Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือ กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ สำหรับเยาวชน

คู่มือ กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ สำหรับเยาวชน

Published by methinee27022511, 2017-06-01 00:07:54

Description: คู่มือ กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ สำหรับเยาวชน

Search

Read the Text Version

ใบความร.ู้ .. ชว่ งที่ 1 สำหรับสมาชิกยวุ กาชาด เรือ่ ง “ขอ้ คดิ เห็นเก่ยี วกับอาวุธ” (..........) ได้มีการบรรจุแก๊สเข้าไปในลูกปืนใหญ่ และใช้โจมตีข้ามเขตแดนของฝ่ายศัตรู ไม่ว่าจะใช้อาวุธเหล่านี้ด้วยวิธีการอย่างไรก็ตาม อาจทำให้เกิดภยันตรายร้ายแรงได้ แก๊สคลอรีนและฟอสจีนทำลายปอดของเหย่ือ ทำให้ปอดฉีกขาดอย่างรุนแรงจนหมดลมหายใจ แก๊สมัสตาดให้ผลร้ายแรงยิ่งกว่าอย่างน้อยเคร่ืองช่วยหายใจยังสามารถป้องกันพิษของแก๊สคลอรีนและฟอสจีนได้ แต่แก๊สมัสตาดทำลายผวิ หนังทัง้ หมด เชน่ ตา รักแร้ และขาหนบี เผาไหม้ไปทัว่ รา่ งของเหยือ่ เหลอื ไวแ้ ตร่ อยไหม้พพุ อง และความเจ็บปวดท่ยี ากจะพรรณนา - การโจมตีดว้ ยแกส๊ , 1916, คำบอกเล่าของผูท้ ีป่ ระสบกับเหตุการณ์ในอดตี , 1999 (http://www.eyewitnesstohistory.com). [เครื่องบินรบทิ้งระเบิด ที่ทำให้เกิดกลิ่นควันกระจายไปท่ัว] เหมือนกล่ินแอ๊ปเปิ้ลเน่า (...) นาร์จีสลกู สาวของฉนั กเ็ ดินมาหาบน่ ว่ารสู้ กึ แสบตา เจบ็ หน้าอก และปวดท้อง เมอ่ื ฉนั เดนิ เข้าไปใกลเ้ พือ่ ดวู ่ามอี ะไรเกิดขึ้นกับแก แกก็อาเจียนใส่ฉัน (...) แล้วฉันเองก็รู้สึกมีอาการแย่เช่นกัน เราจึงรู้ว่าเป็นอาวุธที่มีพิษและเป็นสารเคมี (...) ฉันมองอะไรไม่เห็นอยู่สี่วัน ส่วนลูก ๆ ของฉันมองไม่เห็นเลย ฉันแทบคลั่ง ในวันท่ีห้าฉนั เปิดตาชา้ ๆ และเห็นภาพทส่ี ยดสยอง ผิวหนังของฉนั และของลูก ๆ กลายเปน็ สีดำ - คำบอกเล่าของอาดีบา อลู า บาเยส เกยี่ วกบั การทงิ้ ระเบิดในหมูบ่ า้ นของเธอที่บาลสิ ัน เมื่อวันที่ 16 เมษายน 1987 (http://news.bbc.co.uk/1/hi/world/middle_east/5277916.stm). คุณรู้มั้ยว่าคุณรู้สึกอย่างไรเมื่อได้เห็นดวงอาทิตย์สว่างจ้าลอยลงมาในวันที่อากาศร้อนมาก ๆวันหน่ึง แสงสีแดงส้มท่ีสว่างจ้า นั่นคือสิ่งที่ฉันคิดว่าฉันเห็น (...) หลังจากเราได้ยินเสียงที่ดังมากเหมือนเสียง ตูม! ตูม! มันเป็นเสียงที่ได้ยิน (...) ทุกสงิ่ ทกุ อยา่ งกำลังล้มครืนลงมา สิ่งปลูกสรา้ งท้ังหมดเรมิ่ ปลิวว่อนไปท่ัวบริเวณ แล้วก็เหมือนมีส่ิงหน่ึงตกลงมา เหมือนฝน ฉันเดาว่าน่ันคือส่ิงท่ีเรียกกันว่า ฝนดำ (...)พวกเราพากนั วงิ่ ต่อไป และคณุ รูม้ ยั้ วา่ มเี ปลวไฟลกุ ไหม้ไล่หลังเรามา - โทมิโกะ โมริโมโตะ ผรู้ อดชีวิตจากการทงิ้ ระเบิดนิวเคลียร์ในฮิโรชมิ า (http://www.voanews.com/english/archive/2005-08/2005-08-05-voa38.cfm).EHL Exploring Humanitarian Law 95 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme

วดี ทิ ศั นแ์ ละบทภาพยนตร.์ ..ชว่ งท่ี 1 สำหรับสมาชิกยวุ กาชาด เรอ่ื ง กบั ดกั ระเบดิ ทีย่ งั คงล่าสงั หาร บทภาพยนตร์ กบั ดักระเบิดทีย่ ังคงล่าสังหาร (9 นาที) วันนา (ที่โรงพยาบาล) ผูม้ าเยี่ยม : มนั เกดิ ข้นึ ยงั ไง วันนา : หนูกำลงั เลยี้ งไกอ่ ยู่ ผมู้ าเย่ียม : ถา้ หนดู แู ลมันดีๆ แล้วกใ็ ห้อาหารมนั พอ มันก็จะทำเงนิ ใหใ้ ช่ไหม วนั นา : ใช่แล้วจะ้ . (กลบั มาบ้าน) ชาวบ้าน : เด็กน้อยกลับมาแล้ว เข้มแข็งไว้นะ อีกหน่อยหนูก็จะกลับมาเดินได้เหมือนเด็ก คนอน่ื ๆ ยมิ้ แลว้ กม็ องไปรอบ ๆ นะ ฉนั จะไปดขู าของเธอ ตอนนผี้ วิ หนงั ใหมเ่ รมิ่ ขนึ้ มาแล้ว ผิวหนังใหม่ดูดีข้ึน แต่เธอก็จะมีแผลเป็น แต่พอทายาแล้ว รอยแผลก็จะ หายไป ผวิ ท่ีข้นึ มาใหมก่ ็จะดูเหมือนธรรมชาติ (อยใู่ นน้ำกับเดก็ ๆ) เดก็ คนอน่ื ๆ ชว่ ยเหลอื วนั นา : ใสร่ องเทา้ ซะ มนั ยงั เลอะอยู่ เอาละ่ ตอนน้ใี สไ่ ด้แลว้ ผูบ้ รรยาย ทกี่ ัมพชู าน้ี มคี นพิการมากกว่า 35,000 คน ซง่ึ เทยี บเทา่ กับ 1 ต่อ 230 ของจำนวนประชากร หลายคนตายจากพิษบาดแผล หรือเลือดไหลไม่หยดุ จนตาย กอ่ นที่จะได้ รับการรกั ษาทันทว่ งที บางทีเราอาจไม่มีทางรู้ได้แน่ชัดว่ามีกับดักระเบิดฝังอยู่มากเท่าใดท่ัวโลก หรือมีผู้ตกเป็นเหยื่อ ของมันมากน้อยแค่ไหน อาจจะยังคงมีระเบิดอีกกว่าล้านลูกรอให้กู้ข้ึนมา เป็นปัญหาท่ีแพร่กระจาย อย่ทู ั่วโลก ทกุ ทวปี นับแต่ลาตนิ อเมริกาไปจนถงึ เอเชยี การบาดเจ็บจากกับดักระเบิดท่ีเป็นอยู่ตามปกติก็คือ การสูญเสียมือ แขนขาหรือเท้า หลายคนสูญ เสยี การมองเห็นหรือทนทุกข์กับความเจ็บปวดจนไมส่ ามารถกลับมามีชีวิตตามปกติได้อีก96 EHLคู่มอื การจดั กิจกรรมยวุ กาชาด เรือ่ ง การเรียนรกู้ ฎหมายมนษุ ยธรรมรเะพหวื่อ่าเงยปารวะเชทนศ

เหยื่อของกับดักระเบิดมักไม่สามารถกลับมาดำรงชีวิตตามเดิมได้ และค่าใช้จ่ายทางสังคมในการฟื้นฟูสภาพชวี ติ กม็ กั จะสูงเกินกว่าหนว่ ยงานสวัสดกิ ารสังคมจะรบั ผิดชอบไหว การบาดเจ็บจากกับดักระเบิดไม่มีวันส้ินสุด ถ้าคนเสียขาไปเม่ืออายุ 25 ปี เขาอาจต้องใช้ขาเทียมกวา่ 10 อันไปจนกระทั่งอายุ 65 ถา้ เป็นเดก็ ก็อาจตอ้ งเปลี่ยนขาเทียมใหมท่ กุ ๆ 6 เดอื น นอกเหนือจากผลกระทบทางกายแล้ว กับดักระเบิดยังเป็นเคร่ืองกีดก้ันการเข้าไปหาแหล่งน้ำแหลง่ เกษตรกรรมหรอื ความตอ้ งการพนื้ ฐานอ่ืน ๆ การใชก้ บั ดกั ระเบดิ เปน็ การใชเ้ ทคโนโลยีในทางท่ผี ดิ สำหรบั ประเทศท่ียากจนน้ัน คา่ ใชจ้ ่ายไมว่ ่าจะเปน็ เรอื่ งของคนหรือในทางเศรษฐกจิ มกั จะหนักหนาเกินกวา่ จะแบกรับ ผู้กู้กับดักระเบิดจะต้องทำงานช้า ๆ ด้วยความระมดั ระวงั ในการพลกิ พ้นื ดนิ ไปท่ัวทุกตารางน้วิ เพื่อให้ม่นั ใจได้วา่ จะพบวัตถุระเบดิ และเอาออกไป อาจต้องใชเ้ วลากวา่ 1 เดือนในการทีท่ มี งาน 3 คนจะกวาดลา้ งกบั ดักระเบดิ จากอาณาบรเิ วณกว้างประมาณสนามเทนนิส การทำให้ประเทศปลอดจากกับดักระเบิดต้องส้ินเปลืองอย่างมากและกินเวลานาน ขนึ้ อยู่กับวา่ มรี ะเบิดฝงั อยมู่ ากน้อยเพียงใดและในบริเวณกวา้ งเพยี งใด อเมเลีย (ทห่ี มูบ่ ้าน) อเมเลีย อายุ 12 ตาบอดและพิการ เธอเป็นหนึ่งในบรรดาเหย่ือจำนวนนับไม่ถ้วนของกับดักระเบิดอเมเลียเคยเข้าป่าหาฟืนเหมือนเด็กอายุรุ่นราวคราวเดียวกัน แต่ศัตรูรอเธออยู่ที่น่ัน และในวันหนึ่ง เพียงแค่เสีย้ ววินาทีเดยี วเทา่ นั้น ชีวติ ของเธอกย็ ่อยยบั (ทศี่ นู ยฟ์ ้ืนฟรู า่ งกาย) นค่ี ือที่ทีอ่ เมเลียมาบ่อย ๆ เพ่ือฝึกใหก้ ลบั มาเดินได้อีกและฝกึ ใช้ชวี ิตแบบคนพกิ ารEHL Exploring Humanitarian Law 97 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme

ใบความรู้... ช่วงท่ี 1 สำหรบั สมาชิกยวุ กาชาด เรือ่ ง วัตถรุ ะเบิดทห่ี ลงเหลอื จากสงคราม เกมจบั ของตอ้ งห้าม เด็ก 8 คน อายุระหว่าง 10-16 ปี กำลังเล่นกันอยู่บนยอดเนินแห่งหน่ึง เม่ือไปพบระเบิด 2 ลูกท่ี ยังไม่ระเบิด เด็กโต 2 คนในกลุ่มเริ่มเข้าไปเล่นลูกระเบิดนั้น เด็กชายคนหนึ่งเล่าว่า แม้จะมีการเตือนจาก เด็กคนอื่น ๆ ไม่ให้ไปยุ่งกับมัน แต่เขาก็ยังนำระเบิดขว้างลงท่ีพื้นหลายครั้ง มันไม่ระเบิด เขาจึงขว้างมัน ไปที่เพื่อนคนหนึ่ง แล้วเกิดระเบิดข้ึนกลางอากาศ ฆ่าเด็กชายอายุ 12 ขวบและทำให้น้องชายอายุ 10 ขวบ ของเดก็ ชายไดร้ ับบาดเจ็บสาหสั เด็กคนอื่น ๆ กไ็ ด้รบั บาดเจ็บเชน่ กัน แหล่งข้อมูล : Cluster Bombs and Landmines in Kosovo: Explosive Remnants of War, ICRC, Geneva, 2000. ฤดูรอ้ นวนั หนึง่ กลอจี้ เด็กชายอายุ 17 ปี และญาติ ๆ กำลังสนุกสนานกับการปิดภาคเรียนฤดูร้อนท่ีบ้านของย่า ซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของจอร์เจีย วันหนึ่งญาติผู้น้องได้พบของบางอย่างคล้ายลูกกระสุนขนาดใหญ่ลูกหน่ึง มันเป็นสิ่งท่ีคล้ายกับปลอกโลหะ หรือช้ินส่วนท่ีพวกนายพรานและคนอ่ืน ๆ ในหมู่บ้านนำดินปืนข้างใน ออกก่อนนำไปขาย ดังน้ันเขาและญาติ ๆ จึงตัดสินใจนำมันไปให้ลุงของเขา ในระหว่างทางด้วยความอยากรู้ อยากเหน็ ทำให้พวกเขาพยายามที่จะแกะดูข้างใน มันจึงหลน่ ไปกระทบกับกอ้ นหิน กลอจี้ : ผมจำอะไรไม่ได้เลย ยกเว้นเสียงบูมที่ดังมาก แล้วก็เลือดและจุดสีต่าง ๆ ที่อยู่ในมโนภาพ แขนซ้ายของผมได้รับบาดเจ็บ และอาบด้วยเลือด ลีนาน้องสาวของผมมีแผลที่ท้อง ญาติของผมมีเลือด ไหลท่ตี าเตม็ ไปหมด และมองอะไรไม่เห็น ต่อมา (...) หมอผ่าตัดตกใจมากกับจำนวนช้ินส่วนโลหะที่อยู่ในตาของญาติของผม เขาต้องเอามัน ออกให้หมด โชคดีการผ่าตัดประสพความสำเร็จ และญาติของผมตอนนี้สบายดีแล้ว สำหรับตัวผมเอง หมอบอกว่าผมต้องใส่แขนเทียมข้างซ้าย (...) ผมเคยฝันไว้ว่าวันหนึ่งจะเป็นนักมวยปล้ำ แต่ฝันของผม สลายไปแลว้ ครบั แหลง่ ขอ้ มลู : Explosive remnants of War, The lethal legacy of modern armed conflict, ICRC, Geneva, 2004. คำถาม : สมาชิกยุวกาชาดคิดว่าวัตถุระเบิดที่หลงเหลือจากสงคราม จะทำให้เกิดปัญหา อยา่ งไรกบั ท่ัวโลก98 EHLค่มู อื การจดั กจิ กรรมยวุ กาชาด เรื่อง การเรยี นรู้กฎหมายมนษุ ยธรรมรเะพหวอ่ื ่าเงยปารวะเชทนศ

วัตถรุ ะเบดิ ทห่ี ลงเหลือจากสงคราม คืออะไร “วตั ถรุ ะเบดิ ทหี่ ลงเหลอื จากสงคราม” เปน็ คำทใี่ ชอ้ ธบิ ายวตั ถุ ระเบดิ ทางทหารท่ีถกู ทง้ิ หลังจากการสู้รบส้ินสุดลง ระเบิดเหล่านรี้ วมถงึ ลกู ปนื ใหญ่ ระเบดิ มอื ลกู ปนื ครก ระเบดิสงั หารหมขู่ นาดเลก็ จรวด และจรวดจากอาวุธปืนใหญ่ อาวุธเหล่าน้ีอาจดูไม่มีพิษมีภัยต่อพลเรือน โดยเฉพาะเด็ก ๆ ซึ่งมักจะเป็นผู้พบของเหล่าน้ีบนพ้ืน อยา่ งไรกต็ ามวตั ถเุ หลา่ น้ีเป็นอันตรายอย่างมาก เพราะว่ามันสามารถ ระเบิดได้หากถูกสัมผัสหรือกระทบกระเทือนอาจตอ้ งใชเ้ วลาหลายปี หรือเป็นศตวรรษในการกวาดล้างพื้นท่ีท่ีมีวัตถุระเบิดที่หลงเหลือจากสงครามทำไมจงึ มคี วามห่วงใยเจาะจงไปท่อี าวุธท่เี ปน็ ระเบดิ แตกกระจาย อาวุธเหล่าน้ีถูกใช้ในการสู้รบหลายคร้ังในห้วง 40 ปีท่ีผ่านมาโดยความเสียหาย มักกระทบเจาะจงไปที่พลเรือน อาวุธชนิดนี้ประกอบด้วยภาชนะท่ีเปิดได้ และทำให้ระเบิดลูกเล็ก ๆ นับสิบหรือร้อย แตกกระจายออกไปในพ้ืนท่ีบริเวณกว้าง ระเบิดเล็ก ๆเหล่าน้ีถูกออกแบบให้ระเบิดไปยังเป้าหมายที่ต้องการ แต่ในทางปฏิบัติมันไม่สามารถถูกควบคุมให้ไปในทิศทางเดียวกันได้หมดโดยเหตุน้ีจึงทำให้มีระเบิดนับหมื่นหรือล้านชิ้นที่น่ากลัวถูกทิ้งอยู่บนพ้ืนดนิ นอกจากนี้ เมอ่ื อาวธุ เหลา่ นถี้ กู ใชใ้ นพน้ื ทอี่ ยอู่ าศยั ของประชาชนซึ่งมักเป็นที่ท่ีเป้าหมายทางพลเรือนและทหารอยู่ใกล้เคียงกันอาวธุ เหล่าน้ีจงึ สามารถทำใหพ้ ลเรอื นล้มตายจำนวนมาก แหล่งข้อมูล : Explosive remnants of war : The lethallegacy of modern armed conflict, ICRC Geneva, 2004. Bosnia and HerzegovinaEHL Exploring Humanitarian Law 99 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme

ใบงาน... ช่วงที่ 1 สำหรบั สมาชิกยวุ กาชาด เร่ือง วตั ถุระเบดิ ท่ีหลงเหลอื จากสงคราม คำชี้แจง 1. ให้สมาชกิ ยวุ กาชาดอ่านเรื่อง วตั ถุระเบดิ ท่ีหลงเหลือจากสงคราม 2. สมาชิกยุวกาชาดคิดว่าวัตถุระเบิดที่หลงเหลือจากสงคราม จะทำให้เกิดปัญหาอย่างไรกับ ท่ัวโลก แล้วเขยี นคำตอบในใบงานนี้ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................100 EHLคมู่ อื การจัดกิจกรรมยวุ กาชาด เรอื่ ง การเรียนร้กู ฎหมายมนุษยธรรมรเะพหวอื่ า่ เงยปารวะเชทนศ

ใบความรู้... ชว่ งท่ี 2 สำหรบั สมาชิกยวุ กาชาด เรอื่ ง มองที่ผลกระทบ อะไรคอื ขอบเขตของความเสย่ี งทเี่ กดิ ขน้ึ จากทนุ่ ระเบดิ สงั หารบคุ คล และวตั ถรุ ะเบดิ ทห่ี ลงเหลอื จากสงคราม ปัจจุบัน มีลูกระเบิดและวัตถุระเบิดท่ีหลงเหลือจากสงครามวางกระจายอยู่ในที่ต่าง ๆ ท่ัวโลกกว่า 80 แห่ง เป็นการยากท่ีจะประเมินว่ามีอยู่จำนวนเท่าไร เพราะไม่ได้มีการจดบันทึกท่ีแน่นอน ขณะท่ีร ะเบดิ เหลา่ นถ้ี กู วาง หรือถกู ท้ิงไวห้ ลังจากการสู้รบจบส้ิน ความสญู เสยี ทเี่ กดิ ขึน้ กับผ้คู นมีมากเพียงใด ประมาณการกันวา่ ทกุ ๆ เดอื นมปี ระชาชน ระหว่าง 550-620 คนตกเป็นเหยอื่ ของทุ่นระเบดิ สงั หารบุคคลและวัตถุระเบิดชนิดอื่น ๆ ท่ีถูกท้ิงไว้หลังสงคราม ผู้ที่รอดชีวิตต้องถูกตัดแขนขา รับการผ่าตัดหลายครั้ง และใช้เวลาในการฟื้นฟูสภาพร่างกายเป็นเวลานาน มีการประเมินว่า ปัจจุบันน้ีมีประชาชน ระหว่าง400,000-500,000 คนทั่วโลกที่รอดชีวิตจากการระเบิดของทุ่นระเบิด หรือวัตถุระเบิดที่หลงเหลือจากสงคราม มีผู้ท่ีสูญเสียแขนขา แต่ไม่ได้รับการฟ้ืนฟูสภาพร่างกายเพราะว่าบ้านไกล หรือเดินทางลำบาก หรือค่าใช้จ่ายแพงเกินไป แม้แต่ผู้ที่ได้รับบริการดังกล่าว ยังอาจมีปัญหาเรื่องค่าใช้จ่ายของแขนขาเทียมที่สูงเกินกว่าจะจ่ายได้ ตัวอย่างเช่น อวัยวะเทียมของเด็กที่ต้องเปลี่ยนทุก 6 เดือน ของผู้ใหญ่ท่ีต้องเปล่ียนทุก 3-5 ปี เด็กที่ได้รับบาดเจ็บท่ีมีอายุ 10 ปี ต้องการอวัยวะเทียมอย่างน้อย 25 ชุดกว่าจะถึงอายุ 50 ปีเน่ืองจากอวัยวะเทียมชิ้นหนึ่งราคาประมาณ 250 ดอลล่าร์สหรัฐ ในประเทศท่ีมีรายได้ต่อเดือนต่อหัวระหว่าง 15-25 ดอลล่าร์สหรัฐ จึงยากที่ผู้สูญเสียแขนขาจะรับภาระนี้ได้ มีการศึกษาและได้ประเมินไว้ว่าประมาณ 2 ใน 3 ของเหยอื่ อาจเป็นหนจ้ี ากคา่ รักษาพยาบาลในสว่ นน้ี นอกจากระเบิด หรือวัตถุระเบิดท่ีหลงเหลือจากสงคราม ทำให้เกิดการบาดเจ็บทางร่างกายแล้วยังมผี ลกระทบอย่างมากต่อจติ ใจของเหยอ่ื เป็นการยากสำหรับเดก็ ๆ วยั ร่นุ และแม้แต่ผ้ใู หญท่ จี่ ะเอาชนะความพิการทางร่างกายได้ มีผลสืบเนื่องท่ีสำคัญเช่นกัน สำหรับครอบครัว เพราะว่าการบาดเจ็บจะอยู่กับเหยื่ออย่างถาวร โดยเฉพาะเมื่อพวกเขาต้องกลายเป็นคนพิการถาวร ซึ่งเป็นความยุ่งยากต่อการศึกษาเลา่ เรียนหรอื จำกัดความเป็นไปได้เร่ืองการแตง่ งาน หรอื ทำใหไ้ มส่ ามารถหาเลี้ยงตนเองได้ อะไรคือผลกระทบอนื่ ๆ ทุ่นระเบิดหรือวัตถุระเบิดท่ีหลงเหลือจากสงครามเป็นอุปสรรคสำคัญต่อการพัฒนาประเทศที่ยากจนท่ัวโลก สาธารณูปโภคทสี่ ำคญั เชน่ ถนน สะพาน มักถูกระเบดิ ทำลาย และพ้ืนท่ีเกษตรกรรม แมแ้ ต่ตัวเมืองอาจกลายเป็นจุลจากวัตถุระเบิดที่ยังไม่ระเบิดซ่ึงเป็นผลจากการสู้รบ ทุ่นระเบิดหรือวัตถุระเบิดท่ีหลงเหลือจากสงครามนำมาซึ่งปัญหาของผู้อพยพ เน่ืองจากระเบิดที่วางอยู่บนพ้ืน ทำให้พื้นท่ีนับหม่ืนตารางกิโลเมตรที่ใช้ในการทำไร่ทำนา สูญเปล่า เป็นอุปสรรคต่อการขนส่งและการติดต่อด้วยเม่ือไม่มีทางเลือก ประชาชนจำนวนมากจึงต้องพาตัวเองเข้าไปเสี่ยงกับอันตรายในการทำไร่นา หรือเก็บฟืนในบริเวณท่ีมีอาวุธระเบิดฝังอยู่ นอกจากนี้ การกวาดล้างวัตถุระเบิดท่ีหลงเหลือจากสงคราม ต้องใช้คนจำนวนมากซึ่งเป็นทรัพยากรบุคคลซึ่งมีจำนวนไม่พอเพียงต่อการฟื้นฟูสังคมที่ยากจนหลังสงครามการฟนื้ คืนชุมชน และเศรษฐกจิ ขึ้นใหมเ่ ปน็ เรอ่ื งทยี่ ากยิ่งในสภาพเช่นน้นั EHL Exploring Humanitarian Law 101 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme

ใบงาน... ชว่ งท่ี 2 สำหรับสมาชกิ ยุวกาชาด เรื่อง ผลกระทบของวัตถรุ ะเบิดท่หี ลงเหลือจากสงครามคำชี้แจง แบ่งกลุ่มสมาชิกยุวกาชาดกลุ่มละ 5 คน วิเคราะห์ผลกระทบจากวัตถุระเบิดท่ีหลงเหลือจากสงครามว่ามผี ลต่อชวี ิตของบคุ คลทั้งในดา้ นร่างกาย จิตใจ การศกึ ษา สังคมและเศรษฐกจิ อยา่ งไร ระดบั ของ ผลสืบเนอ่ื ง สงั คม เศรษฐกจิ การวเิ คราะห ์ ร่างกาย จติ ใจ การศกึ ษา ปจั เจกบคุ คล ครอบครวั ชมุ ชน/สังคม ประเทศ โลก กลุ่มท่.ี ....................... โรงเรียน.........................................................สมาชกิ กลมุ่ ............................................... 1................................................................. 2................................................................. 3................................................................. 4................................................................. 5................................................................. 6.................................................................102 EHLคมู่ ือการจดั กจิ กรรมยุวกาชาด เรอ่ื ง การเรยี นรกู้ ฎหมายมนษุ ยธรรมรเะพหวอื่ า่ เงยปารวะเชทนศ

Exploring Humanitarian Law ใบความรู้ ช่วงที่ 2 สำหรับสมาชกิ ยุวกาชาด EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE แผนทก่ี บั ดกั ระเบิดและวัตถรุ ะเบิดที่หลงเหลือจากสงครามทั่วโลกEHL EHL Programme แหล่งขอ้ มลู : Child Soldiers Global Report 2004 of the Coalition to stop the use of Child Soldiers. คำถาม : This map and the data included are for information purposes only and have no political significance. • ทไี่ หนในโลกทส่ี งครามสงบลงแลว้ • ส่วนใดของโลกทผ่ี คู้ นไดร้ ับผลกระทบ103 จากกบั ดกั ระเบิดและวัตถุท่ีหลงเหลอื จากสงครามมากท่สี ดุ • สมาชกิ ยวุ กาชาดคดิ วา่ จะเปน็ อยา่ งไร หากมีชวี ิตอยู่อยา่ งต้องระมัดระวงั อันตรายอยตู่ ลอดเวลา

ใบความรู้... ชว่ งที่ 2 สำหรบั สมาชกิ ยวุ กาชาด กฎเกณฑข์ องกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ ว่าด้วยอาวธุ 2 ชนิด กฎเกณฑข์ อง IHL ว่าด้วยท่นุ ระเบิดสังหารบุคคล รัฐบาลต้อง : • ไม่ใช้ พัฒนา ผลิต เก็บรกั ษา หรือ โยกย้าย ท่นุ ระเบดิ สังหารบุคคล • ทำลายระเบิดท่เี ก็บรักษาทั้งหมดภายใน 4 ปี หลงั จากเข้าเป็นภาคีในสนธสิ ัญญา • กวาดล้างทนุ่ ระเบิดสังหารบคุ คลทั้งหมดที่อยใู่ นพืน้ ทีใ่ นอาณัติภายใน 10 ปี หลังจากเขา้ เป็นภาคใี นสนธิสัญญา และจนกวา่ จะมีมาตรการในการคมุ้ ครองพลเรอื น (เชน่ ทำเครื่องหมาย และล้อมรั้วพ้นื ทีท่ ่ีมรี ะเบดิ ) • สนบั สนนุ รฐั บาลอนื่ ๆ ในการกวาดลา้ ง ใหค้ วามรเู้ กย่ี วกบั ความเสย่ี งของระเบดิ ใหก้ ารดแู ล และฟนื้ ฟเู หยอื่ ระเบดิ แหล่งขอ้ มูล : อนุสัญญาวา่ ด้วยการห้ามใชท้ ่นุ ระเบิดสงั หารบคุ คล ปี ค.ศ. 1997 กฎเกณฑ์ของ IHL วา่ ดว้ ยวัตถรุ ะเบดิ ท่ีหลงเหลือจากสงคราม รัฐบาลและกลมุ่ ตดิ อาวุธต้อง : • ทำเครื่องหมาย และกวาดล้างวัตถุระเบิดท่ีหลงเหลือจากสงครามท้ังหมดให้เร็วที่สุดเท่าที่ จะทำได้ หลังจากการสู้รบสิน้ สุดลง • ให้การคุ้มครองพลเรือน โดยการเตือนภัยล่วงหน้าถึงอันตรายท่ีเกิดจากวัตถุระเบิดท่ีหลงเหลือ จากสงคราม (เชน่ ให้ความรู้เก่ยี วกบั ความเสยี่ งของระเบดิ ทำเครอื่ งหมาย และล้อมร้ัวพืน้ ทท่ี ่ีมีระเบิด) • บันทึกชนิดและท่ีต้ังของวัตถุระเบิดท่ีใช้ และแบ่งปันข้อมูลน้ีให้แก่ ผู้ท่ีควบคุมพื้นท่ีที่ได้รับ ผลกระทบ องค์กรทมี่ สี ว่ นเก่ยี วขอ้ งในการกวาดลา้ งและภารกิจอนื่ ท่ีเกีย่ วข้อง หลังจากการสรู้ บสนิ้ สุด นอกจากนีร้ ฐั บาลยังตอ้ ง : • ชว่ ยเหลอื ในการดูแล ฟน้ื ฟู และการกลบั คนื สสู่ งั คมและเศรษฐกจิ ของเหย่ือ • ช่วยเหลือประเทศท่ีได้รับผลกระทบจากวัตถุระเบิดที่หลงเหลือจากสงครามในการสู้รบที่ ผ่านมา แหล่งข้อมูล : พิธีสาร ฉบับท่ี 5 ว่าด้วยวัตถุระเบิดท่ีหลงเหลือจากสงคราม ปี ค.ศ. 2003 ของอนสุ ัญญาว่าด้วยการหา้ มใชอ้ าวุธตามปกติบางชนิด104 EHLคมู่ ือการจัดกจิ กรรมยวุ กาชาด เรอ่ื ง การเรียนร้กู ฎหมายมนษุ ยธรรมรเะพหวอ่ื ่าเงยปารวะเชทนศ

ใบความร.ู้ .. ชว่ งท่ี 2 สำหรับสมาชกิ ยวุ กาชาด เราไดส้ นธิสญั ญามาอยา่ งไร คำใหส้ มั ภาษณข์ องแมร่ี แวร์แฮม อะไรทำให้คุณสนใจเรื่องทุ่นระเบิดสงั หารบคุ คล ในนิวซีแลนด์ ช่วงปี ค.ศ. 1980-1989 พวกเราเป็นกังวลมากเก่ียวกับการทดลองอาวุธนิวเคลียร์ในมหาสมุทรแปซิฟิก เรือท่ีบรรทุกอาวุธนิวเคลียร์ และพลังงานนิวเคลียร์ ดังนั้นดิฉันจึงโตมากับเรื่องน้ันที่มหาวิทยาลัย ดิฉันได้เห็นบทความเก่ียวกับทุ่นระเบิด ในจุลสารของอตอมมิค ไซแอนทิส และน่ันทำให้ดิฉันตกตะลึงกับอาวุธชนิดน้ี ดังนั้นดิฉันจึงลงมือวิจัย แต่ไม่พบอะไรเลย มันเป็นอาวุธที่ฆ่าคนมากกว่าอาวุธชนดิ อ่ืน ๆ รวมกนั แล้วเราทำอะไรกับมนั ไปได้บ้างละ่ ตอนนนั้ คณุ อายุเท่าไร ดิฉันเป็นนักศึกษาเพิ่งเรียนจบจากมหาวิทยาลัยในคณะรัฐศาสตร์ ดิฉันกรอกใบสมัครขอทุนการศึกษาสำหรับการตรวจสอบเรื่องทุ่นระเบิด ในเวลานั้น ดิฉันต้องการรู้ว่ารัฐบาลของดิฉันกำลังทำอะไรอยู่ทั้งในด้านการเมือง รวมทั้งในระดับนานาชาติและระดับการทูต เมื่อพูดถึงเรื่องนี้ ในแง่ของการลดหรือยกเลิกการใชอ้ าวุธน้ี เรอื่ งน้กี ลายเปน็ มากกวา่ กจิ กรรมทางวิชาการสำหรับคุณไปไดอ้ ยา่ งไร ดิฉันต้องการตรวจสอบเรื่องน้ีจากมุมมองที่เป็นกลาง ดังนั้นในการประชุมรณรงค์ครั้งหน่ึงท่ีนิวซีแลนด์เพ่ือห้ามการใช้ทุ่นระเบิด ดิฉันน่ังอยู่ด้านหลังห้องประชุมพร้อมด้วยสมุดบันทึกหนึ่งเล่ม พวกเขามองดิฉันและพูดว่า “คุณช่วยจดรายงานการประชุมของเราได้ม้ัย” ดิฉันจึงจดรายงานให้พวกเขา ในการประชุมคราวต่อมา พวกเขาบอกว่า “คุณช่วยเขียนใบบอกข่าวประชาสัมพันธ์ได้มั้ย” ดิฉันก็เขียนใบบอกข่าวประชาสัมพันธ์ให้พวกเขา และกว่าจะรู้ตัว ดิฉันก็ได้เขียนจดหมายติดต่อกับผู้แทนของรัฐสภา และได้รับการแต่งตั้งเป็นโฆษก ถูกส่งไปร่วมประชุมเก่ียวกับสนธิสัญญาและอนุสัญญาว่าด้วยการห้ามใช้อาวุธธรรมดาบางชนิด ท่ีนครเจนีวา (...) ดังน้ัน ดิฉันจึงรู้ว่าน่ีคือบทบาทในการสนับสนุนท่ีหลีกเลี่ยงไม่ได้ตอนนั้นดิฉันมีความเห็นส่วนตัวว่า อาวุธชนิดนี้ช่างน่ารังเกียจ ทำลายล้างไม่เลือก และไร้ความเมตตาดฉิ นั จึงไมค่ วรแค่ดำเนนิ กิจกรรมทางวชิ าการเท่าน้ัน แตส่ ามารถทำสง่ิ ท่ีแตกตา่ งไดย้ ่ิงใหญก่ วา่ น้ัน อะไรถอื เปน็ ส่ิงใหมข่ องการรณรงค์เกี่ยวกับทุน่ ระเบิด ส่วนสำคัญของการรณรงค์เก่ียวกับทุ่นระเบิด คือ มันไม่ใช่กิจกรรมของ “ผู้เช่ียวชาญ” ผู้เช่ียวชาญของเราคือผู้ท่ีถูกทำร้ายด้วยอาวุธ และรอดชีวิตเพื่อมาบอกเล่าเรื่องราว และคือผู้ท่ีออกไปกวาดล้างระเบิดทุกวนั รวมท้ังคนเช่นดิฉนั ท่คี น้ คว้าในน้ี การรณรงคเ์ ปน็ เร่ืองของคนธรรมดาท่ีทำใหส้ ิ่งพเิ ศษเกดิ ขนึ้ ได้ ทำไมจึงไมป่ ล่อยให้เป็นเร่ืองของทตู ทูตมหี นา้ ท่เี จรจากับประเทศอ่ืน พวกเขาปฏิบตั หิ นา้ ทต่ี ามทีไ่ ดร้ บั นโยบายจากผู้นำทางการเมือง ซงึ่หนุนหลังอยู่ในประเทศ ผู้นำทางการเมืองจะดำเนินการใด ๆ ก็ต่อเม่ือถูกบีบบังคับโดยประชาชน ดังนั้นหนทางเดยี วท่ีทำให้ทูตดำเนินการ คอื มีแรงผลักดันซ่ึงเกิดจากความคดิ เห็นของสาธารณชนในประเทศน้นั ๆEHL Exploring Humanitarian Law 105 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme

แตค่ นธรรมดาทด่ี ูแลเรอื่ งนอ้ี ยู่ จะร้ไู ดอ้ ย่างไรวา่ ควรทำอะไรบ้าง เอาล่ะ ดูซิว่าเกิดอะไรข้ึนในนิวซีแลนด์ มีคน ๆ หน่ึงเดินทางไปร่วมประชุมระหว่างประเทศ และ เมื่อเดินทางกลับมาเขาได้เรียกผู้เก่ียวข้องประชุม นั่นคือสิ่งท่ีเราสามารถทำได้ คือเรียกประชุมผู้เก่ียวข้อง แล้วมาดูกันว่าใครเข้าร่วมการประชุมบ้าง เรียกประชุมที่โรงเรียน ท่ีมหาวิทยาลัย หรือในเมืองที่คุณอยู่ และเชญิ องค์กรอื่น ๆ ทคี่ ณุ คดิ วา่ เขาจะสนใจเรือ่ งนม้ี ารว่ มประชมุ ในนิวซีแลนด์ องค์กรท่ีเก่ียวข้องกับเร่ืองนี้คือ หน่วยงานขององค์การสหประชาชาติ องค์กรที่เก่ียวกับ ทหารผ่านศึก กลุ่มพิทักษ์สิ่งแวดล้อม เช่น กรีนพีซ (Greenpeace) องค์กรมนุษยธรรม เช่น กองทุน ช่วยเหลือเด็ก (Save the Children Fund) และออกซแ์ ฟม (Oxfam) รวมทัง้ สภากาชาดในประเทศนวิ ซีแลนด์ เราโชคดีมาก อันเน่ืองจากการประสานงานของโจดี้ วิลเล่ียมส์ ในฐานะผู้ประสานงานของการรณรงค์ ระหว่างประเทศเพื่อการห้ามใช้ทุ่นระเบิด เธอดำเนินการติดต่อ เพ่ือดูว่ามีกิจกรรมอะไรบ้างที่ทำอยู่ใน ประเทศต่าง ๆ ท่ัวโลก ทงั้ ทด่ี ำเนนิ การโดยองคก์ รพฒั นาเอกชน (NGOs) และโดยองคก์ รของรฐั บาล องคก์ รพัฒนาเอกชน (NGOs) ทำงานร่วมกับประเทศต่าง ๆ อยา่ งไรบ้าง ในระยะต้น ๆ ของการรณรงค์ เราจำเป็นต้องมีการประชาสัมพันธ์ทางส่ือ เพ่ือให้ประชาชนได้รับรู้ เราต้องเรียกร้องด้วยคำพูดที่ชัดเจนและเข้าใจง่าย ในการห้ามโดยเด็ดขาดซึ่งการใช้ ผลิต โยกย้ายและ เก็บรักษาท่นุ ระเบดิ สังหารบุคคล หลงั จากนั้น ข้ึนอยู่กบั ประชาชนในแต่ประเทศทจ่ี ะตัดสินใจว่าต้องการทำอะไรต่อไปโดยการทำงาน รว่ มกับรัฐบาล โจด้ีเดินทางไปเยือนหลายประเทศโดยไม่ได้อยู่ภายใต้คำสั่งของผู้ใด การท่ีมีบุคคลจากภายนอก เข้ามาในประเทศเป็นการยกระดับความสนใจของประชาชนและรัฐบาล โจด้ีมักพบกับรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศ นายกรัฐมนตรี โฆษกของรัฐสภา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รวมท้ัง ผู้รบั ผิดชอบโครงการรณรงคใ์ นประเทศน้นั และองคก์ รพัฒนาเอกชน (NGOs) โดยนโยบายทางการทตู ใหมน่ ี้ ไดท้ ำอะไรไปแลว้ บ้าง ได้มีการลงนามเป็นภาคีในสนธิสัญญาที่กรุงออตตาวา ประเทศแคนาดา ในเดือนธันวาคม ปี ค.ศ. 1977 มีประเทศร่วมลงนามทั้งส้ิน 122 ประเทศ จากนั้นจำนวนประเทศท่ีเป็นภาคีมีจำนวน เพ่ิมข้ึน (...) รวมท้ังหลายประเทศที่เคยผลิตและประเทศหลัก ๆ ท่ีเคยใช้ทุ่นระเบิดสังหารบุคคล และ เราไม่พบหลกั ฐานท่แี สดงวา่ รฐั ภาคีเหลา่ นี้ยงั คงมีการใชท้ ุ่นระเบิดอยู่ ที่มา : บทสัมภาษณ์แมรี่ แวร์แฮม (Mary Wareham) ทนายใหญ่จาก Human Rights Watch, ตุลาคม คศ. 2000 คำใหส้ ัมภาษณ์ของ นายแพทย์ โรบนิ คุปแลนด์ อะไรทำใหค้ ุณมารว่ มในการร่างสนธิสัญญาห้ามการใช้ทุ่นระเบดิ หน่ึงในภาพที่ผมจำได้จากตอนเร่ิมทำงานเป็นหมอผ่าตัดภาคสนามกับ ICRC (คณะกรรมการ กาชาดระหว่างประเทศ) ในปี ค.ศ. 1987 คือภาพคนจำนวนมากที่สูญเสียแขนขา การสูญเสียแขนขาของ คนเหล่านี้ มักมีสาเหตุจากการได้รับบาดเจ็บจากทุ่นระเบิดสังหารบุคคล หลังจากทำงานเป็นหมอผ่าตัดอยู่ ในภาคสนาม เป็นเวลาประมาณ 3 ปี ผมก็คิดว่าพอแล้วกับการผ่าตัดขาท่ีถูกทำลาย และการพยายาม รักษาเยียวยาอวัยวะส่วนท่ีเหลือ ผมได้ตัดสินใจว่าคงต้องทำอะไรสักอย่างในการพยายาม และป้องกัน ไม่ให้มีการวางกบั ดกั ระเบิดอีก106 EHLคมู่ อื การจัดกจิ กรรมยวุ กาชาด เร่ือง การเรียนรกู้ ฎหมายมนษุ ยธรรมรเะพหว่อื ่าเงยปารวะเชทนศ

คณุ เข้ามาเกี่ยวข้องไดอ้ ย่างไร ก้าวแรกของการตัดสินใจเข้าร่วมในการป้องกัน คือ การรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับจำนวนคนมากมายท่ีต้องนอนรักษาตัวในโรงพยาบาล ข้อมูลเหล่าน้ีถูกบันทึกไว้เป็นเช่นดังประสบการณ์ของ ICRC เก่ียวกับอาการบาดเจ็บจากระเบิดท่ีพบเห็นอยู่ในโรงพยาบาลของเรา และได้ถูกตีพิมพ์อยู่ในวารสารทางการแพทย์ของอังกฤษ (British Medical Journal) ส่ิงที่ทำให้ผมประหลาดใจมาก เม่ือตอนเดินทางกลับไปยุโรปก็คือผมไม่ได้ถูกขอร้องให้ไปร่วมประชุมเกี่ยวกับศัลยกรรมและการแพทย์ แต่กลับกลายเป็นการประชุมเรื่องกฎหมายระหว่างประเทศ และการประชุมทางการทูต ผมจึงรู้ว่าผมได้กลายเป็นพยานเหตุการณ์ท่ีเชี่ยวชาญไปแลว้ และคนตอ้ งการไดย้ ินคำให้การของผมดว้ ย บทบาทของคุณในการไดส้ นธิสญั ญาคอื อะไร งานท่ี ICRC ทำเก่ียวข้องกับขั้นตอนการสนับสนุนให้เกิดสนธิสัญญาห้ามการใช้ทุ่นระเบิดสังหารบคุ คล ประกอบดว้ ยปัจจยั สำคัญ 4 อย่าง คือ การมขี อ้ มูล การเป็นทีเ่ ชอ่ื ถอื การทำให้เปน็ ความห่วงใยของสาธารณะ และการมีภาพลักษณ์ บทบาทของผมในงานนี้ ซ่ึงต่อมาเป็นการรณรงค์คือในเบื้องต้นเป็นผจู้ ัดหาข้อมูล และรปู ภาพกอ่ นหน้าน้ซี ง่ึ กลายเป็นเช้ือเพลงิ อยา่ งดีของการรณรงค์ ขอ้ มลู ของเจ้าหนา้ ท่ีอนามัยทำใหเ้ กิดความแตกตา่ งอะไรบา้ ง ไมว่ า่ หมอ พยาบาล นักกายภาพบำบดั เจา้ หนา้ ท่ีทำแขนขาเทียม บทบาทของพวกเราทัง้ หมด คือการแสดงให้เห็นผลกระทบที่มีต่อมนุษย์ของอาวุธเหล่านี้ แต่มันไม่ได้มีผลกระทบกับปัจเจกบุคคลเท่านั้นเรายังต้องเป็นพยานว่ามีผลกระทบต่อสังคมด้วย เช่น การกลับถิ่นฐานของผู้อพยพ เราสามารถแสดงด้วย“ข้อมูลที่พิสูจน์ได้” ว่าคนท่ีสัญจรไปมามักเสี่ยงต่อการได้รับบาดเจ็บจากทุ่นระเบิดสังหารบุคคลโดยเฉพาะผูอ้ พยพที่เดนิ ทางกลับประเทศภายหลงั สงคราม ลองนกึ ภาพว่าตอ้ งเดินทางตัง้ หลายวัน ในที่สดุ ก็ถึงบ้าน และแล้วสมาชิกคนหนึ่งของครอบครัวไปเหยียบระเบิดท่ีถูกทิ้งอยู่ในสวน ตัวอย่างแบบน้ี สามารถทำให้โครงการกลบั ถ่ินของผู้อพยพทั้งโครงการชะงกั ไปไดท้ เี ดยี ว คนธรรมดามีสว่ นในด้านใดบา้ ง สงิ่ หนึ่งที่เปน็ เอกลักษณข์ องสนธิสัญญานี้ คอื ขน้ั ตอนท่ขี บั เคลอ่ื นโดยองค์กรเอกชน ดงั น้นั การระดมความคดิ เหน็ ของสาธารณชน จึงเป็นองค์ประกอบสำคญั อยา่ งหนง่ึ ของการรณรงค์ การหา้ มใชท้ นุ่ ระเบดิ สงั หารบคุ คลบังเกดิ ผลอยา่ งไรบา้ ง การผสมผสานของการรณรงค์หาผู้สนับสนุนและสนธิสัญญาบังเกิดผลท่ีสำคัญอย่างแน่นอนซ่ึงไม่จำกัดเฉพาะประเทศท่ีเป็นภาคีของอนุสัญญาเท่านั้น แต่ผมเชื่อว่า ในประเทศที่มิได้ลงนามเอง คงจะลดการใช้ทุ่นระเบิดสังหารบุคคลลงด้วย อันมีผลมาจากโครงการรณรงค์ท่ีดำเนินอยู่ ได้นำมาซึ่งสนธิสัญญาในท่สี ดุ ... ทม่ี า : บทสมั ภาษณ์ นายแพทย์ โรบนิ คปุ แลนด์ (Dr. Robin Coupland) ศลั ยแพทยแ์ ละทปี่ รกึ ษาด้านการแพทย์, ICRC, พฤศจกิ ายน ค.ศ. 2005EHL Exploring Humanitarian Law 107 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme

ใบงาน... ชว่ งท่ี 2 สำหรบั สมาชิกยวุ กาชาด เรือ่ ง เราได้สนธิสญั ญามาอย่างไร คำชแ้ี จง : ใหส้ มาชิกยวุ กาชาดศกึ ษาใบความร้เู รอื่ ง เราได้สนธิสญั ญามาอย่างไร แลว้ ตอบคำถาม ตอ่ ไปน้ี 1. คนธรรมดาสามารถทำใหผ้ มู้ ีอำนาจเช่อื ฟังได้อยา่ งไร .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. 2. อะไรคอื อุปสรรคท่พี วกเขาต้องฝา่ ฟัน .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. 3. การห้ามใช้ทนุ่ ระเบิดสงั หารบคุ คลบังเกดิ ผลอย่างไรบ้าง .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. 4. สนธิสัญญามีผลกระทบตอ่ บริเวณทท่ี ส่ี มาชกิ ยุวกาชาดอาศยั อยู่หรือไม่ .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. 5. สมาชิกยุวกาชาดรจู้ ักใครบ้างที่เขา้ ร่วมการรณรงค์ห้ามใช้ทุ่นระเบิดและเขาทำอะไรบา้ ง .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................108 EHLคู่มือการจัดกจิ กรรมยุวกาชาด เรอ่ื ง การเรียนรูก้ ฎหมายมนษุ ยธรรมรเะพหว่อื ่าเงยปารวะเชทนศ

ข้อมลู เพมิ่ เตมิ ... สำหรับสมาชกิ ยวุ กาชาดกฎเกณฑข์ องกฎหมายมนษุ ยธรรมระหวา่ งประเทศ วา่ ดว้ ยอาวุธบางชนดิ อาวธุ ชวี ภาพ รฐั บาลต้อง : • ไม่ใช้ พฒั นา ผลติ เกบ็ รักษา หรอื โยกยา้ ย อาวุธชวี ภาพ • ทำลาย หรอื เปลี่ยนอาวุธชีวภาพท้ังหมดไปใช้เพื่อสันติภาพแทนภายใน 9 เดอื น นบั ตงั้ แต่เปน็ ภาคีสนธสิ ัญญา - พิธีสารเพ่ือการห้ามใช้อาวุธแก๊สที่มีผลกระทบต่อระบบหายใจ ยาพิษ หรือแก๊สพิษชนิดอื่น ๆปี ค.ศ. 1952 อนสุ ญั ญาวา่ ดว้ ยการห้ามใชอ้ าวธุ ชีวภาพ ปี ค.ศ. 1972 อาวธุ เคมี รฐั บาลตอ้ ง : • ไม่ใช้ พฒั นา ผลิต เกบ็ รกั ษา หรือ โยกย้าย อาวธุ เคมี • ทำลายอาวธุ เคมีทัง้ หมด ภายใน 10 ปี นบั ตง้ั แตเ่ ป็นภาคีสนธิสญั ญา - พิธีสารเพ่ือการห้ามใช้อาวุธแก๊สท่ีมีผลกระทบต่อระบบหายใจ ยาพิษ หรือแก๊สพิษชนิดอ่ืน ๆปี ค.ศ. 1952 อนุสญั ญาวา่ ด้วยการห้ามใช้อาวุธเคมี ปี ค.ศ. 1993 อาวธุ เพลิง รัฐบาลและกลุม่ ติดอาวธุ ตอ้ ง : • ไมใ่ ชอ้ าวธุ เพลงิ เพอ่ื ทำร้ายพลเรอื น • ไมใ่ ชอ้ าวธุ เพลงิ เพอ่ื โจมตเี ปา้ หมายทางทหารท่ีอย่ใู นบรเิ วณทีม่ พี ลเรอื นอาศัยอยู่ - พิธีสาร ฉบับท่ี 3 ของอนุสัญญาว่าดว้ ยการหา้ มการใชอ้ าวธุ ธรรมดาบางชนดิ ปี ค.ศ. 1980 อาวุธเลเซอร์ท่ที ำใหต้ าบอด รัฐบาลและกลมุ่ ติดอาวธุ ต้อง : • ไมใ่ ชอ้ าวธุ เลเซอรท์ ท่ี ำให้ตาบอด รัฐบาลต้อง : • ใช้ทุกมาตรการเพอื่ หลีกเลีย่ งการทำใหต้ าบอดถาวร เมื่อใชเ้ ลเซอรช์ นิดอน่ื • ไมใ่ ห้โยกยา้ ยอาวุธเลเซอรท์ ท่ี ำให้ตาบอด - พิธสี าร ฉบบั ที่ 4 ของอนุสญั ญาว่าดว้ ยการหา้ มการใชอ้ าวุธธรรมดาบางชนิด ปี ค.ศ. 1995EHL Exploring Humanitarian Law 109 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme

อาวุธนวิ เคลยี ร์ ปัจจุบัน ไม่ได้มีการห้ามใช้อาวุธนิวเคลียร์อย่างครอบคลุมและเป็นสากล อย่างไรก็ตาม ศาลยุติธรรม ระหว่างประเทศได้สรุปความเห็นไว้ว่า การคุกคามด้วยอาวุธนิวเคลียร์หรือการใช้อาวุธนิวเคลียร์โดยท่ัวไป ถอื ว่าขดั ตอ่ กฎเกณฑ์และหลกั การของกฎหมายมนษุ ยธรรมระหว่างประเทศ - ความเห็นเชิงปรึกษาเก่ียวกับการคุกคามหรือการใช้อาวุธนิวเคลียร์ 8 กรกฎาคม 1996 ศาลยุติธรรม ระหว่างประเทศ110 EHLคูม่ ือการจดั กิจกรรมยุวกาชาด เร่ือง การเรียนรกู้ ฎหมายมนษุ ยธรรมรเะพหวือ่ ่าเงยปารวะเชทนศ

ขอ้ มลู เพิม่ เตมิ ... สำหรับสมาชกิ ยวุ กาชาด การดำเนินการ : ตวั อยา่ งประกอบ การตัดสินใจครงั้ สำคัญในประวตั ิศาสตร์ของวงการแพทย์ ในปี ค.ศ. 1996 สมาคมทางการแพทย์แห่งโลก (World Medical Association-WMA) ได้มีมติว่าอาชีพแพทย์ควรให้ความสนใจต่อผลกระทบท่ีเกิดจากอาวุธว่าเป็นปัญหาสุขภาพระดับโลกและเป็นสิ่งท่ีสามารถป้องกันได้ ผลของการตดั สินใจคร้งั สำคญั นี้ สมาคมทางการแพทย์แห่งโลกได้ • ให้การสนับสนุนความพยายามระหว่างประเทศท่ีจะประเมินผลท่ีเกิดจากอาวุธในปัจจุบันและในอนาคต เพ่ือยตุ ิการพัฒนา ผลติ ขาย และใช้อาวธุ เหล่าน้ี • ดำเนินการเพื่อไม่ให้มีการนำเทคโนโลยีทางการแพทย์ไปใช้ในทางที่ผิด หรือนำไปใช้เพื่อการพฒั นาอาวธุ • เรียกร้องให้สมาคมทางการแพทย์ประจำประเทศให้การสนับสนุนการวิจัยผลที่เกิดกับสุขภาพของประชาชนจากการใช้อาวุธ และเผยแพร่ผลการวิจัยด้วย เพื่อว่าประชาชนและรัฐบาลจะได้ทราบถึงผลกระทบตอ่ สขุ ภาพในระยะยาว ในการให้ความเห็นถึงการตัดสินใจดังกล่าว นายแพทย์แอนเดรส มิลตัน ประธานสภาของสมาคมทางการแพทยแ์ หง่ โลกได้กลา่ วไวว้ า่ “มติในวันนถ้ี อื เป็นการประกาศให้แพทย์ทกุ คนทราบวา่ พวกเขามีหน้าทีย่ ิง่ ไปกว่าการให้การรักษาแก่ปจั เจกบคุ คลท่ีไดร้ บั บาดเจบ็ และต้องรว่ มในการหามาตรการปอ้ งกนั ผลกระทบของอาวุธดว้ ย” ท่ีมา : World Medical Association press release, 25 ตลุ าคม* 1996. (http://www.wma.net/e/press/1996_2.htm).EHL Exploring Humanitarian Law 111 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme

ความคิดรเิ ริ่มของคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) ในเดือนกันยายน 2002 ICRC ได้มีคำร้องฉบับหนึ่งเก่ียวกับ “เทคโนโลยีชีวภาพ อาวุธและ มนุษยชาติ” ซึ่งเรียกร้องให้รัฐบาล สังคมนักวิทยาศาสตร์ โรงงานเทคโนโลยีชีวภาพ และประชาสังคมให้ ความมั่นใจว่า ความล้ำหน้าทางชีววิทยาศาสตร์ (life sciences) จะนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์แก่มนุษยชาติ เท่าน้ัน และไม่ใช้เพื่อจุดประสงค์ในการก่อภยันตราย นอกจากน้ียังกระตุ้นให้ทุกกลุ่มข้างต้นทำงานร่วมกัน ในการควบคมุ ข้อมลู ข่าวสารทอ่ี าจก่อใหเ้ กิดอนั ตรายได้ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ โดย • วางกฎเกณฑ์สำหรับงานวิจัย ซึ่งอาจถูกนำไปใช้ในทางท่ีผิด และควบคุมการเข้าถึงเทคโนโลยี ที่เป็นอันตราย • กำหนดระเบียบกฎเกณฑ์เพื่อป้องกันไม่ให้นักวิทยาศาสตร์และบริษัทต่าง ๆ นำสารชีวภาพ ไปใช้ในทางทีผ่ ิด • นำเสนอเรื่องน้สี กู่ ารศกึ ษาทางวิทยาศาสตรแ์ ละการแพทย์ จดุ ยืนของบรษิ ัทลงทุนของเบลเยียม อิงก์ (ING) สถาบันการเงินเอกชนท่ีใหญ่ที่สุดของกลุ่มประเทศในยุโรปเหนือ และเป็นอันดับที่ 11 ของโลกได้ตัดสินใจในปี ค.ศ. 2005 ว่าจะไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินแก่บริษัทที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับ การผลิต บำรุงรักษา หรือขายระเบิดพวงอีกต่อไป นอกจากน้ี สถาบันฯ จะไม่ลงทุนในบริษัทเหล่าน้ีอีก ตอ่ ไปเช่นกนั ธนาคารใหญ่อกี แหง่ หนง่ึ ในเบลเยยี มคือ เคบซี ี (KBC) แสดงจดุ ยืนวา่ ธนาคารจะไมอ่ นุมตั ิสนิ เช่ือและไม่ซ้ือหุ้นของโรงงานผลิตระเบิดพวง หุ้นในบริษัทเหล่านี้จะต้องแยกออกจากกองทุนท่ีทางธนาคาร เสนอให้แกล่ กู ค้าดว้ ย ท่ีมา : การยุติการลงทุนในบริษัทผู้ผลิตระเบิดพวง แถลงการณ์ร่วมระหว่าง Handicap International, Human Rights Watch และ Network Vlaanderen, เมษายน 2005. (http://hrw.org/english/docs/ 2005/04/07/belgiu10427.htm)112 EHLคู่มอื การจัดกจิ กรรมยุวกาชาด เร่ือง การเรยี นรูก้ ฎหมายมนุษยธรรมรเะพหวือ่ า่ เงยปารวะเชทนศ

บทท่ี 3 การบงั คับใชก้ ฎหมาย คู่มอื การจัดกจิ กรรมยุวกาชาด EHLเรอ่ื ง การเรียนรู้กฎหมายมนษุ ยธรรมระหวา่ งประเทศเพ่อื เยาวชนเร่ืองท่ี 7 : การละเมดิ กฎหมายมนุษยธรรมระหวา่ งประเทศEHL Exploring Humanitarian Law 113 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme

เรือ่ งที่ 7 การละเมิดกฎหมายมนุษยธรรมระหวา่ งประเทศ สาระสำคัญ การละเมิด IHL มักก่อให้เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ซ่ึงนำไปสู่การละเมิดข้ออื่น ๆ รวมท้ังผู้ละเมิดอาจมี เหตุผลต่าง ๆ นานาสำหรับการละเมิด IHL ที่เกิดขึ้น มีหลายแนวทางที่จะป้องกันการละเมิด IHL และจำกัด ผลกระทบท่ีตามมา วัตถปุ ระสงค์ • สามารถระบถุ ึงขอ้ ละเมิดของ IHL ได้ • ยกตัวอยา่ งของการละเมิดจากข้อหนึ่งที่นำไปสูอ่ กี ข้อหนึ่งได้ สาระ/เนอ้ื หา 1. เรือ่ งข้อคดิ เห็นเกย่ี วกบั สงคราม 2. การละเมิด IHL และเหตุผลทีท่ ำให้มกี ารละเมดิ 3. การละเมดิ IHL ข้อหน่ึงท่ีนำไปสอู่ กี ขอ้ หนงึ่ 4. แนวทางปอ้ งกนั หรือจำกดั การละเมิด การเตรยี มการจดั กจิ กรรม ทบทวนค่มู อื การเตรียมการจัดกิจกรรมสำหรบั ครผู ูส้ อน EHL วิธีท่ี 1 การอภปิ ราย วธิ ีท่ี 2 การระดมความคิดเหน็ วธิ ที ่ี 4 การใชภ้ าวะท่ขี ดั แยง้ วธิ ีท่ี 5 การแสดงบทบาทสมมุติ วิธที ี่ 7 การเขียน และการสะทอ้ นความคิด วิธีท่ี 10 การรวบรวมเร่อื งราวและขา่ วสาร ระยะเวลา 45 นาที กิจกรรมเสนอแนะ กฎเกณฑข์ อง IHL ขอ้ ใดทถ่ี กู ละเมิด • ให้สมาชิกยุวกาชาดจับคู่อ่านคำบอกเล่าจากใบความรู้ข้อคิดเห็นเก่ียวกับสงคราม 2-3 ข้อ แล้วระบกุ ารกระทำที่เปน็ การละเมดิ กฎ • ใหส้ มาชิกยุวกาชาดระบขุ อ้ ละเมดิ ของ IHL หลายขอ้ ทอ่ี ยใู่ นใบความรู้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับสงคราม โดยใชใ้ บความรูเ้ ร่อื งหลกั พนื้ ฐานของกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ เป็นขอ้ มูลเปรียบเทียบ • ใหส้ มาชกิ ยุวกาชาดบนั ทกึ คำตอบลงในใบงาน สถานการณ์ 1 กฎเกณฑข์ อง IHL ขอ้ ใดทถี่ กู ละเมดิ 114 EHLค่มู ือการจัดกจิ กรรมยุวกาชาด เรื่อง การเรียนรกู้ ฎหมายมนษุ ยธรรมรเะพหวื่อ่าเงยปารวะเชทนศ

• ให้สมาชิกยุวกาชาดศึกษาใบความรู้ ข้อคิดเห็นเก่ียวกับสงคราม อีกคร้ัง และหาเหตุผลที่บุคคลนำมาใช้เป็นข้ออ้างในการละเมิดกฎเกณฑ์หนึ่งข้อ จากนั้นให้สมาชิกยุวกาชาดท้ังห้องตรวจสอบว่าอะไรคือเหตุผล หรือคำอธิบายทั่วไปที่ชอบใช้กัน แล้วแบ่งเป็นกลุ่มตามประเภทของคำตอบ โดยให้ผู้มีเหตุผลหรือคำอธิบายคล้ายกันอยู่ในกลุ่มเดียวกัน เช่น เพื่อความปลอดภัย เพื่อผลประโยชน์ทางทหารเช่ือฟังคำส่ังท่ีไม่ชอบด้วยกฎหมายของผู้บัญชาการ ความเชื่อท่ีว่าที่พลเรือนช่วยเหลือศัตรูเพราะว่าอีกฝ่ายก็ทำแบบนี้เพื่อการแก้แค้น เน่ืองจากส้ินหวังหรือเหตุผลทางด้านจิตใจอื่น ๆ ขาดทรัพยากร หรือเพราะว่าพวกเขาไม่รู้กฎหมาย การละเมิดข้อหนึ่งนำไปสอู่ ีกข้อหน่ึงได้อยา่ งไร • ใหส้ มาชกิ ยวุ กาชาดทกุ คนศกึ ษาใบความรู้ข้อคิดเห็นเก่ียวกับสงคราม แลว้ เชอ่ื มโยงระหวา่ งการละเมดิ ขอ้ หนึง่ กับผลกระทบทต่ี ามมา • ให้สมาชิกยุวกาชาดจับคู่กันสนทนากันถึง ทำไมทหารจงึ โจมตพี ลเรอื น ทัง้ ๆ ท่ี รูว้ ่ามันลักษณะการละเมิด IHL ท่ีนำไปสู่การละเมิดที่มากขึ้น เป็นส่ิงท่ีไม่ถูกต้อง อาจมีคนบอกอะไรพวกเขาและเติมคำตอบที่ควรจะเป็นในใบงานสถานการณ์ หรือให้สัญญาท่ีน่าสนใจ พวกเขาจึงถูกชักจูง ให้ทำในส่ิงที่เลวร้าย ดังน้ันพวกเขาจึงไม่ได้2 กฎเกณฑข์ อง IHL ขอ้ ใดทถี่ กู ละเมดิ คิดไตร่ตรองให้ดี ที่ผมไม่เข้าใจ คือมันเกิด อะไรข้นึ กับจิตใจของมนษุ ย์ • ใหส้ มาชิกยวุ กาชาดระบกุ ฎเกณฑ์ของ IHL - เหยื่อพลเรอื นคนหนึง่ ท่ถี กู โจมตีโดยทหารท่ีถูกละเมิด (เช่น เมื่อฝ่ายหน่ึงวางปืนลงบนหลังคาของโรงพยาบาล เปน็ เหตใุ หอ้ กี ฝา่ ยหนงึ่ โจมตโี รงพยาบาลหรือการฆ่าเชลยของฝ่ายหน่ึงนำไปสู่การฆ่าเชลยของอีกฝ่ายเพื่อเป็นการแก้แค้น หรือการทารุณเชลยของผคู้ ุมคนหนึง่ ซ่ึงอาจนำไปสูก่ ารฆา่ เชลยในเวลาต่อมา หรอื ทำให้ผู้คมุ คนอน่ื ๆ ทำตาม) • ใหส้ มาชกิ ยวุ กาชาดรายงานผลกระทบทเ่ี กิดข้ึนจากการละเมดิ ครูผู้สอนอาจเพมิ่ เติมข้อมูลการละเมดิ กฎหมายทีท่ ำให้เกิดผลกระทบต่อเนอื่ งเป็นลูกโซ่ ดงั นี้ ตวั อย่าง ไมส่ ามารถแยก พลเรือนตกเปน็ ฝ่ายตรงกนั ขา้ ม แยะระหว่างทหาร เปา้ หมายการโจมตี ก็โจมตีพลเรอื น และพลเรือน เหมอื นทหาร เช่นกนั ทหารปลอมตวัโดยสวมใสเ่ สอ้ื ผา้ ของพลเรอื น เกิดขอ้ สงสยั วา่ บุคลากรทาง งานชว่ ยเหลือ อาจมีการปลอมแปลง การแพทย์และ ด้านมนุษยธรรมถกู เจา้ หน้าท่ที ่ีทำงาน ขดั ขวางหรอื ระงบั อยา่ งอ่ืน ๆ ดว้ ย ดา้ นมนุษยธรรม ถูกสงสยั วา่ เป็นทหารEHL Exploring Humanitarian Law 115 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme

เราสามารถป้องกันการละเมดิ หรือจำกัดผลกระทบที่ตามมาไดอ้ ยา่ งไร • ให้สมาชิกยุวกาชาดทุกคนเลือกการละเมิดมาขอ้ หนึ่งแลว้ แบง่ กลุม่ ย่อย เพอ่ื ชว่ ยกันหา ผมเป็นนายทหารหนุ่ม ที่เพ่ิงผ่านการฝึก ตอนที่เดินแนวทางท่ีจะป้องกันการละเมิด หรือจำกัดผล อยู่บนถนนสายหน่ึง มันเป็นวันหยุด ผมกับทหารกระทบที่ตามมา เม่ือได้คำตอบแล้ว ให้ช่วยกัน อีก 4 คน มองไปรอบ ๆ เพ่ือดูว่าทุกอย่างเป็นปกติประเมนิ แนวทางปอ้ งกนั ทไ่ี ดแ้ นะนำไว้ แลว้ นำเสนอ หรือไม่ และแล้วในชั่วเวลาไม่นาน เราก็ถูกล้อมด้วยผลงานของแต่ละกลุ่มโดยเขียนลงในในกระดาษ คนประมาณ 4-5 พันคน ซึ่งกำลังขว้างปาก้อนหินมาท่คี รูเตรียมไว้ ด้วยคำถามตอ่ ไปนี้ ท่ีเรา พวกเขาดูโกรธแค้นมาก เพราะว่ามีคนถูกทำร้าย คำถามทีค่ วรถาม : ในค่ายผู้อพยพ มันเป็นเส้ียวอันตรายสำหรับชีวิต พวกเราจริง ๆ เพราะว่าทุกคนต่างมีปฏิกิริยา และผม - อะไรอาจจะเป็นผลกระทบที่ตามมาของ ต้องคิดว่าจะทำอย่างไรจึงจะนำทหารของผมออกแต่ละวธิ ีทเี่ สนอ และผลกระทบท่ตี ามมาแตล่ ะขอ้ มาจากที่น่ัน ผมมีปืนพียงกระบอกเดียวที่บรรจกุ ระสุนจะนำไปสูอ่ ะไรบา้ ง จริง และผมต้องนำทหารของผมออกจากท่ีน่ัน ดังน้ัน - สมาชิกยุวกาชาดคิดว่ารัฐบาลและ ผมจึงยิงปืน ผมยิงไปท่ีขาของประชาชนพวกน้ันเท่านั้นพวกท่ีทำการสู้รบจะยอมรับข้อเสนอแนะของคุณ ผมยิงไปสิบ หรือสิบสองครั้ง เพื่อให้ตัวเองออกมาหรอื ไม่ คณุ จะทำอยา่ งไรทจ่ี ะใหม้ กี ารนำไปปฏบิ ตั ิ จากท่นี ั่นให้ได้ และผมกอ็ อกมาจนได้เชน่ ออกคำสง่ั ฝกึ อบรม ควบคมุ ตดิ ตาม ทางวนิ ยั - ผูบ้ งั คบั บญั ชาคนหนงึ่ ซึง่ ปฏบิ ตั ิหน้าท่ีทำโทษ ออกกฎหมาย • ครูสรุปปิดท้ายโดยการให้สมาชิกยุว อยใู่ นพ้นื ทย่ี ดึ ครองกาชาดยกตวั อยา่ งข่าว แล้วระบเุ หตุกระตุ้นที่ทำใหเ้ กดิ ความรุนแรง สือ่ การจดั กิจกรรมและแหลง่ เรียนรู้ สำหรับสมาชกิ ยวุ กาชาด • ใบความรู้ เร่อื งขอ้ คดิ เห็นเก่ียวกบั สงคราม • ใบความรู้ เรอื่ งหลกั พน้ื ฐานของกฎหมายมนษุ ยธรรมระหวา่ งประเทศมอี ะไรบา้ ง, คำจำกดั ความ • ใบงานสถานการณ์ 1 และ 2 กฎเกณฑใ์ ดของ IHL ท่ถี ูกละเมดิ การประเมินผล 1. ตรวจใบงานสถานการณท์ ่ี 1 และ 2 2. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่มของสมาชกิ ยุวกาชาด 3. ตรวจผลงานการเขียนสนับสนนุ และแสดงความคิดเหน็ ตามจุดประสงคข์ องกิจกรรม116 EHLคมู่ ือการจัดกิจกรรมยุวกาชาด เรอ่ื ง การเรยี นรกู้ ฎหมายมนษุ ยธรรมรเะพหว่ือา่ เงยปารวะเชทนศ

ใบความรู้ เรอื่ ง ข้อคดิ เห็นเก่ียวสกำหับรบั สสมงาชคิกยรวุ กาาชมาด ผู้คนท่ีมีส่วนเก่ียวข้องกับสงครามท่ีผ่านพ้นไป พูดถึงการละเมิดกฎหมายมนุษยธรรมระหวา่ งประเทศ (IHL) จากประสบการณท์ พี่ วกเขาไดร้ บั ไดร้ เู้ หน็ เปน็ พยาน หรอื ไดย้ นิ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. มีหลายสถานการณ์ที่ทหารเปลี่ยนจากสวมเครื่องแบบเป็นชุดธรรมดา แล้วคุณจะรู้ได้อย่างไรวา่ ใครเปน็ พลเรือนตวั จริง ดงั นัน้ ถ้าคณุ ตอ้ งโจมตเี มอื ง ๆ หนึง่ คณุ จำเปน็ ตอ้ งฆา่ อะไรก็ตามทเ่ี คลอ่ื นไหวได้ - ทหารคนหน่ึง 2. ในที่สุดเราก็ฆ่าหมดทุกคนในครอบครัวท่ีเราโจมตี ส่ิงที่ทำให้เราตัดสินใจทำแบบนี้ เพราะว่าพวกมนั กท็ ำแบบเดียวกนั กบั คนของเรา มันฆา่ ไดแ้ ม้กระทงั่ เดก็ ทารกอายุแค่ 3 เดอื น - อดตี ผูท้ ำการส้รู บ 3. ถ้าผมได้รับข่าวว่า คนของเราซึ่งถูกจับเป็นเชลยถูกฆ่า ดังนั้นใครก็ตามจากอีกฝ่ายที่ผมจับได้จะต้องชดใช้ - ผู้บังคบั บญั ชาคนหนง่ึ 4. ทหารรู้สึกว่าจำเป็นต้องฆ่าเชลยสงคราม เนื่องจากเชลยอาจเป็นภาระส่วนเกิน คุณต้องนำเชลยสงครามไปด้วยทกุ ทที่ ่ีคณุ ไป คณุ ต้องรับผดิ ชอบเขา ดงั น้ันเพอ่ื ขจดั ความรบั ผิดชอบน้นั คณุ จงึ ฆ่าเขาเสีย - เจ้าหน้าที่องคก์ รพฒั นาเอกชน (NGO) 5. ปัญหาอีกอย่างหน่ึงคือการขาดการวางแผน เพราะว่าเมื่อไรท่ีเชลยถูกจับ คุณไม่รู้ว่าจะทำอยา่ งไรกบั เขาดี ดว้ ยเหตุนี้ ทหารจึงฆ่าเชลยสงครามทิ้งเสีย - อดีตผู้ถกู กกั กัน 6. กองกำลังสหพันธรัฐไม่สามารถเข้ายึดหมู่บ้านได้ ดังนั้นพวกเขาจึงกันไม่ให้หมู่บ้านได้รับความช่วยเหลอื ทางมนษุ ยธรรม นั่นเปน็ ยทุ ธวิธขี องพวกเขา ทำให้หวิ โหยและอดตาย มันเป็นส่ิงท่ไี ม่ถูกต้อง - อดีตผทู้ ำการสูร้ บ 7. ในระหว่างสงคราม ผู้บังคับบัญชาได้กำหนดกฎแห่งศีลธรรมไว้ “อย่าทำให้ไร่นาของประชาชนเสียหาย” ต่อมาสถานการณ์เปล่ียนไป นโยบายหลักที่วางไว้กลายเป็นความหายนะทางเศรษฐกิจ ทหารได้รับคำสั่งว่าหากพวกเขาไม่สามารถทำการใหญ่ให้สำเร็จได้ ให้พวกเขาทำลายทรัพย์สินของประชาชนแทนทำลายให้หมด เผาใหเ้ ป็นเถ้าถ่าน มนั เปน็ เปา้ หมายในการต่อสูก้ บั ศัตรู - อดตี ผู้ทำการสรู้ บ 8. การโจมตีศาสนสถานก็เป็นส่วนหนึ่งของการทำสงคราม ทหารท่ีสู้รบมักรู้สึกว่าบริเวณเหล่านี้เป็นสถานทีศ่ ักด์ิสิทธ์ิ และสามารถใชเ้ ป็นทกี่ ำบังได้ ผมอยากบอกวา่ โบสถจ์ ะไมเ่ ปน็ โบสถเ์ ลย หากมที หารอยูข่ า้ งใน - ทหารคนหนึ่งEHL Exploring Humanitarian Law 117 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme

9. กองทัพไม่ควรใช้พลเรือนเป็นโล่ท่ีมีชีวิต แต่มันก็เกิดขึ้นบ่อยครั้งในสงครามคร้ังนี้ ตัวอย่างเช่น พวกมันนำอาวุธปืนไปติดตั้งไว้บนหลังคาโบสถ์ หรือบนยอดตึก ซึ่งมีพลเรือนอาศัยอยู่ เป็นเพราะว่า เราถกู คกุ คามเราจงึ ยิงตกึ เหลา่ นัน้ - อดตี ผถู้ กู กกั กัน 10. มีเด็กหญิงหลาย ๆ คนถูกข่มขืน เวลานี้พวกเธอต้องเล้ียงลูกที่ไม่มีพ่อ น่ีคืออาชญากรรมที่ ไม่เคยได้รบั การแก้ไข - ชาวบ้านคนหนึ่ง 11. เราถูกสอนว่า เมื่อไรท่ีเราเคลื่อนย้ายจากท่ีหน่ึงไปยังอีกที่หน่ึง ให้เราใส่ยาพิษในแหล่งน้ำ ที่จากมา มันเปน็ ยทุ ธวิธีของสงคราม ผ้ทู ่ีแข็งแรงทสี่ ดุ จงึ จะอยรู่ อด เมอื่ มีคนบอกคุณว่า คนเหลา่ นีเ้ ปน็ ศตั รู ถ้าพวกมันจับคุณได้พวกมันจะฆ่าคุณ คนส่วนใหญ่ก็หลงติดอยู่กับความเชื่อน้ี จริง ๆ แล้วพวกเขาอาจเป็น เพียงผู้บริสุทธ์ิท่ีเคลื่อนย้ายจากท่ีหนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง คนเหล่านี้เป็นคนไม่มีความหวัง ไม่มีอาหาร ดังนั้น จงึ เป็นสิง่ ท่ผี ิดทไี่ ปวางยาพิษพวกเขา - อดตี ผทู้ ำการสู้รบ 12. ตอนทพี่ เ่ี ขยของฉันเป็นเชลยสงคราม ฝา่ ยตรงขา้ มปฏิบตั กิ บั เชลยอย่างแย่มาก พวกเขากลวั ว่า วันหนึ่งพวกเชลยอาจออกมาเล่าว่าถูกกระทำอย่างไร จึงเป็นเหตุให้เชลยจำนวนมากถูกฆ่าเพ่ือปกปิด สง่ิ ช่วั รา้ ยทฝ่ี ่ายตรงข้ามทำ - แม่หมา้ ยคนหนึ่ง 13. การทำลายศาสนสถานหรือสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ เป็นส่ิงหนึ่งท่ีเกิดขึ้นในสงคราม เพราะวา่ ระหวา่ งเกดิ สงคราม คณุ ไม่สนใจอะไรทัง้ น้ัน คณุ ตอ้ งการทำลายทุกสง่ิ ทพ่ี บเหน็ - อดีตครู และผู้จัดการค่ายอพยพ 14. การไม่ให้อาหารและน้ำแก่ประชากรท่ีเป็นพลเรือนเป็นยุทธวิธีอย่างหนึ่งในการทำสงคราม เมอ่ื ไม่ให้พวกเขาได้รับน้ำและอาหาร แลว้ พวกเขาก็จะอ่อนแรงลงในท่ีสดุ - ผู้ทำการสูร้ บทีถ่ ูกจับ 15. ลองจินตนาการว่ามีปืนกลต้ังอยู่ท่ีนั่น และคุณจำเป็นต้องเข้าไปยึดมันไว้ให้ได้ ศัตรูได้นำ พลเรือนไปไว้บนหลังคา เพ่ือป้องกันไม่ให้คุณทำอย่างน้ัน แน่นอนว่าคุณโจมตีวัตถุของทหาร แต่พลเรือน กลับถูกสังหาร - ผู้ส่ือขา่ ว 16. เหตุผลหน่ึงที่ทำให้ทหารฆ่าพลเรือน เน่ืองจากมีทหารบาดเจ็บและล้มตายเป็นจำนวนมาก ในกองทัพ ดังนั้นพวกเขาจึงเรียกพลเรือนมา และสั่งให้ขุดหลุมฝังศพทหาร หลังจากกลบปากหลุมเสร็จ เรียบร้อยทหารก็ยิงพลเรือนทิ้ง เพราะเป็นสิ่งท่ีคนของอีกฝ่ายต้องรับผิดชอบ มันเป็นการกระทำด้วย ความโกรธ ทหารท่ีทำเชน่ นนั้ เปน็ ทหารชั้นผู้นอ้ ย เปน็ พวกเขียนอา่ นไม่ได้ และไม่มีความร้เู กยี่ วกบั สงคราม - อดีตผทู้ ำการสูร้ บ 17. พวกมันเอาเคร่ืองแบบมาให้ผมและบอกว่าตอนน้ีผมเป็นทหารในกองทัพของพวกมันแล้ว พวกมนั จะกลบั มาอกี เพอื่ ฆ่าพอ่ แม่ของผม หากผมไมย่ อมทำตาม - อดตี ทหารเดก็ 118 EHLค่มู อื การจดั กิจกรรมยวุ กาชาด เรื่อง การเรยี นรู้กฎหมายมนษุ ยธรรมรเะพหวอ่ื า่ เงยปารวะเชทนศ

Exploring Humanitarian Law หลกั พื้นฐานของกฎหมายมนษุ ยธรรมระหวา่ งประเทศ มอี ะไรบ้าง EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE การแบง่ แยก การปฏบิ ัติ อาวุธและกลยทุ ธ์ ความคมุ้ ครองเพ่มิ เติม เรื่อง หลักพ้ืนฐานของกฎหมายมนุษยธรรมระหวา่ งประเทศ มีอะไรบา้ งEHL EHL Programme ในการวางแผนหรือปฏิบัติการ พลเรือนหรือพลรบที่ออกจากการ วัตถุประสงค์ที่ชอบด้วยกฎหมาย บุคคลและส่ิงของบางประเภทจะ โจมตี จะตอ้ งมกี ารแบง่ แยกระหวา่ ง สรู้ บไปแลว้ จะตอ้ งไดร้ บั ความคมุ้ ครอง ของการทำสงครามคือการทำให้ ต้องไดร้ ับความคมุ้ ครองเพม่ิ เติม พลเรือนและพลรบรวมท้ังระหว่าง และปฏบิ ตั อิ ย่างมีมนษุ ยธรรม กองทพั ฝ่ายศตั รูออ่ นกำลงั ลง วัตถุของพลเรือนและเป้าหมายทา งทหารด้วย 1. ห้ามโจมตีประชาชนพลเรอื น 1. ห้ามฆ่า ทรมาน และลงโทษหรือ 1. ห้ามใช้อาวุธท่ีทำให้เกิดความเจ็บ 1. ห้ามเกณฑ์เด็กหรือใช้เด็กอายุ 2. หา้ มโจมตวี ตั ถขุ องพลเรอื น (บา้ นเรอื น ปฏิบัติอย่างโหดร้ายหรือลดคุณค่า ปวดเกนิ กว่าจำเปน็ ตำ่ กวา่ 15 ปี เขา้ ร่วมในการรบ โรงพยาบาล โรงเรียน สถานท่ีอันเป็น ความเปน็ มนษุ ย์ 2. หา้ มจบั คนไปเป็นตวั ประกนั 2. บุคลากรทางการแพทย์และสถาน ทส่ี กั การะบชู า อนสุ าวรยี ท์ างวฒั นธรรม 2. หา้ มประทุษรา้ ยทางเพศ 3. ห้ามฆ่าหรอื ทำร้ายศตั รูทีย่ อมจำนน พยาบาล (โรงพยาบาลคลนิ กิ รถพยาบาล หรือทางประวัติศาสตร์ ฯลฯ) 3. ห้ามบังคับประชาชนพลเรือนให้ 4. ห้ามออกคำส่ังหรือขู่ว่าจะไม่ไว้ชีวิต ฯลฯ) รวมทั้งบุคลากรทางด้านศาสนา 3. ก่อนการโจมตีจะต้องใช้ความระมัด อพยพโยกยา้ ย แกผ่ ้ใู ด จะต้องได้รับความเคารพและความ ระวังเท่าที่จะกระทำได้ เพื่อลดความ 4. ห้ามใช้วิธีการให้พลเรือนอดอยาก 5. หา้ มทหารแสรง้ แสดงตนเปน็ พลเรอื น คมุ้ ครอง เสียหายท่ีจะเกิดแก่พลเรือนและวัตถุข หิวโหยเปน็ ยทุ ธวิธีทางการรบ ขณะสู้รบ 3. บุคลากร ส่ิงของบรรเทาทุกข์ และ องพลเรอื น 5. ห้ามใช้พลเรือนเป็นเกราะกำบัง 6. ห้ามทำลายส่งิ จำเป็นในการดำรงชีพ การปฏิบัติงานด้านมนุษยธรรมจะต้อง 4. ห้ามใช้อาวุธที่ไม่สามารถแบ่งแยก เปา้ หมายทางทหาร ของพลเรือน (อาหาร สถานทีเ่ พาะปลูก ไดร้ ับความเคารพและความคมุ้ ครอง ระหว่างพลเรือนและเป้าหมายทาง 6. คู่พิพาทแต่ละฝ่ายจะต้องค้นหา แหล่งนำ้ กินน้ำใช้ ฯลฯ) 4. ทรัพย์สินทางวัฒนธรรมจะต้อง ทหาร และดูแลทหารฝ่ายศัตรูท่ีบาดเจ็บ 7. ห้ามโจมตีบุคลากรทางการแพทย์ ไดร้ ับความเคารพและความคมุ้ ครอง เจ็บป่วยหรือเรืออับปาง จะไม่มีการให้ ทางศาสนาและส่ิงใดที่ติดเคร่ืองหมาย 5. ผ้หู ญิงท่ไี ดร้ ับผลกระทบจากสงคราม อภิสิทธิ์ใด ๆ ยกเว้นเมื่อมีความจำเป็น กาชาด เสย้ี ววงเดอื นแดงหรอื ครสิ ตลั แดง จะตอ้ งไดร้ บั ความคุ้มครอง การปกปอ้ ง ทางการแพทยเ์ ท่านนั้ ตามที่กฎหมายอนุญาต ดูแลด้านสุขภาพ อนามัย และได้รับ สำหรบั สมาชิกยวุ กาชาด 7. พลเรือนหรือทหารฝ่ายศัตรูท่ีถูกจับ 8. หา้ มใช้เคร่อื งหมายกาชาด เส้ยี ววง ความช่วยเหลอื เป็นพิเศษ ได้จะตอ้ งได้รบั อาหาร น้ำ เคร่อื งนุ่งหม่ เดือนแดงหรือคริสตลั แดงในทางทผี่ ิด ที่พักพิง และการดูแลทางการแพทย์ อย่างเพียงพอ และมีสิทธิส่งข่าวสาร ติดต่อกับครอบครวั ของเขา ใบความรู้ 8. ทุกคนมีสิทธิ์ได้รับการดำเนินคดี อย่างยตุ ิธรรม119

ใบความรู้ สำหรบั สมาชกิ ยวุ กาชาดเรือ่ ง หลักพืน้ ฐานของกฎหมายมนุษยธรรมระหวา่ งประเทศคำจำกัดความ civilian-พลเรอื น : บุคคลใดกต็ ามทีม่ ิใชพ่ ลรบ เมอื่ ใดทพ่ี ลเรือนเข้ามสี ว่ นร่วมโดยตรงในการสูร้ บ จะสูญเสียความคมุ้ ครองจากการถูกโจมตี (หากมีขอ้ สงสยั เก่ียวกบั สถานภาพของบคุ คลใด ใหส้ นั นษิ ฐานไวก้ ่อนวา่ บคุ คลนน้ั เป็นพลเรือน) civilian objects-วตั ถขุ องพลเรอื น : วตั ถใุ ดกต็ ามทมี่ ใิ ชเ่ ปา้ หมายทางทหาร แตเ่ มอ่ื ใดทวี่ ตั ถขุ องพลเรอื นนนั้ ถูกนำมาใช้เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการทางทหาร วัตถุเหล่านั้นก็จะกลายเป็นเป้าหมายทางทหาร และ สูญเสียความคุ้มครองในแง่วัตถุของพลเรือน (หากมีข้อสงสัยว่าวัตถุใดถูกนำมาใช้เพื่อสนับสนุนการ ปฏิบตั กิ ารทางทหารหรือไม่ ให้สันนษิ ฐานไวก้ ่อนว่าวัตถุน้นั เปน็ ของพลเรอื น) combatant-พลรบ : บุคคลผูส้ ังกัดในกองทพั หรือผ้สู งั กัดกองกำลังติดอาวุธที่อยู่ภายใตค้ ำสงั่ ของฝ่าย หนึ่งฝา่ ยใดในการสรู้ บ military objective-เปา้ หมายทางการทหาร : วตั ถซุ ง่ึ โดยลกั ษณะ สถานทต่ี ง้ั จดุ มงุ่ หมาย หรอื การใช้ ถือเป็นปัจจัยสำคัญอย่างย่ิงต่อปฏิบัติการทางทหาร และหากถูกทำลายลง จะเป็นข้อได้เปรียบทาง ทหารอย่างมาก hors de combat - พลรบทอ่ี อกจากการสรู้ บ : หมายถึงพลรบที่ถูกจับได้ บาดเจ็บหรือป่วยไข้ หรือ ประสบภัยเรอื อบั ปาง ทำใหไ้ ม่สามารถรบได้อกี principle of proportionality-หลกั การไดส้ ดั สว่ น : จำนวนพลเรือนที่ถึงแก่กรรมหรือบาดเจ็บ หรือ ความเสยี หายต่อวัตถุของพลเรือนท่ีคาดหมายไดจ้ ะตอ้ งไม่มากกว่าประโยชน์ทางทหารทค่ี าดคะเนไว้120 EHLคมู่ อื การจัดกจิ กรรมยวุ กาชาด เรือ่ ง การเรยี นรู้กฎหมายมนษุ ยธรรมรเะพหว่ือา่ เงยปารวะเชทนศ

ใบงาน สำหรับสมาชิกยุวกาชาด สถานการณ์ 1 กฎเกณฑข์ ้อใดของ IHL ถกู ละเมดิ กฎเกณฑ์ข้อใดของ IHL ถกู ละเมิด ระบุการกระทำท่ถี กู ละเมิด ละเมดิ กฎขอ้ ใดของ IHL เหตผุ ลท่ลี ะเมิดกฎ เพอ่ื ซ่อนตัว เพอ่ื ไดร้ ับอาหารตวั อยา่ ง และทีพ่ ัก เพราะความกลวั - ทหารแสดงตนเปน็ พลเมือง, ทหาร อาวุธและกลยทุ ธ์ 5 เพ่อื ความปลอดภัยฝา่ ยขา้ ศกึ ฆา่ ทุกคนท่เี คล่ือนไหวไม่วา่ การแบง่ แยก 1 ผนู้ ้นั จะเป็นพลเรือนหรอื ไม่กต็ าม EHL Exploring Humanitarian Law 121 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme

ใบงาน สำหรับสมาชิกยุวกาชาด สถานการณ์ 2 กฎเกณฑข์ ้อใดของ IHL ถกู ละเมดิ กฎเกณฑข์ อ้ ใดของ IHL ถูกละเมดิ ระบุการกระทำท่ีละเมิดกฎ ละเมดิ กฎข้อใดของ IHL ระบกุ ารกระทำอนื่ ๆ ละเมดิ กฎข้อใดของ IHL ที่ละเมดิ กฎ ซึ่งอาจจะเกดิ ตามมาตัวอย่าง ทหารฝ่ายขา้ ศกึ ฆ่าทกุ คนท ่ี - การแบ่งแยก 1 เคลื่อนไหวไมเ่ วน้ แมแ้ ต่ - อาวธุ และกลยทุ ธ์ 5 - ทหารแสดงตนเป็น อาวุธและกลยุทธ์ 5 พลเรอื น, ทหารฝา่ ยตรงขา้ มพลเรอื น โจมตพี ลเรอื นเปน็ การแกแ้ คน้ ใบงาน... ชว่ งที่ 2 122 EHLคู่มือการจัดกิจกรรมยุวกาชาด เร่อื ง การเรียนรู้กฎหมายมนษุ ยธรรมรเะพหวอ่ื ่าเงยปารวะเชทนศ

คมู่ อื การเตรียมการจดั กิจกรรมสำหรบั ครผู สู้ อน EHLMethodology Guide A preparation manual for EHL teachersEHL Exploring Humanitarian Law : EDUCATION MODULES FOR YOUNG PEOPLE คมู่ ือ การจัดกจิ กรรมยุวกาชาด EHLเรื่อง การเรยี นรกู้ ฎหมายมนษุ ยธรรมระหว่างประเทศเพือ่ เยาวชนวธิ ีการสอน EHL 10 วธิ ีEHL Exploring Humanitarian Law 123 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme

วธิ กี ารสอน EHL ในบทนจี้ ะประกอบดว้ ยคำอธบิ ายเกีย่ วกบั วิธกี ารสอนทใ่ี ชใ้ นช้นั เรยี น EHL ซึง่ ในแต่ละวธิ ปี ระกอบด้วย • คำอธิบายถงึ วตั ถปุ ระสงคข์ องวิธีการสอน EHL ดว้ ยวิธพี ิเศษ • ขอ้ เสนอแนะสำหรับข้นั ตอนแรกกอ่ นเรมิ่ ตน้ สอน • คำแนะนำถึงวธิ กี ารนำกล่มุ • คำแนะนำในการจัดการกบั ปญั หาอุปสรรคที่อาจเกดิ ข้นึ • ขอ้ เสนอแนะในการประเมินผลการเรยี นของสมาชกิ ยุวกาชาด วิธกี ารสอน 1 : การอภปิ ราย การอภิปรายหรือการสนทนา เป็นวิธีการสอนหลักของ EHL เป้าหมายอย่างหนึ่งของการอภิปรายคือ เพื่อกระตุ้นให้สมาชิกยุวกาชาดมีส่วนร่วมอย่างเท่าเทียมกัน การอภิปรายท่ีดี กำหนดให้ผู้สอนเป็นผู้ฟังท่ีดี และทำหน้าที่เหมือนช่างทอผ้าท่ีถักทอความคิดของสมาชิกยุวกาชาดนำมาปะติดปะต่อกันอย่างเป็นเหตุเป็นผล เป้าหมายสูงสุด คอื การทำให้สมาชิกยุวกาชาดกลายเป็นชา่ งทอผา้ ท่ีสามารถถกั ทอความคดิ ด้วยตนเองได้ วัตถุประสงค์ • เพื่อคน้ หาว่าสมาชิกยวุ กาชาดรอู้ ะไรบา้ งเกีย่ วกบั หัวข้อที่เรียน • เพ่ือพฒั นาทกั ษะในการอภปิ ราย เชน่ การฟังและการพูด • เพ่อื ใหส้ มาชิกยวุ กาชาดได้ฝกึ การกำหนดจดุ ยนื และการยืนยนั จุดยืนด้วยพยานหลักฐาน เร่มิ การสอน กำหนดกฎเกณฑด์ งั ตอ่ ไปนสี้ ำหรบั สมาชกิ ยวุ กาชาดในการเรมิ่ ตน้ ถา้ จำเปน็ ผสู้ อนสามารถยอ้ นบอกกฎเกณฑ์ เหลา่ นแ้ี กส่ มาชกิ ยวุ กาชาดในระหวา่ งการพดู คุยโต้ตอบทีร่ อ้ นแรงขนึ้ 1. ตัง้ ใจฟงั คนอ่นื พูด และคอยจนกวา่ เขาจะพูดจบ 2. สามารถโตแ้ ย้งได้ หากไมเ่ ห็นด้วยกบั สง่ิ ท่ีผู้อนื่ พดู แต่ต้องเคารพผ้อู น่ื และความคดิ เหน็ ของผู้อนื่ ให้สมาชิกยุวกาชาดทราบถึงเร่ืองที่ต้องการเน้นอย่างชัดเจน โดยเขียนส่ิงเหล่านี้ลงบนกระดานทีละข้อ หรอื ท้ังหมดก็ได้ • คำถามสำหรบั การอภิปราย • วัตถุประสงคข์ องการอภิปราย • ผลทีต่ อ้ งการจากการอภิปราย • ใช้คำถาม รูปภาพ เร่ืองราว ถ้อยคำ วีดิทัศน์ แบบฝึกหัดให้เขียนหรือส่ิงท่ีเหมาะสมอื่น ๆ เพื่อช่วยกระตุ้น ใหม้ ีการอภปิ ราย การนำกล่มุ • ใหเ้ วลาแกส่ มาชิกยุวกาชาดในการคดิ เกยี่ วกบั สงิ่ ทต่ี อ้ งการจะพดู หากสมาชิกยุวกาชาดไดเ้ ขยี นความคดิ นี้ ออกมากอ่ นจะชว่ ยใหพ้ วกเขามีการเตรยี มตัวกอ่ นการอภปิ ราย • ยอมรบั ในส่ิงทีพ่ ูดคยุ กนั การบนั ทึกประเด็นสำคัญบนกระดานจะเป็นประโยชนใ์ นการสรุปและวิเคราะห์ • กระตุ้นให้สมาชิกยุวกาชาดร่วมในการอภิปราย โดยชักชวนให้แสดงความคิดของตัวเอง หรือสอบถามว่า เหน็ ดว้ ยหรอื ไมก่ บั ความคิดของคนอื่นในกลุ่ม • กระตนุ้ ใหส้ มาชกิ ยุวกาชาดพูดคุยกันเอง แทนทจี่ ะเสนอความคดิ ของทุกคนให้ผสู้ อนคนเดียว124 EHLคมู่ อื การจัดกจิ กรรมยุวกาชาด เรอ่ื ง การเรยี นรู้กฎหมายมนุษยธรรมรเะพหวือ่ า่ เงยปารวะเชทนศ

การจัดการกบั ปญั หาอปุ สรรค • ในกรณีที่มีผู้ให้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง ให้ดูว่าส่ิงท่ีผิดนั้นสำคัญหรือไม่ หากเป็นเรื่องสำคัญ ให้ขอความเห็นจากสมาชกิ ยวุ กาชาดคนอน่ื ๆ แตต่ อ้ งไมเ่ ปน็ การบนั่ ทอนกำลงั ใจของผใู้ หข้ อ้ มลู ทง้ั น้ี ผสู้ อนอาจเปน็ ผใู้ หข้ อ้ มลู ทถี่ กู ตอ้ งเองกไ็ ด้ • หากสมาชิกยุวกาชาดไมเ่ ต็มใจท่จี ะพูด ใหย้ ้ำถงึ เป้าหมายของการเรยี นอีกครัง้ ว่า เพื่อสำรวจความคิด และขอ้ คดิ เหน็ ของสมาชกิ ยุวกาชาด ไมใ่ ช่เปน็ การหาคำตอบทีถ่ กู ต้อง • ถา้ การพูดคยุ เริ่มขาดระเบยี บ ให้เตือนสมาชกิ ยุวกาชาดเก่ียวกับกฎเกณฑ์สองขอ้ ท่ตี ั้งไว้ก่อนเร่มิ การสอน • ถ้ามีสมาชิกยุวกาชาดเพียง 2-3 คนเป็นคนพูดโดยส่วนใหญ่ ต้องพยายามให้สมาชิกยุวกาชาดคนอื่น ๆไดพ้ ดู บา้ ง หรอื ขอใหส้ มาชิกยุวกาชาดท่ีน่ังเงียบได้ลองอ่านความคิดท่ีพวกเขาเขียนไว้ให้ผู้อื่นฟัง (ดูคู่มือการเตรียมการจัดกจิ กรรม วธิ ีที่ 7 : การเขยี นและการสะทอ้ นความคิดเห็น) ควรทำอยา่ งไร หากการอภปิ รายนำไปสเู่ รอ่ื งละเอยี ดออ่ นทางการเมอื ง หรอื ศาสนา ความเชอื่ และการปฏบิ ตั ิท่ีสืบทอดกันมาตามประเพณี ส่ิงเหล่านี้อาจสะท้อนให้เห็นถึงพันธะของสมาชิกยุวกาชาดต่อสิ่งท่ีคุ้นเคยทั้งความสนใจความหว่ งใยและประสบการณ์ หากการอภิปรายเกยี่ วขอ้ งกบั การเรียน EHL ผูส้ อนควรเพม่ิ เวลาสำหรบั การเรียนเพอ่ื ให้สมาชกิ ยวุ กาชาดไดท้ ำกจิ กรรมมากขึ้น หรอื กระตุ้นใหส้ มาชกิ ยุวกาชาดได้ทำการวเิ คราะห์ไดอ้ ยา่ งอสิ ระ ถ้าการพูดคุยไม่ใช่เรื่องเก่ียวกับการเรียน EHL ผู้สอนควรพูดคุยเป็นการส่วนตัวในหัวข้อที่ไม่เป็นทางการน้ีกับสมาชิกยุวกาชาดนอกหอ้ งเรยี นเพือ่ ชว่ ยใหส้ มาชกิ ยวุ กาชาดไดใ้ คร่ครวญความคดิ ของตวั เอง ประเมินผลการเรียนของสมาชิกยุวกาชาด • สมาชกิ ยวุ กาชาดสามารถระบแุ ละแบง่ ปันความรู้ทีเ่ รยี นไปได้ไหม • สมาชกิ ยวุ กาชาดฟังและสนองตอบตอ่ ความคดิ ของคนอื่นบ้างหรอื ไม่ • มีความคดิ ทสี่ ำคัญ หรือความขดั แย้งทางความคดิ อะไรปรากฏขึน้ บ้าง • ผสู้ อนจะสรา้ งบรรยากาศสำหรับการพูดคุยสนทนาในบทเรียนตอ่ ไปอยา่ งไร วิธกี ารสอน 2 : การระดมความคิดเห็น การระดมความคิดเห็นเป็นเทคนิคอย่างหนึ่งที่กระตุ้นให้เกิดความคิดแรกเริ่มโดยการสร้างบรรยากาศของการชะลอผลของการตัดสิน ซึ่งจะทำให้สมาชิกยุวกาชาดสามารถระดมความคิดเห็นให้มากท่ีสุดภายในช่วงเวลาที่กำหนด หากจุดประสงค์คือเพ่ือการแก้ปัญหา การระดมความคิดเห็นจะช่วยให้สมาชิกยุวกาชาดแต่ละคนได้เสนอวิธกี ารแก้ปญั หาท่หี ลากหลาย แล้วจึงใหส้ มาชิกยวุ กาชาดไดส้ รุปข้อมลู ทรี่ วบรวมได้ ซง่ึ เป็นคำตอบของกลุ่ม วัตถปุ ระสงค์ • เพ่อื ประมวลความคดิ ทห่ี ลากหลายสำหรับการพดู คยุ หรอื เปน็ การตอบคำถาม • เพื่อสนับสนนุ การแสดงความคิดเหน็ ออกมาในทนั ที เรมิ่ การสอน บอกใหส้ มาชิกยุวกาชาดระดมความคดิ เหน็ ใหม้ ากทสี่ ดุ ภายในกลมุ่ โดยให้แนวทางดงั ต่อไปนี้ • ใหแ้ สดงความคดิ เห็นอยา่ งเป็นธรรมชาติ • พยายามอย่าทำการประเมนิ ความคิดของตนเองกอ่ นทีจ่ ะบอกแกผ่ อู้ ื่น • ยอมรับขอ้ เสนอแนะของผอู้ น่ื และอย่าตัดสนิ เอง • ใหผ้ นวกข้อแนะนำของผ้อู น่ื ไวด้ ว้ ยEHL Exploring Humanitarian Law 125 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme

การนำกล่มุ • บอกคำถาม หรอื หัวข้อของแบบฝกึ หัดให้ชดั เจน • ให้ทำความเขา้ ใจกบั คำถามใหด้ กี ่อนทจี่ ะใหส้ มาชิกยวุ กาชาดตอบ • บนั ทึกความคดิ เห็นที่แสดงออกมาท้ังหมด • หาความกระจ่างในการแสดงความคิดเห็นที่ไม่เหมาะสม (ให้แน่ใจว่าการทำเช่นนี้จะไม่เป็นการกีดก้ัน การแสดงความคดิ เห็นในครัง้ ตอ่ ไป) • หากการระดมความคดิ เหน็ เร่ิมยืดเย้ือ ผสู้ อนควรเนน้ คำถามอีกคร้ัง เพ่อื กระตนุ้ ให้มกี ารตอบมากขนึ้ • ในชว่ งทา้ ยของแบบฝกึ หดั ผสู้ อนควรทำการทบทวนและสรปุ ความคดิ ทงั้ หมดของกลมุ่ ทร่ี วบรวมไดเ้ ปน็ ขอ้ ๆ หรือใหส้ มาชิกยุวกาชาดเป็นผทู้ ำสว่ นนีเ้ อง การจัดการกบั ปญั หาอุปสรรค • หากคำตอบของสมาชิกยุวกาชาดไมเ่ กยี่ วกบั หวั ขอ้ ทใ่ี หไ้ ป ผสู้ อนควรหยดุ เพอ่ื ทำความเขา้ ใจใหช้ ดั เจนกอ่ นทจ่ี ะ สอนตอ่ ไป • หากสมาชกิ ยวุ กาชาดมปี ญั หาในการใหค้ ำตอบ เนอ่ื งจากไมค่ นุ้ เคยกบั หวั ขอ้ ทเี่ รยี น ผสู้ อนควรใหค้ ำแนะนำ เพื่อช่วยใหส้ มาชิกยวุ กาชาดเร่มิ ต้นหาคำตอบได้ การประเมินผลการเรยี นของสมาชกิ ยวุ กาชาด • สมาชิกยวุ กาชาดสามารถระดมความคิดเห็นได้ดเี พียงไร • กลุม่ สามารถสรุปความคิดทีถ่ า่ ยทอดเปน็ ขอ้ ๆ ได้ดเี พยี งไร • อะไรคอื ขอ้ ดี และขอ้ ด้อยของวธิ ีการน้ี วธิ ีการสอน 3 : “ปัญหาคาใจ” ในการเรียนการสอน EHL สมาชิกยุวกาชาดมักจะต้ังคำถามท่ีแม้แต่ผู้สอนก็ไม่สามารถตอบได้ ซ่ึงไม่ใช่ เพราะขาดข้อมูล แต่เป็นเพราะว่าไม่มีคำตอบที่ตรงกับคำถาม ดังนั้น จึงควรจัดท่ีใดท่ีหน่ึงเป็นท่ีจดคำถามท่ีตอบยาก ซงึ่ สมาชิกยุวกาชาดไดถ้ ามไวแ้ ละเรียกมมุ นี้ว่า “ปัญหาคาใจ” แมว้ ่าคำถามเหลา่ น้ี จะไม่มคี ำตอบในทันที แต่เราอาจ มีคำตอบในเวลาต่อมาก็ได้ ให้สมาชิกยุวกาชาดคอยย้อนไปที่คำถามในมุม “ปัญหาคาใจ” เป็นคร้ังคราว เพ่ือดูว่า มคี ำถามใดท่ตี อบได้บ้าง หมายเหตุ คู่มือ IHL และสิ่งพิมพ์ของ ICRC เรื่อง International humanitarian law : Answers to your questions (กฎหมายมนษุ ยธรรมระหว่างประเทศ : ตอบคำถามของคุณ) เป็นแหลง่ ข้อมลู ทเ่ี ปน็ ประโยชนส์ ำหรับผ้สู อน วตั ถุประสงค์ • เพ่ือบันทึกคำถามทต่ี อบยากซ่งึ สมาชกิ ยวุ กาชาดถามไว้ เพ่ือการอา้ งองิ ในโอกาสตอ่ ไป • เพื่อใหร้ ับรวู้ า่ คำถามบางคำถามอาจมีคำตอบท่ซี ับซ้อน • เพอ่ื ใหร้ ูถ้ ึงแหลง่ ข้อมลู ทอ่ี าจชว่ ยในการวเิ คราะห์คำถามท่ตี อบยาก เริ่มการสอน ช้ีให้สมาชิกยุวกาชาดเห็นถึงสถานการณ์ยากลำบากท่ีเกิดข้ึนในยามสงคราม และเป็นภาวะท่ียากจะตัดสิน พฤติกรรมของปัจเจกบุคคล ดังนั้น คำถามมากมายที่เก่ียวข้องกับสถานการณ์เช่นนั้นจึงยากท่ีจะตอบ อย่างไรก็ตาม ควรถามคำถามเหล่านี้ก่อนที่เวลาจะล่วงเลยไปไกล เพื่อหลีกเล่ียงการบั่นทอนกำลังใจของสมาชิกยุวกาชาด ท่ีสนใจเรียนและช่างคิด126 EHLคู่มอื การจดั กจิ กรรมยวุ กาชาด เร่ือง การเรยี นรู้กฎหมายมนุษยธรรมรเะพหวื่อ่าเงยปารวะเชทนศ

การนำกลมุ่ • ควรรบั รวู้ า่ มคี ำถามที่ตอบยาก และไมส่ ามารถตอบไดใ้ นทันที • ให้สมาชิกยวุ กาชาดพิจารณาถงึ ปญั หาทต่ี อบยากโดยการตัง้ คำถามให้มากขึ้น • ถามสมาชิกยวุ กาชาดคนอน่ื ๆ ทีละคน หรือในกลุม่ เลก็ ๆ เพอ่ื ขอคำตอบ • จำกดั เวลาในการหาคำตอบสำหรับคำถามท่ตี อบยาก • ระบคุ ำถามท่ีตอบยากเหล่าน้ัน ซึง่ จะนำเสนอในโอกาสตอ่ ไป การจดั การกับปญั หาอปุ สรรค • หากทั้งสองฝ่ายที่มีความเห็นไม่ตรงกันเร่ิมก้าวร้าว ผู้สอนสามารถช้ีให้เห็นว่า แม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องน้ีก็ไมเ่ ห็นพ้องตอ้ งกนั ตอ่ คำถามนเ้ี ช่นกนั ผู้สอนอาจจะจัดให้มีการโตว้ าทีอยา่ งเปน็ ทางการสำหรับเรอ่ื งนีก้ ไ็ ด้ • หากผู้สอนไม่สามารถตอบคำถามได้ ควรปรึกษาผเู้ ช่ียวชาญในดา้ นนี้ • อย่าลมื ท่ีจะย้อนไปท่คี ำถามทีต่ อบยากทอ่ี ย่ใู นมุม “ปัญหาคาใจ” เปน็ คร้งั คราว การประเมินผลการเรยี นของสมาชิกยุวกาชาด เรอ่ื งตอ่ ไปนส้ี ามารถใช้เปน็ พ้ืนฐานสำหรบั การถกเถียง หรือเขียนเรียงความ ในหนังสือ เรื่อง “กฎหมายของประเทศ (The Law of Nations)” ท่ีตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1758 นักกฎหมายช าวสวิสชื่อ เอ็มเมอรชิ เดอ เวตเทล (Emmerich de Vattel) ได้เสนอความคดิ เหน็ ทีน่ ่าสนใจดงั นี้ : แต่ละฝ่ายท่ีสู้รบกันต่างอ้างว่าฝ่ายของตนเป็นฝ่ายที่ชอบธรรม ใครจะเป็นผู้มีอำนาจตัดสินว่าฝ่ายใดเป็น ฝ่ายท่ีมีความชอบธรรม เนื่องจากไม่มีผู้ใดมีอำนาจตัดสินในกรณีดังกล่าว จึงจำเป็นต้องพิจารณาจากกฎเกณฑ์ ในการทำสงคราม กฎประการแรก คือ การทำสงครามโดยท่ัวไปต้องถือว่าทั้งสองฝ่ายมีความชอบธรรม กฎน้ีมี ความจำเป็นอย่างมากในการกำหนดกฎเกณฑ์เกี่ยวกับสถานการณ์ท่ีมีความรุนแรงซึ่งมีการใช้อาวุธเข้าทำร้ายกัน โดยมีจดุ มุ่งหมายเพือ่ บรรเทาความหายนะทีจ่ ะเกดิ ขน้ึ และยังเปดิ โอกาสใหม้ กี ารสร้างสันติภาพในภายหลงั นักกฎหมายชาวสวิสได้สรุปกฎเกณฑ์ในการทำสงครามไวด้ ังตอ่ ไปนี้ การก่อความเสยี หายแกฝ่ า่ ยศตั รูโดยไมม่ ีความจำเป็น การปฏิบตั ิการสรู้ บทไ่ี ม่นำมาซงึ่ ชัยชนะและไม่ทำให้ สงครามสิน้ สดุ ลง เป็นการกระทำที่ถูกประณามโดยกฎของธรรมชาติ ท่ีมา : Emmerich de Vattel, The Law of Nations อา้ งองิ โดย J.F.C Fuller ใน “The Conduct of War 1789-1961” ถามผู้เรียนในคำถามตอ่ ไปนี้ • สมาชกิ ยวุ กาชาดเห็นดว้ ยหรือไม่วา่ ไมม่ ใี ครตดั สนิ ไดว้ ่าอะไรคือความชอบธรรมในการทำสงคราม • สมาชิกยุวกาชาดเห็นด้วยหรือไม่ที่ว่า การไม่กล่าวโทษฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดในการทำสงคราม มักนำมาซ่ึงสนั ตภิ าพมากกวา่ การกล่าวโทษ • คำสรปุ ของเดอ เวตเทลทวี่ า่ “ถูกประณามโดยกฎของธรรมชาติ” เปน็ พน้ื ฐานทดี่ สี ำหรบั กฎเกณฑใ์ นการทำสงครามใช่หรอื ไม่ หมายเหตุ ในตอนท้ายของแต่ละบท ให้ย้อนกลับไปดูที่มุม “ปัญหาคาใจ” และช้ีให้เห็นถึงคำถามท่ีตอบไปแล้ว และท่ียัง ไมไ่ ด้ตอบ EHL Exploring Humanitarian Law 127 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme

วธิ ีการสอน 4 : การใชภ้ าวะทข่ี ัดแย้ง (Dilemma) ภาวะที่ขัดแย้งทำให้สมาชิกยุวกาชาดเห็นถึงความยุ่งยากซับซ้อนในการตัดสินใจทางด้านจริยธรรมในยาม สงครามและมีเหตุผลอยา่ งนอ้ ย 3 ประการสำหรับความย่งุ ยากน้ัน : • ทุกการตัดสินใจมีผลกระทบต่อคนจำนวนมาก ผลที่ตามมาท่ีทำให้พวกเขาทุกข์ทรมานและปฏิกิริยาท่ี พวกเขาได้รับกลบั มา กอ่ ให้เกดิ ผลกระทบตอ่ ผู้อื่น • ทุกการตัดสนิ ใจมีผลขา้ งเคียง และบางอย่างเป็นส่ิงทีค่ าดไมถ่ งึ • เปา้ หมายทกุ อยา่ งไมอ่ าจบรรลผุ ลไดใ้ นคราวเดยี วกนั การทำบางอยา่ งเพอื่ ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายสำคญั ประการหนงึ่ มกั ไปชะลอโอกาสในการบรรลเุ ปา้ หมายอนื่ ๆ ดงั นนั้ การบรรลเุ ปา้ หมายหลาย ๆ อยา่ งทสี่ ำคญั เทา่ เทยี มกนั ในคราวเดยี วกนั ทำให้มภี าวะที่ขดั แยง้ ยากตอ่ การตดั สินใจมากมายหลายอย่าง คำวา่ “ภาวะที่ขัดแย้ง” มกั ถกู ใชอ้ ยา่ งฉาบฉวย แตใ่ นสถานการณท์ เี่ รยี กรอ้ งการกระทำอนั เปน็ มนษุ ยธรรม การด้ินรนเพ่ือแก้ปัญหาภาวะท่ีขัดแย้งสามารถก่อผลร้ายแรง และอาจเกี่ยวกับความเป็นความตายได้ เราไม่สามารถ หลีกเลี่ยงภาวะที่ขัดแย้งได้โดยการไม่ยอมเลือก เพราะว่าการไม่ทำอะไรเลย ถือเป็นทางเลือกในตัวของมันอยู่แล้ว ในการวิเคราะห์ภาวะที่ขัดแย้งอย่างได้ผล ผู้สอนต้องวิเคราะห์โดยใช้คำถามสองคำถามกับสมาชิกยุวกาชาด คือ อะไรคอื ภาวะทข่ี ัดแยง้ อะไรคอื ผลท่ีตามมา วัตถุประสงค์ • เพ่ือช่วยให้สมาชิกยุวกาชาดเข้าใจแนวคิดของ “ภาวะทข่ี ดั แยง้ ” และ “เปา้ หมายหลาย ๆ อยา่ งทต่ี อ้ ง บรรลใุ นคราวเดยี วกนั ” • ทำให้สมาชิกยุวกาชาดมีประสบการณ์ และเข้าใจถึงความยุ่งยากซับซ้อนท่ีเก่ียวกับการตัดสินใจทางด้าน จริยธรรมในยามสงคราม • เพื่อให้สมาชิกยวุ กาชาดไดฝ้ ึกในการระบมุ ุมมองทแี่ ตกตา่ ง • เพอ่ื ใหส้ มาชกิ ยวุ กาชาดเขา้ ใจถงึ แนวคดิ ของ “ผลทต่ี ามมา” (รวมถงึ ผลทเ่ี กดิ โดยไมต่ ง้ั ใจ และผลทคี่ าดไมถ่ งึ ) • เพอื่ ให้สมาชกิ ยุวกาชาดได้เห็นผลวเิ คราะหข์ องผลกระทบต่อเน่ืองเป็นลูกโซ่ เร่ิมการสอน 1. เริ่มโดยการกระตุ้นให้สมาชิกยุวกาชาดใช้คำพูดท่ีคุ้นเคย เพ่ืออธิบายแนวคิดของภาวะที่ขัดแย้ง เช่น “ไมว่ า่ จะทำหรอื ไมท่ ำ ผมกจ็ ะถกู ประณาม” หรอื “หนเี สอื ปะจระเข”้ หรอื “กลนื ไมเ่ ขา้ คายไมอ่ อก” หรอื “โดนทงั้ ขน้ึ ท้ังล่อง” ให้สมาชิกยุวกาชาดให้ความเห็นว่าภาวะที่ขัดแย้งคืออะไร โดยให้สมาชิกยุวกาชาดยกตัวอย่างประกอบ และอธบิ ายวา่ ภาวะทข่ี ดั แยง้ ทเี่ กดิ ขน้ึ มีอะไรบา้ ง 2. อธิบายให้ชัดเจนถึงส่วนท่ียุ่งยากที่สุดของภาวะท่ีขัดแย้ง และช่วยสมาชิกยุวกาชาดระบุลักษณะหลัก ๆ ของ ภาวะทขี่ ัดแย้ง • เป็นสถานการณท์ บ่ี ังคบั ให้ตอ้ งเลอื กกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง (รวมทัง้ การเลือกไมท่ ำอะไรเลย) • ทางเลอื กท้งั หมดมีทั้งข้อดีและข้อเสีย 3. ชใี้ หเ้ หน็ วา่ การเลอื ก “ทำสง่ิ ทถี่ กู ตอ้ ง” เปน็ เรอื่ งยาก และแมแ้ ต่ “การทำสง่ิ ทด่ี ที ส่ี ดุ แลว้ ในสถานการณ์ ทเี่ ลวรา้ ย” ยงั ดูเหมือนวา่ เปน็ ไปไม่ได้ เน่อื งจาก : • ทกุ ทางเลอื กที่มอี ย่อู าจกอ่ ใหเ้ กิดปัญหา • ไม่สามารถบอกไดอ้ ย่างแนน่ อนว่าผลลัพธข์ องส่ิงที่เลอื กกระทำจะออกมาเป็นอยา่ งไร 4. ให้เลือกภาวะท่ีขัดแย้งมาสัก 1 เหตุการณ์ ท่ีเหมาะกับจุดประสงค์ท่ีจะสอน ซ่ึงสามารถหาได้จากเอกสาร เก่ยี วกับหวั ข้อน้ใี นบทเรยี น128 EHLคู่มือการจดั กิจกรรมยุวกาชาด เรอื่ ง การเรยี นรู้กฎหมายมนษุ ยธรรมรเะพหวื่อา่ เงยปารวะเชทนศ

การนำกลุ่ม ในการนำการพูดคยุ โตต้ อบเก่ียวกับเรือ่ งภาวะทข่ี ัดแยง้ นั้น ใหด้ ำเนนิ การตามข้ันตอน ดังน้ี 1. ต้งั คำถามที่จะใช้ทำการสำรวจการกระทำ ใหใ้ ชเ้ รอื่ งเกยี่ วกบั ภาวะทขี่ ดั แยง้ จากเอกสารในบทเรยี นสกั 1 เรอ่ื ง หรอื ใชเ้ รอ่ื งทส่ี มาชกิ ยวุ กาชาดเสนอขนึ้ มาแลว้ ใหส้ มาชิกยุวกาชาดเสนอการกระทำหลาย ๆ อยา่ งทส่ี นองตอ่ ภาวะทข่ี ดั แยง้ นน้ั หลงั จากนน้ั ใหใ้ ชค้ ำถามตอ่ ไปนเ้ี พอ่ืสำรวจผลทอี่ าจ เกิดขน้ึ ได้จากการกระทำแต่ละอย่าง • อะไรคอื ผลทจี่ ะเกดิ ขน้ึ จากการกระทำดังกล่าว • อาจจะมีผลอะไรอ่ืนอีกบ้างไหม (หากทำได้ ให้สำรวจผลกระทบเก่ียวเน่ืองเป็นลูกโซ่ท่ีอาจเกิดข้ึน และ ผลของมนั ) • อะไรคือสงิ่ ที่ไม่อาจรู้ หรือ คาดการณ์ได้ในเหตุการณน์ ้ัน • มีใครอีกบ้างที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ พวกเขาจะได้รับผลกระทบจากการกระทำของท่านอย่างไรบ้าง ผูอ้ ืน่ จะคิดอย่างไรตอ่ การกระทำของท่าน ความคดิ เห็นของผู้อืน่ จะกอ่ ให้เกิดผลย่างไร ใช้คำถามแบบเดยี วกนั น้สี ำหรบั แตล่ ะการกระทำทีน่ ำเสนอโดยสมาชิกยวุ กาชาด สมาชกิ ยวุ กาชาดควรจะทำหน้าที่นี้ด้วยตัวเอง การเรียนรู้ท่ีจะต้ังคำถามที่ดี จะเป็นเครื่องพิสูจน์ว่าสมาชิกยุวกาชาดกำลังเรียนรู้ถึงความชำนาญและแนวคิดท่ีเกย่ี วกับการวเิ คราะห์ภาวะทขี่ ดั แยง้ 2. วเิ คราะห์ความยุ่งยากซับซอ้ นของภาวะที่ขัดแย้ง ใหส้ มาชิกยุวกาชาดเปรยี บเทยี บ และเลอื กการกระทำจากการกระทำหลาย ๆ อยา่ งทเี่ สนอขนึ้ มา โดยใชค้ ำถามตอ่ ไปน้ี กับการกระทำทเ่ี ลอื กมาทีละอยา่ ง • การกระทำที่สมาชกิ ยุวกาชาดเลอื กทำใหบ้ รรลผุ ลตามที่ต้องการได้ดเี พียงใด • ทางเลอื กทีส่ มาชกิ ยุวกาชาดเลอื กอาจก่อปญั หาที่เลวรา้ ยกวา่ ในระยะยาวอยา่ งไรบ้าง • การกระทำของสมาชิกยุวกาชาดต้องการทำให้บรรลุจุดประสงค์ใด ทำไมสมาชิกยุวกาชาดจึงเลือก จดุ ประสงค์น้นั • การกระทำท่ีสมาชิกยุวกาชาดเลือกทำให้การบรรลุจุดประสงค์อ่ืนถูกละเลย หรือถูกชะลอไว้ หรือไม่ ใหส้ รปุ โดยรับรู้ถึงความยงุ่ ยากซบั ซ้อนของการพจิ ารณาไตรต่ รองทเ่ี กยี่ วขอ้ ง 3. ระบุผลกระทบเป็นลูกโซ่ ให้สมาชิกยวุ กาชาดระบุผลทีต่ ามมาจากการกระทำ หรอื เหตกุ ารณ์ ต่อไปน้ี • ชาวประมงนำเรือออกไปในทะเล ตอนทม่ี พี ายุพัดเข้ามา และทำให้เรอื พลิกคว่ำ • นายพรานยิงเกง้ ได้ตัวหน่งึ ช่วยทำใหส้ มาชิกยุวกาชาดเหน็ วา่ การกระทำหน่งึ อาจกอ่ ผลซึ่งนำไปส่ผู ลกระทบอ่ืน ๆ ได้ ซง่ึ เรยี กว่าผลกระทบเปน็ ลกู โซ่ (พายุ > เรอื พลกิ ควำ่ > การตายของชาวประมง > ความเศรา้ โศก และความยากจนของครอบครวั เปน็ ตน้ ) ผลบางอย่างเป็นความจงใจ (นายพรานได้อาหารสำหรับครอบครัว ฯลฯ...) แต่บางอย่างก็เกิดขึ้นโดยไม่ได้ตัง้ ใจ (เก้งท่ีตายเพิ่งคลอดลกู ได้ไม่นาน ลกู ของมันเลยกลายเป็นกำพร้า ฯลฯ...) 4. คน้ หาผลกระทบเปน็ ลกู โซ่ ให้สมาชิกยุวกาชาดยกตัวอย่างเอง เป็นเหตุการณ์หน่ึงที่สามารถทำให้เกิดผลที่ตามมาได้หลายอย่าง และผลบางอยา่ งก็ทำให้มผี ลอนื่ ๆ ตามมาอีก ซงึ่ ทำใหย้ ุ่งยากซบั ซอ้ นมากขน้ึ การจัดการกับปญั หาอุปสรรค • สมาชิกยุวกาชาดอาจรบี ดว่ นสรปุ ในทนั ที ถา้ เปน็ อยา่ งนนั้ ใหส้ มาชิกยุวกาชาดถอยกลบั ไปวเิ คราะหถ์ งึ การกระทำและผลทตี่ ามมา • บางครั้งความยุ่งยากซบั ซอ้ นอาจครอบงำสมาชิกยวุ กาชาด ให้เข้าใจและยอมรบั ความยงุ่ ยากใจทเ่ี กิดข้ึนEHL Exploring Humanitarian Law 129 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme

การประเมินผลการเรยี นของสมาชกิ ยวุ กาชาด ให้สมาชิกยุวกาชาดเขยี นเกี่ยวกับภาวะทขี่ ัดแยง้ จากประสบการณ์ของตนเองสัก 1 เหตุการณ์ • อะไรคือเปา้ หมายท่ตี ้องบรรลุในคราวเดียวกนั • อะไรคือการกระทำท่เี ป็นไปได้ • อะไรคอื ผลที่ตามมาจากการกระทำ • อะไรคอื ผลทตี่ ามมาจากการกระทำและผลกระทบเปน็ ลกู โซ่ที่อาจเกิดข้ึน วธิ กี ารสอน 5 : การแสดงบทบาทสมมุติ การแสดงบทบาทสมมตุ เิ ปดิ โอกาสใหไ้ ดส้ วมบทบาทเปน็ ผอู้ น่ื และทำใหป้ ระสบการณท์ บี่ รรยายเปน็ ตวั อกั ษร เป็นจริงข้ึนมาโดยการแสดงบทบาทสมมุติ ในการแสดงให้ประสพผลสำเร็จควรมีการเตรียมตัวล่วงหน้า และมีการ พูดคยุ กนั หลงั จากน้ัน วตั ถปุ ระสงค์ • ทำใหส้ มาชิกยุวกาชาดไดร้ บั ร้มู ากข้นึ ถงึ มุมมองท่หี ลากหลายในสถานการณ์ทใ่ี ห้มา • ทำใหส้ มาชกิ ยวุ กาชาดไดร้ บั รถู้ งึ ภาวะทขี่ ดั แยง้ ทางจรยิ ธรรม ทอ่ี าจจะเกย่ี วขอ้ งกบั การกระทำอนั เปน็ มนษุ ยธรรม • ชว่ ยให้สมาชกิ ยุวกาชาดเขา้ ใจถงึ ประสบการณ์ของผู้อน่ื เร่ิมการสอน • อธบิ ายถงึ สถานการณ์ เพอ่ื ใหส้ มาชกิ ยุวกาชาดวา่ แตล่ ะบทบาทตอ้ งทำอะไรบ้าง • กำหนด ฉาก หรือ บริบท สถานที่ เวลา ภาวะ และข้อมูลภูมิหลังอ่ืน ๆ เพื่อช่วยให้สมาชิกยุวกาชาด วางตำแหน่งของตัวเองในสถานการณ์ • ใช้คำถามเพื่อช่วยให้สมาชิกยุวกาชาดกำหนดแต่ละบทบาท ตัวละครต้องการทำอะไร และทำไม และเขาหวงั จะบรรลผุ ลอะไร • แบง่ เวลาสำหรบั การเตรียมตวั การแสดงบทบาทสมมุติและการพูดคยุ การนำกล่มุ เพอื่ ใหไ้ ด้ผลดีควรปฏบิ ตั ติ ามข้นั ตอนดงั ตอ่ ไปนี้ 1. เตรยี มตวั นำเสนอเร่ืองราว หรือเหตุการณ์ภาวะที่ขัดแย้ง ให้เวลาที่เพียงพอสำหรับการพูดคุยถึงสถานการณ์ หรือ หวั ขอ้ อยา่ มงุ่ ทคี่ ำถามวา่ : ตวั ละครเปน็ ใคร แตใ่ หเ้ นน้ ทค่ี ำถามเหลา่ นแี้ ทน : หวั ขอ้ เรอื่ งคอื อะไร สถานการณเ์ ปน็ อยา่ งไร การ พูดคุยเพื่อเตรียมตัวล่วงหน้าเป็นส่ิงที่จำเป็นอย่างยิ่ง แม้ว่าโดยความเป็นจริงแล้วการเล่นละครอาจไม่ประสพผลสำเร็จ แต่ทุกคนในกลุ่มมีโอกาสได้เรียนรู้จากการพูดคุย ผู้สอนอาจมอบบทบาทให้สมาชิกยุวกาชาดที่แบ่งเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ดังน้ันสมาชิกยุวกาชาดหลายคนจึงสามารถสวมบทบาทเดียวกันได้ กระตุ้นให้สมาชิกยุวกาชาดสำรวจมนุษยธรรม ของตวั ละครทุกคนในเหตกุ ารณ์ และหลกี เล่ยี งการเลือกคนทีไ่ มด่ ี ให้ตอบคำถามต่าง ๆ ของสมาชกิ ยุวกาชาด 2. ซกั ซอ้ ม บทบาทของผู้สอนในฐานะผู้กำกับ คือการทำให้สมาชิกยุวกาชาดอยู่ในบท ให้การสนับสนุนอุปกรณ์ และเคร่ืองมือเพื่อช่วยสมาชิกยุวกาชาดในการซักซ้อมบทบาทท่ีพวกเขาสวมอยู่ ให้หลีกเล่ียงการกำกับที่มากเกินไป ซึ่งอาจไปปิดกน้ั จนิ ตนาการของสมาชกิ ยุวกาชาด130 EHLคู่มือการจดั กจิ กรรมยวุ กาชาด เรอื่ ง การเรียนรกู้ ฎหมายมนษุ ยธรรมรเะพหวื่อ่าเงยปารวะเชทนศ

3. การแสดง การแสดงเปน็ โอกาสสำหรับผสู้ วมบทบาท ผสู้ อนอาจมอบหนา้ ทใี่ หผ้ ชู้ มในการตดิ ตามตวั ละครตวั ใดตวั หนง่ึเปน็ การเฉพาะรวมท้งั การตดั สินใจของตวั ละครนน้ั การพูดคุยเพื่อเตรียมตัวล่วงหน้าและการมอบหมายหนา้ ทีด่ ังกล่าวจะช่วยให้ผูช้ มไดจ้ ดจ่อท่ีเนื้อเรอื่ งและมีอารมณร์ ว่ มกบั เรอื่ งทแ่ี สดง มากกวา่ ทบี่ ทบาทการแสดง 4. สรปุ ภายหลงั การแสดงบทบาทสมมตุ ใิ หผ้ สู้ อนกระตนุ้ ใหส้ มาชกิ ยวุ กาชาดแสดงความเหน็ ในเรอื่ งทน่ี ำมาแสดงเป็นละคร โดยย้อนไปที่คำถามในเอกสารท่ีเตรียมไว้ให้สมาชิกยุวกาชาดวิเคราะห์ถึงส่ิงท่ีได้รับจากการแสดงน้ัน ๆหรือจากการสังเกตจากการแสดงและส่ิงที่สะท้อนออกมาจากเน้ือเร่ืองและประสบการณ์จากละครที่แสดงสมาชกิ ยุวกาชาดได้รับมมุ มองใหม่ ๆ จากตัวละครตัวใดตวั หนงึ่ ด้านใดบ้าง มีอะไรท่สี มาชิกยวุ กาชาดจะทำแตกต่างออกไป ผสู้ อนอาจสรปุ โดยใหข้ ้อสังเกตที่ทำใหส้ มาชิกยุวกาชาดไดย้ อ้ นกลับมาทจี่ ดุ ประสงคข์ องการทำแบบฝึกหดั น้ี การจดั การกบั ปญั หาอปุ สรรค ในการเล่นละคร มีจุดประสงค์เพ่ือให้เกิดความสนุกสนาน ดังน้ันสาระสำคัญของเรื่องในบางส่วนอาจจะถูกบดบังไป ในทางกลับกัน เสียงหัวเราะสามารถช่วยให้จิตใจผ่อนคลายเม่ือเกิดอารมณ์ท่ีรุนแรง สมาชิกยุวกาชาด(ทั้งผู้แสดงและผู้ชม) อาจได้หัวเราะบ้าง ผู้สอนอาจจำเป็นต้องเตือนให้สมาชิกยุวกาชาดย้อนกลับไปที่แนวคิดหลักของกิจกรรมนี้ การค้างเฟรม ในการ “คา้ งเฟรม” สมาชิกยุวกาชาดผแู้ สดงละครหยดุ การกระทำไวใ้ นจดุ ทส่ี ำคญั และทกุ คนในกลมุ่ จะหยดุ นง่ิเหมอื นหนุ่ ใหใ้ ชก้ าร “คา้ งเฟรม” ในการนำเสนอผลทต่ี ามมาของการตดั สนิ ใจ หรอื แสดงจดุ ยงุ่ ยากทสี่ ดุ ของภาวะทข่ี ดั แยง้ กลมุ่ จะมีการตัดสินใจอย่างไร เน่ืองจากมีการแสดงรายละเอียดที่น้อยกว่าละครทั้งเรื่อง การค้างเฟรมจะทำให้สมาชิกยุวกาชาดได้เนน้ ไปที่หัวเล้ียวหัวตอ่ ของเรือ่ ง การประเมินผลการเรียน ให้มีการพูดคุยกันหลังจากการเล่นละครเพื่อดูถึงความเข้าใจของสมาชิกยุวกาชาดเกี่ยวกับภาวะที่ขัดแย้งและส่งิ ทเ่ี รียน รวมทัง้ ความสามารถในการสวมบทบาทเปน็ ผอู้ ่ืน วธิ ีการสอน 6 : การใช้เร่อื งราว รูปภาพ และวีดิทศั น์ EHL เก่ียวข้องกับความคิดและจิตใจ สมาชิกยุวกาชาดได้สวมบทบาทเป็นคนที่ได้รับผลกระทบจากสงครามไม่ว่าผู้น้ันจะเป็นพลเรือน ทหาร หรือเจ้าหน้าที่ทำงานด้านมนุษยธรรม โครงการได้ใช้หนึ่งในวิธีที่เก่าแก่ท่ีสุดในการถ่ายทอดวัฒนธรรม น่ันคือการเล่าเรื่อง เรื่องราวจากหลากหลายวัฒนธรรมโดยท่ัวไปมักเก่ียวกับการตัดสินท่ีเกี่ยวข้องกับจรยิ ธรรม นอกจากเร่อื งราวตา่ ง ๆ แล้ว EHL มักใชร้ ปู ภาพ วดี ิทัศน์ และการเล่าเร่อื งโดยรปู ภาพ เป็นการนำเสนอใหส้ มาชิกยวุ กาชาดเหน็ ถึงสถานการณ์ทเ่ี ป็นจรงิ และเพือ่ กระตุ้นการพดู คุย เร่มิ การสอน • กอ่ นทจี่ ะนำเรอ่ื งไปใชส้ อน ใหท้ ำความคนุ้ เคยกบั ขอ้ มลู ทม่ี าของเรอื่ ง และคำถามทแ่ี นะนำไวใ้ นเอกสาร EHL • หากเปน็ ไปได้ มอบหมายเร่อื งท่จี ะใหส้ มาชิกยวุ กาชาดอา่ นเป็นการลว่ งหนา้ กอ่ นเขา้ ชัน้ เรียน เพื่อให้แนใ่ จว่าสมาชิกยุวกาชาดคุ้นเคยกับเน้ือหาของเร่ืองแล้ว ซึ่งจะช่วยให้มีเวลาในการพูดคุยมากข้ึนด้วย อย่างไรก็ดี ให้มีการทบทวนเรอ่ื งท่ีอ่านในชัน้ เรยี นอีกครัง้ • นำเสนอรูปภาพท่ีทำเรียบร้อยแล้ว โดยมีคำอธิบายถึงจุดประสงค์ และบริบทของภาพ (ตัวอย่าง เช่น“นคี่ อื ภาพของผทู้ พ่ี ลดั ถนิ่ จากสงคราม”)EHL Exploring Humanitarian Law 131 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme

• เตรียมวีดิทัศน์ให้สมาชิกยุวกาชาดชม ให้ผู้สอนแนะนำเก่ียวกับเรื่องท่ีจะชม และต้ังคำถามสัก 1 ข้อ หรือสิ่งท่ีสมาชิกยุวกาชาดหวังว่าจะได้รับจากการชมวีดิทัศน์ ท้ังน้ีให้ใช้บทพูดของวีดิทัศน์เพ่ือย้อนไปดูข้อมูลท่ี ต้องการ หรือสว่ นทีเ่ ข้าใจยากในวดี ที ัศน์ การนำกลุ่ม หลังจากสมาชิกยุวกาชาดได้อ่านเร่ืองท่ีให้ไป ศึกษารูปภาพ หรือชมวีดิทัศน์แล้ว ให้สมาชิกยุวกาชาด เขียนส่ิงท่ีคิดได้ และปฏิกิริยาท่ีมี ก่อนการพูดคุยในสิ่งท่ีพวกเขาได้เห็น บางเรื่องที่นำเสนอ สามารถหยุดกลางคันได้ หากจำเปน็ ตอ้ งมกี ารตดั สนิ ใจในบางจดุ ผสู้ อนสามารถใชเ้ ทคนคิ การคา้ งเฟรม ในการนำเสนอเรอื่ งได้ (ดทู ว่ี ธิ กี ารสอน 5 : การแสดงบทบาทสมมุต)ิ นอกจากคำถามท่ีเจาะจงที่ผู้สอนใช้ในการดำเนินเรื่องแล้ว ให้พิจารณาถึงคำถามต่อไปนี้ เม่ือมีการพูดคุย เก่ยี วกบั เรือ่ งทอ่ี า่ น รปู ภาพและวีดิทศั น์ 1. สถานการณ์ : ใครตกอยใู่ นอันตราย อันตรายแคไ่ หน อย่างไร ใครคือผ้เู ห็นเหตุการณ์ 2. ทางเลอื ก : อะไรคอื ทางเลือกทมี่ ีอยขู่ องผู้เหน็ เหตุการณ์ 3. ผลทตี่ ามมา : อะไรคือผลท่ีตามมาของการกระทำแต่ละอย่าง (ท่ีต้ังใจ/ท่ีไม่ต้ังใจ ข้อดี/ข้อเสีย ระยะส้ัน/ ระยะยาว) 4. มุมมอง : พจิ ารณาถงึ ความคดิ ของปจั เจกบคุ คลหลาย ๆ คนทเี่ กยี่ วขอ้ ง อะไรนำเขาไปสผู่ ลของการกระทำ ในสถานการณท์ ่ีเฉพาะเจาะจง 5. การตดั สินใจ : คุณจะตดั สินใจอย่างไร และทำไม ระหว่างการพดู คยุ ให้สมาชกิ ยุวกาชาดไดไ้ ตร่ตรองคำถามต่อไปน้ี • อะไรคือส่ิงที่คุกคามชวี ติ หรือ ศกั ด์ิศรคี วามเปน็ มนษุ ย์ของปจั เจกบุคคล • อะไรคอื การกระทำทอ่ี าจเกดิ ขึน้ ได้ • อะไรคือผลทีต่ ามมาของแตล่ ะการกระทำ • อะไรคือเหตผุ ลในการตดั สินใจทีเ่ กิดขึน้ ในที่สุด • อะไรทเ่ี ป็นแรงกดดันทางสังคม ในบางบทเรยี น ไดก้ ระตนุ้ ใหส้ มาชิกยุวกาชาด นำเสนอเรอื่ งราวทเี่ กดิ ขน้ึ ในครอบครวั และวฒั นธรรมของพวกเขา ซงึ่ เปน็ ประสบการณ์ทเี่ ก่ียวกบั การสูร้ บ และ/หรือการกระทำอันเป็นมนุษยธรรม ข้อมูลที่ได้จากสมาชิกยุวกาชาดสามารถนำมาแสดง เก็บรวบรวมในสมุด และบูรณาการให้เข้ากับการเรียน ในช้นั (เปน็ เอกสารสำหรบั อา่ นในชนั้ หรอื เพอ่ื อธบิ ายแนวคดิ หรอื ประสบการณ)์ หรอื นำไปเกบ็ ไวใ้ น EHL Virtual Campus ซึง่ เป็นเวบ็ ไซต์สำหรบั เก็บขอ้ มลู เก่ยี วกบั EHL เพอื่ ให้ผอู้ ่นื ใชใ้ นการศกึ ษาคน้ คว้าต่อไป การจดั การกบั ปัญหาอปุ สรรค • เร่ืองราว รูปภาพและวีดิทัศน์ อาจทำให้สมาชิกยุวกาชาดมีอารมณ์สนองตอบที่รุนแรง จึงควรให้โอกาส พวกเขาท่จี ะได้แสดงปฏิกิริยาต่อสิง่ ตา่ ง ๆ เหลา่ นี้ • หากภาพใดปลกุ ใหส้ มาชิกยุวกาชาดคนใดคนหนงึ่ มปี ฏกิ ริ ยิ าทร่ี นุ แรง ทำใหส้ มาชิกยุวกาชาดคนนนั้ อาจไม่ อยากรว่ มชนั้ เรยี นตอ่ ไปก็ใหถ้ อื ว่าเป็นเรือ่ งปกติธรรมดาท่เี กิดข้ึนได้ • ใหพ้ ดู คยุ เปน็ การสว่ นตวั กบั สมาชิกยุวกาชาดทไ่ี มส่ ามารถจดั การกบั อารมณท์ ถี่ กู ปลกุ เรา้ โดยใชส้ อ่ื การเรยี น ตา่ ง ๆ ทก่ี ลา่ วมา การประเมนิ ผลการเรียนของสมาชิกยุวกาชาด • สมาชิกยวุ กาชาดได้ใชต้ ัวอยา่ งจากเรื่อง รูปภาพ หรอื วีดทิ ัศน์ทำใหเ้ ข้าใจมุมมองท่ีกวา้ งข้ึนหรือไม่ • สมาชกิ ยุวกาชาดคิดเร่อื งราวข้ึนมาเอง รวมทง้ั หารูปวาด รูปภาพ หรอื วดี ทิ ศั น์ เพอื่ อธบิ ายแนวคิด132 EHLคู่มือการจัดกจิ กรรมยวุ กาชาด เรอ่ื ง การเรยี นรกู้ ฎหมายมนษุ ยธรรมรเะพหวอ่ื า่ เงยปารวะเชทนศ

วิธีการสอน 7 : การเขยี นและการสะทอ้ นความคิดเหน็ จากการวจิ ัยทางการศึกษา พบวา่ สมาชกิ ยวุ กาชาดสามารถเขา้ ใจได้ดขี ึน้ เมือ่ บรรจุการเขียนเข้าไปในการเรียนของพวกเขาดว้ ยอยา่ งเตม็ รปู แบบ EHL เปดิ โอกาสอยา่ งเตม็ ทใ่ี นระหวา่ งการเรยี นในชน้ั โดยใชก้ ารเขยี น เพอื่ ทำใหส้ มาชิกยวุ กาชาดมคี วาม เข้าใจในเนื้อหาไดด้ ียิ่งขนึ้ ผมจะรวู้ ่าตวั เองคดิ อะไรได้อยา่ งไร ถ้าไมไ่ ด้เห็นสิง่ ทต่ี วั ผมเองเขยี น ซี เอส เลวสิ (C.S. Lewis) วัตถปุ ระสงค์ • เปดิ โอกาสใหส้ มาชกิ ยวุ กาชาดทกุ คนไดค้ ดิ เกยี่ วกบั หวั ขอ้ ทจี่ ะพดู คยุ และอธบิ ายความคดิ ออกมาโดยการเขยี น • ให้สมาชกิ ยวุ กาชาดบันทกึ ความคดิ ของตนเองก่อนฟงั ความคดิ เหน็ ของกลุ่ม • ให้สมาชกิ ยวุ กาชาดฝกึ หัดเขยี น • ให้สมาชิกยุวกาชาดเก็บบันทึกท่ีพวกเขาสามารถใช้สำหรับอ้างอิง สะท้อนความคิดเห็น และสำหรับก ารเขียนและการวจิ ยั อ่นื ๆ การเกบ็ EHL เป็นบนั ทกึ รายวนั หากเปน็ ไปได้ ใหส้ มาชิกยวุ กาชาดเกบ็ งานเขยี นทกุ ชนิ้ ในชน้ั เรยี นไวใ้ นทแี่ หง่ หนง่ึ ทเ่ี หมาะทสี่ ดุ คอื โดยการเกบ็ เปน็ บนั ทกึ รายวนั หรือทำเป็นงานเขียนรวมเล่ม บันทึกรายวันนี้ สมาชิกยุวกาชาดสามารถเก็บไว้ใช้เอง ไม่ใช่ทำเพ่ือแลกกับ คะแนน บันทึกนี้จะเป็นที่ ๆ สมาชิกยุวกาชาดสามารถแสดงความคิดเห็นของตนเอง และบันทึกข้อสังเกตสำหรับ ตัวเอง ให้บอกสมาชิกยุวกาชาดว่าไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งใสใ่ จกบั การสะกดคำ ไวยากรณ์ หรอื สระ วรรณยกุ ตใ์ ด ๆ ทงั้ สนิ้ เมอื่ เรม่ิ ตน้ การเขยี น สง่ิ ทสี่ ำคญั คอื การทสี่ มาชกิ ยวุ กาชาดไดเ้ ขยี นแสดงความคดิ เหน็ ออกมา สง่ิ ทอ่ี ยใู่ นบนั ทกึ รายวนั นี้ สามารถใช้เป็นข้อมูลในการเขียนเรียงความที่เป็นทางการมากกว่า หรือในการสำรวจหัวข้อและแนวคิดต่าง ๆ สมาชิกยุวกาชาดท่ีอายมุ ากกวา่ สามารถใช้ความคดิ เห็นบางอย่างในบันทกึ รายวันเพ่อื ทำงานวจิ ัยของตนเอง การเขยี นแบบอืน่ ๆ โอกาสทีจ่ ะมงี านเขียนแบบอื่น ๆ ในชน้ั เรียน มอี ยู่มากมาย คือ • การวเิ คราะหเ์ ร่ือง เหตกุ ารณ์ภาวะที่ขัดแยง้ หรอื สถานการณอ์ น่ื ๆ • การบนั ทึกเรื่องของสมาชกิ ยวุ กาชาดเอง • การเตรยี มสำหรบั การสัมภาษณ์ และการเขยี นคำสัมภาษณ์หลงั จากน้ัน • การเขียนรายงานการวจิ ัย • การเขยี นแผนเพือ่ รับมอื กับปัญหา • การเขยี นเรอื่ ง หรอื เหตกุ ารณส์ ำคัญทางประวัติศาสตร์ • การเขยี นเรยี งความตามหวั ข้อ แนวคดิ หลัก หรอื ความคิดเหน็ ท่มี ขี น้ึ ในช้นั เรียน • การบนั ทึกรายละเอียดข้อมูล และประสบการณ์จากชวี ติ ของสมาชิกยุวกาชาดเอง • การเขียนสง่ิ ที่มีการถกเถียงในกลมุ่ หรอื เรอ่ื งอื่นๆ • การเขยี นรวบรวมใบบอกข่าวเก่ียวกับ EHL เริ่มการสอน กอ่ นการพดู คยุ ใหส้ มาชิกยุวกาชาดไดเ้ ขยี นถงึ ปฏกิ ริ ยิ าของตนเองทมี่ ตี อ่ รปู ภาพ วดี ทิ ศั น์ คำถาม หรอื หวั ขอ้ ซ่ึงสมาชิกยุวกาชาดสามารถเขียนเป็นคำ หรือประโยคก็ได้ จุดประสงค์คือ เพื่อให้สมาชิกยุวกาชาดได้เขียนความคดิ ออกมาEHL Exploring Humanitarian Law 133 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme

การนำกลุ่ม • บอกใหช้ ดั เจนวา่ สมาชิกยุวกาชาดตอ้ งเขยี นเกยี่ วกบั อะไร และจะนำขอ้ มลู นน้ั ไปใชอ้ ยา่ งไร ใหก้ ำหนดเวลาสำหรบั กจิ กรรมในการเขยี นนด้ี ้วย • ถา้ มกี ารใชท้ ศั นูปกรณ์ด้วย ให้นำสง่ิ ทเ่ี ขียนแสดงบนจอ หรือแจกจ่ายเป็นเอกสาร เพอ่ื ว่าสมาชิกยุวกาชาด จะสามารถดูไดเ้ มอื่ ต้องการ • หากผ้สู อนมคี ำถาม สำหรบั สมาชกิ ยวุ กาชาด ใหถ้ ามและเขียนคำถามลงบนกระดานด้วย • สำหรับสมาชิกยุวกาชาดท่ีโตกว่า ผู้สอนสามารถถามคำถามทเ่ี ปดิ กวา้ ง • สำหรับสมาชิกยุวกาชาดท่ีเด็กกว่า ผู้สอนอาจจะให้เติมคำเพื่อทำให้ประโยคสมบูรณ์ (เช่น รูปภาพนี้ทำให้ ฉันคิดว่า...) การจดั การกับปัญหาอุปสรรค หากสมาชิกยุวกาชาดมีปัญหาในการเขียน พวกเขาสามารถแสดงความคิดเห็นด้วยวิธีอ่ืน เช่น โดยการวาดรูป สมาชิกยุวกาชาดสามารถ พดู คุยเกี่ยวกบั ภาพทวี่ าด และให้ผ้สู อนชว่ ยเขียนความคดิ เห็นทผี่ ู้เรียนแสดงออกมา การประเมินผลการเรียนของสมาชกิ ยวุ กาชาด • การเขียนสนบั สนนุ จดุ ประสงคข์ องกิจกรรมไดอ้ ยา่ งไร • สมาชิกยุวกาชาดแสดงความคดิ เห็นผ่านทางขอ้ เขียนได้ดเี พยี งใด • สมาชิกยุวกาชาดสามารถเปล่ียนความคิดเห็นเก่ียวกับ EHL ท่ีบันทึกไว้ให้เป็นงานวิจัย หรือโครงการสำหรับ การปฏบิ ตั กิ ารได้อย่างไร วธิ ีการสอน 8 : การสัมภาษณ์ ใหเ้ ชญิ ผทู้ ม่ี ปี ระสบการณม์ าในชนั้ เรยี นเพอ่ื บอกเลา่ ถงึ ประสบการณต์ รงทเ่ี ขาไดร้ บั จากสงคราม และเปดิ โอกาส ให้สมาชิกยุวกาชาดได้ถามคำถาม และรับความรู้ใหม่ ๆ ผู้สอนหรือกลุ่ม สามารถหาบุคคลท่ีเหมาะสม (ตัวอย่าง เช่น ทหารผา่ นศกึ ผู้ท่ีทำงานด้านมนุษยธรรม พลเรือน หรือผู้ส่ือข่าว) เพ่ือมาพูดในชั้นในช่วงเวลาของบทเรียนท่ีเหมาะสม นอกจากน้ี สมาชิกยุวกาชาดยังสามารถสัมภาษณ์บุคคลดังกล่าวนอกเวลาเรียนด้วย ลักษณะของคำถาม และ วตั ถุประสงค์ใหข้ ้ึนอยู่กบั บคุ คลท่ถี ูกสัมภาษณ์ วตั ถปุ ระสงค์ • เพื่อรวบรวมข้อมูลจากรายงานของผูม้ ปี ระสบการณ์ตรง • เพ่ือพฒั นาทักษะการสัมภาษณ์ เริ่มการสอน • หารือกับสมาชกิ ยวุ กาชาดว่าพวกเขาอยากจะสมั ภาษณ์ใคร • ใหข้ อ้ มลู ตอ่ กลุ่ม เกย่ี วกับผทู้ ี่รบั เชิญมา รวมทั้งความสามารถ หรอื ประสบการณข์ องบคุ คลผนู้ ี้ดว้ ย • ให้มชี ว่ งระดมความคิดเห็นจากกล่มุ ทจ่ี ะต้งั คำถามกับแขกทจี่ ะสมั ภาษณ์ โดยให้เขยี นคำถามเป็นข้อๆ ต่อไปน้ีคอื ตัวอย่างคำถาม - คณุ มีตวั อยา่ งอ่ืน ๆ ของคนทีม่ กี ารกระทำอันเป็นมนุษยธรรมบ้างไหม - คณุ ร้จู กั ใครอีกบ้างที่ไดร้ บั การชว่ ยชวี ิต - คณุ เคยรบั การอบรม หรือจัดการอบรมเก่ยี วกบั การปฏิบัติของทหารในสงครามอย่างไรบ้าง - มเี หตุผลใดทีท่ ำให้ทหารกระทำการอนั มมี นษุ ยธรรม หรือ ไร้มนุษยธรรม - อะไรคือส่ิงท่ียากที่สุดในการใหค้ วามช่วยเหลือดา้ นมนุษยธรรม - ภาวะท่ขี ัดแยง้ อะไรท่ีคณุ และคนอนื่ เคยประสบ134 EHLคู่มือการจดั กจิ กรรมยุวกาชาด เรื่อง การเรยี นรกู้ ฎหมายมนษุ ยธรรมรเะพหว่ือา่ เงยปารวะเชทนศ

• ให้กลุ่มเลือกคำถามท้ังหมดที่จะต้องใช้ และให้สมาชิกยุวกาชาดแต่ละคนเขียนคำถามท่ีอยากจะถามสมาชิกยุวกาชาดท่ีจะไปสัมภาษณ์เองนอกเวลาเรียนควรเตรียมรายการคำถามเป็นข้อ ๆ เพ่ือช่วยให้พวกเขาไดเ้ รอ่ื งราวกลบั มาและเพ่ือใหจ้ ับประเด็นทางดา้ นมนษุ ยธรรมได้ การนำกลุ่ม • มอบหมายสมาชกิ คนหนง่ึ ในกลุม่ เพ่อื กลา่ วต้อนรบั และแนะนำแขกรับเชิญ • จดั เตรยี มส่งิ ทจ่ี ะสมั ภาษณ์ กำหนดเวลาและแนวทางสำหรบั การสัมภาษณ์ • ใหส้ มาชกิ ยวุ กาชาดถามคำถามท่พี วกเขาเตรยี มไว้ • มีการแลกเปลย่ี นความคดิ เห็นได้ตามทจี่ ำเป็น • มอบหมายสมาชกิ คนหนง่ึ ในกลมุ่ กล่าวขอบคุณแขกรบั เชิญในชว่ งทา้ ยของการสัมภาษณ์ การจัดการกับปัญหาอปุ สรรค • แขกรับเชิญอาจจะพูดยาวเกินไป หรือออกนอกเร่ือง หากเป็นเช่นน้ัน ให้นำการสนทนากลับเข้ามาในเรื่องหรือแนะนำแขกรับเชิญให้ขอคำถามจากสมาชกิ ยวุ กาชาด • ผเู้ รยี นทจ่ี ะไปสัมภาษณค์ นนอกหอ้ งเรยี นอาจตอ้ งการความชว่ ยเหลอื ในการคิดคำถามที่เหมาะสมในการถาม การประเมนิ ผลการเรยี นของสมาชกิ ยวุ กาชาด • หลงั จากชว่ งนี้ ใหส้ มาชิกยุวกาชาดเขยี นสง่ิ ทไ่ี ดเ้ รยี นรจู้ ากแขกรบั เชญิ และดวู า่ มคี วามเกยี่ วโยงกบั หวั ขอ้ ทเี่ รยี นอยา่ งไรบา้ ง • ให้กลุ่มพดู คยุ กันถงึ การสมั ภาษณ์ว่าเป็นไปได้ดเี พยี งไร และพวกเขาจะทำอะไรทแี่ ตกต่างไปในคร้งั ตอ่ ไป • ให้สมาชิกยุวกาชาดที่สัมภาษณ์เพ่ือน ๆ หรือคนในครอบครัว เก่ียวกับสงคราม หรือมุมมองทางด้านมนุษยธรรมนำขอ้ มลู ท่ีรวบรวมไว้มาถ่ายทอดแบ่งปนั ในช้ันเรยี น วิธกี ารสอน 9 : การแบง่ กลุม่ ย่อย การทำงานในกลุ่มยอ่ ยจะช่วยใหส้ มาชิกยุวกาชาดไดแ้ บง่ ปันความคิดและพฒั นาทักษะ ในการเรยี นการสอนEHL มีการแนะนำให้แบ่งกลุ่มย่อยเพ่ือทำงานร่วมกันอยู่ตลอด ท้ังน้ี ผู้สอนสามารถให้คงกลุ่มย่อยเดิมไว้ตลอดการทำกิจกรรมในแต่ละช่วง หรือ ให้เปลี่ยนคนในกลุ่มในแต่ละช่วงของกิจกรรมก็ได้ การทำงานเป็นกลุ่มย่อยท่ีประสพผลสำเรจ็ น้นั ขึน้ อยู่กับองค์ประกอบ 3 ประการ คอื • มีคำสัง่ ทีช่ ัดเจนเก่ียวกับงานนน้ั • มเี วลาท่เี พียงพอ • มีการนำเสนอทส่ี ร้างสรรค์ และเปน็ ประโยชนต์ ่อผู้เรยี นในกลมุ่ ใหญ่ การทำงานในกลมุ่ ย่อยทำให้สมาชกิ ยวุ กาชาด : • ไดฝ้ ึกทกั ษะการสือ่ สารโดยการพูดและเขียน และการแกป้ ญั หาเปน็ กลมุ่ • มคี วามเปน็ ผ้นู ำและมีความรบั ผิดชอบ • มีการรายงาน หรอื เผยแพร่ขอ้ มลู • มกั จะเข้าร่วมในกจิ กรรมอย่างแขง็ ขันมากกว่าเวลาอยู่ในกลุ่มใหญ่ • รจู้ กั ถา่ ยทอดและพัฒนาความคิด รบั รู้ความคิดใหม่ ๆ และร้จู กั ตัดสนิ ใจ • มีประสบการณ์ในการทำงานเป็นทมี • เปิดกวา้ งสำหรบั ข้อมูลใหม่ ๆ ทห่ี ลากหลาย วตั ถปุ ระสงค์ • เพอื่ ใหส้ มาชกิ ยวุ กาชาดทกุ คนได้เข้าร่วมในการพดู คุย และแกไ้ ขปัญหา • เพอ่ื พัฒนาทักษะในการเป็นผู้นำ และทำงานเป็นกลมุ่ EHL Exploring Humanitarian Law 135 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme

เร่มิ การสอน • เมื่อได้เวลาท่ีเหมาะสม ให้สมาชิกยุวกาชาดเขียนความคิดของตนเองเป็นอันดับแรกก่อนที่จะถ่ายทอด ภายในกลมุ่ การทำเชน่ นี้จะชว่ ยใหส้ มาชกิ ยุวกาชาดไดม้ ีความคิดของตวั เองก่อนทจ่ี ะไดย้ ินของคนอน่ื • พิจารณาขนาดและลกั ษณะของกลุ่มทเ่ี หมาะกับจุดประสงค์และผลทีต่ ้องการจะไดจ้ ากการทำกิจกรรม • ให้สมาชิกยุวกาชาดจับคู่เพ่ือแลกเปล่ียนประสบการณ์ส่วนตัว (ประสบการณ์ส่วนตัวน้ี บางอย่างอาจ นำมาถา่ ยทอดให้ ท้ังกลุ่มได้และบางอย่างอาจบอกได้แค่กันและกันเท่าน้ัน) เพ่ือเปรียบเทียบมุมมองของแต่ละคน หรอื เพ่อื ใหเ้ หน็ ชอบในความคิดเห็น หรือการกระทำใด ๆ • ให้แบ่งกลุ่มย่อย กลุ่มละประมาณ 3-5 คน หากต้องการให้สมาชิกยุวกาชาดทุกคนมีโอกาสแสดงความเห็น ในเรอื่ งนนั้ ๆ • ให้แบ่งสมาชิกยุวกาชาดเป็นกลุ่มตามเกณฑ์ท่ีแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ท่ีผู้สอนต้องการ โดยอาจ พิจารณาท่ี ระดับความสามารถ ประสบการณข์ องสมาชกิ ยุวกาชาดสำหรับกิจกรรมน้นั ๆ อายุ เพศ สมาชกิ ยวุ กาชาด น่ังติดกัน เป็นต้น กลุ่มท่ีมีคนคุณสมบัติคล้ายกันสามารถทำงานในจังหวะพร้อมกัน ซ่ึงอาจจะทำให้งานไปเร็ว หรือ ช้ากว่ากลุ่มอ่ืนในกลุ่มท่ีมีคุณสมบัติคล้ายกัน สมาชิกยุวกาชาดบางคนอาจสวมบทบาทของผู้นำหรือผู้ฝึก ในขณะท่ี อาจตอ้ งมีการกระตนุ้ ผู้เรยี นคนอ่ืน ๆ โดยการสื่อสารกบั เพอ่ื นท่ีมีทักษะและประสบการณ์ท่ตี า่ งกนั การนำกลมุ่ • บอกถึงภารกจิ และผลทค่ี าดไวใ้ ห้ชัดเจน • ระบุ และจัดหาแหลง่ ข้อมลู ที่จำเป็นสำหรบั ภารกจิ น้นั • กำหนดเวลาสำหรบั ภารกจิ • บอกสมาชกิ ยวุ กาชาดใหแ้ บง่ ความรบั ผดิ ชอบภายในกลมุ่ เชน่ ผดู้ ำเนนิ การพดู คยุ ผจู้ ดขอ้ มลู และผรู้ ายงาน • อธบิ ายเกย่ี วกบั หนา้ ทขี่ องผดู้ ำเนนิ การพดู คยุ ผจู้ ดขอ้ มลู และผรู้ ายงาน และชว่ ยสมาชกิ ยุวกาชาดเหลา่ นใ้ี นการ ทำหนา้ ที่ ของตน • พจิ ารณารปู แบบการรายงานผลงานของกลมุ่ : การนำเสนอดว้ ยปากเปลา่ การวาดภาพ การนำเสนอดว้ ยแผนผงั การใช้การคา้ งเฟรม การเล่นละคร เป็นตน้ • ให้มีการหมุนเวียนภายในกลุ่ม ถามคำถามและติดตามความก้าวหน้าของกลุ่ม (ระวัง อย่ารับงานของกลุ่ม ไปทำเอง) การจัดการกับปัญหาอปุ สรรค • หากสมาชิกยุวกาชาดไม่ได้จดจ่ออยู่กับภารกิจ หรือไม่เข้าใจคำสั่ง ให้ย้ำอีกคร้ังเก่ียวกับภารกิจ หรือมอบให้ สมาชกิ ยุวกาชาดสกั คน เป็นคนทำแทน ผสู้ อนอาจเขยี นคำส่ังไว้ทก่ี ระดานก็ได้ • หากมีการไม่เห็นด้วยในกลุ่ม ให้พยายามทำให้กลุ่มมีความคิดเป็นเอกฉันท์ หรือให้กลุ่มนำความขัดแย้ง ทางความคิดออกมาเสนอและอธิบายให้สมาชิกยุวกาชาดทราบว่าควรวางแผนอย่างไรเพื่อการทำงานกลุ่มในครั้ง ตอ่ ไป • หากมีสมาชิกยุวกาชาดบางคนพยายามทำตัวเป็นเผด็จการในกลุ่ม ให้ผู้สอนย้ำจุดประสงค์ของการทำงาน กล่มุ ย่อย และความสำคัญของสมาชิกแตล่ ะคนในการทำใหง้ านออกมาสำเร็จ • การนำเสนองานของกลุ่มอาจจะออกมาคล้ายกันและซ้ำซาก หากเป็นเช่นน้ัน ให้มอบให้เพียงกลุ่มเดียว ขนึ้ มานำเสนองาน แลว้ ให้กลมุ่ อนื่ เสริมในสว่ นทจี่ ำเปน็ 136 EHLคู่มอื การจดั กิจกรรมยวุ กาชาด เรื่อง การเรียนรู้กฎหมายมนษุ ยธรรมรเะพหวือ่ ่าเงยปารวะเชทนศ

การประเมนิ ผลการเรียนของสมาชิกยวุ กาชาด • สมาชกิ ยวุ กาชาดสามารถทำงานด้วยกันเพอ่ื ให้งานออกมาสำเร็จได้ดเี พียงไร • ทกั ษะอะไรบา้ งทส่ี มาชกิ ยุวกาชาดไดน้ ำออกมาใช้ • ทักษะอะไรบ้างทีส่ มาชิกกลุ่มจำเปน็ ต้องฝกึ ฝน • กลมุ่ ได้มกี ารสือ่ สารกนั อยา่ งไรบา้ งเพือ่ ให้สมาชิกยุวกาชาดมคี วามเขา้ ใจในเรอ่ื งนนั้ วธิ กี ารสอน 10 : การรวบรวมเร่อื งและขา่ วสาร ในการเรียนรู้เรื่อง IHL น้ัน ให้ผู้สอนกระตุ้นให้สมาชิกยุวกาชาดพยายามใช้ข้อมูลต่างๆที่อยู่ในแบบการเรียนการสอนนี้ และข้อมูลจากท่ีอ่ืน ๆ ด้วย ข่าวจากสื่อ หนังสือ ประสบการณ์ท่ีเล่าโดยครอบครัว และคนในชุมชนและเรอ่ื งราวในจารตี ประเพณี ลว้ นเปน็ ขอ้ มลู ทน่ี า่ จะใชไ้ ดท้ งั้ นน้ั ขอ้ มลู เหลา่ นส้ี ามารถนำไปบรู ณาการเขา้ กบั โครงการได้ วตั ถปุ ระสงค์ • เพื่อสร้างจิตสำนึกของสมาชิกยุวกาชาดเกี่ยวกับการกระทำอันเป็นมนุษยธรรมท้ังในอดีตและปัจจุบันจากทวั่ โลก • เพ่ือช่วยให้สมาชิกยุวกาชาดได้ตระหนักถึงเหตุการณ์ และเร่ืองที่เก่ียวข้องกับกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (IHL) และการกระทำอนั เป็นมนษุ ยธรรม • เพ่อื กระตนุ้ ใหส้ มาชกิ ยวุ กาชาดเกบ็ รวบรวมเอกสารทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับการดำเนินการและการบงั คับใช้ IHL เร่มิ การสอน ในส่วนสุดท้ายของบทเรียนในแต่ละบท จะเป็นส่วนท่ีเรียกว่า “หน้าสื่อ” จุดประสงค์ คือเพื่อสร้างจิตสำนึกของสมาชิกยุวกาชาดเกยี่ วกบั มมุ มองดา้ นมนษุ ยธรรม และความจำเปน็ และเหตผุ ลทต่ี อ้ งมี IHL ทว่ั โลก ตวั อยา่ งเชน่ ในบทท่ี 1ใหส้ มาชิกยุวกาชาดสัมภาษณ์เพ่ือนและคนในครอบครัวในเรื่องที่เก่ียวกับการกระทำอันเป็นมนุษยธรรม และ/หรือให้หาเรื่องทำนองน้ันจากหนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ หรือหนังสือ ให้บอกสมาชิกยุวกาชาดว่าพวกเขาไม่จำเป็นตอ้ งถา่ ยทอดเรอ่ื งใหเ้ พอ่ื นในชน้ั ทราบหรือหากตอ้ งการทำกส็ ามารถทำได้โดยไม่เปดิ เผยชือ่ ในบทต่อมา เป็นการกระตนุ้ ให้สมาชิกยวุ กาชาดรวบรวมเร่ืองต่าง ๆ และขอ้ มูลจากขา่ ว วรรณคดี และแหลง่ขอ้ มูลอนื่ เช่น การพูดคยุ กับคนทเี่ คยอยใู่ นกองทัพ หรือมีส่วนรว่ มในงานด้านมนษุ ยธรรม การนำกลุ่ม • เมื่อไรก็ตามท่ีผู้สอนให้การบ้านสมาชิกยุวกาชาดไปค้นคว้า ให้ผู้สอนรวบรวมและนำเร่ือง รายงานหรือข้อมูลที่ได้รับจากสมาชิกยุวกาชาดไปใช้ งานท่ีทำโดยเพ่ือนร่วมช้ันจะกระตุ้นให้ผู้ท่ีไม่มีส่วนร่วมได้มีความคิดสำหรบั งานของตัวเอง • ให้ใช้ข้อมูลที่รวบรวมโดยสมาชิกยุวกาชาด โดยให้นำไปแสดง เก็บรวบรวมเป็นเล่ม หรือให้นำเสนอด้วยปากเปลา่ • เรอื่ งเกยี่ วกบั การกระทำอันเปน็ มนษุ ยธรรมที่สมาชิกยวุ กาชาดเป็นคนนำมาสามารถใชใ้ นชน้ั เรยี นได้ ให้เลา่เร่ืองสั้น ๆ ในชนั้ วันละ 1 เรอื่ งกอ่ นเริม่ การสอนในแต่ละวนั • ให้ใช้เรื่องของสมาชิกยุวกาชาดสักหน่ึงเร่ือง หรือมากกว่านั้นเพ่ือเสนอให้เห็นแนวคิดหลักของกิจกรรมที่ทำอยู่ตวั อยา่ งเชน่ ในบทที่ 2 สมาชิกยุวกาชาดคนหนงึ่ อาจจะนำความทรงจำของทหารคนหนงึ่ วา่ ไดม้ กี ารสอนกฎเกณฑข์ องสงครามในการฝกึ อบรม เบื้องต้น และสมาชิกยุวกาชาดอีกคนหน่ึงอาจจะมีข่าวตัดจากหนังสือพิมพ์ท่ีเก่ียวกับความพยายามในการนำอาชญากรสงครามมาขึ้นศาล ตัวอย่างแบบน้ีทำให้เกิดความช่ืนชมและมีความเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบของ IHL ต่อชีวิตของคนไดด้ ีขนึ้ • ใหใ้ ชส้ งิ่ ทร่ี วบรวมโดยสมาชกิ ยวุ กาชาดเปน็ แหลง่ ขอ้ มลู ในการทำละคร หรอื การพดู คยุ เกยี่ วกบั ภาวะทขี่ ดั แยง้ EHL Exploring Humanitarian Law 137 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme

การจดั การกบั ปัญหาอปุ สรรค หากสมาชิกยุวกาชาดสะสมเร่ืองที่ไม่ใช่ตัวอย่างของการกระทำอันเป็นมนุษยธรรม ให้ใช้เร่ืองเพ่ือศึกษา วา่ การกระทำทวี่ ่านัน้ เปน็ อะไร ใหย้ ำ้ ถงึ ลักษณะของการกระทำอันเปน็ มนษุ ยธรรมที่เน้นอยใู่ นโครงการน้ี การประเมนิ ผลการเรียนของสมาชกิ ยวุ กาชาด • เรอ่ื งของสมาชิกยวุ กาชาดชใ้ี หเ้ หน็ อะไรท่เี ป็นความเขา้ ใจของสมาชิกยุวกาชาดเกย่ี วกบั แนวคดิ ของ IHL • มอี ะไรในเร่อื งท่แี สดงให้เหน็ วา่ สมาชกิ ยุวกาชาดมกี ารพฒั นาทกั ษะในการสมั ภาษณ์138 EHLคมู่ อื การจดั กิจกรรมยุวกาชาด เรื่อง การเรยี นรกู้ ฎหมายมนุษยธรรมรเะพหวอ่ื ่าเงยปารวะเชทนศ

คมู่ อื กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศสำหรบั ครูผสู้ อนEHL Exploring Humanitarian Law : EDUCATION MODULES FOR YOUNG PEOPLE คมู่ อื การจัดกิจกรรมยุวกาชาดEHLเร่ือง การเรยี นรู้กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศเพือ่ เยาวชนแปลจากหนงั สือของคณะกรรมการกาชาดระหวา่ งประเทศ (ICRC)เร่ือง IHL Guide - A legal manual for EHL teachers.ผแู้ ปล ธีรพฒั น์ อัศวสงั สทิ ธิท่ีปรึกษากฎหมาย คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ สำนกั งานภมู ิภาคกรุงเทพฯEHL Exploring Humanitarian Law 139 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme

สารบญั คำถาม หน้า 1. ในยามสงครามแต่ละฝ่ายจะนำวธิ ีการใด ๆ มาใช้ก็ได้ ใช่หรือไม่ 143 2. ใครเปน็ ผ้กู ำหนดกฎเกณฑ์ 143 3. ทำไมจึงไมก่ ำหนดใหก้ ารทำสงครามเปน็ สง่ิ ผดิ กฎหมายแทนทจ่ี ะกำหนดกฎเกณฑ์ในการทำสงคราม? กฎเกณฑเ์ หลา่ นท้ี ำให้การทำสงครามชอบด้วยกฎหมายหรอื ไม่ 143 4. สงครามบางประเภทมคี วามชอบธรรมมากกวา่ สงครามอนื่ ๆ หรือไม ่ 143 5. คำวา่ “สงคราม” และ “การพพิ าทกนั โดยใชอ้ าวธุ ” มคี วามแตกต่างกนั หรอื ไม่ 144 6. กฎหมายมนษุ ยธรรมระหวา่ งประเทศ (IHL) บงั คับใช้ไดเ้ มื่อใด 144 7. ใครมหี นา้ ท่ตี ามกฎหมายมนษุ ยธรรมระหว่างประเทศ 144 8. กฎหมายมนุษยธรรมระหวา่ งประเทศใหค้ ำจำกดั ความของคำวา่ “ศักด์ศิ รขี องมนุษย”์ หรือไม ่ 145 9. คณะกรรมการกาชาดระหวา่ งประเทศ (ICRC) และสภากาชาดและสภาเสย้ี ววงเดอื นแดงประจำประเทศ (National Societies) เก่ียวข้องกันอย่างไร ทง้ั สององคก์ รมีบทบาทหน้าท่แี ละความรับผิดชอบ ภายในกลุ่มองคก์ รกาชาดฯ อย่างไรบ้าง 145 10. หากจุดมุ่งหมายสดุ ท้ายของสงครามคือชยั ชนะ จะถือวา่ วิธีการท่นี ำมาซ่ึงผลดงั กล่าวมีความชอบธรรม ไดห้ รอื ไม ่ 145 11. การพิพาทกนั โดยใชอ้ าวุธทมี่ ีลกั ษณะระหว่างประเทศแตกต่างกบั ท่ีไม่มลี กั ษณะระหวา่ งประเทศอยา่ งไร 146 12. การพิพาทกนั โดยใช้อาวธุ ถูกเปลยี่ นให้มีลักษณะระหว่างประเทศได้อยา่ งไร 146 13. “การลงนาม” และ “การใหส้ ตั ยาบัน” สนธสิ ัญญาแตกตา่ งกนั อยา่ งไร 147 14. มกี ฎเกณฑม์ นษุ ยธรรมระหวา่ งประเทศใดบา้ งท่รี ัฐมคี วามผูกพนั นอกจากกฎหมายมนุษยธรรม ท่ีเปน็ สนธสิ ญั ญา 147 15. สนธสิ ัญญามนุษยธรรมระหวา่ งประเทศทเี่ ป็นสนธสิ ัญญาหลกั มีก่ฉี บับ 147 16. กฎหมายสทิ ธิมนษุ ยชนท่ีเป็นกฎหมายหลักมกี ฉี่ บบั 147 17. อะไรคือความชอบธรรมในการกักขงั พลรบหรอื นกั ตอ่ สู้ หรอื พลเรือน 149 18. “ผู้ถกู กกั กนั ” “ผ้ถู กู ควบคุม” และ “เชลยศกึ ” มีความแตกต่างกันอย่างไร กฎหมายมนษุ ยธรรมระหว่างประเทศ (IHL) คุ้มครองบุคคลเหลา่ นอ้ี ย่างไร 149 19. การกกั กนั ตัวเดก็ สามารถกระทำได้หรือไม่ กฎขอ้ ใดของกฎหมายมนษุ ยธรรมใช้บังคบั ในกรณนี ้ ี 150 20. อะไรคอื ความแตกต่างระหวา่ งการจบั กุมและการจบั ตวั เปน็ ประกัน กฎขอ้ ใดของกฎหมายมนษุ ยธรรมใช้บงั คับในกรณีดังกล่าว 150 21. อะไรคือปจั จยั ท่ีสำคญั ท่ีสุดในการพจิ ารณาหลักของความไดส้ ัดส่วน 150 22. อะไรคอื ความแตกต่างทส่ี ำคญั ระหวา่ ง “พลเรือน” และ “พลรบ” กฎขอ้ ใดของกฎหมายมนุษยธรรมใชบ้ ังคับเม่ือพลเรอื นหรือพลรบถูกจับกมุ 151 140 EHLคู่มือการจัดกิจกรรมยวุ กาชาด เรื่อง การเรียนรู้กฎหมายมนษุ ยธรรมรเะพหวอ่ื า่ เงยปารวะเชทนศ

23. สัญลกั ษณก์ าชาด เส้ียววงเดือนแดง และคริสตัลแดงมคี วามสำคญั แตกตา่ งกนั หรือไม่ 152 24. สญั ลักษณ์กาชาด เสยี้ ววงเดอื นแดง และคริสตลั แดงสามารถถูกนำมาใช้เพือ่ วัตถุประสงคใ์ ดบ้าง ใครไดร้ ับอนุญาตให้ใช้สัญลักษณเ์ หลา่ น้ไี ด ้ 152 25. การใช้สัญลกั ษณ์ “โดยไม่ชอบ” มีลักษณะอยา่ งไร 26. การหา้ มไม่ให้ประชาชนเข้าถึงแหลง่ อาหารหรอื นำ้ หรือปจั จัยทสี่ ำคัญอ่นื ๆ ในยามท่ีมีการพิพาทกัน โดยใช้อาวธุ ถือว่าเปน็ ยุทธวธิ ที างทหารทีถ่ กู ตอ้ งหรอื ไม่ 153 27. เกณฑใ์ นการบรรลนุ ิตภิ าวะแตกต่างกนั ในหลาย ๆ ประเทศทั่วโลก บุคคลหน่งึ บคุ คลใดอาจมสี ถานะ เป็นผ้ใู หญใ่ นประเทศหนึง่ และอาจเปน็ เดก็ ในอกี ประเทศหนึง่ ก็ได้ กรณเี ชน่ นมี้ ีความหมาย ต่อกฎหมายมนุษยธรรมอย่างไรบา้ ง 153 28. หากเด็กอายุ 14 ปคี นหนงึ่ ถอื ระเบดิ มอื ทส่ี ามารถใชฆ้ ่าทหารของฝา่ ยศตั รไู ดท้ ้ังกลมุ่ กฎหมายมนุษยธรรมอนุญาตให้ใชก้ ำลังกับเด็กเพอื่ ยตุ กิ ารกระทำดงั กล่าวหรอื ไม่ 154 29. การบาดเจ็บท้ังปวงทเี่ กิดจากการใชอ้ าวุธถือว่าเปน็ “การบาดเจบ็ ที่ไมจ่ ำเป็น” หรอื ไม่ 154 30. การทำลายสภาพแวดล้อมระหวา่ งทีม่ ีการพิพาทโดยใชอ้ าวธุ เป็นการฝา่ ฝนื กฎหมายมนษุ ยธรรม หรอื ไม่? อยา่ งไร 154 31. การผลิตอาวธุ หรอื ภาคอุตสาหกรรมที่ขายอาวธุ เป็นการฝา่ ฝนื กฎหมายมนษุ ยธรรมหรือไม ่ 154 32. “สงครามทีม่ คี วามลำ้ เหล่ือมกนั มาก” ทำให้ขอบเขตความรับผดิ ชอบและความเสี่ยง ของแตล่ ะฝา่ ยทเ่ี กยี่ วขอ้ งในการสู้รบเปลี่ยนแปลงไปหรือไม?่ 155 33. กฎหมายมนุษยธรรมบังคบั ใช้กบั “สงครามตอ่ ตา้ นการก่อการร้าย” หรือไม่ 155 34. หากฝ่ายหนึ่งฝ่าฝืนกฎหมายมนุษยธรรมในระหวา่ งสงคราม อกี ฝา่ ยหนง่ึ สามารถใช้วธิ เี ดียวกัน โตต้ อบได้หรอื ไม่ 156 35. มสี ถานการณใ์ ดบ้างท่พี ลเรือนและวัตถุของพลเรือนอาจตกเปน็ เป้าหมายของการโจมตี 156 36. การกระทำลักษณะใดคือ “การมสี ่วนรว่ มโดยตรงในการส้รู บ” 156 37. มีกรณใี ดบา้ งท่พี ลรบไม่ต้องตกเปน็ เป้าหมายทางทหารทีช่ อบดว้ ยกฎหมาย 157 38. มีกรณีใดบ้างทบ่ี รษิ ทั ทหารหรอื บริษทั รกั ษาความปลอดภยั ของเอกชนมีสถานะเปน็ “พลเรือน” หรอื “พลรบ” 157 39. ทหารควรปฏิบัติตนอยา่ งไรหากไดร้ บั คำสงั่ ท่ฝี ่าฝนื กฎหมายมนษุ ยธรรม? ทหารผู้นั้น จะต้องรับผิดชอบต่อการกระทำตามคำสัง่ น้ันหรือไม่ 158 40. ผบู้ ังคับบัญชาควรทำอยา่ งไรหากทหารใต้บงั คับบัญชาของตนไดก้ อ่ อาชญากรรมสงครามข้ึน ผูบ้ งั คบั บัญชาจะต้องรับผิดชอบต่อการกระทำของทหารผ้นู ัน้ หรือไม่ 158 41. “ความยตุ ธิ รรมในชว่ งท่มี กี ารเปล่ียนแปลง” มสี ว่ นชว่ ยแกป้ ัญหาของผลทีเ่ กิดจากสงครามไดอ้ ย่างไร 158 42. นริ โทษกรรมและการใหอ้ ภยั แตกตา่ งกันอย่างไร 158 43. การให้นริ โทษกรรมสามารถกระทำได้กับอาชญากรรมทุกประเภทหรือไม่ 159EHL Exploring Humanitarian Law 141 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme

หน้า 44. การใหน้ ริ โทษกรรมจะถกู เพิกถอนได้หรือไม่ หากปรากฏข้อเท็จจรงิ ในภายหลงั วา่ มกี ารปกปดิ ความจรงิ บางประการ 159 45. ข้อโตแ้ ย้งท่วี า่ เมื่อศาลใช้เขตอำนาจสากลตอ่ ความผิดทเ่ี ปน็ อาชญากรรมระหว่างประเทศ บางประเภทถือวา่ เปน็ การแทรกแซงกิจการภายในของประเทศอนื่ หากเป็นเช่นนจี้ รงิ 160 จะถือวา่ เปน็ การละเมดิ อำนาจอธปิ ไตยของประเทศอนื่ ดว้ ยหรอื ไม่ 160 46. หลกั หา้ มใช้กฎหมายยอ้ นหลังมีความสำคัญอยา่ งไร 47. เขตอำนาจของศาลอาญาระหวา่ งประเทศซงึ่ เปน็ ศาลถาวร (ICC) มคี วามเก่ียวขอ้ งกับ 160 ศาลอาญาเฉพาะกิจ สำหรบั อดตี ประเทศยูโกสลาเวยี (ICTY) และศาลอาญาเฉพาะกิจ สำหรับประเทศรวนั ดา (ICTR) อย่างไร 160 48. ศาลอาญาระหวา่ งประเทศ (ICC) มอี ำนาจพิจารณาคดีความผิดเก่ยี วกบั การประทษุ ร้ายทางเพศ 160 และการก่อการร้ายหรอื ไม่ 49. ศาลอาญาระหว่างประเทศ (ICC) และศาลยตุ ธิ รรมระหว่างประเทศ (ICJ) แตกตา่ งกันอย่างไร 161 50. หากผนู้ ำประเทศไดก้ อ่ อาชญากรรมระหวา่ งประเทศข้นึ เขาจะได้รับความคมุ้ กนั จากการ 161 ถกู ดำเนินคดหี รอื ไม่ 51. อะไรคอื อุปสรรคในการนำตัวผถู้ กู กลา่ วหาวา่ ก่ออาชญากรรมสงครามมาดำเนินคดี 161 52. คณะกรรมการแสวงหาข้อเทจ็ จริงทร่ี ัฐบาลแต่งต้งั ขึ้นใหพ้ จิ ารณาเกีย่ วกับการฝา่ ฝืนกฎหมาย 162 มนษุ ยธรรมและกฎหมายสิทธิมนุษยชนทเ่ี กิดจากการกระทำของผ้แู ทนรฐั เองมคี วามนา่ เชือ่ ถอื เพยี งใด 162 53. ใครมสี ิทธิไดร้ ับการเย่ยี มโดย ICRC ในระหว่างถูกกกั ขัง 162 54. หากมีคนสญู หายไประหวา่ งการสรู้ บหรอื สถานการณร์ ุนแรงอ่นื ๆ จะสันนิษฐานไดไ้ หมว่า 162 เขาเหลา่ นัน้ เสียชีวติ แลว้ 163 55. ICRC สามารถยดึ หลักความเปน็ อิสระในการปฏิบัติภารกิจไดอ้ ย่างไร 163 56. หลกั พน้ื ฐานว่าด้วยความเปน็ กลางและการไมเ่ ลอื กปฏบิ ัตเิ กีย่ วขอ้ งกนั อยา่ งไร 163 57. พนักงานของ ICRC ได้รบั อนุญาตให้พกอาวุธเพื่อปอ้ งกันตวั เองหรือไม ่ 164 58. การใช้ภารกจิ ทางด้านมนุษยธรรมเป็นเครอ่ื งมอื มีผลร้ายอย่างไร 59. เพราะเหตใุ ด ICRC จึงมีสำนกั งานในบางประเทศเทา่ นน้ั 60. ICRC ปฏิบตั ิหน้าท่อี ยา่ งไร 142 EHLคูม่ อื การจัดกจิ กรรมยุวกาชาด เรอ่ื ง การเรียนรู้กฎหมายมนษุ ยธรรมรเะพหว่อื า่ เงยปารวะเชทนศ

คำถาม 1. ในยามสงครามแต่ละฝ่ายจะนำวธิ กี ารใด ๆ มาใช้กไ็ ด้ ใช่หรอื ไม่ ไม่ใช่ เพราะสงครามถูกควบคุมโดยกฎเกณฑ์ระหว่างประเทศ ซึ่งก่อต้ังขึ้นโดยสนธิสัญญาหรือจารีตประเพณีเพื่อป้องกันหรือแก้ปัญหาด้านมนุษยธรรมที่อาจเกิดขึ้นได้เน่ืองมาจากการสู้รบ กฎเหล่านี้โดยรวมเป็นท่ีรู้จักกันในชอื่ “กฎหมายวา่ ด้วยการสู้รบ” หรอื “กฎหมายมนษุ ยธรรมระหว่างประเทศ” (IHL) IHL มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื จำกดั ความเจบ็ ปวดทเ่ี กดิ ขนึ้ จากสงคราม โดยการจำกดั วธิ กี ารและวถิ ที างทถ่ี กู นำมาใชใ้ นการสงคราม และโดยการคุม้ ครองผู้ท่ีไม่ได้เกี่ยวขอ้ งหรอื ไม่มีส่วนเกี่ยวขอ้ งในการสรู้ บอีกตอ่ ไป 2. ใครเปน็ ผ้กู ำหนดกฎเกณฑ์ รัฐต่าง ๆ ของประชาคมระหวา่ งประเทศ โดยได้กำหนด เหน็ ชอบ และยอมรบั กฎเกณฑข์ อง IHL ด้วยการทำสนธิสัญญาหรอื ในรูปของกฎหมายจารีตประเพณี 3. ทำไมจึงไม่กำหนดให้สงครามเปน็ สงิ่ ผิดกฎหมายแทนที่จะกำหนดกฎเกณฑ์ในการทำสงคราม? กฎเกณฑเ์ หลา่ น้ีทำใหก้ ารทำสงครามเป็นสิ่งที่ชอบดว้ ยกฎหมายหรือไม่ ปจั จบุ นั การทำสงครามเปน็ สงิ่ ทตี่ อ้ งหา้ ม ในปี ค.ศ. 1919 กตกิ าของสนั นบิ าตชาตไิ ดก้ ำหนดขนั้ ตอนระงบั ขอ้ พพิ าทระหวา่ งประเทศดว้ ยสนั ตวิ ธิ ี เพอ่ื พยายามหลกี เลยี่ งการทำสงคราม กตกิ า Kellogg Briand ค.ศ. 1928 เปน็ สนธสิ ญั ญาระหว่างประเทศฉบับแรกที่กำหนดให้สงครามเป็นส่ิงที่ผิดกฎหมาย ต่อมากฎบัตรสหประชาชาติ ค.ศ. 1945 ก็ได้สืบทอดเจตนารมณ์นี้ แต่กฎบัตรได้ก้าวไกลไปกว่านั้นโดยประกาศให้รัฐสมาชิกท้ังปวงของสหประชาชาติต้องละเว้นการใช้กำลังหรือการคุกคามว่าจะใช้กำลังในการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และได้กำหนดให้มีการใช้กำลังได้ภายใต้สองสถานการณ์เท่านั้น เมื่อคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติตัดสินใจให้ใช้กำลังร่วมกันเพ่ือฟ้ืนฟูสันติภาพและความม่ันคงระหว่างประเทศ และการใช้กำลังโดยลำพังหรือร่วมกันเพ่ือป้องกันตนเองหากรัฐสมาชิกรัฐใดรัฐหนึ่งถูกโจมตดี ว้ ยอาวธุ แต่กฎบตั รสหประชาชาติมไิ ดก้ ล่าวถงึ การใช้กำลงั ในการส้รู บทเี่ กิดขน้ึ ภายในประเทศ ประวัติศาสตร์แสดงให้เห็นว่าการทำใหส้ งครามเป็นสง่ิ ที่ผิดกฎหมายไม่สามารถระงบั การทำสงครามได้ แม้ว่าจะมีความพยายามสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารเจรจา ดำเนนิ การทางทตู และดำเนนิ การทางสนั ตวิ ธิ อี น่ื ๆ เพอ่ื แกป้ ญั หาตา่ ง ๆ ความขดั แยง้ ก็ยงั คงมอี ยู่ การสรู้ บจึงยังคงเกิดขนึ้ อย่างหลกี เล่ียงไม่ได้ น่ีคอื เหตผุ ลที่ IHL มคี วามสำคัญในการกำหนดกฎเกณฑ์ในการทำสงครามเพอ่ื จำกัดความเจบ็ ปวดและความเสยี หายท่ีเกดิ ข้นึ กับผู้คน ทรัพย์สิน และส่งิ แวดล้อม แม้ว่า IHL กำหนดกฎเกณฑ์ในการทำสงครามก็ไม่ได้แปลว่ากฎหมายนี้ยอมรับหรือทำให้สงครามเป็นส่ิงที่ถูกกฎหมายแตอ่ ยา่ งใด แต่ IHL มงุ่ เนน้ ทผี่ ลของสงครามดว้ ยเหตผุ ลทางดา้ นมนษุ ยธรรมและปลอ่ ยใหก้ ฎบตั รสหประชาชาติเป็นกฎหมายที่กำหนดความชอบด้วยกฎหมายของสงคราม 4. สงครามบางประเภทมีความชอบธรรมมากกว่าสงครามอน่ื ๆ หรอื ไม่ IHL ไม่ได้กล่าวถึงปัญหาเร่ืองนี้แต่อย่างใด กฎบัตรสหประชาชาติเป็นกฎหมายท่ีกำหนดเร่ืองสงครามท่ีเป็นธรรมหรอื ทีช่ อบดว้ ยกฎหมาย ซึ่งในภาษาลาตินใช้คำว่า jus ad bellum IHL ได้ถูกพัฒนาขึ้นมาเพ่ือเผชิญกับปัญหาอันเกิดมาจากการสู้รบ โดยมุ่งท่ีจะจำกัดผลกระทบซ่ึงเกิดขึ้นจากการสรู้ บดว้ ยเหตผุ ลทางดา้ นมนษุ ยธรรม โดยการกำหนดกฎเกณฑต์ า่ ง ๆ ในการทำสงครามซงึ่ ในภาษาลาตนิ ใชค้ ำวา่ jus in belloIHL เน้นที่ความเป็นจริงของสงครามโดยไม่คำนึงเหตุผลหรือความชอบด้วยกฎหมายในการทำสงคราม ข้อกำหนด ท้ังปวงของกฎหมายน้ีใช้ได้กับผู้ท่ีได้รับเคราะห์ภัยจากสงครามทั้งหมด ไม่ว่าพวกเขาเหล่านั้นจะอยู่ฝ่ายใดหรือว่าเหตุผลในการสู้รบเกิดจากสาเหตุใดหรือแม้กระทั่งความชอบด้วยกฎหมายหรือความชอบธรรมของสงครามท่ีเกิดข้ึนจะเป็นอย่างไรกต็ ามEHL Exploring Humanitarian Law 143 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme

5. คำวา่ “สงคราม” และ “การพิพาทกนั โดยใชอ้ าวธุ ” มีความแตกต่างกนั หรอื ไม่ เน่ืองจากท้ังสองคำนี้มักจะมีการใช้แทนกันอยู่บ่อยครั้ง ดังนั้นจึงควรมีการพิจารณาถึงความสำคัญของความ แตกต่างระหว่างแนวความคิดดั้งเดิมของคำว่า “สงคราม” และแนวความคิดใหม่ของคำว่า “การพิพาทกันโดยใช้ อาวธุ ” เม่ือได้มีการยอมรับอนุสัญญาเจนีวา คำว่า “สงคราม” ได้ถูกแทนที่ด้วยคำว่า “การพิพาทกันโดยใช้อาวุธ” เหตผุ ลที่ตอ้ งมกี ารใชค้ ำดงั กล่าวแทนทีก่ เ็ พ่อื ให้การคุ้มครองทางมนุษยธรรมมีขอบเขตกว้างขึ้น การใช้คำดังกล่าวแทนท่มี ผี ลให้รฐั ต่าง ๆ ปฏิเสธไดย้ ากวา่ IHL ไม่มีผลบงั คับใช้ โดยอ้างว่าสถานการณ์รนุ แรงท่ี เกิดขึ้นไม่ใช่ “สงคราม” หรืออาจอ้างว่าเป็นสถานการณ์ที่เกิดจากการใช้กำลังเพ่ือป้องกันตนเองหรือการปฏิบัติการ ทางตำรวจเท่าน้ัน คำว่า “การพิพาทกันโดยใช้อาวุธ” ครอบคลุมถึงการใช้กำลังอาวุธเมื่อมีข้อพิพาทระหว่างรัฐ ตั้งแต่สองรัฐข้ึนไป หรือระหว่างกองทัพของรัฐบาลกับกองกำลังติดอาวุธหรือระหว่างกองกำลังเหล่าน้ันด้วยกันเอง ซึ่งเกิดขึ้นในอาณาเขตของรัฐ และมีผลให้ IHL บังคับใช้ได้โดยปริยายในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่ได้กล่าวมา แม้ว่า ฝ า่ ยหนึง่ ฝ่ายใดจะไมย่ อมรับวา่ ความขัดแย้งที่เกิดขนึ้ เป็น “สงคราม” กต็ าม 6. กฎหมายมนษุ ยธรรมระหว่างประเทศ (IHL) บังคับใชไ้ ดเ้ มื่อใด IHL บงั คบั ใชไ้ ดก้ บั สถานการณท์ เ่ี ปน็ การพพิ าทกนั โดยใชอ้ าวธุ ทกุ ประเภท มสี ถานการณอ์ ยมู่ ากมายแตกตา่ งกนั ไป ท่ีถือว่าเป็นการพิพาทกันโดยใช้อาวุธ โดยต้องพิจารณาถึงปัจจัยหลายประการเพื่อกำหนดว่าสถานการณ์หนึ่ง สถานการณ์ใดที่เกดิ ข้นึ เป็นการพพิ าทกันโดยใชอ้ าวุธหรอื ไม่ และอาจจะอยภู่ ายใต้กฎเกณฑข์ อง IHL หรือไม่ หลกั การทไ่ี ดถ้ กู ยอมรบั อยา่ งกวา้ งขวางถอื วา่ ความขดั แยง้ ทเี่ กดิ ขนึ้ ระหวา่ งฝา่ ยตา่ ง ๆ ซงึ่ นำไปสกู่ ารใชก้ ำลงั อาวธุ ทำให้ เกิดสถานการณ์ท่ีเกิดข้ึนเป็นการพิพาทกันโดยใช้อาวุธ การพิพาทกันโดยใช้อาวุธอาจมีลักษณะ “ระหว่างประเทศ” (ระหว่างรัฐสองรัฐหรือกว่านั้น) หรือมีลักษณะ “ไม่ใช่ระหว่างประเทศ” (ระหว่างฝ่ายรัฐบาลและกลุ่มกองกำลัง ติดอาวุธที่ถูกจัดตั้งขึ้นหรือระหว่างกลุ่มเหล่านี้ด้วยกันเอง ซ่ึงเกิดขึ้นภายในอาณาเขตของรัฐ) สิ่งท่ีพึงตระหนักคือ การพพิ าทกันโดยใช้อาวธุ ประเภทหนง่ึ อาจพฒั นาไปเป็นอีกประเภทหนึ่งได้ IHL ไมอ่ าจบงั คบั ใชก้ บั สถานการณร์ นุ แรงอนื่ ๆ ทเี่ กดิ ขนึ้ ภายในประเทศได้ เชน่ การประทว้ ง การกอ่ ความวนุ่ วาย จลาจล หรือสถานการณ์ตึงเครียดภายในประเทศ อย่างไรก็ตามการแบ่งแยกให้ชัดเจนระหว่างการพิพาทกันโดยใช้ อ าวธุ ทีไ่ ม่ใช่ระหว่างประเทศและสถานการณ์รนุ แรงต่าง ๆ ดงั ทไ่ี ดก้ ลา่ วมาเป็นสิ่งทท่ี ำไดย้ าก 7. ใครมหี นา้ ทต่ี ามกฎหมายมนษุ ยธรรมระหว่างประเทศ ทุกฝ่ายท่ีมีส่วนร่วมในการพิพาทกันโดยใช้อาวุธ ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายรัฐหรือกลุ่มท่ีไม่ใช่รัฐก็ตามจะต้องผูกพันตามกฎเกณฑ์ ของ IHL แมว้ า่ รฐั เทา่ นนั้ จะสามารถเขา้ เปน็ ภาคขี องสนธสิ ญั ญาระหวา่ งประเทศได้ (ซงึ่ รวมถงึ อนสุ ญั ญาเจนวี าทง้ั สฉี่ บบั และ พิธีสารเพมิ่ เตมิ ของอนสุ ญั ญาดังกล่าวด้วย) รฐั ภาคตี า่ ง ๆ ไมเ่ พยี งแตต่ อ้ งเคารพ แตต่ อ้ งกระทำการเพอ่ื ใหแ้ นใ่ จไดว้ า่ มกี ารเคารพ IHL ดว้ ยไมว่ า่ สถานการณ์ จะเป็นเชน่ ไรก็ตามในยามทม่ี กี ารสู้รบเกดิ ข้ึน แมว้ ่าพนั ธกรณขี องกลุ่มติดอาวุธซงึ่ ไมใ่ ช่รฐั จะแตกตา่ งกับพนั ธกรณขี อง รัฐอธิปไตย แต่กฎหมายจารีตประเพณีก็ใช้บังคับได้กับทุกฝ่ายท่ีมีส่วนร่วมในการพิพาทกันโดยใช้อาวุธ กลุ่มติดอาวุธ ทีไ่ มใ่ ช่รฐั ยังต้องผูกพนั ตามกฎหมายสนธิสญั ญาของ IHL ท่บี งั คบั ใช้ในสถานการณพ์ ิพาทกนั โดยใช้อาวุธท่ีไมใ่ ช่ระหว่าง ประเทศดว้ ย ยง่ิ ไปกวา่ น้ี รฐั ตา่ ง ๆ ทไี่ มไ่ ดม้ สี ว่ นรว่ มในการพพิ าทกนั โดยใชอ้ าวธุ จะตอ้ งไมส่ ง่ เสรมิ สนบั สนนุ หรอื ใหค้ วามชว่ ยเหลอื แกฝ่ า่ ยหนง่ึ ฝา่ ยใดทมี่ สี ว่ นรว่ มในการพพิ าทกนั โดยใชอ้ าวธุ ใหก้ ระทำการละเมดิ IHL ดว้ ย จงึ ถอื ไดว้ า่ รฐั ทไ่ี มไ่ ดม้ สี ว่ นรว่ ม ในการพิพาทจะต้องดำเนินมาตรการทั้งปวงเพื่อป้องกันหรือยุติการละเมิด IHL ซึ่งเกิดข้ึนจากการกระทำของฝ่ายที่มี ส่วนร่วมในการพิพาท144 EHLคู่มอื การจัดกจิ กรรมยุวกาชาด เรอื่ ง การเรียนรกู้ ฎหมายมนุษยธรรมรเะพหวอื่ า่ เงยปารวะเชทนศ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook