Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Solar system

Solar system

Published by niiingnong, 2019-06-09 03:47:31

Description: ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ

Keywords: Solar system,ดาวเคราะห์,ระบบสุริยะ

Search

Read the Text Version

สแกนเพ่อื อา่ น E-Book

ระบบสรุ ิยะ (Solar System) NASA/JPL กาํ เนดิ ระบบสรุ ิยะ ระบบสุรยิ ะประกอบดว ยดวงอาทติ ย ดาวเคราะห 9 ดวงและดวงจนั ทรบรวิ ารของดาวเคราะหรวมกวา 90 ดวง ดาวหาง และอุกกาบาต วัตถทุ ้ังหมดในระบบสุริยะลวนโคจรรอบดวงอาทิตยไ ปในทศิ ทางเดียวกันและมรี ะนาบทางโคจรเกือบตงั้ ฉากกับ แกนหมนุ ของดวงอาทิตย ท้ังนอ้ี าจเปน เพราะวามวลสารเหลานีเ้ กดิ มาพรอมกับดวงอาทิตย ดวงอาทติ ยม มี วลมากที่สดุ จึงเปนจุด ศนู ยกลางของระบบสุริยะ โดยมีแรงโนม ถว งยึดใหดาวเคราะหท ง้ั หลายโคจรอยโู ดยรอบ ดวงอาทติ ยกอ กําเนิดข้นึ จากกลุมกา ซและฝุน ทเ่ี รียกวา โซลารเนบวิ ลา (Solar Nebula) เมอื่ ประมาณ 4,600 ลานปท ี่ผา น มา ตามลาํ ดบั ข้ันตอนดังนี้ 1) ดว ยอทิ ธิพลของแรงโนมถวงของกลุม กาซและฝุนในโซลารเนบวิ ลาซึ่งหมนุ รอบตัวเองทําใหย ุบตัวลงอยางชาๆ 2) กา ซและฝนุ สวนใหญยบุ ตัวลงทําใหใจกลางของโซลารเนบวิ ลามีความกดดนั สูงขน้ึ และหมนุ รอบตวั เองเรว็ ขึน้ เร่ือยๆ เปน ผลใหเ ศษฝุนและกา ซท่เี หลอื โคจรรอบแกนหมนุ มีรูปรา งเหมือนเปน จานแบน ฝุนและกาซบางสวน ถูกเรง ออกมาจากแกนหมุน 3) เมอื่ มีอายไุ ดป ระมาณ 100,000 ป อณุ หภมู ทิ ใี่ จกลางสูงถงึ 15 ลา นเคลวิน จงึ เริ่มเกดิ ปฏิกิริยาเทอรโมนิวเคลียร ขน้ึ ที่แกนกลาง เกิดเปนดวงอาทติ ยที่มีอายุนอยสอ งสวางแตย ังถูกหอ มลอ มไปดวยกาซและฝุน ทเี่ หลือเปน จํานวนมาก 4) เมอ่ื เวลาผา นไปหลายสิบลา นป กา ซและฝนุ ทเี่ หลอื ชนกนั ไปมา ทําใหบ างสวนเกาะติดกันจนมีขนาดใหญขน้ึ โดยเฉพาะบรเิ วณที่อยูใกลดวงอาทิตยซ งึ่ มีอุณหภมู ิและแรงโนมถว งท่ีสงู กวา บริเวณท่หี า งออกไป 5) กาซและฝนุ บริเวณขอบนอกอยูในบริเวณทม่ี ีอุณหภูมติ ่ํากวา และไดรับอิทธิพลจากแรงโนม ถวงนอ ยกวาบริเวณที่ ใกลดวงอาทติ ย จึงยุบรวมตวั กันอยา งชา ๆ กอ ตวั เปนดาวเคราะหข นาดใหญท ่ีเต็มไปดวยกา ซเปน จํานวนมาก 6) ใชเ วลานบั รอ ยลานป ดาวเคราะหตา งๆ จงึ จะมีรูปรา งท่ีเกอื บสมบรู ณ เศษหินและฝุน ท่ีเหลือกลายเปนดาว เคราะหน อย ดวงจนั ทรบรวิ ารและวงแหวนของดาวเคราะห รวมทงั้ วตั ถุขนาดเล็กและดาวหาง lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 -1-

ภาพแสดงลําดับขัน้ ตอนการเกิดระบบสรุ ยิ ะจากจากกลุม กาซยุบตัวลงดว ยอิทธพิ ลของแรงโนมถว ง มาเปนดวงอาทิตยแ ละดาว เคราะหตางๆ (ภาพจากหนงั สือ Discovering the Universe 6th edition) lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 -2-

ตารางท่ี 1 ขอ มูลทางกายภาพของดาวเคราะห ดาวเคราะห พุธ ศกุ ร โลก องั คาร พฤหสั บดี เสาร ยเู รนัส เนปจูน พลโู ต ขอมูล 57.9 108.2 149.6 227.9 778.3 1,431.9 2,877.4 4,497.8 5,914.7 ทางกายภาพ 0.39 0.72 1.00 1.52 5.20 9.57 19.19 30.07 39.54 0.24 0.62 1.00 1.88 11.86 29.37 84.10 164.86 248.60 ระยะทางเฉลี่ยจาก ดวงอาทติ ย 7.00 3.39 0.00 1.85 1.30 2.48 0.77 1.77 17.12 (ลา น กิโลเมตร) 4,880 12,104 12,756 6,794 142,984 120,536 51,118 49,528 2,300 ระยะทางเฉลีย่ จาก ดวงอาทิตย (หนวย 0.38 0.95 1.00 0.53 11.21 9.45 4.01 3.88 0.18 ดาราศาสตร:AU*) 3.30x1023 4.87x1024 5.97x1024 6.42x1023 1.90x1027 5.69x1026 8.68x1025 1.02x1026 1.31x1022 คาบการโคจรรอบ ดวงอาทติ ย (ป) 5,430 5,243 5,515 3,934 1,326 687 1,318 1,638 2,000 ระนาบทางโคจร 0 0 1 2 39 30 21 8 1 เอยี งทํามุมกบั ระนาบทางโคจรของ โลกรอบดวงอาทิตย (องศา) ขนาดเสนผาน ศนู ยกลาง (กโิ ลเมตร) ขนาดเสนผา น ศนู ยกลาง (เทา ของ เสน ผา นศูนยกลาง โลก) มวล (กิโลกรมั ) ความหนาแนนเฉลย่ี (กิโลกรมั ตอ ลูกบาศกเ มตร) จํานวนดวงจันทร บริวาร หมายเหตุ 1) * หนว ยดาราศาสตร (Astronomical Unit : AU) คอื ระยะทางเฉลี่ยระหวา งโลกกบั ดวงอาทิตย = 149.6 ลา นกโิ ลเมตร 2) ทีม่ าขอมูลจํานวนดวงจนั ทรบริวารของดาวเคราะห จาก Jet Propulsion Laboratory, NASA, 2002 lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 -3-

ดาวเคราะหใ นระบบสุริยะ © Calvin J. Hamilton คาํ วา ดาวเคราะห หรือ PLANET มาจากภาษากรีก ซง่ึ แปลวา นักเดินทางที่ไรจุดหมาย (wanderer) ตง้ั ขนึ้ เมือ่ ชาวกรีก สงั เกตพบวา ดาวเคราะหน้นั เคล่ือนทไี่ ปบนทอ งฟาโดยมีตําแหนงทไ่ี มค งท่ี เมอื่ เทียบกับดาวฤกษดวงอน่ื ๆ ดาวเคราะหทุกดวง เคลื่อนทรี่ อบดวงอาทิตยต ามเสนทางท่คี งท่ี เรียกวา เสนทางโคจรหรือ วงโคจร เม่ือไมนานมานมี้ กี ารคนพบวา ดาวฤกษท่ีอยหู าง จากเราออกไปนนั้ ก็มีดาวเคราะหเปนบรวิ ารอยูหลายดวงเชน เดียวกันกับดวงอาทติ ยของเรา ดาวเคราะหสวนใหญน้นั จะมดี วงจันทรบรวิ ารอยหู ลายดวง ดาวเคราะหขนาดใหญเปนดาวเคราะหกาซ มวี งแหวน ลอ มรอบไดแ ก ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร ดาวยูเรนสั และดาวเนปจูน วงแหวนดาวเสารนับวา มขี นาดใหญและสวยงามที่สุดในบรรดา ดาวเคราะหเหลานี้ เราสามารถสังเกตวงแหวนดาวเสารดวยกลอ งดูดาวขนาดเลก็ ได วงแหวนของดาวเคราะหนั้นประกอบไปดวย เศษหนิ และน้าํ แขง็ อยูเปน จาํ นวนมาก มีขนาดแตกตา งกนั ไป อาจมขี นาดเล็กเทากับผงฝนุ จนถงึ ขนาดเทากอนหนิ กอนโตเทาบา น เราสามารถจําแนกดาวเคราะหท ง้ั 9 ดวงออกเปน ดาวเคราะหช นั้ ใน ซง่ึ ไดแ ก ดาวพธุ ดาวศุกร โลก และดาวอังคาร ซ่งึ มี ขนาดคอ นขางเลก็ มีพ้นื ผวิ เปนของแข็ง และโคจรอยใู กลก บั ดวงอาทิตย เม่อื เทยี บกลับดาวเคราะหชน้ั นอก อนั ไดแก ดาว พฤหสั บดี ดาวเสาร ดาวยูเรนสั ดาวเนปจูน ดาวพลโู ต ที่มีขนาดใหญแ ละมีองคประกอบสว นใหญเปน กา ซ (ยกเวนดาวพลโู ต) และ โคจรอยูหา งจากดวงอาทิตยมาก ดาวเคราะหตา งๆ และดวงจนั ทรบรวิ ารของดาวเคราะหเ หลานีม้ ีพืน้ ผิวเปนของแขง็ จะเตม็ ไปดว ยหลมุ บออนั เนอ่ื งมาจาก การพุง ชนของดาวหางและอกุ กาบาต ดงั นั้นการศึกษาหลุมบอ เหลานี้ทําใหเราสามารถทราบถงึ อดตี ของดาวเคราะหแ ตละดวงได การสง ยานสํารวจอวกาศไปยังดาวเคราะหต างๆ ก็ยังชว ยใหเราคน พบวงแหวนของดาวเคราะหและดวงจนั ทรบริวารเพิ่มขึ้น และยัง สามารถถายภาพและทาํ แผนที่พื้นผิวของดาวเคราะห ตลอดทั้งดวงจันทรบรวิ ารไดอยา งละเอียด lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 -4-

วงโคจรของดาวเคราะห วงโคจรของดาวเคราะหมลี กั ษณะเปน รูปวงรีและอยูใ นระนาบทีเ่ กอื บต้ังฉากกับแกนหมุนของดวงอาทิตย (ยกเวนดาว พลูโตท่มี ีวงโคจรเอยี งทาํ มุมถึง 17 องศา) มีกอนวัตถุนับลานๆ ชิน้ โคจรอยรู ะหวา งวงโคจรของดาวองั คารและดาวพฤหสั บดี เรยี กวา แถบดาวเคราะหน อย (Asteroid Belt) แรงโนม ถวงของดาวพฤหัสบดีทําใหว ตั ถเุ หลา นไ้ี มส ามารถรวมตัวกนั และกลายเปน ดาวเคราะหได เราสามารถจินตนาการไดว า ระบบสุรยิ ะของเรากวางใหญเ พียงใด โดยเรมิ่ เปรยี บเทียบจากระยะทางระหวางโลกกับดวง อาทิตย ซง่ึ แสงอาทติ ยท เี่ ดินทางดว ยความเร็วถงึ 300,000 กโิ ลเมตรตอวนิ าที ตอ งใชเ วลาเดินทางประมาณ 8 นาทจี งึ จะมาถึงโลก แสงอาทิตยตองใชเวลาถงึ 43 นาทีในการเดนิ ทางถงึ ดาวพฤหัสบดี และใชเ วลาเกอื บ 7 ชว่ั โมงเพ่ือที่จะไปถึงดาวพลูโตที่อยูไ กล ท่สี ดุ จากดวงอาทิตย lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 -5-

ดวงอาทติ ย ดวงอาทติ ย เปนดาวฤกษทีอ่ ยูใกลโลกของเรามากท่สี ุด อยูหางประมาณ 150 ลานกโิ ลเมตร ดาวฤกษทอ่ี ยใู กลโ ลกเปน อนั ดับสองคือ ดาวพรอกซมิ าเซนทอรี ซ่งึ อยูไกลกวา ดวงอาทติ ยถ งึ 268,000 เทา พลังงานความรอนและแสงสวางจากดวง อาทิตยเกอ้ื กูลชีวติ บนโลก พชื สเี ขยี วที่เปน แหลง อาหารพน้ื ฐานของโลกใชแสงอาทิตยใ นกระบวนการสังเคราะหแสง (Photosynthesis) ความสัมพันธระหวา งโลกกับดวงอาทติ ยยังทาํ ใหเกิดฤดูกาล กระแสนา้ํ ในมหาสมุทร ตลอดจนการเปลี่ยนแปลง ของสภาพภูมอิ ากาศ โครงสรา งของดวงอาทิตย ดวงอาทติ ยม มี วลมหาศาลเม่ือเทียบกับโลก (มากกวา โลกถึง 333,400 เทา) อิทธพิ ลของแรงโนม ถวงทําใหแกนกลาง (Core) ของดวงอาทิตยม ีความดนั และอณุ หภูมิสงู มาก (มีความดันสงู เปน พันลานเทาของความดันบรรยากาศโลก และมีความ หนาแนน ประมาณ 160 เทา ของความหนาแนน ของนํ้า) อุณหภูมิทแ่ี กนกลางของดวงอาทติ ยส งู ถึง 16 ลานเคลวิน สูงพอสาํ หรบั การเกิดปฏกิ ิริยานิวเคลียรฟ วชัน (Nuclear Fusion) ซงึ่ หลอมไฮโดรเจนใหก ลายเปนฮีเลียม และปลดปลอยพลังงานออกมาอยา ง มหาศาล พลังงานทด่ี วงอาทิตยปลดปลอ ยออกมาในแตละวนิ าทีสูงถึง 383,000 ลา นลานลา น กิโลวตั ต หรอื เทา กบั การระเบิดของ ลูกระเบดิ ทเี อ็นทปี รมิ าณ 100,000 ลานตนั ภาพตดั ขวาง แสดงโครงสรางภายในและช้นั บรรยากาศของดวงอาทิตย lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 -6-

โครงสรางภายในของดวงอาทติ ยถดั จากแกนกลางออกมา คอื โซนการแผรังสี (Radiative Zone) และโซนการพารังสี (Convective Zone) ตามลาํ ดบั ซง่ึ อุณหภมู จิ ะคอ ยๆ ลดลงจาก 8 ลานเคลวิน เปน 7,000 เคลวิน โฟตอนท่เี กดิ ในแกนกลางของ ดวงอาทติ ยจะใชเ วลายาวนานถึง 200,000 ป ในการเดินทางผานโซนทง้ั สองออกมาสูพืน้ ผวิ ของดวงอาทิตยท่ีเรียกวา ช้นั โฟโตส เฟย ร (Photosphere) มีความหนาประมาณ 500 กิโลเมตร กาซรอ นในชัน้ โฟโตสเฟย รของดวงอาทติ ยมีอณุ หภมู ิประมาณ 5,500 องศาเซลเซยี ส เปน ตนกําเนดิ ของแสงอาทิตยท เ่ี ราเห็นจากโลก ในชั้นนยี้ งั มปี รากฏการณอ นื่ ๆ เชน การพงุ ของพวยกา ซ (Prominences) การลกุ จา (Flare) และการเกดิ จุดบนดวงอาทิตย (Sunspots) ซงึ่ สัมพันธกับการเปล่ยี นแปลงของสนามแมเ หล็ก บนดวงอาทิตย ถดั จากช้ันโฟโตสเฟยรขึน้ ไปถึง 10,000 กิโลเมตรเรียกวา ช้ันโครโมสเฟยร (Chromosphere) มีอุณหภมู ปิ ระมาณ 10,000 องศาเซลเซยี ส บรรยากาศชัน้ นอกสุดของดวงอาทิตยแผออกไปไกลหลายลา นกิโลเมตร เรียกวา คอโรนา (Corona) มี อณุ หภมู ิสูงถึง 2 ลานองศาเซลเซียส ภาพถาย บรรยากาศชัน้ โครโมสเฟยร (สแี ดง) ภาพถายบรรยากาศช้ันคอโรนาของดวงอาทติ ยที่แผออกไปไกลหลายลานกโิ ลเมตร สามารถสังเกตเหน็ ไดในขณะท่ีเกิดสุรยิ ุปราคาเตม็ ดวง lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 -7-

จดุ บนดวงอาทิตย (Sunspots) จากภาพถา ยของพ้ืนผวิ ดวงอาทิตย มบี ริเวณทเี่ ปนจดุ สีดาํ หรือทเ่ี รยี กวา จดุ บนดวงอาทิตย (Sunspots) ซ่งึ เกดิ จากการ เปล่ียนแปลงของสนามแมเหลก็ บนดวงอาทิตยที่ก้ันกาซรอนมิใหพ ุง ขน้ึ มาสูผ วิ ในบริเวณนน้ั จงึ ทาํ ใหบ ริเวณดงั กลาวมอี ุณหภมู ิตํ่า กวา บรเิ วณขา งเคยี ง จากภาพขยายจะเห็นวา บริเวณใจกลางของจุดบนดวงอาทติ ยจ ะมดื สนิท บริเวณนี้เรยี กวา อัมบรา (Umbra) สวนบริเวณขอบนอกของจุดบนดวงอาทติ ยนนั้ สวา งกวา บริเวณใจกลาง เรียกบรเิ วณน้วี า พีนัมบรา (Penumbra) จาก ภาพจะเห็นวา จุดบนดวงอาทิตยน ั้นบางจุดอาจมขี นาดใหญก วา โลกหลายเทา ภาพจุดบนดวงอาทิตย (Sunspots) แสดงบรเิ วณอมั บราและพีนัมบรา เปรยี บเทียบกับขนาดของโลก นกั ดาราศาสตรสงั เกตพบวาจุดบนดวงอาทติ ยเ ปลยี่ นแปลงอยูตลอดเวลาท้ังตําแหนงทป่ี รากฏและจาํ นวนจุด โดยมคี าบ การเปลีย่ นแปลงทุกๆ 11 ป เรียกวา รอบการเปลี่ยนแปลงของจดุ บนดวงอาทิตย (Sunspots cycle) ปรากฏการณอ ืน่ ๆ บนดวง อาทติ ยย ังมีรอบการเปลี่ยนแปลงสัมพันธกับรอบการเปล่ียนแปลงของจดุ บนดวงอาทติ ยดวย เชน การเกดิ การระเบดิ จา (Solar Flare) เปนตน กราฟแสดงรอบการเปลย่ี นแปลงของจดุ บนดวงอาทิตย แกนนอนแสดงป ค.ศ. แกนตัง้ แสดงจาํ นวนจุดบนดวงอาทิตย lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 -8-

ตารางท่ี 2 ขอมูลดวงอาทิตย ชนดิ สเปกตรัมของดาวฤกษ G2 V อายุ 4,500 ลานป ระยะหางเฉล่ยี จากโลก 150 ลา นกิโลเมตร อตั ราเรว็ ในการหมุนรอบตัวเอง (ที่เสนศูนยสูตร) อตั ราเรว็ ในการหมนุ รอบตัวเอง (ท่ีข้วั ) 26.8 วัน เสน ผานศนู ยก ลาง 36 วนั มวล สวนประกอบ 1.4 ลานกิโลเมตร อุณหภูมิทพ่ี ้นื ผิว (โฟโตสเฟยร) 1.99 x 1030 กิโลกรัม พลังงานที่ใหอ อกมา (กําลังสอ งสวา ง) ไฮโดรเจน 92.1%, ฮีเลยี ม 7.8% และธาตอุ ่ืนๆ 0.1% 5,780 เคลวนิ 3.83 x 1033 ergs/sec lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 -9-

ดาวพุธ (Mercury) ภาพถา ยดาวพุธ จากยานมารเี นอร 10 (NASA/JPL) ดาวพธุ เปน ดาวเคราะหท่อี ยูใกลด วงอาทิตยม ากทสี่ ุด จงึ ปรากฏใหเ ห็นบนทอ งฟาไมไ กลจากตําแหนงของดวงอาทติ ย ดังนัน้ เราจงึ สงั เกตเหน็ ดาวพธุ ไดในชว งเวลาใกลคํา่ หรอื รงุ เชา เราจะเหน็ ดาวพธุ ไดด ีท่ีสดุ เม่อื มันอยูใ นตําแหนง ทไี่ กลที่สดุ จากดวง อาทติ ย นอกจากน้ใี นบางโอกาส เราสามารถมองเห็นดาวพุธได เมือ่ มนั โคจรผานทางดา นหนาของดวงอาทิตย ดาวพธุ มแี กนหมนุ ทีเ่ กือบตั้งฉากกบั ระนาบการโคจรรอบดวงอาทติ ย ดาวพุธหมนุ รอบตัวเองชา มาก โดยจะหมุนรอบตวั เองครบ 3 รอบเมือ่ โคจรรอบดวงอาทิตยค รบ 2 รอบ วงโคจรของดาวพุธจงึ แปลกประหลาดจากดาวเคราะหอ นื่ ๆ การหมนุ รอบตวั เองที่ชา มากน้ี ทาํ ใหด าวพุธไมมีชัน้ บรรยากาศหอหมุ ซึง่ สงผลใหพ้ืนผิวดาวพธุ มกี ารเปล่ยี นแปลงอุณหภมู ิอยางมาก ต้ังแต –183 ถงึ 427 องศาเซลเซียส (มีอณุ หภูมติ า่ํ สุดในดา นมืด และมีอณุ หภูมิสูงสุดในดานทรี่ บั แสงอาทิตย) มนษุ ยไดสงยานอวกาศ มารีเนอร 10 ไปสาํ รวจและทาํ แผนท่ีพ้นื ผิวดาวพุธเปนครั้งแรก ในป พ.ศ. 2517 แตเพราะการท่ี มันอยใู กลดวงอาทิตยม ากจึงสามารถทําแผนทไ่ี ดเพยี งรอยละ 45 ของพ้ืนท่ีท้ังหมด โครงสรา งภายในของดาวพุธ ดาวพุธมีขนาดใหญกวา ดวงจนั ทรของโลกเพียงเล็กนอ ย ไมมชี ั้นบรรยากาศหอหมุ แหงแลง และเตม็ ไปดวยหลุมอกุ กาบาต มากมาย สว นใหญจ ะเปน หลมุ ท่มี อี ายุมากแลว แสดงวาท่ผี า นมาไมคอยมกี ารระเบิดของภเู ขาไฟ มิฉะนน้ั หลุมเหลา น้ตี องปกคลมุ ไปดวยเถาถานและลาวา แกนกลางของดาวพุธเปน แกนเหล็กขนาดใหญ มีเสนผา นศนู ยกลางถึง 3,700 กิโลเมตร (ประมาณ 42 % ของปรมิ าตรดาวเคราะหท ้งั ดวง) รอบแกนกลางมีแมนเทลิ (หนาประมาณ 600 กิโลเมตร) และมเี ปลอื กแข็งหมุ ซงึ่ มี องคประกอบเปนทรายซลิ ิเกตเชน เดยี วกบั ทพี่ บบนโลกของเรา lesson-solarsystem.doc © Calvin J. Hamilton 7/15/2004 - 10 - ภาพตัดขวางแสดงโครงสรางภายใน Busaba Kramer

พ้นื ผวิ ดาวพธุ ดาวพธุ มีพนื้ ผวิ ทคี่ ลายคลงึ กับพืน้ ผิวดวงจันทร เตม็ ไปดวยหลุมอกุ กาบาตมากมาย มบี างบรเิ วณมลี ักษณะเปน แอง ที่ ราบขนาดใหญซ่ึงสันนษิ ฐานวาเกิดจากการพงุ ชนของอุกกาบาตในยุคเริม่ แรกของระบบสรุ ิยะ ทําใหพนื้ ท่โี ดยรอบกลายเปน เทือกเขาที่สงู แองทีร่ าบแคลอรสิ (Caloris Basin) มเี สน ผานศนู ยก ลางที่กวา งถงึ 1,300 กโิ ลเมตร จากภาพถายทไี่ ดจ ากยานมา รีเนอร 10 จุดศูนยกลางของหลุมอยูใ นเงามดื และสังเกตเห็นเพียงแนวขอบหลุมท่ีประกอบไปดว ยเทอื กเขาท่ีตอเน่อื งกัน เทอื กเขา เหลา น้มี ีความสูงถึง 2 กโิ ลเมตร ภาพถายพน้ื ผวิ ดาวพุธ แอง ท่ีราบลุม แคลอลสิ lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 - 11 -

ดาวศุกร (Venus) ภาพถายดาวศุกรในชวงรงั สีอัลตราไวโอเลต จากกลองโทรทรรศนอวกาศฮับเบลิ ดาวศุกรปรากฏเปนเส้ยี วเชนเดียวกับดวงจันทร โดยเราสามารถสงั เกตไดดวยกลองโทรทรรศน ดาวศุกรนนั้ มขี นาด ใหญก วาและอยูใกลโลกมากกวาดาวพุธ เราจงึ สังเกตเห็นดาวศกุ รส วางจากวาดาวพุธมาก และมีความสวางเปน รองจากดวงจนั ทร ในยามคา่ํ คนื เมอ่ื ดาวศกุ รป รากฏใหเ ห็นในเวลาใกลคาํ่ คนในสมยั กอ นต้ังช่ือใหวา เปน ดาวประจําเมือง และเรยี กวา ดาว ประกายพรึก เมือ่ ปรากฏใหเ หน็ ในเวลารุงเชา ดาวศกุ รน้นั มีขนาดใหญเ กือบเทากับโลกของเราและมชี ้นั บรรยากาศท่หี นาหอ หุม อยู ดาวศกุ รมแี กนหมุนเกอื บต้ังฉากกับระนาบวงโคจรรอบดวงอาทติ ย ดาวศุกรหมุนรอบตวั เองจากทศิ ตะวันออกไปยงั ทิศ ตะวันตก ซึ่งแตกตา งจากดาวเคราะหดวงอืน่ ๆ ดาวศกุ รหมนุ รอบตัวเองใชเ วลา 243 วนั และโคจรรอบดวงอาทิตยครบ 1 รอบ ใน เวลา 228 วนั ดาวศุกรจึงมชี วงเวลา 1 วันท่ยี าวนานกวา 1 ป โครงสรา งดาวศกุ ร ดาวศกุ รกับโลกน้ันเปรียบเสมือนเปนฝาแฝด เพราะดาวเคราะหท ้ังสองมีขนาดและความหนาแนนใกลเ คยี งกนั จงึ มี โครงสรา งภายในที่คลา ยคลงึ กันดว ย แกนกลางประกอบไปดว ยเหล็ก มรี ัศมี 3,000 กโิ ลเมตร) ชนั้ แมนเทลิ มีความหนา 3,000 กิโลเมตร และเปลือกแขง็ ที่ประกอบดวยหินซิลิเกต มีความหนา 50 กโิ ลเมตร นอกจากน้พี นื้ ผวิ ดาวศุกรยังประกอบไปดวยภูเขา ไฟและมชี ้นั บรรยากาศหอหุม ชว ยในการปอ งกนั รงั สีและอุกกาบาตจากภายนอก แตชั้นบรรยากาศของดาวศุกรนน้ั หนาแนน กวา ของโลกมาก มีความดันบรรยากาศทพ่ี ืน้ ผวิ ประมาณ 90 เทา ของความดนั บรรยากาศทพ่ี ืน้ ผิวโลก และยังเต็มไปดวยกาซ คารบอนไดออกไซดและกรดซัลฟรู ิก ซงึ่ ทําใหเกิดปรากฏการณเ รอื นกระจก ทีเ่ ปนสาเหตใุ หพ น้ื ผวิ ดาวศกุ รม อี ณุ หภูมสิ งู ถึง 467 องศาเซลเซียส lesson-solarsystem.doc © Calvin J. Hamilton 7/15/2004 - 12 - ภาพตดั ขวางแสดงโครงสรางภายใน Busaba Kramer

พ้ืนผิวดาวศกุ ร ยานแมคเจลแลนถกู สงข้นึ ไปในอวกาศในป พ.ศ. 2532 เพอื่ ทําแผนทดี่ าวศุกรแ บบสามมิติโดยใชเรดาร ซ่ึงมหี ลกั การ งา ยๆ คอื การสง คล่นื ไมโครเวฟไปสะทอ นท่ีพน้ื ผิวของดาวศุกร และวัดความลาชาของคล่ืนท่ีสะทอนกลับมา ประกอบกับการรู ตาํ แหนง ท่ีแนนอนของยานแมคเจลแลน ทาํ ใหเ ราทราบถึงความสูงตาํ่ ของพื้นผิวและสามารถทาํ แผนทแ่ี บบสามมิตไิ ด นอกจากน้ี การใชเ รดารยงั มีขอดที ่ีสามารถสาํ รวจทะลผุ า นชนั้ บรรยากาศที่หนาแนน และชัน้ ฝุนทป่ี กคลมุ พ้ืนผวิ ของดาวศุกรไ ด พื้นผวิ ของดาวศกุ รปกคลุมไปดว ยที่ราบที่เกิดจากการระเบดิ ของภูเขาไฟ ประมาณ 80% ของพน้ื ทท่ี ั้งหมด มีสว นท่ีเปนท่ี สงู อยูเพียงเลก็ นอ ย บรเิ วณที่สงู อะโฟรไดท (Aphrodite) มรี ปู รา งคลายแมงปอ งวางตวั อยใู นแนวเสน ศูนยส ตู รของดาวศุกร ท่ี บริเวณขว้ั เหนือของดาว มภี เู ขาขนาดยกั ษ มีชอ่ื วา ภเู ขาแมกซเ วลล (Maxwell Montes) ซึง่ มคี วามสงู ถึง 11 กโิ ลเมตร (สงู กวา ยอด เขาเอเวอเรสตถึง 2 กโิ ลเมตร) ภาพถา ยดาวศุกรเต็มดวง เปนภาพถายดว ยเทคนคิ เรดารจากยานแมคเจลแลน (NASA/JPL) lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 - 13 -

แผนทด่ี าวศกุ ร ภาพถายพื้นผวิ ของดาวศุกรแบบ 3 มิติ (NASA/JPL/Seal) ภาพถายพืน้ ผวิ ของโลกแบบ 3 มิติ (NASA/USGS) ภเู ขาไฟบนดาวศุกร ภูเขาไฟบนดาวศกุ รแตกตางจากภูเขาไฟบนโลก บนโลกมนี ้ําอยูมากมาย กาซที่พงุ ออกมาจากภเู ขาไฟเชน กา ซ คารบ อนไดออกไซดและกาซซลั เฟอรไ ดออกไซด จะละลายกลับลงไปในนํา้ ในมหาสมทุ ร และตกตะกอนอยใู ตมหาสมทุ ร แตก ารทบ่ี นดาวศกุ รไ มม ีนํา้ ทาํ ใหกา ซตางๆท่ีพงุ ออกมาจากปลอ งภูเขาไฟ โดยเฉพาะกา ซคารบ อนไดออกไซด กลายเปนสวนหนึง่ ของชั้นบรรยากาศทําใหเกิดปรากฏการณเรือนกระจก นอกจากนีก้ าซซัลเฟอรไดออกไซดย งั ทําปฏิกริ ยิ ากับนาํ้ ในบรรยากาศ กลายเปน กรดซัลฟรู กิ ซ่ึงถา ไมเ กบ็ กกั อยใู นช้นั เมฆกจ็ ะตกลงสูพนื้ ผวิ ดาวศกุ ร ภาพภูเขาไฟและเสนทางลาวาบนดาวศุกร เปนภาพถา ยดวยเทคนิคเรดารจ ากยานแมคเจลแลน (NASA/JPL) lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 - 14 -

โลก โลกของเราเปนดาวเคราะหที่อยหู างจากดวงอาทติ ยเปนลําดับที่ 3 ถัดออกมาจากดาวพุธ และดาวศกุ ร โลกมขี นาดใหญ เปนอนั ดับท่ี 5 ในบรรดาดาวเคราะหท งั้ หมดในระบบสุริยะ เสนผานศนู ยก ลางของโลกใหญก วา ดาวศุกรเ พียงไมกร่ี อยกโิ ลเมตร โลกอยหู า งจากดวงอาทิตยใ นระยะที่พอเหมาะ ทาํ ใหมอี ุณหภูมิ สภาวะอากาศและปจ จัยอ่นื ๆ ท่เี ออื้ อาํ นวยตอ ส่งิ มีชวี ติ ภาพโลกเต็มดวง โครงสรา งภายในของโลก จากการศึกษาโดยใชเทคนิคเกี่ยวกบั แผนดนิ ไหว (Seismic Techniques) ทาํ ใหนกั วทิ ยาศาสตรท ราบถึงโครงสรา งภายในของ โลกท่ีแบงไดเ ปน ชนั้ ตางๆ ดังน้ี 1) แกนกลางชนั้ ใน มีลกั ษณะเปน ของแข็งทป่ี ระกอบดว ยเหลก็ เปนสว นใหญ มอี ณุ หภูมสิ ูงประมาณ 7,500 เคลวิน (สงู กวา ทพี่ นื้ ผิวของดวงอาทติ ย) มรี ัศมีประมาณ 1,200 กิโลเมตร 2) แกนกลางช้นั นอก มลี กั ษณะเปนของเหลวทป่ี ระกอบดว ยเหล็กและซลั เฟอรเ ปนสวนใหญ มคี วามหนาประมาณ 2,200 กิโลเมตร 3) แมนเทลิ มีลักษณะเปนของเหลวหนืดคลายกับพลาสติกเหลว มอี งคป ระกอบเปน เหล็ก แมกนเี ซยี ม ซลิ กิ อน อลมู ิเนียมและออกซเิ จน มีความหนาประมาณ 3,000 กโิ ลเมตร 4) เปลอื กโลก มลี ักษณะเปนของแขง็ มีองคประกอบสวนใหญ คือ แรควอทซ (ซลิ กิ อนไดออกไซด) และเฟลสปาร มี ความหนาประมาณ 7 ถึง 40 กิโลเมตร (ขึน้ อยูก ับวาเปน บรเิ วณใตม หาสมทุ รลกึ หรือบรเิ วณเทือกเขา) ภาพจาํ ลองโครงสรางภายในของโลก © Calvin J. Hamilton 7/15/2004 - 15 - Busaba Kramer lesson-solarsystem.doc

ช้ันบรรยากาศของโลก บรรยากาศของโลกประกอบไปดวยไนโตรเจน 77% ออกซิเจน 21% และท่ีเหลอื เปน อารก อน คารบ อนไดออกไซดและ น้ํา ในยคุ ท่ีโลกกําเนดิ ขึน้ ใหม อาจจะมคี ารบอนไดออกไซดจ ํานวนมาก แตม นั ถกู ดูดกลืนไปกับหินปนู (carbonate rocks) บางสวนกล็ ะลายไปกบั นํ้าในมหาสมทุ ร และถูกบริโภคโดยพืช ปรากฏการณการเคล่อื นตัวของเปลือกโลกและกระบวนการทางชวี ะ วทิ ยา กอใหเกดิ การหมนุ เวยี นของกาซคารบ อนไดออกไซด ปจ จบุ ันมีคารบ อนไดออกไซดคงเหลอื ในบรรยากาศจํานวนเลก็ นอย แตก ็ยังความสําคญั มาก เพราะมันเปนตวั ควบคมุ อุณหภมู ขิ องพื้นโลก โดยอาศยั สภาวะเรือนกระจก เพิ่มอุณหภูมิพื้นผวิ โลกให สงู ข้ึน ถาไมม สี ภาวะเรอื นกระจกจากกา ซคารบอนไดออกไซดแ ลว อณุ หภูมทิ ี่พืน้ ผวิ โลกจะตาํ่ เกนิ ไปจนทาํ ใหน า้ํ ในมหาสมทุ ร แข็งตวั เปน ผลใหสิ่งมชี วี ิตไมส ามารถดาํ รงอยไู ด ชน้ั บรรยากาศของโลกแบงออกไดเ ปน 4 ชั้นตามการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิตามระดับความสงู เหนอื จากพืน้ ผิวโลก ประมาณ 50 % ของสสารในบรรยากาศของโลกทัง้ หมดอยใู นชั้นโทรโปสเฟย รท่มี ีความหนาประมาณ 10 กิโลเมตร ถัดขน้ึ ไปเปน ชนั้ สตราโตสเฟยรท ปี่ ระกอบไปดว ยชน้ั ของโอโซนที่ชว ยดูดกลืนรังสอี ัลตราไวโอเลตจากดวงอาทติ ยท เ่ี ปนอนั ตรายตอสิ่งมชี วี ิต ชน้ั มีโซสเฟยรเปน ชนั้ ที่วัตถตุ างๆ จากอวกาศทีต่ กมาสูโ ลก จะถกู เสยี ดสีกับบรรยากาศและลุกไหมใ หเราเหน็ เปน ดาวตกทส่ี วยงาม ชั้นเทอรโ มสเฟยรเ ปนช้นั บรรยากาศชนั้ นอกสุด ทีม่ อี ุณหภมู ิเพม่ิ ข้ึนตามความสงู ยานขนสงอวกาศสเปสชัตเติล (Space Shuttle) โคจรรอบโลกอยทู ีค่ วามสงู 300 กโิ ลเมตร ซ่งึ มีอุณหภูมิสงู ถึง 1,000 องศาเซลเซียส แตม นั ไมถ กู เผาไหมไปเพราะทีร่ ะดบั ความสูง ดังกลาวมีความหนาแนน ของกาซตาํ่ มาก lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 - 16 -

การเคลื่อนท่ขี องเปลอื กโลก – เพลตเทคโทนิค ภาพรอยเชอ่ื มตอของเปลือกโลก เปลอื กโลกไมเ หมือนกบั ดาวเคราะหทีม่ พี ืน้ ผิวเปน ของแข็งดวงอ่ืน เปลือกโลกประกอบไปดว ยแผน ของแขง็ หลายชิน้ ทลี่ อย อยอู ยา งอิสระบนแมนเทิลท่ีเหลวรอ น การเคล่อื นตัวของเปลอื กโลกมีทงั้ การขยายตัวและการยุบตัว การขยายตวั ของเปลือกโลก เกิดขน้ึ เมอื่ แผน ทวปี สองแผน เคลือ่ นทอ่ี อกจากกนั เนือ่ งจากแมก มา ขา งใตด ันตวั ขึน้ มาและเยน็ ตวั ลงกลายเปน ผนื แผน ดินใหม การ ยบุ ตัวของเปลอื กโลกเกดิ ขึน้ เม่ือแผนทวีปแผน หนง่ึ กดขอบของแผน ทวปี อกี แผนหนึ่งใหจ มลงและหลอมรวมกับแมก มา ท่อี ยูข างใต เปลือกโลกแบงเปน 8 แผนทวีปหลกั ดังนี้: 1) แผน อเมริกาเหนอื ไดแ ก ทวีปอเมริกาเหนอื มหาสมทุ รแอตแลนติกเหนอื ซีกตะวนั ตก และกรนี แลนด 2) แผน อเมริกาใต ไดแ ก ทวีปอเมริกาใต และมหาสมุทรแอตแลนติกใตซกี ตะวนั ตก 3) แผนแอนตารค ติก ไดแ ก ทวีปแอนตารคติก และ มหาสมุทรใต 4) แผน ยเู รเชยี ไดแก มหาสมุทรแอตแลนตกิ เหนือซีกตะวนั ออก ทวปี ยุโรป และเอเชยี ยกเวน อินเดีย 5) แผนแอฟริกา ไดแก ทวปี แอฟริกา แอตแลนตกิ ใตซ ีกตะวันออก ชายฝงตะวันตกของมหาสมทุ รอินเดีย 6) แผน อินเดยี -ออสเตรเลีย ไดแ ก ประเทศอินเดีย ออสเตรเลยี นวิ ซแี ลนด และมหาสมทุ รอนิ เดีย 7) แผน นาสคา ครอบคลมุ พ้นื ทช่ี ายฝงดานตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟก จรดทวีปอเมรกิ าใต 8) แผน แปซิฟก ครอบคลมุ เกอื บทั้งมหาสมทุ รแปซิฟก และชายฝงตอนใตของแคลฟิ อรเนีย ยงั มแี ผน ทวปี ขนาดเล็กจํานวนมากกวา 20 แผน เชน แผน อาระเบีย แผนโคโคส และแผน ฟล ิปปนส การเกิดแผนดนิ ไหว มักจะเกิดท่ีบริเวณรอยตอของแผนทวปี เหลา นี้ lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 - 17 -

ดวงจันทรข องโลก ภาพถายโลกและดวงจันทร ดวงจนั ทรมีความสวา งท่ีสดุ ในทองฟา ยามราตรี ดวงจนั ทรเปน บริวารดวงเดยี วของโลก พ้นื ผวิ ดวงจันทรน ั้นแหงและ เยือกเยน็ ไมม ชี ั้นบรรยากาศหอหุม ดวงจันทรหมุนรอบตวั เองโดยใชเ วลาเทากบั เวลาในการโคจรรอบโลก ทําใหเ รามองเห็นดวง จนั ทรเ พียงดา นเดียวเสมอ จนกระทง่ั ป พ.ศ.2502 เม่อื รสั เซียสงยานสํารวจอวกาศไปโคจรรอบดวงจันทรและถายภาพพนื้ ผิวดวง จนั ทรโ ดยรอบและสง กลับมายังโลก ยานอวกาศอะพอลโล 11 เปนยานลาํ แรกที่พามนุษยไปลงสูพ้นื ผิวดวงจนั ทร เมือ่ วันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ.2512 แสงจันทรท่เี รามองเหน็ นนั้ แทที่จรงิ แลว เปนแสงอาทิตยที่สะทอนจากพนื้ ผิวดวงจนั ทร ในขณะทดี่ วงจนั ทรโ คจรรอบโลก เราจะมองเหน็ ดวงจันทรใ นลักษณะทีเ่ ปล่ียนไป เรยี กวา เฟสของดวงจันทร หรอื ขางข้นึ ขา งแรม ดวงจนั ทรหมุนใชเ วลาหมุนรอบ ตวั เองเทา กับเวลาในการโคจรรอบโลก คอื 27 วนั 8 ชัว่ โมง จงึ ทําใหด วงจนั ทรหันดานเดียวเขา หาโลกตลอดเวลา lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 - 18 -

โครงสรา งภายในของดวงจันทร จากการศึกษาแผนดินไหวบนดวงจันทรท ําใหเราทราบวาโครงสรา งภายในของดวงจนั ทรนนั้ ประกอบดวยแกนกลางทเี่ ปน ของเหลว หรอื กึ่งเหลวเสนผา นศนู ยกลางของดวงจนั ทรเทา กับ 3,476 กิโลเมตร ประมาณ หนงึ่ ในส่ีของเสน ผา นศูนยกลางโลก 1) แกนชน้ั ในท่เี ปนของแขง็ ประกอบดว ยเหล็กเปน สว นใหญ มีอุณหภมู ิ 1,500 องศาเซลเซยี ส มีรัศมีประมาณ 350 กิโลเมตร 2) แกนชนั้ นอก ท่เี ปนหินเหลวหรือพลาสตกิ ประกอบไปดว ยเหล็กเปน สว นใหญ มีรัศมีประมาณ 500 กิโลเมตร 3) ชน้ั แมนเทลิ ที่เปนของแข็ง มคี วามหนาประมาณ 800 กโิ ลเมตร 4) เปลือกนอก มีความหนาประมาณ 60-100 กิโลเมตร เปลอื กนอกของดวงจันทรดา นใกลโ ลกนั้นบางกวา ดา นไกลโลก จึง เกิดหลุมอุกกาบาตและทะเลอยูมากมาย © Calvin J. Hamilton ภาพจําลองโครงสรา งภายในของดวงจนั ทร พื้นผวิ ดวงจันทร พน้ื ผิวของดวงจนั ทรน นั้ เตม็ ไปดว ยหลุมอุกกาบาตมากมายและถกู ตงั้ ชื่อตามนักวิทยาศาสตรท ี่มชี ่อื เสียงในอดีต บรเิ วณท่ี ราบต่าํ บนดวงจันทรถ กู เรียกวา มาเร (Mare) ซึง่ ในภาษาลาตินแปลวา ทะเล เราสามารถมองเหน็ หลุมอุกกาบาตขนาดใหญแ ละ ทะเลบนดวงจนั ทร ไดด ว ยตาเปลา และจินตนาการเปน รูปรางตางๆ เชน กระตา ยบนดวงจนั ทร บรเิ วณเหลา นเ้ี กดิ จากการพุง ชน ของอกุ กาบาตซึ่งเกิดจาํ นวนบอยคร้งั มากในอดตี เม่ือเกิดระบบสุริยะขนึ้ ใหมๆ บริเวณมาเรปกคลุมไปดว ยลาวาท่ีระเบดิ ออกมาจาก ปลอ งภูเขาไฟในยคุ กอน ภาพพนื้ ผวิ ดวงจันทรท่ีปกคลมุ ไปดว ยเรโกลติ lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 - 19 -

พืน้ ผิวดวงจนั ทรปกคลุมไปดว ยดิน ทเ่ี รียกวา เรโกลติ (Regolith) หนาประมาณ 15 เซนติเมตร ประกอบไปดว ยฝนุ และ เศษหินทเี่ กิดข้ึนจากการพุงชนของอุกกาบาต พบวา ดนิ เรโกลติ มีสวนประกอบเปนอนภุ าคที่มีลกั ษณะเปน ผลึกใสเรียกวา สเฟยรูล (Spherules) ซึ่งเกิดจากการถูกทาํ ใหรอ นและเยน็ ตวั อยางรวดเรว็ ในชวงท่ีเกิดการพุงชน สเฟย รูลนี้มขี นาดประมาณ 0.025 มิลลเิ มตร หนิ บนดวงจันทร หนิ บนดวงจันทรส ว นมากจะมีอายุในราว 3,000 – 4,600 ลา นป ซง่ึ ถาเปน หนิ บนพน้ื โลกทีม่ ีอายุเกากวา 3,000 ลา นปจะ หาไดยากมาก ดงั น้นั ดวงจนั ทรจงึ เปน หลักฐานที่ดีถงึ ประวัติศาสตรข องระบบสุริยะในยคุ เรมิ่ แรก ตวั อยางหินที่พบบนดวงจันทร ไดแ ก 1) หนิ เบรกเซีย (Breccias) เปนหนิ ที่เปนเปลอื กดวงจันทรในยคุ แรกทถ่ี ูกหลอมรวมเศษอกุ กาบาตท่ีพุง ชนพน้ื ผวิ ดวงจันทร 2) หินบะซอลต (Basalt) เกิดจากลาวาเยน็ ตัว เต็มไปดวยฟองกา ซ 3) หินอะนอรโทไซต (Anorthosite) เปนชน้ิ สว นของเปลอื กดวงจันทรในยคุ แรก ภาพถายหินบะซอลต (Basalt) ภาพถายหนิ อะนอรโทไซต (Anorthosite) ภาพถายหนิ เบรกเซีย (Breccias) lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 - 20 -

ดาวอังคาร ภาพถา ยดาวอังคารเต็มดวง จากกลองโทรทรรศนอ วกาศฮับเบิล แสดงใหเหน็ ถึงข้ัวดาวท่ีปกคลุมไปดว ยหมิ ะสขี าว และบรเิ วณซีกใตของดาวทมี่ ีพายฝุ นุ ปกคลุมอยู (บริเวณท่มี ีสีแดงเขม ) (STScI/NASA) ดาวอังคารเปนดาวเคราะหชั้นใน อยูหางจากดวงอาทิตยเ ปนอนั ดบั ที่ 4 ถดั ออกไปจะเปนแถบดาวเคราะหนอยคั่นอยู ระหวางดาวอังคารและดาวพฤหัสบดี ดาวอังคารมแี กนหมุนที่ใกลเคียงกับโลก จงึ ทาํ ใหม ีฤดูกาลท่ใี กลเ คียงกบั ฤดูกาลบนโลกดวย ดาวองั คารหมุนรอบตัวเองใชเ วลา 24 ชั่วโมง 37 นาที ดงั นัน้ ระยะเวลา 1 วันบนดาวอังคารจงึ มคี าใกลเคยี งกบั 1 วนั บนโลกของ เรา วงโคจรของดาวองั คารเปนวงรี ยังผลใหเ กดิ ความแตกตา งของอุณหภูมิถงึ 30 องศาเซลเซยี ส เม่อื โคจรอยูในตําแหนงท่ี ใกลแ ละไกลท่ีสุดจากดวงอาทติ ย และนีค่ ืออทิ ธิพลสําคัญตอ สภาพบรรยากาศ ของดาวองั คาร แมวา อุณหภมู โิ ดยเฉลี่ยบนพ้ืนผิวอยู ที่ 218 เคลวนิ (-55 องศาเซลเซยี ส) แตค วามแตกตา งของอุณหภมู ิ ในแตล ะภมู ิประเทศมีมาก เชน ต่าํ ถึง 140 เคลวิน (-133 องศา เซลเซยี ส) ที่ขว้ั ในฤดหู นาว หรือสูงถงึ 300 เคลวนิ (27 องศาเซลเซียส) ในเวลากลางวนั ของฤดรู อน ภาพถา ยดาวอังคารในอดีตท่ีพบวา พ้ืนผิวดาวอังคารมีลกั ษณะคลา ยคลองสงนาํ้ ท่ีอาจถกู สรา งขึ้นโดยมนษุ ยดาวอังคาร ดาวองั คารยังเปนที่รูจกั กันดมี าต้งั แตย คุ กอ นประวตั ิศาสตร และยังเปนท่ชี ืน่ ชอบของผแู ตงนิยายวทิ ยาศาสตร ในฐานะท่ี เปนดาวเคราะหที่อาจมีมนษุ ยตางดาวอาศัยอยู จากการท่ีเม่ือหลายสิบปก อ นมีการสงั เกตดาวองั คารเหน็ รูปรา งพนื้ ผวิ ทมี่ ีลกั ษณะ คลา ยคลองสง น้ํา องคก ารนาซาไดส งยานไปสํารวจดาวอังคารหลายสิบลํา ตงั้ แต ป พ.ศ. 2508 จนถงึ ปจจบุ นั ไมพ บสง่ิ มชี ีวิตใดๆ พบเพียงพน้ื ผิวรอ งรอยของรอ งนํา้ และพบวา มีนา้ํ แข็งแหง (คารบ อนไดออกไซดแ ขง็ ) ปกคลมุ อยบู รเิ วณข้ัว ซง่ึ สนั นษิ ฐานวา ภายใต พน้ื ผิวนํ้าแขง็ แหง นี้อาจมนี ้าํ แขง็ ที่เปน นํา้ อยซู ่งึ อาจมซี ากฟอสซลิ ของส่ิงมีชวี ติ หากเคยมีส่ิงมีชีวติ อยบู นดาวองั คารมากอน lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 - 21 -

โครงสรางดาวองั คาร © Calvin J. Hamilton ภาพตัดขวางแสดงโครงสรางภายใน โครงสรา งภายในของดาวอังคารประกอบดวยแกนกลางทเ่ี ปน ของแข็ง ทมี่ รี ศั มีประมาณ 1,700 กโิ ลเมตร ท่มี ีสวนผสมของ เหล็กเปนสว นใหญ ถดั ข้นึ มาจากแกนกลางเปนช้ันแมนเทิลที่เปน หินเหลวหนดื หนาประมาณ 1,600 กโิ ลเมตร และมีเปลือกนอก เปน ของแขง็ เชนเดยี วกับโลก บรรยากาศของดาวอังคารประกอบไปดว ย กาซคารบ อนไดออกไซด (95.3%) ไนโตรเจน (2.7%) อารกอน (1.6%) ออกซเิ จน (0.15%) และไอนํา้ (0.03%) ดาวอังคารมีชัน้ บรรยากาศท่เี บาบางกวาโลกมาก แตกย็ ังมพี ายุเกิดอยูท ่วั ดวงเม่ือมกี าร เปลยี่ นฤดกู าล ฤดูกาลบนดาวอังคารแบง ออกเปน 4 ฤดูในชว งเวลา 1 ป บนดาวองั คารซึ่งยาวนานเปนสองเทาของเวลา 1 ปบ น โลกของเรา พนื้ ผิวของดาวองั คาร ภาพพน้ื ผิวดาวอังคารแบบ 3 มติ ิ สีบอกถงึ ระดับความสงู คา ติดลบแสดงถึงหุบเหว (GSFC/NASA) พน้ื ผิวของดาวอังคารปกคลมุ ไปดว ยฝุน ที่เปน ออกไซดของเหล็ก หรอื สนิมเหลก็ นั่นเอง จึงทําใหดาวอังคารมีสีแดง พื้นผิวดาวเต็มไปดว ยหลมุ บอ แตไ มม ีรองรอยการเกิดแผนดินเคลอื่ น แสดงวาพน้ื ผิวดาวอังคารไมเคยมกี ารเปลยี่ นแปลงมาเปน เวลาหลายลา นป การท่ไี มม กี ารเคล่อื นที่ของแผน ดนิ ทําใหภูเขาไฟสวนใหญอ ยูใ นตาํ แหนงเดมิ ทเี่ ปน แหลงประทขุ องแมก มา จึง เปน ผลใหภูเขาไฟบนดาวองั คารมขี นาดใหญม าก lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 - 22 -

ภาพถายดาวอังคารเตม็ ดวงจากยานไวกงิ ออรบิเตอร 1 ท่ีกลางดวงจะสามารถสงั เกตเหน็ หุบเหวมาริเนอรสิ (Valles Marineris) ซ่งึ เปน หบุ เขาที่มีความยาวถึง 4,000 กิโลเมตร มคี วามกวาง 600 กิโลเมตรและมีความลกึ ถงึ 8 กโิ ลเมตร (USGS/NASA) บนดาวองั คารมีภเู ขาไฟที่สูงใหญที่สดุ ในระบบสรุ ิยะ ชือ่ วา ภเู ขาไฟโอลมิ ปส (Olympus Mons) ท่ีมคี วามสงู ถึง 25 กิโลเมตร (สูงเปน 3 เทา ของยอดเขาเอเวอเรสต) และมีฐานท่แี ผอ อกไปเปนรศั มถี ึง 300 กิโลเมตร ภาพภูเขาไฟโอลิมปส บนดาวอังดาร (USGS/NASA) lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 - 23 -

ขวั้ เหนอื และขั้วใตของดาวอังคาร ภาพถา ยขัว้ หมิ ะบนดาวอังคารแสดงถึงการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล จากกลองโทรทรรศนอ วกาศฮับเบิล (STScI/NASA) บริเวณข้วั เหนือและใตข องดาวอังคารจะเปลี่ยนสจี ากแดงเปนขาวตามฤดูกาลบนดาวองั คาร ในฤดูหนาวจะเห็นเปน สขี าว ซ่งึ เปนนาํ้ แข็งและนา้ํ แข็งแหง (คารบอนไดออกไซดแ ข็ง) ทีป่ กคลุมอยู เมอ่ื ฤดหู นาวผา นพนไป จะมีพายเุ กิดขึน้ ทั่วไปและพดั พา เอาฝุนสแี ดงไปยงั ขว้ั เหนือและใต จึงเห็นขัว้ เหนือและใตเ ปนสีแดงเหมือนกบั บริเวณอ่ืนๆ ของดาวองั คาร ภาพถายข้ัวใตของดาวอังคาร จากยานไวกงิ ออรบ เิ ตอร 1 แสดงใหเหน็ แสงสะทอ นจากพืน้ ผวิ ท่ีมนี า้ํ เแขง็ ปกคลุมอยูเปนบริเวณ กวา งถงึ 400 กิโลเมตร (NASA/JPL) ภาพถา ยจากยานไวกิงแลนเดอร 2 แสดงใหเห็นถงึ พืน้ ผิวบรเิ วณขว้ั สขี าวในฤดูหนาวท่ปี กคลุมไปดว ยนา้ํ แข็งแหง (คารบ อนไดออกไซดแข็ง) ที่ไมเ คยละลายหมดไป (NASA/JPL) lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 - 24 -

รูปหนาคนบนดาวองั คาร เม่อื ยานไวกงิ ออรบ ิทเตอร (Viking Orbiter) ถา ยภาพพ้นื ผวิ ดาวองั คาร ในป พ.ศ. 2519 ไดพบบริเวณภูเขาที่มีรูปรางที่ คลายกับรูปหนาคน มีขนาดเสนผานศนู ยกลางประมาณ 1.5 กโิ ลเมตร ทําใหผ ูค นสันนิษฐานวา อาจเปนอนุสาวรยี ท่ีถูกสรา งขนึ้ จาก อารยธรรมบนดาวองั คาร ในป พ.ศ. 2541 ยานมารสโกลบอลเซอรเ วเยอร ไดถ ายภาพบริเวณดงั กลาวซาํ้ ดว ยกลองถา ยภาพทีม่ ี ความละเอยี ดสูงกวา เดมิ 3 เทา และเปน แบบสามมติ ิ ทําใหเราทราบวา มันมิไดมีรูปรา งเหมอื นหนา คนเลย Viking 1976 ภาพพนื้ ผิวดาวอังคาร ถา ยจากยานไวกิงออรบ ิทเตอร (Viking Orbiter) ในป พ.ศ. 2519 ปรากฏเปนบรเิ วณภเู ขาที่มรี ปู รางท่ีคลายกับรูปหนาคน ภาพถายรูปหนาคนในอดตี จากยานไวกงิ ออรบ ิเตอร 1 ในป พ.ศ. 2519 (ซาย) ทาํ ใหมนุษยส งสยั วาอาจเปน สิ่งท่ไี มไ ดเ กดิ ขน้ึ เอง ตามธรรมชาตแิ ละภาพถายท่ไี ดจากยานมารสโกลบอลเซอรเ วเยอรใ นป พ.ศ. 2541 (กลางและขวา) มีความละเอียดสูงพิสูจนใ หเหน็ วาเปนเพยี งเนินทรายธรรมดา (NASA/JPL) lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 - 25 -

รอ งรอยของแมน าํ้ บนดาวองั คาร ภาพถายพน้ื ผวิ ดาวองั คารจากยานไวกงิ ออรบิเตอร 1 แสดงใหเ ห็นถงึ เสน สายตา งๆ คลายกับแมน ํ้า ภาพถายขยายจากยานมารสโกลบอลเซอรเวเยอร แสดงใหเ ห็นวาเปนลักษณะของรอ งน้าํ เกา หรือทองแมน้ําทน่ี ํา้ เหือดแหง ไปหมดแลว (NASA/JPL/Malin Space Science System) ดวงจนั ทรบ ริวารของดาวอังคาร ดาวอังคารมีดวงจนั ทรบริวารจํานวน 2 ดวงที่ มชี ื่อวา โฟบอส (Phobos) และไดมอส (Deimos) ซงี่ สามารถสังเกตไดโ ดย ใชกลองดูดาวขนาดใหญ ดวงจันทรท้ังสองดวงน้มี ลี ักษณะที่ไมส มมาตร นกั ดาราศาสตรจึงสนั นิษฐานวา อาจเปน วัตถุในแถบดาว เคราะหน อ ยทถ่ี ูกแรงโนม ถว งของดาวอังคาร ดึงดูดใหม าโคจรรอบ 1) โฟบอส มเี สนผานศูนยกลางเฉลี่ยประมาณ 22 กโิ ลเมตร มรี ัศมวี งโคจรประมาณ 9,000 กิโลเมตร 2) ไดมอส มเี สน ผา นศูนยกลางเฉลี่ยประมาณ 12 กโิ ลเมตร มีรัศมีวงโคจรประมาณ 23,000 กโิ ลเมตร ภาพดวงจนั ทรโฟบอส (NASA/JPL) lesson-solarsystem.doc ภาพถา ยดวงจันทรไดมอส (NASA/JPL) 7/15/2004 - 26 - Busaba Kramer

ดาวพฤหสั บดี (Jupiter) ภาพดาวพฤหสั บดเี ต็มดวง จากยานอวกาศแคสินิ ในป พ.ศ. 2543 แสดงใหเหน็ ถึงแถบพายุที่ละตจิ ดู ตา งๆ และจดุ แดงใหญ จดุ สดี ําทเ่ี ห็นอยูมมุ ซา ยของดาว คอื ดวงจันทรบรวิ ารยโุ รปา (NASA/JPL/University of Arizona) ดาวพฤหสั บดเี ปน ดาวเคราะหท ใี่ หญที่สุดในระบบสรุ ิยะ มีความสวางเปนอันดบั ท่ี 4 ในทองฟา รองจากดวงอาทติ ย ดวง จันทร และดาวศกุ ร ดาวพฤหัสบดีมีเสนผานศูนยก ลางใหญกวา โลก 11 เทา และมมี วลมากกวาโลกถึง 300 เทา มสี ว นประกอบ เปนไฮโดรเจนถึง 90%และฮเี ลียม 10 % แกนกลางของดาวพฤหสั บดีเปนหินแขง็ ลอ มรอบไปดว ยไฮโดรเจนเหลวที่มีอณุ หภูมิสงู ถึง 30,000 องศาเซลเซียส ถาดาวพฤหัสบดีมีมวลเพม่ิ ข้ึนอีก 75 เทา กจ็ ะสามารถเกิดปฏิกิริยานวิ เคลียรฟวชั่นข้นึ ทีแ่ กนกลางและ กลายเปน ดาวฤกษไ ด ดาวพฤหัสบดหี มุนรอบตวั เองเร็วมาก โดยใชเ วลาในการหมนุ รอบตวั เอง 10 ชว่ั โมง (เพยี งครงึ่ วนั บนโลก) ทาํ ใหส สารและ กาซตา งๆ ท่ีบรเิ วณเสน ศนู ยสตู รเคลื่อนทีเ่ ร็วกวา บรเิ วณอืน่ ๆ เปน ผลใหดาวพฤหัสบดมี ีรูปรางเปนทรงกลมแปน และมีชัน้ บรรยากาศทแี่ ปรปรวนและมีพายุอยตู ลอดเวลา ดาวพฤหสั บดีเปน ดาวเคราะหท เี่ ปนกาซ จงึ ไมมขี อบเขตรัศมีทแี่ นน อน การบงบอกรัศมีของดาวเคราะหประเภทน้ีทําได โดยการวัดระยะทางจากจุดศนู ยกลางดาวมาจนถึงบริเวณทมี่ ีความดนั บรรยากาศเทา กับความดันท่ีระดบั นาํ้ ทะเลบนโลกของเรา © Calvin J. Hamilton ภาพตัดขวางแสดงโครงสรา งภายในของดาวพฤหสั บดี โครงสรางของดาวพฤหัสบดี ดาวพฤหัสบดมี ีแกนกลางทีเ่ ปน หินลอ มรอบไปดว ยชัน้ ของเหลวรอนทีป่ ระกอบไปดวยนํา้ มเี ธน และแอมโมเนยี ถัดขนึ้ มา เปน แมนเทิลชนั้ ในท่ปี ระกอบไปดว ยฮีเลย่ี มและไฮโดรเจนเหลว (ไฮโดรเจนทม่ี ีสมบตั ิเปนโลหะ) ซงึ่ พบในสภาวะทม่ี อี ุณหภูมแิ ละ ความดันสงู เทา น้ัน ภายใตส ภาวะดงั กลาวนิวเคลยี สและอิเล็คตรอนของไฮโดรเจนประพฤติตวั เหมือนกับโลหะ แมนเทลิ ชั้นนอก ของดาวพฤหัสบดีประกอบไปดวยกาซไฮโดรเจนและฮีเล่ียมที่ผสมผสานเปนเนื้อเดยี วกับบรรยากาศชน้ั บน lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 - 27 -

ชนั้ บรรยากาศของดาวพฤหสั บดี บรรยากาศช้ันบนของดาวพฤหสั บดีไดถูกสํารวจอยางละเอยี ดโดย กระสวยสาํ รวจบรรยากาศทป่ี ลอยจากยานอวกาศกา ลเิ ลโอ ใหตกลงไปในชั้นบรรยากาศของดาวพฤหสั บดี พบวา บรรยากาศของดาวพฤหัสบดมี ีเมฆชน้ั บนทป่ี ระกอบดวยแอมโมเนีย ในระดบั ทต่ี ่าํ ลงไปเปนเมฆแอมโมเนยี มไฮโดรซลั ไฟด และเมฆชนั้ ลางสุดเปนน้ําและน้าํ แข็ง ภายใตช ้นั เมฆเตม็ ไปดว ยไฮโดรเจน และฮเี ลยี ม ชน้ั บรรยากาศทีร่ ะดับความดันบรรยากาศ 1 บาร มอี ณุ หภูมสิ ูงประมาณ 165 เคลวิน จากภาพถายจากกลองโทรทรรศนอ วกาศฮับเบิล ในชว งคล่ืนอัลตราไวโอเลต แสดงใหเ ห็นถงึ แสงเหนือแสงใตท่ีข้วั เหนือ และใตข องดาว แสงเหนอื แสงใตบนโลกเกดิ จากอนุภาคท่ีมพี ลังงานสูงจากดวงอาทติ ยท่ปี ระทขุ ้นึ สมั พนั ธกับการเกิดพายุสรุ ิยะบน ดวงอาทิตย เดินทางมาสโู ลกและถกู สนามแมเ หลก็ โลกเรง เขาสูโลกทางข้ัวโลกเหนือและขวั้ โลกใต ดงั นั้นจึงทําปฏิกริ ยิ ากับโมเลกุล กา ซในชั้นบรรยากาศ ปรากฏเปนแสงสีท่สี วยงามใหเ ราเห็น แตแสงเหนอื แสงใตบนดาวพฤหสั เกดิ จากอนุภาคท่ปี ระทขุ น้ึ มาจาก ภูเขาไฟบนดวงจนั ทรไ อโอ ถกู อิทธพิ ลของสนามแมเหล็กของดาวพฤหัสบดีกกั ไวใหอ ยูบริเวณขัว้ แมเหล็กของดาว และเคลอ่ื นท่ี หมุนรอบไปกบั ดาว จึงเปลงแสงออกมาตลอดเวลา ภาพถายดาวพฤหัสบดี จากกลองโทรทรรศนอ วกาศฮับเบลิ ในชวงคล่นื อลั ตราไวโอเลต แสดงใหเ ห็นถงึ แสงเหนือแสงใตท ขี่ ว้ั เหนอื และใตของดาว (STScI/NASA) จดุ แดงใหญ (The Great Red Spot) จดุ แดงใหญท ป่ี รากฏบรเิ วณซีกใตข องดาวพฤหัสบดี เกิดขนึ้ มาแลวกวา 300 ป เปนจุดศูนยกลางของพายุหมุนอันมหมึ า ทีม่ ขี นาดใหญก วา โลกถึงสองเทา (26,000 กิโลเมตร) สขี องพายุนน้ั ขึน้ อยูก บั ระดบั ความสงู ถา เปน พายรุ ะดบั ตํา่ จะเห็นเปนสนี ํ้า เงิน สงู ขึน้ มาจะเปน สีสม เขม สขี าว และท่ีระดับสูงสุดจะเห็นเปน สแี ดง นอกจากนีส้ ขี องพายยุ ังบงบอกถึงองคป ระกอบทางเคมีท่ี แตกตา งกันในช้นั บรรยากาศของดาวพฤหัสบดีดวย lesson-solarsystem.doc ภาพขยายจุดแดงใหญ (NASA/JPL) 7/15/2004 - 28 - Busaba Kramer

วงแหวนของดาวพฤหสั บดี นักดาราศาสตรในทมี งานของยานอวกาศวอยเอเจอร 1 คนพบวา ดาวพฤหัสบดมี วี งแหวนเชน เดยี วกบั ดาวเสาร แตมี ขนาดเล็กและบางกวามาก และไมส วางมากนกั อาจเปนเพราะเศษหนิ และฝุนในวงแหวนมขี นาดเล็กมากและไมม นี ้ําแข็งเปน สวนประกอบทาํ ใหสะทอ นแสงอาทติ ยไ ดไ มด ี ภาพวงแหวนของดาวพฤหัสบดี (NASA/JPL) ดวงจนั ทรบริวารหลกั ของดาวพฤหัสบดี ภาพถายเปรยี บขนาดของจดุ แดงใหญและดวงจันทรบ รวิ ารหลกั (จากบนลงลาง - ไอโอ ยุโรปา แกนมี ดี และคลั ลิสโต) จากยานอวกาศวอยเอเจอร (NASA/JPL) lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 - 29 -

ดาวพฤหสั บดมี ีดวงจันทรบรวิ ารท้งั หมด 39 ดวง แตมเี พยี ง 4 ดวงที่ใหญพ อทจ่ี ะสังเกตไดด ว ยกลอ งดูดาวขนาดเลก็ หรือ ดว ยกลองสองตา ไดแ ก ไอโอ ยุโรปา คัลลสิ โต และแกนนีมีด กาลิเลโอเปนผคู น พบดวงจันทร 4 ดวงนี้จึง เรยี กวา ดวงจนั ทรข อง กาลิเลโอ (Gallilean Satellites) 1) ไอโอ (Io) พื้นผิวของดวงจันทรไอโอมีอายุนอ ยมากและมหี ลมุ อุกกาบาตอยูไมม ากนกั ซงึ่ แตกตางจากดวงจนั ทร บริวารดวงอ่ืนๆ ไอโอเปน ดวงจนั ทรด วงเดียวทพ่ี บวา มีภูเขาไฟทกี่ าํ ลังคุกรุน อยู ขอ มลู จากยานกาลิเลโอบงชี้ วา ไอโอมแี กนเปนเหล็ก (อาจมสี ว นผสมของเหลก็ ซัลไฟดปนอยดู ว ย) มีรศั มีอยางนอ ย 900 ก.ม. 2) ยโุ รปา (Europa) ดวงจนั ทรย ุโรปามีพน้ื ผิวทม่ี ีอายุนอ ยและมหี ลุมอกุ กาบาตนอ ยเชน เดยี วกับไอโอ แตม ลี กั ษณะท่ี แตกตา งออกไปคือ มพี น้ื ผิวท่เี ปนนํ้าแข็ง คลา ยกับทะเลนํ้าแข็งบนโลก ดังนน้ั จึงสันนษิ ฐานวานา จะมีนา้ํ ทีเ่ ปน ของเหลวอยภู ายใตเ ปลอื กนํา้ แขง็ น้ี พบวามีเสน สายสคี ลํา้ กระจายอยูเปนทางบนพน้ื ผวิ ที่เปนน้าํ แข็ง คาดวา เกิดจากการระเบิดของภูเขาไฟ หรอื น้ําพรุ อน นาํ เอาแรธาตตุ างๆ ข้นึ มาสูผ ิว 3) แกนมี ีด (Ganymede) แกนีมีดเปนดวงจันทรบรวิ ารท่ใี หญทสี่ ุดในระบบสรุ ยิ ะ มีขนาดใหญก วา ดาวพธุ แตม มี วลเพียง ครง่ึ หนึ่งของดาวพธุ พ้ืนผิวของแกนนมี ดี มีลักษณะภูมิประเทศสองแบบ คอื บริเวณท่ีมีอายุมากจะมีสีคล้ําและ เต็มไปดวยหลมุ อกุ กาบาต สวนบริเวณท่ีมีอายุนอยจะมสี ีจางกวาและเต็มไปดว ยแนวสันและรองซ่ึงเกดิ จาก การเคลอื่ นตวั ของเปลอื ก 4) คัลลิสโต (Callisto) ดวงจนั ทรค ลั ลิสโตมีขนาดเล็กกวา ดาวพธุ เล็กนอย แตม ีมวลเพียง 1 ใน 3 ของดาวพุธ มีโครงสรา ง ภายในท่ีประกอบดวยนํา้ แข็ง 40% และหินปนน้าํ แข็ง 60% พน้ื ผิวเกือบทั้งหมดของคัลลิสโตเตม็ ไปดวยหลุม อกุ กาบาตขนาดใหญและเล็กอยูม ากมาย คัลลิสโตเปนดวงจนั ทรท่มี ีพ้นื ผวิ ท่มี อี ายเุ กาแกทสี่ ุดและมีหลมุ อกุ กาบาตมากท่สี ุดในระบบสรุ ิยะ พนื้ ผวิ ของมนั เปล่ียนไปนอยมาก นับต้งั แตการปะทะกับหมูอ ุกกาบาต เมอ่ื ในยคุ กอกาํ เนิดระบบสุริยะ เมอื่ 4 พนั ลา นปม าแลว ภาพถา ยพืน้ ผิวดวงจนั ทรบริวารหลกั จากยานอวกาศกาลิเลโอ NASA/JPL lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 - 30 -

ดาวพฤหสั บดีมีดวงจันทรบรวิ ารชัน้ ในอีก 4 ดวง คอื อมัลเทยี (Amalthea) เทเบ (Thebe) เมทสิ (Metis) และอดราสเทีย (Adrastea) ท่โี คจรในระนาบและทศิ ทางเดียวกบั ทิศทางการหมนุ รอบตวั เองของดาวพฤหัสบดี เชน เดียวกับดวงจันทรของกาลิเลโอ ทง้ั สี่ดวงและวงแหวนของดาวพฤหสั บดี ในขณะที่ดวงจันทรอ่นื ๆ ทเี่ หลืออีก 31 ดวงมวี งโคจรทแ่ี ตกตา งกนั ไป ซงึ่ สนั นิษฐานวา พวกมันอาจเปน อุกกาบาตท่ถี ูกแรงโนม ถว งของดาวพฤหัสบดี ดงึ ดดู มาใหโ คจรรอบ ภาพถา ยดวงจันทรบ ริวารชัน้ ในและขนาดเปรียบเทยี บ จากยานอวกาศกาลิเลโอ (บน) และแบบจาํ ลอง (ลา ง) (NASA/JPL) ดาวหางชูเมกเกอร-เลวี 9 พุง ชนดาวพฤหสั บดี ภาพถายจากกลองโทรทรรศนอวกาศฮบั เบลิ แสดงวิวัฒนาการของพนื้ ผิวดาวพฤหัสบดี หลงั จากการพุงเขา ชนของชิ้นสวน G เปนเวลา 5 นาที 1.5 ช่ัวโมง 1.3 และ 5 วันตามลําดบั จากลางขนึ้ บน (Evans, Trauger, Hammel & HST Comet Science Team/NASA) lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 - 31 -

ในป พ.ศ. 2537 มีเหตุการณท่ีสาํ คัญเกดิ ขึน้ คือ การทด่ี าวหางชเู มกเกอร-เลวี 9 (Shoemaker-Levy 9) โคจรเขา มาใน ระบบสุรยิ ะ ดวยอิทธิพลของแรงโนม ถว งอันมหาศาลของดาวพฤหสั บดที ําใหด าวหางแตกเปน เสีย่ งๆ จาํ นวน 23 ชน้ิ กระจายเปน ระยะทางประมาณ 1 ลานกิโลเมตร (ประมาณ 3 เทา ของระยะหา งระหวางโลกและดวงจันทร) ชิ้นสว นของดาวหางทยอยพุงเขา ชนดาวพฤหัสบดีในชวงเวลา 6 วัน ผลจากการชนปรากฏใหเ ห็นเปน จดุ ดําในชนั้ บรรยากาศ ซึ่งเปน รอ งรอยของการระเบดิ อยา งมหมึ า ภาพท่ีเหน็ เปน ภาพถายจากกลอ งโทรทรรศนอวกาศฮับเบิล ของบริเวณท่ีถูกชิน้ สว น G ที่มีขนาดใหญทส่ี ุดของดาวหางชน บรเิ วณสดี ําเปน กา ซ มีเทน บริเวณท่ีสวา งกวาเกดิ จากแสงอาทติ ยสะทอนกาซอื่นๆ ท่ถี ูกแรงระเบิดสงขน้ึ มาเหนือช้นั เมฆมเี ทน ภาพรอยท่ีปรากฏบนดาวพฤหัสบดีหลงั จากการชนของดาวหาง (Hammel & HST Comet Science Team/NASA) ภาพดาวหางชเู มกเกอร-เลวี 9 จากกลอ งโทรทรรศนอ วกาศฮับเบลิ (Weaver & Smith,STScI/NASA) ภาพถายในชว งคล่ืนอินฟราเรด จากกลองโทรทรรศนขนาดเสนผา นศนู ยก ลาง 3.5 เมตร หอดดู าวคาลาร อลั โท (Calar Alto Observatory) ประเทศสเปน การชนของชนิ้ สวน Q ในวันท่ี 20 ก.ค. พ.ศ. 2537 แสดงใหเ หน็ ถึงพลงั งานความรอ นมหาศาลทีเ่ กิดจากการชน (Herbst, MPIA, Germany) lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 - 32 -

ภาพเปรยี บเทียบถา ชน้ิ สวน G ของดาวหางชูเมกเกอร-เลวี 9 ชนโลก ภาพจาํ ลองแสดงภาพของโลก ท่ีเวลา 1 ชวั่ โมง 45 นาทหี ลังจากถกู ช้นิ สวน G ของดาวหางชเู มกเกอร-เลวี 9 พุงเขา ชนท่เี มืองดีทรอยท ทางซกี ตะวันออกเฉยี งเหนือของประเทศสหรัฐอเมริกา จะเหน็ วาฝุนและควันทีเ่ กดิ จากการชนแผก ระจายไป เปน วงกวาง พาดผา นมหาสมทุ รแอตแลนติกไปยังทวีปยุโรป บางสวนกระจายไปปกคลมุ อยูทางตอนใตข องทวีปอเมริกาใตแ ละ ทวปี แอฟรกิ า ทําใหเ ราสามารถจนิ ตนาการไดถึงความรุนแรงและผลท่ตี ามมาจากการชนของชนิ้ สวนดาวหางได ภาพจาํ ลองแสดงถงึ สภาพที่เกิดขึน้ กับโลก ถา ช้ินสวน G ของดาวหางชนโลกที่แผน ดินทางภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ของประเทศสหรฐั อเมริกา (Spencer, Lowell Observatory, Flagstaff, Arizona) lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 - 33 -

ดาวเสาร (Saturn) ภาพดาวเสารเ ต็มดวงจากยานอวกาศวอยเอเจอร NASA/JPL ดาวเสารอยูไกลจากดวงอาทติ ยเปนอันดับท่ี 6 มีปรมิ าตรมากกวาโลกถงึ 775 เทา ประกอบไปดว ยไฮโดรเจนและ ฮีเลยี มทีอ่ ยใู นรูปกาซและของเหลว มชี น้ั บรรยากาศทม่ี องเห็นเปน แถบคาดทล่ี ะตจิ ูดตางๆ ของตัวดาวและมสี ีแตกตางกนั ไป เนอ่ื งมาจากการแปรปรวนของลมในทศิ ทางท่ีสวนกนั ดาวเสารโคจรรอบดวงอาทติ ยใ ชเ วลาเทากบั 29.5 ปบ นโลก แตดาวเสาร หมนุ รอบตัวเองดวยความเรว็ ที่สงู มาก เวลาที่ใชใ นการหมุนรอบตัวเอง 10 ชวั่ โมง 40 นาที จงึ ทาํ ใหม ีรูปรา งเปนทรงกลมแปน บรเิ วณเหนอื เสนศูนยส ูตรคลายกับดาวพฤหัสบดี ความเรว็ ลมท่เี สน ศูนยส ูตรสงู ถงึ 1,800 กิโลเมตรตอช่ัวโมง ดาวเสารมแี กน หมนุ ท่ีเอยี งทาํ มุม 26.73 องศากับระนาบโคจรรอบดวงอาทติ ย (ใกลเคียงกับแกนหมุนโลก) ดาวเสารมคี วามหนาแนนนอยกวาดาวเคราะหอ ่นื ๆ และมคี าความหนาแนน นอยกวา น้ํา ดาวเสารมวี งแหวนอยู ลอ มรอบเปนจํานวนมากมาย วงแหวนดาวเสารม ีลกั ษณะทซ่ี ับซอ นและสวยงามท่ีสดุ ในระบบสุรยิ ะ ถกู คน พบในสมัยศตวรรษที่ 17 เมอื่ มีการประดิษฐกลองดูดาวขน้ึ ใช รายละเอยี ดของดาวเสารสว นใหญไ ดม าจากขอ มลู จากการสาํ รวจของยานอวกาศวอยเอ เจอร 2 พบวาในบริเวณวงแหวนดาวเสารม แี ถบฝนุ มดื คัน่ อยูหลายช้ัน ซงึ่ เรายังไมทราบทมี่ าของแถบฝนุ มืดเหลา นี้ โครงสรางดาวเสาร ภาพตดั ขวางแสดงโครงสรา งดาวเสาร (Calvin J. Hamilton) lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 - 34 -

แกนกลางของดาวเสารเปนหินแขง็ มเี สน ผา นศูนยก ลาง 30,000 กโิ ลเมตร ลอมรอบไปดว ยชนั้ ของเหลวทปี่ ระกอบไป ดวยนํา้ มีเธน และแอมโมเนีย แมนเทลิ ชั้นในประกอบดวยฮเี ล่ยี มและไฮโดรเจนเหลวท่มี สี มบัติเปน โลหะ แมนเทลิ ชนั้ นอก ประกอบดว ยไฮโดรเจนและฮเี ลียมในรูปของของเหลวและกาซ บรรยากาศดาวเสารประกอบไปดวยไฮโดรเจน 96.3% ฮเี ลียม 3.3% และธาตุอนื่ ๆ 0.4% ชน้ั นอกสุดของดาวเสาร ประกอบดว ยแอมโมเนีย ภาพดาวเสารใ นชวงคลนื่ อินฟราเรด ดว ยชดุ กลอ งถายภาพนิคมอส (NICMOS) แสดงใหเ หน็ ถึงความแตกตางขององคป ระกอบใน ชัน้ บรรยากาศ สนี ้าํ เงนิ แสดงถึงบริเวณทีเ่ ปนช้ันเมฆหลักท่ีเต็มไปดว ยผลกึ นาแขง็ แอมโมเนยี สีเขียวและเหลอื งแสดงถงึ กลุมเมฆ ท่ลี อยอยเู หนอื ชัน้ เมฆหลัก สีเขยี วแสดงบรเิ วณทีม่ ีเมฆอยูเบาบาง สเี หลอื งแสดงวา มเี มฆอยูหนาแนน กวา สีสมและแดงแสดงถงึ กลมุ เมฆชนั้ สูงสุดทเ่ี กิดจากบริเวณทม่ี ีพายุแปรปรวน คือบริเวณรอบเสนศนู ยสูตร (Erich Karkoschka (University of Arizona)/NASA) แสงเหนอื -แสงใต จากภาพถายจากกลองโทรทรรศนอ วกาศฮับเบิล ในชว งคลื่นอัลตราไวโอเลต แสดงใหเ ห็นถึงแสงเหนอื แสงใตท ขี่ ั้วเหนอื และใตข องดาว เชนเดียวกับแสงเหนอื แสงใตบนดาวพฤหสั เกดิ จากอนภุ าคท่ีมีพลงั งานสูงถกู อิทธพิ ลของสนามแมเ หล็กของดาว พฤหัสบดกี ักไวใหอ ยบู รเิ วณขั้วแมเ หล็กของดาว และเคล่ือนท่ีหมนุ รอบไปกบั ดาว จึงเปลง แสงออกมาตลอดเวลา ภาพดาวเสารแ ละแสงเหนือแสงใตท่ขี ัว้ ทั้งสอง ถายจากกลอ งโทรทรรศนอวกาศฮบั เบิล ในชวงคล่ืนอลั ตราไวโอเลต Trauger, JPL/NASA lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 - 35 -

วงแหวนของดาวเสาร วงแหวนของดาวเคราะหแ ตละดวงน้ันมลี ักษณะที่แตกตางกนั ไป แตลว นประกอบไปดวยชิน้ สว นทเ่ี ปนกอนหนิ และ น้าํ แขง็ ขนาดของช้นิ สวนนัน้ อาจมขี นาดเลก็ เทา เมลด็ องนุ หรอื อาจมขี นาดใหญเทาหนิ กอ นโตก็ได เรายังไมร ูแนชัดถึงที่มาของ ช้ินสว นเหลานี้ อาจเปน เศษที่เหลอื จากการเกิดดาวเคราะห หรอื อาจเปนดวงจนั ทรบริวารทแี่ ตกสลายลงก็ได ดาวเสารม ีวงแหวนที่ใหญ ซบั ซอนและสวยงาม สามารถสะทอนแสงจากดวงอาทิตยไดดีกวา วงแหวนของดาวเคราะห อื่นๆ ทาํ ใหเรารวู า วงแหวนของดาวเสารนั้นนา จะประกอบไปดว ยนํ้าแขง็ มากกวา ทจ่ี ะเปนเศษหิน วงแหวนดาวเสารม คี วามกวา ง หลายพันกิโลเมตร เราสงั เกตวงแหวนดาวเสารด ว ยกลองโทรทรรศนจากพื้นโลก เราจะมองเห็นเพียงวงแหวนชนั้ A และ B ชองวา งระหวา งวงแหวนทง้ั สองช้นั นเี้ รียกวา ชองแคบแคสสนิ ิ (Cassini division) แตจ ากภาพถา ยวงแหวนดาวเสารจากยานวอย เอเจอรพบวา ในแถบวงแหวนช้ัน A มชี อ งวางท่ีเรียกวา ชอ งวา งเอนเค (Encke gap) นอกจากน้ียังพบวา มีวงแหวนชน้ั นอก (ชน้ั F, G และ E) และแถบวงแหวนชัน้ ใน (ชน้ั C และ D) ท่บี างและไมส วางมากนกั ภาพขยายแสดงกลมุ วงแหวนชั้น A (วงนอกสุด) ชองแคบแคสสนิ ิ วงแหวนชนั้ B (สีเขยี วและสีสม ) และวงแหวนชน้ั C (สนี า เงิน) NASA/JPL ภาพขยายแสดงวงแหวนชน้ั ใน วงแหวนชั้น B (สเี หลอื ง) และวงแหวนชน้ั C (สีฟา) NASA/JPL lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 - 36 -

ดวงจนั ทรบ ริวารของดาวเสาร ดาวเสารม ดี วงจันทรบรวิ ารอยา งนอย 30 ดวง ดวงจันทรบ ริวารท่มี ขี นาดใหญทส่ี ดุ คือ ไททนั (Titan) ทมี่ ขี นาดใหญ กวา ดาวพุธ ไททนั มชี ้ันบรรยากาศทป่ี ระกอบไปดวยกา ซไนโตรเจนเปน สวนใหญ ซึ่งอาจมสี ภาพทคี่ ลายกบั โลกของเราในอดีต การศกึ ษาบรรยากาศของดาวไททันโดยละเอยี ดอาจทําใหเราทราบถงึ ความเปนมาของโลกไดดีขนึ้ ดวงจนั ทรบ ริวารทม่ี ขี นาดใหญรองลงไปจากไททนั ไดแก รี (Rhea) ดิโอนี (Dione) ไออาเพตุส (Iapetus) เททิส (Tethys) เอนเซลาดสุ (Enceladus) และมมิ าส (Mimas) ซ่ึงเปนท่นี าสังเกตวา ดวงจันทรเหลาน้ีมคี วามหนาแนน นอยกวา 1,400 กิโลกรมั ตอลูกบาศกเมตร ทาํ ใหเ ราสามารถสันนิษฐานไดว าดวงจนั ทรเหลานี้มีสวนประกอบสว นใหญเปน นํ้าแขง็ และมีหนิ ผสมอยู เพยี งเล็กนอย ภาพถายดวงจันทรไ ททนั (Titan) (NASA/JPL) ภาพถายชั้นบรรยากาศของดวงจนั ทรไททัน (Titan) (NASA/JPL) lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 - 37 -

ภาพถา ยดวงจันทรร ี (Rhea)(NASA/JPL) ภาพถายดวงจันทรดโิ อนี (Dione)(NASA/JPL) ภาพถา ยดวงจันทรไออาเพตุส (Iapetus)(NASA/JPL) lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 - 38 -

ภาพถา ยดวงจันทรเ ททิส (Tethys)(NASA/JPL) ภาพถายดวงจันทรเอนเซลาดุส (Enceladus)(NASA/JPL) lesson-solarsystem.doc ภาพถายดวงจันทรม มิ าส (Mimas)(NASA/JPL) 7/15/2004 - 39 - Busaba Kramer

ภาพถายดวงจันทรบริวารดวงอน่ื ๆ ของดาวเสาร จากยานวอยเอเจอร 1 และ 2 (NASA/JPL) lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 - 40 -

ดาวยเู รนสั ดาวยเู รนัสอยูไกลจากดวงอาทิตยเปนอันดับท่ี 7 ดาวยเู รนัสถกู คนพบโดยนกั ดาราศาสตรชอ่ื วิลเล่ียม เฮอรเ ชล เม่อื ป พ.ศ. 2325 จากการสังเกตจากกลองดูดาวท่ีเขาสรา งขน้ึ เองและใชสาํ รวจทองฟา ในยามคํา่ คนื ในตอนแรกเขาคดิ วา เปนดาวหาง แตห ลังจากไดติดตามบันทึกตําแหนง จึงพบวา เปนดาวเคราะหด วงใหมท ีโ่ คจรอยูท่รี ะยะหา งประมาณ 19.5 AU ทาํ ใหน กั ดารา ศาสตรในสมยั นั้นไดจนิ ตนาการใหมว า ระบบสรุ ิยะเราใหญขนึ้ เปนสองเทา (เดิมคดิ วา ระบบสุริยะมขี นาดใหญเ ทากบั วงโคจรของดาว เสาร ประมาณ 9 AU) ดาวยูเรนัสโคจรรอบดวงอาทิตย โดยมแี กนหมนุ ที่เอียงเกอื บขนานกบั ระนาบทางโคจรรอบดวงอาทติ ย ดงั นัน้ เม่อื ดาว ยูเรนสั หมุนรอบตวั เอง แสงอาทิตยจะเรม่ิ ฉายผานขั้วหนึง่ และผานไปยังบริเวณศูนยสตู ร และไปยงั ขวั้ ตรงกนั ขา ม เปน สาเหตุหนึง่ ท่ีทําใหอณุ หภูมิบนดาวยเู รนัสไมแตกตางกันมากนกั อยา งไรกต็ ามดวยการทดี่ าวยเู รนสั ใชเ วลาโคจรรอบดวงอาทิตยน านถึง 84 ป ทาํ ใหแตล ะฤดกู าลยาวนานถึงกวา 20 ป โครงสราง แกนกลางของดาวยเู รนัสเปนหนิ แขง็ มขี นาดเสนผา นศนู ยกลาง 17,000 กโิ ลเมตร ลอมรอบไปดวยช้นั ของเหลวที่ ประกอบไปดวยน้ําและแอมโมเนีย แมนเทลิ ชั้นนอกประกอบดว ยฮเี ลยี มเหลวและไฮโดรเจนเหลวท่ผี สมกลมกลืนกบั ชัน้ บรรยากาศ บรรยากาศของดาวยเู รนัสประกอบดว ยไฮโดรเจน 83% ฮีเลยี ม 15% และมเี ทน 2% ชั้นเมฆที่ระดบั ความดัน บรรยากาศ 1 บารมอี ุณหภูมิประมาณ -197 องศาเซลเซยี ส กา ซมเี ทนดูดกลืนแสงสแี ดงและสะทอนแสงสีนํ้าเงนิ ดาวยเู รนสั จึง ปรากฏเปนสนี ํ้าเงนิ อมเขียวนวล (ภาพถา ยจากยานวอยเอเจอร ในป พ.ศ. 2529 แทบจะมองไมเ หน็ การแปรปรวนของช้ัน บรรยากาศ แตจ ากภาพถายจากกลองโทรทรรศนอ วกาศฮับเบิลในป พ.ศ. 2541 ปรากฏใหเ ห็นถงึ แถบสีตางๆ ตามระดับความ แตกตา งของละตจิ ูด และยงั ปรากฏพายุหลายลูกในบรเิ วณซีกเหนอื ของดาว มีบรเิ วณกวา งกวา ง 1000 กโิ ลเมตร และสงั เกตในชว ง คล่ืนอนิ ฟราเรดไดดีกวา ชว งคล่ืนแสง ภาพตัดขวางแสดงโครงสรางภายในของดาวยเู รนัส (Calvin J. Hamilton) lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 - 41 -

วงแหวน วงแหวนของดาวยูเรนสั ถกู คน พบโดยบังเอญิ เมื่อป พ.ศ. 2520 จํานวน 6 วง โดยทีมนกั ดาราศาสตรทหี่ อดดู าวไคเปอร แอรบอรน ขององคก ารนาซา ในขณะทเ่ี ฝา สังเกตปรากฏการณที่ดาวยเู รนัสโคจรผานหนา ดาวฤกษด วงหนึ่ง เพอ่ื วดั ขนาดเสนผาน ศนู ยก ลางของดาวยเู รนสั อยา งละเอียด และตอ มาในป 2529 หอดูดาวเพริ ทและยานวอยเอเจอรไ ดคน พบอีก 5 วง รวมเปน 11 วง วงแหวนของดาวยเู รนัสน้ันไมสวางมากนกั เชนเดยี วกบั วงแหวนของดาวพฤหสั บดแี ละเนปจนู ภาพดาวยูเรนสั เต็มดวงและวงแหวน จากกลอ งโทรทรรศนอ วกาศฮับเบิล ปรากฏพายบุ ริเวณขั้วเหนือของดาว (Erich Karkoschka (University of Arizona)/NASA) ดวงจนั ทรบรวิ ารของดาวยูเรนสั ดาวยเู รนัสมดี วงจนั ทรบ รวิ ารรวมท้งั สิ้น 21 ดวง ชื่อของดวงจนั ทรบ ริวารมิไดถกู ต้ังตามเทพนิยายกรกี แตตัง้ ตามตัว ละครในบทประพันธข องเชค็ สเปยรและอเลก็ ซานเดอร โปป มริ ันดา (Miranda) เปนดวงจันทรทีน่ า สนใจมากท่สี ุดของดาวยเู รนสั ดังจะเหน็ ไดในภาพท่ีถายจากยานอวกาศวอยเอ เจอร 2 ในป พ.ศ. 2529 ดวงจันทรม ริ นั ดามเี สน ผา นศูนยกลาง 484 กโิ ลเมตร (ประมาณหน่ึงในเจด็ ของดวงจนั ทรข องโลก) มี ขนาดวงโคจรรอบดาวยเู รนัส 129,800 กิโลเมตร พ้นื ผิวที่ขรุขระของดวงจันทรม ิรนั ดาไมไ ดเปนเพยี งหลมุ อุกกาบาตเทานน้ั แต เตม็ ไปดวยภเู ขาและหุบเหวตางๆ ลักษณะท้งั หมดนีช้ ้ีใหเ หน็ วา พืน้ ผวิ ดวงจนั ทรมิรันดา มีการเคล่อื นตัวคลา ยกบั การเคลอื่ นตัวของ เปลือกโลก นอกจากนย้ี ังมดี วงจนั ทรบ รวิ ารหลักท่สี าํ คญั อีกสด่ี วงคือ แอเรยี ล (Ariel) อัมเบรียล (Umbriel) ไททาเนีย (Titania)และ โอเบรอน (Oberon) ภาพดวงจันทรบริวารหลกั แสดงลักษณะพน้ื ผิวและขนาดเปรียบเทียบ (NASA/JPL) lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 - 42 -

ภาพถายดวงจันทรมริ นั ดา (Miranda) (NASA/JPL) ภาพถายดวงจันทรแ อเรยี ล (Ariel)(NASA/JPL) ภาพถา ยดวงจันทรอ ัมเบรยี ล (Umbriel)(NASA/JPL) lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 - 43 -

ภาพถายดวงจันทรไททาเนีย (Titania)(NASA/JPL) ภาพถา ยดวงจันทรโอเบรอน (Oberon)(NASA/JPL) lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 - 44 -

ดาวเนปจนู ภาพดาวเนปจนู เตม็ ดวง ภาพถายจากยานวอยเอเจอร แสดงใหเห็นลกั ษณะเมฆที่ปกคลมุ จุดดาํ ใหญ (อยกู ลางภาพ) และพายุลกู เลก็ (มุมลา งซา ย) บริเวณสขี าวเปนเมฆชนั้ สูงท่ปี ระกอบไปดวยเกล็ดนาํ้ แข็งมีเทน (NASA/JPL) ดาวเนปจูนอยไู กลจากดวงอาทิตยเปน ลาํ ดับท่ี 8 ถกู คนพบหลังจากการคนพบดาวยเู รนัส ดวยการที่พบวา วงโคจรของ ดาวยูเรนัสไมไดเ ปนไปตามกฏแรงโนม ถวงของนิวตนั จึงมกี ารสันนษิ ฐานวา ตองมดี าวเคราะหอ กี ดวงท่ีรบกวนการโคจรของดาว ยเู รนัส และนักดาราศาสตรไ ดใ ชค ณติ ศาสตรคํานวณตําแหนง และวงโคจรของดาวเนปจนู และสังเกตพบในป พ.ศ. 2389 และในป เดยี วกนั กค็ น พบดวงจันทรบริวารทรทิ นั ดาวเนปจนู เปน ดาวเคราะหสีนา้ํ เงินเชนเดียวกับดาวยูเรนัส เพราะในชนั้ บรรยากาศมีกาซมเี ทนเปนองคประกอบอยู ดว ย ดาวเนปจนู มีเสน ผา นศูนยก ลางประมาณ 4 เทา ของเสนผา นศูนยก ลางโลก หรอื มีปริมาตรเปน 60 เทา ของโลก มวี งแหวน ลอ มรอบจํานวน 4 วงและมีดวงจนั ทรบรวิ ารทั้งส้นิ 8 ดวง วงโคจรของดาวเนปจนู มรี ะยะเวลายาวนานถึง 165 ปบนโลก ดงั นน้ั ฤดูกาลบนดาวเนปจนู จะยาวนานถึง 41 ป แตดาว เนปจนู หมุนรอบตวั เองเร็วกวาโลกมากโดยใชเวลาเพียง 16 ชวั่ โมงเศษ ประกอบกับแกนหมนุ ทีเ่ อยี ง 29 องศา ทาํ ใหเกิดการ แปรปรวนของชน้ั บรรยากาศอยางรุนแรง มีความเร็วลมสูงกวาบนดาวพฤหัสถึง 3 เทา ภาพถา ยดาวเนปจูนทั้งสองดานของดาว จากกลองโทรทรรศนอวกาศฮับเบลิ เมอื่ วนั ท่ี 13 สิงหาคม พ.ศ. 2539 ปรากฏเปนแถบสตี า งๆ สนี าํ้ เงินเปนเมฆมเี ทนช้ันสงู สีเหลอื งและสแี ดงแสดงถึงกลมุ เมฆทอ่ี ยูในชน้ั สูงสุด (ปรากฏอยดู านบนของรปู ) แถบสีเขียวบริเวณรอบขว้ั ใตของดาวเปนบริเวณที่ดดู กลนื แสงสนี ํา้ เงินไดด ี ซึ่งคาดวาจะมีองคป ระกอบทางเคมอี น่ื ๆ (Lawrence Sromovsky, University of Wisconsin-Madison/STScI/NASA) lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 - 45 -

โครงสราง ดาวเนปจูนมีแกนกลางทเี่ ปน หินแข็ง มเี สนผานศนู ยกลาง 14,000 กโิ ลเมตร ชน้ั แมนเทลิ ช้นั ในเปนของเหลว ประกอบดวยน้าํ และแอมโมเนีย เกลด็ นํ้าแข็งในชนั้ แมนเทิลนี้ผสมผสานเขา กบั ชนั้ บรรยากาศของดาวเนปจูนทอ่ี ยถู ดั ออกไป วง แหวนของดาวเนปจนู พงึ่ ถกู คนพบโดยยานวอยเอเจอร 2 เชน กัน เราจึงไมทราบวามันประกอบดวยอะไรบา ง แตน กั ดาราศาสตรค ดิ วานา จะเปน พวกเศษหินและน้ําแขง็ ภาพตัดขวางแสดงโครงสรา งภายใน (Calvin J. Hamilton) ชน้ั บรรยากาศ ประกอบดว ยไฮโดรเจน 79% ฮีเลียม 18% และมเี ทน 3% ชนั้ เมฆท่ีระดบั ความดนั บรรยากาศ 1 บาร มอี ณุ หภมู ิ –200 องศาเซลเซียส ภาพถา ยดาวเนปจูนจากกลองโทรทรรศนอ วกาศฮับเบิลแสดงใหเ ห็นถงึ แถบสีตา งๆ คลา ยกบั ทพี่ บบนดาว พฤหัสบดี บรเิ วณแถบสอี อนแสดงใหเ ห็นถึงบรเิ วณที่เมฆถูกยกขึน้ ไปทีร่ ะดับสูง บรเิ วณแถบสีเขม เปนบริเวณที่เมฆกาํ ลังจมลงสู เบื้องลา ง จุดดําใหญ (Great Dark Spot) ภาพถายดาวเนปจนู จากยานวอยเอเจอรใ นป พ.ศ. 2532 ปรากฏเปน วงรสี นี ้ําเงินเขม ท่บี รเิ วณกลางดวงใกลกับเสนศูนย สตู รดาว เรียกวา จดุ ดาํ ใหญ (Great Dark Spot) เปนบรเิ วณที่มพี ายุขนาดใหญพ อๆ กับขนาดของโลก เคลื่อนตัวดวยความเร็วสูง ถงึ 1200 กิโลเมตรตอ ช่ัวโมง จากภาพถา ยดาวเนปจูนจากกลอ งโทรทรรศนอวกาศฮับเบิลในป พ.ศ. 2537 ไมป รากฏจุดดาํ ใหญน ้ี ใหเห็น แตป รากฏจดุ เขมใหม ทบี่ ริเวณข้ัวดาว แสดงถึงการเปลย่ี นแปลงอยางรวดเรว็ ในช้ันบรรยากาศของดาวเนปจนู วงแหวนของดาวเนปจูน ดาวเนปจูนมีวงแหวนอยู 4 วง ลว นมีขนาดที่แตกตา งกันและมลี กั ษณะทไี่ มสมบรู ณ จากภาพถา ยจากยานวอยเอเจอร แสดงใหเห็นถงึ วงแหวนหลักสองวง และวงแหวนบางๆ อยูระหวางวงแหวนท้งั สอง ช้ินสว นในวงแหวนมขี นาดตั้งแต ระดับ ไมครอน (1 ไมโครเมตร = 10-6 เมตร) จนถึงขนาด 10 เมตร ภาพถา ยวงแหวนของดาวเนปจนู จากยานวอยเอเจอร แถบมดื กลางภาพเปน การบงั แสงจากตวั ดาวเพ่อื ท่จี ะสามารถสงั เกตเห็น รายละเอียดของวงแหวนไดดีขนึ้ (NASA) lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 - 46 -

ดวงจันทรบริวารของดาวเนปจูน ดาวเนปจนู มดี วงจันทรบ รวิ ารอยู 8 ดวง ภาพถายจากยานวอยเอเจอร แสดงใหเหน็ ลกั ษณะของดวงจนั ทรบริวารหลกั คือ ดวงจนั ทรทริทัน (Triton) ที่มขี นาดใหญทสี่ ุดในบรรดาบริวารทง้ั 8 ดวง ทริทนั โคจรรอบดาวเนปจูนสวนทางกับทิศทางการ หมนุ รอบตัวเองของดาวเนปจนู และคาดวามันจะโคจรเขา ใกลด าวเนปจนู ขึน้ เรือ่ ยๆ และพุงเขา ชนดาวเนปจนู ในทสี่ ุด (ใชเวลา ประมาณ 10 ถงึ 100 ลา นป) เมอ่ื ถงึ วนั นนั้ ดาวเนปจนู อาจมีวงแหวนทใ่ี หญและสวยงามมากกวาดาวเสารอ ีกดว ย ทรทิ ันมอี ณุ ภูมิ ทพี่ นื้ ผวิ ประมาณ –235 องศาเซลเซียส ถงึ แมว า จะมอี ุณภมู ิตา่ํ ถึงเพียงน้ี ยงั พบไนโตรเจนในรูปของกา ซพุงออกจากบริเวณขว้ั ใต ของดาว ทงั้ นี้อาจเนอ่ื งมาจากไนโตรเจนแขง็ ท่ีปกคลุมอยบู รเิ วณขั้วใตข องดาวเกดิ การระเหดิ เมื่อมอี ณุ หภมู ิสูงข้ึนในฤดูรอน แสดงภาพดวงจันทรบรวิ ารหลกั ทริทัน(Triton) (NASA/JPL) lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 - 47 -

ดาวพลูโต ภาพดาวพลูโตทง้ั สองดา นของดาว จากภาพขยายแสดงใหเห็นแสงสวางบริเวณข้ัวเหนอื และใตข องดาว สนั นษิ ฐานวา อาจเปน ขวั้ นํ้าแขง็ บริเวณสวางอนื่ ๆ ทีอ่ ยใู กลเสน ศนู ยสูตรดาว อาจเปนบริเวณแองท่ีราบท่ีสามารถสะทอนแสงไดด ี (Stern(Southwest Research Institute), Buie(Lowell Observatory,NASA/ESA) ถัดจากดาวเนปจนู ออกไปเปน ดาวเคราะหดวงท่ีอยไู กลสุดจากดวงอาทิตยคอื ดาวพลูโต โคจรรอบดวงอาทิตยท่ีระยะหา ง โดยเฉล่ีย 5,900 ลานกิโลเมตร ซึ่งประมาณ 40 เทา ของระยะทางเฉลี่ยระหวางโลกกับดวงอาทิตย หรอื เทา กับ 40 AU (Astronomical Units) ณ จุดทีไ่ กลจากดวงอาทิตยมากเพียงนี้ ดาวพลโู ตจะตอ งมอี ณุ หภูมิท่ีเยอื กเย็นและอยูในความมืดเปน เวลา ที่ยาวนาน ดาวพลโู ตใชเวลาถงึ 248 ปในการโคจรรอบดวงอาทิตย ดาวพลูโตน้นั มีขนาดเล็กกวาดวงจันทรบริวารหลกั ของดาว เคราะหด วงอื่นๆ ในระบบสุรยิ ะ นักดาราศาสตรคนพบดาวพลโู ตเมื่อป พ.ศ. 2473 หลังจากท่ีมกี ารใชวิธคี าํ นวณหาคาการเบีย่ งเบนของวงโคจรดาว ยเู รนัสและดาวเนปจนู ในการคน หาดาวเคราะห แตด าวพลูโตน้ันมมี วลไมม ากพอทีจ่ ะเบี่ยงเบนวงโคจรของดาวเคราะหท ั้งสองดวง ได นกั ดาราศาสตรจ งึ เชอื่ วายงั มดี าวเคราะหดวงอนื่ อยอู ีกในระบบสรุ ิยะ และใหชื่อวาเปน ดาวเคราะหเอ็กซ (Planet-X) แตจวบ จนปจจบุ ันกย็ งั ไมม ีการคนพบดาวเคราะหด งั กลาว เมื่อไมน านมานีม้ กี ารวัดคามวลของดาวเคราะหทั้งสามอยางละเอียดและทาํ การคาํ นวณคา การเบ่ยี งเบนของวงโคจรของดาวเนปจนู และดาวยเู รนสั ใหม พบวา เกิดจากการรบกวนของวัตถุอืน่ ท่อี ยูนอกวงโคจร ของดาวเนปจูนและมีขนาดใกลเคยี งกับดาวพลูโต เรียกวา พลตู ิโน (Plutino) ซ่งึ เปน วัตถทุ ่ีอยใู นบรเิ วณรอบนอกของระบบสุริยะที่ เรียกวา แถบไคเปอร (Kuiper Belt) โครงสรางของดาวพลูโต ท่จี รงิ แลว เราไมทราบแนน อนวาดาวพลโู ตนนั้ มีอะไรเปนองคป ระกอบ แตจ ากการคํานวณความหนาแนน ของดาวพลูโต จากปริมาตรและมวลของมัน นักดาราศาสตรม ีความเหน็ วา มีแกนเปนหนิ และมีชนั้ แมนเทิลท่ีเปนนาํ้ แขง็ จากการศกึ ษาเสน สเปกตรัมของแสงอาทิตยท ่ีสะทอนจากพ้นื ผวิ ของดาวพลูโต นักดาราศาสตรสันนิษฐานวา ดาวพลโู ตมีพื้นผวิ ทีเ่ ปน น้าํ แข็งและมีเทน บรรยากาศของดาวพลูโตประกอบไปดว ยไนโตรเจน คารบ อนมอนอกไซดแ ละมเี ทน ชน้ั บรรยากาศของดาวพลโู ตนนั้ เบา บางมากและจะเกดิ ข้นึ ในขณะท่ีอยูใกลด วงอาทิตยม ากทส่ี ดุ เทา นนั้ เมอ่ื ดาวพลโู ตเคลอื่ นที่ไกลออกไป อุณหภูมิท่พี นื้ ผิวจะลดลง อยา งมาก ทําใหช ั้นบรรยากาศแข็งตวั ดาวพลโู ตมอี ณุ หภูมพิ ื้นผิวโดยเฉล่ยี ประมาณ –220 องศาเซลเซยี ส lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 - 48 -

แผนทแี่ สดงพ้ืนผวิ ของดาวพลโู ต (Stern(Southwest Research Institute), Buie(Lowell Observatory,NASA/ESA) วัตถุพลูตโิ น บริเวณท่อี ยูถัดออกไปจากวงโคจรของดาวพลูโต เรียกวา แถบไคเปอร ทเี่ ต็มไปดว ยเศษหนิ และวตั ถุตางๆ มากมาย นักดาราศาสตรบางทา นมคี วามเหน็ วา ดาวพลโู ตไมใชด าวเคราะห แตเ ปน กอนหนิ ที่มาจากบรเิ วณดงั กลา ว เนื่องจากดาวพลโู ตมวี ง โคจรท่เี อยี งแตกตา งจากไปจากดาวเคราะหอนื่ ๆ มาก นอกจากนีด้ าวพลูโตยังมีคุณสมบัติท่ีคลายคลึงกับวตั ถพุ ลูติโนเหลาน้ีดว ย ดวงจันทรบ ริวารของดาวพลูโต ดาวพลูโตมีดวงจนั ทรบรวิ าร ที่มชี ่อื วา คารอน (Charon) โคจรอยทู ร่ี ะยะหางเพยี ง 19,640 กโิ ลเมตร เน่ืองจากดาว พลโู ตมีขนาดที่ใกลเคียงกับดวงจนั ทรค ารอนมาก นกั ดาราศาสตรจงึ ต้งั สมมตุ ฐิ านวานา จะเปน ระบบดาวเคราะหค ู เราไมสามารถ ตรวจสอบสมมุตฐิ านนไ้ี ดจนกวาจะมยี านอวกาศออกไปสํารวจยังดาวพลโู ต ภาพดาวพลโู ตกบั คารอนดวงจันทรบริวาร ถายจากกลอ งโทรทรรศนอวกาศฮับเบิล ที่ระยะไกลถงึ 4,400 ลานกโิ ลเมตร โดยสามารถเห็นดาวพลโู ตอยูแยกจากคารอนไดช ัดเจน คารอนมสี ที ่คี อ นไปทางนา้ํ เงนิ มากกวาดาวพลโู ตทําใหเราทราบวา พนื้ ผวิ ของดาวทง้ั สองอาจมลี กั ษณะและองคประกอบทแี่ ตกตา งกัน (Albrecht, ESA/ESO/NASA) lesson-solarsystem.doc Busaba Kramer 7/15/2004 - 49 -


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook