WAVE110i คมู่ ือการใชง้ าน : โปรดศกึ ษาค่มู ือน้ใี ห้เขา้ ใจ กอ่ นการใช-้ การขบั ขี่ 3 3 K58K T1 AP
คู่มือเลม่ นถ้ี ือเป็นส่วนหนึ่งของรถจกั รยานยนตแ์ ละควรจะเก็บไวก้ ับรถเม่ือขายต่อใหก้ บั ผใู้ ช้รถคนตอ่ ไป คมู่ ือเลม่ นป้ี ระกอบด้วยข้อมูลการผลติ ครัง้ ล่าสุด ทางบรษิ ัทฯ ขอสงวนสิทธใ์ิ นการเปล่ียนแปลงขอ้ มูลโดยไม่ต้อง แจง้ ให้ทราบล่วงหนา้ ห้ามกระทำ�การคัดลอกหรอื จัดพมิ พ์ข้อมูลสว่ นใดของคมู่ อื นีโ้ ดยไม่ไดร้ ับอนญุ าตเปน็ ลายลักษณ์อกั ษรจากทาง บรษิ ัทฯ กอ่ น ภาพประกอบของรถจกั รยานยนตท์ ่ปี รากฏอย่ใู นคูม่ อื การใชง้ านเลม่ นอ้ี าจไมต่ รงกบั รถจริงของท่าน
ยนิ ดีตอ้ นรับ • รหัสต่อไปน้ีในคูม่ อื เล่มนีจ้ ะระบุถงึ ประเทศ ขอแสดงความยนิ ดที ่ีท่านได้เลอื กซอ้ื รถจักรยานยนต์ • ภาพประกอบท่ปี รากฏอยใู่ นคูม่ อื เลม่ นม้ี ีพ้นื ฐานมา ฮอนด้าคันใหมค่ ันน้่ี การเลอื กซ้ือรถจกั รยานยนตฮ์ อนด้า ของท่านครงั้ นีท้ �ำ ให้ท่านได้เป็นส่วนหน่ึงของครอบครัว จากรถรุ่น AFS110MSF TH ฮอนด้าท่ัวโลก ซ่ึงเปน็ ลูกคา้ ทม่ี ีความพึงพอใจและชืน่ ชม ในชื่อเสียงของฮอนด้าในการสรา้ งสรรค์ทุกผลิตภณั ฑ์ รหัสประเทศ ให้มคี ุณภาพ รหัส ประเทศ เพ่อื ความปลอดภัยและความเพลดิ เพลินในการขับขี่ ของท่าน : AFS110KDF ประเทศไทย • กรณุ าอา่ นคู่มอื การใชง้ านเล่มนโี้ ดยละเอียด 2TH • ปฏบิ ตั ติ ามค�ำ แนะนำ�และวิธกี ารปฏิบัติทั้งหมดทปี่ รากฏ AFS110KSF ประเทศไทย อยใู่ นคู่มอื เลม่ นี้ TH ประเทศไทย • กรุณาใหค้ วามสนใจเป็นพเิ ศษกบั ขอ้ ความเกี่ยวกบั AFS110MCF TH ความปลอดภยั ซ่งึ ปรากฏอย่ใู นคู่มือเล่มนแ้ี ละทต่ี ัวรถ จักรยานยนตด์ ว้ ย AFS110MSF ประเทศไทย TH หมายเหตุ : AFS110KDF TH = ล้อซลี่ วด สตาร์ทเท้า AFS110KSF TH = ล้อซี่ลวด สตาร์ทเทา้ AFS110MCF TH = ลอ้ แม็ก สตาร์ทมอื AFS110MSF TH = ลอ้ ซลี่ วด สตารท์ มือ
ค�ำ ท่คี วรรเู้ ก่ียวกับความปลอดภยั อันตราย ความปลอดภัยของท่านและของผู้อืน่ เปน็ ส่งิ ส�ำ คญั มากและ ท่านอาจเปน็ อันตรายรา้ ยแรงถงึ แก่ชีวติ หรอื ได้รบั บาดเจบ็ การขบั ขร่ี ถจกั รยานยนต์รนุ่ น้ีอย่างปลอดภัยกถ็ อื เปน็ ความ สาหัสหากไม่ปฏิบตั ติ ามค�ำ แนะน�ำ รบั ผดิ ชอบที่ส�ำ คัญดว้ ยเชน่ กัน เพื่อทจี่ ะชว่ ยให้ทา่ นตัดสินใจ เก่ยี วกับความปลอดภัยได้เป็นอยา่ งดี ทางบริษัทฯ ได้ให้ขอ้ - คำ�เตือน มลู เก่ียวกบั วิธีการขบั ข่แี ละข้อมูลอนื่ ๆ แก่ท่านดงั ทีป่ รากฏ อยู่บนแผ่นปา้ ยเตือนเพ่อื ความปลอดภัยท่ตี วั รถและในคู่มอื ทา่ นอาจเป็นอนั ตรายถงึ แกช่ วี ิตหรอื ได้รับบาดเจบ็ สาหัสหาก เลม่ นแ้ี ลว้ ขอ้ มลู นจี้ ะเตอื นท่านใหร้ ะวงั อนั ตรายท่อี าจเกดิ ขน้ึ ไม่ปฏบิ ัตติ ามคำ�แนะนำ� ทงั้ กบั ตัวของทา่ นเองหรือผูอ้ น่ื อย่างไรกด็ ใี นทางปฏบิ ัตหิ รือโดยความเปน็ ไปไดแ้ ลว้ ทาง ข้อควรระวงั บรษิ ทั ฯ ไมส่ ามารถทีจ่ ะเตือนให้ท่านระวังอันตรายทุกอย่าง ท่เี กย่ี วเน่ืองกบั การขบั ขี่หรือการบำ�รุงรกั ษารถจักรยานยนต์ ท่านอาจได้รับบาดเจ็บหากไมป่ ฏบิ ตั ติ ามค�ำ แนะน�ำ ได้ ดงั นนั้ ทา่ นจึงตอ้ งใชว้ จิ ารณญาณท่ดี ขี องทา่ นเองในการ ตัดสินใจดว้ ย ข้อมูลเกีย่ วกับความปลอดภยั ทีส่ ำ�คัญอื่นๆ ได้แสดงไวภ้ าย ท่านจะพบขอ้ มลู เก่ยี วกับความปลอดภัยที่สำ�คญั ในหลาย ใตห้ ัวขอ้ ตอ่ ไปน้ี : รปู แบบ ประกอบด้วย : • แผน่ ป้ายเตือนเพื่อความปลอดภยั ซ่ึงปรากฏอยทู่ ี่ตวั รถ ขอ้ สงั เกต สัญลักษณ์นีม้ ุ่งหมายทจ่ี ะชว่ ยให้ท่านหลกี เล่ยี ง • ขอ้ ความเกยี่ วกับความปลอดภยั ซงึ่ นำ�หนา้ ด้วยสัญลักษณ์ เตอื นดา้ นความปลอดภัย และหน่ึงในสามของค�ำ สัญญาณ ความเสียหายที่จะเกดิ แกร่ ถจักรยานยนตข์ องท่าน ทรพั ยส์ ินอน่ื ๆ หรอื สภาพแวดล้อม เหล่านี้ไดแ้ ก่ : อนั ตราย ค�ำ เตือน หรอื ข้อควรระวงั โดยค�ำ สัญญาณเหล่านีห้ มายถงึ : ค�ำ เตอื น อาจถงึ ตายหรือพกิ าร หากไม่สวมหมวกนิรภยั
การรับประกนั คุณภาพ บรษิ ัท เอ.พี. ฮอนดา้ จ�ำกัด รบั ประกันคุณภาพของชนิ้ ส่วนรถจักรยานยนต์ เปน็ ระยะเวลา 3 ปี หรอื 30,000 กม. และ ชนิ้ ส่วนระบบหวั ฉดี ไดแ้ ก่ ตวั ตรวจจับอุณหภมู นิ ำ้� มนั เครือ่ ง, ตวั ตรวจจบั ปรมิ าณออกซิเจน, กล่อง ECU, ปัม๊ น�้ำมัน เชอื้ เพลงิ , หัวฉดี , เรือนล้ินเร่ง, ตัวตรวจจบั ต�ำแหน่งลิน้ เร่ง รับประกันเปน็ ระยะเวลา 5 ปี หรือ 50,000 กม. แล้วแต่ ระยะใดมาถงึ ก่อน ถ้าเกิดการบกพรอ่ งเสียหายอนั เนอ่ื งมาจากกรรมวธิ ที างการผลิตไมด่ ี หรอื วสั ดไุ ม่ไดค้ ุณภาพ ภายใต้การใช้งานและการบ�ำรุงรักษาทีถ่ กู ต้องตามท่กี �ำหนดไว้ในคู่มือการใชง้ าน การรบั ประกนั คณุ ภาพจะมีผล ตง้ั แต่วนั ทท่ี ี่ซอ้ื รถเปน็ ตน้ ไป เม่ือรถของท่านเกิดปัญหาทางดา้ นคุณภาพ ทา่ นสามารถไปใช้สทิ ธใิ นการรบั ประกนั โดยการน�ำรถและสมุดคมู่ ือ รบั ประกันไปทีศ่ นู ยจ์ �ำหน่ายและบรกิ ารทีไ่ ด้รบั การแต่งตงั้ จาก บริษทั เอ.พ.ี ฮอนด้า จ�ำกัด โดยรถของทา่ นจะได้ รบั การแกไ้ ข ปรับแต่ง หรอื เปลี่ยนช้นิ สว่ นอะไหลท่ ่ีมีความบกพร่องนน้ั โดยไมค่ ดิ ราคาค่าอะไหลแ่ ละค่าแรงซ่อม การรบั ประกันคุณภาพนจ้ี ะใช้กบั รถท่ีจ�ำหน่ายโดย บริษัท เอ.พี. ฮอนดา้ จ�ำกดั เทา่ นั้น ในกรณที ่ีมีการน�ำรถออก นอกประเทศถอื เป็นการสิ้นสดุ การรับประกัน กรณที ีม่ ีการเปลี่ยนเจ้าของรถคนใหม่ กรณุ าตดิ ตอ่ บริษทั เอ.พี.ฮอนดา้ จ�ำกัด แผนกลกู คา้ สัมพันธ์ 0-2725-4000 เพอื่ แกไ้ ขช่อื ทอี่ ยขู่ องผคู้ รอบครองรถคนใหม่ ในกรณีทร่ี ถจักรยานยนต์ของท่านเกดิ ปญั หาด้านคณุ ภาพ และตรวจพบวา่ มสี าเหตุมาจากการ ละเลยไม่น�ำรถเข้ารบั การตรวจเชค็ ตามระยะท่กี �ำหนด กรณเี ชน่ น้ที ่านอาจเสยี สิทธิในการรับ ประกนั คณุ ภาพได้ ดงั น้นั จงึ ขอใหท้ ่านถอื เปน็ เร่อื งส�ำคญั อยา่ งย่ิงท่ีตอ้ งน�ำรถเขา้ รับการบริการ ตรวจเช็คตามก�ำหนดเวลาที่ศนู ย์จ�ำหนา่ ยและบรกิ ารฮอนด้า
เงือ่ นไขการรับประกันชิ้นส่วนทม่ี ีการสึกหรอหรือเสือ่ มสภาพ ชิน้ สว่ นอะไหล่และวัสดสุ ้ินเปลอื งทีม่ ีการสึกหรอหรือเสือ่ มสภาพ หากเกดิ ความบกพร่องเสียหาย อนั เนอื่ งมาจากกรรมวธิ ี ทางการผลิตไมด่ หี รอื วสั ดุไม่ไดค้ ณุ ภาพ บรษิ ัทฯ จะท�ำการรับประกันคุณภาพ แตห่ ากความเสียหายเกิดขึน้ มาจากการสกึ หรอหรือเสือ่ ม สภาพตามอายกุ ารใชง้ านปกติ บรษิ ัทฯ ขอใหท้ า่ นเป็นผ้ชู �ำระค่าใช้จา่ ยเอง ชน้ิ ส่วนอะไหลท่ ่มี ีการสึกหรอหรือเส่อื มสภาพตามอายุการใชง้ าน หวั เทยี น หลอดไฟตา่ งๆ ฟวิ ส์ สายไฟ แปรงถ่านมอเตอร์สตาร์ท สายควบคุมต่างๆ ผ้าเบรก ผ้าคลทั ช์ ชุดโซส่ เตอร์ ปะเก็น สายยาง ทอ่ ยาง และชน้ิ ส่วนท่ีเป็นยาง ไส้กรอง ซลี กนั น�้ำมนั ซลี กันฝุ่น น้ำ� มนั หลอ่ ลนื่ และสารหลอ่ ล่ืนทุกชนิด หมายเหต ุ รบั ประกันแบตเตอรี่ และ ยางนอก ยางใน เป็นระยะเวลา 6 เดือน หรือ ระยะทาง 5,000 กม. แล้วแต่ระยะใด ถึงก่อน โดยมีผลตั้งแต่วันทซ่ี ือ้ รถเป็นตน้ ไป ขอ้ ปฏิบตั ิในการใช้รถในระยะรบั ประกัน ข้อปฏบิ ัติตอ่ ไปนี้เปน็ ส่งิ ท่ีทา่ นตอ้ งให้ความส�ำคัญและปฏบิ ตั ติ าม มเิ ชน่ น้ันท่านอาจเสยี สทิ ธใิ นการรับประกนั คุณภาพในบาง กรณีได้ หากตรวจพบวา่ ความเสียหายทเ่ี กดิ ข้นึ กับรถมสี าเหตมุ าจากการละเลยไม่ปฏิบตั ติ ามขอ้ ปฏบิ ัตินี้ 1. ปฏบิ ตั ิและใชร้ ถให้ถกู ตอ้ งตามค�ำแนะน�ำในคมู่ ือการใชง้ านรถจกั รยานยนตฮ์ อนดา้ รุ่นทท่ี า่ นซื้อ 2. น�ำรถเขา้ รับการบรกิ ารตรวจเชค็ บ�ำรุงรกั ษาตามระยะเวลาทีก่ �ำหนดไวใ้ นค่มู ือเล่มน้ี พร้อมกับลงบนั ทกึ ประวตั ิการซอ่ มใน ค่มู อื เล่มน้ีทกุ ครั้ง 3. การบ�ำรงุ รักษาจะกระท�ำอยา่ งถูกตอ้ งโดยศูนย์จ�ำหนา่ ยและบรกิ ารฮอนดา้ ท่ีทา่ นซอ้ื รถ แตอ่ ย่างไรกต็ ามในกรณีท่จี �ำเปน็ ท่านสามารถน�ำรถเข้ารับบรกิ ารไดท้ ศ่ี ูนยจ์ �ำหนา่ ยและบรกิ ารท่ีได้รบั การแต่งต้ังจากฮอนดา้ ทีใ่ กล้ทส่ี ุด 4. ไม่ดดั แปลงแกไ้ ขช้นิ สว่ นตา่ งๆ ไปจากมาตรฐานการผลิตเดมิ นอกจากจะเป็นการแกไ้ ขเพม่ิ เตมิ ตามขอ้ มลู ของบริษทั เอ.พี. ฮอนดา้ จ�ำกดั 5. ไมน่ �ำรถไปใชใ้ นกจิ กรรมอ่นื ๆ ท่ีมิใชก่ ารใช้งานตามปกติ เช่น การแขง่ ขัน เปน็ ต้น 6. เมือ่ มกี ารซอ่ มบ�ำรงุ รักษา ควรใช้แต่อะไหลแ่ ท้และสารหล่อลนื่ ที่ฮอนด้าก�ำหนด เชน่ นำ้� มนั เครอื่ ง น้ำ� มันเบรก และน�ำ้ ยา หม้อนำ�้ เปน็ ตน้
รายการอะไหล่ระบบหวั ฉีด ท่ีรับประกนั 5 ปี หรอื 50,000 กม. แลว้ แต่ระยะใดถงึ กอ่ น 1. ปมั๊ นำ้� มนั เช้ือเพลิง (ไมร่ วมลูกลอยนำ�้ มนั เชือ้ เพลิง) 2. หวั ฉดี 3. เรอื นล้ินเรง่ 4. ตัวตรวจจับต�ำแหนง่ ลิ้นเร่ง 5. กล่อง ECU 6. ตัวตรวจจบั อณุ หภูมิน้ำ� มันเครอื่ ง 7. ตวั ตรวจจบั ปริมาณออกซเิ จน 1 2 3 และ 4 5 6 7
สารบัญ การขับข่ีรถจกั รยานยนตอ์ ย่างปลอดภัย หน้า 2 คำ�แนะนำ�การใชง้ าน หน้า 13 การบำ�รุงรกั ษา หนา้ 35 หน้า 80 การแก้ไขปัญหาขอ้ ขัดขอ้ ง หน้า 98 ขอ้ มลู ท่ีควรทราบ หนา้ 109 ข้อมูลทางเทคนิค
การขับขีร่ ถจักรยานยนตอ์ ย่างปลอดภยั ในสว่ นนป้ี ระกอบด้วยขอ้ มูลสำ�คัญทีค่ วรทราบเพอื่ ให้ทา่ นสามารถขบั ขี่รถจกั รยานยนต์ของทา่ นไดอ้ ย่างปลอดภยั กรณุ าอ่านขอ้ มลู ส่วนนอี้ ยา่ งละเอียด ค�ำ แนะน�ำ ความปลอดภยั น�������������������������หน้า 3 ขอ้ ควรระวงั เพ่ือความปลอดภัย................หนา้ 6 ข้อควรระวงั ในการขับขี่.............................หน้า 7 การตดิ ตัง้ อุปกรณเ์ พ่ิมเติมและการดดั แปลง สภาพรถ....................................................หน้า 11 การบรรทกุ .................................................หน้า 12
ค�ำ แนะน�ำ ความปลอดภยั คำ�แนะนำ�ความปลอดภัย การขบั ขี่รถจกั รยานยนตอ์ ยา่ งปลอดภยั ปฏบิ ตั ติ ามค�ำ แนะน�ำ เหล่าน้ีเพื่อช่วยเพม่ิ ความปลอดภัยใน ตรวจสอบด้วยวา่ ท้ังตัวทา่ นเองและผู้ซอ้ นท้ายของท่านสวม การขบั ขี่ของท่าน : หมวกกันนอ็ กส�ำหรับรถจักรยานยนตท์ ่ไี ดร้ บั การรับรองคุณ- • ตรวจสอบรถของท่านเป็นประจ�ำและตามระยะเวลาท่ี ภาพและอุปกรณ์ป้องกันภยั ท่านควรแนะน�ำใหผ้ ู้ซอ้ นท้าย ของท่านยึดหรอื จับเหล็กทา้ ยเบาะหรือเอวของท่านไว้ให้แน่น ก�ำหนดไว้ในคู่มือเล่มน้ีทั้งหมด เอียงตวั ไปในทศิ ทางเดยี วกันกบั ท่านในขณะเขา้ โค้ง และ • ดับเครอื่ งยนต์และอย่ใู หห้ ่างจากเปลวไฟและประกายไฟ วางเท้าทั้งสองขา้ งบนที่พักเทา้ แม้แต่เม่ือหยุดรถกต็ าม ศึกษาท�ำ ความเข้าใจและฝึกปฏิบัติ กอ่ นทจี่ ะเตมิ นำ้� มันลงในถงั นำ้� มนั เชือ้ เพลิง แม้ว่าท่านจะเคยขบั ขี่รถจักรยานยนตอ์ ่ืนๆ มาแล้วกต็ าม • อยา่ ติดเครื่องยนตใ์ นพ้นื ทป่ี ดิ หรอื พื้นท่ีปดิ เป็นบางสว่ นเพราะ ทา่ นกค็ วรฝึกหัดขบั ขี่ในบรเิ วณท่ีปลอดภยั เพ่อื ให้เกิดความ คนุ้ เคยกบั การท�ำงาน การบงั คับ และการควบคุมรถจักร- กา๊ ซคารบ์ อนมอนอกไซดใ์ นไอเสียเป็นกา๊ ซที่มพี ิษและอาจ ยานยนต์รุ่นนี้ และยังเพ่ือใหเ้ กดิ ความเคยชนิ กบั ขนาดและ ท�ำให้เกิดอันตรายถึงแก่ชวี ติ ได้ นำ�้ หนักของรถจักรยานยนต์อีกดว้ ย สวมหมวกกันนอ็ กอยู่เสมอ การขบั ข่ีอยา่ งปลอดภยั เปน็ ขอ้ เทจ็ จรงิ ทพี่ สิ ูจน์แล้ววา่ หมวกกนั นอ็ กและอุปกรณ์ป้อง ท่านควรใหค้ วามสนใจกบั ยานพาหนะอนื่ ๆ ท่ีอยรู่ อบตวั ท่าน กนั ภยั มีสว่ นส�ำคัญในการชว่ ยลดจ�ำนวนและความรนุ แรง เสมอ และอยา่ คดิ ไปเองว่าผูข้ ับขี่คนอ่นื มองเห็นทา่ นอยู่ ท่าน ของการบาดเจ็บที่ศีรษะและการบาดเจ็บอืน่ ๆ ดงั น้นั ทา่ นควร ควรจะต้องเตรียมพร้อมอยตู่ ลอดเวลาในการท่จี ะหยุดรถหรอื สวมหมวกกนั น็อกส�ำหรบั รถจกั รยานยนตท์ ไ่ี ดร้ บั การรับรอง หลบหลกี อย่างฉับพลนั คุณภาพและอปุ กรณ์ปอ้ งกนั ภัยเสมอ หน้า 6 3 ก่อนการขบั ข่ี ต้องแนใ่ จว่าทา่ นมีร่างกายแขง็ แรง มีสภาพจิตใจและสมาธดิ ี และไมไ่ ด้บริโภคเคร่ืองดม่ื ทม่ี ีแอลกอฮอลแ์ ละเสพยาเสพตดิ
การขบั ขี่รถจกั รยานยนตอ์ ยา่ งปลอดภยั คำ�แนะนำ�ความปลอดภยั ไปขับข่ีรถจักรยานยนต์ และเพือ่ ความปลอดภัยอยา่ ให้ผู้ ท�ำให้ผู้ขบั ข่คี นอื่นสามารถมองเหน็ ท่านไดอ้ ยา่ งชัดเจน โดยสารหรือเพ่อื นของท่านดื่มสุราด้วยเช่นกัน ท�ำให้ผขู้ บั ขค่ี นอน่ื สามารถมองเหน็ ท่านได้ชัดเจนยง่ิ ขึน้ โดย รักษารถจักรยานยนต์ฮอนด้าของท่านใหอ้ ยู่ในสภาพดี เฉพาะอย่างยง่ิ ในชว่ งเวลากลางคืน โดยสวมชดุ ทมี่ สี ีสว่าง ถอื เปน็ ส่ิงส�ำคัญในการบ�ำรุงรักษารถจกั รยานยนต์ของทา่ น หรือสีสะท้อนแสง ขับข่ีบนเส้นทางทผี่ ู้ขับขคี่ นอนื่ สามารถ อยา่ งถูกวิธแี ละใหอ้ ยู่ในสภาพการขบั ขี่ทปี่ ลอดภัยดว้ ย มองเห็นทา่ นได้ ให้สญั ญาณกอ่ นที่ทา่ นจะเลย้ี วหรอื เปลย่ี น ตรวจสอบรถจกั รยานยนต์ของท่านกอ่ นการขบั ข่ีทกุ ครั้งและ ชอ่ งทาง และใชแ้ ตรเม่ือจ�ำเปน็ ท�ำการบ�ำรงุ รักษาตามทีไ่ ดแ้ นะน�ำไว้ทงั้ หมด อยา่ บรรทุกของเกนิ กว่าขีดจ�ำกดั ในการบรรทกุ (หน้า 12) ขบั ขภ่ี ายในขีดจ�ำกัดของท่าน และอย่าดัดแปลงสภาพรถหรือติดตัง้ อุปกรณ์เพ่ิมเตมิ ซงึ่ อาจ อย่าขบั ขเ่ี กนิ กว่าความสามารถของทา่ นหรอื ขบั ข่ดี ว้ ยความ ท�ำให้รถของทา่ นอย่ใู นสภาพไมป่ ลอดภยั ได้ (หน้า 11) เรว็ สงู เกินกวา่ ที่ก�ำหนด ควรระลึกไว้ว่าความเมอ่ื ยล้าและ การเพิกเฉยละเลยมีส่วนส�ำคญั ท่จี ะลดความสามารถในการ หากท่านเกิดอบุ ัตเิ หตุ เช่น การชนหรือรถล้ม ใชว้ ิจารณญาณในการตัดสินใจและการขบั ขอ่ี ยา่ งปลอดภยั ได้ ความปลอดภยั ของตัวทา่ นเองเป็นสง่ิ ท่ีทา่ นต้องค�ำนึงถงึ เป็น อนั ดบั แรก หากท่านหรอื บคุ คลอืน่ ไดร้ ับบาดเจ็บหรือได้รบั อย่าดม่ื สรุ าในขณะขับขร่ี ถจกั รยานยนต์ ความเสียหาย ขอใหท้ ่านไดใ้ ชเ้ วลาในการประเมนิ ดคู วาม ทา่ นไม่ควรดมื่ สรุ าแลว้ ไปขับขีร่ ถจกั รยานยนต์ เพราะแมแ้ ต่ รุนแรงของการบาดเจบ็ หรือความเสยี หายน้ันและดวู ่ามีความ การดม่ื เครื่องดมื่ ทม่ี แี อลกอฮอล์เพียงแกว้ เดยี วกอ็ าจลดความ ปลอดภัยในการที่ทา่ นจะขับข่ีรถตอ่ ไปได้หรอื ไม่ ทา่ นควร สามารถของท่านในการตอบสนองต่อสภาพการณ์ตา่ งๆ ท่ี ร้องขอความชว่ ยเหลือในกรณีฉกุ เฉินถ้าจ�ำเป็น และควรปฏ-ิ เปล่ียนแปลงอย่เู สมอได้ และการตอบสนองดังกล่าวจะย่ิง บัติตามกฎหมายและกฎข้อบงั คบั ต่างๆ ทีม่ ีหากมีบคุ คลอ่นื เลวร้ายลงหากท่านดม่ื เพ่มิ เขา้ ไปอีก ดงั นน้ั อย่าดม่ื สุราแล้ว หรอื ยานพาหนะอนื่ เขา้ มาเกี่ยวพันกับการเกดิ อุบัตเิ หตุ 4
หากทา่ นตกลงใจแลว้ ว่าทา่ นสามารถท่ีจะขับข่ีรถตอ่ ไปได้ คำ�แนะน�ำ ความปลอดภยั การขบั ขี่รถจกั รยานยนตอ์ ยา่ งปลอดภยั อยา่ งปลอดภัย ถา้ เคร่ืองยนต์ยงั คงตดิ อยู่ กอ่ นอน่ื ขอใหท้ ่าน หมุนสวทิ ชจ์ ดุ ระเบดิ ไปทต่ี �ำแหน่ง OFF กอ่ นที่จะจับรถให้ ถา้ หากท่านตดิ เครอ่ื งยนต์ในบริเวณท่ีอับอากาศหรือแม้แต่ ตัง้ ขน้ึ แลว้ จึงประเมนิ ดูสภาพของรถจกั รยานยนตข์ องท่าน พื้นท่ปี ดิ เปน็ บางสว่ น อากาศท่ีทา่ นหายใจเข้าไปนนั้ อาจ และตรวจสอบดูว่ามกี ารรวั่ ซึมของน้ำ� มนั ตา่ งๆ หรือไม่ ตรวจ ประกอบไปดว้ ยก๊าซคารบ์ อนมอนอกไซด์ที่เป็นอนั ตรายใน เช็ควา่ นอ๊ ตและโบ้ลทท์ ส่ี �ำคญั ๆ ขนั แน่นอยหู่ รือไม่ และตรวจ ปรมิ าณมาก ดงั น้นั อย่าติดเครอื่ งยนตภ์ ายในโรงเกบ็ รถหรอื สอบดดู ว้ ยวา่ แฮนด์บังคับเลย้ี ว คันบงั คบั ต่างๆ เบรกหน้า- พน้ื ที่ปิดอ่ืนๆ หลัง และลอ้ หนา้ -หลงั อยูใ่ นสภาพทมี่ นั่ คงและปลอดภยั หรือ ไม่ ขอให้ทา่ นขับข่ีอยา่ งช้าๆ และโดยระมดั ระวัง ค�ำ เตือน รถจกั รยานยนตข์ องทา่ นอาจไดร้ ับความเสยี หายซ่ึงเปน็ ความ การติดเครือ่ งยนตร์ ถจกั รยานยนตข์ องทา่ นในขณะ เสียหายทยี่ งั ไม่ปรากฏให้เห็นอย่างเด่นชัดโดยทันทีหรอื ใน ทีอ่ ยู่ในพ้ืนท่ปี ดิ หรอื แม้แตพ่ ้ืนทปี่ ิดเป็นบางส่วนอาจ ขณะนน้ั ดงั น้ันทา่ นควรจะน�ำรถจกั รยานยนตข์ องท่านไปเข้า ทำ�ใหเ้ กดิ การกอ่ ตวั ขนึ้ อย่างรวดเร็วของกา๊ ซคารบ์ อน- รับบริการตรวจเชค็ อยา่ งละเอียดทีศ่ นู ย์ซอ่ มทีไ่ ดม้ าตรฐานที่ มอนอกไซดซ์ ่ึงเป็นกา๊ ซพษิ ได้ ใกล้ทส่ี ุดในทนั ทีทเ่ี ปน็ ไปได้ อันตรายจากกา๊ ซคาร์บอนมอนอกไซด์ การหายใจเอาก๊าซทไี่ มม่ ีสแี ละไม่มีกลิ่นนี้เขา้ ไปอาจ ไอเสียประกอบดว้ ยกา๊ ซคาร์บอนมอนอกไซดท์ ่เี ป็นพิษซ่ึงเปน็ ทำ�ให้หมดสตโิ ดยทันทแี ละอาจนำ�ไปสกู่ ารเสียชีวติ ก๊าซทไี่ มม่ ีสีและไมม่ กี ลนิ่ การหายใจเอาก๊าซคาร์บอนมอ- ได้ นอกไซดเ์ ข้าไปอาจท�ำให้หมดสติและอาจน�ำไปสู่การเสีย ชวี ติ ได้ ตดิ เครอื่ งยนตร์ ถจกั รยานยนต์ของทา่ นเมอ่ื อยู่ใน พน้ื ทีเ่ ปดิ โลง่ ซงึ่ มีอากาศถา่ ยเทสะดวกเท่านน้ั 5
การขบั ขี่รถจกั รยานยนตอ์ ยา่ งปลอดภยั ข้อควรระวังเพื่อความปลอดภยั • หนา้ กากสำ�หรับป้องกันใบหน้าซึ่งไมข่ ัดขวางการมองเหน็ ขอ้ ควรระวงั เพื่อความปลอดภยั หรือใช้เครือ่ งปอ้ งกันดวงตาทไ่ี ด้รับการรบั รองคณุ ภาพอ่ืนๆ • ขับขี่อย่างระมดั ระวัง ให้มอื ทั้งสองข้างของทา่ นจบั อยทู่ ่ี คำ�เตือน แฮนด์บงั คับเล้ยี วและวางเท้าท้ังสองข้างลงบนทพี่ ักเทา้ การไม่สวมหมวกกนั นอ็ กจะเพิม่ โอกาสในการไดร้ บั • ใหม้ ือท้ังสองข้างของผูซ้ ้อนท้ายจับอยูท่ เ่ี หล็กทา้ ยเบาะหรือ บาดเจ็บสาหสั หรอื ถึงแก่เสียชวี ติ เนื่องจากการเกิด ที่เอวของท่าน และวางเท้าทั้งสองข้างลงบนทพี่ กั เทา้ ในขณะ อุบตั ิเหตุ เช่น การชนหรอื รถล้มได้ ซอ้ นทา้ ย • ขอให้ทา่ นค�ำ นงึ ถึงความปลอดภัยของผซู้ ้อนทา้ ยของท่าน ตอ้ งแน่ใจวา่ ทา่ นและผซู้ อ้ นท้ายของทา่ นสวมหมวก รวมถงึ ผูข้ บั ขี่รถยนตแ์ ละรถจักรยานยนต์คันอนื่ ๆ เสมอ กนั น็อกที่ไดร้ ับการรับรองคณุ ภาพและอุปกรณ์ปอ้ ง- กันภยั อย่เู สมอในขณะทท่ี า่ นขบั ขีร่ ถจกั รยานยนต์ อุปกรณ์ปอ้ งกันภัย ตอ้ งแน่ใจวา่ ทา่ นและผซู้ อ้ นท้ายของทา่ นสวมหมวกกันนอ็ ก ถงุ มือ ส�ำ หรับรถจักรยานยนตท์ ไี่ ด้รับการรับรองคุณภาพ เครือ่ ง สวมถงุ มอื หนงั แบบเตม็ นิ้วซ่ึงมคี วามทนทานตอ่ การเสยี ดสสี ูง ป้องกนั ดวงตา และเครื่องแตง่ กายทีช่ ว่ ยปอ้ งกนั ภยั สะท้อน รองเทา้ บ๊ทู หรือรองเทา้ ส�ำ หรับการขบั ขี่ แสง ขับขีอ่ ย่างปลอดภยั เพือ่ ตอบสนองตอ่ สภาพถนนและ สวมรองเท้าบทู๊ ทแี่ ข็งแรงมพี น้ื รองเท้าที่ไม่ล่นื และมสี ่วนที่ สภาพอากาศต่างๆ ชว่ ยปอ้ งกันข้อเทา้ ของทา่ น หมวกกนั นอ็ ก เสือ้ แจก็ เก้ตและกางเกงขายาว หมวกกันนอ็ กที่ไดร้ บั การรบั รองมาตรฐานความปลอดภัย มี ควรสวมเสื้อแจ็กเกต้ แขนยาวท่สี ามารถมองเห็นไดช้ ัดเจน สสี วา่ งสดใส และมีขนาดท่ีพอเหมาะกับศีรษะของทา่ น และสามารถปอ้ งกนั ร่างกายของท่าน รวมทัง้ กางเกงขายาว • ตอ้ งสวมใส่ไดอ้ ยา่ งสบายแต่กระชบั พอดีกบั ศรี ษะของท่าน ท่ีทนทานเพอื่ การขบั ขี่ (หรือชดุ ป้องกันร่างกายทั้งตวั ) พรอ้ มกับรดั สายรดั คางใหแ้ นน่ 6
ข้อควรระวังในการขับข่ี ขอ้ ควรระวังในการขับข่ี การขบั ขี่รถจกั รยานยนตอ์ ยา่ งปลอดภยั เบรก ช่วงรนั -อิน ปฏบิ ัติตามค�ำ แนะนำ�ต่อไปนี้ : • หลกี เลี่ยงการเบรกอย่างกะทนั หนั และรนุ แรง และการ ในระหวา่ งระยะ 500 กิโลเมตร (300 ไมล์) แรกของการขับขี่ เปลย่ี นเกยี ร์ลงสเู่ กยี ร์ที่ตำ�่ กว่าแบบทนั ทีทนั ใด ขอใหท้ า่ นปฏิบตั ิตามค�ำ แนะน�ำ เหลา่ น้เี พื่อให้ทา่ นม่ันใจได้ วา่ การใช้งานรถจักรยานยนต์ของท่านในอนาคตเชือ่ ถอื ได้ การเบรกอยา่ งทันทที นั ใดอาจท�ำให้รถเสยี การทรงตวั ได้ และมปี ระสทิ ธภิ าพ ถ้าเปน็ ไปไดค้ วรจะลดความเรว็ ของรถลงก่อนท่จี ะเลยี้ ว • หลีกเลยี่ งการเร่งเครื่องยนตจ์ นสดุ คันเร่งและการเรง่ ความ มิฉะนั้นท่านอาจเสย่ี งตอ่ การลื่นไถลได้ • ขอใหท้ ่านโปรดใช้ความระมัดระวงั เมือ่ ตอ้ งขบั ข่ไี ปบนพืน้ เร็วอย่างกะทันหนั ผวิ ถนนท่มี แี รงยดึ เกาะต่�ำ • หลีกเลยี่ งการเบรกอย่างกะทันหนั หรอื อยา่ งรนุ แรง รวมทั้ง ยางจะลื่นไถลไดง้ า่ ยยงิ่ ข้นึ หากขบั ข่ีไปบนพื้นถนนดังกล่าว รวมทงั้ ระยะการหยุดรถกจ็ ะยาวขน้ึ ดว้ ย การเปล่ียนเกียรล์ งอย่างรวดเร็ว • หลกี เล่ยี งการใช้เบรกอย่างตอ่ เนอื่ ง • ขบั ข่อี ย่างรอบคอบและระมดั ระวงั การเบรกซ้�ำๆ หรือการย�ำ้ เบรก เช่น เมื่อขับขล่ี งทางลาด ชันเปน็ ระยะทางยาวๆ อาจท�ำให้เบรกรอ้ นเกนิ ไป และ ท�ำให้ประสทิ ธิภาพในการเบรกลดลง ใช้ก�ำลังอัดของ เครอ่ื งยนต์ช่วยในการเบรกพร้อมกบั กดเบรกแลว้ ปลอ่ ย สลบั กนั ไปเป็นระยะเพือ่ ลดความเรว็ ของรถ • เพอื่ ประสทิ ธภิ าพในการเบรกอย่างเตม็ ที่ ใหใ้ ช้ท้ังเบรก หน้าและเบรกหลงั พรอ้ มกนั 7
การขบั ขี่รถจกั รยานยนตอ์ ยา่ งปลอดภยั ขอ้ ควรระวงั ในการขับขี่ การจอดรถ • จอดรถบนพื้นทมี่ นั่ คงแขง็ แรงและมีระดบั เสมอกนั การใชก้ ำ�ลังอัดของเคร่อื งยนตช์ ว่ ยเบรก • ในกรณที ี่ท่านตอ้ งจอดรถบนพืน้ ท่ีลาดเอียงเลก็ นอ้ ย การใช้ก�ำลงั อดั ของเคร่อื งยนตช์ ว่ ยเบรกจะช่วยท�ำให้ รถจักรยานยนต์ของทา่ นว่ิงช้าลงเมอ่ื ทา่ นปล่อยคนั เรง่ หรือจอดรถบนพ้นื ผิวถนนทีไ่ มอ่ ัดแนน่ ขอให้ทา่ นจอด และเพ่ือท�ำใหร้ ถเคลอ่ื นตวั ได้ชา้ ลงไปอีก ให้เปลย่ี นเกยี ร์ รถโดยไมใ่ หต้ วั รถเคลอ่ื นหรือลม้ ลงได้ ลงสู่เกยี ร์ท่ตี ำ่� กวา่ ใชก้ �ำลังอัดของเคร่ืองยนตช์ ่วยใน • ต้องแนใ่ จวา่ ชน้ิ สว่ นทมี่ อี ณุ หภมู สิ งู ไม่สมั ผัสกับวัสดุ การเบรกพรอ้ มกับกดเบรกแลว้ ปลอ่ ยสลบั กันไปเปน็ ทต่ี ดิ ไฟไดง้ า่ ย ระยะเพ่ือลดความเรว็ ของรถเมอ่ื ขบั ขี่ลงทางลาดชันเปน็ • อย่าสัมผัสเครื่องยนต์ ทอ่ ไอเสยี เบรก และชน้ิ สว่ นที่ ระยะทางยาวๆ มอี ณุ หภูมสิ ูงอื่นๆ จนกว่าจะเยน็ ลง • เพอ่ื ลดโอกาสในการถูกขโมยรถ ใหล้ อ๊ คแฮนด์บังคับ สภาพผวิ ถนนทเี่ ปยี กหรือมีฝนตก เล้ยี วเสมอและดงึ กุญแจออกและปดิ ระบบกญุ แจ ผิวถนนจะล่นื เม่อื เปยี ก และเบรกทเ่ี ปียกกจ็ ะท�ำให้ นริ ภยั 2 ช้ัน (ยกเว้น AFS110KDF) ทกุ คร้งั เม่ือทา่ น ประสทิ ธภิ าพในการเบรกลดลงไปอีก จอดรถทง้ิ ไวห้ รอื อยหู่ า่ งจากรถของท่านโดยไมม่ ผี ดู้ แู ล ดงั นั้นทา่ นต้องใช้ความระมดั ระวงั เปน็ พิเศษเม่ือจะเบรก ขอแนะน�ำ ใหท้ า่ นใช้อปุ กรณ์กันขโมยด้วย ในสภาพผวิ ถนนท่เี ปยี ก ถ้าเบรกเปียก ควรยำ้� เบรกหลายๆ คร้งั ในขณะที่ขับข่ที ี่ ความเร็วต่�ำเพอ่ื ชว่ ยใหผ้ ้าเบรกแหง้ เร็วขึ้น 8
จอดรถโดยใช้ขาตงั้ ขา้ งหรอื ขาตงั้ กลาง ปลอกแฮนด์ดา้ นซ้าย ข้อควรระวังในการขับข่ี 1. ดบั เครอื่ งยนต์ เหล็กทา้ ยเบาะ 2. การใช้ขาตงั้ ขา้ ง การขบั ขี่รถจกั รยานยนตอ์ ยา่ งปลอดภยั ลดขาตงั้ ข้างลง ขาตัง้ กลาง คอ่ ยๆ เอียงรถจักรยานยนต์มาทางด้านซ้ายอยา่ งช้าๆ จนกระทัง่ น้�ำหนักของตัวรถอยทู่ ี่ขาตั้งขา้ ง 3. หมนุ แฮนด์บงั คบั เล้ียวมาทางด้านซา้ ยจนสุด การใช้ขาตงั้ กลาง การหมุนแฮนดบ์ งั คบั เลย้ี วไปด้านขวาจะท�ำใหค้ วาม เอาขาตง้ั กลางลง ยืนทางด้านซา้ ยของตัวรถ จับปลอก ม่ันคงในการทรงตัวลดลงและอาจเปน็ เหตใุ หร้ ถลม้ ได้ แฮนดด์ ้านซา้ ยและเหลก็ ทา้ ยเบาะไว้ กดสว่ นปลาย ของขาต้งั กลางลงด้วยเทา้ ขวาของท่านและในขณะ 4. หมนุ สวทิ ช์จุดระเบิดไปทตี่ �ำแหน่ง LOCK ดึงกุญแจ เดยี วกันให้ยกรถขึ้นและดึงถอยมาทางดา้ นหลงั ออกและปิดระบบกญุ แจนริ ภยั 2 ช้ัน (ยกเวน้ AFS 110KDF) หนา้ 23 9
การขบั ขี่รถจกั รยานยนตอ์ ยา่ งปลอดภยั ข้อควรระวังในการขับขี่ ค�ำแนะน�ำส�ำหรบั การใชน้ �้ำมนั เชอื้ เพลิงและการ เตมิ นำ�้ มนั เชอื้ เพลิง ปฏิบัตติ ามค�ำแนะน�ำเหล่านีเ้ พ่อื เปน็ การปกปอ้ งเครอื่ ง- ยนต์ ระบบน�ำ้ มันเชื้อเพลิง และอปุ กรณแ์ ปรสภาพไอเสีย : • ใช้นำ้� มนั เชอื้ เพลิงไร้สารตะก่วั เท่าน้ัน • ใช้น�ำ้ มนั เช้ือเพลงิ ทีม่ คี า่ ออกเทนตามทไ่ี ด้แนะน�ำไว้ การใชน้ ้�ำมนั เช้ือเพลิงท่มี คี ่าออกเทนทตี่ ่ำ� กวา่ จะส่งผล ให้ประสทิ ธภิ าพของเครอ่ื งยนตล์ ดลง • อยา่ ใช้น�ำ้ มันเชอ้ื เพลงิ ทมี่ ีสว่ นผสมของแอลกอฮอล์ใน ระดับความเข้มข้นสูง หนา้ 107 • อย่าใชน้ �้ำมันเชอื้ เพลิงเก่าหรือสกปรก หรือน้ำ� มันเบนซิน ผสมกับนำ�้ มันเครอ่ื ง • หลกี เลี่ยงอย่าใหม้ สี ่งิ สกปรกหรือน�้ำในถังน้�ำมันเชื้อเพลิง 10
การติดต้งั อปุ กรณเ์ พิ่มเตมิ และการดดั แปลงสภาพรถ การติดต้งั อปุ กรณเ์ พ่มิ เติมและการดดั แปลงสภาพรถ การขบั ขี่รถจกั รยานยนตอ์ ยา่ งปลอดภยั ทางบรษิ ทั ฯ ขอแนะนำ�ว่าทา่ นไม่ควรตดิ ตงั้ อปุ กรณ์เพมิ่ เติมใดๆ ซึ่งไมไ่ ดอ้ อกแบบมาเป็นพิเศษโดยฮอนดา้ เพ่อื ค�ำ เตอื น ใช้กับรถจักรยานยนต์ของทา่ น หรือท�ำ การดัดแปลงสภาพ การตดิ ตง้ั อปุ กรณเ์ พิม่ เตมิ หรอื การดัดแปลง รถให้แตกตา่ งไปจากการออกแบบด้งั เดิม ซ่งึ การกระท�ำ สภาพรถท่ีไมเ่ หมาะสมอาจกอ่ ให้เกิดอบุ ัติเหตุ เชน่ นั้นจะท�ำ ให้ไมป่ ลอดภยั ในการขับขี่ เช่น การชนหรือรถลม้ ซึ่งท่านอาจไดร้ ับบาด- การดัดแปลงสภาพรถจักรยานยนต์ของทา่ นอาจทำ�ให้ เจ็บสาหสั หรือถงึ แกเ่ สียชวี ิตได้ การรับประกนั คณุ ภาพเป็นโมฆะ อกี ทงั้ ยังอาจทำ�ใหร้ ถ จักรยานยนต์ของท่านอยู่ในสภาพที่ผดิ กฎหมายในการ ปฏิบัติตามคำ�แนะน�ำ ทั้งหมดในคมู่ ือการใช้งาน ทจ่ี ะขบั ข่ีบนถนนสาธารณะและบนถนนทางหลวงได้ เลม่ น้เี กยี่ วกบั การติดต้งั อปุ กรณเ์ พิม่ เติมและ ดังนั้นกอ่ นท่ีท่านจะพจิ ารณาติดต้ังอปุ กรณ์เพม่ิ เติมใดๆ การดดั แปลงสภาพรถ เขา้ กบั รถจักรยานยนตข์ องท่าน ตอ้ งแน่ใจวา่ การดดั แปลง ไม่ควรลากรถพว่ งด้วยรถจกั รยานยนต์ของทา่ นหรอื ติด สภาพรถนั้นๆ มีความปลอดภยั และถกู ตอ้ งตามกฎหมาย ตง้ั รถพว่ งขา้ งเข้ากบั รถจักรยานยนต์ของทา่ น เพราะ รถของทา่ นไม่ไดอ้ อกแบบมาเพื่อการตดิ รถพว่ งขา้ ง หรอื รถพว่ ง และการกระท�ำ เชน่ นี้อาจกอ่ ให้เกิดความ เสียหายร้ายแรงกบั การบังคบั รถได้ ซง่ึ ทำ�ใหไ้ ม่ปลอด- ภยั ในการขับขี่ 11
การขบั ขี่รถจกั รยานยนตอ์ ยา่ งปลอดภยั การบรรทุก ค�ำ เตอื น การบรรทุกเกนิ ขนาดทกี่ ฎหมายก�ำ หนดหรอื การ การบรรทุก บรรทกุ ทีไ่ ม่เหมาะสมอาจกอ่ ใหเ้ กิดอุบัตเิ หตุ เช่น • การบรรทุกน้�ำหนกั สัมภาระมากเกินไปจะมีผลเสยี กับ การชนหรือรถล้ม ซง่ึ ทา่ นอาจไดร้ บั บาดเจ็บสาหสั หรือถึงแกเ่ สียชีวติ ได้ การบงั คับ การเบรก และการทรงตัวของรถจักรยาน- ยนตข์ องทา่ น ปฏบิ ตั ิตามขดี จ�ำกัดในการบรรทกุ ท้งั หมดและค�ำ ท่านควรขับขโี่ ดยใชค้ วามเร็วทป่ี ลอดภยั ใหเ้ หมาะสม แนะน�ำในการบรรทุกอ่ืนๆ ท่ปี รากฏอยใู่ นคู่มอื กับนำ้� หนกั ทท่ี ่านบรรทกุ เสมอ เล่มนี้ • หลีกเลีย่ งการบรรทกุ ของท่มี นี ำ�้ หนกั มากเกนิ ไป และ ควรบรรทกุ ของใหอ้ ยูภ่ ายในขีดจ�ำกัดในการบรรทุก ท่รี ะบุไว้ อ้างอิง ความสามารถในการรับน�้ำหนกั สูงสุด/ น�้ำหนักสมั ภาระสูงสดุ ทีร่ บั ได้ หนา้ 109 • ผกู มดั สมั ภาระทงั้ หมดไว้อยา่ งแน่นหนา วางน�้ำหนัก สัมภาระใหไ้ ด้สมดลุ เทา่ กันทง้ั สองดา้ น และใหไ้ ด้จุด ศนู ย์ถ่วงของรถเทา่ ทจ่ี ะเปน็ ไปได้ • อย่าวางส่ิงของไวใ้ กล้ไฟสญั ญาณตา่ งๆ หรอื ท่อไอเสยี 12
แผนภาพแสดงการขบั ขร่ี ถจักรยานยนต์ข้นั พนื้ ฐาน การตรวจเชค็ กอ่ นการขับขี่ หน้า 40 การเรง่ ความเร็ว ค�ำ แนะน�ำ การใชง้ าน ตรวจเช็คสภาพรถจักรยานยนตข์ องทา่ นอยา่ งละเอียด ค่อยๆ บดิ คนั เรง่ เพม่ิ ความเรว็ ทลี ะน้อย เพื่อให้แน่ใจว่ามคี วามปลอดภยั ในการขบั ข่ี ปฏิบัตติ ามขดี จำ�กัดความเรว็ ทีก่ ำ�หนด การเปลย่ี นเกียร์ หนา้ 29 การใชอ้ ปุ กรณพ์ น้ื ฐาน การสตารท์ เครือ่ งยนต์ หน้า 26 การออกรถ เครื่องวัดตา่ งๆ หน้า 19 สญั ญาณไฟตา่ งๆ หนา้ 20 สตารท์ และอุ่นเครือ่ งยนต์ หลีกเลย่ี งการเรง่ สวทิ ชต์ า่ งๆ หนา้ 22 เคร่ืองยนต์ในขณะทรี่ ถจอดอยกู่ ับที่ การล๊อคคอรถ หน้า 24 ระบบกุญแจนริ ภัย 2 ช้ัน ก่อนท่ีจะออกเดนิ ทาง ให้สญั ญาณแสดง (ยกเว้น AFS110KDF) หน้า 25 ทิศทางที่จะไปดว้ ยสวทิ ชไ์ ฟเลย้ี ว และเพอ่ื ความปลอดภัยให้ตรวจสอบดูวา่ มีรถมา จากทางดา้ นหลงั หรือไม่กอ่ นออกรถ 13
การเบรก ผ่อนคนั เรง่ และใช้ท้งั คนั เบรกหน้าและคนั เบรกหลัง การจอดรถ หน้า 9 พรอ้ มกนั ค�ำ แนะน�ำ การใชง้ าน จอดรถบนพ้นื ทม่ี ่นั คงแข็งแรงและมรี ะดบั ไฟเบรกจะตดิ เพื่อแสดงวา่ ท่านบบี คนั เบรกหน้า เสมอกนั ใช้ขาตั้งขา้ งหรือขาตั้งกลาง ลอ๊ ค และกดคนั เบรกหลังอยู่ คอรถไว้ และปดิ ระบบกญุ แจนิรภัย 2 ชัน้ (ยกเว้น AFS110KDF) การหยุดรถ การเตมิ น�้ำมนั เชอ้ื เพลงิ หนา้ 31 ถา้ จะน�ำ รถเขา้ จอดขา้ งทาง ใหส้ ัญญาณแต่เนิ่นๆ ซ่ึงนานพอ ที่จะแสดงใหร้ ถคนั อ่ืนๆ เหน็ ว่าทา่ นกำ�ลงั จะขบั ขีร่ ถเขา้ ขา้ งทาง และขอใหข้ บั ขร่ี ถเข้าข้างทางอยา่ งราบรืน่ และปลอดภัย การเลีย้ วโค้ง เบรกกอ่ นทจี่ ะเขา้ โคง้ ค่อยๆ บิดคนั เรง่ เพ่ิมความเร็วของรถอีก คร้ังเม่ือรถกำ�ลงั จะวิง่ ผา่ นทางโคง้ 14
ต�ำ แหนง่ ของช้นิ สว่ นต่างๆ แบตเตอร่ี หนา้ 52 ค�ำ แนะน�ำ การใชง้ าน กล่องฟวิ ส์ หนา้ 96 AFS110KDF ที่แขวนหมวกกนั นอ็ ก หน้า 33 ปลอกคนั เร่ง หนา้ 77 คนั สตาร์ท หน้า 27 คนั เบรกหน้า หน้า 64 สวทิ ชไ์ ฟเบรก หน้า 70 หัวเทียน หน้า 57 คนั เบรกหลงั หนา้ 66 โบ้ลทถ์ า่ ยน้ำ� มันเคร่ือง หน้า 61 ฝาปิดช่องเตมิ นำ้� มันเครอ่ื ง/ก้านวัด หนา้ 59 15
ค�ำ แนะน�ำ การใชง้ าน ไฟหน้า หนา้ 79 ท่แี ขวนหมวกกนั น็อก หน้า 33 ซองเกบ็ เอกสาร หน้า 34 ท่อระบายเรือนไสก้ รองอากาศ ช่องเก็บของอเนกประสงค์ หน้า 34 หนา้ 78 16 ชดุ เคร่อื งมือประจ�ำรถ หน้า 34 เบาะนงั่ หนา้ 33 ฝาปิดถงั นำ�้ มันเช้ือเพลงิ หน้า 31 ทล่ี อ๊ คเบาะ หนา้ 33 โซ่ขบั เคลื่อน หน้า 72 ขาตั้งข้าง หน้า 71 ขาตั้งกลาง หน้า 9 คันเปลยี่ นเกยี ร์ หนา้ 29
ต�ำ แหน่งของชิ้นส่วนต่างๆ (ต่อ) แบตเตอร่ี หน้า 52 กลอ่ งฟิวส์ หนา้ 96 ยกเวน้ AFS110KDF ทแี่ ขวนหมวกกนั นอ็ ก หน้า 33 ปลอกคนั เรง่ หนา้ 77 ค�ำ แนะน�ำ การใชง้ าน กระปกุ นำ�้ มันเบรกหนา้ หนา้ 62 สวทิ ช์ไฟเบรก หน้า 70 คนั สตาร์ท หน้า 27 หัวเทยี น หนา้ 57 คนั เบรกหลัง หน้า 66 โบล้ ทถ์ า่ ยนำ้� มันเคร่อื ง หน้า 61 ฝาปดิ ชอ่ งเติมน้ำ� มนั เคร่อื ง/ก้านวดั หน้า 59 17
ค�ำ แนะน�ำ การใชง้ าน ไฟหน้า หนา้ 79 ทแี่ ขวนหมวกกันน็อก หน้า 33 ซองเก็บเอกสาร หนา้ 34 ท่อระบายเรอื นไสก้ รองอากาศ ชอ่ งเก็บของอเนกประสงค์ หนา้ 34 หนา้ 78 18 ชดุ เครือ่ งมอื ประจ�ำรถ หน้า 34 เบาะนั่ง หน้า 33 ฝาปิดถังนำ�้ มันเชอ้ื เพลงิ หนา้ 31 ทล่ี ๊อคเบาะ หน้า 33 โซข่ บั เคลื่อน หน้า 72 ขาตัง้ ขา้ ง หนา้ 71 ขาตั้งกลาง หน้า 9 คนั เปล่ยี นเกียร์ หน้า 29
เครอื่ งวดั ต่างๆ มาตรวดั ความเรว็ ค�ำ แนะน�ำ การใชง้ าน แสดงความเรว็ แตล่ ะเกียร์ แสดงความเร็วที่ใชใ้ นแต่ละเกยี ร์ มาตรวดั ระยะทาง แสดงระยะทางรวมที่รถวง่ิ เกจวดั ระดบั น้ำ� มนั เชอื้ เพลงิ เมื่อเข็มเกจวดั ระดบั น้�ำมันเชอ้ื เพลิงชีไ้ ปทีแ่ ถบสแี ดง ปรมิ าณน�ำ้ มันเช้อื เพลงิ ที่เหลืออยใู่ นถังนำ�้ มันมคี า่ ประมาณ 0.98 ลิตร 19
สญั ญาณไฟตา่ งๆ ถา้ หน่ึงในสญั ญาณไฟเหล่าน้ไี ม่ติดข้ึนเมื่อถึงเวลาท่คี วรจะตดิ กรณุ าน�ำรถจกั รยานยนตข์ องทา่ นไปเข้ารบั บริการ ตรวจเชค็ ปญั หาโดยศูนยบ์ ริการฮอนดา้ ค�ำ แนะน�ำ การใชง้ าน สญั ญาณไฟบอกต�ำ แหน่งเกียร์ แสดงต�ำ แหนง่ เกยี ร์ 1 ถงึ เกียร์ 4 สัญญาณไฟเลยี้ วซา้ ย สญั ญาณไฟเลีย้ วขวา สัญญาณไฟเกยี รว์ ่าง สญั ญาณไฟสูง สญั ญาณไฟจะตดิ เมื่ออยูใ่ น สญั ญาณไฟ PGM-FI ต�ำ แหน่งเกยี ร์วา่ ง สญั ญาณไฟจะตดิ ขนึ้ เปน็ ชว่ งเวลาสั้นๆ เม่ือสวทิ ชจ์ ดุ ระเบิดอยทู่ ี่ต�ำ แหน่ง ON ถา้ สัญญาณไฟตดิ ขึ้นขณะเครอ่ื งยนตก์ ำ�ลังทำ�งาน : หนา้ 82 20
ค�ำ แนะน�ำ การใชง้ าน 21
สวิทชต์ า่ งๆ ค�ำ แนะน�ำ การใชง้ าน AFS110MCF/MSF ปมุ่ สตาร์ท ปมุ่ แตร สวิทชไ์ ฟเล้ียว กดปุ่มสวิทช์ลงเมอ่ื ต้องการยกเลกิ สญั ญาณ สวิทชไ์ ฟสูง-ต่�ำ : ไฟสงู : ไฟต่�ำ 22
สวทิ ช์จดุ ระเบดิ ค�ำ แนะน�ำ การใชง้ าน เปดิ /ปิดระบบไฟฟา้ หรือลอ๊ คคอรถ สามารถดึงกญุ แจออกได้ เมื่อสวทิ ชจ์ ดุ ระเบดิ อย่ทู ี่ต�ำแหนง่ OFF หรือต�ำแหน่ง LOCK ยกเวน้ AFS110KDF AFS110KDF ON ON เปิดระบบไฟฟา้ เพ่ือการสตารท์ /การขับขี่ เปดิ ระบบไฟฟา้ เพ่ือการสตาร์ท/การขบั ขี่ OFF OFF ดบั เครอ่ื งยนต์ ดบั เครอ่ื งยนต์ LOCK LOCK ลอ๊ คคอรถ ลอ๊ คคอรถ 23
ค�ำ แนะน�ำ การใชง้ าน สวทิ ชต์ ่างๆ (ตอ่ ) การลอ๊ คคอ 1 หมุนแฮนด์รถไปด้านซา้ ยหรอื ดา้ นขวาจนสดุ การลอ๊ คคอรถ 2 กดกุญแจลง และหมุนสวิทชจ์ ุดระเบดิ ไปท่ีต�ำ แหน่ง ควรลอ๊ คคอรถไว้เมื่อจอดรถจักรยานยนต์เพือ่ ช่วย ป้องกันการขโมย LOCK ขอแนะน�ำใหท้ ่านใช้ตัวล๊อคลอ้ กันขโมยรปู ตวั ยหู รือ ให้ขยับแฮนด์ซ้าย-ขวา ถ้าหมุนกญุ แจไปทต่ี ำ�แหน่ง อปุ กรณ์กันขโมยทม่ี ลี กั ษณะใกล้เคียงกันอีกดว้ ย LOCK ไดย้ าก 3 ดงึ กญุ แจออก ยกเว้น AFS110KDF การปลดลอ๊ คคอ กุญแจจดุ ระเบดิ เสียบกญุ แจ กดลง และหมนุ สวิทชจ์ ุดระเบิดไปทตี่ ำ�- แหน่ง OFF กดลง หมุน AFS110KDF กุญแจจุดระเบิด กดลง หมุน 24
ระบบกุญแจนริ ภัย 2 ชั้น ระบบกุญแจนิรภัย 2 ชั้นจะปดิ โดยอัตโนมตั ิเม่อื ท่านดึง ค�ำ แนะน�ำ การใชง้ าน ยกเว้น AFS110KDF กุญแจจดุ ระเบดิ ออกทต่ี �ำ แหนง่ ล๊อค “LOCK” รถจกั รยานยนตร์ นุ่ นีม้ ีสวิทช์จดุ ระเบิดตดิ ตง้ั ร่วมกับระบบ ทา่ นยงั สามารถปิดระบบกุญแจนิรภัยดว้ ยมอื ได้ด้วย กุญแจนิรภยั 2 ชั้น หลังจากจอดรถขอใหท้ า่ นปดิ ระบบ การปดิ กญุ แจนิรภยั 2 ชั้นเพือ่ ปอ้ งกันการขโมย 1 ถอดกญุ แจจุดระเบิดออกจากสวิทช์จดุ ระเบิด 2 จดั ใหเ้ ดอื ยของกญุ แจนริ ภยั ลงในร่องของสวทิ ช์ ต�ำแหน่งล๊อค “LOCK” กญุ แจนริ ภัย และหมุนกญุ แจนริ ภยั ทวนเข็มนาฬิกา 3 ดึงกุญแจออก เปิด การเปิด ปิด จัดให้เดือยของกุญแจนริ ภยั ลงในรอ่ งของสวิทช์กญุ แจ นิรภัย และหมนุ กุญแจนริ ภัยตามเข็มนาฬิกา รอ่ ง กญุ แจนิรภัย 25 กญุ แจจุด ระเบิด เดอื ยของกุญแจนริ ภยั
ค�ำ แนะน�ำ การใชง้ าน การสตาร์ทเครือ่ งยนต์ สตาร์ทเครือ่ งยนต์โดยปฏิบัติตามขน้ั ตอนดงั ต่อไปนีโ้ ดย ไมค่ �ำ นึงถงึ ว่าเคร่อื งยนตจ์ ะอนุ่ หรือเยน็ ก็ตาม ขอ้ สงั เกต • ถ้าเครอื่ งยนต์สตาร์ทไม่ติดภายใน 5 วินาที ใหห้ มนุ สวิทชจ์ ุด ระเบิดไปที่ต�ำ แหนง่ OFF และรอเปน็ เวลา 10 วินาทกี ่อนจะ ลองสตารท์ เครอื่ งยนตอ์ กี ครงั้ เพื่อฟนื้ ฟแู รงเคลอื่ นไฟฟ้าของ แบตเตอร่ี (ใชป้ ุ่มสตาร์ท) • การเดินเบารอบสูงเป็นเวลานานและการเรง่ เครอ่ื งยนตอ์ ยูก่ บั ท่อี าจทำ�ใหเ้ ครอื่ งยนต์และระบบไอเสียเกิดความเสียหายได้ • เครอ่ื งยนตจ์ ะสตารท์ ไมต่ ดิ หากบิดคนั เรง่ จนสุด 26
1 หมุนสวิทช์จดุ ระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง ON ติด) บิดคันเรง่ เล็กนอ้ ยแล้วถีบคันสตารท์ จากต�ำแหนง่ สงู สดุ 2 เปล่ยี นเปน็ เกยี ร์ว่าง (สญั ญาณไฟรปู ตวั ของช่วงคันสตาร์ทจนถงึ ต�ำแหนง่ ต�่ำสดุ ด้วยความเรว็ 3 ใช้ปุ่มสตารท์ และต่อเนือ่ ง ค�ำ แนะน�ำ การใชง้ าน ไม่ควรถบี คนั สตารท์ ในขณะท่เี ครอื่ งยนต์ท�ำงานเพราะ AFS110MCF/MSF จะท�ำใหเ้ คร่ืองยนตเ์ สยี หายได้ และไมค่ วรถีบคันสตารท์ แรงเกินไป บดิ คนั เร่งเลก็ นอ้ ย หลังจากนัน้ กดปมุ่ สตาร์ท พับคันสตารท์ เกบ็ เข้าทท่ี ุกครง้ั หลังเลิกใช้งาน ใชค้ ันสตาร์ท กดคันสตารท์ เบาๆ จนกระทง่ั รู้สึกว่ามแี รงตา้ น จากนั้นปล่อยใหค้ ันสตารท์ กลับไปทีต่ ำ�แหนง่ สงู สดุ ของ ชว่ งคนั สตาร์ทตามเดมิ 27
ค�ำ แนะน�ำ การใชง้ าน การสตาร์ทเคร่ืองยนต์ (ตอ่ ) ถา้ เครื่องยนต์สตาร์ทไมต่ ดิ : 1 หมนุ สวทิ ชจ์ ุดระเบดิ ไปทตี่ �ำแหน่ง OFF ถ้าหากทา่ นไมส่ ามารถสตาร์ทเคร่อื งยนตไ์ ด้ : 2 บิดคนั เร่งจนสุด บดิ คันเรง่ เลก็ น้อย (ประมาณ 3 มม. ไม่มีระยะฟรี) 3 หมุนเครอ่ื งยนต์โดยการถบี คนั สตารท์ อย่างเรว็ และ (ประมาณ 3 มม. ไมม่ ีระยะฟรี) แรงหลายๆ ครัง้ 4 ปฏิบัติตามข้นั ตอนการสตาร์ทเคร่อื งยนต์ 5 ถา้ เครอ่ื งยนตส์ ตาร์ทติด ใหบ้ ดิ คันเรง่ เล็กน้อยหาก รอบเดินเบาไมส่ มำ่� เสมอ 6 ถา้ เคร่ืองยนต์สตารท์ ไมต่ ิด ใหร้ อเปน็ เวลา 10 วินาที กอ่ นทจี่ ะปฏบิ ตั ติ ามขัน้ ตอนที่ 1 - 4 ใหม่อีกครั้ง ถ้าเคร่อื งยนตส์ ตารท์ ไมต่ ิด หนา้ 81 28
การเปลี่ยนเกยี ร์ รถหยดุ ค�ำ แนะน�ำ การใชง้ าน รถเคลอ่ื นที่ ระบบส่งก�ำลงั ของรถจกั รยานยนต์ของทา่ นเป็นแบบ 4 เกียร์เดนิ หน้า 29 การเปลีย่ นเกียร์จะแตกตา่ งกนั เมอื่ รถหยุดและเมอื่ รถ เคล่ือนท่ี เมอื่ รถหยดุ สามารถเปลี่ยนจากเกียร์ 4 ไปเกยี รว์ า่ งได้ ทันทดี ้วยระบบเกียร์วน 4 ระดับ เมื่อรถเคลอ่ื นท่จี ะใชก้ ารเปลี่ยนเกยี ร์แบบย้อนกลับ การเปลย่ี นเกียร์จะไมส่ ามารถเปลยี่ นจากเกียร์ 4 เป็น เกียร์ว่างได้ทันที ก่อนเปล่ียนเกยี ร์ทกุ คร้งั จะต้องผอ่ นคันเร่งกอ่ น ใชป้ ลายเท้ากดเบาๆ จนกระทงั่ คันเปลย่ี นเกียร์ตำ่� ลง อย่าเปล่ียนเกียร์โดยไมจ่ �ำเปน็ และขับขรี่ ถโดยทย่ี งั วาง เท้าอย่บู นคันเปลย่ี นเกยี ร์ เพราะอาจจะท�ำใหร้ ะบบ กลไกของเกยี รแ์ ละคลัทช์เสยี หายได้
ค�ำ แนะน�ำ การใชง้ าน การเปล่ยี นเกียร์ (ตอ่ ) การเปลย่ี นเกยี ร์จากเกียรส์ ูงลงสู่เกียร์ต�ำ่ การเปลยี่ นเกียรท์ ่ีความเรว็ ท่ีสูงกว่าความเรว็ ท่รี ะบุไวใ้ น การเปล่ยี นเกียรท์ เี่ หมาะสมจะชว่ ยป้องกันความเสียหาย ตารางขา้ งล่างนี้ จะท�ำใหร้ อบเครือ่ งยนตส์ งู มากเกนิ ไป ซึง่ จะเกิดกับเครอ่ื งยนตแ์ ละระบบส่งก�ำลงั ได้ และเป็นสาเหตใุ หเ้ กดิ ความเสียหายกบั เคร่ืองยนตแ์ ละ การเปล่ยี นเกยี ร์จากเกยี ร์ต่�ำขน้ึ ส่เู กยี ร์สูง ระบบสง่ ก�ำลงั ได้ ช่วงความเรว็ จ�ำกดั ในแต่ละเกยี รไ์ ด้แสดงไว้ตามหวั ข้อ ควรปฏบิ ตั ิตามตารางข้างล่างนเ้ี ม่อื จะใช้เกียร์ตำ�่ แสดงความเรว็ ในแตล่ ะเกยี ร์ หนา้ 19 ควรเปล่ยี นเกยี รไ์ ปสู่เกียรท์ สี่ ูงกวา่ หลงั จากเลยช่วงความ ความเรว็ ทสี่ ามารถใชไ้ ดเ้ มอ่ื ใชเ้ กยี รต์ ำ�่ เร็วจ�ำกัดในแต่ละเกยี ร์ จากเกยี ร์ 4 ไป เกยี ร์ 3 75 กม./ชม. หรอื นอ้ ยกวา่ การใชเ้ กียร์ทไ่ี มเ่ หมาะสมกบั ช่วงความเร็วทีจ่ �ำกดั ในแต่- จากเกยี ร์ 3 ไป เกยี ร์ 2 50 กม./ชม. หรอื น้อยกว่า ละเกยี ร์อาจท�ำใหเ้ กิดความเสยี หายแก่เครอ่ื งยนต์ได้ จากเกยี ร์ 2 ไป เกยี ร์ 1 30 กม./ชม. หรอื น้อยกว่า 30
การเติมน้�ำมนั เชอื้ เพลงิ ขอบล่างของขอบปาก ฝาปิดถงั น้ำ� มันเชอื้ เพลงิ ถงั นำ้� มันเช้อื เพลิง เคร่ืองหมายลกู ศร ประเภทของนำ�้ มนั เชอื้ เพลิง : น้�ำมันเช้อื เพลิงไรส้ าร ตะก่วั เท่านน้ั ค�ำ แนะน�ำ การใชง้ าน ค่าออกเทนของน�ำ้ มนั เชอื้ เพลิง : รถจักรยานยนต์ของ ทา่ นได้รับการออกแบบมาใหใ้ ชน้ ำ�้ มนั เชือ้ เพลงิ ที่มีคา่ ออกเทน 91 หรือสูงกว่า ความจถุ งั น้�ำมนั เช้อื เพลงิ : 3.7 ลติ ร ค�ำแนะน�ำส�ำหรบั การใช้นำ้� มนั เช้ือเพลงิ และการ เติมน้ำ� มนั เชอื้ เพลงิ หน้า 10 การเปดิ ฝาปิดถงั นำ�้ มนั เชอ้ื เพลิง อย่าเติมน้�ำมันเช้ือเพลงิ จนลน้ เกินจากขอบล่างของขอบ 1 เปดิ เบาะนั่งขนึ้ หน้า 33 ปากถังน้ำ� มันเชื้อเพลิง 2 หมุนฝาปดิ ถงั น�ำ้ มันเช้ือเพลิงทวนเข็มนาฬิกาจน กระทัง่ สุดแลว้ ถอดฝาปดิ ถังน้ำ� มนั เชอื้ เพลิงออก 31
ค�ำ แนะน�ำ การใชง้ าน การเติมนำ้� มันเชือ้ เพลิง (ต่อ) การปิดฝาปิดถังนำ้� มันเช้ือเพลิง 1 ประกอบและขนั ฝาปิดถังนำ้� มนั เชื้อเพลงิ จนแนน่ โดยการหมนุ ตามเขม็ นาฬิกา ต้องแนใ่ จว่าเคร่อื งหมายลกู ศรบนฝาปิดถังน�้ำมัน กบั บนถังน้ำ� มันตรงกนั 2 ปดิ เบาะน่ังลง ค�ำ เตือน น�้ำมันเชือ้ เพลิงมีความไวตอ่ การติดไฟและการระเบิด สงู ท่านอาจไดร้ บั อนั ตรายหรอื บาดเจ็บสาหัสอันเน่อื ง มาจากนำ�้ มันเช้ือเพลงิ ได้ • ดบั เคร่ืองยนตแ์ ละอยูใ่ หห้ า่ งจากความรอ้ น ประกาย ไฟและเปลวไฟ • เติมน้�ำมนั ในท่ีโลง่ แจง้ เท่านนั้ • เช็ดนำ้� มันทหี่ กใหแ้ หง้ ทันที 32
อปุ กรณ์ส�ำหรับการจดั เก็บ ทแี่ ขวนหมวกกันนอ็ ก ทแี่ ขวนหมวกกันน็อกมีอยทู่ ่ีใตเ้ บาะนัง่ ใชท้ ่แี ขวนหมวกกนั นอ็ กเม่ือจอดรถเท่าน้ัน ค�ำ แนะน�ำ การใชง้ าน ทีล่ ๊อคเบาะ ค�ำ เตือน กญุ แจจดุ ระเบิด การขบั ขีใ่ นขณะท่หี มวกกนั นอ็ กยังแขวนติดอยกู่ บั ทแ่ี ขวน หมวกกนั นอ็ กจะท�ำใหก้ ารขบั ข่ีของทา่ นไม่ปลอดภยั ไดแ้ ละ การเปดิ เบาะนัง่ อาจน�ำมาซ่ึงการเกดิ อุบตั ิเหตุ เชน่ การชนหรอื รถลม้ ซ่ึง เสยี บกุญแจจุดระเบิดเข้ากบั ทีล่ ๊อคเบาะ แล้วหมนุ กุญแจ ท่านอาจไดร้ บั บาดเจ็บสาหสั หรอื ถงึ แกเ่ สียชวี ิตได้ จุดระเบดิ ตามเขม็ นาฬิกาเพื่อคลายลอ๊ ค การปดิ เบาะน่ัง ทีแ่ ขวนหมวกกนั นอ็ กออกแบบมาเพ่ือใช้แขวนหมวกกนั นอ็ ก ปิดเบาะนั่งและกดช่วงหลงั ของเบาะนั่งลงจนกระท่งั ล๊อค ในขณะท่จี อดรถเทา่ น้ัน ไมค่ วรขร่ี ถจกั รยานยนตใ์ นขณะ เขา้ ท่ี ต้องแนใ่ จว่าล๊อคเบาะเรียบรอ้ ยแลว้ โดยการดึง ท่ีหมวกกันนอ็ กยงั แขวนอย่กู ับที่แขวนหมวกกันน็อก เบาะน่งั ขน้ึ เลก็ นอ้ ย 33
ค�ำ แนะน�ำ การใชง้ าน อปุ กรณส์ �ำหรับการจดั เก็บ (ตอ่ ) ชุดเคร่ืองมอื ประจำ�รถ ชุดเคร่ืองมือประจำ�รถอยใู่ นชอ่ งเก็บของอเนกประสงค์ ชอ่ งเก็บของอเนกประสงค์ ยกเวน้ AFS110KDF อยา่ เก็บสง่ิ ของใดๆ ซ่ึงตดิ ไฟไดง้ า่ ยหรือสิ่งของท่อี าจ จะเกิดความเสยี หายเนื่องจากความรอ้ นไวใ้ นช่องเกบ็ ชุดเครื่องมือประจ�ำ รถ ของนี้ อย่าเก็บของมีค่าหรือสิง่ ของทแี่ ตกหกั เสียหายงา่ ยไว้ ในช่องเก็บของนี้ ชอ่ งเกบ็ เอกสาร ซองเก็บเอกสาร AFS110KDF ชุดเครื่องมอื ประจ�ำ รถ ซองเกบ็ เอกสาร ช่องเก็บของอเนกประสงค์ ซองเกบ็ เอกสารอยใู่ นชอ่ งเกบ็ เอกสารซ่งึ อย่ดู า้ นตรง ข้ามกับเบาะนั่ง 34
การบำ�รุงรักษา ค�ำ แนะน�ำ การใชง้ าน โปรดอ่าน “ความสำ�คญั ของการบ�ำ รงุ รักษา” และ “หลกั การเบือ้ งตน้ ในการบ�ำ รงุ รกั ษา” โดยละเอียดกอ่ นทำ�การบำ�รงุ รักษาใดๆ ขอให้อ้างถึง “ขอ้ มูลทางเทคนิค” ในสว่ นของ ข้อมูลบริการ ความส�ำคัญของการบ�ำรุงรกั ษา....................... หนา้ 36 เบรก.............................................................. หนา้ 62 ตารางการบ�ำรุงรักษา....................................... หน้า 37 ขาตงั้ ข้าง....................................................... หน้า 71 หลักการเบื้องต้นในการบ�ำรุงรักษา.................. หนา้ 40 โซข่ ับเคลอ่ื น.................................................. หน้า 72 ชดุ เคร่ืองมอื ประจ�ำรถ.................................... หนา้ 51 คันเร่ง............................................................ หน้า 77 การถอดและการประกอบสว่ นประกอบตัวถงั .. หน้า 52 ท่อระบายเรอื นไส้กรองอากาศ...................... หน้า 78 แบตเตอร่ี....................................................... หนา้ 52 การปรับต้ังอนื่ ๆ............................................ หนา้ 79 เรอื นไฟหน้า.................................................... หน้า 54 ระดบั ไฟหน้า................................................ หนา้ 79 หวั เทียน.......................................................... หนา้ 57 น�้ำมนั เครือ่ ง.................................................... หน้า 59
การบ�ำ รุงรกั ษา ความสำ�คญั ของการบ�ำ รงุ รักษา ความปลอดภัยในการบ�ำ รุงรักษา อ่านค�ำ แนะนำ�ส�ำ หรับการบ�ำ รุงรกั ษาก่อนท่ีท่านจะเร่ิมตน้ ความสำ�คญั ของการบำ�รงุ รกั ษา งานบำ�รงุ รกั ษาแต่ละงานเสมอ และตอ้ งแนใ่ จวา่ ท่านมีเครอ่ื ง- การดแู ลรักษารถจักรยานยนตข์ องทา่ นเปน็ อยา่ งดเี ปน็ สิง่ มือ ชิ้นส่วนอะไหลต่ ่างๆ และทักษะความช�ำ นาญทจี่ �ำ เปน็ จ�ำ เป็นอย่างยิง่ ต่อความปลอดภยั ของทา่ น อีกทั้งยังเพื่อปก- ทางบรษิ ัทฯ ไม่สามารถเตอื นท่านใหร้ ะวังอนั ตรายทุกอย่าง ปอ้ งการลงทนุ ของท่านให้มคี วามคมุ้ คา่ เกดิ ประสิทธภิ าพ ทอ่ี าจเกิดขึน้ ไดใ้ นระหว่างการปฏิบัตกิ ารบำ�รงุ รกั ษา ดงั นัน้ สงู สดุ หลกี เลย่ี งกรณกี ารเกดิ รถเสยี หรอื ชิน้ ส่วนของรถช�ำ รดุ ขอให้ท่านตัดสินใจดว้ ยตวั ทา่ นเองวา่ ควรจะกระทำ�การบำ�รุง กะทนั หัน และช่วยลดมลพษิ ทางอากาศด้วย รกั ษาท่ีให้ไว้หรือไม่ การบำ�รุงรักษารถจักรยานยนตถ์ ือเปน็ ความรับผดิ ชอบที่ ปฏิบตั ิตามค�ำ แนะน�ำ เหล่านเ้ี ม่ือทำ�การบ�ำ รงุ รกั ษาใดๆ ส�ำ คญั ของทา่ นเจ้าของรถ ตอ้ งแนใ่ จวา่ ท่านไดท้ ำ�การตรวจ • ดับเครื่องยนต์และดงึ กุญแจออก สอบรถจกั รยานยนตข์ องทา่ นกอ่ นการขับขท่ี กุ คร้ัง และนำ� • จอดรถบนพ้นื ท่มี ัน่ คงแข็งแรงและมรี ะดบั เสมอกันดว้ ยขา- รถเขา้ รบั การตรวจเชค็ ตามระยะท่กี �ำ หนดไว้ในตารางการ ต้ังข้าง ขาตั้งกลาง หรอื ขาต้งั ทใี่ ชใ้ นงานบริการเพื่อที่จะตง้ั บ�ำ รุงรกั ษา หน้า 37 รถใหม้ ่นั คง • ปล่อยให้เคร่อื งยนต์ ท่อไอเสีย เบรก และชน้ิ ส่วนทม่ี ีอณุ หภมู ิ ค�ำ เตอื น การบ�ำรงุ รกั ษารถจักรยานยนต์ของทา่ นอยา่ งไมถ่ กู - สงู ตา่ งๆ เย็นลงกอ่ นท�ำ การบ�ำ รงุ รกั ษาใดๆ เน่อื งจากทา่ น ตอ้ งเหมาะสม หรอื การละเลยในการแกไ้ ขปญั หาก่อน อาจได้รบั บาดเจบ็ จากความรอ้ นหรือการเผาไหม้ได้ การขบั ข่ี อาจท�ำใหเ้ กดิ อบุ ตั ิเหตุ เช่น การชนหรือรถล้ม • ติดเครือ่ งยนตเ์ ม่อื ได้รบั การแนะน�ำ ไว้เท่าน้นั และกระท�ำ ซ่ึงทา่ นอาจไดร้ ับบาดเจบ็ สาหัสหรือถงึ แกเ่ สียชวี ิตได้ เชน่ นนั้ เมื่ออยูใ่ นท่ที ี่มกี ารระบายอากาศทีด่ ี ปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำในการตรวจสอบและการบ�ำรงุ รักษาและตารางการบ�ำรุงรกั ษาในคมู่ ือการใชง้ าน เลม่ น้เี สมอ 36
ตารางการบำ�รุงรกั ษา ตารางการบำ�รงุ รักษาจะระบถุ ึงรายการบำ�รุงรักษาที่ การบ�ำ รงุ รกั ษาตามระยะเวลาทกี่ �ำ หนดไว้ทั้งหมดจะถอื การบ�ำ รุงรกั ษา จ�ำ เปน็ เพือิ่ รับรองวา่ รถจักรยานยนต์ของทา่ นมคี วาม เป็นค่าใช้จ่ายในการดำ�เนนิ การตามปกติที่เจา้ ของรถ ปลอดภัยในการขับข่ี มปี ระสทิ ธภิ าพเชอื่ ถือได้ และมี ต้องเปน็ ผู้รับผิดชอบ และจะถูกเรียกเก็บค่าดำ�เนนิ การ การควบคุมไอเสยี ท่เี หมาะสม ดังกล่าวจากศนู ยบ์ ริการฮอนด้า กรณุ าเก็บรักษาใบเสรจ็ งานบ�ำ รุงรกั ษาควรกระทำ�ตามมาตรฐานของฮอนดา้ ทกุ ใบไว้ หากทา่ นขายรถจกั รยานยนตน์ ้ี ทา่ นควรจะสง่ และข้อมลู ทางเทคนิค โดยช่างเทคนิคท่ไี ด้รบั การฝึก มอบใบเสรจ็ เหล่านี้ใหแ้ กเ่ จา้ ของรถคนใหมพ่ รอ้ มกับรถ อบรมอย่างถูกตอ้ งและมเี ครอ่ื งมือครบครัน ซ่งึ ศูนย์ จักรยานยนต์ บริการฮอนด้ามีคุณสมบตั ิตรงตามขอ้ กำ�หนดดงั กลา่ ว ทางบริษทั ฯ ขอแนะน�ำ ให้ศนู ย์บริการฮอนด้าของท่าน ทั้งหมดขา้ งต้น จดบนั ทึกประวัติการบ�ำ รุงรกั ษาอยา่ ง ทำ�การทดสอบขับข่รี ถจกั รยานยนต์ของทา่ นหลงั จาก ถกู ตอ้ งและแมน่ ย�ำ เพื่อช่วยใหม้ ่ันใจได้ว่ารถจักรยาน- ไดท้ �ำ การบำ�รงุ รักษาแต่ละรายการแลว้ ยนต์ของท่านจะไดร้ บั การบำ�รุงรกั ษาอย่างเหมาะสม ตอ้ งแน่ใจว่าช่างเทคนคิ ผ้ซู ึ่งไดท้ �ำ การบ�ำ รงุ รักษารถ จกั รยานยนตใ์ ห้แก่ทา่ นไดล้ งบันทึกประวตั ิการบำ�รงุ รกั ษาอยา่ งครบถว้ นสมบูรณ์แล้ว 37
ตารางการบ�ำ รงุ รักษา รายการ การตรวจเช็ค x 1,000 กม. ระยะทางทอี่ ่านไดบ้ นเรอื นไมล์ *1 30 36 การ การ อ้างองิ กอ่ นการขับข่ี 1 6 12 18 24 20 24 ตรวจเช็ค เปลย่ี นตาม หน้า สายน้ำ� มันเชอ้ื เพลิง หนา้ 40 x 1,000 ไมล์ 0.6 4 8 12 16 ประจำ�ปี ก�ำ หนด ระดับน้ำ� มนั เชื้อเพลงิ I การท�ำงานของคันเรง่ IIII II - ไสก้ รองอากาศ*2 I ท่อระบายเรอื นไสก้ รองอากาศ*3 I - หัวเทียน การบ�ำ รุงรกั ษา ระยะหา่ งวาล์ว I IIII II 77 นำ�้ มันเครอ่ื ง ตะแกรงกรองนำ้� มนั เครื่อง R R 50 ตัวกรองนำ้� มนั เครอื่ ง รอบเดินเบา 78 โซ่ขับเคลอื่ น I R I RI R 57 II III I RRRRRR I- RR 50 - - II II II II - I ทกุ ๆ 500 กิโลเมตร (300 ไมล)์ : I 72 ระดับของการบำ�รุงรักษา ค�ำ อธบิ ายสญั ลักษณ์เพอ่ื การบ�ำ รงุ รกั ษา : ทกั ษะระดับกลาง ทางบริษัทฯ ขอแนะนำ�ใหท้ ่านน�ำ รถไปเขา้ รับบรกิ ารที่ I : ตรวจเช็ค (ท�ำ ความสะอาด ปรับตง้ั หลอ่ ล่ืน หรอื เปลยี่ นใหม่ถ้าจำ�เป็น) ศูนย์บรกิ ารฮอนดา้ นอกเสียจากท่านจะมเี ครื่องมือท่ีจำ�เป็นและมฝี มี ือทาง R : เปลี่ยน ช่างด้วย : ทำ�ความสะอาด ขั้นตอนการบำ�รงุ รกั ษาต่างๆ มีอยใู่ นคูม่ ือการซอ่ มของฮอนด้า : หล่อลื่น : ทกั ษะด้านเทคนิคท่ีสูงขน้ึ เพอ่ื ความปลอดภัย ขอแนะน�ำ ใหท้ า่ นน�ำ รถไปเขา้ รบั บริการท่ศี นู ย์บริการฮอนดา้ เทา่ นั้น 38
ตารางการบำ�รงุ รักษา รายการ การตรวจเชค็ x 1,000 กม. ระยะทางทอี่ า่ นไดบ้ นเรือนไมล์ *1 30 36 การ การ อ้างองิ กอ่ นการขับข่ี 1 6 12 18 24 24 ตรวจเชค็ เปล่ียนตาม หน้า หนา้ 40 x 1,000 ไมล์ 0.6 4 8 12 16 20 ประจำ�ปี ก�ำ หนด นำ้� มนั เบรก*4 (AFS110KSF/MSF/MCF) I I I I I I I I 2 ปี 62 การสกึ หรอของผา้ เบรก (AFS110KDF) I I I IIII I 69 การสึกหรอของผ้าดิสก์เบรก/ผา้ เบรก I I I IIII I 63, 69 การบ�ำ รุงรกั ษา (AFS110KSF/MSF/MCF) ระบบเบรก I II I I II I I 62 สวิทช์ไฟเบรก I I IIII I 70 ไฟหนา้ I I IIII I 79 ไฟแสงสว่าง/แตร I - ระบบคลทั ช์ II I I II I I - ขาต้งั ขา้ ง I I IIII I 71 ระบบกันสะเทอื น I I IIII I - นอ๊ ต โบล้ ท์ และสกรู I I I II - ลอ้ /ยาง I I I IIII I 47 ลูกปืนคอ I I II - หมายเหตุ : 39 *1 : กรณที ่ีระยะทางทีอ่ า่ นได้บนเรอื นไมล์มรี ะยะทางเกินกวา่ 36,000 กม. ใหท้ �ำ การบ�ำ รงุ รกั ษาต่อไปทกุ ๆ 6,000 กม. โดยเร่ิมดูรายการบำ�รุงรักษาตามคู่มอื ตรงชอ่ ง 6,000 กม., 12,000 กม., 18,000 กม., 24,000 กม., 30,000 กม., และ 36,000 กม. ตามล�ำ ดับ *2 : ควรตรวจเช็คบ�ำ รุงรกั ษาใหบ้ อ่ ยขึ้นถา้ ขับขใ่ี นพนื้ ทีท่ ่ีเปยี กหรือมีฝนุ่ มาก *3 : ควรตรวจเชค็ บำ�รงุ รักษาให้บอ่ ยขึน้ ถา้ ขบั ข่ใี นพ้นื ทีท่ ฝ่ี นตกหรือใช้งานหนัก *4 : เปล่ยี นโดยช่างผู้ช�ำ นาญ
หลักการเบ้ืองต้นในการบ�ำ รงุ รกั ษา การบ�ำ รุงรกั ษา การตรวจเช็คก่อนการขับขี่ • โซ่ขับเคลือ่ น - เชค็ สภาพของโซแ่ ละความหย่อนของ เพ่ือให้มัน่ ใจในความปลอดภยั ถอื เป็นความรบั ผดิ ชอบ โซ่ ปรับต้งั และหล่อล่ืนถ้าจ�ำเปน็ หน้า 70 ของท่านในการท�ำการตรวจเชค็ กอ่ นการขบั ข่ีและต้อง แน่ใจวา่ ปัญหาใดๆ เก่ยี วกับรถของทา่ นที่ตรวจพบนน้ั • เบรก - เชค็ การท�ำงาน : ไดร้ บั การแกไ้ ขเรยี บร้อยแล้ว การตรวจเชค็ ก่อนการขับ ข่ีน้ันถือเป็นสง่ิ ทจี่ �ำเป็นตอ้ งท�ำ เพราะไมเ่ พียงแตเ่ พื่อให้ ยกเว้น AFS110KDF เกดิ ความปลอดภัยเทา่ นัน้ แต่เปน็ เพราะการที่มชี น้ิ สว่ น เบรกหนา้ : ตรวจสอบระดับน้�ำมันเบรก (หนา้ 62) ของรถเสยี หายกะทนั หันหรือแม้กระทั่งยางแบน ก็อาจ และการสึกหรอของผา้ ดิสก์เบรก หนา้ 63 เปน็ ส่ิงท่ีน�ำความยากล�ำบากมาให้แกท่ า่ นอยา่ งย่ิงใน เบรกหลงั : ตรวจสอบการสึกหรอของผา้ เบรก (หน้า ระหวา่ งการขบั ข่ี 69) และระยะฟรี ปรับต้ังถา้ จ�ำเป็น AFS110KDF ตรวจเชค็ รายการดงั ตอ่ ไปนก้ี ่อนทีท่ ่านจะขับขร่ี ถจักรยานยนต์ : เบรกหน้าและเบรกหลงั : ตรวจสอบการสึกหรอของ • ระดบั น้�ำมนั เช้ือเพลงิ - เติมน�้ำมนั เชอ้ื เพลงิ เมอื่ จ�ำเป็น ผา้ เบรก (หนา้ 69) และระยะฟรี ปรบั ตัง้ ถ้าจ�ำเป็น หน้า 65, 67 หนา้ 31 • อปุ กรณ์ไฟแสงสวา่ งและแตร - ตรวจสอบการท�ำงาน • คนั เร่ง - ตรวจสอบการท�ำงานต้ังแต่เริม่ แรกจนถงึ บดิ ของไฟแสงสว่าง สัญญาณไฟตา่ งๆ และแตรวา่ เป็น ไปอยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสมหรอื ไม่ สุดในสภาพมุมเล้ียวต่างๆ หนา้ 77 • ล้อและยาง - ตรวจเชค็ สภาพและแรงดันลมยาง หน้า • ระดบั นำ�้ มันเคร่อื ง - เตมิ น�ำ้ มนั เครื่องถา้ จ�ำเปน็ เชค็ 47 การรั่วซึม หนา้ 59 40
การเปลีย่ นช้ินสว่ นต่างๆ หลักการเบือ้ งตน้ ในการบำ�รุงรักษา การบ�ำ รุงรกั ษา ควรใช้แตอ่ ะไหลแ่ ท้ของฮอนดา้ หรืออะไหลท่ ี่เทยี บเทา่ เสมอ เพ่อื ให้มน่ั ใจว่ารถจกั รยานยนตข์ องทา่ นมีความ แบตเตอรี่ น่าเช่ือถือและปลอดภยั รถจกั รยานยนตข์ องท่านใชแ้ บตเตอรี่แบบไมต่ ้องบ�ำรงุ รกั ษา ทา่ นไมต่ อ้ งตรวจเช็คระดบั น้ำ� ยาแบตเตอรห่ี รือ ค�ำ เตือน ไมต่ อ้ งเตมิ นำ�้ กลนั่ ลงไป ท�ำความสะอาดขวั้ แบตเตอร่ี การประกอบชนิ้ สว่ นท่ไี ม่ใชข่ องฮอนด้าอาจท�ำให้ ถา้ สกปรกหรอื มีสนิมขนึ้ รถของท่านอยู่ในสภาพไม่ปลอดภยั ได้ และ อย่าถอดซีลของฝาปดิ ช่องเติมน้�ำยาออก การชารจ์ อาจก่อให้เกิดอบุ ตั เิ หตุ เชน่ การชนหรอื รถลม้ แบตเตอรไ่ี มจ่ �ำเปน็ ตอ้ งถอดฝาปดิ ชอ่ งเตมิ นำ้� ยาออก ซึง่ ทา่ นอาจได้รับบาดเจบ็ สาหัสหรือถงึ แก่เสีย ชีวติ ได้ ข้อสงั เกต แบตเตอรีข่ องทา่ นเปน็ แบบไม่ตอ้ งบ�ำรุงรักษา และอาจ ควรใชแ้ ตอ่ ะไหลแ่ ท้ของฮอนดา้ หรอื อะไหลท่ ี่ ไดร้ ับความเสยี หายไดถ้ ้าซลี ของฝาปดิ ช่องเตมิ นำ�้ ยาถกู เทียบเท่าซ่ึงไดร้ บั การออกแบบและรบั รองคณุ - ถอดออกมา ภาพว่าเหมาะสมกบั รถจกั รยานยนตข์ องทา่ น ขอ้ สังเกต แบตเตอรีท่ ถี่ กู ก�ำจัดหรือท้งิ อย่างไมเ่ หมาะสม อาจเปน็ อนั ตรายตอ่ สิ่งแวดลอ้ มและสุขภาพของมนุษย์ ทา่ นควรปฏบิ ัตติ ามขอ้ ก�ำหนดของทอ้ งถ่ินท่มี เี สมอ ส�ำหรบั ค�ำแนะน�ำในการก�ำจดั หรือท้ิงแบตเตอรี่ทเี่ หมาะสม 41
การบ�ำ รุงรกั ษา หลกั การเบือ้ งตน้ ในการบำ�รงุ รกั ษา คำ�เตือน แกส๊ ท่รี ะเหยจากแบตเตอรเี่ ป็นแก๊สไฮโดรเจนซ่งึ ควรปฏิบตั อิ ยา่ งไรในกรณฉี ุกเฉิน ท�ำใหเ้ กดิ ระเบิดได้ระหว่างการปฏบิ ัติงานตามปกติ ถ้ามีกรณีใดกรณหี นง่ึ ดงั ตอ่ ไปน้ีเกิดขนึ้ ใหร้ บี ไปพบแพทย์ หลีกเล่ียงการเกิดเปลวไฟหรือประกายไฟเพราะแกส๊ ทันที ทร่ี ะเหยจากแบตเตอรีส่ ามารถท�ำใหเ้ กดิ ระเบิดได้ • น�้ำยาแบตเตอรกี่ ระเด็นเข้าตา : ซงึ่ ท่านอาจได้รบั บาดเจบ็ สาหสั หรือถึงแก่เสยี ชีวิตได้ สวมเสอื้ ผา้ และหน้ากากป้องกัน หรอื เข้ารับบริการ ล้างตาของท่านดว้ ยน�ำ้ เย็นหลายๆ ครงั้ เป็นเวลา จากช่างทมี่ คี วามช�ำนาญในการบ�ำรงุ รักษาแบตเตอร่ี อย่างน้อยทีส่ ุด 15 นาที การใช้นำ�้ ภายใตแ้ รงดนั อาจ ท�ำใหต้ าของทา่ นไดร้ บั อันตรายได้ การท�ำ ความสะอาดขว้ั แบตเตอร่ี • น�้ำยาแบตเตอรก่ี ระเด็นถูกผวิ หนงั : 1. ถอดแบตเตอร่อี อก หนา้ 52 ถอดเสอื้ ผา้ ท่เี ปื้อนออกและลา้ งท�ำความสะอาด 2. ถ้าขัว้ แบตเตอรีก่ �ำลงั เร่มิ ทจ่ี ะถกู กดั กรอ่ นและมคี ราบ ผิวหนังของท่านดว้ ยนำ้� อย่างทั่วถงึ • น้ำ� ยาแบตเตอรก่ี ระเด็นเขา้ ปาก : สขี าวๆ หรอื คราบซลั เฟตเกาะอยู่ ให้ล้างออกโดยใช้ ลา้ งปากให้สะอาดดว้ ยนำ้� อยา่ งท่วั ถงึ และอยา่ กลนื นำ้� อนุ่ และเช็ดใหส้ ะอาด ลงไป 42
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121