สำหรับสมาชิกยวุ กาชาด สมาชิกยุวกาชาดใช้ใบงานสถานการณ์ภาวะที่ขัดแย้ง เพ่ือสำรวจความคิดที่จะนำไปแก้ปัญหาภาวะทีข่ ัดแยง้ ของเวนดใ้ี นแต่ละทางเลือกทผี่ ู้เรยี นเสนอ ให้บอกผลท่อี าจจะเกดิ ขน้ึ กบั หวั ข้อต่อไปน้ี 1. นกั โทษ หมายเหตุ : หากเห็นว่าเหมาะสม 2. ความหวงั ของเวนดที้ จ่ี ะได้เขา้ เย่ียมเพ่ือนที่เป็นนกั โทษ ให้แนะนำสมาชิกยุวกาชาดให้ลอง 3. พฤตกิ รรมของผคู้ มุ ในปัจจุบนั และในอนาคต คิดว่าเวนดี้และผู้คุมเป็นฝ่ายเดียวกัน 4. เพ่ือนของเวนดท้ี ีเ่ ป็นนกั โทษ กบั สมาชกิ ยวุ กาชาด (สญั ชาติ เผา่ พนั ธ์ุ คำถามที่ครูควรถาม ศาสนา เชอื้ ชาติ วฒั นธรรม เปน็ ตน้ ) • อะไรคือผลดีท่ีเกิดข้ึนจากการกระทำน้ีในมุมมอง ส่วนนักโทษเป็นฝ่ายตรงกันข้ามของมนุษยธรรม ทถ่ี กู ควบคมุ ทงั้ การเมอื ง เศรษฐกจิ และ • ถา้ สถานการณท์ ส่ี มาชกิ ยุวกาชาดเลือกเปน็ ไปในทาง การทหารโดยฝา่ ยของสมาชกิ ยวุ กาชาดที่ไม่ดสี มาชกิ ยุวกาชาดคิดว่าจะส่งผลกระทบตอ่ ใคร อยา่ งไร ให้สมาชิกยุวกาชาดใส่เครื่องหมาย 3 หน้าผลกระทบที่เป็นผลดีในมุมมองของมนุษยธรรม และเครอ่ื งหมาย7 หนา้ ผลกระทบทอี่ าจสรา้ งปญั หาหลงั จากการสนทนาใหส้ มาชกิ ยวุ กาชาดใชเ้ วลาประมาณ 5นาทีเพ่ือตัดสินใจว่าขณะนี้สมาชิกยุวกาชาดจะทำอย่างไรหากเป็นเวนด้ี ให้สมาชิกยุวกาชาดเขียนอธิบายการตดั สนิ ใจนัน้ พรอ้ มบอกเหตผุ ลแรงกดดนั ภายในและภายนอก จากเหตุการณ์ท่ีเกิดภาวะขัดแย้ง ให้สมาชิกยุวกาชาดสำรวจว่ามีแรงกดดันภายในและภายนอกท้งั 4 ด้านต่อไปนอ้ี ยา่ งไร อารมณ์และการรบั รู้ 1. อารมณ์และการรบั รู้ทมี่ ีอทิ ธิพลตอ่ การตัดสินใจของเวนด ี้ 2. อารมณแ์ ละการรับรทู้ ่มี อี ทิ ธิพลต่อพฤตกิ รรมของผู้คุม เง่ือนไข (เวลาท่จี ำกดั อำนาจท่ีแตกตา่ ง สถานท)ี่ การไม่คัดค้านทำใหผ้ กู้ อ่ อาชญากรรม 3. เงือ่ นไขท่ีมีอิทธพิ ลตอ่ การตดั สนิ ใจของเวนดี้ ยิ่งมคี วามเช่ือมั่นในสิ่งทีท่ ำอยู่ 4. เงอ่ื นไขทมี่ ีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของผคู้ ุม - Ervin Staub, The Roots of Evil จากการที่สมาชิกยุวกาชาดสนทนากันในแง่มุมต่าง ๆ เก่ียวกับภาวะท่ีขัดแย้งของเหตุการณ์สมาชิกยุวกาชาดจะตระหนักได้ว่าความคิดเห็นส่วนตัว และภาวะแวดล้อมภายนอกนั้นมีผลกระทบต่อความพยายามในการช่วยเหลอื ผอู้ น่ื อย่างไรบา้ งEHL Exploring Humanitarian Law 45 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme
สอ่ื การจัดกิจกรรมและแหล่งเรียนรู้ สำหรับสมาชิกยวุ กาชาด 1. ใบความรู้ เรอ่ื งเขาแคห่ าเร่ืองสนกุ ๆ ทำ 2. ใบงาน สถานการณภ์ าวะที่ขัดแย้ง 3. ขอ้ มลู จาก www.icrc.org การประเมนิ ผล 1. โดยการสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่มของสมาชกิ ยวุ กาชาด 2. การตอบคำถามจากใบงานสถานการณภ์ าวะที่ขัดแย้ง 3. สงั เกตจากการตอบคำถามและการนำเสนอของสมาชกิ ยวุ กาชาด46 EHLคมู่ ือการจัดกจิ กรรมยุวกาชาด เรอ่ื ง การเรียนรู้กฎหมายมนษุ ยธรรมรเะพหว่ือา่ เงยปารวะเชทนศ
ใบความรู้เร่อื ง เขาแค่หาเร่อื งสสำหรนบั สกุ มาชิกๆยุวกทาชาำด ในช่วงเวลาที่แอฟริกาใต้ใช้นโยบายแบ่งแยกสีผิว เวนด้ีซึ่งเป็นคนผิวขาวพยายามจะเข้าไปเย่ียมเพ่ือนผิวดำท่ีถูกจำคุกเพราะการเคลื่อนไหวทางการเมือง แต่เจ้าหน้าท่ีผิวขาวบอกว่าคนขาวไม่เคยได้รับอนุญาตให้เข้าเยี่ยมคนดำในคุก เธอจึงไปพบผู้บัญชาการเรือนจำ เขาเชิญเธอไปท่ีห้องทำงานของเขาอาจเป็นเพราะว่าสามีของเวนด้ีเป็นบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ฉบับหน่ึงในเมือง เขาจึงยอมให้เธอพบเพ่ือนเธอเดินกลับมาด้านประตูทางเข้าเพื่อยืนรอเพ่ือนท่ีหวังว่าจะได้เย่ียม และน่ีคือเร่ืองท่ีเกิดขึ้นต่อมาตามคำบอกเลา่ ของเธอ ขณะท่ีฉันรออยู่ ฉันสังเกตเห็นนักโทษหนุ่มผิวดำในชุดกางเกงสีกากีและเสื้อเช้ิตยืนห่างไปเล็กน้อยเขาดูกระวนกระวายและยอมจำนนเหมือนคนกำลังรอท่ีจะสนองอารมณ์หรือการกดขี่ของคนขาว “Baas”*เขายืนอยู่เหมือนถูกสั่งให้ยืนรอตรงนั้น ผู้คุมผิวขาวปรากฏตัวข้ึน ขณะที่เขาเดินผ่านนักโทษคนน้ัน จู่ ๆ เขาก็เหว่ียงหมัดเข้าใส่นักโทษคนนั้น และก็ตะโกนใส่ ดูเหมือนว่าผู้คุมไม่ได้โกรธเคืองอะไร แค่นึกอยากจะเล่นอะไรสนุก ๆ นักโทษยกแขนข้ึนปิดป้องร่างกายจากหมัดของผู้คุม แขนข้างหนึ่งปิดท้องไว้ อีกข้างก็ปิดศีรษะไว้ นกั โทษตอบคำถามอย่างตะกกุ ตะกักและรบั ฟังคำเยาะเย้ยถากถางไปด้วย แลว้ ผู้คุมกเ็ ดินผ่านไป ผา่ นหน้าฉันไป เขาเห็นฉันจอ้ งมองเขา เขาจอ้ งฉันกลับ ฉนั รสู้ ึกวา่ ไมใ่ ช่แค่เขาไม่ไดร้ สู้ กึ ละอายใจเท่านัน้แต่สายตาเขาเหมอื นจะบอกว่าการท่ีฉันเป็นคนขาวกเ็ ทา่ กบั ฉนั เป็นผู้สมร้รู ว่ มคิดกบั การกระทำของเขาดว้ ย เขาเดินผ่านไป ท่าทางเบื่อ ๆ หายไปสักครู่เดียวก็กลับมา ตรงมาท่ีนักโทษ พอเขาเดินเข้าไปใกล้นักโทษก็ทำท่านอบน้อม ในขณะที่แขนทั้งสองเตรียมพร้อมจะปกป้องตัวเอง ผู้คุมสนุกกับการกระทำของตวั เองอย่างยงิ่ และยงิ่ สนุกมากขึ้นเม่อื มฉี ันเป็นผชู้ ม * “Baas” หมายถึงผู้รับผดิ ชอบหรือผ้คู วบคมุ ซ่งึ กลายมาเป็นความหมายถงึ “ผกู้ ดข”่ี ตามนโยบายแบ่งแยกสีผิว แหล่งขอ้ มูล : Biko by Donald Woods, Paddington Press Ltd, London, 1978 คำถาม : คณุ คิดว่า เวนดี้ ควรทำอย่างไร ?มุมมองด้านอนื่ ทค่ี วรพจิ ารณา• ของผู้คมุ• ของนักโทษ• ของเพ่อื นเวนด้ที ่ีถูกจับกมุ• ของผบู้ ัญชาการเรอื นจำEHL Exploring Humanitarian Law 47 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme
ใบงาน สำหรับสมาชิกยวุ กาชาด สถานการณภ์ าวะทขี่ ดั แยง้ (Dilemma) สถานการณค์ อื : ปัญหาคอื การกระทำ เหตผุ ลที่เลือกกระทำ เหตผุ ลทเ่ี ลอื กไม่กระทำ การกระทำ เหตุผลที่เลือกกระทำ เหตผุ ลทเี่ ลือกไมก่ ระทำ การกระทำ เหตุผลทเ่ี ลือกกระทำ เหตผุ ลที่เลอื กไมก่ ระทำ การกระทำท่ีเราเลอื ก เหตุผล48 EHLคูม่ อื การจัดกจิ กรรมยุวกาชาด เร่ือง การเรียนรกู้ ฎหมายมนุษยธรรมรเะพหวื่อ่าเงยปารวะเชทนศ
บทที่ 2 ข้อจำกัดในภาวะสงคราม ค่มู ือ การจัดกิจกรรมยวุ กาชาด EHLเรื่อง การเรยี นรกู้ ฎหมายมนษุ ยธรรมระหวา่ งประเทศเพอื่ เยาวชนเรือ่ งที่ 4 : การจำกดั ความเสียหายอนั เกดิ จากสงครามเรื่องที่ 5 : ทหารเดก็เร่ืองที่ 6 : เร่ืองของอาวธุEHL Exploring Humanitarian Law 49 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme
เร่ืองท่ี 4 การจำกัดความเสยี หายอันเกดิ จากสงคราม สาระสำคญั กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ มีจุดประสงค์เพื่อปกป้องชีวิตและศักด์ิศรีของผู้ท่ีได้รับ ผลกระทบจากการสู้รบและเพื่อจำกัดความทุกข์ทรมานที่เกิดจากสงคราม กฎหมายมนุษยธรรมระหว่าง ประเทศเป็นกฎสากลท่ีจำกัดวิธีการและวิถีทางท่ีใช้ในการสู้รบและปกป้องผู้ที่ไม่มีส่วนเก่ียวข้องหรือไม่ได้ สู้รบอีกตอ่ ไป กฎหมายสิทธิมนุษยชนมีจุดประสงค์ในการปกป้องชีวิตและศักด์ิศรีของความเป็นมนุษย์เช่นกัน แมว้ ่ากฎหมายมนษุ ยธรรมระหว่างประเทศจะใช้เมอื่ เกดิ การสรู้ บ แตก่ ็มิไดใ้ ชแ้ ทนท่ีกฎหมายสทิ ธมิ นุษยชน ซ่งึ ต้องนำมาบงั คบั ใช้ตลอดเวลา กฎหมายทัง้ สองจงึ ส่งเสริมกนั เพอ่ื ให้เกิดความสมบูรณย์ ิ่งข้ึน วตั ถุประสงค์ • เพ่อื ให้เขา้ ใจถึงเหตุผลวา่ เหตใุ ดจึงจำเป็นต้องมีกฎเกณฑใ์ นการทำสงคราม • เพอ่ื ใหส้ มาชกิ ยวุ กาชาดและเขา้ ใจหลกั พน้ื ฐานบางประการของกฎหมายมนษุ ยธรรมระหวา่ งประเทศ (IHL) • เพื่อให้เข้าใจว่า กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (IHL) และกฎหมายสิทธิมนุษยชน (HR) เสรมิ ซงึ่ กันและกันอย่างไร สาระ/เนือ้ หา 1. กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศและกฎหมายสทิ ธมิ นษุ ยชน - เนือ้ หาและการสง่ เสรมิ ซง่ึ กันและกัน 2. หลกั พื้นฐานของกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ 3. ปฏิญญาสากลวา่ ดว้ ยสทิ ธมิ นษุ ยชน 4. ขอ้ จำกดั ความเสียหายอนั เกดิ จากสงคราม การเตรียมการจดั กิจกรรม ทบทวนคู่มือการเตรียมการจดั กิจกรรมสำหรับครผู ู้สอน EHL วธิ ที ี่ 1 การอภิปราย วิธีท่ี 2 การระดมความคดิ เหน็ วธิ ที ่ี 5 การแสดงบทบาทสมมตุ ิ วธิ ที ่ี 6 การใชเ้ รอ่ื งราว รปู ภาพ และวดี ทิ ศั น์ วิธีท่ี 7 การเขียนและการสะทอ้ นความคดิ เห็น วิธีที่ 9 การแบง่ กลมุ่ ยอ่ ย ระยะเวลา 2 ชว่ ง ๆ ละ 45 นาที50 EHLคูม่ ือการจัดกจิ กรรมยวุ กาชาด เรอ่ื ง การเรียนร้กู ฎหมายมนุษยธรรมรเะพหวื่อา่ เงยปารวะเชทนศ
กจิ กรรมเสนอแนะ ชว่ งท่ี 1 • ครูผู้สอนสำรวจมมุ มองดา้ นมนษุ ยธรรมของสมาชิกยวุ กาชาด โดยใชค้ ำถามตอ่ ไปน้ี - ลกั ษณะของการกระทำอันมีมนษุ ยธรรมคืออะไรบ้าง - อุปสรรคของการกระทำอันมีมนุษยธรรมมีอะไรบ้าง - อุปสรรคอ่ืน ๆ ซ่ึงทำให้การกระทำอันมีมนุษยธรรมในช่วงสงครามเป็นไปได้ยากมีอะไรบ้าง(ตัวอย่าง เช่น ความต้องการแก้แค้น การขาดข้อมูล การขาดแคลนเสบียง ความกลัว ความเกลียดชังอยา่ งรุนแรง) ประสบการณ์ของเชลยและผคู้ ุมเชลย • สมาชิกยวุ กาชาดดรูปภาพขบวนเชลย (ภาพท่ี 1) และรูปภาพเชลยทถี่ กู ปิดตา (ภาพที่ 2)เพอ่ื ใหส้ มาชกิ ยวุ กาชาดเหน็ ภาพทตี่ า่ งกนั ระหวา่ งผแู้ พแ้ ละผชู้ นะในสงครามและสมุ่ ตวั อยา่ งสมาชกิ ยวุ กาชาดบรรยายความรสู้ กึ จากภาพท่ีเห็น • ครูสนทนาซักถามจากสถานการณ์ท่ีเห็น หากสมาชิกยุวกาชาดตกเป็นเชลยหรือเป็นผู้คุมสมาชิกยุวกาชาดจะมีความรู้สึกอย่างไร โดยให้สมาชิกยุวกาชาดเขียนความรู้สึกในใบงานเรื่องสถานการณ์การเป็นผู้คุมและเชลยศึก (กิจกรรมท่ี 1) แล้วสุ่มตัวอย่างสมาชิกยุวกาชาดนำเสนอผลงานหน้าชน้ั ประมาณ 4-5 คน • ครูให้สมาชิกยุวกาชาดแบ่งกลุ่มโดยตอบคำถามใบงานเร่ืองสถานการณ์การเป็นผู้คุมและเชลยศกึ (กจิ กรรมท่ี 2) ในประเด็นตอ่ ไปนี้ - เชลยศึกควรไดร้ บั การปฏิบตั ิอย่างไร เชลยคือพี่น้องของท่าน มันคือความประสงค์ - สมมุติว่าเชลยศึกนั้นมีข้อมูลสำคัญจะมีผล ของพระเจ้าที่เขามาอยู่ในกำมือของท่าน และกระทบต่อการท่เี ขาจะไดร้ บั การปฏบิ ัติหรือไม่อยา่ งไร ได้กำหนดให้เขาทำงานให้ท่าน ดังนั้นจึงขึ้นอยู่ - ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของ “เชลย” หรือ กับความเมตตาของท่านในการดูแลให้เขามี“ผคู้ มุ ” ตกอยู่ในความเสยี่ งอย่างไร อาหารและเครื่องนุ่งห่มที่ดีเท่ากับท่าน จงอย่า - สมมุติว่าผู้ท่ีถูกจับเป็นพี่น้องของสมาชิก ใหเ้ ขาทำงานทีห่ นักเกนิ กำลังยวุ กาชาด สมาชกิ ยวุ กาชาดตอ้ งการใหเ้ ขาไดร้ บั การปฏบิ ตั ิ - ทา่ นศาสดามฮู ัมหมัด (ค.ศ. 570-632)อยา่ งไร เพราะอะไร - สมมุติว่าผู้ท่ีถูกจับเป็นคนท่ีฆ่าเพ่ือนของสมาชิกยุวกาชาดในสมรภูมิ สมาชิกยุวกาชาดต้องการใหเ้ ขาได้รบั การปฏิบตั อิ ย่างไร เพราะอะไร ควรมกี ฎอะไรบา้ งในการปกปอ้ งเชลยศกึ • ครูแบ่งสมาชิกยุวกาชาดออกเป็น 10 กลุ่ม ดูภาพชุด การจำกัดความเสียหายอันเกิดจากสงคราม แล้วใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ เลอื ก 1 ภาพ ไมซ่ ำ้ กนั รว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ แลว้ เขยี นตอบลงในใบงานเรอ่ื งความจำเปน็ ในการปกปอ้ งเชลยศึก • ครูและสมาชิกยุวกาชาดร่วมกันสรุปโดยการรวบรวมข้อเสนอแนะทั้งหมดแล้วอภิปรายกฎทีละข้อว่าเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยเพราะอะไร พิจารณาเหตุผลตามความเห็นของสมาชิกยุวกาชาดแล้วเขยี นลงในสมดุ บนั ทึกของแตล่ ะคน EHL Exploring Humanitarian Law 51 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme
ช่วงท่ี 2 • ครูผู้สอนและสมาชิกยุวกาชาดร่วมกันสนทนาเนื้อหาความรู้เดิมเก่ียวกับกฎที่สมาชิกยุวกาชาด ช่วยกันเสนอในช่วงที่ 1 จากสมุดจดบนั ทกึ ของตนเอง หลังจากนั้นถามคำถามเกี่ยวกบั ประเด็นตอ่ ไปนี้ - กฎแต่ละขอ้ จะช่วยทำใหป้ ระสบการณ์ในสงครามแตกต่างอยา่ งไร - ความลำบากทอี่ าจเกดิ ขึ้นเมอ่ื นำกฎนัน้ ๆ ไปใชม้ ีอะไรบา้ ง - กฎข้อใดบ้างจะปรับใช้กับพลรบท่ีออกจากการสู้รบไปแล้ว (เช่น ถูกจับ บาดเจ็บ เจ็บป่วย หรือประสบเรืออบั ปาง) สำรวจหลกั พ้ืนฐานของกฎหมายมนษุ ยธรรมระหวา่ งประเทศ (IHL) • ครูแจกใบความรู้เรื่อง หลักพ้ืนฐานของกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ ให้สมาชิก ยุวกาชาดศกึ ษาเร่ือง การแบง่ แยกและการปฏิบัตริ ะหวา่ งพลเรือนกบั เปา้ หมายทางทหาร กฎหมายมนษุ ยธรรมระหวา่ งประเทศ (IHL) และกฎหมายสทิ ธิมนุษยชน (HR) • ให้สมาชิกยุวกาชาดช่วยกันเปรียบเทียบกฎที่จำเป็นในการปกป้องเชลยศึกกับกฎท่ีสมาชิก ยุวกาชาดเสนอจาก IHL ซ่ึงบันทึกไว้ในสมุดของตนเองหรือในใบงาน เร่ืองความจำเป็นในการปกป้อง เชลยศกึ (ช่วงที่ 1) ว่ากฎเหล่านน้ั คล้ายคลงึ กนั หรือไม่ • ให้สมาชิกยุวกาชาดช่วยกันคิดข้อความส้ัน ๆ หรือสโลแกน เพ่ือสรุปกฎพื้นฐานของกฎหมาย มนุษยธรรมระหว่างประเทศ เพ่ือทำให้กฎเหล่านั้นง่ายต่อการจดจำเช่น “ไว้ชีวิตทหารที่บาดเจ็บ” “ดแู ลผปู้ ว่ ยและบาดเจบ็ ” “จงเคารพเครอ่ื งหมายกาชาด” • ครูผสู้ อนแจกใบความรเู้ ร่ืองปฏิญญาสากลวา่ ด้วยสทิ ธิมนษุ ยชน ให้สมาชิกยุวกาชาดศึกษา เปรยี บเทียบกบั หลักพืน้ ฐานของกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ • ครูผู้สอนให้สมาชิกยุวกาชาดช่วยกันหาตัวอย่างสิทธิมนุษยชนที่ตรงกับการคุ้มครองที่พบใน IHL ว่ามีอะไรบ้าง • ครูผู้สอนช้ีให้สมาชิกยุวกาชาดตระหนักว่ากฎหมายท้ังสองต่างเอื้อต่อกันในด้านการคุ้มครอง กฎหมายสิทธิมนุษยชนใช้ในทุกสถานการณ์ ในขณะที่กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศใช้เฉพาะการ พิพาททางอาวุธเท่าน้ัน และเน้นให้สมาชิกยุวกาชาดเข้าใจว่า ในระหว่างการพิพาททางอาวุธนั้น กฎหมาย ทง้ั สองถูกนำมาใช้ ในรูปแบบทเี่ อ้อื ต่อกัน52 EHLค่มู ือการจดั กิจกรรมยุวกาชาด เรื่อง การเรียนรูก้ ฎหมายมนุษยธรรมรเะพหวอ่ื ่าเงยปารวะเชทนศ
สื่อการจัดกจิ กรรมและแหลง่ เรียนรู้ 1. เอกสาร รูปภาพ และ ใบงาน สำหรับสมาชกิ ยวุ กาชาด สำหรับครูผู้สอน ขอ้ มลู เพมิ่ เติมเรื่อง IHL และ HR ช่วงท่ี 1 เนอ้ื หาและการสง่ เสริมซ่งึ กนั และกนั 1. รปู ภาพขบวนเชลย 2. รูปภาพเชลยถูกปิดตา 3. ใบงาน เรอ่ื งสถานการณ์การเป็นผ้คู มุ และเชลยศกึ (กจิ กรรมท่ี 1 และกจิ กรรมท่ี 2) 4. ภาพชดุ การจำกดั ความเสียหายอันเกดิ จากสงคราม 5. ใบงาน เรื่องความจำเปน็ ในการปกป้องเชลยศกึ ช่วงที่ 2 1. ใบความรู้ เรื่องหลักพื้นฐานของกฎหมายมนษุ ยธรรมระหวา่ ง ประเทศมีอะไรบา้ ง 1 และ 2 2. ใบความรู้ เรื่องปฏิญญาสากลวา่ ดว้ ยสิทธมิ นษุ ยชน 2. ข้อมลู จาก www.icrc.org การประเมนิ ผล 1. สงั เกตพฤตกิ รรมการเรียนของสมาชกิ ยุวกาชาด 2. สงั เกตการซักถามและตอบคำถาม 3. สังเกตกระบวนการทำงานกลุ่ม 4. ตรวจใบงานEHL Exploring Humanitarian Law 53 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme
ข้อมลู เพม่ิ เตมิ สำหรับครผู ู้สอน กฎหมายมนุษยธรรมระหวา่ งประเทศ (IHL) และกฎหมายสทิ ธมิ นษุ ยชน (HR) - เนอื้ หาและการสง่ เสรมิ ซงึ่ กนั และกนั กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (IHL) และกฎหมายสทิ ธิมนษุ ยชน (HR) มีสว่ นเก้ือกูลซ่ึงกันและกัน กฎหมายท้ังสองส่วนสามารถให้ความคุ้มครองแก่ผู้ที่ตกอยู่ในสถานการณ์รุนแรงได้อย่างครอบคลมุ กฎหมายสิทธิมนุษยชนเป็นกฎหมายระหว่างประเทศท่ีเกิดขึ้นตามสนธิสัญญาหรือจารีตประเพณีท่ีบงั คับใชก้ บั ทุกคน ทุกเวลาและทกุ สถานการณ์ กฎหมายสทิ ธมิ นุษยชนมวี ตั ถุประสงค์เพือ่ คุ้มครองชวี ิตและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของปัจเจกบุคคลจากการกระทำที่ไม่เป็นธรรมของรัฐบาลในประเทศของตนเองแมก้ ระท่งั ในระหวา่ งการสรู้ บ กฎหมายสิทธมิ นุษยชนกม็ ผี ลบงั คบั ใช้ อย่างไรก็ตาม สนธิสัญญาสิทธิมนุษยชนบางฉบับ อนุญาตให้รัฐบาลจำกัดหรือระงับการใช้สิทธิบางอย่างชั่วคราวในระหว่างมีเหตุการณ์ฉุกเฉินในประเทศ เช่น เสรีภาพในการเคล่ือนไหว เสรีภาพและความม่ันคง เสรีภาพในการคบหาสมาคม แม้ว่าจะเป็นเพียงตามความจำเป็นของสถานการณ์เท่าน้ันแม้กระน้ันสิทธิมนุษยชนบางประการเป็นสิ่งท่ีไม่อาจถูกจำกัด หรือระงับชั่วคราวได้ไม่ว่าภายใต้สถานการณ์ใด ๆ แม้ว่าจะเป็นระหวา่ งเหตุการณ์ฉกุ เฉิน หรือการสรู้ บกต็ าม ได้แก่ • สทิ ธิในชวี ติ • ห้ามการทรมาน • หา้ มการทารณุ หรือการกระทำที่โหดรา้ ย หรือการลงโทษทผี่ ิดมนุษย์ • ห้ามการกระทำ หรอื การลงโทษทเ่ี ปน็ การเหยียดหยามหรอื ลบหลู่ • ห้ามใช้ระบบทาส • หา้ มตัดสนิ หรอื ลงโทษทางอาญาแก่ผ้ใู ดสำหรบั การกระทำท่ไี ม่ใช่อาชญากรรมในขณะที่กระทำ กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (IHL) เป็นกฎหมายท่ีบังคับใช้กับสถานการณ์สู้รบโดยเฉพาะท้ังในส่วนของกฎหมายท่ีเป็นสนธิสัญญาหรือจารีตประเพณี กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศมีวัตถุประสงค์เพ่ือคุ้มครองชีวิตและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของผู้ไม่มีส่วนร่วมในการสู้รบหรือไม่สามารถสรู้ บอกี ตอ่ ไปได้ และจำกดั ขอบเขตของการทำสงคราม โดยเนน้ ทก่ี ารจำกดั ความเจบ็ ปวด และความเสยี หายท่เี กิดจากสงคราม กฎของ IHL ไม่อาจถกู จำกัดหรอื ระงับชัว่ คราวไดไ้ มว่ ่าดว้ ยเหตุใด เพราะเปน็ กฎหมายที่กำหนดขึ้นมาเพ่ือเผชิญกับสถานการณ์ดังกล่าวโดยเฉพาะ ดังนั้น IHL จึงเป็นกฎหมายรากฐานที่ให้การปกป้องผู้ได้รับผลกระทบจากการสู้รบ ซ่ึงทำให้จำเป็นต้องนำ “แกนหลัก” ของสิทธิมนุษยชนมารวมไว้ดว้ ย 54 EHLคมู่ ือการจดั กิจกรรมยุวกาชาด เรือ่ ง การเรยี นรู้กฎหมายมนษุ ยธรรมรเะพหวื่อ่าเงยปารวะเชทนศ
กฎหมายสิทธิมนษุ ยชน กฎหมายมนุษยธรรมระหวา่ งประเทศ กฎเกณฑส์ ำหรบั ผ้สู ู้รบ ลกั ษณะของกฎหมายคืออะไร การถือสิทธิ์ ในการสูร้ บ ใชบ้ งั คับเม่ือไร ตลอดเวลา สามารถถูกจำกัด หรือระงบั เป็นไปไดใ้ นระหว่างเหตกุ ารณฉ์ ุกเฉิน เปน็ ไปไมไ่ ด้ ใชไ้ ดห้ รือไม ่ เวน้ แต่ เป็นแกนหลักของสทิ ธิมนุษยชน ใครคอื ผูไ้ ด้รับการคุม้ ครอง บุคคลทไี่ ด้รบั ผลกระทบจากการ บุคคลทไี่ ม่ได้สู้รบหรือออกจากการสรู้ บ ใชอ้ ำนาจตามอำเภอใจของรัฐบาล ไปแลว้ กฎหมายบงั คับใช้กบั ใคร รฐั บาล รฐั บาล กลมุ่ ติดอาวธุ บุคคล กฎหมายสิทธิมนษุ ยชน กฎหมายสิทธิมนุษยชนมีขึ้นคร้ังแรกในปลายศตวรรษท่ี 18 ในช่วงท่ีมีการรับรอง “ปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และพลเมือง” ในประเทศฝรั่งเศส และ “กฎหมายว่าด้วยสิทธิ” ในสหรัฐอเมริกาพัฒนาการของกฎหมายสิทธิมนุษยชนอย่างจริงจังได้เร่ิมขึ้นโดยการรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนษุ ยชนในปี ค.ศ. 1948 ภายใต้การโน้มน้าวขององค์การสหประชาชาติ ได้มีการลงนามในกติกาสำคัญ 2 ฉบับในปี ค.ศ. 1966 โดยการสนับสนุนขององค์การสหประชาชาติซึ่งได้แก่ กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางแพ่งและการเมือง (ถือเป็นสิทธิมนุษยชนรุ่นแรก คือสิทธิทางแพ่งและการเมือง) และกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม(ถือเป็นสทิ ธิมนุษยชนรนุ่ ทสี่ อง คือสิทธทิ างเศรษฐกจิ สงั คม และวฒั นธรรม) กติกาฉบับแรกใช้เป็นต้นแบบในการกำหนดสนธิสัญญาอื่น ๆ รวมท้ัง สำหรับกฎหมายภายในประเทศเกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพทางแพ่งและการเมือง แต่กติกาฉบับท่ีสองมีผลที่ค่อนข้างจำกัดเนื่องจากประเทศต่างๆไมม่ ีศักยภาพเพียงพอท่จี ะปฏิบัตติ าม มีแนวโน้มใหม่ที่อ้างอิงถึง “สิทธิมนุษยชนในรุ่นที่ 3” ซึ่งเก่ียวข้องกับสิทธิต่าง ๆ เช่น สิทธิในเจตจำนงของประเทศตนเอง สิทธิของชนกลุ่มน้อย การพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม สันติภาพและสง่ิ แวดล้อมท่ดี ี ซ่ึงเปน็ เร่ืองท่ียังมกี ารถกเถียงกนั อยู่ องค์การระหว่างประเทศในระดับภูมิภาคตระหนักถึงความสำคัญของสิทธิมนุษยชน เช่นสภาแห่งยุโรป องค์กรรัฐอเมริกา และสหภาพอัฟริกา โดยองค์กรเหล่านี้ได้ริเร่ิมจัดทำสนธิสัญญาว่าด้วยสิทธิมนุษยชนระดับภูมิภาคข้ึนหลายฉบับ โดยทั่วไปแล้ว รัฐมีหน้าที่ปฏิบัติตามกฎหมายสิทธิมนุษยชนซ่ึงกฎหมายส่วนใหญ่มักจะกำหนดกลไก เพื่อให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายในรูปแบบขององค์กรตุลาการ(เช่น ศาลสิทธิมนุษยชนแห่งยุโรป และศาลสิทธิมนุษยชนระหว่างรัฐอเมริกัน) องค์กรก่ึงตุลาการ(เช่น คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ และคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษย์และประชาชนแห่งอัฟริกา) หรือองค์กรทำหน้าที่รายงาน (ผู้รายงานพิเศษ และคณะทำงานของสภาสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ)EHL Exploring Humanitarian Law 55 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme
กฎหมายมนษุ ยธรรมระหวา่ งประเทศ (IHL) กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (IHL) หรือที่รู้จักกันในอีกช่ือหนึ่งว่า “กฎหมายว่าด้วยการ พพิ าททางอาวธุ ” เปน็ สว่ นหนง่ึ ของกฎหมายระหวา่ งประเทศ มงุ่ จำกดั ความสญู เสยี ทเ่ี กดิ จากสงครามโดย : • กำหนดกฎเกณฑ์การสู้รบโดยเน้นการจำกัดวธิ กี ารและวถิ ีทางที่ใชใ้ นการสรู้ บ • ให้ความคุ้มครองผู้ไม่มีส่วนร่วมในการสู้รบ และไม่สามารถสู้รบอีกต่อไป โดยเฉพาะพลเรือน ผ้ไู ด้รบั บาดเจบ็ ผปู้ ่วยและผซู้ ึ่งเรืออบั ปาง เชลยศกึ และผู้ท่ถี กู กกั กันอนั เน่อื งจากการสู้รบ กฎหมายน้ีได้พฒั นาขน้ึ จากแหล่งตา่ ง ๆ เช่น • ในบางบริบท มีการใช้กฎหมายจารีตประเพณีของท้องถิ่นท่ีมิได้บัญญัติเป็นลายลักษณ์อักษร ซ่ึงเกีย่ วกบั พฤติกรรมในการสูร้ บ • ในบางสถานการณ์ การทำความตกลงสองฝา่ ยระหว่างค่สู งคราม • ในส่วนของประเทศ มีการออกระเบียบข้อบังคับสำหรับกองกำลังทหารของตนเองเพื่อใช้ใน บางสถานการณ์ กฎต่าง ๆ ท่ีได้กล่าวมาข้างต้น ใช้ได้กับการสู้รบแต่ละครั้งท่ีเกิดข้ึนเท่านั้น ไม่ได้มีรูปแบบเดียวกัน แต่แตกตา่ งกนั ไปโดยขึน้ อยู่กบั เวลา สถานทแี่ ละขนบธรรมเนียมท้องถนิ่ ในแต่ละแห่งดว้ ย อนสุ ญั ญาเจนีวา ปี ค.ศ. 1864 ไดว้ างรากฐานสำหรับ IHL ทใ่ี ช้อยู่ในปจั จุบัน นับตั้งแต่มกี ารรับรอง สนธิสัญญาฉบับนี้ กฎหมายได้ถูกพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพ่ือจำกัดอานุภาพทำลายล้างของอาวุธที่ ได้รับการพัฒนาจากเทคโนโลยีท่ีก้าวหน้า ปัจจุบันอนุสัญญาเจนีวาปี ค.ศ. 1949 ทั้ง 4 ฉบับ และบทพิธีสาร เพิม่ เตมิ ถอื เป็นสนธสิ ัญญาหลกั ของ IHL IHL หาสมดุลท่ีเป็นจริงและปฏิบัติได้ ระหว่างความจำเป็นทางทหารและหลักการทางมนุษยธรรม โดยการห้ามทรมานให้เกิดความเจ็บปวด ความบาดเจ็บทางร่างกาย หรือการทำลายซึ่งไม่จำเป็นในการ บรรลุวตั ถุประสงค์ทางทหารทีช่ อบด้วยกฎหมาย IHL บังคับใช้ได้เม่ือมีการสู้รบเท่านั้น กฎเกณฑ์ของ IHL ใช้บังคับทั้งในการสู้รบระหว่างประเทศ และที่ไม่ใช่ระหว่างประเทศ แต่ไม่รวมสถานการณ์ความไม่สงบหรือตึงเครียดภายในประเทศ เช่น การจลาจล หรอื ความรุนแรงทเ่ี กิดขนึ้ เปน็ คร้งั คราว ซง่ึ ไม่รนุ แรงถึงขนาดเปน็ การสู้รบ IHL ตระหนกั ถงึ ความเปน็ จรงิ ของการสรู้ บและกำหนดกฎเกณฑ์ในสถานการณด์ งั กลา่ วด้วยเหตผุ ล ทางด้านมนุษยธรรม (jus in bello) โดยไม่ได้คำนึงถึงเหตุผลหรือความถูกต้องในการใช้กำลังระหว่างกัน ดงั น้นั กฎหมายนีจ้ ึงมีผลบงั คับใชก้ ับทุกฝา่ ยทเี่ กี่ยวข้องในการสู้รบอยา่ งเทา่ เทยี มกนั ทกุ ฝ่ายที่เกยี่ วข้องในการสูร้ บตอ้ งเคารพ IHL โดยเฉพาะรฐั ทเ่ี ป็นภาคขี อง IHL มหี น้าท่ีใช้มาตรการ ที่จะทำให้เกิดการเคารพกฎหมายอย่างจริงจัง รวมทั้งต้องป้องกันและปราบปรามการฝ่าฝืนกฎหมาย ลงโทษ ผกู้ ระทำการฝ่าฝนื กฎหมายอย่างรา้ ยแรงด้วย มีมาตรการระดับระหว่างประเทศเพื่อให้มีการเคารพกฎหมายอยู่หลายประการ มีคณะกรรมการ แสวงหาข้อเท็จจริงซึ่งเป็นหน่วยงานถาวรข้ึนในปี ค.ศ. 1997 โดยมีวัตถุประสงค์ในการสืบสวนข้อกล่าวหา เก่ียวกับการฝ่าฝืนอย่างร้ายแรงและความผิดประเภทอื่น ๆ ตาม IHL ด้วย ต้ังแต่ช่วงต้นทศวรรษ 1990 มีการก่อตั้งศาลอาญาระหว่างประเทศและศาลท่ีมีลักษณะผสม (ระหว่างศาลในประเทศและระหว่าง ประเทศ) ขึ้นในหลายประเทศทั่วโลก เพ่ือดำเนินคดีและลงโทษผู้ก่ออาชญากรรมในประเทศต่าง ๆ ในปี ค.ศ. 1998 ประชาคมระหว่างประเทศได้ก่อต้ังศาลอาญาระหว่างประเทศท่ีเป็นศาลถาวรขึ้นเป็นแห่ง แรก โดยมีเขตอำนาจดำเนินคดีอาชญากรรมระหว่างประเทศที่ร้ายแรงท่ีสุดหลายประเภท โดยไม่จำกัด ว่าการกระทำความผดิ นัน้ จะเกดิ ขนึ้ ณ ทใี่ ด56 EHLคูม่ ือการจดั กจิ กรรมยุวกาชาด เรอ่ื ง การเรียนรู้กฎหมายมนุษยธรรมรเะพหวอ่ื า่ เงยปารวะเชทนศ
หากผเู้ รียนมีคำถาม... คำแนะนำต่อไปนี้ใช้เพ่ือช่วยให้ผู้เรียนพิจารณาคำถามที่พวกเขาหยิบยกข้ึนมาว่า ทำไมผู้ที่สู้รบจึงยอมรับ และใหก้ ารเคารพในกฎเกณฑข์ องสงคราม ในกรณีน้ีส่วนใหญ่มักแนะนำให้ใช้วิธีการสอน “มุมปัญหาคาใจ” กับคำถามเหล่าน้ี (ดูคู่มือการสอน) นอกจากน้ี ครูอาจพจิ ารณานำวธิ ีการบางข้อทีแ่ นะนำไว้ ณ ท่ีน้ีไปใช้บ้างกไ็ ด้ หากมีเวลาพอ 1. ผมกำลงั จะชนะสงครามอยแู่ ลว้ ทำไมตอ้ งมาทำตามกฎเกณฑท์ จ่ี ำกดั พฤตกิ รรมของผม ก. พิจารณาถึงผลประโยชน์ระยะยาวของฝ่ายคุณ คุณอยากจะถูกโลกมองว่าคุณเป็นอาชญากรเช่นนน้ั หรอื ข. แล้วหากฝ่ายของคุณกำลังจะแพ้ล่ะ (พิจารณาตัวอย่างในประวัติศาสตร์ของฝ่ายท่ีคิดว่าพวกเขาจะชนะแต่แล้วกแ็ พ้) จะเกิดอะไรขึ้น เมอ่ื คนของฝ่ายคุณตอ้ งการความคมุ้ ครอง ค. สาเหตุท่ีทำให้รัฐบาลยอมทำตามกฎเกณฑ์เหล่าน้ัน เช่น การเคารพในศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ หน้าที่ตามกฎหมาย เพ่ือให้เกิดสันติภาพ ความเสี่ยงในการถูกดำเนินคดี ความสำคัญในการรักษาวินัยของกองกำลังทหาร เพ่ือได้รับการสนับสนุนจากประชาชนในเขตสู้รบและจากสาธารณชนในประเทศของตนเองและในต่างประเทศ และความเช่ือวา่ ฝ่ายตรงข้ามอาจทำตามกฎเกณฑเ์ ช่นกัน ง. แม้ว่ากลุ่มติดอาวุธไม่ได้มีส่วนร่วมในการวางกฎเกณฑ์ของ IHL แต่ในฐานะเป็นฝ่ายท่ีมีส่วนร่วมในการสู้รบ พวกเขาจึงมีเหตุผลจำเป็นเหมือนกันที่ต้องยอมรับ และเคารพกฎเกณฑ์ของตวั กฎหมายนี้ หน่ึงในเหตผุ ลทีท่ ำให้กล่มุ ติดอาวธุ ใหก้ ารเคารพใน IHL มาจากปจั จัยตอ่ ไปนี้ คือ ตอ้ งการได้รับการสนับสนนุ จากประชาชนในเขตสรู้ บ และมีภาพพจน์ทด่ี ีในสายตาของประชาคมระหว่างประเทศ 2. หากกฎเกณฑเ์ หลา่ นถี้ กู ฝา่ ฝนื ตลอดเวลา แลว้ มกี ฎเกณฑไ์ วท้ ำไม ก. กฎเกณฑไ์ ม่ไดถ้ ูกฝา่ ฝืนตลอดเวลา แต่มีการเคารพกฎเกณฑม์ ากกวา่ ข. การทำตามกฎเกณฑ์ทำให้ตกเป็นข่าวใช่หรือไม่ โดยปกติแล้ว การฝ่าฝืนกฎเกณฑ์มักจะตกเปน็ ข่าวมากกวา่ ค. แม้วา่ จะไมไ่ ดร้ บั การเคารพอย่างเตม็ ที่ แต่กฎเกณฑเ์ หลา่ นีย้ ังคงค้มุ ครองชวี ิตของคนจำนวนมาก ง. เวลาท่ีกฎเกณฑ์ถูกฝ่าฝืน มักเป็นเพราะว่าทหารท่ีสู้รบไม่เกรงกลัวต่อการถูกทำโทษ จึงจำเป็นทร่ี ัฐบาลทง้ั หลายตอ้ งทำให้ท้งั บคุ ลากรทางทหาร และพลเรอื นคุ้นเคยกบั กฎเกณฑ์ของ IHL ควรมีการตรวจตราผลการดำเนนิ การและการบังคับใช้กฎหมาย 3. ทำไมตอ้ งยอมสญู เสยี ทรพั ยากรเพอ่ื ดแู ลเชลยศกึ ซงึ่ เปน็ ฝา่ ยศตั รู ก. ถา้ คุณไมช่ ว่ ยเชลยฝ่ายตรงข้าม จะเกดิ อะไรขึน้ กบั คนของฝ่ายคณุ ท่ถี ูกจับตัวเป็นเชลยบ้าง ข. การจัดหาสง่ิ จำเปน็ พื้นฐานสำหรบั ผถู้ กู กกั กนั ไมไ่ ด้มีผลกระทบต่อศกั ยภาพในการสรู้ บของคณุ เลย 4. ใครคอื ผทู้ ที่ ำใหม้ กี ารเคารพกฎเกณฑเ์ หลา่ นี้ ก. ความรับผิดชอบสำคัญในการเคารพกฎเกณฑ์ของ IHL เป็นของรัฐบาลท่ีเก่ียวข้องกับการสู้รบในขณะเดียวกัน กลุ่มติดอาวธุ มพี นั ธะใหต้ ้องเคารพในกฎเกณฑ์ของ IHL เช่นกนั ข. ทุกประเทศ มีพันธะในการปกป้องและปราบปรามการละเมิด IHL รวมท้ังมีหน้าท่ีค้นหาผู้ทล่ี ะเมดิ อย่างร้ายแรงเพอื่ นำตวั มาลงโทษ ค. ประชาคมโลกมีบทบาทมากข้ึนในการบังคับใช้ IHL โดยการจัดต้ังองค์กรระหว่างประเทศเชน่ ศาลอาญา EHL Exploring Humanitarian Law 57 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme
รูปภาพ... ช่วงที่ 1 สำหรับสมาชกิ ยวุ กาชาด ขบวนเชลย ขบวนทหาร ่ีท ูถกจับเป็นเชลยโดยกองทัพปลดปล่อย (Popular Army of Liberation) แห่งประเทศลาว ชะตากรรมของเชลยเหล่า ้นี ้ึขนอยู่กับคำ ่สัง ่ีททหารนาย ้ีนได้รับ58 EHLคูม่ ือการจดั กจิ กรรมยวุ กาชาด เร่อื ง การเรียนรู้กฎหมายมนุษยธรรมรเะพหว่อื า่ เงยปารวะเชทนศ
รปู ภาพ... ชว่ งที่ 1 สำหรับสมาชกิ ยวุ กาชาด เชลยท่ีถูกปดิ ตา ทหารของกองทัพมาลี ่ซึงถูก ่ฝายกบฏ ัจบไ ้ดชะตากรรมของเชลยผู้ ีน้ขึ้นอยู่กับ คำ ั่สงของผู้บังคับ ับญชา ่ฝายกบฏEHL Exploring Humanitarian Law 59 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme
ใบงาน... ช่วงที่ 1 สำหรับสมาชิกยวุ กาชาดเรอื่ ง “สถานการณ์การเป็นผคู้ มุ และเชลยศึก”กิจกรรมท่ี 1 ให้สมาชิกยุวกาชาดร่วมกันอภิปรายและเขียนแสดงความคิดเห็นในสถานการณ์ที่สมาชิกย ุวกาชาดเปน็ ผคู้ มุ หรือตกเปน็ เชลยศกึ ลงในตาราง ผู้คุม เชลยศึก ..................................................................... ..................................................................... ..................................................................... ..................................................................... ..................................................................... ..................................................................... ..................................................................... ..................................................................... กจิ กรรมที่ 2 ให้สมาชิกยุวกาชาดรว่ มกนั อภิปราย ในประเดน็ ตอ่ ไปนี้1. เชลยศึกควรได้รับการปฏบิ ัตอิ ยา่ งไร ..................................................................................................................................................2. สมมุติว่าเชลยศึกคนน้ันมีข้อมูลสำคัญ จะมีผลกระทบต่อการท่ีเขาจะได้รับการปฏิบัติหรือไม่ อย่างไร ..................................................................................................................................................3. ศกั ดิ์ศรีความเป็นมนษุ ย์ของ “เชลย” หรือ “ผู้คมุ ” ตกอยู่ในความเส่ียงอย่างไร ................................................................................................................................................. ...................................................................................................................................................4. สมมุติว่าผู้ที่ถูกจับเป็นพี่น้องของสมาชิกยุวกาชาด สมาชิกยุวกาชาดต้องการให้เขาได้รับการปฏบิ ัตอิ ยา่ งไรเพราะอะไร ..................................................................................................................................................5. สมมตุ วิ า่ ผทู้ ถ่ี กู จบั เปน็ คนทฆี่ า่ เพอื่ นของสมาชกิ ยวุ กาชาดในสมรภมู ิ สมาชกิ ยวุ กาชาดตอ้ งการให้เขาได้รับการปฏิบตั ิอยา่ งไร ..................................................................................................................................................60 EHLคู่มอื การจดั กิจกรรมยวุ กาชาด เรื่อง การเรยี นรกู้ ฎหมายมนษุ ยธรรมรเะพหวื่อ่าเงยปารวะเชทนศ
ภาพชดุ ... ชว่ งท่ี 1 สำหรับสมาชกิ ยุวกาชาด การจำกดั ความเสียหายอันเกดิ จากสงคราม1A. ใหค้ วามช่วยเหลอื แก่ผู้ลี้ภยั ชาวราวันดา เมอื งโกมา สาธารณรัฐแซร์ (ปจั จุบันคอื คองโก), 1996. Bo Mathisen/Verdens Gang.2A. ปา้ ยแสดงเขตวตั ถรุ ะเบดิ นคิ ารากัว 1998. Mary Anne Anderson/ICRC.3A. ผูล้ ้ภี ัยชาวกมั พูชาถงึ คา่ ยหนองจาน, ประเทศไทย, 1980. Jean-Jacques Kurz/ICRC.4A. ซากปรกั หกั พงั ของสสุ าน เมอื งเบรตุ ประเทศเลบานอน, 1982. Luc chessex/ICRC.5A. ยานพาหนะของ ICRC ที่ไดร้ ับความเสียหาย บอสเนยี /เฮอเซโกวนี า 1992. Roland Sidler/ICRC.EHL Exploring Humanitarian Law 61 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme
ภาพชุด... ช่วงท่ี 1 สำหรบั สมาชกิ ยุวกาชาด 6A. บา้ นทีถ่ ูกทำลายจากการโจมตที างทหาร เยรูซาเลมตะวนั ออก, 1997. Thierry Gasman/ICRC. 7A. มัสยิดทีถ่ ูกทำลายในระหว่างการสู้รบ เลบานอนทางตอนใต้, 2006. Marko Kokic/ICRC. 8A. ผู้ลภ้ี ัยท่ีฮาดรุด อารม์ เี นีย/อาเซอร์ไบจนั , 1991. Zaven Khachikian/ICRC. 9A. ทหารอายุ 13 ปี ชาวคะเรนนเี ตรยี มพรอ้ มในการสรู้ บทกี่ ำลงั จะมาถงึ ประเทศเมยี นมาร,์ 1999. Dean Chapman/Panos Pictures. 10A. ICRC เยย่ี มผตู้ อ้ งขงั มอนโรเวยี ประเทศไลบเี รยี , 2006. Boris Heger/ICRC.62 EHLค่มู อื การจัดกจิ กรรมยวุ กาชาด เร่อื ง การเรยี นรู้กฎหมายมนษุ ยธรรมรเะพหว่ือา่ เงยปารวะเชทนศ
ใบงาน... ช่วงท่ี 1 สำหรับสมาชกิ ยุวกาชาด เรือ่ ง “ความจำเป็นในการปกปอ้ งเชลยศกึ ”คำช้ีแจง ให้สมาชิกยุวกาชาดร่วมกันอภิปราย และช่วยกันเขียนกฎท่ีจำเป็นในการปกป้องเชลยศึก พร้อมบอกเหตผุ ล กฎ เหตุผล ...................................................................... ...................................................................... ...................................................................... ...................................................................... ...................................................................... ...................................................................... ...................................................................... ...................................................................... ...................................................................... ...................................................................... ...................................................................... ...................................................................... ...................................................................... ...................................................................... ...................................................................... ...................................................................... ...................................................................... ...................................................................... ...................................................................... ......................................................................บันทกึ เพิ่มเตมิ ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................EHL Exploring Humanitarian Law 63 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme
ใบความร.ู้ .. ช่วงท่ี 2หลักพ้นื ฐานของกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ มีอะไรบ้าง สำหรับสมาชกิ ยวุ กาชาดการแบง่ แยก การปฏิบัติ อาวธุ และกลยทุ ธ์ ความคุ้มครองเพ่มิ เติม เร่ือง หลกั พ้ืนฐานของกฎหมายมนษุ ธรรมระหวา่ งประเทศ 1 คมู่ อื การจัดกจิ กรรมยุวกาชาด64 เรื่อง EHLการเรยี นร้กู ฎหมายมนุษยธรรมรเะพหวอ่ื ่าเงยปารวะเชทนศในการวางแผนหรือปฏิบัติการโจมตี พลเรือนหรือพลรบที่ออกจากการ วัตถุประสงค์ที่ชอบด้วยกฎหมาย บุคคลและส่ิงของบางประเภทจะจะตอ้ งมกี ารแบง่ แยกระหวา่ งพลเรอื น สรู้ บไปแลว้ จะตอ้ งไดร้ บั ความคมุ้ ครอง ของการทำสงครามคือการทำให้ ต้องได้รับความคุ้มครองเพิ่มเติมและพลรบรวมท้ังระหว่างวัตถุของ และปฏบิ ัติอยา่ งมีมนุษยธรรม กองทัพฝา่ ยศตั รูอ่อนกำลงั ลงพลเรือนและเปา้ หมายทางทหารด้วย1. ห้ามโจมตีประชาชนพลเรือน 1. ห้ามฆ่า ทรมาน และลงโทษหรือ 1. หา้ มใชอ้ าวธุ ทท่ี ำใหเ้ กดิ ความเจบ็ ปวด 1. ห้ามเกณฑ์เด็กหรือใช้เด็กอายุ2. ห้ามโจมตีวัตถุของพลเรือน (บ้านเรือน ปฏิบัติอย่างโหดร้ายหรือลดคุณค่า เกนิ กวา่ จำเปน็ ตำ่ กวา่ 15 ปี เข้าร่วมในการรบโรงพยาบาล โรงเรียน สถานที่อันเป็น ความเปน็ มนุษย์ 2. หา้ มจบั คนไปเป็นตัวประกนั 2. บุคลากรทางการแพทย์และสถานทส่ี กั การะบชู า อนสุ าวรยี ท์ างวฒั นธรรม 2. หา้ มประทุษรา้ ยทางเพศ 3. หา้ มฆ่าหรอื ทำร้ายศัตรทู ย่ี อมจำนน พยาบาล (โรงพยาบาล คลนิ กิ รถพยาบาลหรอื ทางประวัติศาสตร์ ฯลฯ) 3. ห้ามบังคับประชาชนพลเรือนให้ 4. ห้ามออกคำส่ังหรือขู่ว่าจะไม่ไว้ชีวิต ฯลฯ) รวมทงั้ บคุ ลากรทางดา้ นศาสนา3. ก่อนการโจมตี จะต้องใช้ความระมัด อพยพโยกยา้ ย แก่ผใู้ ด จะต้องได้รับความเคารพและความระวังเท่าท่ีจะกระทำได้เพื่อลดความ 4. ห้ามใช้วิธีการให้พลเรือนอดอยาก 5. ห้ามทหารแสร้งแสดงตนเป็นพลเรือน คมุ้ ครองเสียหายที่จะเกิดแก่พลเรือนและวัตถุ หิวโหย เป็นยทุ ธวธิ ีทางการรบ ขณะสู้รบ 3. บุคลากร สิ่งของบรรเทาทุกข์ และของพลเรือน 5. ห้ามใช้พลเรือนเป็นเกราะกำบัง 6. ห้ามทำลายสิ่งจำเป็นในการดำรงชีพ การปฏิบัติงานด้านมนุษยธรรมจะต้อง4. ห้ามใช้อาวุธท่ีไม่สามารถแบ่งแยก เปา้ หมายทางทหาร ของพลเรือน (อาหาร สถานที่เพาะปลูก ได้รับความเคารพและความคุม้ ครองระหว่างพลเรือนและเป้าหมายทาง 6. คู่พิพาทแต่ละฝ่ายจะต้องค้นหา แหล่งน้ำกินนำ้ ใช้ ฯลฯ) 4. ทรัพย์สินทางวัฒนธรรมจะต้องทหาร และดูแลทหารฝ่ายศัตรูท่ีบาดเจ็บ 7. ห้ามโจมตีบุคลากรทางการแพทย์ ไดร้ ับความเคารพและความคมุ้ ครอง เจ็บป่วยหรือเรืออับปาง จะไม่มีการให้ ทางศาสนาและส่ิงใดที่ติดเคร่ืองหมาย 5. ผู้หญิงท่ีได้รับผลกระทบจากสงคราม อภิสทิ ธใิ์ ด ๆ ยกเว้นเมอื่ มีความจำเปน็ กาชาด เสยี้ ววงเดอื นแดงหรอื ครสิ ตลั แดง จะต้องได้รบั ความคุ้มครอง การปกป้อง ทางการแพทยเ์ ท่านนั้ ตามทีก่ ฎหมายอนญุ าต ดูแลด้านสุขภาพ อนามัย และได้รับ 7. พลเรือนหรือทหารฝ่ายศัตรูที่ถูก 8. ห้ า ม ใ ช้ เ ค ร่ื อ ง ห ม า ย ก า ช า ด ความชว่ ยเหลอื เป็นพิเศษ จบั ได้ จะตอ้ งไดร้ บั อาหารนำ้ เครอ่ื งนงุ่ หม่ เส้ียววงเดือนแดงหรือคริสตัลแดง ที่พักพิง และการดูแลทางการแพทย์ ในทางท่ีผดิ อย่างเพียงพอ และมีสิทธิส่งข่าวสาร ติดต่อกบั ครอบครวั ของเขา 8. ทุกคนมีสิทธิ์ได้รับการดำเนินคดี อย่างยุตธิ รรม
ใบความรู้... ช่วงท่ี 2 สำหรบั สมาชิกยุวกาชาดเรอื่ ง หลักพน้ื ฐานของกฎหมายมนุษธรรมระหวา่ งประเทศ 2คำจำกัดความ civilian-พลเรอื น : บคุ คลใดก็ตามทม่ี ิใชพ่ ลรบ เมือ่ ใดที่พลเรอื นเขา้ มสี ว่ นรว่ มโดยตรงในการสูร้ บ จะสูญเสียความคมุ้ ครองจากการถกู โจมตี (หากมีขอ้ สงสยั เก่ียวกับสถานภาพของบคุ คลใด ให้สนั นษิ ฐานไว้ก่อนวา่ บุคคลนนั้ เป็นพลเรอื น) civilian objects-วตั ถขุ องพลเรอื น : วตั ถใุ ดกต็ ามทม่ี ใิ ชเ่ ปา้ หมายทางทหาร แตเ่ มอื่ ใดทวี่ ตั ถขุ องพลเรอื นน้ัน ถูกนำมาใช้เพ่ือสนับสนุนการปฏิบัติการทางทหาร วัตถุเหล่านั้นก็จะกลายเป็นเป้าหมายทางทหาร และ สูญเสียความคุ้มครองในแง่วัตถุของพลเรือน (หากมีข้อสงสัยว่าวัตถุใดถูกนำมาใช้เพ่ือสนับสนุนการ ปฏิบตั กิ ารทางทหารหรือไม่ ให้สนั นษิ ฐานไวก้ ่อนว่าวัตถนุ ั้นเป็นของพลเรอื น) combatant-พลรบ : บุคคลผู้สังกัดในกองทัพ หรือผู้สังกัดกองกำลังติดอาวุธที่อยู่ภายใต้คำสั่งของ ฝ่ายหนงึ่ ฝ่ายใดในการส้รู บ military objective-เป้าหมายทางการทหาร : วัตถุซึ่งโดยลักษณะ สถานท่ีต้ัง จุดมุ่งหมาย หรือการใช้ ถือเป็นปัจจัยสำคัญอย่างย่ิงต่อปฏิบัติการทางทหาร และหากถูกทำลายลง จะเป็นข้อได้เปรียบทาง ทหารอย่างมาก hors de combat-พลรบท่ี ออกจากการสู้รบ : หมายถึงพลรบที่ถูกจับได้ บาดเจ็บหรือป่วยไข้ หรือ ประสบภัยเรอื อบั ปาง ทำใหไ้ มส่ ามารถรบไดอ้ ีก principle of proportionality - หลกั การไดส้ ดั สว่ น : จำนวนพลเรือนท่ีถึงแก่กรรมหรือบาดเจ็บ หรือ ความเสยี หายตอ่ วตั ถขุ องพลเรอื นทคี่ าดหมายไดจ้ ะต้องไมม่ ากกวา่ ประโยชน์ทางทหารทค่ี าดคะเนไว้EHL Exploring Humanitarian Law 65 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme
ใบความรู.้ .. ช่วงที่ 2 สำหรับสมาชิกยุวกาชาด เรอื่ ง ปฏญิ ญาสากลวา่ ด้วยสิทธมิ นษุ ยชน เมื่อวันท่ี 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาใหญ่ของสหประชาชาติได้รับรองปฏิญญาสากลว่าด้วย ส ิทธมิ นษุ ยชน ซ่ึงประกอบด้วยสิทธติ ่าง ๆ 30 ประการ มนษุ ย์ทั้งปวงเกิดมาโดยมีสทิ ธิ เสรีภาพ และศักดิ์ศรเี ท่าเทยี มกนั ปฏญิ ญาไดก้ ำหนดวา่ ทกุ ๆ คนมีสิทธติ ่าง ๆ ดงั ตอ่ ไปน้โี ดยไม่อาจถกู แบ่งแยกได้ คือ • สิทธใิ นการอยอู่ าศัยอยา่ งมีเสรภี าพและปลอดภยั • อสิ รภาพจากการถกู ใชเ้ ป็นทาส • อิสรภาพจากการถูกทรมาน หรือถูกกระทำอย่างทารุณ ไร้มนุษยธรรม หรือ การปฏิบัติอย่าง เหยียดหยาม • ได้รับการปฏิบัติอยา่ งเทา่ เทยี มกนั ภายใตก้ ฎหมาย • เสรีภาพจากการถูกจบั กมุ หรอื ควบคุมตัวตามอำเภอใจ • ได้รับการพิจารณาคดีอย่างยุติธรรมและได้รับการสันนิษฐานว่าเป็นผู้บริสุทธิ์จนกว่าจะพิสูจน์ วา่ ไดก้ ระทำความผิดจริง • ตอ้ งไม่ถกู ตัดสนิ หรือลงโทษสำหรับการกระทำท่ีไมเ่ ป็นอาชญากรรมในขณะทีไ่ ด้กระทำ • ได้รบั การเคารพในสทิ ธสิ ่วนบุคคล • เดินทางภายในและออกนอกประเทศของตนไดอ้ ย่างเสรี • ไดร้ บั การคุม้ ครองจากการถกู รังแกในประเทศอ่ืน ๆ • สิทธิในการสมรสและมคี รอบครัว • การมีกรรมสิทธใ์ิ นทรัพยส์ ิน • นับถอื ศาสนาตามความเช่อื ของตน • คิดและแสดงความเหน็ ของตนไดอ้ ยา่ งเสรี • สิทธิในการจัดหรอื ร่วมประชุมอย่างสันติ • มีส่วนร่วมทางการเมืองในประเทศของตนเอง และมีสิทธิได้รับการบริการจากรัฐบาลอย่าง เท่าเทียมกนั • สทิ ธใิ นการทำงานในสภาพทีเ่ หมาะสม • มีมาตรฐานความเป็นอยทู่ ่เี พยี งพอ • สทิ ธใิ นการศกึ ษา ในขณะทใ่ี ชส้ ทิ ธติ า่ ง ๆ ขา้ งตน้ จะตอ้ งเคารพสทิ ธขิ องผอู้ นื่ ดว้ ย ไมม่ ผี ใู้ ดพรากสทิ ธติ า่ ง ๆ เหลา่ นไี้ ปได้66 EHLคู่มือการจดั กจิ กรรมยวุ กาชาด เร่อื ง การเรียนรกู้ ฎหมายมนษุ ยธรรมรเะพหว่อื า่ เงยปารวะเชทนศ
เร่ืองที่ 5 ทหารเด็ก สาระสำคญั เด็กต้องได้รับการคุ้มครองในช่วงเวลาสงคราม รูปแบบหน่ึงของการคุ้มครองคือ การกำหนด และการเคารพเกณฑ์อายุข้ันต่ำท่ีใช้ในการเกณฑ์เด็กเพ่ือประจำการในกองทัพหรือกองกำลังติดอาวุธหรือการใช้เด็กในช่วงเวลาสงคราม ตามกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ และกฎหมายสิทธิมนุษยชนห้ามกองทัพหรือกองกำลังติดอาวุธ เกณฑ์บุคคลท่ีมีอายุต่ำกว่า 15 ปีเข้าร่วมรบหรือใช้แรงงานไม่ว่าเพ่ือการใดในช่วงเวลาสงคราม ซงึ่ กฎหมายที่เพงิ่ ตราขึน้ ใหมไ่ ดก้ ำหนดให้อายุขัน้ ตำ่ คือ 18 ปี วตั ถุประสงค์ • เพื่อตระหนักถึงขอบเขตการเกณฑ์ และการใช้เด็กทั้งชายและหญิงในช่วงเวลาสงคราม และผลท่เี กดิ ขึ้น • เพ่ือเข้าใจถึงความจำเป็นของการจำกัดอายุข้ันต่ำในการเกณฑ์เด็กเป็นทหารและการใช้เด็กในระหวา่ งสงคราม • เพื่อให้รู้ว่าท้ังกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศและกฎหมายสิทธิมนุษยชน ห้ามการเกณฑ์เด็กเป็นทหารและใช้เด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ในช่วงเวลาสงคราม และหลายประเทศยอมรับกฎหมายใหม่ทกี่ ำหนดอายขุ น้ั ตำ่ เปน็ 18 ปี สาระ/เนอ้ื หา 1. กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ ว่าด้วยการเกณฑ์เด็กมาเป็นทหารในกองทัพ หรือกองกำลังติดอาวธุ 2. เร่อื งเลา่ ของทหารเด็ก 3. อนสุ ัญญาว่าดว้ ยสิทธิเดก็ การเตรยี มการจัดกจิ กรรม ทบทวนคูม่ ือการเตรยี มการจดั กิจกรรมของครผู สู้ อน EHL วิธีท่ี 1 การอภิปราย วธิ ีที่ 2 การระดม ความคิดเห็น วิธีที่ 6 การใช้เรือ่ งราว รูปภาพ และวีดิทัศน์ วธิ ีท่ี 9 การแบง่ กล่มุ ยอ่ ย วธิ ที ี่ 10 การรวบรวมเรื่องและขา่ วสาร ระยะเวลา 3 ชว่ ง ๆ ละ 45 นาทีEHL Exploring Humanitarian Law 67 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme
กิจกรรมเสนอแนะ ชว่ งที่ 1 • ครูผู้สอนและสมาชิกยุวกาชาดร่วมกันอภิปรายทบทวนเก่ียวกับหลักพื้นฐานของกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศท่ีเรียนรู้แล้วว่ามีอะไรบ้าง และหลักพ้ืนฐานฯ ที่ว่าด้วยการคุ้มครองเพิ่มเติมในข้อแรก คอื อะไร • ครผู ู้สอนแจ้งเนอื้ หาการเรียนของชั่วโมงนี้ เด็กคอื (...) มคี วามสำคัญเสมอ ไม่วา่ จะมาจาก 1. เด็กและความต้องการของเด็ก เชอ้ื ชาติหรอื ศาสนาใดก็ตาม การคุ้มครองเด็ก 2. อายขุ น้ั ต่ำของทหาร เป็นหนา้ ที่ เด็กและความต้องการของเดก็ - Dr. Adnan Houbballah, “Le virus de la violence”, 1996 • ครเู ริม่ ต้นสนทนาเรอื่ งเดก็ และความตอ้ งการเฉพาะเจาะจงของเด็ก โดยใช้คำถามดังต่อไปน้ี - เด็กคอื อะไร (วยั รุ่น, ผใู้ หญ่คอื อะไร) หมายเหตุ : ในหลกั สูตร EHL “ทหารเด็ก” หมายถึง - อายเุ ทา่ ใดจึงจะพน้ สภาพคำว่าเด็ก เด็กซ่ึงถูกเกณฑ์หรือถูกใช้โดยกองทัพหรือโดย - เด็กมคี วามตอ้ งการอะไรบา้ ง กลมุ่ ตดิ อาวธุ ใหท้ ำหนา้ ทใ่ี ด ๆ กต็ าม รวมถงึ เดก็ ทถ่ี กู - ถ้าเด็กไม่ได้ส่งิ ที่ต้องการจะเกิดอะไรข้ึนบา้ ง ใชใ้ หท้ ำหนา้ ทต่ี อ่ สู้ ทำอาหาร แบกหาม สง่ ขา่ วสาร อายขุ นั้ ต่ำของทหาร เปน็ สายลบั หรอื เพอ่ื วตั ถปุ ระสงคท์ างเพศ มไิ ดห้ มาย ความถึงเฉพาะเด็กท่มี ีส่วนร่วมในการส้รู บโดยตรง เท่าน้ัน • ให้สมาชิกยุวกาชาดดูรูปภาพทหารเด็กจากนานาประเทศท่ัวโลก และอภิปรายร่วมกันทีละภาพโดยครูผู้สอนใช้คำถามว่า - คิดอย่างไรกับรปู ภาพ - คิดว่าเดก็ ในรูปภาพอายุเทา่ ใด • แบ่งสมาชิกยวุ กาชาดออกเปน็ 2 กลุ่ม โดยให้แต่ละกลมุ่ ระดมความคดิ เหน็ รว่ มกนั ในหัวขอ้ 1. ควรมีการจำกัดอายุข้ันต่ำของผู้ที่ถูกเกณฑ์ไปสู้รบ หรือทำงานในกองทัพหรือกองกำลังติดอาวุธหรือไม่ 2. ควรจำกดั อายุขนั้ ต่ำของผูท้ ี่ถกู เกณฑ์ไปส้รู บทอี่ ายุเทา่ ไร เพราะอะไร • ให้สมาชิกยวุ กาชาดแต่ละกลุม่ ส่งตวั แทนนำเสนอหน้าช้นั • ครูผู้สอนนำเสนอแผนภูมิอายุขั้นต่ำในการเกณฑ์ทหารควรเป็นเท่าใด เพื่อให้ทราบข้อมูลเกีย่ วกับอายขุ ั้นตำ่ ในการเกณฑ์เดก็ มาเป็นทหาร • ครูผู้สอนสรุปด้วยการถามความคิดเห็นว่า ควรมีกฎหรือกติกาในการจำกัดอายุขั้นต่ำในการเกณฑ์ทหารหรอื ไม่68 EHLค่มู อื การจดั กจิ กรรมยวุ กาชาด เรื่อง การเรียนรู้กฎหมายมนุษยธรรมรเะพหวือ่ า่ เงยปารวะเชทนศ
ชว่ งท่ี 2 • ครูผู้สอนและสมาชิกยุวกาชาดร่วมกันอภิปรายบทเรียนท่ีแล้ว เก่ียวกับความหมายของเด็กและการกำหนดอายุขัน้ ตำ่ ในการเกณฑ์เด็กเข้ามาเป็นทหาร • ครูผูส้ อนแจง้ เนอ้ื หาในการเรยี นของช่ัวโมงนี้ 1. กฎหมายระหว่างประเทศบอกอะไรบา้ ง 2. ทำไมเด็กจงึ กลายมาเปน็ ทหาร กฎหมายระหว่างประเทศ บอกอะไรบา้ ง • ครูผู้สอนซักถามสมาชิกยุวกาชาดว่า เด็กที่ถูกเกณฑ์เข้ามาในกองกำลัง จะถูกใช้ในงานใดบ้าง(เชน่ ส้รู บ ทำครัว แบกสัมภาระ สง่ ขา่ ว เปน็ สายลับ หรอื ใหบ้ ริการทางเพศ เป็นต้น) • ครูผู้สอนให้สมาชิกยุวกาชาดระดมความคิดว่ากฎหมายบังคับใช้อย่างไรในเร่ืองทหารเด็กโดยศึกษาใบความรู้ เร่ือง กฎหมายระหว่างประเทศบอกอะไรบ้าง ทำไมเด็กจึงกลายมาเป็นทหาร • แบ่งสมาชิกยุวกาชาดออกเป็น 4 กลุ่ม โดยให้แต่ละกลุ่มระดมความคิดเห็นร่วมกัน กลุ่มละ1 หวั ขอ้ ดังนี้ 1. รัฐบาลและกองกำลังติดอาวุธ ควรปฏิบัติอย่างไรท่ีจะทำให้มีการเคารพกฎหมายว่าด้วยเรือ่ งเดก็ 2. สมาชิกยุวกาชาดคิดว่าการเคารพกฎหมายและการทำให้เกิดความเคารพกฎหมายในเรื่องเด็กเปน็ เรอ่ื งยากเปน็ พิเศษ เพราะเหตุใด 3. ทำไมกองทัพหรอื กองกำลงั ติดอาวธุ ตา่ ง ๆ จงึ ตอ้ งการใช้เด็กในการสู้รบ เชน่ - เดก็ ไม่ตั้งคำถามแตจ่ ะทำตามคำสง่ั - เดก็ ควบคมุ ได้งา่ ย - เด็กสามารถถกู ใช้เป็นผเู้ สยี สละเพือ่ เพอื่ นมนษุ ย์ - ตอ้ งการกำลังคนมาสู้รบ - เด็กไม่ตระหนกั ถงึ ความเส่ียง 4. ทำไมเดก็ จงึ เขา้ รว่ มในการสรู้ บ ซงึ่ อาจแยกได้ 2 ประเดน็ คอื โดยการสมคั รใจ หรอื ถกู บงั คบั เชน่ - อยากแกแ้ ค้น โกรธ - ตวั คนเดียว ไมม่ คี รอบครัว - ปกป้องตนเอง - ความยากจน ต้องด้นิ รนเอาตัวรอด - สงั คมนิยมชมชอบการทำสงคราม ชื่นชมวรี บรุ ุษ ผพู้ ลชี พี เพ่ืออุดมคติ - ถูกกดดนั EHL Exploring Humanitarian Law 69 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme
• แตล่ ะกลุ่มส่งตัวแทนนำเสนอหน้าชนั้ • ครูผู้สอนและสมาชิกยุวกาชาดร่วมกันสรุปว่ากฎหมายระหว่างประเทศบอกอะไรบ้าง และ ทำไมเด็กจงึ กลายมาเปน็ ทหาร แล้วบนั ทึกในสมุดของตนเอง [หนุ่มสาวกว่า 2 ล้านคน โดยประมาณ เขา้ รว่ มในสงครามโลกครง้ั ทสี่ องดว้ ยการเปน็ ทหาร การสูญเสียกำลงั คนอย่างมากมายทำใหเ้ ดก็ ชายชาวเยอรมันต้องกลายมาเป็นทหาร] ในปี 1944 เมอื่ กองทัพเยอรมนั ตอ้ งถอยทพั เม่อื เผชญิ หน้ากับทัพพันธมิตรทร่ี ุกเข้ามา ในฐานะ ของผู้นำเยาวชนภายใต้การนำของ ฮิตเลอร์ ผมถูกสั่งให้ไปดูแลหน่วยรบหลายหน่วยซึ่ง ประกอบด้วยเยาวชนจำนวน 600-800 คน ผมจะต้องไปทำหนา้ ทแี่ ทนทหารผ่านศกึ ยุคสงคราม โลกครั้งท่ี 1 ท่ีถกู ย้ายไปชว่ ยจัดต้ังกองกำลงั ที่ล่มุ น้ำไรน์ ผมตอบกลบั ไปวา่ “มันเปน็ ไปไมไ่ ด้ หรอก ผมยงั อายไุ มถ่ งึ 17 ปดี ว้ ยซำ้ ” - ทหารเด็กชาวเยอรมันคนหนงึ่ ช่วงที่ 3 • ครูผู้สอนและสมาชิกยุวกาชาดร่วมกันอภิปรายเน้ือหาบทเรียนท่ีแล้ว เก่ียวกับเหตุผลในการที่เด็ก เข้ามาเปน็ ทหาร • ครผู ู้สอนแจง้ เน้ือหาในการเรียนของชว่ั โมงนี้ ไดแ้ ก่ 1. ผลสืบเนอ่ื งจากการใช้ทหารเด็ก 2. การใชท้ หารเดก็ ในทวั่ โลก ผลสืบเน่อื งจากการใชท้ หารเด็ก • ให้สมาชิกยุวกาชาดชมวีดิทัศน์เรื่อง ฉันไม่อยากกลับไปอีกแล้ว สุ่มถามสมาชิกยุวกาชาด ว่ามีความคดิ และรูส้ กึ อยา่ งไรจากการชมวดี ิทศั น์ • แบ่งกลุ่มสมาชิกยุวกาชาดออกเป็น 7 กลุ่ม แจกบทพูดในวีดิทัศน์ พร้อมแจกใบงานการชม วีดทิ ัศน์ เรื่องฉนั ไม่อยากกลับไปอีกแลว้ • ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ นำเสนอผลจากการระดมสมองในใบงานจากการชมวีดิทัศน์เรื่อง ฉันไม่อยาก กลับไปอกี แล้ว และเปิดโอกาสให้มีการแลกเปลีย่ นความคดิ เหน็ ตามประเดน็ คำถามในใบงาน • ครผู ูส้ อนและสมาชกิ ยุวกาชาดรว่ มกนั สนทนาในประเดน็ ดังนี้ 1. สมาชกิ ยุวกาชาดไดเ้ รยี นรูอ้ ะไรบา้ งจากสภาพของทหารเด็กในช่วงเวลาสงคราม 2. ทำไมทหารเดก็ จงึ มักมพี ฤตกิ รรมแตกตา่ งจากทหารทีเ่ ป็นผูใ้ หญต่ ามความเหน็ ของผูบ้ ัญชาการ การใชท้ หารเด็กในทว่ั โลก • ใหส้ มาชกิ ยวุ กาชาดร่วมกันอภปิ รายวา่ มีการใชท้ หารเดก็ ในประเทศใดบา้ ง • นำเสนอแผนท่ที หารเดก็ ท่วั โลก • จากแผนที่ดังกล่าว สมาชิกยุวกาชาดมีความคิดเห็นอย่างไร เกี่ยวกับการใช้ทหารเด็กใน ภูมภิ าคต่าง ๆ ทวั่ โลก70 EHLคมู่ ือการจัดกจิ กรรมยุวกาชาด เรื่อง การเรยี นรูก้ ฎหมายมนุษยธรรมรเะพหวื่อ่าเงยปารวะเชทนศ
มีเด็กที่สมัครใจเข้าร่วมรบ แต่ผมคิดว่าคนควรจะต้องคิดให้รอบคอบถึงจะเข้าใจว่าไม่มีการเข้าร่วมรบโดยสมัครใจหรอก ไม่มีเด็กคนไหนยินดีเข้าร่วมรบหากไม่จำเป็น หรือโดยปราศจากความกลัวที่อาจตกเป็นเหยื่อและโดยไม่ห่วงความปลอดภัยของชีวิต แต่หากเป็นเด็กท่ีไม่มีพ่อแม่คอยให้การคุ้มครอง คนท่ีกลัวว่าจะอดตายด้วยความหิวโหย หรือคนท่ีไม่ได้รับการดแู ลทด่ี ี อาจจะหันไปหาอะไรทางทหารทำก็ได้ - ดร. ไมค์ เวสเซลล์ ศาสตราจารยส์ าขาจิตวทิ ยา และผู้เขียนเร่อื ง ทหารเด็ก : จากความรนุ แรงสู่การคุ้มครอง • ครูผู้สอนและสมาชิกยุวกาชาดอภิปรายสรุปร่วมกัน ในแนวคิดที่ว่าเด็กต้องได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศและกฎหมายสทิ ธมิ นษุ ยชน • ครูแจกใบความรู้เรื่องเลา่ ของทหารเดก็ ให้สมาชกิ ยวุ กาชาดศกึ ษาเป็นขอ้ มลู เพม่ิ เติม สอ่ื การจดั กิจกรรมและแหล่งเรียนรู้ 1. เอกสาร ใบงาน สำหรับครผู ูสอน สำหรับสมาชิกยุวกาชาด• เอกสารศกึ ษาเพ่ิมเติมเรอื่ ง ทหารเด็กและ ช่วงท่ี 1 กฎหมายมนษุ ยธรรมระหว่างประเทศ • รปู ภาพทหารเด็ก • แผนภมู ิ เรอื่ งอายุขั้นตำ่ ในการเกณฑท์ หารควรเปน็ เทา่ ใด ช่วงท่ี 2• เอกสารศึกษาเพิม่ เติมอนุสญั ญาว่าดว้ ย • ใบความรู้ เรอ่ื งกฎหมายระหวา่ งประเทศบอกอะไรบา้ ง สิทธเิ ด็ก ชว่ งท่ี 3 • วดี ิทศั น์และบทวีดิทศั น์ เรื่องฉันไมอ่ ยากกลับไปอกี แล้ว • ใบงานจากการชมวดี ทิ ัศน์ เรือ่ งฉนั ไม่อยากกลับไปอีกแล้ว • แผนท่ีทหารเด็กทั่วโลก • ใบความรู้ เรอ่ื งเลา่ ของทหารเดก็ 2. ขอ้ มลู จาก www.icrc.org 3. ใหค้ รูหาข้อมูลเพิ่มเติมในสว่ นของ • สทิ ธมิ นษุ ยชน • พรบ. คุ้มครองเด็ก ฯลฯ การประเมนิ ผล 1. สังเกตพฤตกิ รรมการเรียนของสมาชกิ ยุวกาชาด 2. สังเกตการตอบขอ้ ซักถาม 3. สังเกตกระบวนการทำงานกลมุ่ 4. ตรวจใบงานEHL Exploring Humanitarian Law 71 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme
เอกสารศกึ ษาเพิม่ เติม สำหรบั ครูผสู้ อน ทหารเด็กและกฎหมายมนุษยธรรมระหวา่ งประเทศ ท้ังกฎหมายสิทธิมนุษยชนและกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ ต่างให้การคุ้มครองเด็กท่ีได้รับผลกระทบจากการสู้รบ ในขณะที่การคุ้มครองภายใต้กฎหมายสิทธิมนุษยชนอยู่ในกฎเกณฑ์โดยท่ัวไปของสิทธิพื้นฐานของเด็ก ในกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศเป็นเรื่องความต้องการอันเฉพาะเจาะจงของเด็กในภาวะทีม่ ีการส้รู บ กฎหมายท้ังสองฉบับประกอบด้วยกฎเกณฑ์เกี่ยวกับการเข้าร่วมสู้รบของเด็ก ในฐานะที่เป็นทหารเด็ก ความเก่ียวข้องน้ีมีต้ังแต่ช่วยทหารที่สู้รบ (แบกอาวุธ ลาดตระเวน ส่งข่าวสาร เป็นต้น) ไปจนถึงร่วมสรู้ บ ในพิธีสารเพ่ิมเติมอนุสัญญาเจนีวาทั้งสองฉบับ (พิธีสารเพิ่มเติม ฉบับที่ 1 และพิธีสารเพิ่มเติมฉบับท่ี 2) ปีค.ศ. 1977 เป็นสนธิสัญญาระหว่างประเทศฉบับแรก ที่กล่าวถึงเรื่องเหล่าน้ี ในพิธีสารเพิ่มเติมฉบับที่ 1 ซ่ึงเป็นกฎเกณฑ์สำหรับการสู้รบระหว่างประเทศ ได้กำหนดให้รัฐบาลใช้มาตรการทุกวิถีทางเพื่อป้องกันมิให้เด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี เข้าร่วมในการสู้รบโดยตรง โดยได้ห้ามไว้อย่างชัดเจนเก่ียวกับการเกณฑ์ทหารของกองทัพ และส่งเสริมรัฐบาลให้เลือกเด็กที่อายุมากกว่า ในการเกณฑ์ทหารของเด็กอายุระหว่าง 15-18 ปี เข้าร่วมในกองทัพ ในพิธีสารเพ่ิมเติมฉบับที่ 2 ซ่ึงเป็นกฎเกณฑ์สำหรับการสู้รบท่ีมิใช่ระหว่างประเทศ ได้มีบทบัญญัติท่ีนอกเหนือออกไป โดยไม่เพียงแต่ห้ามการเกณฑ์เด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีเท่าน้นั แต่รวมถึงหา้ มเดก็ ดงั กล่าวเข้าร่วมในการสู้รบดว้ ย ต่อมา กฎหมายสิทธิมนุษยชนได้กล่าวถึงเรื่องน้ีในอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กแห่งสหประชาชาติปคี .ศ. 1989 (UN Convention on the Rights of the Child (CRC) ซึง่ กำหนดให้อายุ 15 ปี เป็นเกณฑ์ขั้นต่ำด้วย อันที่จริงกฎหมายนี้ได้สะท้อนถึงกฎเกณฑ์ของกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ ซึ่งใช้ในการสู้รบระหว่างประเทศ ดังน้ัน อนุสัญญาฯ น้ีส่งเสริมให้รัฐบาลใช้มาตรการทุกวิถีทางเพื่อป้องกันเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี มีส่วนร่วมโดยตรงในการสู้รบ และห้ามการเกณฑ์เด็กเหล่าน้ีด้วย เช่นเดียวกับพิธีสารเพิ่มเติม ฉบับท่ี 1 อนุสัญญาฯ น้ียังได้กระตุ้นให้รัฐบาลเกณฑ์เด็กท่ีมีอายุมากกว่าก่อน เมื่อต้องเลือกระหว่างเด็กอายุ 15-18 ปี ในช่วงแรก ๆ น้ัน บทบัญญัติเหล่าน้ีใน CRC ถูกวิจารณ์อย่างมาก สิ่งหน่ึงก็คือเป็นบทบัญญัติเพียงส่วนเดียวของ CRC ท่ีทำให้คำจำกัดความของ “เด็ก” ว่าเป็นใครก็ได้ที่อายุต่ำกว่า18 ปี มีความแตกต่างออกไป ทั้งท่ีโดยความจริงแล้วเป็นบทบัญญัติที่เข้าไปเก่ียวข้องกับสถานการณ์ที่อันตรายที่สุดที่เด็กสามารถถูกชักนำเข้าไปร่วม นั่นคือการสู้รบ นอกจากนี้ บทบัญญัติส่วนนี้ไม่ได้เพิ่มอะไรใหม่ ๆ แม้แต่สิ่งท่ีอาจหันเหความสนใจจากส่ิงที่มีความเป็นมาตรฐานมากกว่าในพิธีสารเพิ่มเติมฉบบั ท่ี 2 ซงึ่ มีขอ้ หา้ มท่ีสมบรณู แ์ ละครบถว้ นสำหรับการสู้รบท่ไี มใ่ ชร่ ะหวา่ งประเทศ 72 EHLคูม่ ือการจัดกจิ กรรมยวุ กาชาด เรื่อง การเรยี นรกู้ ฎหมายมนษุ ยธรรมรเะพหวื่อ่าเงยปารวะเชทนศ
อันเนื่องจากการวิจารณ์ และการพยายามสร้างจิตสำนึกของประชาคมโลกให้มีความห่วงใยต่อสภาพของเด็กท่ีได้รับผลกระทบจากการสู้รบ ทำให้ความคิดเก่ียวกับการกำหนดอายุข้ันต่ำในการเกณฑ์ทหารและการเข้าร่วมสู้รบของเด็กเป็น 18 ปี ได้รับการรับรอง หลังจากที่ CRC มีผลบังคับใช้เพียง 2-3 ปีเทา่ น้ัน หลังจากดำเนนิ ความพยายามระหว่างประเทศมานานกว่า 10 ปี พิธีสารทางเลอื กของอนสุ ัญญาวา่ด้วยสิทธิเด็กในส่วนที่เกี่ยวกับเด็กในการสู้รบจึงมีผลบังคับใช้ในปี ค.ศ. 2002 ภายใต้พิธีสารทางเลือกรัฐบาลต้องหามาตรการที่เป็นไปได้เพื่อให้แน่ใจว่าทหารในกองทัพของตนที่อายุต่ำกว่า 18 ปี จะไม่เข้าไปร่วมสู้รบโดยตรง พิธีสารทางเลือกยังได้กำหนดอายุต่ำสุดสำหรับใช้บังคับการเกณฑ์ทหารของกองทัพเป็น18 ปี และให้รัฐบาลเพ่ิมเกณฑ์อายุต่ำสุดสำหรับการเข้าร่วมโดยอาสาสมัครของเด็กจากอายุ 15 ปี ข้ึนไปด้วยนอกจากน้ี ภายใต้พิธีสารทางเลือก กลุ่มติดอาวุธที่ไม่ใช่ประเทศ ไม่ควรเกณฑ์หรือใช้บุคคลที่อายุต่ำกว่า18 ปใี นการสรู้ บ ไม่วา่ ในสภาวะใดกต็ าม เรื่องการจำกัดอายุสำหรับการเข้าร่วมสู้รบจาก 15 เป็น 18 ปี ทำให้การคุ้มครองของกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศมีความเข้มข้นมากขึ้น และเป็นการสนับสนุนแรงปรารถนาของประชาคมโลกในการปกปอ้ งเดก็ ทุกคนจากความน่าสะพรึงกลัวของการสูร้ บ และมุ่งป้องกันมิให้พวกเขามีส่วนรว่ มรบEHL Exploring Humanitarian Law 73 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme
เอกสารศึกษาเพ่มิ เติม สำหรับครูผสู้ อน เรอ่ื ง อนสุ ัญญาว่าด้วยสทิ ธิเด็ก(Convention on the Rights of the Child) คำว่า “เด็ก” ตามความหมายในอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก หมายถึง มนุษย์ทุกคนท่ีมีอายุต่ำกว่า18 ปี เว้นแตจ่ ะบรรลุนติ ภิ าวะก่อนหนา้ นัน้ ตามกฎหมายท่ีใช้บงั คบั คณะกรรมการด้านสิทธิมนุษยชนขององค์การสหประชาชาติ ได้ประกาศอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2533 สำหรับประเทศไทยได้มีการลงนามรับสัญญานี้เมื่อวันท่ี 12 กุมภาพันธ์2535 และมผี ลบังคับใช้เมอ่ื วันที่ 26 เมษายน 2535 สาระสำคัญของอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กมีท้ังสิ้น 54 ข้อ เป็นสาระสำคัญเกี่ยวกับสิทธิข้ันพื้นฐานของเด็ก 4 ประการ ใน 40 ข้อ นอกเหนือจากน้ันเป็นกระบวนการที่ทำให้เกิดการดำเนินการตามพันธกรณีท่รี ะบไุ วใ้ นอนสุ ญั ญาสทิ ธิขั้นพ้นื ฐานของเด็ก 4 ประการ มีดงั น้ี 1. สิทธทิ ่จี ะมีชีวติ (Right to life) 2. สทิ ธทิ จ่ี ะได้รบั การปกปอ้ ง (Right to be protected) 3. สิทธิท่ีจะได้รบั การพัฒนา (Right to be developed) 4. สทิ ธิที่จะมีส่วนร่วม (Right to participate) ตามอนุสัญญาน้ี ยืนยันถึงความศรัทธาต่อสิทธิมนุษยชนขั้นพ้ืนฐาน ตลอดจนศักดิ์ศรีและคุณค่าของมนุษย์ เน้นที่จะให้เด็กได้รับการดูแลและช่วยเหลือเป็นพิเศษ โดยได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายท่ีเหมาะสมทั้งก่อนเกิดและหลังการเกิด ให้เด็กได้พัฒนา เติบโต ตลอดจนได้รับการเล้ียงดูตามเจตนารมณ์แหง่ สันตภิ าพ ศักดศ์ิ รี เสรภี าพ ความเสมอภาค ความเปน็ เอกภาพ รวมถึงการคมุ้ ครองสวัสดิภาพเด็ก กรณีการพิพาทกนั ดว้ ยอาวธุ สำหรับเอกสารนี้เสนอข้อมูลของอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ในหัวข้อท่ีเกี่ยวข้องกับกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ เพ่ือเป็นความรู้เพิ่มเติมสำหรับผู้สนใจศึกษาให้ได้รับความรู้ ความเข้าใจเรอื่ งน้ีมากย่ิงข้นึ จึงขอเสนอหัวขอ้ ทสี่ ำคัญดงั ตอ่ ไปนี้74 EHLคู่มือการจัดกจิ กรรมยวุ กาชาด เรือ่ ง การเรยี นรกู้ ฎหมายมนษุ ยธรรมรเะพหวอ่ื า่ เงยปารวะเชทนศ
ข้อ 2 ให้เคารพและประกันสิทธิแก่เด็ก โดยไม่คำนึงถึงเชื้อชาติ สีผิว เพศ ภาษา ศาสนา และความคิดเห็นทางการเมือง ข้อ 6 เด็กทุกคนมีสิทธิท่ีจะมีชีวิต และประกันอย่างเต็มที่เท่าที่จะทำได้ ให้มีการอยู่รอด เพิ่มการพัฒนาของเดก็ ขอ้ 15 สทิ ธิของเด็ก ย่อมมเี สรภี าพในการสมาคม และเสรีภาพในการชมุ นมุ อยา่ งสงบ ขอ้ 19 ให้การคุ้มครองเด็กจากความรุนแรงทั้งปวง ท้ังทางร่างกายและจิตใจ รวมทั้งการกระทำอันมิชอบทางเพศขณะอย่ใู นการดแู ลของบิดามารดา ผปู้ กครอง หรอื บุคคลอนื่ ข้อ 22 เด็กท่ีร้องขอสถานะเป็นผู้ล้ีภัย หรือได้รับการพิจารณาเป็นผู้ลี้ภัยตามกฎหมาย จะได้รับการคุ้มครองช่วยเหลือทางมนุษยธรรมที่เหมาะสมในการได้รับสิทธิท่ีมีอยู่ตามอนุสัญญาน้ี รวมถึงตราสารระหว่างประเทศอืน่ ๆ อันเกี่ยวกับสทิ ธิมนษุ ยชนหรือมนษุ ยธรรม ให้ความร่วมมือในการติดตามหาบิดามารดาหรือสมาชิกของครอบครัวเด็กผู้ลี้ภัย เพื่อให้ได้รับข้อมูลข่าวสารท่ีจำเป็นสำหรับการกลับไปอยู่ร่วมกันเป็นครอบครัวอีกครั้งหน่ึง ในกรณีท่ีไม่พบครอบครัวเด็กนน้ั จะได้รับการคุ้มครองเชน่ เดียวกับเด็กทถี่ ูกพรากจากสภาพครอบครวั ข้อ 34 การค้มุ ครองเด็กจากการแสวงประโยชนท์ างเพศ และการกระทำทางเพศที่มชิ อบทุกรูปแบบ ข้อ 37 จะไม่มีเด็กคนใดได้รับการทรมานหรือถูกลงโทษที่โหดร้าย จะไม่มีการลงโทษประหารชีวิตหรือจำคกุ ตลอดชีวิต สำหรบั ความผิดทกี่ ระทำโดยบุคคลทม่ี อี ายตุ ่ำกวา่ 18 ปี ข้อ 38 1. การเคารพและประกันให้มีความเคารพต่อกฎเกณฑ์แห่งกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ ท่เี ก่ียวขอ้ งกับเด็กในกรณที ่ีมกี ารพพิ าทดว้ ยอาวธุ 2. ประกนั วา่ บุคคลทมี่ อี ายไุ มถ่ ึง 15 ปี จะไม่มสี ว่ นรว่ มโดยตรงในการกระทำอนั เป็นปฏิปักษ์ตอ่ กนั 3. หลีกเลี่ยงการเกณฑ์บุคคลใด ๆ ท่ีมีอายุไม่ถึง 15 ปี เข้าประจำกองทัพ ในการเกณฑ์บุคคลท่ี มอี ายุถงึ 15 ปี แตไ่ มเ่ กิน 18 ปี ให้เกณฑบ์ คุ คลท่ีมอี ายุมากที่สดุ กอ่ น 4. ตามพันธกรณีภายใต้กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ ในการคุ้มครองพลเรือนจากการ พิพาทดว้ ยอาวธุ น้นั ใหป้ ระกนั การคุ้มครองและดแู ลเด็กท่ไี ด้รบั ผลกระทบจากการพิพาทกนั ดว้ ยอาวธุ EHL Exploring Humanitarian Law 75 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme
รูปภาพ... ชว่ งท่ี 1 สำหรับสมาชกิ ยุวกาชาดทหารเดก็ 1C ทหารเดก็ , ประเทศเยเมน 1999. Giacomo Pirozzi/Panos Pictures. 2C ทหารเดก็ มูจาฮดี ดนี , ประเทศอฟั กานสิ ถาน, 1990. Didier Bregnard/ICRC. 3C. ทหารวัยรนุ่ ชาวคะเรนนีมงุ่ หนา้ ส่แู นวรบ, ประเทศเมียนมาร์, 1999. Dean Chapman/Pictures. 4C. ทหารเดก็ , ประเทศกัมพชู า, 1997. Ou Neakiry/AP76 EHLค่มู อื การจดั กิจกรรมยวุ กาชาด เรือ่ ง การเรยี นรูก้ ฎหมายมนุษยธรรมรเะพหวอื่ า่ เงยปารวะเชทนศ
รูปภาพ... ชว่ งที่ 1 สำหรับสมาชิกยุวกาชาดทหารเด็ก5C. จามี วยั 14 ปี เล่นกับนกแกว้ ระหวา่ งพกั รบ, ประเทศโคลอมเบีย, 1999. Ricardo Mazalan/AP.6C. ทหารเด็กของกลุ่มกบฏชาวแซร์, เมอื งโกมา, สาธารณรฐั แซร์, (ปัจจุบนั คอื คองโก), 1997. Remy de La maunicpe/AP.7C. สมาชกิ วยั 12 ของแนวรว่ มรฐั บาล คามาจอร์ (กองกำลังป้องกนั ฝา่ ยพลเรือน), ประเทศเซยี ร ์ ราลโี อน, 1998. Giacomo Pirozzi/Panos Pictures.EHL Exploring Humanitarian Law 77 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme
ใบความร.ู้ .. ชว่ งท่ี 1 ... ช่วงท สำหรับสมาชกิ ยุวกาชาด แผนภมู ิเร่ืองอายุข้นั ต่ำในการเกณฑท์ หารควรเปน็ เทา่ ใด ในปี ค.ศ. 1998-1999 คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ ได้สำรวจเรื่อง “ประชาชนใน สงคราม” (People on War) ใน 16 ประเทศ (ซ่ึง 12 จาก 16 ประเทศเคยประสบกบั ภาวะสงครามเมื่อไม่ นานมานี้) แผนภมู ดิ ้านบนแสดงใหเ้ หน็ มุมมองผตู้ อบแบบสำรวจ78 EHLคู่มือการจดั กิจกรรมยวุ กาชาด เร่อื ง การเรยี นรูก้ ฎหมายมนุษยธรรมรเะพหว่อื า่ เงยปารวะเชทนศ
ใบความร.ู้ .. ชว่ งท่ี 2 สำหรบั สมาชิกยุวกาชาด กฎหมายระหว่างประเทศบอกอะไรบา้ ง กฎหมายสิทธิมนุษยชนได้จำกัดความคำว่า “เด็ก” ว่าเป็นผู้ท่ีมีอายุน้อยกว่า 18 ปี เว้นไว้แต่ว่ากฎหมายกำหนดการบรรลนุ ติ ภิ าวะไวท้ ่อี ายตุ ่ำกวา่ น้ี ทั้งกฎหมายสิทธิมนุษยชนและกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ ต่างกล่าวถึงเร่ืองของเด็กที่เกีย่ วข้องกบั การสู้รบ กฎหมายสิทธิมนษุ ยชนหมายความรวมถงึ การคุ้มครองทเี่ กยี่ วข้องกบั สิทธพิ ้นื ฐานโดยท่ัวไปของเด็ก ในขณะที่กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศกำหนดกฎเกณฑ์พิเศษท่ีใช้กับเด็กท่ีตกอยู่ในภาวะการสู้รบด้วย เช่นเดียวกับในส่วนอ่ืน ๆ ของกฎหมาย กฎหมายทั้งสองฉบับมีการบังคับใช้และมสี ว่ นส่งเสริมซ่งึ กันและกัน กฎเกณฑ์ที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางท่ีสุดกำหนดให้รัฐบาลและกลุ่มติดอาวุธต้องไม่ให้เด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี เข้าร่วมรบ ทั้งนี้หมายความรวมถึงเด็กจะไม่ถูกเกณฑ์ใหเ้ ข้าร่วมในกองทัพ หรือกลุ่มติดอาวุธ จนกว่าจะมีอายุอย่างน้อย 15 ปี นอกจากนี้ เมอื่ มกี ารเกณฑ์เดก็ อายุระหวา่ ง 15-18 ปี เป็นทหารรฐั บาลต้องเลอื กเดก็ ทอี่ ายมุ ากกวา่ ก่อน บางรัฐบาล ได้ก้าวไปอีกข้ันโดยจะไม่ให้เด็กอายุต่ำกว่า 18 ปี ถูกเกณฑ์ หรือถูกนำไปใช้โดยกองกำลังทหาร หรือกล่มุ ใด ๆ ไม่วา่ จะเพื่อวัตถุประสงค์ใดกต็ าม แหลง่ ข้อมลู : จากมาตรา 77 ของพิธสี ารเพมิ่ เติม ฉบับที่ 1 ของอนุสญั ญาเจนวี า มาตรา 4 ของพธิ ีสาร เพิ่มเติม ฉบับที่ 2 ของอนสุ ญั ญาเจนวี า มาตรา 38 ของอนุสญั ญาว่าดว้ ยสิทธเิ ดก็ และมาตรา 3 และ 4 ของพธิ สี ารเลือกรบั อนสุ ัญญาวา่ ดว้ ยสทิ ธิเด็กEHL Exploring Humanitarian Law 79 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme
บทวดี ิทัศน์... ช่วงที่ 3 สำหรับสมาชิกยวุ กาชาด เร่ือง “ฉันไม่อยากกลบั ไปอีกแลว้ ” ปัจจุบันมีเด็กกว่าสองแสนห้าหม่ืนคนมีส่วนในการสู้รบท่ัวทุกมุมโลก เด็กชายและหญิงเหล่านี้บางคนมีอายุแค่ 7 ปี สู้รบเคียงบ่าเคียงไหล่กับผู้ใหญ่ท้ังในกองทัพ กลุ่มกบฏฝ่ายตรงข้ามกับรัฐ และก ลมุ่ กองโจร คอมฟอร์ด รัสเซล อดีตทหารเด็ก พวกมันฆ่าน้องชายฉัน ย่า และน้องสาวฉัน น่ันทำให้ฉันต้องทำในส่ิงท่ีไม่ควรทำ มันอาจจะเกิดข้ึนกับคุณก็ได้ ถ้ามีคนมาบอกคุณว่า “มันฆ่าพ่อฆ่าแม่แกนะ”คุณก็ต้องอยากจะล้างแค้นเพื่อจะได้แม่ของคุณคืนมา แต่มันก็เป็นไปไม่ได้หรอก ฉันรักย่ามาก ย่าเป็นคนคอยดูแลฉันกับน้องชาย ฉันก็เลยทำมันลงไปแต่ฉันไม่ได้ตั้งใจจะทำในสิ่งที่ไม่ควรทำหรอกนะ ฉันอยากปลดปล่อยตัวเองอยากล้างบาปให้จิตใจปลอดโปรง่ ฉนั อยากมีลูกเลก็ ๆ ฉันจะไมม่ วี นั ทำในสิ่งที่ไมค่ วรทำอกี แล้ว ไม่อีกแล้ว อับราฮมั อบั ราฮัม : ผมมฉี ายาวา่ ฮติ เลอร์ คิลเลอร์ แตช่ ่อื จรงิ ๆ ของผมคือ อับราฮัม ผูส้ มั ภาษณ์ : ทำไมเธอถึงชอื่ ฮิตเลอร์ คลิ เลอร์ล่ะ อบั ราฮัม : มนั เป็นชอ่ื ท่ใี ชใ้ นการสู้รบ เค้าตง้ั ให้ตอนอยู่ในป่า ผสู้ มั ภาษณ ์ : ใครต้งั ชอ่ื นี้ใหเ้ ธอ อับราฮัม : นายผมเอง ผู้สัมภาษณ ์ : ฮิตเลอร์เปน็ ใคร อับราฮัม : ผมไม่รูห้ รอก อบั ราฮัม : คุณรู้ไหม ผมไปที่นั่นก็เพราะพวกมันฆ่า พ่อผม ผมไปร่วมท่ีน่ันก็เพราะพวกเพ่ือน ๆ กไ็ ปกนั ผมกเ็ ลยตามเพอ่ื น ๆ ไป ไปรบกบั เขาด้วย ผูส้ มั ภาษณ ์ : เป็นเพราะวา่ เธออยากจะเจอคนท่ีฆ่าพอ่ เธอใช่ไหม อบั ราฮมั : ใช่แลว้ ผ้สู ัมภาษณ์ : เธอรเู้ หรอว่าเขาเป็นใคร 80 EHLคู่มอื การจดั กจิ กรรมยวุ กาชาด เรือ่ ง การเรยี นรูก้ ฎหมายมนษุ ยธรรมรเะพหว่อื ่าเงยปารวะเชทนศ
อบั ราฮมั : รสู้ ิ ผู้สมั ภาษณ์ : แล้วเธอทำยงั ไงล่ะ อบั ราฮมั : ผมเจอมนั มนั สกู้ บั ผมและผมกฆ็ า่ มนั ตาย แลว้ ผมกเ็ ขา้ ไปอยใู่ นปา่ เขา้ ไปรว่ มรบ กบั พวกนนั้ เขากเ็ ห็นว่าผมรบดว้ ย กเ็ ลยใหป้ ืนผมมา ผสู้ ัมภาษณ ์ : เธอคงเห็นคนถกู ฆา่ ตายเยอะล่ะซิ อบั ราฮัม : ใชแ่ ล้ว ผสู้ มั ภาษณ ์ : เทา่ ไหร่ล่ะ อบั ราฮมั : เยอะมาก ตายกันเยอะมาก คนที่ไม่ต่อสู้ คนท่ีไม่ใช่พวกกบฏ หัวหน้าพวกกบฏก็ ฆา่ พวกเขา ผู้สมั ภาษณ์ : เธอเคยฆ่าคนไหม อบั ราฮัม : เคย ผสู้ ัมภาษณ์ : เยอะไหม อบั ราฮมั : ก็เยอะ ผสู้ มั ภาษณ์ : กีค่ น อับราฮัม : สบิ คน ผสู้ มั ภาษณ์ : ฆา่ ยังไง อบั ราฮัม : ก็พวกมนั จโู่ จมกอ่ น ผมกต็ ้องสู้ พวกมันจะเขา้ มาฆา่ ผม ผสู้ มั ภาษณ์ : แลว้ เธอทำยังไง อับราฮมั : พวกมันเข้ามาพร้อมอาวุธ ผมต้องเผชิญหน้า พอพวกมันเข้ามาใกล้ วูฟก็ยิง แล้วเราก็ยิงเขา ตอนนั้นผมอยากเป็นทหาร เพราะพวกมันฆ่าพ่อผม ผมก็เลยไป เป็นทหารที่น่ัน ผู้พนั มาเธอร์ เบสซงิ ผมคือนายพันอาบู บาคาร์ คามาร์ร่า หรือเรียกกันทั่วไปว่าผู้พันมาเธอร์ เบสซิง ผมมีทหารใต้บังคับบัญชา 978 คน แล้วก็มีนักฆ่าแบบฮิตเลอร์ เดอะ คิลเลอร์ 176 คน บางคนอายุ 9 ปี 10 ปีบ้าง11 ปีบ้าง สูงสุดก็ไม่เกิน 12 พวกเขาเป็นนักรบท่ีชำนาญเป็นแนวหน้าในสนามรบ ทหารท่อี ายุเกิน 20 เวลาสั่งใหไ้ ปทำงานบางอย่างมักจะข้ีขลาด แต่ทหารเด็กแบบ ฮิตเลอร์ เดอะ คิลเลอร์ ไม่เคยกลัวเลยผมไว้ใจพวกเขา พวกเขาเป็นมือหนึ่งจริง ๆ เพราะพวกเขาจะทำทกุ อยา่ งตามทผ่ี มสง่ั ถา้ ผมบอกวา่ “เอาล่ะ ฮิตเลอร์ เดอะ คิลเลอร์ เก็บเจ้าน่ันซะ” กห็ มายความวา่ เขาจะจัดการตามน้ัน ถ้าผมบอกว่า “โอเค เจ้าคนนั้นสมควรตาย” ก็แน่ใจได้เลยว่าเขาจะทำตามน้ันผมเลยไว้ใจแลว้ กเ็ ชื่อมนั่ ในเดก็ เหล่านี้EHL Exploring Humanitarian Law 81 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme
อับราฮัม อับราฮัม : ก็ดีนะ ไม่มีสงครามแล้ว ตอนเกิดสงคราม เราสูญเสีย พ่อตาย แม่แล้วก็น้องสาว ผมก็จากไป ผมก็เลยตอ้ งอยู่ตามลำพัง ผู้สัมภาษณ์ : เมือ่ ก่อนเธอทำอะไรตอนยังอย่กู บั ครอบครัว อบั ราฮมั : ผมกอ็ ย่กู ับพวกเขา ผมไปเรียนหนงั สือ ผู้สัมภาษณ์ : แล้วตอนน้ีเธออยากทำอะไร อับราฮมั : ผมอยากไปโรงเรียน จะได้เป็นเหมือนคนอนื่ ๆ ผสู้ มั ภาษณ ์ : โตข้นึ เธออยากเป็นอะไร อบั ราฮมั : ผมอยากทำงานในสำนกั งาน ผู้สัมภาษณ ์ : เธอคดิ ถงึ การสู้รบไหม อยากกลับไปรบอีกไหม อับราฮัม : ไมล่ ่ะ ผมไมอ่ ยากกลับไปทน่ี นั่ อกี แลว้ ผู้สมั ภาษณ์ : แต่ถ้าผพู้ นั อาบู บาคาร์ของเธอบอกใหเ้ ธอกลบั ไปรบกับเขา เธอก็ตอ้ งทำ อบั ราฮัม : ก็ใช่ ผมก็ต้องกลับเข้าไป แต่ถ้าเขาบอกให้ผมไป ผมก็จะไม่ไปหรอก เพราะผมไม่อยาก กลบั ไปทีน่ ่นั อีกแล้ว ผสู้ ัมภาษณ์ : แตเ่ ขาบอกว่า ถ้าเธอไม่เชือ่ ฟังคำส่ัง เขาจะฆา่ เธอซะ อบั ราฮมั : ถ้าเขาบอกให้ผมไปแล้วผมไม่ทำ เขาก็ทำอะไรผมไม่ได้หรอก เพราะเราไม่ได้อยู่ ในป่าแล้ว ถา้ เขาทำอะไร คณุ กจ็ ับเขาได้ ผู้สัมภาษณ์ : งั้นเธอจะทำอะไรต่อไปละ่ อบั ราฮัม : ก็ไม่ทำอะไร ไม่รู้สิ การท่ีความช่ัวร้ายเกิดขึ้นมานั้น ไม่ใช่เพียงเพราะสาเหตุจากการกระทำของคนจำนวน เล็กน้อยจำนวนหนึ่งเท่าน้ัน แต่ยังเป็นเพราะคนส่วนใหญ่พากันเพิกเฉย ไม่ทำอะไรอีกด้วย และนีค่ อื สงิ่ ที่พวกเราทุกคนปลอ่ ยให้มนั เกิดขนึ้ ซวแี ทน โทโดรอฟ (Tzvetan Todorov) นกั ทฤษฎีทางวรรณกรรม ชาวฝร่ังเศส-บัลกาเรียน82 EHLคู่มือการจัดกิจกรรมยวุ กาชาด เรอ่ื ง การเรยี นรู้กฎหมายมนุษยธรรมรเะพหว่ือา่ เงยปารวะเชทนศ
ใบงาน... ช่วงท่ี 3 สำหรบั สมาชิกยุวกาชาด การชมวดี ทิ ศั น์ เรื่อง “ฉันไมอ่ ยากกลับไปอีกแลว้ ”คำชี้แจง ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มร่วมกนั ระดมสมอง ตามหวั ขอ้ ดังตอ่ ไปนี้ 1. ทำไมคอมฟอรด์ จึงอยากมาเป็นทหาร และทหารเด็กท่เี ป็นผู้หญงิ มคี วามเส่ียงใดอีกบา้ ง 2. สมาชกิ ยุวกาชาดคดิ ว่าอับราฮัมอายเุ ท่าไร และเขามาเป็นทหารตัง้ แตเ่ มอ่ื ไร 3. เขามาเป็นทหารไดอ้ ย่างไร 4. ประสบการณท์ ีอ่ ับราฮัมไดร้ บั คอื อะไร และมผี ลอย่างไรต่อตัวเขา 5. สงิ่ ทโี่ ทโดรอฟ (Todorov) พูดหมายความวา่ อยา่ งไร 6. อะไรคือผลท่ีเกิดข้ึนจากการที่เด็กเข้าไปมีส่วนร่วมในสงคราม ท้ังผลต่อตัวเด็ก ครอบครัว และสงั คม 7. ผลกระทบตอ่ ศกั ด์ิศรคี วามเป็นมนุษยข์ องทหารเด็กในวีดทิ ัศน์ มีอะไรบ้าง มีเด็กท่ีสมัครใจเข้าร่วมรบ แต่ผมคิดว่าคนควรจะต้องคิดให้รอบคอบถึงจะเข้าใจว่าไม่มีการ เข้าร่วมรบโดยสมัครใจหรอก ไม่มีเด็กคนไหนยินดีเข้าร่วมรบหากไม่จำเป็น หรือโดยปราศจาก ความกลัวท่ีอาจตกเป็นเหย่ือและโดยไม่ห่วงความปลอดภัยของชีวิต แต่หากเป็นเด็กท่ีไม่มี พ่อแม่คอยคุ้มครอง คนที่กลัวว่าจะอดตายด้วยความหิวโหย หรือคนท่ีไม่ได้รับการดูแลท่ีดี อาจจะหันไปหาอะไรทางทหารทำก็ได้ - ดร. ไมค์ เวสเซลล์ ศาสตราจารย์ทางจติ วทิ ยา และผู้เขยี นเร่ือง ทหารเดก็ : จากความรนุ แรงส่กู ารค้มุ ครองEHL Exploring Humanitarian Law 83 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme
แผนที.่ ..ช่วงที่ 3 สำหรบั สมาชิกยุวกาชาด แผนทที่ หารเด็กท่ัวโลก ค่มู อื การจัดกิจกรรมยุวกาชาด84 เรื่อง EHLการเรยี นรู้กฎหมายมนษุ ยธรรมรเะพหว่อื ่าเงยปารวะเชทนศแหล่งขอ้ มูล : Child Soldiers Global Report 2004 of the Coalition to Stop * ตามความหมายของคณะกรรมการเพื่อความร่วมมือ the Use of Child Soldiers. This map and the data included ในการหยดุ การใช้ทหารเด็ก (The Coalition to stop the use are for information purposes only and have no political of child soldiers) ทหารเด็กหมายถึงบุคคลอายุต่ำกว่า significance. 18 ปี ซึ่งเป็นสมาชิกหรือเก่ียวข้องกับกองทัพรัฐบาล หรอื กองกำลงั ตดิ อาวธุ หรอื กล่มุ การเมืองติดอาวธุ ไมว่ า่ จะ อย่ใู นช่วงเวลาที่มกี ารพพิ าททางอาวธุ หรอื ไมก่ ต็ าม
ใบความร้.ู .. ช่วงท่ี 3 เร่อื งเลา่ ขอสำงหรทับสหมาชาิกรยวุ เกดาช็กาด เรอื่ งของซอทัน ผมถูกเกณฑ์มารบโดยไม่สมัครใจ เย็นวันหนึ่ง ขณะท่ีเรากำลังดูวีดิโออยู่ในหมู่บ้าน มีทหารยศสิบเอก 3 คนเข้ามาหา พวกเขามาตรวจว่าเรามีบัตรประชาชนหรือไม่ และถามว่าเราอยากเข้าร่วมในกองทพั ไหม เราจงึ อธิบายไปวา่ พวกเรามีอายุต่ำกว่าเกณฑ์ และยังไม่มีบัตรประชาชน แต่เพอื่ นของผมคนหนึง่ บอกวา่ เขาอยากเขา้ ร่วม สว่ นผมบอกวา่ ไมอ่ ยาก แล้วกลับบา้ นไปในเย็นน้ัน เช้าวนั ต่อมาหนว่ ยเกณฑ์ทหารของกองทัพได้เข้ามาที่หมู่บ้านอีกครั้ง และส่ังให้เกณฑ์ทหารใหม่ 2 คน พวกเขาบอกว่าใครท่ีไม่มีเงินจ่าย (...) ตอ้ งเข้าร่วมกับกองทพั ผมไม่มีเงนิ จา่ ย ดงั น้นั เราทั้งหมด 19 คนจงึ ถกู เกณฑ์ไป และถูกสง่ ไปยงัศนู ยฝ์ กึ แห่งหนงึ่ ของกองทัพแหลง่ ข้อมลู : Children of conflict(http://www.bbc.co.uk/worldservice/people/features/childrenrights/childrenofconflict/soldtxt.shtml#02) เรอื่ งของเมียววนิ เราถูกมอมยาและถูกส่ังให้เข้าสู่สนามรบ เราไม่รู้ว่าเป็นยาหรือของมึนเมาชนิดใด แต่เราต้องดื่มเข้าไป เพราะว่าเราท้ังเหน่ือย หิวน้ำ และหิวข้าว เราต้องเดินเท้าตลอด 2 วันภายใต้แสงอาทิตย์ท่ีแผดเผาบนเขา (สนามรบ) ไม่มีร่มเงา ต้นไม้ถูกเผา ทุกอย่างบนนั้นพังพินาศด้วยปืนใหญ่และระเบิด เรากลัวกันมากและหิวน้ำอย่างมากด้วย พวกเราบางคนหมดแรง ล้มลงเน่ืองจากเหน่ือยเกินไป แต่เจ้าหน้าที่เดินตามคอยตเี พอ่ื ใหพ้ วกเราเดนิ ต่อไป มีคนหน่งึ ในพวกเราถูกฆา่ แหล่งขอ้ มูล : Children of conflict(http://www.bbc.co.uk/worldservice/people/features/childrenrights/childrenofconflict/soldtxt.shtml #02) เรื่องของซูซาน (ซซู านไมใ่ ชช่ อ่ื จริง) หนึ่งอาทิตย์หลังจากฉันถูกลักพาตัว (เด็กหญิง 139 คน ถูกพาไปจากโรงเรียนในคืนหนึ่ง) ฉันถูกส่งตัวไปให้ผู้ชายคนหน่ึง (...) อายุประมาณ 30 ปี เด็กหญิง 2 คนถูกพาไปส่งให้เขา เขาพยายามทำดีกับฉัน เพ่ือทำให้ฉันมีความสุข และไม่คิดหนี แต่สิ่งที่ฉันต้องการมากท่ีสุดตอนนั้นคืออยากกลับบ้านมเี ดก็ ชายคนหนึง่ พยายามจะหนี แตถ่ ูกจับได้ เขาถูกบงั คบั ให้กนิ พริกสแี ดงเต็มปาก และถูกเฆี่ยนตีโดยคน5 คน เขาถูกมัดมือ แล้วพวกมันก็ให้พวกเราที่มาใหม่ฆ่าเด็กชายคนน้ันด้วยไม้ท่อนยาว ฉันรู้สึกแย่มากเพราะว่าฉันรู้จักเด็กชายคนน้ีมาก่อน เราเป็นคนหมู่บ้านเดียวกัน ฉันเลยไม่ยอมฆ่าเขา พวกมันบอกว่าจะยิงฉันแล้วก็จ้องปืนมาที่ฉัน ฉันเลยต้องทำตาม เด็กชายคนนั้นถามฉันว่า “ทำไมเธอถึงทำอย่างน้ี”ฉันบอกไปว่า “ฉันไม่มีทางเลือก” (...) ฉันรู้สึกแย่มากในสิ่งท่ีได้ทำไป (...) มันหลอกหลอนฉันว่าEHL Exploring Humanitarian Law 85 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme
ฉันทำให้คนตาย (...) ฉันยังคงฝันถึงเด็กชายจากหมู่บ้านเดียวกันที่ถูกฉันฆ่า ฉันเห็นเขาในความฝัน เขาพูดกับฉนั วา่ ฉนั ฆา่ เขาโดยไมม่ ีสาเหตุ ฉนั ไดแ้ ต่ร้องไห้ แหลง่ ข้อมลู : The Scars of Death-Children abducted by the Lord’s Resistance Army in U ganda, Human Rights Watch, 1997. เรือ่ งของเรนูก้า พวกก่อจลาจลมาที่โรงเรียนของเราทุกเดือน เพ่ือมาพูดคุยกับพวกเรา พวกเขาพูดว่าเป็นหน้าท่ีของ เราที่ต้องเข้าร่วมกับพวกเขา และช่วยพวกเขารักษาชีวิตประชาชนจากกองทัพรัฐบาล ครอบครัวเรายาก จนมาก เรามักไม่ค่อยจะมีอะไรกิน วันหน่ึง ตอนฉันอายุ 11 ปี ฉันหิวมากจนทำให้หนีออกจากบ้านโดยไม่ บอกให้พ่อแม่รู้ แล้วเดินทางไปท่ีค่าย ฉันได้รับการเล้ียงดูอย่างดีแต่ไม่สามารถกลับไปหาพ่อแม่ ได้อกี จนกระทงั่ ฉันออกไปรบในแนวหน้า สองปีต่อมา ฉันได้รับมอบหมายให้นำกลุ่มต่อสู้ที่มีแต่ผู้หญิงล้วนไปยังสนามรบ เพราะการโจมตี อย่างหนักของกองทัพรัฐบาล ทุกคนในกลุ่มของฉันถูกฆ่าตายหมดยกเว้นฉัน ฉันจะต้องกลืนยาพิษไซยาไนซ์ หากถกู จบั เปน็ เชลย แตฉ่ นั ไมอ่ ยากตาย แหล่งขอ้ มลู : Cella W.Dugger, Rebels without a childhood in Sri Lanka War, New York Times, 11 September 2000. เรอ่ื งของมาลาร์ พ่อของฉันตายเพราะหัวใจวายตอนฉันอายุ 3 ขวบ และแม่ของฉันล้มป่วยตอนฉันอายุ 6 ขวบ ต้องอยู่ท่ีโรงพยาบาลตลอด โดยไม่มีโอกาสได้กลับมาบ้านอีก ดังน้ันฉันจึงไปอาศัยอยู่กับลุง ตอนอายุ 8 ขวบ มผี หู้ ญิงคนหน่ึงจากกลมุ่ ก่อการจลาจลมาทบ่ี า้ นบอกวา่ พวกเขาจะใหก้ ารศึกษาและดแู ลฉัน ด้วยความยากจน ฉันคิดว่าคงจะดีหากไปกับเธอ นอกจากน้ีฉันอยากจะสู้เพื่ออิสรภาพด้วย ตอนอายุ 12 ฉันอาสาไปทำสงคราม เพราะอยากป้องกันประเทศของฉนั เม่อื เดือนทีแ่ ล้ว ทหารทางรัฐบาลได้ขวา้ งระเบดิ มอื มายังทีห่ ลบภัยของเรา เด็กหญิง 10 คนที่อยู่กบั ฉนั ตายหมด ทหารได้เขา้ กวาดลา้ งกลุ่มกอ่ จลาจลทง้ั หมด เวลานฉี้ ันอยใู่ นคุก แต่ฉนั จะยังส้ตู อ่ ไป เพราะวา่ กองทพั โจมตีประชาชนของเรา แหล่งข้อมูล : Cella W.Dugger, Rebels without a childhood in Sri Lanka War, New York Times, 11 September 2000.86 EHLคมู่ อื การจดั กจิ กรรมยวุ กาชาด เรื่อง การเรียนร้กู ฎหมายมนุษยธรรมรเะพหวือ่ ่าเงยปารวะเชทนศ
เร่ืองที่ 6 เรื่องของอาวุธ สาระสำคัญ กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศได้จำกัดการใช้อาวุธบางชนิดในสงครามเพราะอาวุธเหล่าน้ีไม่อาจแบ่งแยกเป้าหมายได้หรือเพราะทำให้เจ็บปวดเกินความจำเป็น ทุ่นระเบิดสังหารบุคคล และวัตถุระเบิดท่ีหลงเหลือจากสงคราม เป็นปัญหาทางมนุษยธรรม เพราะว่ายังคงทำลายล้างชีวิตผู้คนต่อเนื่องมาอย่างยาวนานแม้สงครามจะส้ินสุดลง การระดมความคิดที่แตกต่างอาจช่วยสนับสนุนการพัฒนากฎหมายมนษุ ยธรรมระหวา่ งประเทศได้ วตั ถปุ ระสงค์ • เพ่ือระบุว่าอาวุธใดท่ีไม่อาจแบ่งแยกเป้าหมายได้และทำให้เจ็บปวดเกินความจำเป็น และยกตวั อย่างเพอ่ื ศึกษาร่วมกัน • เพื่อใหเ้ ขา้ ใจวา่ ทำไมจงึ มีข้อจำกดั สำหรบั การใชอ้ าวธุ บางประเภทในสงคราม • พิจารณาถึงกฎเกณฑ์เฉพาะบางขอ้ ในกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศวา่ ดว้ ยอาวธุ • เพ่ือดูว่าความคิดเห็นของสาธารณชนจะมีส่วนช่วยในการพัฒนากฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศไดอ้ ยา่ งไร สาระ/เนอ้ื หา 1. อาวธุ และกฎหมายมนษุ ยธรรมระหว่างประเทศ 2. ผลกระทบของวตั ถุระเบดิ ทหี่ ลงเหลอื จากสงคราม 3. กฎเกณฑ์ของกฎหมายมนษุ ยธรรมระหวา่ งประเทศวา่ ด้วยอาวธุ 2 ชนดิ 4. เราได้สนธสิ ญั ญามาอย่างไร การเตรยี มการจดั กจิ กรรม ทบทวนคมู่ ือการเตรยี มการจัดกจิ กรรมสำหรับครูผสู้ อน EHL วิธีท่ี 1 การอภปิ ราย วิธีท่ี 2 การระดมความคดิ เห็น วธิ ีที่ 4 การใชภ้ าวะที่ขัดแยง้ วิธที ่ี 6 การใชเ้ รอ่ื งราว รูปภาพและวดี ิทัศน์ วิธีท่ี 7 การเขยี นและการสะทอ้ นความคดิ วธิ ที ี่ 9 การแบ่งกลมุ่ ยอ่ ย ระยะเวลา 2 ช่วง ๆ ละ 45 นาทีEHL Exploring Humanitarian Law 87 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme
กิจกรรมเสนอแนะ ช่วงที่ 1 • ทบทวนเรือ่ งทีเ่ รยี นไปแลว้ จากเรอ่ื งการจำกดั ความเสียหายอนั เกิดจากสงครามและทหารเดก็ สิ่งเดียวที่ชอบด้วยกฎหมายที่รัฐอาจ ความคิดจากภาพ กระทำได้ในยามสงครามคือทำให้กองทัพ • ให้สมาชิกยุวกาชาดดู รูปภาพหลังจากการ ของฝ่ายตรงขา้ มอ่อนกำลงั ลงทิ้งระเบิดและอภิปรายร่วมกันถึงสิ่งท่ีเกิดขึ้น โดยใช้คำถามวา่ - บทนำ ในปฏญิ ญาเซนตป์ เี ตอร์เบิรก์ ปี ค.ศ. 1868 - จากภาพ สมาชิกยุวกาชาดเห็นอะไร และคดิ อยา่ งไร อาวุธท่ีไม่แบ่งแยกเปา้ หมายและอาวธุ ท่ีทำใหเ้ จบ็ ปวดเกินความจำเปน็ • ใหส้ มาชิกยุวกาชาดยกตัวอย่างอาวธุ ท่ใี ชใ้ นการสูร้ บและเขียนคำตอบลงในกระดาษฟลิ ปชารท์ • ให้สมาชิกยุวกาชาดช่วยกันจำแนกอาวุธท่ีไม่แบ่งแยกเป้าหมาย (เช่น อาวุธนิวเคลียร์ อาวุธชีวภาพ ทุ่นระเบิดสังหารบุคคล) และอาวุธท่ีทำให้เจ็บปวดเกินความจำเป็น (เช่น อาวุธเคมี อาวุธชีวภาพอาวุธเลเชอรท์ ีท่ ำใหต้ าบอด กระสนุ ทรี่ ะเบิดได้) • ครูผ้สู อนสรุปโดยใช้ขอ้ ความต่อไปนี้ อาวุธท่ีไม่แบ่งแยกเป้าหมาย คืออาวุธท่ีไม่สามารถแบ่งแยกระหว่างเป้าหมายทางพลเรือน และทางทหารได้ เพราะว่ามันไม่ได้เจาะจงเฉพาะเป้าหมายทางทหารได้ หรือไม่สามารถ ควบคุมผลกระทบของมนั ได้ อาวุธท่ีทำให้เจ็บปวดเกินความจำเป็นคืออาวุธที่ทำให้ทหารท่ีทำการสู้รบเกิดความเจ็บปวด มากเกนิ ไป เช่น มากเกนิ กวา่ เท่าท่ีควรใชเ้ พือ่ ให้ทหารหยุดการส้รู บ • สมาชิกยุวกาชาดระดมความคดิ เห็นเก่ยี วกับผลกระทบท่เี กดิ จากอาวธุ ทไ่ี ม่แบง่ แยกเปา้ หมาย • ครูผู้สอนขออาสาสมัคร 1 คน อ่านใบความรู้เรื่อง ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับอาวุธ เพ่ือให้สมาชิกยุวกาชาด ตระหนักถึงความรุนแรงของการใช้อาวธุ บางประเภท ตวั อย่างของอาวธุ ที่ยงั คงทำลายชวี ิตผคู้ น ภายหลงั สงครามส้นิ สุดลง • ครูผู้สอนนำเสนอวีดิทัศน์ เรื่อง กับดักระเบิดท่ียังคงล่าสังหาร ให้สมาชิกยุวกาชาดแสดงความรู้สึกต่อส่ิงที่ได้จากการดูวีดิทัศน์ แล้วช่วยกันอภิปรายแสดงความรู้สึกว่าชีวิตของผู้คนที่ได้รับผลกระทบจากกับดกั ระเบดิ เป็นอย่างไร • ครูผู้สอนมอบการบ้านให้สมาชิกยุวกาชาดอ่านใบความรู้เรื่อง วัตถุระเบิดที่หลงเหลือจากสงครามแลว้ ตอบคำถามในใบงานเรื่อง วตั ถรุ ะเบิดทห่ี ลงเหลอื จากสงคราม88 EHLคู่มอื การจัดกจิ กรรมยุวกาชาด เรื่อง การเรยี นรกู้ ฎหมายมนุษยธรรมรเะพหว่อื ่าเงยปารวะเชทนศ
ชว่ งท่ี 2 • ทบทวนเร่ืองท่ีเรียนในช่ัวโมงท่ีแล้ว เรื่อง วัตถุระเบิดที่หลงเหลือจากสงคราม พร้อมทั้งส่งใบงานทีท่ ำเป็นการบ้าน มองทผ่ี ลสืบเนอื่ ง • แบ่งกลุ่มสมาชกิ ยุวกาชาดเปน็ กล่มุ ๆ ละ 5 คน แลว้ แจกใบความรู้ มองทีผ่ ลกระทบ • นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ผลกระทบจากวัตถุระเบิดท่ีหลงเหลือจากสงครามว่ามีผลต่อชีวิตของบุคคลท้ังในด้านร่างกาย จิตใจ การศึกษา สังคมและเศรษฐกิจอย่างไรจากใบความรู้ที่ได้รับ แล้วเขียนคำตอบในใบงานเรือ่ ง ผลกระทบของวัตถุระเบิดที่หลงเหลอื จากสงคราม • ใหอ้ าสาสมคั ร 1-2 กลุ่ม นำเสนอผลการวิเคราะห์ของกลุ่มหนา้ ชน้ั เม่ือมีคนๆหน่ึงเหยียบทุ่นระเบิดท่ีฝังอยู่ โดยปกติขาหรือเท้าของเขาจะต้องถูกระเบิดแตกออก ดินโคลน ฝุ่นละออง ชิ้นส่วนเท้าของเขาจะต้องกระแทกถูกขาอีกข้าง รวมทั้งอวัยวะเพศและ แขน เม่ือระเบิดลูกหน่ึงท่ีฝังอยู่บนพื้นดินระเบิดอย่างรุนแรง เหย่ือจะถูกระเบิดเป็นช้ินเล็ก ช้ินน้อย อาการบาดเจ็บชนิดท่ี 3 เกิดข้ึนเม่ือมีผู้ไปแตะระเบิด และมันระเบิด ทำลายมือ หรือแขนของคนผู้น้นั และมักทำใหใ้ บหน้าไดร้ บั บาดเจ็บอย่างรุนแรงและตาบอด - ศัลยแพทย์ผหู้ นง่ึ ขอบเขตของปญั หา • ครูผู้สอนนำเสนอแผนที่กับดักระเบิด และวัตถุระเบิดที่หลงเหลือจากสงครามในทั่วโลกและใหส้ มาชกิ ยุวกาชาดรว่ มกันอภปิ รายคำถามในตอนท้ายของแผนที่ ครูผู้สอนให้สมาชิกยุวกาชาดช่วยกันคิดเก่ียวกับปัญหานี้ที่เกิดขึ้นทั่วโลก พร้อมท้ังคิดหาวิธีแก้ไขหรือป้องกนั เก่ยี วกบั เร่ืองน้ี ตัวอยา่ งเช่น - คน้ หาหรอื ทำการกใู้ นบรเิ วณที่มีกบั ดักระเบิด - การเคลื่อนย้ายหรอื การฟ้นื ฟเู หยอื่ - ให้ความรเู้ ก่ยี วกบั อนั ตรายของระเบดิ - หา้ มใชใ้ นอนาคต ตวั อย่างของกฎเกณฑท์ ่เี จาะจง • ครผู สู้ อนแจกใบความรู้ กฎเกณฑข์ องกฎหมายมนษุ ยธรรมระหวา่ งประเทศวา่ ดว้ ยอาวธุ 2 ชนดิ และใหส้ มาชิกยุวกาชาดพดู คุยเก่ียวกบั กฎเกณฑข์ องกฎหมายมนุษยธรรมระหวา่ งประเทศที่บังคบัใช้กับอาวุธเหล่านี้ แล้วให้สมาชิกยุวกาชาดระดมความคิดและอภิปรายร่วมกันว่าผู้ท่ีไม่ได้เป็นเจ้าหน้าท่ีของรฐั จะสามารถสง่ เสริมกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศไดอ้ ยา่ งไรEHL Exploring Humanitarian Law 89 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme
กฎหมายระหว่างประเทศเกิดขึน้ ได้อย่างไร เมอื่ ร้อยปที ่ีแล้ว มตี วั อย่างมากมายของ • ให้สมาชิกยุวกาชาดอ่านใบความรู้เร่ือง เราได้ พัฒนาการของอาวธุ และความเคียดแคน้สนธิสัญญามาอย่างไร และสรุปประเด็นสำคัญเพื่อการ ต่อผลสืบเนื่องทางมนุษยธรรมของอาวุธรณรงค์ต่อสาธารณชนมีผลในการทำสนธิสัญญาว่าด้วย และแล้วการลงนามในสนธิสัญญาภายใต้การห้ามใช้ทนุ่ ระเบดิ สงั หารบคุ คล แลว้ ทำใบงานเรอ่ื ง เราได้ กฎหมายระหว่างประเทศเพ่ือบังคับหรือสนธสิ ญั ญามาอย่างไร ห้ามการใช้จงึ เกดิ ขนึ้ สอื่ การจัดกิจกรรมและแหลง่ เรียนรู้ - ศลั ยแพทย์ผ้หู นงึ่ 1. รปู ภาพ เอกสาร ใบงาน สำหรบั ครูผสู้ อน สำหรับสมาชกิ ยุวกาชาด ข้อมลู เพม่ิ เตมิ เรื่องอาวุธ ช่วงท่ี 1 และกฎหมายมนษุ ยธรรม • รปู ภาพ : หลงั จากการทงิ้ ระเบิด ระหวา่ งประเทศ • ใบความรู้ ขอ้ คิดเห็นเก่ียวกับอาวุธ • วดี ทิ ศั น์และบทภาพยนตร์เรื่อง กบั ดกั ระเบิดท่ียงั คงล่าสังหาร • ใบความรู้ วตั ถุระเบิดที่หลงเหลอื จากสงคราม • ใบงานเร่ือง วัตถุระเบดิ ทห่ี ลงเหลอื จากสงคราม ช่วงท่ี 2 • ใบความรู้ มองที่ผลกระทบ • ใบงาน ผลกระทบจากวัตถรุ ะเบิดท่หี ลงเหลือจากสงคราม • ใบความรู้ แผนท่กี ับดกั ระเบดิ และวตั ถรุ ะเบิดที่หลงเหลอื จากสงครามท่วั โลก • ใบความรู้ กฎเกณฑ์ของกฎหมายมนษุ ยธรรมระหวา่ งประเทศวา่ ดว้ ย อาวธุ 2 ชนดิ • ใบความรู้ เร่ืองเราได้สนธสิ ัญญามาอย่างไร • ใบงาน เรือ่ งเราได้สนธสิ ญั ญามาอย่างไร • ข้อมูลเพิ่มเติม กฎเกณฑ์ของกฎหมายมนุษยธรรมระหวา่ งประเทศว่าด้วย อาวุธบางชนิด • ข้อมูลเพิ่มเติม การดำเนินการ : ตัวอย่างประกอบการตัดสินใจครั้งสำคัญ ในประวัตศิ าสตร์ของวงการแพทย์ 2. ข้อมลู จาก www.icrc.org การประเมนิ ผล 1. สังเกตจากการรว่ มกิจกรรม 2. ตรวจใบงาน90 EHLคูม่ อื การจัดกิจกรรมยุวกาชาด เรื่อง การเรียนร้กู ฎหมายมนษุ ยธรรมรเะพหวอ่ื ่าเงยปารวะเชทนศ
ขอ้ มลู เพ่มิ เติม สำหรับครผู ้สู อน เรื่อง อาวุธและกฎหมายมนษุ ยธรรมระหวา่ งประเทศ หลักการที่สำคัญท่ีสุดประการหน่ึงของกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (IHL) คือจุดมุ่งหมายท่ีชอบดว้ ยกฎหมายในการทำสงครามคอื การทำใหก้ องกำลังของฝา่ ยตรงขา้ มอ่อนแอลง หลกั การทว่ี ่านี้ และกฎเกณฑ์อื่น ๆ ของ IHL ไดจ้ ำกัดชนิดของอาวุธท่ใี ชส้ ูร้ บในสงคราม อาวธุ ต้องห้ามเหล่านี้รวมถึง อาวุธท่ีไม่อาจแบ่งแยกระหว่างเป้าหมายทางทหารและทางพลเรือน และอาวุธที่ไม่สามารถจำกัดเฉพาะเป้าหมายทางทหารได้ หรืออาวุธท่ีก่อให้เกิดผลกระทบโดยไม่มีขอบเขต อาวุธเหล่านี้เรียกว่า “อาวุธที่ไม่อาจแบ่งแยกเป้าหมายได้” นอกจากนี้ IHL ยังจำกัดการใช้อาวุธท่ีทำให้เกิดความเจบ็ ปวดเกนิ ความจำเปน็ เพื่อใหท้ หารยุตกิ ารสู้รบ ดว้ ยพ้ืนฐานของกฎเกณฑ์เหลา่ น้ี สนธสิ ญั ญาจำนวนหนงึ่ ของ IHL จึงไดร้ ับการรบั รองเพือ่ หา้ มหรอืจำกัดการใช้อาวุธบางประเภท เช่น สนธิสัญญาเกี่ยวกับอาวุธชีวภาพ อาวุธเคมี อาวุธเลเซอร์ท่ีทำให้ตาบอด และอาวุธเพลิงชนิดอ่ืน ๆ เช่น อาวุธท่ีออกแบบเพื่อเผาไหม้วัตถุ หรือทำให้ได้รับบาดเจ็บจากการเผาไหม้ อาวุธชวี ภาพและอาวธุ เคมี ได้มกี ารห้ามใช้อาวธุ ชวี ภาพและอาวุธเคมีตามพิธสี ารอนสุ ญั ญา ปีค.ศ. 1925 (เพื่อห้ามการใช้แกส๊ท่ีมีผลกระทบต่อระบบหายใจ ยาพิษ หรือแก๊สพิษชนิดอ่ืน ๆ และการห้ามใช้อาวุธเคมีในการสู้รบ)สนธิสัญญาฉบับนี้มีความสมบูรณ์และเข้มข้น โดยอนุสัญญาว่าด้วยการห้ามใช้อาวุธชีวภาพ ปี ค.ศ. 1972และอนสุ ญั ญาวา่ ดว้ ยการหา้ มใชอ้ าวธุ เคมี ปี ค.ศ. 1993 ซงึ่ หา้ มการพฒั นา ผลติ เกบ็ รกั ษา โยกยา้ ยและใชอ้ าวธุอนุสัญญาเหล่านี้ยังกำหนดให้มีการทำลายอาวุธท่ีเก็บรักษาอยู่ด้วย ภายใต้อนุสัญญาว่าด้วยการห้ามใช้อาวุธชีวภาพ รัฐบาลต้องทำลาย หรือเปลี่ยนอาวุธชีวภาพทั้งหมดไปใช้เพ่ือจุดประสงค์ทางสันติแทนภายใน 9 เดือนหลงั จากร่วมลงนามเปน็ ภาคีของสนธิสัญญา อนสุ ญั ญาวา่ ดว้ ยการหา้ มใช้อาวธุ เคมกี ำหนดให้รัฐบาลต้องทำลายอาวธุ เคมีท้ังหมดภายใน 10 ปี หลังจากร่วมลงนามเป็นภาคีของสนธสิ ญั ญา อาวธุ เลเซอรท์ ที่ ำใหต้ าบอด การใช้และการโยกย้ายอาวุธเลเซอร์ที่ทำให้ตาบอดได้ถูกห้ามโดยพิธีสาร ฉบับท่ี 4 ของอนุสัญญาวา่ ดว้ ยอาวธุ ธรรมดา (อาวธุ ทไี่ มม่ อี านภุ าพทำลายลา้ งอยา่ งกวา้ งขวาง) บางชนดิ ปี ค.ศ. 1995 สนธสิ ญั ญาฉบับน้ียังได้กำหนดให้มีการเตือนภัยล่วงหน้าที่เป็นไปได้เพ่ือป้องกันไม่ให้เกิดการตาบอดสนิทเมื่อมีการใช้เลเซอร์แบบอื่นEHL Exploring Humanitarian Law 91 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme
อาวธุ เพลิง อนุสัญญาเพื่อการห้ามใช้อาวุธธรรมดาบางชนิด ปี ค.ศ. 1980 ควบคุมการใช้อาวุธเพลิง (อาวุธ ท่ีออกแบบเพื่อเผาไหม้วัตถุ หรือทำให้ได้รับบาดเจ็บจากการเผาไหม้) ห้ามรัฐบาลและกลุ่มติดอาวุธใช้ อาวุธเพลิงกับพลเรือน และใช้อาวุธดังกล่าวโจมตีวัตถุสิ่งของต่าง ๆ ของทหารท่ีอยู่ในบริเวณท่ีพลเรือน อ าศยั อยู่ พิธีสารฉบบั นยี้ งั ไดห้ ้ามการใช้อาวธุ เพลิงกบั ปา่ ไม้หรอื บรเิ วณทป่ี กคลุมด้วยตน้ ไม้ อาวุธนวิ เคลียร์ ปัจจุบัน กฎหมายระหว่างประเทศยังไม่มีข้อกำหนดเกี่ยวกับการห้ามใช้อาวุธนิวเคลียร์อันเป็นที่ ยอมรับอย่างเป็นสากล อย่างไรก็ตามในปี ค.ศ. 1996 ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศได้ให้ความเห็นเชิงปรึกษา ไวอ้ ยา่ งชัดเจนว่า การคกุ คามหรือใชอ้ าวธุ นิวเคลียรโ์ ดยทว่ั ไปถอื วา่ ขัดกบั หลักการและกฎเกณฑ์ของ IHL อาวธุ ทีย่ ังคงพรากชวี ิตผคู้ น ภายหลังสงครามสิ้นสดุ แล้ว ทุ่นระเบิดสังหารบุคคล และวัตถุระเบิดท่ีหลงเหลือจากสงคราม รวมท้ังระเบิดพวงท่ียังไม่ระเบิด อาจเป็นอันตรายต่อพลเรือนต่อมานานนับปีหรืออาจเป็นทศวรรษภายหลังการสู้รบจบส้ินลง หลังการสู้รบ จบลงมักมีอาวุธจำนวนมากตกค้างอยู่บนพ้ืนดิน ซึ่งสามารถทำให้บาดเจ็บ หรือสังหารผู้ท่ีเข้าใกล้ และ ยังเป็นอุปสรรคต่อกิจกรรมที่สำคัญในชีวิต เช่น การเกษตรกรรม การช่วยเหลือที่อันตรายและยากลำบาก และความพยายามในการฟนื้ ฟู ทุ่นระเบิดสังหารบุคคล ทุ่นระเบิดสังหารบุคคลเป็นวัตถุระเบิดที่ฝังอยู่ใต้หรือบนพื้นดิน ซึ่งถูกออกแบบเพื่อใช้เล่นงาน เหยอ่ื ซ่งึ หมายความว่าระเบดิ สามารถทำงานเมอ่ื มีคนเข้าไปใกล้ หรือแตะต้องมันเท่านนั้ อนุสัญญาว่าด้วยทุ่นระเบิดสังหารบุคคล ปีค.ศ. 1977 ได้กำหนด การห้ามใช้ การเก็บรักษา การผลิต การโยกย้าย ทุ่นระเบิดสังหารบุคคล รวมท้ังการทำลายไม่ว่าจะเป็นระเบิดที่เก็บรักษาไว้ หรอื ทอ่ี ยกู่ ับพนื้ ดิน โดยใหร้ ัฐบาลทกุ แห่งทำลายระเบดิ ทเี่ ก็บรกั ษาไว้ภายในเวลา 4 ปี และกวาดล้างระเบิด ท่ฝี ังอยใู่ ต้พืน้ ดินที่อยู่ในอาณตั ิของตนเองภายใน 10 ปี จนกว่าการกวาดล้างระเบิดจะเสร็จส้ิน รัฐบาลตอ้ ง มีมาตรการเพื่อปกป้องพลเรือน (ตัวอย่างเช่น คำเตือนถึงอันตรายของทุ่นระเบิด รวมทั้ง มีเคร่ืองหมาย หรือล้อมรั้วในพ้ืนที่ที่มีระเบิด) อนุสัญญายังได้กำหนดให้รัฐบาลสนับสนุนการทำลายระเบิดที่เก็บรักษาอยู่ การกวาดล้างระเบิด และโครงการให้ความรู้เก่ียวกับความเส่ียงของระเบิด รวมทั้งช่วยเหลือในการดูแล แ ละฟืน้ ฟูเหยอื่ ระเบิด วตั ถุระเบดิ ทหี่ ลงเหลอื จากสงคราม วัตถุระเบิดที่หลงเหลือจากสงคราม เป็นวัตถุระเบิดท่ีถูกท้ิงอยู่ในพื้นท่ี ภายหลังการสู้รบเสร็จสิ้นลง อาวุธที่หลงเหลือและยังไม่ระเบิด ได้แก่ ลูกปืนใหญ่ ระเบิดมือ ลูกปืนครก ระเบิดสังหารหมู่ขนาดเล็ก92 EHLค่มู อื การจดั กิจกรรมยวุ กาชาด เรื่อง การเรยี นรกู้ ฎหมายมนษุ ยธรรมรเะพหว่ือา่ เงยปารวะเชทนศ
จรวด และจรวดจากอาวุธปืนใหญ่ พลเรือนส่วนใหญ่เชื่อว่า อาวุธพวกนี้ไม่เป็นอันตราย แต่ความจริงแล้วอาวุธพวกน้มี ักทำใหถ้ งึ แก่ชวี ิต และสามารถระเบดิ ไดท้ ุกเวลา หากถกู สมั ผสั หรอื กระทบกระเทอื น พิธีสารฉบับท่ี 4 ว่าด้วยวัตถุระเบิดท่ีหลงเหลือจากสงคราม ปี ค.ศ. 2003 ของอนุสัญญาว่าด้วยการห้ามการใช้อาวุธตามปกติบางชนิด ได้กำหนดให้รัฐบาล และกลุ่มติดอาวุธกวาดล้างวัตถุระเบิดท่ีหลงเหลือจากสงครามทุกชนิดในพื้นท่ีที่อยู่ในอาณัติ ส่วนพ้ืนท่ีนอกอาณัติ รัฐบาลต้องให้การสนับสนุนวิธีการ อุปกรณ์ หรือความช่วยเหลือทางการเงิน ในการกวาดล้างวัตถุระเบิดท่ีหลงเหลือจากสงคราม ซึ่งเป็นผลสืบเน่ืองจากปฏิบัติการของรัฐบาลนั้น ๆ นอกจากน้ี รัฐบาลเหล่าน้ีต้องมีมาตรการในการเตือนภัยล่วงหน้า เพื่อปกป้องพลเรือนจากอันตรายเพราะวัตถุระเบิดที่หลงเหลือจากสงคราม โดยให้ความรู้เก่ียวกับความเสี่ยง และโดยการมีเครื่องหมาย และล้อมรั้วพื้น และเฝ้าติดตามพ้ืนที่ท่ีได้รับผลกระทบ พิธีสารยังได้กำหนดเพิ่มเติม ให้รัฐบาล หรือกลุ่มติดอาวุธ บันทึกชนิดของวัตถุระเบิดที่พวกเขาได้ใช้ และทิ้งไว้พร้อมระบุสถานที่ และกำหนดให้แบ่งปันข้อมูลนี้กับคู่พิพาทในการสู้รบและองค์กรที่มีส่วนร่วมในการกวาดล้างหรือภารกิจท่ีเกี่ยวข้อง ภายหลังสงครามสิ้นสุดลง รัฐบาลควรให้การสนับสนุนในการดูแล ฟื้นฟู และนำมาซ่ึงบูรณการทางเศรษฐกิจและสังคมของเหยื่อจากระเบิดเหล่าน้ัน นอกเหนือจากนั้น พิธีสารได้กระตุ้นให้รัฐบาลให้การชว่ ยเหลือในปญั หาที่เกิดขน้ึ ซึง่ เกีย่ วขอ้ งกับวัตถรุ ะเบิดที่หลงเหลือจากสงคราม การให้การรับรองพิธีสาร ฉบับท่ี 4 เพ่ือวัตถุระเบิดที่หลงเหลือจากสงครามเป็นการก้าวไปข้างหน้าอีกขั้น เป็นกฎหมายที่บังคับใช้กับวัตถุระเบิดทุกชนิดที่ใช้ในการสู้รบ และเป็นข้อตกลงระหว่างประเทศฉบับแรกท่ีกำหนดให้รัฐบาลและกลุ่มติดอาวุธ กวาดล้างอาวุธทุกชนิดที่ยังไม่ระเบิดและถูกท้ิงหลังจากสงคราม เป็นเรื่องสำคัญที่ต้องมีประเทศต่าง ๆ เข้าร่วมเป็นภาคีของสนธิสัญญาฉบับน้ีให้มากที่สุด เพ่ือว่าผ ลกระทบจากวัตถรุ ะเบดิ ที่หลงเหลอื จากสงครามจะได้ลดลง อาวธุ ชนิดใหม่ ๆ ภายใต้พิธีสารเพ่ิมเติม ฉบับที่ 1 ของอนุสัญญาเจนีวา ปี ค.ศ. 1977 ได้กำหนดอาวุธชนิดใหม่ท่ีรัฐบาลศึกษา พัฒนา มีการใช้ หรือยอมรับ ต้องเป็นไปตามบทบัญญัติของกฎหมายมนุษยธรรม ประสิทธิผลของการดำเนินการของบทบัญญัติน้ีมีความสำคัญอย่างยิ่ง อันเนื่องจากการพัฒนาท่ีรวดเร็วของเทคโนโลยีทางอาวุธ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ มักถูกนำมาใช้ในการผลิตอาวุธชนิดใหม่ ๆจึงเป็นความรับผิดชอบของผู้มีส่วนเก่ียวข้องทั้งหมด [รัฐบาล นักการทหาร นักวิทยาศาสตร์ ผู้เช่ียวชาญทางการแพทย์ บริษัทเอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน (NGOs) กลุ่มท่ีเฝ้าระวัง หรือพลเรือนท่ัวไปท่ีมีความห่วงใย] ท่ีจะช่วยกันเฝ้าระวัง และดำเนินการตามขั้นตอนป้องกันท่ีจำเป็น เพื่อว่าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจะไม่ถูกนำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาอาวุธที่อาจนำมาซ่ึงการละเมิดกฎหมายมนุษยธรรมระหวา่ งประเทศEHL Exploring Humanitarian Law 93 EDUCATION MODULES FOR YOUNG PE0PLE EHL Programme
รปู ภาพ... ชว่ งที่ 1 สำหรับสมาชิกยุวกาชาด รปู ภาพ : หลงั จากการทง้ิ ระเบิด ภาพเ ืมอง ิฮโรชิมา นากากุ หลัง ูถก คำถาม : จากภาพสมาชิกยุวกาชาดเ ็หนอะไรและคิดอย่างไร ระเ ิบดปรมาณูในสงครามโลกค ั้รง ี่ท 2 94 EHLคู่มือการจดั กจิ กรรมยุวกาชาด เรอ่ื ง การเรียนรู้กฎหมายมนษุ ยธรรมรเะพหว่ือ่าเงยปารวะเชทนศ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178