะกรรมการอำ�นวยการอาจแต่งต้ัง อนุกรรมการข้ึนเพื่อสอดส่องจรรยามรรยาทและวินัยของครู เพ่ือการนี้ให้อนุกรรมการมีอ�ำ นาจแนะน�ำ ตักเตอื นครผู ปู้ ระพฤติ ผิดจรรยามรรยาทหรือวินัยของครู หรือทำ�การพิจารณา สอบสวนแล้วรายงานต่อคณะกรรมการอ�ำ นวยการเพอ่ื พจิ ารณา ลงโทษต่อไป มาตรา ๓๐ ให้คณะกรรมการอำ�นวยการมีอำ�นาจ ออกค�ำ สง่ั ลงโทษภาคทณั ฑ์ ต�ำ หนโิ ทษเปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร หรอื ให้ออกจากสมาชิกภาพของคุรุสภา แล้วแต่จะเห็นสมควร แกค่ วามผิด จดหมายเหตุครุ ุสภา / 37

๗๓ ๑๖ มกราคม ๒๔๘๘ ราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ๖๒ ตอนที่ ๔ คำ�สง่ั ของคณะกรรมการอำ�นวยการใหเ้ ปน็ ทสี่ ุด มาตรา ๓๑ ครูซึ่งถูกลงโทษให้ออกจากสมาชิกภาพแห่ง คุรุสภาเพราะเหตุประพฤติผิดจรรยา มรรยาท หรือวินัยน้ัน ถ้ า ไ ด้ ก ลั บ ป ร ะ พ ฤ ติ ต น ดี มี ส ม า ชิ ก รั บ ร อ ง ไ ม่ น้ อ ย กว่าสิบห้าคน และเวลาได้ล่วงพ้นจากวันที่ถูกส่ังให้ออกจาก สมาชิกภาพไปแล้วไม่น้อยกว่าสามปี จะยื่นคำ�ร้องขอให้ สอบสวนความประพฤติ เพื่อขอเข้าเป็นสมาชิกอีกใหม่ก็ได้ ถา้ คณะกรรมการอ�ำ นวยการสอบสวนเห็นวา่ ผู้น้ันมีความ ประพฤติดีและกลับตนเป็นคนมีจรรยา มรรยาท และวินัย ดีแลว้ จะอนุญาตให้เขา้ เปน็ สมาชกิ ก็ได้ หมวด ๔ บทเฉพาะกาล มาตรา ๓๒ บรรดาผู้ท่ีเป็นครูอยู่แล้วในวันใช้บังคับ พระราชบัญญัติน้ี ให้ถือว่าเป็นสมาชิกสามัญหรือสมาชิก วิสามัญแห่งคุรุสภา แล้วแต่กรณี และต้องเสียเงินค่าบำ�รุง และค่าธรรมเนียมตามมาตรา ๑๘ 38 / จดหมายเหตุครุ สุ ภา

๗๔ ตอนท่ี ๔ เล่ม ๖๒ ราชกิจจานุเบกษา ๑๖ มกราคม ๒๔๘๘ มาตรา ๓๓ ภายในหน่ึงปีนับแต่วันใช้บังคับพระราช บัญญัติน้ี ให้คณะกรรมการอำ�นวยการของคุรุสภาประกอบ ด้วยกรรมการโดยตำ�แหน่งตามความในมาตรา ๗ และกรรมการ อ่ืนไม่เกินเก้าคนซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แต่งต้ังจากผู้ ซ่ึงเคยด�ำ รงตำ�แหนง่ เปน็ ครมู เี วลารวมกันไม่น้อยกว่าสบิ ปี ผรู้ ับสนองพระบรมราชโองการ ควง อภัยวงศ์ นายกรฐั มนตรี จดหมายเหตุคุรสุ ภา / 39

พระราชบญั ญตั ิครู พุทธศกั ราช ๒๔๘๘ อำ�นาจหน้าทข่ี องครุ สุ ภา พระราชบญั ญตั คิ รู พทุ ธศักราช ๒๔๘๘ บญั ญตั ิอ�ำ นาจหนา้ ทีข่ องคุรุสภาไว้ในมาตรา ๖ ดงั น้ี (๑) รบั ปรกึ ษาให้ความเหน็ แก่กระทรวงศึกษาธิการในเรื่องนโยบายการศกึ ษาทว่ั ไป (๒) ให้ความเห็นแก่กระทรวงศึกษาธิการในเรื่องหลักสูตร แบบเรียน การสอน การอบรม การสอบไล่ และอื่น ๆ ท่เี ก่ยี วกบั การศึกษา (๓) ควบคมุ และสอดสอ่ งจรรยา มรรยาท และวินัยของครู พจิ ารณาลงโทษครผู ปู้ ระพฤตผิ ิด ตลอดจน พจิ ารณาค�ำ ร้องทุกขข์ องครู (๔) รักษาผลประโยชนข์ องครูและสง่ เสริมใหฐ้ านะของครูเป็นท่มี น่ั คง (๕) หาทางใหค้ รูหรือครอบครัวของครไู ด้รับการช่วยเหลอื และอุปการะตามสมควร (๖) ส่งเสริมฐานะของครูในทางความรู้ ความประพฤติ ความสามัคคี และความเป็นอยู่ โดยจัดให้ มกี ารอบรม ปาฐกถา การเผยแพร่ความรู้ การสโมสร และอ่ืน ๆ (๗) ปฏิบัติการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน แทนคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน และแตง่ ตง้ั อนุกรรมการตา่ ง ๆ ให้มอี �ำ นาจหนา้ ที่และปฏบิ ตั ิการแทนอนกุ รรมการขา้ ราชการพลเรอื นตา่ ง ๆ แลว้ แตก่ รณี สำ�หรับข้าราชการครู จากนน้ั มกี ารแก้ไขเพ่ิมเติมอ�ำ นาจและหน้าทข่ี องคุรุสภารวม ๔ ครง้ั ครง้ั ท่ี ๑ ในปี พ.ศ. ๒๕๐๙ มีการออกพระราชบญั ญัตคิ รู (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๐๙ เพ่มิ อำ�นาจหนา้ ทข่ี อง คุรุสภาอกี ๑ ประการ เป็น ๘ ประการ คือ “(๘) ปฏิบัติการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัดแทน ก.จ. และแต่งต้ังอนุกรรมการ ให้มีอำ�นาจหน้าท่ีและปฏิบัติการแทนได้ ในส่วนท่ีเก่ียวกับข้าราชการส่วนจังหวัด ซ่ึงดำ�รงตำ�แหน่งเป็นผู้สอนประจำ� ในสถานศึกษาขององค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั ” ครั้งท่ี ๒ ในปี พ.ศ. ๒๕๑๙ มกี ารแก้ไขปรบั ปรุงอำ�นาจและหน้าทีข่ องคุรสุ ภาใหมท่ ัง้ หมด เพือ่ ความเหมาะสม รัดกมุ รวมขอ้ ความท่ีคล้ายคลึงกัน เรือ่ งเดียวกันไว้ในข้อเดยี วกนั โดยออกพระราชบญั ญัติครู (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๑๙ บัญญัติอ�ำ นาจหน้าทีข่ องคุรุสภาในมาตรา ๖ ดังน้ี “(๑) ใหค้ วามเหน็ แก่กระทรวงศกึ ษาธิการในเรื่องการจัดการศึกษาโดยท่ัวไป หลักสตู ร แบบเรียน อุปกรณ์ ประกอบการเรยี น การสอน การฝกึ อบรม การวดั ผลและประเมนิ ผลการศกึ ษา การนเิ ทศการศกึ ษา และเรอ่ื งอน่ื ทเ่ี กย่ี วเนอ่ื ง โดยตรงกับการจัดการศกึ ษา (๒) ควบคมุ และสอดสอ่ งจรรยา มรรยาท และวินัยของครู พิจารณาโทษครูผู้ประพฤตผิ ดิ และพิจารณา ค�ำ รอ้ งทุกขข์ องครู (๓) พทิ ักษส์ ิทธิของครภู ายในขอบเขตทก่ี ฎหมายก�ำ หนด 40 / จดหมายเหตุครุ ุสภา

(๔) ส่งเสรมิ ใหค้ รูไดร้ ับสวสั ดิการต่างๆ ตามสมควร (๕) พฒั นาความรู้ ความสามารถ คุณภาพและประสิทธิภาพของครู (๖) ปฏิบัติการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน แทนคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน และแตง่ ตง้ั อนกุ รรมการตา่ ง ๆ ใหม้ ีอำ�นาจหนา้ ทแ่ี ละปฏบิ ัตกิ ารแทนอนุกรรมการข้าราชการพลเรอื นต่าง ๆ แล้วแต่กรณี สำ�หรับขา้ ราชการครู (๗) ปฏบิ ตั กิ ารตามกฎหมายวา่ ดว้ ยระเบยี บบรหิ ารราชการสว่ นจงั หวดั แทน ก.จ. และแตง่ ตง้ั อนกุ รรมการ ให้มีอำ�นาจหน้าท่ีและปฏิบัติการแทนได้ ในส่วนที่เก่ียวกับข้าราชการส่วนจังหวัดซึ่งดำ�รงตำ�แหน่งเป็นผู้สอนประจำ� ในสถานศึกษาขององค์การบริหารส่วนจังหวัด” ครั้งท่ี ๓ ในปี พ.ศ. ๒๕๒๑ เนื่องจากมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (ฉบบั ท่ี ๙) พ.ศ. ๒๕๒๑ ซ่งึ กำ�หนดให้มีข้าราชการครสู ว่ นจังหวดั และมีการประกาศใช้พระราชกฤษฎกี าระเบียบพนักงาน เทศบาล (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๒๑ ซ่ึงก�ำ หนดให้มพี นักงานครเู ทศบาลขนึ้ จงึ มกี ารแก้ไขปรับปรุงอำ�นาจและหนา้ ท่ขี อง คุรุสภา โดยออกพระราชบัญญัติครู (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๒๑ ซ่ึงพระราชบัญญัติฉบับนี้ ได้ยกเลิกข้อความใน (๗) ของมาตรา ๖ แหง่ พระราชบัญญตั ิครู พุทธศักราช ๒๔๘๘ และให้ใชข้ ้อความต่อไปน้แี ทน “(๗) ปฏบิ ตั กิ ารตามกฎหมายวา่ ดว้ ยระเบยี บบรหิ ารราชการสว่ นจงั หวดั แทน ก.จ. และแตง่ ตง้ั คณะอนกุ รรมการ ให้มีอ�ำ นาจหน้าทีแ่ ละปฏบิ ัตกิ ารแทนได้ในส่วนท่เี ก่ยี วกับข้าราชการครสู ว่ นจังหวัด” คร้ังท่ี ๔ ในปี พ.ศ. ๒๕๒๓ เน่ืองจากมีการตรากฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครู โดยแยก การบรหิ ารงานบคุ คลส�ำ หรบั ขา้ ราชการครอู อกจาก ก.พ. และครุ สุ ภา จงึ มกี ารแก้ไขปรบั ปรงุ อ�ำ นาจและหนา้ ทข่ี องครุ สุ ภา ในสว่ นท่เี ปน็ บทบัญญัตวิ ่าดว้ ยการบริหารงานบุคคล ให้สอดคล้องกับกฎหมายดังกลา่ ว โดยมีการออกพระราชบญั ญัติครู (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๒๓ บัญญัติอำ�นาจหน้าที่ของคุรุสภาไว้ ๕ ประการ ต้ังแต่วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๒๓ ดังต่อไปนี้ (๑) ให้ความเห็นแกก่ ระทรวงศึกษาธกิ ารในเร่อื งการจดั การศกึ ษาโดยทวั่ ไป หลักสูตร แบบเรยี น อุปกรณ์ ประกอบการเรียน การสอน การฝึกอบรม การวัดผลและประเมินผลการศึกษา การนิเทศการศึกษา และเรื่องอื่น ทเี่ ก่ยี วเนื่องโดยตรงกับการจัดการศึกษา (๒) ควบคุมและสอดส่องจรรยา มรรยาท และวินยั ของครู พิจารณาโทษครผู ปู้ ระพฤตผิ ิด และพจิ ารณา คำ�รอ้ งทกุ ข์ของครู (๓) พิทักษ์สทิ ธขิ องครภู ายในขอบเขตทกี่ ฎหมายกำ�หนด (๔) ส่งเสรมิ ให้ครูไดร้ บั สวัสดกิ ารตา่ ง ๆ ตามสมควร (๕) พัฒนาความรู้ ความสามารถ คณุ ภาพและประสิทธิภาพของครู จดหมายเหตุครุ สุ ภา / 41

พระราชบัญญตั คิ รู พทุ ธศักราช ๒๔๘๘ ท่ีท�ำ การของครุ ุสภา คุรุสภาเมอ่ื แรกจัดตั้งสำ�นักงานเลขาธิการคุรสุ ภาในวันท่ี ๒ มนี าคม ๒๔๘๘ ยังไม่มีอาคารสำ�นกั งานของตนเอง สถานท่ที �ำ งานของเจ้าหนา้ ท่ีคุรุสภาจึงกระจายอยภู่ ายในพื้นท่ีกระทรวงศกึ ษาธกิ าร คือ ๑. แผนกสารบรรณ อาศัยทีว่ า่ งหน้ากองกลาง ส�ำ นักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ เป็นท่ีน่ังทำ�งาน ๒. แผนกทะเบียน อาศยั ตึกฝกึ หัดครู ภายในบริเวณโรงเรียนฝึกหัดครมู ัธยม ๓. แผนกรักษาผลประโยชน์ของครู อาศัยท่ีว่างหน้ากองกลาง สำ�นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ติดกับ แผนกสารบรรณ ๔. แผนกชว่ ยเหลืออุปการะครแู ละครอบครวั ยงั ไม่มเี จ้าหนา้ ทท่ี ำ�งาน จึงไม่ไดม้ ีทีท่ ำ�งานทช่ี ดั เจน ๕. แผนกส่งเสริมความรู้ อาศัยอยู่กับกองการศึกษาผู้ใหญ่ กรมสามัญศึกษา ช้ัน ๒ ปีกซ้ายของกระทรวง ศึกษาธิการ ๖. แผนกขา้ ราชการครู อาศัยอยู่กบั กองโรงเรียนราษฎร์ กรมสามญั ศกึ ษา ๗. แผนกคลัง อาศัยอยกู่ บั กรมอาชวี ศึกษา ชน้ั ๒ บนปีกขวาของกระทรวงศึกษาธกิ าร ปี พ.ศ. ๒๔๘๙ เจ้าหน้าท่ีคุรุสภามีจำ�นวนมากข้ึน สำ�นักงานเลขาธิการคุรุสภาจึงย้ายท่ีทำ�การไปอยู่ท่ี สามัคยาจารย์สมาคม ภายในบริเวณโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โดยช้ันล่างใช้เป็นที่ประชุม แสดงปาฐกถา และบรรยายงานทางวิชาการ ส่วนชั้นบนใช้เป็นห้องสมุดและที่ทำ�งานของสำ�นักงานเลขาธิการคุรุสภา มีการปรับปรุง “ศาลาพระเสดจ็ ” ใหเ้ ปน็ ทพี่ กั สมาชกิ ทเ่ี ดนิ ทางมาจากตา่ งจงั หวดั ไดเ้ ขา้ พกั ในราคาถกู พรอ้ มกนั นยี้ งั มกี ารปรบั ปรงุ กจิ การ ของสโมสรสามคั ยาจารย์ ซอ่ มสนามเทนนสิ โตะ๊ บลิ เลยี ด ส�ำ หรบั ใหส้ มาชกิ ใชเ้ ปน็ ทพ่ี กั ผอ่ น และจดั สถานทสี่ มรสใหส้ มาชกิ และบุตรสมาชิกครุ ุสภาท่สี โมสรสามัคยาจารย์ โดยคิดคา่ ใชจ้ า่ ยในราคายอ่ มเยา ปี พ.ศ. ๒๔๙๕ ในการประชมุ สามัญของครุ สุ ภาประจ�ำ ปี ทป่ี ระชมุ ไดม้ กี ารพิจารณาเร่ืองตึกสามัคยาจารย์ ท่มี สี ภาพชำ�รดุ ทรดุ โทรม ประกอบกับปริมาณงานของครุ ุสภาทีม่ ีมากข้ึน เหน็ สมควรให้มีการขยับขยายสถานทท่ี ำ�งานใหม่ และสถาปนิกก็ได้มีการพิจารณาเห็นว่า วัสดุก่อสร้างตึกสามัคยาจารย์เดิมเสื่อมคุณภาพ ไม่เหมาะสำ�หรับการต่อเติม เพราะจะไดร้ ับประโยชน์ไม่ค้มุ ค่า ท่ีประชุมสามญั คุรุสภาจึงมมี ตริ ับหลักการท่ีจะด�ำ เนินการสรา้ งตกึ สามคั ยาจารยข์ ้ึนใหม่ และมีการแตง่ ต้งั คณะอนุกรรมการข้นึ เพื่อพจิ ารณาดำ�เนินการจดั หาเงนิ สร้างอาคารหลังใหม่ ปี พ.ศ. ๒๔๙๗ การสรา้ งตกึ ครุ สุ ภาหลงั ใหม่ไดเ้ รมิ่ ด�ำ เนนิ การ โดยเรมิ่ จากการตดั ยอดผลก�ำ ไรขององคก์ ารคา้ ของคุรุสภามาประเดมิ เปน็ เงนิ จำ�นวน ๒๐๐,๐๐๐ บาท แลว้ จงึ ไดม้ กี ารออกแจง้ ขอความร่วมมอื จากบรรดาสมาชกิ คุรสุ ภา และผ้ทู ม่ี กี ุศลจิตรว่ มบรจิ าคสมทบทุนสร้างตึกครุ ุสภาใหม่ โดยในปีถัดมา (พ.ศ.๒๔๙๘) คณะกรรมการอำ�นวยการคุรุสภา มีความเห็นว่าคุรุสภาควรมีหอประชุมขนาดใหญ่ ท่ีมีห้องประชุมใหญ่กว่าของเดิม สามารถบรรจุสมาชิกได้ประมาณ ๑,๐๐๐ คน แต่เนอื่ งจากสถานทีเ่ ดมิ มีความคับแคบ ไมส่ ามารถสร้างอาคารขนาดใหญ่ได้ จงึ มกี ารหาสถานท่กี ่อสร้างใหม่ โดยยา้ ยจากโรงเรยี นสวนกหุ ลาบวทิ ยาลยั มายงั สถานทปี่ จั จบุ นั ซงึ่ เดมิ เปน็ ทตี่ ง้ั ของโรงเรยี นฝกึ หดั ครพู ระนครและโรงเรยี น ฝกึ หดั ครูมัธยม ซง่ึ ตง้ั อย่บู รเิ วณด้านทศิ ตะวนั ตกของกระทรวงศึกษาธิการ (วังจันทรเกษม) 42 / จดหมายเหตุคุรสุ ภา

อาคารหลังแรกของคุรุสภาท่ีมีการก่อสร้างในพื้นที่ คือ “อาคารหอประชุมคุรุสภา” เป็นอาคารสูง ๔ ชั้น โดยก�ำ หนดการใชง้ านแตล่ ะชนั้ ดงั นี้ ชนั้ ท่ี ๑ เปน็ หอ้ งประชมุ สามารถบรรจผุ เู้ ขา้ ประชมุ ไดป้ ระมาณ ๑,๐๐๐ คน ใชส้ �ำ หรบั เป็นที่ประชุมแสดงปาฐกถา แสดงละคร ฉายภาพยนตร์การศึกษา ประกอบพิธีมงคลสมรส และงานรับรองต่าง ๆ ช้นั ที่ ๒ เปน็ ส�ำ นกั งานเลขาธิการครุ ุสภา ชั้นที่ ๓ เปน็ หอ้ งสมุด และช้นั ที่ ๔ เป็นพพิ ิธภัณฑ์การศกึ ษา หลังจากมีการออกประกาศขอความร่วมมือจากบรรดาสมาชิกคุรุสภา และผู้มีจิตกุศล เพ่ือช่วยบริจาคทรัพย์ สร้างอาคารหลังใหม่น้ี ซ่ึงได้รับความร่วมมือและเงินบริจาคส่งให้คุรุสภาเป็นระยะ รวมกับเงินขององค์การค้าคุรุสภา และเงินท่รี ัฐบาลสมทบให้ อาคารหอประชมุ ครุ สุ ภาจงึ เปน็ เสมอื นอนุสรณ์สถานใหร้ ะลึกถงึ ความรว่ มมอื รว่ มใจของสมาชิก ครุ สุ ภาทุกคนท่ีไดร้ ่วมบริจาคเงนิ เดอื นละ ๑ วัน รวมจ�ำ นวน ๕,๑๘๔,๖๗๐ บาท เพื่อสมทบกับเงินสนับสนุนจากองคก์ ารค้า ของคุรุสภา จำ�นวน ๒,๗๐๐,๐๐๐ บาท และงบประมาณจากรัฐบาลจำ�นวน ๓,๗๐๐,๐๐๐ บาท รวมเป็นเงิน ในการดำ�เนินงานก่อสร้างท้ังหมด ๑๐,๐๔๖,๐๔๔.๕๖ บาท มีพิธีวางศิลาฤกษ์ เม่ือวันท่ี ๙ พฤษภาคม ๒๕๐๐ โดยพลอากาศโท มนุ ี มหาสนั ทนะ เวชยนั ตร์ งั สฤษฎิ์ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ ารและประธานกรรมการอ�ำ นวยการ คุรุสภา เป็นประธานวางศิลาฤกษ์ พร้อมด้วย หม่อมหลวงป่ิน มาลากุล ขุนคงฤทธิศึกษากร นายจุล ชีวะวุฒิ นายเจริญ ไชยชนะ และแขกผู้มเี กียรตเิ ข้ารว่ มพธิ ี เร่ิมก่อสร้างเมื่อวนั ที่ ๓ ตลุ าคม ๒๕๐๐ ใช้ระยะเวลาในการกอ่ สรา้ ง จำ�นวน ๑ ปี ๗ เดือนจึงแล้วเสร็จ โดยสำ�นักงานเลขาธิการคุรุสภาได้ย้ายท่ีทำ�การมาต้ังอยู่ที่ช้ัน ๓ และชั้น ๔ ของ อาคารหอประชุมคุรุสภา โดยได้เปิดบริการหอประชุมคุรุสภาต้ังแต่วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๐๒ และจัดพิธีเปิดอาคาร หอประชุมคุรุสภาอย่างเป็นทางการเมอื่ วันที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๐๒ โดยมี ฯพณฯ พลเอกถนอม กิตติขจร นายกรฐั มนตรี ขณะนน้ั เดินทางมาเปน็ ประธานในพธิ ี นอกจากการกอ่ สรา้ งอาคารหอประชมุ ครุ สุ ภาแลว้ ในชว่ งปี พ.ศ. ๒๕๐๒ ยงั ไดม้ กี ารด�ำ เนนิ การกอ่ สรา้ ง “อาคาร หอพักสมาชิกคุรุสภา” เพื่อรองรับสมาชิกส่วนภูมิภาคท่ีเดินทางเข้ามาศึกษาอบรมหรือสอบในกรุงเทพมหานคร เป็น อาคาร ๓ ช้ัน ตง้ั อยูบ่ รเิ วณรมิ คลองเมง่ เสง็ มีหอ้ งพิเศษ ๑๔ หอ้ ง และหอ้ งรวม ๒๔ ห้อง โดยเปดิ ให้บรกิ ารเปน็ คร้งั แรก ในวันท่ี ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๐๒ ปี พ.ศ. ๒๕๐๓ คณะกรรมการอนกุ รรมการสง่ เสรมิ สวสั ดกิ ารของครุ สุ ภา ไดป้ ระชมุ ปรกึ ษาถงึ การจดั สวสั ดกิ าร ในดา้ นการเจบ็ ปว่ ยใหแ้ กส่ มาชกิ ครุ สุ ภา โดยรอ้ื ฟน้ื เรอื่ งการจดั ตงั้ โรงพยาบาลครซู งึ่ เคยมกี ารเสนอโครงการแลว้ ถกู ระงบั ไป เสียก่อน ท่ีประชุมเห็นพ้องกันว่า การจัดตั้งโรงพยาบาลเป็นเรื่องใหญ่ ค่าใช้จ่ายสูง ควรจัดตั้งเป็นคลินิคเสียก่อน จงึ ไดม้ กี ารเปดิ “สถานพยาบาลของครุ สุ ภา” ท�ำ การรกั ษาพยาบาลเปน็ ครง้ั แรก เมอ่ื วนั ท่ี ๘ พฤษภาคม ๒๕๐๔ โดยใชส้ ถานท่ี สว่ นหนึง่ ของหอพกั สมาชกิ ครุ ุสภาดา้ นถนนลกู หลวงเป็นทที่ �ำ การ ต่อมาคณะกรรมการอำ�นวยการคุรุสภา ได้ลงมติให้ปรับปรุงบริเวณคุรุสภา โดยให้รื้อกำ�แพงเดิมด้านทิศใต้ ตะวันตก และเหนือ จากเดิมที่เป็นกำ�แพงทึบออกทั้งหมดเปล่ียนเป็นกำ�แพงลูกกรงเหล็กโปร่ง โดยยังคงซุ้มประตูเอาไว้ และให้สร้าง “หอสมุดคุรุสภา” ข้ึนบริเวณทิศเหนือของอาคารหอประชุมคุรุสภา เริ่มดำ�เนินการก่อสร้าง เมอื่ วนั ท่ี ๓ ธนั วาคม ๒๕๐๕ จนแลว้ เสรจ็ พรอ้ มเปดิ เปน็ หอสมดุ ตง้ั แตว่ นั ที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๐๗ และยา้ ยทที่ �ำ การส�ำ นกั งาน เลขาธกิ ารครุ สุ ภาไปยงั บรเิ วณชน้ั ลา่ งของอาคารหอสมดุ ครุ สุ ภา นอกจากน้ีในชว่ งระหวา่ งการกอ่ สรา้ งอาคารหอสมดุ ครุ สุ ภา จดหมายเหตุครุ ุสภา / 43

พระราชบญั ญตั คิ รู พทุ ธศักราช ๒๔๘๘ ราวปี พ.ศ. ๒๕๐๖ กระทรวงศึกษาธิการได้สร้างตึกภายในบริเวณคุรุสภาอีกหนึ่งหลัง ต้ังอยู่ทางด้านตะวันออกของหอ สมดุ ครุ ุสภา ให้ชื่อวา่ “ศนู ยว์ ัสดกุ ารศกึ ษา” โดยมีพธิ เี ปดิ เมื่อวันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๐๖ ซึง่ ตอ่ มาอาคารหอสมดุ คุรสุ ภา และอาคารศูนย์วัสดุการศกึ ษา ได้กลายเปน็ อาคาร ๑ และอาคาร ๒ ของส�ำ นักงานเลขาธกิ ารครุ ุสภาตามล�ำ ดับ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๒ อาคารทท่ี �ำการสถานพยาบาลของคุรสุ ภาทรุด มีรอยแตกรา้ ว เนอื่ งจากตง้ั อย่รู ะหวา่ งทาง น้�ำไหลเข้าออกของคลองเม่งเส็ง จึงได้ย้ายที่ท�ำการไปยังชั้นล่างของหอพักสมาชิกคุรุสภาช่ัวคราว จนซ่อมแซมแล้วเสร็จ จึงย้ายกลบั ยังอาคารท่ที �ำการ ตอ่ มาในปี พ.ศ.๒๕๑๘ อาคารที่ท�ำการสถานพยาบาลของคุรุสภา มีรอยแตกรา้ วและเกิด การทรุดอกี คร้งั จนตอ้ งมกี ารโยกยา้ ยท่ีท�ำ การเปน็ คร้งั ที่ ๒ นายแพทยพ์ งษศ์ ักด์ิ วิทยากร หวั หนา้ กองสถานพยาบาล ในขณะนั้น เล็งเห็นว่า กิจการของสถานพยาบาลมีสมาชิกคุรุสภาและครอบครัวเข้าใช้บริการเป็นจำ�นวนมาก แต่ อาคารที่ทำ�การอยู่เดิมนั้น มีสภาพชำ�รุดทรุดโทรม และถึงแม้ว่าจะมีการซ่อมแซมปรับปรุงสถานท่ีแล้วก็ยังไม่ปลอดภัย ในปี พ.ศ. ๒๕๑๙ จงึ ไดเ้ สนอใหม้ กี ารจดั สรา้ ง “อาคารสถานพยาบาลของครุ สุ ภา (หลงั ใหม)่ ” ซง่ึ ไดร้ บั อนมุ ตั ิใหร้ อื้ อาคาร หลังเดิมท่ีชำ�รุดแล้วสร้างหลังใหม่ข้ึนบริเวณด้านริมคลองผดุงกรุงเกษม โดยการก่อสร้างอาคารหลังใหม่น้ี ได้รับ ความอนุเคราะห์จากกระทรวงศึกษาธิการ ให้กองออกแบบและก่อสร้างกรมอาชีวศึกษา เป็นผู้ออกแบบและควบคุม การก่อสร้าง รวมค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างท้ังหมด เป็นจำ�นวน ๖,๒๙๕,๕๐๐ บาท เริ่มดำ�เนินการก่อสร้าง เมอื่ วนั ที่ ๒๘ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๒๐ จนแลว้ เสร็จ และเปิดให้บรกิ ารท่อี าคารหลงั ใหม่ เมือ่ วนั ท่ี ๗ สงิ หาคม ๒๕๒๑ เป็นต้นมา ในปี พ.ศ. ๒๕๒๘ ด้วยหอพักสมาชิกคุรุสภาเปิดให้สมาชิกเข้าพักในราคา ๒๕ บาทต่อวัน ซ่ึงถือเป็นท่ีพัก ราคาย่อมเยา อีกทัง้ ยังต้ังอยู่ในบริเวณกระทรวงศกึ ษาธกิ าร สะดวกต่อการเดนิ ทางมาเพ่ือตดิ ต่อราชการ จึงทำ�ให้ได้รบั ความนิยมเป็นอย่างมาก ส่งผลให้หอพักไม่เพียงพอต่อความต้องการของสมาชิก ถึงแม้ว่าคุรุสภาจะดำ�เนินการหาท่ีพัก ของหน่วยราชการอ่ืนมารับรองสมาชิกที่ไม่สามารถจองหอพักคุรุสภาได้ทัน เช่น หอพักของสันนิบาตสหกรณ์ ที่พักของ ศูนย์เยาวชนดินแดง ที่พักของวัดสามพระยา เป็นต้น แต่ก็ยังไม่ได้รับความนิยม คณะกรรมการอำ�นวยการคุรุสภา จงึ ไดอ้ นมุ ัติใหด้ ำ�เนินการก่อสรา้ ง “หอพกั คุรสุ ภา” เพิ่มขึ้นอกี หลงั หนง่ึ เป็นอาคารขนาด ๔ ช้นั มจี �ำ นวนหอ้ งพัก ๖๑ ห้อง โดยเปิดให้บริการตั้งแต่เดือนตุลาคม ๒๕๓๐ และต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๓๘ คณะกรรมการอำ�นวยการคุรุสภาได้มีมติให้ จดั สรา้ งอาคารหอพกั ครุ สุ ภา โดยใหร้ อื้ อาคารหอพกั ๓ ชนั้ หลงั เดมิ ออก แลว้ สรา้ ง “อาคารหอพกั ครุ สุ ภา ๗ ชน้ั ” ขนึ้ แทน หลังเกา่ เปิดใหบ้ ริการสมาชิกตั้งแต่วนั ท่ี ๑ ตลุ าคม ๒๕๔๑ 44 / จดหมายเหตุครุ สุ ภา

คณะกรรมการบรหิ าร คุรุสภามีคณะกรรมการอำ�นวยการเป็นผู้บริหารงานตามอำ�นาจและหน้าท่ีของคุรุสภา โดยบทเฉพาะกาล มาตรา ๓๓ แหง่ พระราชบัญญตั คิ รู พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๘ บญั ญตั วิ ่า “ภายในหนงึ่ ปนี บั แตว่ นั ใชบ้ งั คบั พระราชบญั ญตั นิ ี้ ใหค้ ณะกรรมการอ�ำ นวยการของครุ สุ ภา ประกอบดว้ ย กรรมการ โดยต�ำ แหนง่ ตามความในมาตรา ๗ และกรรมการอนื่ ไมเ่ กนิ เกา้ คนซง่ึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ แตง่ ตงั้ จากผซู้ งึ่ เคยด�ำ รง ตำ�แหน่งเป็นครูมีเวลารวมกนั ไม่นอ้ ยกว่าสิบป”ี กรรมการอ�ำ นวยการของครุ สุ ภาชดุ แรก ตามบทเฉพาะกาลแหง่ พระราชบญั ญตั คิ รดู งั กลา่ วทบ่ี รหิ ารงานครุ สุ ภา ภายใน ๑ ปแี รก มี ๒ ประเภท คอื ประเภทที่ ๑ เป็นกรรมการโดยตำ�แหน่ง คือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เป็นรองประธาน อธิบดีกรมสามัญศึกษา อธิบดีกรมอาชีวศึกษา อธิบดีกรมพลศึกษา อธกิ ารบดีจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย รวม ๖ คน ประเภทท่ี ๒ เป็นกรรมการโดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งต้ังจากผู้ซ่ึงเคยดำ�รงตำ�แหน่งเป็นครูมีเวลา รวมกันไมน่ อ้ ยกวา่ ๑๐ ปี ไมเ่ กิน ๙ คน ฉะนน้ั กรรมการชุดนี้ ในปแี รกซง่ึ บรหิ ารงานครุ ุสภาตั้งแต่วนั ที่ ๑๖ มนี าคม ๒๔๘๘ ถงึ วันท่ี ๑๕ มีนาคม ๒๔๘๘ มีจำ�นวนรวม ๑๕ คน ประกอบดว้ ย ๑. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ (นายทวี บุณยเกต)ุ ๒. ปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (พระตีรณสารวิศวกรรม) ๓. อธกิ ารบดจี ฬุ าลงกรณมหาวิทยาลยั (ม.จ. รัชฎาภเิ ศก โสณกลุ ) ๔. อธบิ ดกี รมสามัญศึกษา (ม.ล. ป่นิ มาลากุล) ๕. อธบิ ดีกรมอาชีวะศึกษา (นายสกุ ิจ นิมมานเหมินทร)์ ๖. อธบิ ดกี รมพละศกึ ษา (พระยาจินดารกั ษ์) ๗. หลวงบญุ ปาลิตวิชาสาสก์ ๘. หลวงภารสาร ๙. หลวงพิลาสวรรณสาร ๑๐. นางประยงค์ ถ่องดกิ จิ ฉการ ๑๑. นายประพัฒน์ วรรธนะสาร ๑๒. ม.ร.ว. สลับ ลดาวัลย์ ๑๓. นางสาวกรองแกว้ หศั ดิน ๑๔. นายชยนั ต์ ผลาชีวะ ๑๕. นายเจรญิ วชิ ยั ทัง้ น้ี ตงั้ แตห่ มายเลขท่ี ๗-๑๕ มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งต้ังต้งั แต่วนั ท่ี ๙ กุมภาพันธ์ ๒๔๘๘ จดหมายเหตุครุ ุสภา / 45

พระราชบญั ญตั ิครู พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๘ เมื่ออายุของกรรมการอำ�นวยการของคุรุสภาตามบทเฉพาะกาลสิ้นสุดลงแล้ว จึงดำ�เนินการแต่งต้ังกรรมการ อ�ำ นวยการ ตามทบ่ี ญั ญตั ิไว้ในมาตรา ๗ แหง่ พระราชบัญญตั ิครู พุทธศักราช ๒๔๘๘ ดงั น้ี “ให้มีคณะกรรมการอำ�นวยการของคุรุสภา ประกอบด้วย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เปน็ รองประธาน อธบิ ดีกรมสามัญศึกษา อธิบดีกรมอาชวี ศึกษา อธบิ ดกี รมพลศึกษา อธิการบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นกรรมการโดยตำ�แหน่ง และกรรมการอื่นไม่เกินเก้าคนซ่ึงท่ีประชุมสามัญแห่งคุรุสภาได้ เลอื กตง้ั จากผูซ้ ึ่งเคยดำ�รงตำ�แหน่งเป็นครูมเี วลารวมกนั ไมน่ ้อยกวา่ สิบห้าปี กรรมการซ่ึงท่ีประชุมสามัญแห่งคุรุสภาเลือกต้ังให้อยู่ในตำ�แหน่งคราวละส่ีปี และอาจรับแต่งต้ังใหม่อีกได้ ถ้าตำ�แหน่งว่างลงก่อนถึงคราวออกตามวาระ จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งต้ังกรรมการใหม่ขึ้นแทนตำ�แหน่ง ทว่ี า่ งอยูก่ ็ได้ แตก่ รรมการใหมน่ ี้ให้ด�ำ รงตำ�แหน่งไดเ้ พยี งเท่ากำ�หนดเวลาของผ้ซู ึง่ ตนแทน” ตอ่ มาไดม้ กี ารประกาศราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๖๒ ตอนท่ี ๙ วนั ท่ี ๖ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๔๘๘ บอกแกพ้ ระราชบญั ญตั คิ รู พุทธศักราช ๒๔๘๘ ในสว่ นที่เก่ียวกบั คณะกรรมการอำ�นวยการของคุรุสภา ดงั นี้ ๑. กรรมการอื่นไม่เกินเก้าคน ซ่ึงที่ประชุมสามัญแห่งคุรุสภาได้เลือกตั้งจากผู้ซึ่งเคยดำ�รงตำ�แหน่งเป็นครู จาก “มีเวลารวมกนั ไม่นอ้ ยกว่าสบิ ห้าปี” เป็น “มเี วลารวมกนั ไม่น้อยกวา่ สบิ ป”ี ๒. แกค้ วามในวรรค ๒ มาตรา ๗ เป็น “กรรมการซ่ึงท่ีประชุมสามัญแห่งคุรุสภาเลือกตั้ง ให้อยู่ในตำ�แหน่งคราวละส่ีปี และอาจได้รับเลือกตั้ง ใหม่อกี ได้ ถา้ ตำ�แหน่งว่างลงกอ่ นถึงคราวออกตามวาระ จะเลอื กตัง้ กรรมการขนึ้ แทนต�ำ แหน่งทีว่ ่างอยู่ก็ได้ แตก่ รรมการ ซ่ึงเขา้ มาแทนน้นั ให้อยู่ในต�ำ แหน่งได้เพียงเทา่ กำ�หนดเวลาของผ้ซู งึ่ ตนแทน” จากบทบัญญัติดังกล่าว ทำ�ให้มีคณะกรรมการอำ�นวยการบริหารงานคุรุสภา ประกอบด้วย กรรมการ โดยตำ�แหน่ง ๖ คน ไดแ้ ก่ รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ เปน็ ประธาน ปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร เป็นรองประธาน อธิบดีกรมสามัญศึกษา อธิบดีกรมสามัญศึกษา อธิบดีกรมอาชีวศึกษา อธิบดีกรมพลศึกษา และอธิการบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นกรรมการ กับมีกรรมการอื่นไม่เกิน ๙ คน ซึ่งท่ีประชุมสามัญแห่งคุรุสภาได้เลือกต้ัง จากผู้ซ่ึงเคยดำ�รงตำ�แหน่งเป็นครูมีเวลารวมกันไม่น้อยกว่า ๑๐ ปี กรรมการซึ่งท่ีประชุมสามัญแห่งคุรุสภาเลือกต้ัง ให้อยู่ในตำ�แหนง่ คราวละ ๔ ปี ซึ่งมรี ายนามคณะกรรมการอ�ำ นวยการครุ สุ ภา ประกอบดว้ ย ๑. รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ ๒. ปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร ๓. อธิการบดจี ุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ๔. อธบิ ดกี รมสามัญศึกษา ๕. อธบิ ดีกรมอาชีวศึกษา ๖. อธบิ ดีกรมพลศึกษา ๗. หลวงพิลาศวรรณสาร 46 / จดหมายเหตุครุ ุสภา

๘. หลวงประโมทย์ จรรยาวภิ าช ๙. นายประพฒั น์ วรรธนะสาร ๑๐. นายวิโรจน์ กมลพันธ์ ๑๑. นายเปล้ือง ณ นคร ๑๒. นายบุรนิ ทร์ สิมพะลกิ ๑๓. หลวงกวี จรรยาวิโรจน์ ๑๔. นายวญิ ญาต ปุตระเศรณี ๑๕. นายกุล มฤคทัด ตอ่ จากนนั้ องคป์ ระกอบและจ�ำ นวนคณะกรรมการอ�ำ นวยการครุ สุ ภาตามพระราชบญั ญตั คิ รู พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๘ มกี ารแก้ไขเพิ่มเติม จ�ำ นวน ๔ ครงั้ ครงั้ ที่ ๑ ปี พ.ศ. ๒๔๙๕, ครัง้ ท่ี ๒ ปี พ.ศ. ๒๕๑๙, ครง้ั ท่ี ๓ ปี พ.ศ. ๒๕๒๑ และครงั้ สดุ ทา้ ย ครงั้ ท่ี ๔ ปี พ.ศ. ๒๕๒๓ ซงึ่ มอี งคป์ ระกอบของคณะกรรมการอ�ำ นวยการครุ สุ ภา ดงั น้ี รฐั มนตรวี า่ การกระทรวง ศึกษาธิการเป็นประธาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการเป็นรองประธาน อธิบดีทุกกรมและหัวหน้าส่วนราชการที่มีฐานะเป็น กรมในกระทรวงศึกษาธิการ เป็นกรรมการโดยตำ�แหน่ง และครูตามมาตรา ๒๔ ซึ่งได้รับเลือกต้ังจากสมาชิกคุรุสภา ตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารทค่ี รุ สุ ภาก�ำ หนดจ�ำ นวนสบิ คนเปน็ กรรมการ และใหเ้ ลขาธกิ ารครุ สุ ภา เปน็ กรรมการและเลขานกุ าร คณะกรรมการอำ�นวยการครุ สุ ภาตามพระราชบัญญตั ิครู พุทธศักราช ๒๔๘๘ มีจ�ำ นวน ๑๗ ชดุ โดยชดุ ที่ ๑๗ ประกอบดว้ ย ๑. รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (นายเกษม วฒั นชยั ) (นายสุวิทย์ คณุ กติ ติ) ๒. ปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (นายพนม พงษ์ไพบูลย์) (นายจรญู ชูลาภ) ๓. เลขาธิการสภาสถาบนั ราชภัฏ (นายถนอม อินทรก�ำ เนดิ ) ๔. อธิบดกี รมการศาสนา (นายไพบลู ย์ เสียงก้อง) (นายสมานจิต ภิรมย์รื่น) ๕. อธบิ ดกี รมการศึกษานอกโรงเรียน (นายทองอยู่ แกว้ ไทรฮะ) ๖. อธบิ ดกี รมพลศึกษา (นายวรี ะศกั ดิ์ วงษส์ มบัต)ิ (นายสุทธิ ผลสวสั ด)ิ์ ๗. อธิบดีกรมวชิ าการ (นายประพฒั นพ์ งศ์ เสนาฤทธ)ิ์ ๘. อธิบดีกรมศิลปากร (นาวาเอก อาวธุ เงินชกู ลน่ิ ) ๙. อธิบดีกรมสามัญศกึ ษา (นางกษมา วรวรรณ ณ อยธุ ยา) ๑๐. อธิบดีกรมอาชีวศึกษา (นายจรูญ ชูลาภ) (นายพยุงศักด์ิ จันทรสรุ นิ ทร์) ๑๑. เลขาธิการคณะกรรมการการประถมศกึ ษาแห่งชาติ (นายชลอ กองสทุ ธิ์ใจ) ๑๒. เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาเอกชน (นางจรวยพร ธรณินทร)์ (นางพรนิภา ลมิ ปพยอม) ๑๓. เลขาธิการคณะกรรมการขา้ ราชการครู (นายสมยศ มเี ทศน)์ ๑๔. เลขาธกิ ารคณะกรรมการวัฒนธรรมแหง่ ชาติ (นายอาทร จนั ทวมิ ล) ๑๕. อธิการบดีวทิ ยาลยั เทคโนโลยแี ละอาชวี ศกึ ษา (ผ้ชู ่วยศาสตราจารยน์ ำ�ยุทธ สงคธ์ นาพทิ กั ษ)์ จดหมายเหตุครุ สุ ภา / 47

พระราชบญั ญัติครู พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๘ ๑๖. นายนยิ ม สวัสดี (นายศรีไทย ดำ�รงรัตน์ (แทนพฤศจกิ ายน ๒๕๔๔)) ๑๗. นายสวุ รรณ เค้าฝาย ๑๘. นายบรรจง สุรมณี ๑๙. นายเกษม กลนั่ ยงิ่ ๒๐. นายถวิล นอ้ ยเขียว ๒๑. นายบญุ ชว่ ย ทองศรี ๒๒. นายรงั สันต์ ศรีพทุ ธิรตั น์ ๒๓. นายณรงค์ โภชนจนั ทร์ ๒๔. นายยืนยง จริ ัฏฐติ ิกาล ๒๕. นายผดงุ โพธแิ ดง ๒๖. เลขาธกิ ารคุรสุ ภา (นายยทุ ธชัย อตุ มา) (นายจกั รพรรดิ วะทา) สำ�นักงานเลขาธกิ ารคุรสุ ภา คณะกรรมการอำ�นวยการคุรุสภาได้จัดต้ังสำ�นักงานเลขาธิการคุรุสภาขึ้น เม่ือวันที่ ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๘๘ หลังจากท่ีพระราชบัญญัติครู พุทธศักราช ๒๔๘๘ มีผลบังคับใช้ และมีคณะกรรมการอำ�นวยการคุรุสภาทำ�หน้าท่ี บริหารงานของคุรุสภาโดยสมบูรณ์ครบถ้วนตามกฎหมายแล้ว ยังขาดเจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งตามมาตรา ๘ แหง่ พระราชบญั ญตั คิ รู พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๘ บญั ญตั วิ า่ “ใหค้ ณะกรรมการอ�ำ นวยการครุ สุ ภาแตง่ ตง้ั เลขาธกิ ารครุ สุ ภาและ เจา้ หนา้ ทอ่ี นื่ ตามสมควร” และ มาตรา ๙ ระบวุ า่ “...ใหเ้ ลขาธิการเปน็ ผดู้ ำ�เนนิ การตามมตขิ องคณะกรรมการอำ�นวยการ ในความควบคมุ ของประธานหรอื ผทู้ ป่ี ระธานมอบหมาย” คณะกรรมการอ�ำ นวยการครุ สุ ภาชดุ แรก จงึ ไดป้ ระชมุ ปรกึ ษาหารอื กนั และมีมติให้แต่งต้ังข้าราชการประจำ�การของกระทรวงศึกษาธิการ โดยได้รับความอนุเคราะห์จากกระทรวงศึกษาธิการ ใหย้ มื ขา้ ราชการประจ�ำ การมาเปน็ ผรู้ กั ษาการในต�ำ แหนง่ เลขาธกิ ารและหวั หนา้ แผนกตา่ ง ๆ เพอ่ื เปน็ เจา้ หนา้ ทผ่ี ปู้ ฏบิ ตั งิ าน จ�ำ นวน ๙ ทา่ น ประกอบด้วย ๑. พระยาจนิ ดารักษ์ (อธิบดีกรมพลศกึ ษา) รกั ษาการในตำ�แหนง่ เลขาธิการคุรสุ ภา ๒. นายบุญชว่ ย สมพงษ์ (หัวหนา้ กองศกึ ษาผู้ใหญ่) รักษาการในตำ�แหนง่ ผูช้ ว่ ยเลขาธกิ ารครุ สุ ภา ๓. นายวิญญาต ปุตระเศรณี (หวั หน้ากองกลาง สป.) รักษาการในต�ำ แหนง่ หวั หนา้ แผนกสารบรรณ ๔. นายบรุ นิ ทร์ สมิ พะสกิ (หวั หนา้ กองโรงเรยี นประชาบาล) รกั ษาการในต�ำ แหนง่ หวั หนา้ แผนกทะเบยี น ๕. หลวงครุ นุ ติ พิ ศิ าล (ขา้ หลวงตรวจการศกึ ษา) รกั ษาการในต�ำ แหนง่ หวั หนา้ แผนกรกั ษาผลประโยชน์ ของครู ๖. หลวงบริหารสิกขกิจ (ข้าหลวงตรวจการศึกษา) รักษาการในตำ�แหน่งหัวหน้าแผนกช่วยอุปการะ ครแู ละครอบครวั 48 / จดหมายเหตุคุรุสภา

๗. นายบญุ ชว่ ย สมพงษ์ รักษาการในต�ำ แหนง่ หัวหนา้ แผนกส่งเสริมความรู้ ๘. นายอภยั จนั ทวมิ ล (หวั หนา้ กองโรงเรยี นราษฎร)์ รกั ษาการในต�ำ แหนง่ หวั หนา้ แผนกขา้ ราชการครู ๙. ขุนทรงวรวทิ ย์ รกั ษาการในต�ำ แหนง่ หวั หน้าแผนกคลัง นอกจากนี้ กระทรวงศึกษาธิการยังได้ให้ยืมเสมียนพนักงานมาช่วยกิจการในแผนกต่าง ๆ ทั้งน้ี ตั้งแต่วันท่ี ๒ มีนาคม ๒๔๘๘ เป็นต้นไป โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประธานกรรมการอำ�นวยการคุรุสภา เป็นผู้ลงนามในคำ�สั่งแต่งต้ัง และในขณะเดียวกัน ประธานกรรมการอำ�นวยการคุรุสภาก็ ได้มีคำ�ส่ังแต่งตั้ง ให้ศึกษาธิการจังหวัดและศึกษาธิการอำ�เภอ เป็นเจ้าหน้าท่ีคุรุสภาประจำ�จังหวัดและเจ้าหน้าที่คุรุสภาอำ�เภอตามลำ�ดับ โดยมีสำ�นักงานอยู่ที่แผนกศึกษาธิการจังหวัดและแผนกศึกษาธิการอำ�เภอ ดังนั้น เม่ือมีคำ�สั่งแต่งต้ังเจ้าหน้าท่ี เพ่อื เรม่ิ ปฏบิ ัติงานเม่ือวันท่ี ๒ มีนาคม ๒๔๘๘ ส�ำ นักงานเลขาธกิ ารครุ ุสภาจึงไดบ้ ังเกดิ ขึ้น ข้าราชการดังกล่าวข้างต้นนี้ได้ช่วยเหลือกิจการคุรุสภาด้วยความหวังดีในอาชีพครู ต้ังใจปฏิบัติงานเพื่อเกียรติ และศกั ดศิ์ รขี องครู เปน็ ก�ำ ลงั ของคณะกรรมการอ�ำ นวยการครุ สุ ภาเปน็ อยา่ งมาก ไดเ้ ปน็ ผวู้ างหนา้ ทก่ี ารงานในแผนกตา่ ง ๆ แต่ละแผนก และวางระเบียบข้อบังคับของคุรุสภาตามความจำ�เป็น เจ้าหน้าที่ชุดนี้ปฏิบัติงานโดยมิได้รับเงินเดือน หรือบำ�เหน็จตอบแทนจากคุรุสภาแต่อย่างไรเลย เป็นการทำ�งานด้วยความเสียสละกำ�ลังกายและกำ�ลังใจเพื่ออนาคต ของครูโดยแท้ ตอ่ มาเจา้ หนา้ ทพี่ รอ้ มดว้ ยเสมยี นพนกั งานชดุ แรกนค้ี อ่ ยพน้ จากเจา้ หนา้ ทที่ างครุ สุ ภาไปคราวละคนสองคน เพราะ คุรสุ ภาได้แต่งตงั้ เจ้าหนา้ ทป่ี ระจำ�ซง่ึ รบั เงนิ เดอื นของครุ ุสภาโดยตรงข้นึ เรมิ่ ตั้งแตเ่ ดอื นตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๘๘ คือ แต่งต้ัง หวั หนา้ แผนกคลงั หวั หนา้ แผนสารบรรณ และหวั หนา้ แผนทะเบยี น และตอ่ มาในศกเดยี วกนั ก็ไดแ้ ตง่ ตงั้ หวั หนา้ แผนกอนื่ ๆ อกี และภายหลัง เม่ือได้แต่งตั้งหลวงบริหารสิกขกิจเป็นเลขาธิการคุรุสภา รับเงินเดือนประจำ�ของคุรุสภาเป็นคนแรก บรหิ ารกิจการของสำ�นักงานเลขาธกิ ารครุ ุสภา ตงั้ แต่วนั ที่ ๑๕ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๔๘๙ แล้ว เจา้ หนา้ ที่ครุ สุ ภาชุดเดิม กพ็ น้ หนา้ ทท่ี างครุ สุ ภาไป ตอ่ จากนน้ั ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภากย็ า้ ยไปตง้ั ณ อาคารรมิ สนามโรงเรยี นสวนกหุ ลาบวทิ ยาลยั ด้านใต้ ซึ่งเดิมเป็นสามัคยาจารย์สโมสร และได้ปรับปรุงการดำ�เนินงานในสำ�นักงานเลขาธิการคุรุสภาใหม่ ต่อจากนั้น ได้มกี ารปรบั ปรงุ เปลย่ี นแปลงการแบ่งสว่ นงานอีกหลายคร้งั โดยพระราชบญั ญัตคิ รู พทุ ธศักราช ๒๔๘๘ แก้ไขเพมิ่ เตมิ (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๑๙ ซึ่งตราขน้ึ เมอ่ื วันท่ี ๑๙ ธนั วาคม ๒๕๑๙ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๙๓ ตอนท่ี ๑๕๖ วันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๑๙ และมผี ลบังคับใชต้ ั้งแตว่ นั ท่ี ๒๕ ธันวาคม ๒๕๑๙ บญั ญตั ิใหม้ สี �ำ นกั งานเลขาธกิ ารครุ ุสภา เป็นครัง้ แรก ซ่ึงพระราชบญั ญัตคิ รนู ้ี ให้ยกเลกิ ความในมาตรา ๘ และเพิม่ มาตรา ๘ ทวิ ดังน้ี “มาตรา ๘ ใหค้ ณะกรรมการอ�ำ นวยการแตง่ ตงั้ เลขาธิการและรองเลขาธิการและเจา้ หน้าทีอ่ ่ืนตามสมควร มาตรา ๘ ทวิ ใหม้ สี �ำ นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา โดยมเี ลขาธกิ ารครุ สุ ภาเปน็ ผบู้ งั คบั บญั ชาเจา้ หนา้ ทข่ี องส�ำ นกั งาน เลขาธิการ และบริหารกจิ การของสำ�นักงานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา ข้นึ ตรงต่อประธานกรรมการอ�ำ นวยการครุ ุสภา สำ�นกั งานเลขาธกิ ารคุรสุ ภามหี นา้ ที่ดังตอ่ ไปน้ี (๑) เปน็ เจา้ หนา้ ทเี่ กย่ี วกบั การด�ำ เนนิ งานของครุ สุ ภา วจิ ยั และจดั ระบบเกยี่ วกบั การบรหิ ารงานบคุ คล เพอ่ื เสนอ ครุ ุสภา จดหมายเหตุคุรุสภา / 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook