Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Ebook รายงานประจำปี 2564

Ebook รายงานประจำปี 2564

Published by art, 2022-07-27 02:57:46

Description: Ebook รายงานประจำปี 2564

Search

Read the Text Version

สำนักงานปอ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ Anti-Money Laundering Office 2564 LAOMรปารยะจงาำนป ANNUAL REPORT 2021



รายงานประจำ� ปี 2564 ส�ำนกั งานป้องกนั และปราบปรามการฟอกเงิน จดั ทำ� โดย ส�ำนกั งานปอ้ งกนั และปราบปรามการฟอกเงิน เลขที่ 422 ถนนพญาไท แขวงวงั ใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศพั ท ์ 0 2219 3600 โทรสาร 0 2219 3624 อเี มล : [email protected] เว็บไซต ์ : www.amlo.go.th จำ� นวนพมิ พ ์ 1,500 เลม่ ISBN 978-616-8111-15-4 บรษิ ัท ออนป้า จ�ำกดั พิมพ์ที ่ เลขท่ี 111/1 ถนนพระราม 3 แขวงบางคอแหลม เขตบางคอแหลม กรงุ เทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ 0-2689-2999 E-Mail [email protected] 2รายงานประจ�ำปี 2564 ส�ำนักงาน ปปง.

ค�ำน�ำ ส�านักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ส�านักงาน ปปง.) จัดท�ารายงานผลการปฏิบัติงาน ประจ�าปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 นเี้ ป็นฉบบั ท่ี 22 ซ่งึ เปน็ ไปตามมาตรา 47 แห่งพระราชบญั ญตั ิปอ้ งกันและ ปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 รายงานฉบับน้ีแบ่งเป็นส่วนส�าคัญ 6 ส่วน ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 ข้อมูลภาพรวมของหน่วยงาน ส่วนท่ี 2 คณะกรรมการตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 ส่วนที่ 3 ผลการปฏบิ ัตงิ าน สว่ นท่ี 4 รายงานฐานะการเงิน ส่วนท่ี 5 ผลการปฏบิ ัติงานและรายงานฐานะการเงินของ กองทนุ การปอ้ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ สว่ นที่ 6 ปญั หา อปุ สรรค และขอ้ เสนอแนะในการปฏบิ ตั งิ าน ส�านักงาน ปปง. หวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานผลการปฏิบัติงานประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (1 ตุลาคม 2563 - 30 กนั ยายน 2564) จะเป็นประโยชน์ต่อหนว่ ยงานหรือองคก์ รท้ังภาครฐั ภาคเอกชน และ ประชาชนท่ัวไปท่ีเก่ียวข้องในด้านการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินและการป้องกันและปราบปราม การสนบั สนุนทางการเงินแกก่ ารกอ่ การรา้ ยและการแพรข่ ยายอาวธุ ที่มีอานุภาพท�าลายลา้ งสูง สา� นักงาน ปปง. 3รายงานประจา� ปี 2564 ส�านกั งาน ปปง.

สารบญั หน้า ค�ำน�ำ 3 สาร : พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรัฐมนตร ี 7 สาร : นายวษิ ณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี 8 สาร : ประธานกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการฟอกเงิน 9 สาร : เลขาธกิ ารคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน 10 บทน�ำ 11 สว่ นที่ 1 : ขอ้ มลู ภาพรวมของหน่วยงาน 13 1. อำ� นาจหนา้ ท่ี 14 2. ความผดิ มูลฐานตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ 16 3. ผู้บริหารและโครงสร้างการบริหารของส�ำนักงาน ปปง. 18 4. วสิ ยั ทัศน์ (Vison) 24 5. เป้าหมายองค์การ (Ultimate Goal) 25 6. พันธกจิ (Mission) 26 7. คา่ นิยมหลกั (Core Values) 27 8. ยทุ ธศาสตร์ และเป้าประสงคเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตร ์ 28 9. อตั รากำ� ลัง 29 สว่ นที่ 2 : คณะกรรมการตามพระราชบัญญตั ปิ ้องกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ พ.ศ. 2542 31 1. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน 32 2. คณะกรรมการธุรกรรม 35 3. คณะอนุกรรมการในคณะกรรมการ ปปง. 38 4. คณะกรรมการเปรียบเทยี บตามพระราชบญั ญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงนิ พ.ศ. 2542 41 5. คณะกรรมการพจิ ารณาผลการกำ� กบั ตรวจสอบ และประเมินผลการปฏบิ ตั ิ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการป้องกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ ของผมู้ ีหน้าทีร่ ายงาน 41 ส่วนท่ี 3 : ผลการปฏบิ ัตงิ าน 43 1. ผลการปฏบิ ัติงานดา้ นการปอ้ งกันการฟอกเงนิ 44 1.1 การรับเรือ่ งราวร้องเรยี น ร้องทกุ ข์ แจง้ เบาะแส 44 1.2 การดำ� เนนิ การเกี่ยวกับการตรวจสอบและวิเคราะหธ์ รุ กรรม 48 1.3 การจดั ทำ� รายงานวิเคราะหเ์ ชงิ ยุทธศาสตร์ 50 4รายงานประจ�ำปี 2564 สำ� นักงาน ปปง.

หน้า หนา้ 1.4 การแลกเปลี่ยนขอ้ มูลระหวา่ งหน่วยงานทัง้ ภายในประเทศและตา่ งประเทศ 50 1.5 การสง่ เสริมและประสานความร่วมมอื กับภาคประชาชน 53 1.6 การประสานความร่วมมอื กบั หน่วยงานภายในประเทศ 56 2. ผลการปฏบิ ัตงิ านดา้ นการปราบปรามการฟอกเงนิ 61 2.1 ผลการด�ำเนนิ การกับทรพั ยส์ ินตามพระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 62 2.2 การบริหารจัดการทรัพยส์ นิ ทีไ่ ด้จากการยดึ หรอื อายดั ทรพั ยส์ ิน 71 2.3 การดำ� เนนิ คดอี าญาฐานฟอกเงิน 76 2.4 การด�ำเนนิ งานตามพระราชบัญญตั ิป้องกันและปราบปรามการสนับสนนุ ทางการเงิน แกก่ ารก่อการรา้ ยและการแพรข่ ยายอาวธุ ที่มีอานภุ าพทำ� ลายล้างสงู พ.ศ. 2559 77 3. ผลการปฏบิ ตั งิ านของคณะกรรมการตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 79 3.1 ผลการปฏิบัตงิ านของคณะกรรมการ ปปง. 79 3.2 ผลการปฏิบัตงิ านของคณะกรรมการธรุ กรรม 81 3.3 ผลการปฏิบัตงิ านของคณะกรรมการเปรยี บเทียบตามพระราชบัญญัติป้องกัน และปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 82 3.4 ผลการปฏบิ ตั งิ านของคณะกรรมการพจิ ารณาผลการกำ� กบั ตรวจสอบและประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิ ตามกฎหมายว่าด้วยการปอ้ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ ของผู้มหี นา้ ที่รายงาน 82 4. ผลการปฏิบตั ิงานดา้ นการก�ำกบั และตรวจสอบผมู้ ีหนา้ ทร่ี ายงาน 83 4.1 การศึกษา พัฒนา นโยบาย มาตรการและแนวทางการกำ� กบั และตรวจสอบ 83 4.2 การรับรายงานการท�ำธรุ กรรม 83 4.3 การตรวจสอบและประเมนิ ผมู้ หี น้าที่รายงาน 86 5. ผลการปฏิบัตงิ านดา้ นความร่วมมือระหว่างประเทศ 87 5.1 การส่งเสริมและประสานความรว่ มมอื กบั หน่วยงานตา่ งประเทศ 87 5.2 ผลการดำ� เนนิ งานขบั เคลอ่ื นยทุ ธศาสตรด์ า้ นการปอ้ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ และการตอ่ ตา้ น การสนบั สนนุ ทางการเงนิ แกก่ ารก่อการรา้ ย (AML/CFT) ประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 97 6. การพัฒนาองค์การ 100 6.1 การฝกึ อบรม ประชมุ สมั มนา เพอ่ื พัฒนาบคุ ลากรใหม้ ขี ีดสมรรถนะ 100 6.2 การประเมินสว่ นราชการตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสิทธภิ าพในการปฏิบตั ิราชการ ประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 102 5รายงานประจำ� ปี 2564 สำ� นกั งาน ปปง.

หน้า 6.3 การด�ำเนินการดา้ นการพฒั นาคุณภาพการบริหารจดั การภาครฐั (Public Sector Management Quality Award : PMQA) 105 6.4 การดำ� เนินการตามการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการด�ำเนนิ งาน ของหน่วยงานภาครฐั (ITA) 107 6.5 การดำ� เนนิ การปรับปรุงโครงสร้างและอตั ราก�ำลงั ของสำ� นักงาน ปปง. 109 6.6 การดำ� เนนิ การตามมาตรการปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 109 6.7 ขอ้ ก�ำหนดคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 111 7. ผลการนำ� เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารมาใชใ้ นการดำ� เนินงาน 112 7.1 ด้านการตรวจพสิ จู นห์ ลกั ฐานทางคอมพิวเตอร์ (Computer Forensics) 112 7.2 ด้านการตรวจสอบการกระท�ำความผดิ ทางเทคโนโลยี (Cyber Crime Detection) 113 7.3 ดา้ นการพฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 113 7.4 ด้านระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย 116 7.5 ด้านนโยบายและแผนยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศ 116 8. ผลการปฏบิ ตั ิงานด้านการแก้ไขกฎหมายและออกกฎระเบยี บท่ีเกยี่ วข้อง 117 8.1 ยกรา่ ง แกไ้ ขปรับปรงุ กฎหมายท่ีอยูใ่ นความรบั ผิดชอบของส�ำนกั งาน ปปง. 117 8.2 ประกาศใช้อนุบญั ญัติทอ่ี อกตามความในกฎกระทรวงการตรวจสอบ เพอ่ื ทราบข้อเท็จจริงเกยี่ วกบั ลูกคา้ พ.ศ. 2563 118 9. ผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณรายจ่าย ประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 119 9.1 ผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณภาพรวม 119 9.2 ผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณตามผลผลติ /โครงการ 119 สว่ นท่ี 4 รายงานฐานะการเงนิ 121 สว่ นท่ี 5 ผลการปฏบิ ัตงิ านและรายงานการเงนิ ของกองทุนการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงนิ 159 1. วัตถปุ ระสงคข์ องกองทนุ การปอ้ งกนั และปราบปรามการฟอกเงิน 160 2. การประชุมคณะกรรมการกองทุนการปอ้ งกนั และปราบปรามการฟอกเงิน 160 3. การด�ำเนินการของกองทุนการปอ้ งกันและปราบปรามการฟอกเงนิ 161 4. รายงานการเงนิ กองทุนการป้องกนั และปราบปรามการฟอกเงิน 164 ส่วนที่ 6 ปญั หา อปุ สรรค และข้อเสนอแนะในการปฏบิ ตั งิ าน 182 184 ประมวลภาพกิจกรรม 6รายงานประจ�ำปี 2564 ส�ำนักงาน ปปง.

สำรนำยกรัฐมนตรี เนอ่ื งในโอกำสจัดท�ำรำยงำนผลกำรปฏิบตั ิงำนประจ�ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 ของส�ำนักงำนป้องกันและปรำบปรำมกำรฟอกเงิน พทุ ธศักรำช 2565 กำรป้องกันและปรำบปรำมกำรฟอกเงินเป็นนโยบำยส�ำคัญของ พลเอก รัฐบำลที่ส่งผลต่อควำมม่ันคงของชำติในทุกมิติ ทั้งด้ำนเศรษฐกิจ สังคม กำรเมอื ง และควำมสมั พันธร์ ะหว่ำงประเทศ รัฐบำลไดด้ ำ� เนินกำรยกระดบั (ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชำ) ขีดควำมสำมำรถกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรฟอกเงิน และกำรต่อต้ำน กำรสนับสนุนทำงกำรเงินแก่กำรก่อกำรร้ำย โดยมีเป้ำหมำยตำม นายกรฐั มนตรี แผนยทุ ธศำสตรช์ ำต ิ ระยะ 20 ป ี ดำ้ นควำมมน่ั คง เพอ่ื ใหป้ ระเทศมคี วำมมน่ั คง สังคมมีควำมสงบสุข และปลอดภัยจำกภัยคุกคำมทุกรูปแบบ ส่งเสริม ให้มีกำรน�ำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมำใช้ในกำรบริหำรจัดกำรด้ำนควำมมั่นคง ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ ำพสงู สดุ สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทและสถำนกำรณค์ วำมมน่ั คงและ รปู แบบภยั คกุ คำมทเ่ี ปลยี่ นแปลงไปในศตวรรษท ี่ 21 รวมทง้ั พฒั นำบคุ ลำกร ให้มีควำมรู้ควำมสำมำรถ มีควำมพร้อม และมีศักยภำพในกำรปฏิบัติงำน ให้เกิดประสิทธิผลสูงสุด ซ่ึงท่ีผ่ำนมำได้รับควำมร่วมมือจำกทุกภำคส่วน ในกำรขบั เคลอ่ื นแผนงำนดำ้ นควำมมน่ั คงใหเ้ กดิ ผลสมั ฤทธอ์ิ ยำ่ งเปน็ รปู ธรรม ผมขอชน่ื ชมสำ� นกั งำนปอ้ งกนั และปรำบปรำมกำรฟอกเงนิ ทไ่ี ดด้ ำ� เนนิ กำรปอ้ งกนั และปรำบปรำมกำรฟอกเงนิ ทง้ั กำรปรบั ปรงุ กฎหมำยและมำตรกำรทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ใหม้ คี วำมครอบคลมุ และเหมำะสมกบั สถำนกำรณป์ จั จบุ นั พรอ้ มทง้ั บงั คบั ใช้ กฎหมำยอย่ำงจริงจัง เพ่ือตัดวงจรอำชญำกรรม ซ่ึงท�ำให้กำรป้องกันและ ปรำบปรำมปญั หำกำรฟอกเงนิ ในสงั คมไทยมปี ระสทิ ธภิ ำพยง่ิ ขนึ้ ในโอกำสน้ี ผมขอส่งควำมระลึกถึงและควำมปรำรถนำดีมำยัง คณะกรรมกำร ผบู้ รหิ ำร ขำ้ รำชกำร และเจำ้ หนำ้ ทสี่ ำ� นกั งำนปอ้ งกนั และปรำบปรำม กำรฟอกเงินทุกคนท่ีมีส่วนส�ำคัญในกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรฟอกเงิน ตลอดมำ พร้อมท้ังอำรำธนำคุณพระศรีรัตนตรัยและอ�ำนำจสิ่งศักด์ิสิทธ ์ิ ท้ังหลำย อีกทั้งเดชะพระบำรมีของพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว และ สมเดจ็ พระนำงเจำ้ ฯ พระบรมรำชนิ ี ไดโ้ ปรดดลบนั ดำลประทำนพรใหท้ กุ ทำ่ น ประสบแต่ควำมสุข ควำมเจริญ มีพลังกำย พลังใจท่ีสมบูรณ์แข็งแรง และ สมั ฤทธผิ ลในสงิ่ ทพ่ี งึ ปรำรถนำทกุ ประกำรโดยทวั่ กนั 7รายงานประจ�าปี 2564 ส�านักงาน ปปง.

สำรรองนำยกรฐั มนตรี ปจั จบุ นั ปญั หำอำชญำกรรมทเี่ กย่ี วกบั กำรฟอกเงนิ อำท ิ อำชญำกรรมทเี่ กยี่ วขอ้ ง (นำยวิษณุ เครอื งำม) กบั ยำเสพตดิ กำรฉอ้ โกงประชำชน รวมไปถงึ อำชญำกรรมทำงเศรษฐกจิ รปู แบบตำ่ ง ๆ ได้สร้ำงควำมเสียหำยให้แก่ประเทศไทยอย่ำงเป็นวงกว้ำง เนื่องจำกเป็นกำรกระท�ำ รองนายกรฐั มนตรี ควำมผดิ รำ้ ยแรงตำมกฎหมำย โดยควำมเสยี หำยทเี่ กดิ ขนึ้ นนั้ มไิ ดส้ ง่ ผลกระทบแตเ่ พยี ง มิติด้ำนควำมม่ันคงของรัฐและเสถียรภำพของระบบเศรษฐกิจของประเทศเท่ำน้ัน แตย่ งั สง่ ผลกระทบตอ่ สงั คมและชวี ติ ควำมเปน็ อยขู่ องประชำชนเปน็ จำ� นวนมำกอกี ดว้ ย อยำ่ งไรกด็ ี รฐั บำลมไิ ดน้ งิ่ นอนใจและไดต้ ระหนกั ถงึ ควำมสำ� คญั ของปญั หำดงั กลำ่ ว จงึ ได้ มนี โยบำยมงุ่ เนน้ กำรเสรมิ สรำ้ งควำมมน่ั คงปลอดภยั ของประเทศ ตำมยทุ ธศำสตรช์ ำติ 20 ป ี (พ.ศ. 2561 - 2580) โดยดำ� เนนิ กำรตำมแผนแมบ่ ทภำยใตย้ ทุ ธศำสตรช์ ำต ิ ประเดน็ ควำมมนั่ คง ทใ่ี หค้ วำมสำ� คญั กบั กำรบรหิ ำรจดั กำรดำ้ นควำมมน่ั คงแบบองคร์ วมเพอ่ื ใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ ำพสงู สดุ ตลอดจนมกี ำรบรู ณำกำรควำมรว่ มมอื ดำ้ นควำมมนั่ คงกบั ทกุ ภำคสว่ น ทงั้ หนว่ ยงำนภำครฐั ภำคเอกชน ภำคประชำสงั คม และนำนำชำตอิ ยำ่ งจรงิ จงั เพอ่ื จดั กำร และรับมือกับภัยคุกคำมและควำมท้ำทำยด้ำนควำมมั่นคงในทุกมิติ อันจะท�ำให้ ประเทศไทยมคี วำมมน่ั คงปลอดภยั มเี สถยี รภำพ มคี วำมสงบเรยี บรอ้ ย และสำมำรถบรรลุ เปำ้ หมำย “ประเทศชำตมิ นั่ คง ประชำชนมคี วำมสขุ ” ไดอ้ ยำ่ งแทจ้ รงิ ตลอดระยะเวลำท่ีผ่ำนมำ ส�ำนักงำนป้องกันและปรำบปรำมกำรฟอกเงิน (สำ� นกั งำน ปปง.) ไดด้ ำ� เนนิ กำรตำมกฎหมำยวำ่ ดว้ ยกำรปอ้ งกนั และปรำบปรำมกำรฟอกเงนิ และกฎหมำยวำ่ ดว้ ยกำรปอ้ งกนั และปรำบปรำมกำรสนบั สนนุ ทำงกำรเงนิ แกก่ ำรกอ่ กำรรำ้ ย และกำรแพรข่ ยำยอำวธุ ทม่ี อี ำนภุ ำพทำ� ลำยลำ้ งสงู ตลอดจนนโยบำยของรฐั บำลทเ่ี กย่ี วขอ้ ง โดยได้มีกำรบูรณำกำรควำมร่วมมืออย่ำงใกล้ชิดกับหน่วยงำนทั้งในและต่ำงประเทศ ผลกั ดนั ใหม้ กี ำรแกไ้ ขปรบั ปรงุ กฎหมำยใหม้ คี วำมสอดคลอ้ งกบั สถำนกำรณแ์ ละรปู แบบ ของภยั คกุ คำมทเี่ ปลยี่ นแปลงไป พฒั นำระบบเทคโนโลยสี ำรสนเทศและฐำนขอ้ มลู ใหท้ นั สมยั เพ่อื ให้สำมำรถรบั มอื กบั ภัยคุกคำมด้ำนกำรฟอกเงินที่มีแนวโนม้ เพิ่มมำกข้ึนในปัจจุบัน รวมทง้ั สนบั สนนุ กำรยกระดบั มำตรฐำนในกำรปฏบิ ตั งิ ำนดำ้ นกำรปอ้ งกนั และปรำบปรำม กำรฟอกเงนิ และกำรตอ่ ตำ้ นกำรสนบั สนนุ ทำงกำรเงนิ แกก่ ำรกอ่ กำรรำ้ ย (Anti-Money Laundering/Combating the Financing of Terrorism: AML/CFT) ของสำ� นกั งำน ปปง. และหนว่ ยงำนทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ใหเ้ ปน็ ไปอยำ่ งมปี ระสทิ ธภิ ำพ และสอดคลอ้ งกบั มำตรฐำนสำกล อนั เปน็ ทย่ี อมรบั รว่ มกนั ของประชำคมระหวำ่ งประเทศ นอกจำกน ้ี ในป ี 2564 ประเทศไทย ยงั ไดร้ บั คำ� ชน่ื ชมจำกกลมุ่ ตอ่ ตำ้ นกำรฟอกเงนิ เอเชยี แปซฟิ กิ (Asia/Pacific Group on Money Laundering: APG) วำ่ มคี วำมกำ้ วหนำ้ ในกำรดำ� เนนิ กำรทส่ี ำ� คญั หลำยประกำร อกี ทงั้ ยงั สำมำรถยกระดบั ผลกำรดำ� เนนิ งำนใหอ้ ยใู่ นระดบั สอดคลอ้ งกบั มำตรฐำนสำกล ดำ้ น AML/CFT ไดใ้ นหลำยดำ้ นอกี ดว้ ย ผมในฐำนะไดร้ บั มอบหมำยจำกนำยกรฐั มนตรใี หท้ ำ� หนำ้ ทกี่ ำ� กบั กำรบรหิ ำรรำชกำร และบงั คบั บญั ชำสำ� นกั งำน ปปง. ขอขอบคณุ ขำ้ รำชกำรและเจำ้ หนำ้ ทส่ี ำ� นกั งำน ปปง. ทกุ ทำ่ นทไี่ ดท้ มุ่ เทแรงกำยแรงใจทำ� งำนดว้ ยควำมวริ ยิ ะอตุ สำหะ จนมผี ลกำรดำ� เนนิ งำน ทป่ี ระสบผลสำ� เรจ็ อยำ่ งเปน็ ทน่ี ำ่ พงึ พอใจในชว่ งปที ผ่ี ำ่ นมำ ทำ้ ยทสี่ ดุ น ้ี ผมขอใหท้ กุ ทำ่ น มงุ่ มนั่ ตง้ั ใจปฏบิ ตั หิ นำ้ ทอ่ี ยำ่ งเตม็ ควำมสำมำรถ และรว่ มเปน็ กำ� ลงั สำ� คญั ในกำรขบั เคลอ่ื น ภำรกจิ ดำ้ น AML/CFT ของประเทศไทยใหม้ คี วำมกำ้ วหนำ้ และสมั ฤทธผ์ิ ล เพอ่ื ใหส้ ำมำรถ บรรลุวัตถุประสงค์ตำมเจตนำรมณ์ของกฎหมำยในกำรตัดวงจรอำชญำกรรมและ กำรฟอกเงินให้หมดส้ินไปจำกสังคมไทย ตลอดจนพิทักษ์รักษำไว้ซ่ึงผลประโยชน์ของ ประเทศชำตแิ ละประชำชนสบื ไป 8รายงานประจา� ปี 2564 สา� นกั งาน ปปง.

สำรประธำนกรรมกำร ป้องกนั และปรำบปรำมกำรฟอกเงิน สำ� นกั งำน ปปง. เปน็ หนว่ ยงำนหลกั ทม่ี อี ำ� นำจหนำ้ ทใี่ นกำรขบั เคลอื่ น พลตํารวจเอก ภำรกิจด้ำนกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรฟอกเงิน และกำรป้องกันและ ปรำบปรำมกำรสนบั สนนุ ทำงกำรเงนิ แกก่ ำรกอ่ กำรรำ้ ยและกำรแพรข่ ยำยอำวธุ (ชัยยะ ศริ อิ �ำพนั ธ์กลุ ) ที่มีอำนุภำพท�ำลำยล้ำงสูง ตำมพระรำชบัญญัติป้องกันและปรำบปรำม กำรฟอกเงนิ พ.ศ. 2542 และพระรำชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และปรำบปรำมกำรสนบั สนนุ ประธานกรรมการปองกนั และ ทำงกำรเงนิ แกก่ ำรกอ่ กำรรำ้ ยและกำรแพรข่ ยำยอำวธุ ทม่ี อี ำนภุ ำพทำ� ลำยลำ้ งสงู ปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2559 โดยสำ� นกั งำน ปปง. มฐี ำนะเปน็ ฝำ่ ยเลขำนกุ ำรของคณะกรรมกำร ปอ้ งกนั และปรำบปรำมกำรฟอกเงนิ ซง่ึ มอี ำ� นำจหนำ้ ทใ่ี นกำรเสนอมำตรกำร ควำมเหน็ และขอ้ เสนอแนะทเี่ กยี่ วกบั กำรปอ้ งกนั และปรำบปรำมกำรฟอกเงนิ และกำรตอ่ ตำ้ นกำรสนบั สนนุ ทำงกำรเงนิ แกก่ ำรกอ่ กำรรำ้ ยและกำรแพรข่ ยำย อำวธุ ทม่ี อี ำนภุ ำพทำ� ลำยลำ้ งสงู รวมทง้ั กำ� กบั ดแู ล ตดิ ตำมและประเมนิ ผล กำรปฏิบัติงำนของส�ำนักงำน ปปง. เพ่ือเป็นกลไกในกำรก�ำหนดนโยบำย ควบคุมและถ่วงดุลอ�ำนำจในกำรบังคับใช้กฎหมำยว่ำด้วยกำรป้องกันและ ปรำบปรำมกำรฟอกเงิน ซ่ึงคณะกรรมกำร ปปง. ได้เข้ำมำมีบทบำทและ ท�ำหน้ำท่ีในด้ำนกำรก�ำหนดนโยบำย มำตรกำร ก�ำกับ ดูแลส่งเสริมและ สนบั สนนุ กำรดำ� เนนิ งำนของสำ� นกั งำน ปปง. ใหเ้ ปน็ ไปอยำ่ งมปี ระสทิ ธภิ ำพ สอดคล้องตำมวัตถุประสงค์และเจตนำรมณ์ของกฎหมำย เป็นองค์กร ทเ่ี ปน็ มำตรฐำนสำกลไดร้ บั กำรยอมรบั ผมในฐำนะทปี่ ฏบิ ตั หิ นำ้ ทป่ี ระธำนกรรมกำรปอ้ งกนั และปรำบปรำม กำรฟอกเงิน ขออวยพรให้กำรด�ำเนินงำนของส�ำนักงำน ปปง. ประสบ ควำมสำ� เรจ็ บรรลวุ ตั ถปุ ระสงคต์ ำมเจตนำรมณข์ องกฎหมำย และไดร้ บั กำรยอมรบั ในระดบั สำกล และขอใหก้ ำ� ลงั ใจแกผ่ บู้ รหิ ำร ขำ้ รำชกำร เจำ้ หนำ้ ทสี่ ำ� นกั งำน ปปง. ขอใหท้ กุ ทำ่ นรว่ มกนั ปฏบิ ตั งิ ำนดว้ ยควำมมงุ่ มนั่ ซอื่ สตั ย ์ และสจุ รติ เพอื่ บรรลุ เปำ้ หมำยสำ� คญั ใหป้ ระเทศชำตมิ คี วำมมน่ั คง มงั่ คงั่ ยง่ั ยนื สบื ตอ่ ไป 9รายงานประจา� ปี 2564 สา� นักงาน ปปง.

สำรเลขำธกิ ำรคณะกรรมกำร ปอ้ งกันและปรำบปรำมกำรฟอกเงนิ ในปัจจุบันปัญหำอำชญำกรรมที่เกิดจำกกำรฟอกเงินและ พลตาํ รวจตรี กำรสนบั สนนุ ทำงกำรเงนิ แกก่ ำรกอ่ กำรรำ้ ย และกำรแพรข่ ยำยอำวธุ ทมี่ อี ำนภุ ำพ ทำ� ลำยลำ้ งสงู เปน็ ปญั หำสำ� คญั ทส่ี ง่ ผลตอ่ ควำมมน่ั คงของระบบเศรษฐกจิ และ (ปย ะพันธ์ ปง เมือง) สงั คมของประเทศ โดยรฐั บำลไดม้ อบหมำยใหส้ ำ� นกั งำน ปปง. ซงึ่ เปน็ หนว่ ยงำน ทจ่ี ดั ตงั้ ขนึ้ ตำมพระรำชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และปรำบปรำมกำรฟอกเงนิ พ.ศ. 2542 เลขาธกิ ารคณะกรรมการปองกนั ท�ำหน้ำท่ีในกำรขับเคล่ือนภำรกิจ วำงหลักเกณฑ์และดูแลให้มีกำรปฏิบัต ิ และปราบปรามการฟอกเงิน ตำมกฎหมำยวำ่ ดว้ ยกำรปอ้ งกนั และปรำบปรำมกำรฟอกเงนิ และกฎหมำย วำ่ ดว้ ยกำรปอ้ งกนั และปรำบปรำมกำรสนบั สนนุ ทำงกำรเงนิ แกก่ ำรกอ่ กำรรำ้ ย และกำรแพร่ขยำยอำวุธท่ีมีอำนุภำพท�ำลำยล้ำงสูง รวมทั้งด�ำเนินกำรตำม นโยบำยของยทุ ธศำสตรช์ ำต ิ 20 ป ี แผนแมบ่ ทภำยใตย้ ทุ ธศำสตรช์ ำต ิ และ แผนปฏริ ปู ประเทศในกำรตอ่ ตำ้ นกำรฟอกเงนิ เพอ่ื ผลกั ดนั ใหป้ ระเทศไทยเปน็ ทย่ี อมรบั ในระดบั สำกล และบรรลเุ ปำ้ หมำยสำ� คญั ใหป้ ระเทศชำตมิ คี วำมมน่ั คง มง่ั คง่ั ยง่ั ยนื ส�ำนักงำน ปปง. ได้เร่งผลักดันในกำรสร้ำงควำมรู้ควำมเข้ำใจกับ หนว่ ยงำนทเี่ กย่ี วขอ้ ง ทงั้ ภำครฐั ภำคเอกชน และภำคประชำชน มงุ่ มน่ั บงั คบั ใช้ กฎหมำยอยำ่ งเดด็ ขำด เนน้ กำรสบื สวนขยำยผลเพอ่ื นำ� ไปสกู่ ำรยดึ และอำยดั ทรัพย์สินที่เกี่ยวกับกำรกระท�ำควำมผิด ปรับปรุงแก้ไขกฎหมำยที่ส�ำคัญ นำ� นวตั กรรมและพฒั นำระบบเทคโนโลยสี ำรสนเทศใหค้ รอบคลมุ และเทำ่ ทนั กบั อำชญำกรรมดจิ ทิ ลั ยกระดบั กำรปฏบิ ตั ติ ำมมำตรฐำนสำกล สรำ้ งมำตรฐำน กำรปฏบิ ตั งิ ำน บรู ณำกำรกำรทำ� งำนรว่ มกนั พฒั นำระบบกำรบรหิ ำรจดั กำร และบคุ ลำกรใหเ้ ปน็ มอื อำชพี ภำยใตห้ ลกั ธรรมำภบิ ำล อยำ่ งเตม็ ประสทิ ธภิ ำพ เพอื่ แกไ้ ขปญั หำควำมเดอื ดรอ้ นของประชำชน และเสรมิ สรำ้ งควำมมนั่ คงของ ประเทศใหเ้ ปน็ ทย่ี อมรบั ในระดบั สำกล ในโอกำสนี้ผมขอขอบคุณนำยกรัฐมนตรี รองนำยกรัฐมนตร ี คณะกรรมกำรปอ้ งกนั และปรำบปรำมกำรฟอกเงนิ คณะกรรมกำรธรุ กรรมและ คณะกรรมกำรอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวข้อง รวมไปถึงหน่วยงำนท้ังภำครัฐ ภำคเอกชน ภำคประชำชน ที่สนับสนุนและส่งเสริมกำรด�ำเนินงำนของส�ำนักงำน ปปง. ในทกุ ดำ้ น และขอขอบคณุ เจำ้ หนำ้ ทสี่ ำ� นกั งำน ปปง. ทกุ ทำ่ นทมี่ งุ่ มนั่ และอทุ ศิ ตน แกไ้ ขปญั หำอำชญำกรรมทเ่ี กดิ จำกกำรฟอกเงนิ และกำรสนบั สนนุ ทำงกำรเงนิ แกก่ ำรกอ่ กำรรำ้ ย และกำรแพรข่ ยำยอำวธุ ทม่ี อี ำนภุ ำพทำ� ลำยลำ้ งสงู ตำมวสิ ยั ทศั น์ ของสำ� นกั งำน ปปง. 10รายงานประจ�าปี 2564 ส�านักงาน ปปง.

บทน�ำ ส�ำนกั งานปอ้ งกนั และปราบปรามการฟอกเงิน (ส�ำนักงาน ปปง.) เปน็ สว่ นราชการทไ่ี มส่ ังกดั สำ� นักนายก รฐั มนตรี กระทรวง หรอื ทบวง ปฏบิ ตั หิ นา้ ทโี่ ดยอสิ ระและเปน็ กลาง มอี ำ� นาจหนา้ ทต่ี ามมาตรา 40 แหง่ พระราชบญั ญตั ิ ปอ้ งกนั และปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 และท่แี ก้ไขเพิ่มเตมิ ในการด�ำเนนิ การตามมติของคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน คณะกรรมการธุรกรรม และปฏิบัติงานธุรการอ่ืน รับรายงานและ แจ้งตอบการรับรายงาน รวมท้ังการรับรายงานและข้อมูลเกี่ยวกับการท�ำธุรกรรมท่ีได้มาโดยทางอ่ืน รับหรือส่ง รายงานหรือข้อมูลเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นหรือตามข้อตกลงท่ีได้จัดท�ำขึ้นระหว่าง หนว่ ยงานในประเทศหรอื ตา่ งประเทศ ก�ำหนดแนวทางปฏิบตั ิ ก�ำกบั ตรวจสอบ และประเมินผลการปฏบิ ัตติ าม พระราชบัญญัติน้ีของผู้มีหน้าที่รายงานประเมินความเสี่ยงระดับชาติท่ีเกี่ยวกับการฟอกเงินหรือการสนับสนุน ทางการเงนิ แกก่ ารกอ่ การรา้ ยเพอื่ จดั ทำ� นโยบายและกำ� หนดยทุ ธศาสตรด์ า้ นการปอ้ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ และการต่อต้านการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย รวมทั้งแจ้งผลการประเมินความเส่ียงดังกล่าวไปยัง หน่วยงานก�ำกับดูแลผู้มีหน้าที่รายงานและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง จัดท�ำแผนปฏิบัติการร่วมกับส่วนราชการและ หนว่ ยงานของรฐั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง แจง้ รายชอ่ื ผมู้ หี นา้ ทร่ี ายงานซงึ่ ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามกฎหมายไปยงั หนว่ ยงานกำ� กบั ดแู ลและ ผู้มีหน้าที่รายงานเพื่อพิจารณาด�ำเนินการตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องต่อไป ส่งเสริมความร่วมมือของประชาชน เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู สถติ ิ ตรวจสอบ และตดิ ตามประเมนิ ผลการดำ� เนนิ การ วเิ คราะหร์ ายงานเกยี่ วกบั การทำ� ธรุ กรรม และประเมนิ ความเสย่ี งทเี่ กย่ี วกบั การฟอกเงนิ หรอื สนบั สนนุ ทางการเงนิ แกก่ ารกอ่ การรา้ ยเกบ็ รวบรวมพยานหลกั ฐาน เพ่ือด�ำเนินคดีกับผู้กระท�ำความผิด และจัดให้มีโครงการที่เกี่ยวกับการเผยแพร่ความรู้ การให้การศึกษา และ ฝกึ อบรมเกย่ี วกบั การปอ้ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ และการตอ่ ตา้ นการสนบั สนนุ ทางการเงนิ แกก่ ารกอ่ การรา้ ย สำ� นกั งาน ปปง. ในฐานะทเ่ี ปน็ หนว่ ยงานบงั คบั ใชก้ ฎหมายวา่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ และกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ายและการแพร่ขยาย อาวธุ ทมี่ อี านภุ าพทำ� ลายลา้ งสงู ไดด้ ำ� เนนิ การตามบทบาทหนา้ ทซี่ งึ่ กฎหมายกำ� หนดไว้ โดยไดส้ นบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ าน ตามนโยบายรัฐบาลและให้ความร่วมมือกับทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน เพ่ือแก้ไข ปญั หาอาชญากรรม ตลอดจนมงุ่ เสรมิ สรา้ งภาพลกั ษณท์ ด่ี ใี หเ้ กดิ ขนึ้ ในเวทปี ระชาคมระหวา่ งประเทศในดา้ นการปอ้ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ การปอ้ งกนั และปราบปรามการสนบั สนนุ ทางการเงนิ แกก่ ารกอ่ การรา้ ยและการแพรข่ ยาย อาวุธที่มีอานุภาพท�ำลายล้างสูง ซึ่งการจัดท�ำรายงานผลการปฏิบัติงานประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564) ฉบับนเ้ี ป็นไปตามมาตรา 47 แหง่ พระราชบัญญตั ปิ อ้ งกนั และปราบปราม การฟอกเงิน พ.ศ. 2542 ท่ีก�ำหนดให้ส�ำนักงาน ปปง. จัดท�ำรายงานผลการปฏิบัติงานประจ�ำปีเสนอต่อ คณะรฐั มนตรี เพอื่ ใหค้ ณะรฐั มนตรเี สนอรายงานผลการปฏบิ ตั งิ านพรอ้ มขอ้ สงั เกตตอ่ สภาผแู้ ทนราษฎรและวฒุ สิ ภา ส�ำนักงาน ปปง. หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานผลการปฏิบัติงานประจ�ำปีฉบับน้ี จะช่วยสะท้อนให้เห็น ถึงการปฏบิ ตั ิงานทม่ี งุ่ มั่นตลอดระยะเวลาท่ีผา่ นมา และจะเป็นประโยชนต์ อ่ สาธารณชนในการตรวจสอบผลการ ดำ� เนินงานของสำ� นักงาน ปปง. อีกทางหนึง่ 11รายงานประจำ� ปี 2564 ส�ำนกั งาน ปปง.

1สว่ นที่ 12รายงานประจ�าปี 2564 ส�านกั งาน ปปง.

ขอ้ มูลภำพรวมของหนว่ ยงำน 13รายงานประจ�าปี 2564 สา� นักงาน ปปง.

สว่ นที่ 1 : ข้อมูลภาพรวมของหนว่ ยงาน ส�ำนักงาน ปปง. เป็นหน่วยงานที่จัดตั้งขึ้นตามมาตรา 40 แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม การฟอกเงนิ พ.ศ. 2542 ซงึ่ มผี ลใชบ้ งั คบั ตงั้ แตว่ นั ที่ 19 สงิ หาคม 2542 และตามพระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และปราบปราม การฟอกเงนิ พ.ศ. 2542 และทแี่ กไ้ ขเพมิ่ เตมิ กำ� หนดใหส้ ำ� นกั งาน ปปง. เปน็ สว่ นราชการทไ่ี มส่ งั กดั สำ� นกั นายก รฐั มนตรี กระทรวง หรอื ทบวง ปฏบิ ตั หิ นา้ ทโี่ ดยอสิ ระและเปน็ กลาง โดยมเี ลขาธกิ ารคณะกรรมการปอ้ งกนั และ ปราบปรามการฟอกเงิน ซ่ึงขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี ท�ำหน้าท่ีควบคุมดูแลโดยทั่วไปซึ่งราชการของส�ำนักงาน และเปน็ ผบู้ งั คบั บญั ชาขา้ ราชการ พนกั งาน และลกู จา้ ง ซง่ึ ปฏบิ ตั งิ านในสำ� นกั งาน โดยมรี องเลขาธกิ ารเปน็ ผชู้ ว่ ยสงั่ และปฏบิ ตั ริ าชการตามทเี่ ลขาธกิ ารมอบหมาย 1. อ�ำนาจหน้าที่ 1.1 อ�ำนาจหน้าท่ีตามมาตรา 40 แห่ง พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 และท่แี ก้ไขเพม่ิ เตมิ มีดงั ตอ่ ไปน้ี (1) ด�ำเนินการให้เป็นไปตามมติของ คณะกรรมการ คณะกรรมการธุรกรรมและปฏิบัติงาน ธรุ การอื่น (2) รับรายงานการท�ำธุรกรรมท่ีส่งให้ตาม หมวด 2 และแจ้งตอบการรับรายงาน รวมทั้งการรับ รายงานและข้อมูลเก่ียวกับการท�ำธุรกรรมท่ีได้มาโดย ทางอนื่ (3)1 รบั หรอื สง่ รายงานหรอื ขอ้ มลู เพอื่ ปฏบิ ตั กิ าร ตามพระราชบญั ญตั นิ ห้ี รอื กฎหมายอนื่ หรอื ตามขอ้ ตกลง ที่ ไ ด ้ จั ด ท� ำ ขึ้ น ร ะ ห ว ่ า ง ห น ่ ว ย ง า น ใ น ป ร ะ เ ท ศ ห รื อ ตา่ งประเทศ (3/1)2 กำ� หนดแนวทางปฏบิ ตั ิ กำ� กบั ตรวจสอบ และประเมินผลการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติน ้ี ของผู้มีหน้าท่ีรายงานการท�ำธุรกรรมต่อส�ำนักงานตาม หลักเกณฑ์ วิธีการ และแนวปฏิบัติตามระเบียบท ี่ คณะกรรมการก�ำหนด 1 มาตรา 40 (3) แก้ไขเพมิ่ เติมโดยพระราชบัญญตั ิปอ้ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2556 2 มาตรา 40 (3/1) เพมิ่ โดยพระราชบญั ญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ. 2556 14รายงานประจำ� ปี 2564 สำ� นกั งาน ปปง.

(3/2)3 ประเมนิ ความเสย่ี งระดบั ชาตทิ เ่ี กยี่ วกบั และวิเคราะห์รายงานหรือข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับ การฟอกเงินหรือการสนับสนุนทางการเงินแก่ การทำ� ธรุ กรรม และประเมนิ ความเสยี่ งทเ่ี กยี่ วกบั การฟอกเงนิ การกอ่ การรา้ ยเพอ่ื จดั ทำ� นโยบายและกำ� หนดยทุ ธศาสตร์ หรือการสนับสนุนทางการเงนิ แก่การกอ่ การรา้ ย ด้านการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินและ (5) เก็บรวบรวมพยานหลกั ฐานเพอ่ื ดำ� เนนิ คดี การตอ่ ตา้ นการสนบั สนนุ ทางการเงนิ แกก่ ารกอ่ การรา้ ย กับผู้กระทำ� ความผดิ ตามพระราชบญั ญตั ิน้ี เสนอต่อคณะกรรมการและคณะรัฐมนตรี รวมทั้งแจ้ง (6) จัดให้มีโครงการท่ีเกี่ยวกับการเผยแพร่ ผลการประเมนิ ความเสยี่ งดงั กลา่ วไปยงั หนว่ ยงานกำ� กบั ความรู้ การให้การศึกษา และฝึกอบรมในด้านต่างๆ ดูแลผู้มีหน้าท่ีรายงานตามมาตรา 13 และมาตรา 16 ท่ีเกี่ยวกับการด�ำเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ หรือ และหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งเพอ่ื ดำ� เนนิ การใดๆ ในการปอ้ งกนั ช่วยเหลือหรือสนับสนุนทั้งภาครัฐและภาคเอกชนให้มี และปราบปรามการฟอกเงนิ หรอื การตอ่ ตา้ นการสนบั สนนุ การจัดโครงการดงั กลา่ ว ทางการเงนิ แกก่ ารก่อการร้าย (7) ปฏิบัติการอ่ืนตามพระราชบัญญัตินี้หรือ (3/3)4 จัดท�ำแผนปฏิบัติการร่วมกับ ตามกฎหมายอน่ื ส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐที่เก่ียวข้องที่จะ 1.2 อ�ำนาจหน้าท่ีตามมาตรา 22 แห่ง ด�ำเนินการให้เป็นไปตามนโยบายและยุทธศาสตร์ด้าน พระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และปราบปรามการสนบั สนนุ การปอ้ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ และการตอ่ ตา้ น ทางการเงินแก่การก่อการร้ายและการแพร่ขยาย การสนบั สนนุ ทางการเงินแกก่ ารก่อการรา้ ย อาวุธทีม่ อี านภุ าพท�ำลายล้างสูง พ.ศ. 2559 มดี ังน้ี (3/4)5 แจง้ รายชอื่ ผมู้ หี นา้ ทรี่ ายงานตามมาตรา 13 (1) ใหค้ ำ� แนะนำ� หรอื ชแ้ี จงแนวทางการปฏบิ ตั ิ และมาตรา 16 ซ่ึงไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติน ้ี แกผ่ มู้ หี นา้ ทตี่ อ้ งปฏบิ ตั ิ ใหเ้ ปน็ ไปตามพระราชบญั ญตั นิ ี้ หรือกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม (2) กำ� กบั ดแู ล ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผล การสนบั สนนุ ทางการเงนิ แกก่ ารกอ่ การรา้ ยไปยงั หนว่ ยงาน ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ รวมถึงการด�ำเนินคดี กำ� กบั ดแู ลผมู้ หี นา้ ทรี่ ายงานตามมาตรา 13 และมาตรา 16 กับผู้ที่ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามบทบัญญัติแห่ง เพ่ือพจิ ารณาด�ำเนินการตามกฎหมายทีเ่ กีย่ วขอ้ งต่อไป พระราชบัญญตั นิ ้ี (3/5)6 ส่งเสริมความร่วมมือของประชาชน (3) รับหรือส่งรายงานหรือข้อมูลท่ีจะเป็น เกยี่ วกบั การใหข้ อ้ มลู ขา่ วสารเพอื่ การปอ้ งกนั และปราบปราม ประโยชน์ในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้หรือ การฟอกเงินและการต่อต้านการสนับสนุนทางการเงิน ตามกฎหมายอ่ืน แก่การกอ่ การรา้ ย (4) เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู และพยานหลกั ฐานเพอ่ื (4)7 เก็บ รวบรวมขอ้ มลู สถิติ ตรวจสอบ และ ด�ำเนินการเกี่ยวกับการยึด อายัด หรือ ริบทรัพย์สิน ตดิ ตามประเมนิ ผลการดำ� เนนิ การตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี ตามพระราชบัญญตั ินี้หรอื ตามกฎหมายอ่นื 3 มาตรา 40 (3/2) เพิ่มโดยพระราชบญั ญตั ิปอ้ งกนั และปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับท่ี 5) พ.ศ. 2558 4 มาตรา 40 (3/3) เพิม่ โดยพระราชบญั ญตั ปิ ้องกันและปราบปรามการฟอกเงนิ (ฉบบั ที่ 5) พ.ศ. 2558 5 มาตรา 40 (3/4) เพิม่ โดยพระราชบัญญัตปิ อ้ งกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2558 6 มาตรา 40 (3/5) เพมิ่ โดยพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2558 7 มาตรา 40 (4) แก้ไขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบญั ญัตปิ อ้ งกนั และปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ. 2556 15รายงานประจ�ำปี 2564 ส�ำนกั งาน ปปง.

2. ควำมผิดมูลฐำนตำมกฎหมำย 5. ความผิดต่อต�าแหน่งหน้าที่ราชการ วำ่ ดว้ ยกำรปอ้ งกนั และปรำบปรำม ห รื อ ค ว า ม ผิ ด ต ่ อ ต� า แ ห น ่ ง ห น ้ า ท่ี ใ น กำรฟอกเงิน การยุติธรรม ตำมประมวลกฎหมำยอำญำ ควำมผิดตำมกฎหมำยว่ำด้วยควำมผิดของ ควำมผดิ มลู ฐำนตำมกฎหมำยวำ่ ดว้ ยกำรปอ้ งกนั และ พนกั งำนในองคก์ ำรหรอื หนว่ ยงำนของรฐั หรอื ปรำบปรำมกำรฟอกเงิน ตำมบทบัญญัติของพระรำชบัญญัติ ควำมผดิ ตอ่ ตำ� แหนง่ หนำ้ ทหี่ รอื ทจุ รติ ตอ่ หนำ้ ที่ ปอ้ งกนั และปรำบปรำมกำรฟอกเงนิ พ.ศ. 2542 พระรำชบญั ญตั ิ ตำมกฎหมำยอนื่ ป้องกันและปรำบปรำมกำรสนับสนุนทำงกำรเงินแก่กำร ก่อกำรร้ำยและกำรแพร่ขยำยอำวุธท่ีมีอำนุภำพท�ำลำยล้ำงสูง 6. ความผิดเก่ียวกับการกรรโชก หรือ พ.ศ. 2559 และกฎหมำยอื่นที่เกี่ยวข้อง มีควำมผิดมูลฐำน รีดเอาทรัพย์ท่ีกระท�าโดยอ้างอ�านาจอ้ังย่ี ท้งั หมด 29 มูลฐำน ประกอบดว้ ย หรือซอ่ งโจร ตำมประมวลกฎหมำยอำญำ 1. ความผดิ เก่ยี วกบั ยาเสพติด ตำมกฎหมำยวำ่ 7 . ค ว า ม ผิ ด เ ก่ี ย ว กั บ ก า ร ลั ก ล อ บ ด้วยกำรป้องกันและปรำบปรำมยำเสพติดว่ำด้วย หนีศุลกากร ตำมกฎหมำยว่ำดว้ ยศุลกำกร มำตรกำรในกำรปรำบปรำมผกู้ ระทำ� ควำมผดิ เกย่ี วกบั ยำเสพตดิ 8. ความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ตำมประมวลกฎหมำยอำญำ 2. ความผดิ เกยี่ วกบั การคา้ มนษุ ย ์ ตำมกฎหมำย ว่ำด้วยกำรกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรค้ำมนุษย์ 9. ความผิดเกี่ยวกับการพนันตาม หรือควำมผิดตำมประมวลกฎหมำยอำญำในควำมผิด กฎหมายวา่ ดว้ ยการพนนั เฉพำะควำมผดิ เกยี่ วกบั เกยี่ วกบั เพศ เฉพำะทเี่ กย่ี วกบั กำรเปน็ ธรุ ะจดั หำ ลอ่ ไป กำรเปน็ ผจู้ ดั ใหม้ กี ำรเลน่ กำรพนนั โดยไมไ่ ดร้ บั พำไป หรือรับไว้เพื่อกำรอนำจำรซ่ึงชำยหรือหญิง อนญุ ำต โดยมวี งเงนิ ในกำรกระทำ� ควำมผดิ รวมกนั เพอื่ สนองควำมใครข่ องผอู้ นื่ หรอื ควำมผดิ ฐำนพรำกเดก็ มมี ลู คำ่ ตง้ั แตห่ ำ้ ลำ้ นบำทขน้ึ ไป หรอื เปน็ กำรจัด และผู้เยำว์ เฉพำะท่ีเกี่ยวกับกำรกระท�ำเพื่อหำก�ำไร ใหม้ กี ำรเลน่ พนนั ทำงสอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ หรือ เพื่ออนำจำร หรือโดยทุจริต ซอ้ื จำ� หนำ่ ย หรอื รบั ตวั เดก็ หรอื ผเู้ ยำว์ซ่งึ ถกู พรำกนัน้ หรอื ควำมผิดตำม 10. ความผิดเก่ียวกับการเป็นสมาชิก กฎหมำยว่ำด้วยกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรค้ำ อ้ังยี่ ตำมประมวลกฎหมำยอำญำ หรือ ประเวณ ี เฉพำะทเ่ี กย่ี วกบั กำรเปน็ ธรุ ะจดั หำ ลอ่ ไปหรอื กำรมีส่วนร่วมในองคก์ รอำชญำกรรมทม่ี กี ฎหมำย ชักพำไปเพ่ือให้บุคคลน้ันกระท�ำกำรค้ำประเวณี หรือ กำ� หนดเปน็ ควำมผดิ ที่เก่ียวกับกำรเป็นเจ้ำของกิจกำรกำรค้ำประเวณ ี ผู้ดูแลหรือผู้จัดกำรกิจกำรค้ำประเวณี หรือสถำน 11. ความผิดเกี่ยวกับการรับของโจร กำรคำ้ ประเวณ ี หรอื เปน็ ผคู้ วบคมุ ผกู้ ระทำ� กำรคำ้ ประเวณี ตำมประมวลกฎหมำยอำญำ เฉพำะทเี่ กยี่ วกบั ในสถำนกำรคำ้ ประเวณี กำรช่วยจำ� หนำ่ ย ซอ้ื รบั จำ� นำ� หรอื รบั ไวด้ ว้ ย ประกำรใดซึ่งทรัพย์ที่ได้มำโดยกำรกระท�ำ 3. ความผิดเก่ียวกับการฉ้อโกงประชาชน ควำมผดิ อนั มลี กั ษณะเป็นกำรคำ้ ตำมประมวลกฎหมำยอำญำหรอื ควำมผดิ ตำมกฎหมำย ว่ำดว้ ยกำรกู้ยมื เงินทีเ่ ปน็ กำรฉอ้ โกงประชำชน 12. ความผิดเก่ียวกับการปลอมหรือ การแปลง เงนิ ตรา ดวงตรา แสตมป และต๋วั 4. ความผดิ เกยี่ วกบั การยกั ยอกหรอื ฉอ้ โกงหรอื ตำมประมวลกฎหมำยอำญำอันมีลักษณะ ป ร ะ ทุ ษ ร ้ า ย ต ่ อ ท รั พ ย ์ ห รื อ ก ร ะ ท� า โ ด ย ทุ จ ริ ต เป็นกำรค้ำ ตำมกฎหมำยวำ่ ดว้ ยธรุ กจิ สถำบนั กำรเงนิ หรอื กฎหมำย ว่ำด้วยหลักทรพั ย์และตลำดหลกั ทรพั ย ์ ซ่งึ กระทำ� โดย 13.ความผิดเก่ียวกับการค้าตามประมวล กรรมกำร หรือผู้จัดกำร หรือบุคคลใด ซ่ึงรับผิดชอบ กฎหมายอาญาเฉพาะที่เก่ียวกับการปลอม หรอื มปี ระโยชนเ์ กย่ี วขอ้ งในกำรดำ� เนนิ งำนของสถำบนั หรือการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาของ กำรเงนิ นนั้ สินค้า หรือควำมผิดตำมกฎหมำยที่เกี่ยวกับ กำรคมุ้ ครองทรพั ยส์ นิ ทำงปญั ญำอนั มลี กั ษณะ เปน็ กำรคำ้ 16รายงานประจ�าปี 2564 สา� นกั งาน ปปง.

14. ความผิดเก่ียวกับการปลอมเอกสารสิทธิ 22. ความผิดเกี่ยวกับการจูงใจให้ บตั รอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ หรอื หนงั สอื เดนิ ทาง ตำมประมวล ผู้มีสิทธิเลือกตั้งลงคะแนนให้แก่ตนเองหรือ กฎหมำยอำญำอนั มลี กั ษณะเปน็ ปกตธิ รุ ะหรอื เพอ่ื กำรคำ้ ผสู้ มคั รอน่ื ใหง้ ดเวน้ กำรลงคะแนนใหแ้ กผ่ สู้ มคั ร หรอื กำรชกั ชวนใหไ้ ปลงคะแนนไมเ่ ลอื กผใู้ ดเปน็ 15. ความผิดเก่ียวกับทรัพยากรธรรมชาติหรือ สมำชกิ สภำผแู้ ทนรำษฎร ตำมกฎหมำยประกอบ ส่ิงแวดล้อม โดยกำรใช้ ยึดถือ หรือครอบครอง รัฐธรรมนูญว่ำด้วยกำรเลือกต้ังสมำชิกสภำ ทรัพยำกรธรรมชำติหรือกระบวนกำรแสวงหำ ผแู้ ทนรำษฎร ประโยชน์จำกทรัพยำกรธรรมชำติโดยมิชอบด้วย กฎหมำยอันมลี กั ษณะเปน็ กำรคำ้ 23. ความผิดเก่ียวกับการกระท�าการ เพอื่ จงู ใจใหผ้ อู้ น่ื สมคั รเขา้ รบั เลอื กเปน็ สมาชกิ 16.ความผิดเก่ียวกับการประทุษร้ายต่อชีวิต วฒุ สิ ภา หรอื ถอนการสมคั ร หรอื กระทา� การใดๆ หรือร่างกายจนเป็นเหตุให้เกิดอันตรายสาหัส อันไม่ชอบด้วยกฎหมาย ให้ผู้นั้นหมดสิทธิ ตำมประมวลกฎหมำยอำญำ เพ่ือให้ได้ประโยชน์ ท่ีจะเลือก หรือได้รับเลือก หรือเพ่ือจูงใจ ซ่งึ ทรัพย์สิน ให้ผู้สมัครหรือผู้มีสิทธิเลือกลงคะแนนหรือ ไมล่ งคะแนนใหแ้ กผ่ ใู้ ด ตำมกฎหมำยประกอบ 17. ความผิดเกี่ยวกับการหน่วงเหนี่ยว หรือ รฐั ธรรมนญู วำ่ ดว้ ยกำรไดม้ ำซง่ึ สมำชกิ วฒุ สิ ภำ กกั ขงั ผอู้ น่ื ตำมประมวลกฎหมำยอำญำเฉพำะกรณเี พอื่ เรียกหรือรับผลประโยชน์ หรือเพื่อต่อรองให้ได้รับ 24. ความผิดเก่ียวกับการมีส่วนร่วม ผลประโยชนอ์ ยำ่ งใดอยำ่ งหน่งึ ในองคก์ รอาชญากรรมขา้ มชาติ ตำมกฎหมำย ว่ำด้วยกำรมีส่วนร่วมในองค์กรอำชญำกรรม 18. ความผดิ เกย่ี วกบั การลกั ทรพั ย์ กรรโชก รดี ขำ้ มชำติ เอาทรพั ย์ ชงิ ทรพั ย์ ปลน้ ทรพั ย์ ฉอ้ โกง หรอื ยกั ยอก ตำมประมวลกฎหมำยอำญำอนั มลี กั ษณะเปน็ ปกตธิ รุ ะ 25. ความผิดเก่ียวกับการสนับสนุน ทางการเงินแก่การกอ่ การร้าย 19. ความผดิ เกยี่ วกบั การกระทา� อนั เปน็ โจรสลดั ตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรป้องกันและปรำบปรำม 26. ความผิดเกี่ยวกับการสนับสนุน กำรกระทำ� อนั เปน็ โจรสลดั ทางการเงินแก่การแพร่ขยายอาวุธท่ีมี อานุภาพทา� ลายล้างสงู 20. ความผดิ เกย่ี วกบั การกระทา� อนั ไมเ่ ปน็ ธรรม เกยี่ วกบั การซอ้ื ขายหลกั ทรพั ย์ ตำมกฎหมำยวำ่ ดว้ ย 27. ความผิดเก่ียวกับการหลีกเล่ียงหรือ หลกั ทรพั ยแ์ ละตลำดหลกั ทรพั ย ์ หรอื ควำมผดิ เกย่ี วกบั ฉ้อโกงภาษี ตำมประมวลรัษฎำกร (สิ้นผล กำรกระท�ำอันไม่เป็นธรรมเกี่ยวกับสัญญำ ซ้ือขำย บังคับไป โดยค�ำวินิจฉัยของศำลรัฐธรรมนูญ ล่วงหน้ำตำมกฎหมำยว่ำด้วยสัญญำซ้ือขำยล่วงหน้ำ ท่ ี 8/2564 ลงวันท่ ี 2 มิถุนำยน 2564) หรือควำมผิดเกี่ยวกับกำรกระท�ำอันไม่เป็นธรรมท่ีม ี ผลกระทบต่อรำคำซื้อขำยสินค้ำเกษตรล่วงหน้ำหรือ 28. ความผดิ เกยี่ วกบั การบงั คบั ใชแ้ รงงาน เก่ียวกับกำรใช้ข้อมูลภำยใน ตำมกฎหมำยว่ำด้วย หรือบริการท่ีเป็นเหตุให้ผู้ถูกกระท�ำได้รับ กำรซอื้ ขำยสินค้ำเกษตรล่วงหนำ้ อันตรำยสำหัสหรือถึงแก่ควำมตำย ตำม กฎหมำยว่ำด้วยกำรป้องกันและปรำบปรำม 21. ความผิดเก่ียวกับอาวุธปน เคร่ืองกระสุน กำรคำ้ มนุษย์ และวัตถุระเบิด ตำมกฎหมำยว่ำด้วยอำวุธปืน เคร่ืองกระสุนปืน วัตถุระเบิด ดอกไม้เพลิง และ 29. ความผิดเกี่ยวกับการกระท�าการ ส่ิงเทียมอำวุธปืน เฉพำะท่ีเป็นกำรค้ำอำวุธปืน เพอ่ื จงู ใจใหผ้ มู้ สี ทิ ธเิ ลอื กตงั้ สมาชกิ สภาทอ้ งถน่ิ เครอ่ื งกระสนุ ปนื และวตั ถรุ ะเบดิ และควำมผดิ ตำมกฎหมำย หรือผู้บริหารท้องถิ่นลงคะแนนให้แก่ตนเอง ว่ำด้วยกำรควบคุมยุทธภัณฑ์เฉพำะที่เป็นกำรค้ำ หรอื ผสู้ มคั รอน่ื ให้งดเว้นกำรลงคะแนนให้แก่ ยุทธภัณฑ์เพ่ือนำ� ไปใช้ในกำรก่อกำรรำ้ ย กำรรบ หรือ ผู้สมัคร หรือกำรชักชวนให้ไปลงคะแนน กำรสงครำม ไมเ่ ลอื กผใู้ ดเปน็ สมำชกิ สภำทอ้ งถน่ิ หรอื ผบู้ รหิ ำร ท้องถิ่นตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรเลือกตั้ง สภำท้องถ่ินหรือผบู้ ริหำรท้องถ่นิ 17รายงานประจ�าปี 2564 ส�านกั งาน ปปง.

3. ผู้บรหิ ำรและโครงสรำ้ งกำรบรหิ ำรของสำ� นกั งำน ปปง. นักบริหำร พลต�ำรวจตรี ปยะพนั ธ์ ปงเมือง เลขาธกิ ารคณะกรรมการปอ งกนั และ ปราบปรามการฟอกเงนิ นำงนวลจนั ทร์ โพธชิ์ ว่ ย นำยเทพสุ บวรโชตดิ ำรำ รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการปอ งกนั ผชู วยเลขาธกิ ารคณะกรรมการปองกัน และปราบปรามการฟอกเงิน และปราบปรามการฟอกเงนิ 18รายงานประจา� ปี 2564 สา� นกั งาน ปปง.

เลขำนุกำรกรม / ผอู้ �ำนวยกำรกอง/ศนู ย/์ กลุ่ม รอ้ ยตำ� รวจเอก ไพรตั น์ เทศพำนชิ นำยวิทยำ นีติธรรม เลขานุการกรม ผูอํานวยการกองกฎหมาย นำยพรี ธร วมิ ลโลหกำร นำยนพดล อเุ ทน นำยสุวจิ ักขณ์ ธรรมชยั พจน์ ผอู าํ นวยการกองกาํ กบั และตรวจสอบ ผอู ํานวยการกองขาวกรองทางการเงนิ ผูอํานวยการกองคดี 1 19รายงานประจ�าปี 2564 สา� นกั งาน ปปง.

เลขำนุกำรกรม / ผู้อ�ำนวยกำรกอง/ศนู ย/์ กลมุ่ 1 นำยกมลสิษฐ์ วงศ์บตุ รน้อย ผูอาํ นวยการกองคดี 2 2 นำงชลธิชำ ดำวเรือง ผอู ํานวยการกองคดี 3 3 พนั ต�ำรวจโท ธรี พงษ์ ดลุ ยวิจำรณ์ ผเู ชย่ี วชาญเฉพาะดา นสบื สวนสอบสวนทางการเงนิ 12 3 ปฏิบตั หิ นา ท่ี ผูอาํ นวยการกองคดี 4 นำงสำวสุปรำณี สถิตชัยเจริญ นำงสำวมนต์สินี เหน็ พรอ้ ม ผอู าํ นวยการกองความรว มมอื ระหวา งประเทศ ผอู ํานวยการกองนโยบายและยุทธศาสตร 20รายงานประจา� ปี 2564 สา� นักงาน ปปง.

เลขำนุกำรกรม / ผู้อำ� นวยกำรกอง/ศูนย์/กล่มุ นำยสรรเพชญ แสงเนตรสวำ่ ง นำยศวิ ชั ชำวบำงงำม ผอู ํานวยการกองบรหิ ารจดั การทรัพยส ิน ผอู าํ นวยการศนู ยเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 1 นำงสำวมนต์สินี เหน็ พรอ้ ม 12 3 ผูอ ํานวยการกองนโยบายและยุทธศาสตร ปฏบิ ตั หิ นา ที่ ผอู าํ นวยการกลมุ พฒั นาระบบบรหิ าร 2 นำงวรรณภำ โพธิท์ อง ผอู าํ นวยการกลุมตรวจสอบภายใน 3 นำงสำวเขมณฏั ฐ์ กมลพทิ ักษจ์ ติ นักวเิ คราะหนโยบายและแผนชํานาญการ รกั ษาราชการแทน ผอู าํ นวยการกองสอื่ สารองคก ร 21รายงานประจา� ปี 2564 สา� นักงาน ปปง.

ผู้เชย่ี วชำญ พนั ตำ� รวจโท ธรี พงษ์ ดลุ ยวจิ ำรณ์ นำยสนธยำ เหลอื งเจรญิ ลำภ นำยสุนทรำ พลไตร ผเู ชย่ี วชาญเฉพาะดา นสบื สวนสอบสวน ผูเชย่ี วชาญเฉพาะดา นนโยบายและ ผูเช่ียวชาญเฉพาะดา นกฎหมาย ทางการเงิน มาตรการ 22รายงานประจ�าปี 2564 ส�านกั งาน ปปง.

โครงสรำ้ งส�ำนักงำนปอ้ งกนั และปรำบปรำมกำรฟอกเงิน ผเู้ ชีย่ วชำญเฉพำะดำ้ นสืบสวน เลขำธิกำรคณะกรรมกำร ศูนย์เทคโนโลยสี ำรสนเทศ สอบสวนทำงกำรเงิน ป้องกันและปรำบปรำม กลมุ่ ตรวจสอบภำยใน กลุ่มพัฒนำระบบบริหำร ผ้เู ชย่ี วชำญเฉพำะดำ้ นนโยบำย กำรฟอกเงนิ ศูนยป์ ฏิบตั ิกำรตอ่ ตำ้ น และมำตรกำร กำรทจุ ริต ผู้เช่ียวชำญเฉพำะดำ้ นกฎหมำย รองเลขำธิกำรคณะกรรมกำร ผู้ชว่ ยเลขำธกิ ำรคณะกรรมกำร ปอ้ งกนั และปรำบปรำม ป้องกนั และปรำบปรำม กำรฟอกเงิน กำรฟอกเงนิ สำ� นกั งำน กองข่ำวกรองทำงกำรเงนิ เลขำนกุ ำรกรม กองคดี 1 กองบริหำรจดั กำร ทรพั ยส์ นิ กองคดี 2 กองนโยบำยและ กองคด ี 3 ยุทธศำสตร์ กองสื่อสำรองคก์ ร กองคด ี 4 กองกำ� กับและ ตรวจสอบ กองควำมร่วมมือ ระหวำ่ งประเทศ กองกฎหมำย 23รายงานประจา� ปี 2564 สา� นกั งาน ปปง.

4. วิสัยทัศน์ (Vision) องคก์ รท่เี ป็นมำตรฐำน ได้รับกำรยอมรับในระดบั สำกล 24รายงานประจา� ปี 2564 สา� นักงาน ปปง.

5. เปำ้ หมำยองค์กำร (Ultimate Goal) 5.1 มีสัมฤทธิผลในการปฏิบัติงานด้านการป้องกัน และปราบปรามการฟอกเงนิ และการตอ่ ตา้ น การสนบั สนนุ ทางการเงินแก่การกอ่ การร้ายและ การแพรข่ ยายอาวธุ ท่ีมอี านุภาพท�าลายลา้ งสงู 5.2 ผา่ นการประเมนิ มาตรฐานสากล 5.3 หน่วยงานทั้งในและต่างประเทศ รวมทั้ง ภาคประชาชน มคี วามเชอ่ื มนั่ และยอมรบั ในการปฏบิ ตั งิ าน ของส�านกั งาน ปปง. 25รายงานประจา� ปี 2564 ส�านักงาน ปปง.

6. พันธกิจ (Mission) พันธกิจ (Mission) พนั ธกจิ 1 ประเมนิ และจดั การความเสยี่ งดา้ นการฟอกเงนิ การสนบั สนนุ ทางการเงนิ แก่การก่อการร้ายและการสนับสนุนทางการเงินแก่การแพร่ขยาย อาวุธท่ีมอี านุภาพท�าลายลา้ งสูง พนั ธกจิ 2 ก�าหนดนโยบายและมาตรการให้สอดคล้องกบั มาตรฐานสากล บงั คบั ใชก้ ฎหมายอยา่ งมสี มั ฤทธผิ ลและเปน็ ทยี่ อมรบั รวมถงึ พฒั นาระบบ พนั ธกจิ 3 บริหารจดั การทรพั ย์สินให้มปี ระสทิ ธภิ าพและเกิดประโยชน์สงู สุด พนั ธกจิ 4 ประสานและบูรณาการความร่วมมือและสร้างเครือข่ายกับองค์กรหรือ หนว่ ยงานภาครฐั และเอกชนทั้งในและต่างประเทศ พนั ธกจิ 5 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน และรองรบั รัฐบาลดจิ ิทลั พนั ธกจิ 6 เสรมิ สร้างองค์ความรเู้ พ่อื พฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากร 26รายงานประจา� ปี 2564 สา� นักงาน ปปง.

7. ค่ำนยิ มหลัก (Core Values) ประกอบดว้ ยค่ำนยิ ม 5 ข้อ คือ กลำ้ หำญ ซื่อสตั ย์ ยตุ ธิ รรม สำมัคคี และใฝเ รียนรู้ ดังน้ี ค่ำนยิ ม และคำ� นิยำม พฤติกรรมทพ่ี งึ ประสงค์ 1 กลา้ หาญ (Courage) : กลา้ คดิ กลา้ ทา� 1.1 รบั ผดิ ชอบในกำรกระท�ำของตน กลา้ พดู ในสิ่งทีถ่ กู ต้อง ถกู กาลเทศะ 1.2 ปฏบิ ตั หิ นำ้ ทโ่ี ดยไมเ่ กรงกลวั ตอ่ อทิ ธพิ ลใดๆ โดยไม่หว่นั เกรงต่ออิทธิพลใด ๆ 1.3 แสดงควำมคิดเหน็ อยำ่ งตรงไปตรงมำเพอ่ื ประโยชน์ ส่วนรวม 2 ซอ่ื สัตย์ (Honesty) : สุจรติ ยดึ มัน่ 1.4 ยืนหยดั ในส่ิงทีถ่ ูกต้องและปฏิเสธในสงิ่ ทไี่ มถ่ กู ต้อง ในความถูกตอ้ ง ปฏบิ ัติหน้าทดี่ ้วย 2.1 ไมม่ ผี ลประโยชน์ทบั ซอ้ น ความซ่ือตรง 2.2 ไม่รบั สนิ บน 2.3 ไมเ่ บยี ดบงั เวลำรำชกำร 2.4 ไมเ่ บยี ดบงั ทรพั ย์สนิ ของรำชกำร 2.5 ปฏิบัตโิ ดยยึดหลกั กฎหมำย ระเบยี บทเี่ กยี่ วขอ้ งและ ควำมถูกต้อง 3 ยุตธิ รรม (Justice) : ปฏบิ ัติหน้าที่ 3.1 ใหบ้ รกิ ำรตอ่ ผรู้ บั บรกิ ำรดว้ ยควำมถกู ตอ้ งตำมกฎระเบยี บ ดว้ ยความเท่ียงธรรม เสมอภาค อยำ่ งรวดเรว็ (ตำมกรอบระยะเวลำทก่ี �ำหนด) ปราศจากอคติ 3.2 ไม่เลือกปฏิบัต ิ ปรำศจำกควำมลำ� เอียงหรอื อคติ 3.3 ปฏบิ ตั หิ นำ้ ทดี่ ว้ ยควำมโปรง่ ใส เปน็ กลำง และยอมรบั กำรตรวจสอบ 3.4 ผบู้ งั คบั บญั ชำให้ควำมเสมอภำคกับผู้ใตบ้ งั คับบญั ชำ 4 สามคั คี (Harmony) : ร่วมแรงรว่ มใจ 4.1 ท�ำงำนเปน็ ทมี เปน็ อนั หนง่ึ อนั เดยี วกนั ชว่ ยเหลอื แบง่ ปัน 4.2 ร่วมแรงร่วมใจช่วยเหลือซงึ่ กันและกนั ยอมรับความคดิ เหน็ ทแ่ี ตกตา่ ง เพื่อให้ 4.3 รบั ฟงั ควำมคดิ เหน็ คนอน่ื /Open Mind เกดิ การทา� งานร่วมกนั อย่างสรา้ งสรรค์ 4.4 ท�ำกิจกรรมรว่ มกัน 4.5 กลมเกลยี ว ปรองดอง เป็นมิตร 5 ใฝเ รยี นรู้ (Eager to Learn) : 5.1 ศกึ ษำหำควำมรูจ้ ำกแหล่งข้อมลู ตำมช่องทำงต่ำง ๆ กระตอื รอื รน้ และเพยี รพยายามในการศกึ ษา อยำ่ งสมำ่� เสมอ หาความรู้ ปรบั ปรงุ ในสง่ิ ทม่ี อี ยเู่ ดมิ เพม่ิ เติม 5.2 สงสัย ตง้ั คำ� ถำม และแสวงหำคำ� ตอบ องคค์ วามรอู้ ยา่ งต่อเนื่อง 5.3 วเิ ครำะหป์ ญั หำและหำทำงแกไ้ ข ใสใ่ จทกุ รำยละเอยี ด 5.4 ฝึกฝนและพัฒนำตนเองใหม้ ศี ักยภำพ 5.5 นำ� ควำมรทู้ ไ่ี ดไ้ ปใชพ้ ฒั นำงำนและองคก์ ร 27รายงานประจ�าปี 2564 สา� นักงาน ปปง.

8. ยุทธศาสตร์ และเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ เป้าประสงค์เชงิ ยทุ ธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ท่ี 1 1. การด�ำเนินการดา้ นการป้องกันสอดคลอ้ งกับความเส่ยี ง ยกระดบั การด�ำเนินการดา้ นการปอ้ งกัน 2. ภาคเี ครอื ขา่ ยมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจและใหค้ วามรว่ มมอื เพมิ่ ขนึ้ ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความเสย่ี ง 3. สร้างมาตรฐานการกำ� กับและตรวจสอบผูม้ ีหนา้ ทรี่ ายงาน ยุทธศาสตร์ที่ 2 1. ผลการวิเคราะหธ์ รุ กรรมทางการเงนิ นำ� ไปส่กู ารด�ำเนนิ คดี ยกระดบั การบังคบั ใชก้ ฎหมาย ตามกฎหมาย อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผล 2. การด�ำเนินคดีกับทรัพย์สินในความผิดมูลฐานที่สอดคล้อง กบั ความเสี่ยงและความผิดฐานฟอกเงนิ 3. การด�ำเนินคดีอาญาฟอกเงิน การสนับสนุนทางการเงิน แกก่ ารกอ่ การรา้ ยและการสนบั สนนุ ทางการเงนิ แกก่ ารแพรข่ ยาย อาวธุ ทมี่ อี านภุ าพทำ� ลายลา้ งสงู สอดคลอ้ งกบั ความเสยี่ ง 4. พัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการทรพั ย์สินใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ ยิง่ ข้ึน ยุทธศาสตร์ท่ี 3 1. โครงสรา้ งองคก์ ร และอตั รากำ� ลงั มคี วามเหมาะสมกบั ภารกจิ พัฒนาองค์การใหม้ ีประสทิ ธิภาพและ 2. บุคลากรมีสมรรถนะสูง มธี รรมาภบิ าล 3. มรี ะบบเทคโนโลยสี ารสนเทศและฐานขอ้ มลู ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ 4. เป็นองคก์ รแหง่ การเรียนรู้และส่งเสรมิ การสร้างนวตั กรรม 5. ระบบการบรหิ ารจดั การองคก์ รเปน็ ไปตามหลกั ธรรมาภบิ าล 28รายงานประจำ� ปี 2564 สำ� นักงาน ปปง.

9. อัตรำกำ� ลัง สำ� นกั งำน ปปง. ไดร้ บั กำรจดั สรรอตั รำกำ� ลงั ขำ้ รำชกำร จำ� นวนทงั้ สนิ้ 552 อตั รำ บรรจแุ ลว้ จำ� นวน 507 อตั รำ มีอัตรำว่ำง จ�ำนวน 45 อัตรำ และมีอัตรำก�ำลังพนักงำนรำชกำร จ�ำนวน 32 อัตรำ บรรจุแล้ว จ�ำนวน 32 อัตรำ มรี ำยละเอยี ด ดงั น้ี 1 ขำ้ รำชกำร จ�าแนกตามต�าแหน่ง ชาย หญิง รวม 1. นกั บริหำร 2 13 2. ทป่ี รึกษำ - -- 3. ผู้เช่ยี วชำญ 3 -3 4. ผอู้ ำ� นวยกำรกอง (อ�ำนวยกำรสงู ) 8 2 10 5. ผอู้ ำ� นวยกำรกอง (อำ� นวยกำรต้น) - -- 6. นกั สบื สวนสอบสวน 165 162 327 7. นติ ิกร 19 42 61 8. นกั วิเครำะห์นโยบำยและแผน 10 38 48 9. นักวิชำกำรคอมพิวเตอร์ 16 4 20 10. นกั จัดกำรงำนทวั่ ไป 2 9 11 11. นักทรัพยำกรบุคคล 1 56 12. นักวชิ ำกำรเงนิ และบัญชี 1 45 13. นกั วชิ ำกำรพัสดุ 2 68 14. นักวิชำกำรตรวจสอบภำยใน - 22 15. เจำ้ พนักงำนธุรกำร 1 23 รวม 230 277 507 หมายเหตุ : สำ� นกั งำน ปปง. ไดจ้ ดั สรรอตั รำวำ่ งเพอื่ กำรบรหิ ำรจดั กำรภำยในสว่ นรำชกำร จำ� นวน 15 อตั รำ (ตำมมำตรกำร บริหำรจัดกำรก�ำลังคนภำครัฐ (พ.ศ. 2562 - 2565) ก�ำหนดว่ำไม่เกินร้อยละ 5 ของต�ำแหน่งข้ำรำชกำรทั้งหมด ในแตล่ ะปงี บประมำณ) 2 พนกั งำนรำชกำร ตา� แหน่ง ชาย หญงิ รวม 1. เจำ้ หน้ำที่วเิ ครำะห์นโยบำยและแผน 4 11 15 2. นกั วิชำกำรเงินและบญั ชี - 11 3. นักวชิ ำกำรพัสดุ 1 -1 4. เจำ้ หน้ำท่บี ริหำรงำนทัว่ ไป - 44 5. เจำ้ หน้ำทธ่ี ุรกำร 1 56 6. เจ้ำหน้ำที่บนั ทึกขอ้ มูล - 55 รวม 6 26 32 ขอ้ มูล ณ วันท ่ี 30 กันยำยน 2564 29รายงานประจา� ปี 2564 ส�านกั งาน ปปง.

2สว่ นที่ 30รายงานประจ�าปี 2564 ส�านกั งาน ปปง.

คณะกรรมกำรตำมพระรำชบัญญตั ิ ป้องกันและปรำบปรำม กำรฟอกเงิน พ.ศ. 2542 31รายงานประจ�าปี 2564 ส�านักงาน ปปง.

สว่ นที่ 2 : คณะกรรมการตามพระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ พ.ศ. 2542 ตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 ก�ำหนด ใหม้ คี ณะกรรมการและคณะอนกุ รรมการตา่ งๆ เพอ่ื ประโยชนใ์ นการปฏบิ ตั ติ ามพระราชบญั ญตั นิ ี้ จำ� นวน 5 คณะ โดยมีองค์ประกอบและอำ� นาจหนา้ ที่ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. คณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามการฟอกเงนิ ตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติป้องกัน และปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 ก�ำหนดให้มี คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (คณะกรรมการ ปปง.) เพื่อเป็นกลไกในการก�ำหนด นโยบาย ควบคุมและถ่วงดุลอ�ำนาจในการบังคับใช้ กฎหมายวา่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ เนื่องจากกฎหมายดังกล่าวมีบทบัญญัติบางประการ ทจ่ี ำ� กดั สทิ ธแิ ละเสรภี าพของบคุ คล ซงึ่ ตามมาตรา 248 ก�ำหนดองค์ประกอบของคณะกรรมการ ปปง. มจี ำ� นวนทงั้ สนิ้ 14 คน มอี ำ� นาจหนา้ ทตี่ ามมาตรา 259 แหง่ พระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ พ.ศ. 2542 ดงั ตอ่ ไปนี้ (1) เสนอมาตรการ ความเหน็ และขอ้ เสนอแนะ ทเี่ กย่ี วกบั การปอ้ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ และ การตอ่ ตา้ นการสนบั สนนุ ทางการเงนิ แกก่ ารกอ่ การรา้ ย ตอ่ คณะรฐั มนตรี (2) กำ� กบั ดแู ล ตดิ ตามและประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิ ของสำ� นกั งานตามพระราชบญั ญตั นิ ห้ี รอื กฎหมายวา่ ดว้ ย การป้องกันและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงิน แกก่ ารกอ่ การรา้ ย 8 มาตรา 24 แกไ้ ขเพมิ่ เติมโดยคำ� สง่ั หวั หน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ท่ี 38/2560 เร่อื ง การแก้ไขเพิม่ เตมิ องคป์ ระกอบและอ�ำนาจ หนา้ ทข่ี องคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ 9 มาตรา 25 แก้ไขเพิม่ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั ปิ ้องกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ (ฉบบั ที่ 5) พ.ศ. 2558 32รายงานประจ�ำปี 2564 ส�ำนักงาน ปปง.

(3)10 กำ� กบั ดแู ล และควบคมุ ใหค้ ณะกรรมการ ระเบยี บตามวรรคหนง่ึ ตอ้ งไดร้ บั ความเหน็ ชอบ ธรุ กรรม สำ� นกั งาน และเลขาธกิ าร ปฏบิ ตั หิ นา้ ทอ่ี ยา่ งเปน็ จากคณะกรรมการด้วยคะแนนเสียงสองในสาม อสิ ระและสามารถตรวจสอบได้ รวมทงั้ ระงบั หรอื ยบั ยง้ั ของจำ� นวนกรรมการทงั้ หมดเทา่ ทม่ี อี ยู่และตอ้ งประกาศ การกระทำ� ใดของคณะกรรมการธรุ กรรม สำ� นกั งานและ ในราชกจิ จานเุ บกษากอ่ นจงึ จะใชบ้ งั คบั ได้ เลขาธกิ าร ทเี่ หน็ วา่ เปน็ การเลอื กปฏบิ ตั หิ รอื เปน็ การละเมดิ ในระหว่างที่ยังไม่มีระเบียบตามวรรคหน่ึง สทิ ธมิ นษุ ยชนขน้ั พน้ื ฐาน ทงั้ นตี้ ามระเบยี บทค่ี ณะกรรมการ ใหค้ ณะกรรมการดำ� เนนิ การไปตามทเ่ี หน็ สมควร กำ� หนด (4) กำ� หนดหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารในการประเมนิ ความเสี่ยงท่ีเก่ียวกับการฟอกเงินหรือการสนับสนุน ทางการเงินแก่การก่อการร้ายที่อาจเกิดจากการท�ำ ธุรกรรมของหน่วยงานของรัฐหรือกิจการบางประเภท ทไี่ มต่ อ้ งรายงานการทำ� ธรุ กรรมตามพระราชบญั ญตั นิ แี้ ละ เสนอแนะแนวทางปฏบิ ตั เิ พอ่ื ปอ้ งกนั ความเสย่ี งดงั กลา่ ว (5) ออกระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ประกาศ คำ� สง่ั หรอื ก�ำหนดหลักเกณฑ์ใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับอ�ำนาจของ คณะกรรมการธรุ กรรม รวมตลอดทง้ั ออกระเบยี บหรอื ประกาศอน่ื ใดทพี่ ระราชบญั ญตั นิ ้ี กำ� หนดใหเ้ ปน็ อำ� นาจ ของคณะกรรมการ ทงั้ นี้ ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ประกาศ คำ� สงั่ หรือหลักเกณฑ์ใดท่ีก�ำหนดให้ประชาชนต้องปฏิบัต ิ ตอ้ งประกาศในราชกจิ จานเุ บกษากอ่ นจงึ จะใชบ้ งั คบั ได้ (6) คัดเลือกบุคคลท่ีสมควรด�ำรงต�ำแหน่ง เลขาธกิ ารเพอ่ื เสนอคณะรฐั มนตรดี ำ� เนนิ การตอ่ ไป (7) วางระเบยี บในการดำ� เนนิ การกบั ขอ้ มลู หรอื เอกสารเพื่อใช้เป็นพยานหลักฐานในการปฏิบัติตาม พระราชบัญญตั นิ ห้ี รือกฎหมายว่าด้วยการปอ้ งกันและ ปราบปรามการสนบั สนนุ ทางการเงนิ แกก่ ารกอ่ การรา้ ย (8) ปฏิบัติการอ่ืนตามพระราชบัญญัติน้ีหรือ ต า ม ท่ี มี ก ฎ ห ม า ย บั ญ ญั ติ ใ ห ้ เ ป ็ น อ� ำ น า จ ห น ้ า ท่ี ข อ ง คณะกรรมการ หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารคดั เลอื กตาม (6) ใหเ้ ปน็ ไป ตามทคี่ ณะกรรมการประกาศกำ� หนด 10มาตรา 25 (3) แกไ้ ขเพ่มิ เตมิ โดยค�ำสัง่ หัวหนา้ คณะรกั ษาความสงบแห่งชาติ ท่ี 38/2560 เรอ่ื ง การแกไ้ ขเพิม่ เตมิ องค์ประกอบและอำ� นาจ หนา้ ทข่ี องคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ 33รายงานประจำ� ปี 2564 สำ� นักงาน ปปง.

องค์ประกอบคณะกรรมกำร ปปง. คณะกรรมกำร ปปง. กรรมกำรโดยตำ� แหนง่ (10 คน) กรรมกำรผ้ทู รงคณุ วุฒิ (4 คน) 1. ปลดั กระทรวงกำรคลงั โดยทไี่ ดม้ คี ำ� สงั่ หวั หนำ้ คณะรกั ษำควำมสงบ 2. ปลดั กระทรวงกำรตำ่ งประเทศ แห่งชำติ ที่ 38/2560 ลงวันท่ี 8 สิงหำคม 2560 3. ปลดั กระทรวงยตุ ธิ รรม เรอ่ื ง กำรแกไ้ ขเพม่ิ เตมิ องคป์ ระกอบและอำ� นำจหนำ้ ที่ 4. เลขำธกิ ำรสภำควำมมนั่ คงแหง่ ชำติ ของคณะกรรมกำร ปปง. ซง่ึ ไดป้ รบั ปรงุ องคป์ ระกอบ 5. อยั กำรสงู สดุ ของคณะกรรมกำร ปปง. ตำมมำตรำ 24 แห่ง 6. ผบู้ ญั ชำกำรตำ� รวจแหง่ ชำติ พระรำชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และปรำบปรำมกำรฟอกเงนิ 7. ผวู้ ำ่ กำรธนำคำรแหง่ ประเทศไทย พ.ศ. 2542 โดยก�ำหนดให้คณะรัฐมนตรีแต่งต้ัง 8. เลขำธิกำรส�ำนักงำนคณะกรรมกำร ผทู้ รงคณุ วฒุ จิ ำ� นวนสคี่ นเปน็ กรรมกำร กำ� กบั หลกั ทรพั ยแ์ ละตลำดหลกั ทรพั ย์ กรรมกำรผทู้ รงคณุ วฒุ ใิ นคณะกรรมกำร ปปง. 9. เลขำธิกำรคณะกรรมกำรป้องกันและ จำ� นวน 4 คน ดงั น้ี ปรำบปรำมกำรทจุ รติ แหง่ ชำติ 1. พลตำ� รวจเอก ชยั ยะ ศริ อิ ำ� พนั ธก์ ลุ 10. เลขำธกิ ำรคณะกรรมกำรปอ้ งกนั และ 2. นำยประยงค ์ ปรยี ำจติ ต์ ปรำบปรำมกำรฟอกเงิน (กรรมกำรและ 3. นำยอำ� นวย ปรมี นวงศ์ เลขำนกุ ำร) 4. วำ่ ง หมำยเหตุ : ตำมมำตรำ 24 แหง่ พระรำชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และปรำบปรำมกำรฟอกเงนิ พ.ศ. 2542 กำ� หนดให้ คณะกรรมกำรแตง่ ตง้ั ขำ้ รำชกำรในสำ� นกั งำน จำ� นวนไมเ่ กนิ สองคนเปน็ ผชู้ ว่ ยเลขำนกุ ำรโดยคณะกรรมกำรไดม้ ี คำ� สงั่ ท ่ี 3/2563 ลงวนั ท ่ี 15 กนั ยำยน 2563 แตง่ ตงั้ ผชู้ ว่ ยเลขำนกุ ำรคณะกรรมกำรปอ้ งกนั และปรำบปรำม กำรฟอกเงนิ จำ� นวนสองคน คอื 1) รองเลขำธกิ ำรคณะกรรมกำรปอ้ งกนั และปรำบปรำมกำรฟอกเงนิ หรอื ผชู้ ว่ ยเลขำธกิ ำรคณะกรรมกำร ปอ้ งกนั และปรำบปรำมกำรฟอกเงนิ ทเี่ ลขำธกิ ำรคณะกรรมกำรปอ้ งกนั และปรำบปรำมกำรฟอกเงนิ มอบหมำย 2) ผอู้ ำ� นวยกำรกองนโยบำยและยทุ ธศำสตรห์ รอื ผแู้ ทน 34รายงานประจา� ปี 2564 ส�านกั งาน ปปง.

2. คณะกรรมกำรธรุ กรรม ตำมมำตรำ 3211 ให้มีคณะกรรมกำรธุรกรรม แตง่ ตงั้ บคุ คลอน่ื ทเี่ หมำะสมเปน็ กรรมกำรธรุ กรรมแทน คณะหนง่ึ ประกอบดว้ ย กำรเสนอชอ่ื จำกคณะกรรมกำรคณะนนั้ (1) บคุ คลซง่ึ ไดร้ บั กำรคดั เลอื กตำมมำตรำ 32/112 กำรเสนอชอื่ ตำมวรรคหนงึ่ ตอ้ งเสนอพรอ้ มกบั จำ� นวนสคี่ น เปน็ กรรมกำร หนงั สอื แสดงควำมยนิ ยอมของผไู้ ดร้ บั กำรเสนอชอื่ ดว้ ย (2) เลขำธกิ ำร เปน็ กรรมกำรและเลขำนกุ ำร มำตรำ 32/213 กรรมกำรธุรกรรมต้อง ให้คณะกรรมกำรธุรกรรมทั้งห้ำคนเลือก มคี ณุ สมบตั แิ ละไมม่ ลี กั ษณะตอ้ งหำ้ มตำมมำตรำ 24/2 กรรมกำรตำม (1) เป็นประธำนกรรมกำรคนหนึ่ง (1) (2) (4) (5) (6) (7) (8) (9) (10) (11) และ (12) หลกั เกณฑว์ ธิ กี ำรในกำรประชมุ และกำรออก และตอ้ งเปน็ หรอื เคยเปน็ ขำ้ รำชกำรในตำ� แหนง่ ไมต่ ำ�่ กวำ่ ค�ำสั่งใดๆ ของคณะกรรมกำรธุรกรรมให้เป็นไปตำม อธบิ ดหี รอื เทยี บเทำ่ หรอื ตำ� แหนง่ อธบิ ดผี พู้ พิ ำกษำขน้ึ ไป ระเบยี บทค่ี ณะกรรมกำรธรุ กรรมกำ� หนดดว้ ยควำมเหน็ หรือต�ำแหน่งอธิบดีอัยกำรขึ้นไป หรือเป็นหรือเคยเป็น ชอบของคณะกรรมกำร หัวหน้ำหน่วยงำนรัฐวิสำหกิจหรือหน่วยงำนอื่นของรัฐ ระเบยี บดงั กลำ่ วเมอื่ ประกำศในรำชกจิ จำนเุ บกษำ หรือด�ำรงต�ำแหน่งหรือเคยด�ำรงต�ำแหน่งต้ังแต่ แลว้ ใหใ้ ชบ้ งั คบั ได้ รองศำสตรำจำรย์ขึ้นไปในด้ำนหน่ึงด้ำนใดตำมมำตรำ มำตรำ 32/1 ให้คณะกรรมกำรตุลำกำร 24/2 (4) ศำลยุติธรรม คณะกรรมกำรตุลำกำรศำลปกครอง มำตรำ 32/314 กรรมกำรธุรกรรมซึ่ง คณะกรรมกำรตรวจเงินแผ่นดิน และคณะกรรมกำร คณะกรรมกำรแตง่ ตงั้ มวี ำระกำรดำ� รงตำ� แหนง่ ครำวละ อัยกำร แต่ละคณะเสนอรำยช่ือบุคคลที่ซื่อสัตย์สุจริต สำมปี กรรมกำรธุรกรรมที่พ้นจำกต�ำแหน่งอำจได้รับ และมีควำมรู้ควำมสำมำรถอันจะยังประโยชน์แก ่ แต่งต้ังอีกได้ แต่ต้องไม่เกินสองวำระติดต่อกัน และ กำรปฏบิ ตั กิ ำรตำมพระรำชบญั ญตั นิ ค้ี ณะละหนง่ึ คนสง่ ให้ ใหน้ ำ� มำตรำ 27 และมำตรำ 28 มำใชบ้ งั คบั โดยอนโุ ลม สำ� นกั งำน เพอ่ื เสนอรำยชอื่ ตอ่ คณะกรรมกำรเพอ่ื แตง่ ตงั้ เว้นแต่กำรพ้นจำกต�ำแหน่งตำมมำตรำ 27 (3) เปน็ กรรมกำรธรุ กรรม ในกรณที คี่ ณะกรรมกำรผมู้ สี ทิ ธิ ให้กรรมกำรธุรกรรมซ่ึงคณะกรรมกำรแต่งตั้งพ้นจำก เสนอชื่อคณะใดไม่เสนอชื่อบุคคลในส่วนของตนเพ่ือ ต�ำแหน่งเมื่อคณะกรรมกำรให้ออกเนื่องจำก แต่งตั้งเป็นกรรมกำรธุรกรรมภำยในส่ีสิบห้ำวันนับแต่ ขำดคณุ สมบตั หิ รอื มลี กั ษณะตอ้ งหำ้ มตำมมำตรำ 32/2 วนั ทไี่ ดร้ บั แจง้ จำกสำ� นกั งำนใหเ้ สนอชอื่ ใหค้ ณะกรรมกำร 11 มำตรำ 32 แก้ไขเพม่ิ เติมโดยพระรำชบญั ญัตปิ ้องกนั และปรำบปรำมกำรฟอกเงิน (ฉบบั ท่ี 5) พ.ศ. 2558 12 มำตรำ 32/1 เพิ่มโดยพระรำชบัญญัตปิ อ้ งกนั และปรำบปรำมกำรฟอกเงนิ (ฉบบั ที่ 5) พ.ศ. 2558 13 มำตรำ 32/2 เพ่ิมโดยพระรำชบัญญัตปิ อ้ งกนั และปรำบปรำมกำรฟอกเงนิ (ฉบบั ท่ ี 5) พ.ศ. 2558 14 มำตรำ 32/3 เพ่มิ โดยพระรำชบัญญตั ปิ ้องกันและปรำบปรำมกำรฟอกเงนิ (ฉบับท ี่ 5) พ.ศ. 2558 35รายงานประจ�าปี 2564 สา� นักงาน ปปง.

ในกรณีที่กรรมกำรธุรกรรมพ้นจำกต�ำแหน่ง (4)16 เสนอรำยงำนกำรปฏิบัติกำรตำม และยงั มไิ ดแ้ ตง่ ตง้ั กรรมกำรธรุ กรรมแทนตำ� แหนง่ ทวี่ ำ่ ง พระรำชบญั ญตั นิ ี้ต่อคณะกรรมกำร ให้กรรมกำรที่เหลืออยู่ปฏิบัติหน้ำที่ต่อไปได ้ (5)17 ก�ำกับ ดูแล และควบคุมให้ส�ำนักงำน แต่กรรมกำรธุรกรรมท่ีเหลืออยู่นั้นต้องมีจ�ำนวน และเลขำธกิ ำร ปฏบิ ตั หิ นำ้ ทอ่ี ยำ่ งเปน็ อสิ ระและตรวจสอบได้ ไม่น้อยกวำ่ สำมคน (5/1)18 ออกระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ประกำศ คำ� สง่ั คณะกรรมกำรธุรกรรมมีอ�ำนำจหน้ำที่ หรือก�ำหนดหลักเกณฑ์ใด ๆ เพ่ือให้ส�ำนักงำน ปฏิบัติ ตำมมำตรำ 3415 แห่งพระรำชบัญญัติป้องกันและ ในสว่ นทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั อำ� นำจของคณะกรรมกำรธรุ กรรม ปรำบปรำมกำรฟอกเงนิ พ.ศ. 2542 ดงั นี ้ ทง้ั น ้ี ตอ้ งสอดคลอ้ งกบั ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ประกำศ คำ� สง่ั (1) ตรวจสอบธรุ กรรมหรอื ทรพั ยส์ นิ ทเ่ี กยี่ วกบั หรือหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมกำรก�ำหนดและ กำรกระทำ� ควำมผดิ ตอ้ งประกำศในรำชกจิ จำนเุ บกษำ (2) สงั่ ยบั ยงั้ กำรทำ� ธรุ กรรมตำมมำตรำ 35 หรอื (6) ปฏบิ ตั กิ ำรอนื่ ใดตำมทคี่ ณะกรรมกำรมอบหมำย มำตรำ 36 (3) ด�ำเนนิ กำรตำมมำตรำ 48 15 มำตรำ 34 แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ โดยพระรำชบัญญัติป้องกันและปรำบปรำมกำรฟอกเงนิ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2551 16 มำตรำ 34 (4) แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ โดยพระรำชบัญญัติป้องกันและปรำบปรำมกำรฟอกเงิน (ฉบบั ที ่ 5) พ.ศ. 2558 17 มำตรำ 34 (5) แก้ไขเพ่ิมเตมิ โดยพระรำชบญั ญตั ปิ อ้ งกันและปรำบปรำมกำรฟอกเงิน (ฉบับท ่ี 5) พ.ศ. 2558 18 มำตรำ 34 (5/1) เพิม่ โดยพระรำชบัญญตั ิปอ้ งกันและปรำบปรำมกำรฟอกเงิน (ฉบบั ท ี่ 5) พ.ศ. 2558 36รายงานประจ�าปี 2564 สา� นกั งาน ปปง.

องคป์ ระกอบคณะกรรมกำรธุรกรรม19 ประธำนกรรมกำรธรุ กรรม (นำยสรำวุธ เบญจกลุ )20 บคุ คลท่ไี ด้รบั กำรเสนอช่ือจำกคณะกรรมกำรตุลำกำรศำลยตุ ิธรรม กรรมกำรธรุ กรรมซง่ึ คณะกรรมกำร ปปง. เลขำธกิ ำร ปปง. แตง่ ตง้ั จำกบคุ คลทไ่ี ดร้ บั กำรเสนอชอื่ จำก (พลตำ� รวจตร ี ปยิ ะพนั ธ ์ ปงิ เมอื ง) คณะกรรมกำรตลุ ำกำรศำลยตุ ธิ รรม เปน็ กรรมกำรและเลขำนกุ ำรโดยตำ� แหนง่ (นำยสรำวธุ เบญจกลุ ) คณะกรรมกำรตลุ ำกำรศำลปกครอง (นำยอตโิ ชค ผลด)ี 21 คณะกรรมกำรตรวจเงนิ แผน่ ดนิ (พลตำ� รวจเอก ชยั ยง กรี ตขิ จร) คณะกรรมกำรอยั กำร (นำยวงศส์ กลุ กติ ตพิ รหมวงศ)์ 19 ค�ำสงั่ คณะกรรมกำร ปปง. ท่ ี 1/2559 ลงวันท่ ี 15 มกรำคม 2559 20 ค�ำสั่งคณะกรรมกำร ปปง. ท ่ี 1/2562 ลงวนั ที ่ 4 มกรำคม 2562 21 คำ� ส่งั คณะกรรมกำร ปปง. ท ่ี 6/2562 ลงวันที ่ 21 พฤศจิกำยน 2562 37รายงานประจา� ปี 2564 สา� นกั งาน ปปง.

3. คณะอนกุ รรมกำรในคณะกรรมกำร ปปง. ตามมาตรา 30 แหง่ พระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ พ.ศ. 2542 คณะกรรมการ ปปง. สามารถแตง่ ตง้ั คณะอนกุ รรมการเพอ่ื พจิ ารณาและเสนอความเหน็ ในเรอ่ื งใดเรอื่ งหนง่ึ หรอื ปฏบิ ตั กิ ารอยา่ งใด อยา่ งหนง่ึ แทนคณะกรรมการกไ็ ด้ ซงึ่ ไดเ้ หน็ ชอบใหแ้ ตง่ ตงั้ คณะอนกุ รรมการในคณะกรรมการ ปปง. จา� นวน 5 คณะ22 ทงั้ นี้ เพอ่ื ใหก้ ารดา� เนนิ งานของคณะกรรมการ ปปง. เปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ไดแ้ ก่ 3.1 คณะอนุกรรมกำรท่ีปรึกษำกฎหมำย 2) วำงระเบียบ หรือก�ำหนดแนวทำงในกำร มอี าํ นาจหนา ทด่ี งั น้ี บริหำรจัดกำรทรัพย์สินที่เกี่ยวกับกำรจัดกำรทรัพย์สิน 1) พิจำรณำและเสนอแนะแนวทำงเกี่ยวกับ กำรนำ� ทรพั ยส์ นิ ไปใชป้ ระโยชนข์ องทำงรำชกำร กำรให้ กำรปรบั ปรงุ รำ่ งกฎหมำย กฎกระทรวง ระเบยี บ ประกำศ ผู้มีส่วนได้เสียน�ำทรัพย์สินไปดูแลและใช้ประโยชน ์ และคำ� สง่ั ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั กำรดำ� เนนิ งำนของสำ� นกั งำน ปปง. กำรให้เช่ำและกำรแต่งตั้งผู้จัดกำรเข้ำดูแลทรัพย์สิน 2) พจิ ำรณำในกรณที มี่ คี วำมเหน็ แยง้ ตำมมำตรำ 49 กำรขำยทอดตลำด กำรประเมนิ คำ่ เสยี หำยหรอื คำ่ เสอ่ื มสภำพ แหง่ พระรำชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และปรำบปรำมกำรฟอกเงนิ กำรประเมินมูลค่ำทรัพย์สินและกำรส่งทรัพย์สินคืน พ.ศ. 2542 และทแ่ี กไ้ ขเพมิ่ เตมิ เพอ่ื ประกอบกำรพจิ ำรณำ กำรสง่ ทรพั ยส์ นิ ทต่ี กเปน็ ของแผน่ ดนิ วนิ จิ ฉยั ชขี้ ำดของคณะกรรมกำร ปปง. 3) พัฒนำและปรับปรุงงำนบริหำรจัดกำร 3) เป็นท่ีปรึกษำหรือพิจำรณำให้ควำมเห็น ทรัพย์สินตำมพระรำชบัญญัติป้องกันและปรำบปรำม ในประเด็นท่ีเก่ียวกับกำรด�ำเนินงำนตำมอ�ำนำจหน้ำที่ กำรฟอกเงนิ พ.ศ. 2542 และทแี่ กไ้ ขเพมิ่ เตมิ ของคณะอนกุ รรมกำร 4) เป็นท่ีปรึกษำหรือพิจำรณำให้ควำมเห็น 4) เชิญผู้แทนหน่วยงำนหรือผู้ท่ีเกี่ยวข้อง ในประเด็นท่ีเก่ียวกับกำรด�ำเนินงำนตำมอ�ำนำจหน้ำที่ มำชแี้ จงขอ้ เทจ็ จรงิ หรอื ใหค้ วำมเหน็ เพอ่ื ประโยชนใ์ นกำร ของคณะอนกุ รรมกำร ดำ� เนนิ งำนตำมอำ� นำจหนำ้ ทขี่ องคณะอนกุ รรมกำร 5) เชิญผู้แทนหน่วยงำนหรือผู้ที่เก่ียวข้อง 5) ปฏิบัติงำนอ่ืนใดท่ีเก่ียวข้องตำมท่ีได้รับ มำช้ีแจงข้อเท็จจริงหรือให้ควำมรู้ ข้อเสนอแนะหรือ มอบหมำยจำกคณะกรรมกำร ปปง. ควำมคดิ เหน็ ในกำรบรหิ ำรจดั กำรทรพั ยส์ นิ เพอื่ ปอ้ งกนั และ ปรำบปรำมกำรฟอกเงนิ 3.2 คณะอนุกรรมกำรบริหำรจัดกำรทรัพย์สิน 6) ปฏิบัติงำนอื่นใดที่เกี่ยวข้องตำมท่ีได้รับ มอี าํ นาจหนา ทดี่ งั นี้ 1) ศึกษำและวิเครำะห์ในกำรบริหำรจัดกำร มอบหมำยจำกคณะกรรมกำร ปปง. ทรัพย์สิน ตำมพระรำชบัญญัติป้องกันและปรำบปรำม กำรฟอกเงนิ พ.ศ. 2542 และทแี่ กไ้ ขเพมิ่ เตมิ 22 คำ� สั่งคณะกรรมกำร ปปง. ท ี่ 5/2560 ลงวันท ี่ 17 พฤศจกิ ำยน 2560 38รายงานประจ�าปี 2564 ส�านักงาน ปปง.

3.3 คณะอนุกรรมกำรด้ำนกำรก�ำกับและ 3.4 คณะอนกุ รรมกำรกลน่ั กรองเรอื่ งทจี่ ะเสนอ ตรวจสอบ มอี าํ นาจหนา ทด่ี งั น้ี คณะกรรมกำร ปปง. กรณีกำรใช้อ�ำนำจ 1) เสนอแนะแนวทำงเกี่ยวกับกำรปรับปรุง ตำมมำตรำ 25 (3) แหง่ พระรำชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั พัฒนำ กฎหมำย ระเบียบ และแนวทำงกำรปฏิบัต ิ และปรำบปรำมกำรฟอกเงิน พ.ศ. 2542 ที่เกี่ยวข้องกับกำรก�ำกับตรวจสอบผู้มีหน้ำที่รำยงำน กำรท�ำธุรกรรมตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรป้องกันและ มอี าํ นาจหนา ทด่ี งั น้ี ปรำบปรำมกำรฟอกเงิน 1) เสนอกรอบ แนวทำง หรือวำงระเบียบใน 2) ส่งเสริม สนับสนุน ประสำนงำน ติดตำม กำรด�ำเนินกำรตำมมำตรำ 25 (3) แหง่ พระรำชบญั ญตั ิ กำรบงั คับใช้และกำรปฏิบัตติ ำมกฎหมำย ป้องกันและปรำบปรำมกำรฟอกเงิน พ.ศ. 2542 ต่อ 3) ขอขอ้ มลู หรอื เอกสำรทเี่ กยี่ วขอ้ งมำประกอบ คณะกรรมกำร ปปง. กำรพิจำรณำด�ำเนินกำรตำมอ�ำนำจหน้ำที่ของ 2) พจิ ำรณำกลน่ั กรองและเสนอควำมเหน็ เพอ่ื คณะอนุกรรมกำร ประกอบกำรพิจำรณำของคณะกรรมกำร ปปง. ในกำร 4) เป็นที่ปรึกษำหรือพิจำรณำให้ควำมเห็น ระงับหรือยับย้ังกำรกระท�ำใดของคณะกรรมกำร ในประเด็นท่ีเก่ียวกับกำรด�ำเนินงำนตำมอ�ำนำจหน้ำท่ี ธุรกรรม ส�ำนักงำน และเลขำธิกำร ปปง. ที่เห็นว่ำ ของคณะอนุกรรมกำร เป็นกำรเลือกปฏิบัติหรือเป็นกำรละเมิดสิทธิมนุษยชน 5) เชิญผู้แทนหน่วยงำนหรือผู้ท่ีเกี่ยวข้อง ข้ันพื้นฐำนตำมมำตรำ 25 (3) แห่งพระรำชบัญญัติ มำชแี้ จงขอ้ เทจ็ จรงิ ใหข้ อ้ มลู หรอื เอกสำรทเ่ี กยี่ วขอ้ ง หรอื ปอ้ งกันและปรำบปรำมกำรฟอกเงิน พ.ศ. 2542 ให้ควำมรู้ ข้อเสนอแนะหรือควำมคิดเห็นเกี่ยวกับ 3) เป็นท่ีปรึกษำหรือพิจำรณำให้ควำมเห็น กำรบังคับใช้ หรอื กำรปฏิบัติตำมกฎหมำย ในประเด็นท่ีเก่ียวกับกำรด�ำเนินงำนตำมอ�ำนำจหน้ำท่ี 6) ปฏบิ ตั งิ ำนอน่ื ใดทเ่ี กยี่ วขอ้ งตำมทไ่ี ดร้ บั มอบหมำย ของคณะอนุกรรมกำร จำกคณะกรรมกำร ปปง. 4) เชิญผู้แทนหน่วยงำนหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง มำชี้แจงข้อเท็จจริง หรือให้ควำมเห็นเพ่ือประโยชน์ใน กำรดำ� เนนิ งำนตำมอำ� นำจหนำ้ ทขี่ องคณะอนกุ รรมกำร 5) ปฏบิ ตั งิ ำนอน่ื ใดทเี่ กยี่ วขอ้ งตำมทไ่ี ดร้ บั มอบหมำย จำกคณะกรรมกำร ปปง. 39รายงานประจา� ปี 2564 ส�านกั งาน ปปง.

3.5 คณะอนุกรรมกำรขับเคล่ือนยุทธศำสตร์ 3) เชิญผู้แทนหน่วยงำนหรือผู้ที่เก่ียวข้อง ด้ำนกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรฟอกเงิน มำชแี้ จงขอ้ เทจ็ จรงิ หรอื ใหค้ วำมเหน็ เพอื่ ประโยชนใ์ นกำร และกำรต่อต้ำนกำรสนับสนุนทำงกำรเงินแก่ ดำ� เนนิ กำรตำมอำ� นำจหนำ้ ทขี่ องคณะอนกุ รรมกำร กำรกอ่ กำรรำ้ ย มอี าํ นาจหนา ทด่ี งั น้ี 4) รำยงำนผลกำรดำ� เนนิ งำน พรอ้ มสรปุ ปญั หำ 1) ติดตำมควำมก้ำวหน้ำของกำรด�ำเนินงำน อุปสรรคและข้อเสนอแนะแนวทำงแก้ไขเสนอ ตำมยทุ ธศำสตรด์ ำ้ นกำรปอ้ งกนั และปรำบปรำมกำรฟอกเงนิ คณะกรรมกำร ปปง. ทรำบ และกำรตอ่ ตำ้ นกำรสนบั สนนุ ทำงกำรเงนิ แกก่ ำรกอ่ กำรรำ้ ย 5) ประเมนิ ผลกำรดำ� เนนิ งำนตำมยทุ ธศำสตร์ 2) เป็นท่ีปรึกษำหรือพิจำรณำให้ควำมเห็น ดำ้ นกำรปอ้ งกนั และปรำบปรำมกำรฟอกเงนิ และกำรตอ่ ตำ้ น ในประเด็นที่เก่ียวกับกำรด�ำเนินงำนตำมอ�ำนำจหน้ำที่ กำรสนบั สนนุ ทำงกำรเงนิ แกก่ ำรกอ่ กำรรำ้ ย หลงั สน้ิ สดุ ของคณะอนุกรรมกำรหรือเสนอควำมเห็นเพ่ือแต่งตั้ง ยทุ ธศำสตรเ์ พอื่ เสนอคณะกรรมกำร ปปง. คณะอนุกรรมกำรเพ่ือพิจำรณำและเสนอควำมเห็น 6) ปฏิบัติงำนอ่ืนใดที่เก่ียวข้องตำมที่ได้รับ ในเรอื่ งใดเรอื่ งหนงึ่ หรอื ปฏบิ ตั กิ ำรอยำ่ งใดอยำ่ งหนงึ่ มอบหมำยจำกคณะกรรมกำร ปปง. 40รายงานประจ�าปี 2564 สา� นักงาน ปปง.

4. คณะกรรมกำรเปรยี บเทียบตำมพระรำชบญั ญัตปิ อ้ งกัน และปรำบปรำมกำรฟอกเงิน พ.ศ. 2542 ตำมมำตรำ 64/123 แหง่ พระรำชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และ และกำรแสดงตน กำรรำยงำนหรอื แสดงขอ้ ควำมอนั เปน็ เทจ็ ปรำบปรำมกำรฟอกเงนิ พ.ศ. 2542 คณะกรรมกำร ปปง. หรอื ปกปดิ ควำมจรงิ ทต่ี อ้ งแจง้ ใหพ้ นกั งำนเจำ้ หนำ้ ทท่ี รำบ ไดแ้ ตง่ ตง้ั คณะกรรมกำรอกี คณะหนง่ึ ไดแ้ ก ่ คณะกรรมกำร กำรไมม่ ำใหถ้ อ้ ยคำ� ไมส่ ง่ คำ� ชแ้ี จงเปน็ หนงั สอื หรอื ไมส่ ง่ เปรยี บเทยี บตำมพระรำชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และปรำบปรำม บญั ชเี อกสำรหรอื หลกั ฐำนทเ่ี กยี่ วกบั กำรกระทำ� ควำมผดิ กำรฟอกเงนิ พ.ศ. 2542 จำ� นวน 5 คน ประกอบดว้ ย ตำมพระรำชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และปรำบปรำมกำรฟอกเงนิ เลขำธิกำร ปปง. เป็นประธำนกรรมกำร ผู้แทนจำก พ.ศ. 2542 และนติ บิ คุ คลผฝู้ ำ่ ฝนื ไมป่ ฏบิ ตั ติ ำมกฎหมำย หน่วยงำนภำครัฐที่เกี่ยวข้อง 2 คน พนักงำนสอบสวน เกย่ี วกบั กำรระงบั กำรดำ� เนนิ กำรกบั ทรพั ยส์ นิ ของบคุ คล ตำมประมวลกฎหมำยวธิ พี จิ ำรณำควำมอำญำ จำ� นวน 1 คน ทถ่ี กู กำ� หนด กำรสนบั สนนุ ทำงกำรเงนิ แกก่ ำรกอ่ กำรรำ้ ย เป็นกรรมกำร โดยมีข้ำรำชกำรในส�ำนักงำน ปปง. และกำรสนบั สนนุ ทำงกำรเงนิ แกก่ ำรแพรข่ ยำยอำวธุ ทม่ี ี ที่เลขำธิกำร ปปง. มอบหมำยเป็นกรรมกำรและ อำนภุ ำพทำ� ลำยลำ้ งสงู ตำมพระรำชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และ เลขำนกุ ำร จำ� นวน 1 คน มอี ำ� นำจเปรยี บเทยี บควำมผดิ ปรำบปรำมกำรสนบั สนนุ ทำงกำรเงนิ แกก่ ำรกอ่ กำรรำ้ ย กับผู้ฝ่ำฝืนไม่ปฏิบัติตำมกฎหมำยเกี่ยวกับกำรรำยงำน และกำรแพรข่ ยำยอำวธุ ทมี่ อี ำนภุ ำพทำ� ลำยลำ้ งสงู พ.ศ. 2559 5. คณะกรรมกำรพิจำรณำผลกำรก�ำกับ ตรวจสอบ และ ประเมนิ ผลกำรปฏบิ ตั ติ ำมกฎหมำยวำ่ ดว้ ยกำรปอ้ งกนั และ ปรำบปรำมกำรฟอกเงินของผมู้ ีหน้ำท่รี ำยงำน ตำมมำตรำ 40 (3/1) แห่งพระรำชบัญญัติ และเลขำนกุ ำร จำ� นวน 1 คน ผชู้ ว่ ยเลขำนกุ ำร จำ� นวน 2 คน ปอ้ งกนั และปรำบปรำมกำรฟอกเงนิ พ.ศ. 2542 กำ� หนดให้ มอี ำ� นำจพจิ ำรณำผลกำรกำ� กบั ตรวจสอบและประเมนิ ผล สำ� นกั งำน ปปง. แตง่ ตง้ั คณะกรรมกำรอกี คณะหนงึ่ ไดแ้ ก่ กำรปฏบิ ตั ติ ำมกฎหมำยวำ่ ดว้ ยกำรปอ้ งกนั และปรำบปรำม คณะกรรมกำรพิจำรณำผลกำรก�ำกับ ตรวจสอบ และ กำรฟอกเงนิ หรอื กฎหมำยอน่ื ทเี่ กยี่ วขอ้ ง พจิ ำรณำผล ประเมินผลกำรปฏิบัติตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรป้องกัน กำรประเมนิ ควำมเสย่ี งเกยี่ วกบั กำรปฏบิ ตั ติ ำมกฎหมำย และปรำบปรำมกำรฟอกเงินของผู้มีหน้ำที่รำยงำน ของผู้มีหน้ำท่ีรำยงำน และเชิญผู้แทนหน่วยงำนหรือ จ�ำนวน 10 คน ประกอบด้วย เลขำธิกำร ปปง. เป็น บุคคลท่เี ก่ยี วขอ้ งมำชี้แจงขอ้ เท็จจริง หรอื ใหค้ วำมเหน็ ประธำนกรรมกำร กรรมกำรผทู้ รงคณุ วฒุ ิ จำ� นวน 4 คน เพอ่ื ประโยชนใ์ นกำรดำ� เนนิ งำนตำมอำ� นำจหนำ้ ที่ โดยมขี ำ้ รำชกำรในสำ� นกั งำน ปปง. ทเี่ ลขำธกิ ำร ปปง. มอบหมำยเปน็ กรรมกำร จำ� นวน 2 คน และกรรมกำร 23 มำตรำ 64/1 เพม่ิ โดยพระรำชบัญญัติป้องกันและปรำบปรำมกำรฟอกเงนิ (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2556 41รายงานประจา� ปี 2564 สา� นกั งาน ปปง.

3สว่ นที่ 42รายงานประจ�าปี 2564 ส�านกั งาน ปปง.

ผลกำรปฏิบัติงำน 43รายงานประจา� ปี 2564 สา� นกั งาน ปปง.

ส่วนที่ 3 : ผลการปฏบิ ัตงิ าน การปฏิบัติงานของส�ำนักงาน ปปง. เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การฟอกเงนิ และกฎหมายวา่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการสนบั สนนุ ทางการเงนิ แกก่ ารกอ่ การรา้ ยและการแพรข่ ยาย อาวธุ ทมี่ อี านภุ าพทำ� ลายลา้ งสงู เพอ่ื เปน็ การปอ้ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ และตอ่ ตา้ นการสนบั สนนุ ทางการเงนิ แกก่ ารกอ่ การรา้ ยและการแพรข่ ยายอาวธุ ทม่ี อี านภุ าพทำ� ลายลา้ งสงู ของประเทศไทย และนอกจากนยี้ งั ไดด้ ำ� เนนิ การ ในดา้ นอน่ื ๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งทจ่ี ะชว่ ยสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ใหป้ ระเทศไทยปลอดภยั จากการฟอกเงนิ โดยมรี ายละเอยี ด ผลการปฏบิ ตั งิ านทสี่ ำ� คญั ดงั นี้ 1. ผลการปฏิบัติงานด้าน การป้องกนั การฟอกเงิน 1.1 การรบั เรอ่ื งราวรอ้ งเรยี น รอ้ งทกุ ข์ แจง้ เบาะแส สำ� นกั งาน ปปง. ไดจ้ ดั ตงั้ ศนู ยร์ บั เรอ่ื งรอ้ งเรยี น การฟอกเงนิ และการกอ่ การรา้ ย โดยใหบ้ รกิ ารในวนั เวลา ร้องทกุ ข์ แจ้งเบาะแสอย่างเป็นทางการ พรอ้ มก�ำหนด ราชการ ตงั้ แตเ่ วลา 08.30 - 16.30 น. และนอกจากนี้ เลขหมายโทรศพั ท์ 4 ตวั เพอื่ ความสะดวกและงา่ ยตอ่ ยังมีช่องทางอ่ืนๆ ในการแจ้งเร่ืองร้องเรียน ร้องทุกข ์ การจดจำ� ของประชาชน “สายดว่ น ปปง. 1710” เมอ่ื วนั ท่ี หรือแจ้งเบาะแสเก่ียวกับผู้กระท�ำความผิด โดยใน 4 เมษายน 2556 เพอื่ ใหบ้ รกิ ารรบั เรอ่ื งรอ้ งเรยี น รอ้ งทกุ ข์ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 (1 ตลุ าคม 2563 - 30 กนั ยายน แจ้งเบาะแสเก่ียวกับการกระท�ำความผิดเก่ียวกับ 2564) ไดร้ บั เรอ่ื ง จำ� นวน 1,667 เรอ่ื งมรี ายละเอยี ด ดงั นี้ จ�ำนวนเร่อื ง ช่องทางการรับเรอื่ ง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 รบั เรอ่ื ง สง่ ไม่สง่ รบั เรอื่ ง สง่ ไมส่ ง่ รบั เรอื่ ง สง่ ไมส่ ง่ ดำ� เนนิ การ ดำ� เนินการ ดำ� เนนิ การ ดำ� เนนิ การ ดำ� เนนิ การ ดำ� เนนิ การ 1. จดหมาย 399 324 75 292 275 17 290 274 16 2. ยน่ื เร่อื งดว้ ยตนเอง 146 141 5 68 67 1 36 36 - 3. สายด่วน ปปง. 1710 31 8 23 34 25 9 22 20 2 4. เวบ็ ไซต์และอีเมล 122 53 69 88 75 13 104 91 13 5. ตู้ ปณ. 559 -- - 33 --- - 6. อ่นื ๆ --- -1- 1 -- 7. สว่ นราชการภายนอก 1,732 1,732 - 1,679 1,679 - 1,214 1,214 - รวม 2,430 2,258 172 2,164 2,124 40 1,667 1,635 32 หมายเหตุ : กรณที ไี่ มส่ ง่ ดำ� เนนิ การเนอ่ื งจาก ไมป่ รากฏพฤตกิ ารณ์ หรอื ขอ้ มลู การกลา่ วหาไมช่ ดั เจน 44รายงานประจำ� ปี 2564 ส�ำนักงาน ปปง.

ซงึ่ รายละเอยี ดผลการรบั เรอื่ งราวรอ้ งเรยี น รอ้ งทกุ ข์ แจง้ เบาะแส ตง้ั แตว่ นั ท่ี 1 ตลุ าคม 2563 - 30 กนั ยายน 2564 แยกตามความผดิ มลู ฐาน ตามพระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ พ.ศ. 2542 มรี ายละเอยี ด ดงั นี้ ล�ำดบั จำ� นวนเรื่อง ท่ี ประเภทความผิดมูลฐาน ปงี บประมาณ ปงี บประมาณ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2563 รอ้ งเรียน โต้แย้งคดั คา้ น 1 ยาเสพติด ม.3 (1) 1,149 1,179 760 23 2 การคา้ มนษุ ย/์ คา้ หญงิ และเดก็ ม.3 (2) 85 69 46 5 3 การฉอ้ โกงประชาชน ม.3 (3) 485 246 114 1 4 การยักยอกหรอื ฉ้อโกง (สถาบนั การเงิน) 4 1 3 - ม.3 (4) 5 ทจุ ริตตอ่ ตำ� แหนง่ หนา้ ที่ ม.3 (5) 174 165 144 - 6 การกรรโชกหรอื รดี เอาทรพั ยท์ ก่ี ระทำ� - - - - โดยอา้ งอ�ำนาจอ้งั ยซ่ี ่องโจร ม.3 (6) 7 การลักลอบหนศี ุลกากร ม.3 (7) 33 18 15 - 8 การกอ่ การรา้ ย ม.3 (8) 1-1 - 9 การพนนั ม.3 (9) 40 77 94 27 10 การเป็นสมาชกิ อง้ั ยี่ หรือการมสี ว่ นร่วม 5 5 1 - ในองคก์ รอาชญากรรม ม.3 (10) 11 การรับของโจร ม.3 (11) 112 - 12 การปลอมหรอื แปลงเงินตรา ดวงตรา - - - - แสตมป์ และต๋วั ม.3 (12) 13 การปลอมหรือการละเมิดทรัพยส์ นิ 46 26 14 - ทางปัญญา ม.3 (13) 14 การปลอมเอกสารสิทธิบัตรอเิ ล็กทรอนิกส์ 1 1 - - หรอื หนงั สอื เดนิ ทางฯ ม.3 (14) 15 ทรพั ยากรธรรมชาตหิ รือสิ่งแวดลอ้ ม 18 16 24 - ม.3 (15) 16 การประทุษรา้ ยตอ่ ชวี ิตและร่างกาย 1 - - - ม.3 (16) 17 การหนว่ งเหน่ียวหรอื กักขังผอู้ ่นื ม.3 (17) - - - - 45รายงานประจำ� ปี 2564 สำ� นักงาน ปปง.

ลำ� ดับ จ�ำนวนเร่ือง ที่ ประเภทความผดิ มลู ฐาน ปงี บประมาณ ปงี บประมาณ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2563 รอ้ งเรยี น โต้แย้งคัดคา้ น 18 การลักทรัพย์ กรรโชก รีดเอาทรพั ย ์ 51 40 24 4 ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ ฉอ้ โกง หรือยักยอก (เปน็ ปกติธุระ) ม.3 (18) 19 การกระทำ� อนั เปน็ โจรสลดั ม.3 (19) - - - - 20 การกระท�ำอนั ไมเ่ ป็นธรรมเกยี่ วกับ 623 - การซ้ือขายหลักทรัพย์ ม.3 (20) 21 การคา้ อาวุธปืน เคร่ืองกระสุนปนื และ - 2 6 5 วตั ถุระเบดิ และการค้ายทุ ธภัณฑ์เพือ่ น�ำไปใช้ในการกอ่ การรา้ ย การรบ หรือ การสงครามคา้ อาวธุ หรอื เครอ่ื งมอื อปุ กรณ์ ของอาวธุ ม.3 (21) 22 การเลอื กตงั้ (มาตรา 73 แหง่ พระราชบญั ญตั ิ - 1 - - ประกอบรัฐธรรมนญู ว่าดว้ ยการเลอื กตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561) 23 สมาชกิ วฒุ สิ ภา (มาตรา 77 แหง่ พระราชบญั ญตั ิ - - - - ประกอบรัฐธรรมนูญว่าดว้ ยการไดม้ า ซึง่ สมาชกิ วฒุ สิ ภา พ.ศ. 2550) 24 การมสี ว่ นรว่ มในองคก์ รอาชญากรรมขา้ มชาติ 4 1 1 - (มาตรา 22 แหง่ พระราชบญั ญัตปิ อ้ งกัน และปราบปรามการมสี ่วนร่วมในองค์กร อาชญากรรมข้ามชาติ พ.ศ. 2556) 25 การสนบั สนนุ ทางการเงนิ แกก่ ารกอ่ การรา้ ย 2 - 1 - (มาตรา 25 แห่งพระราชบญั ญตั ิ ป้องกนั และปราบปรามการสนับสนนุ ทางการเงินแก่การก่อการร้ายและ การแพรข่ ยายอาวธุ ทมี่ อี านภุ าพทำ� ลายลา้ งสงู พ.ศ. 2559) 46รายงานประจ�ำปี 2564 ส�ำนกั งาน ปปง.

ลำ� ดับ จำ� นวนเรือ่ ง ที่ ประเภทความผดิ มลู ฐาน ปงี บประมาณ ปงี บประมาณ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2563 ร้องเรียน โตแ้ ย้งคัดค้าน 26 การสนบั สนนุ ทางการเงนิ แกก่ ารแพรข่ ยาย - - - - อาวธุ ท่มี อี ำ� นาจท�ำลายล้างสูง (มาตรา 25 แหง่ พระราชบญั ญตั ิป้องกนั และ ปราบปรามการสนับสนุนทางการเงนิ แก่การกอ่ การร้ายและการแพรข่ ยายอาวธุ ทมี่ อี านภุ าพทำ� ลายลา้ งสงู พ.ศ. 2559) 27 การหลกี เลย่ี งหรอื ฉอ้ โกงภาษี (มาตรา 37 ตรี 3 15 5 - แห่งประมวลรษั ฎากร) - 28 บงั คบั ใชก้ ฎหมายแรงงานหรอื บรกิ าร - - - - (มาตรา 44 แหง่ พระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และปราบปรามการคา้ มนษุ ย์ พ.ศ. 2551 - ซงึ่ เพมิ่ โดยพระราชกำ� หนดแกไ้ ขเพม่ิ เตมิ 65 พระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และปราบปราม การคา้ มนษุ ย์ พ.ศ. 2562) 29 การเลอื กต้ังสมาชิกสภาท้องถิ่นหรอื - - 1 ผบู้ รหิ ารทอ้ งถนิ่ (มาตรา 65 แหง่ พระราชบญั ญตั ิ การเลอื กตงั้ สมาชกิ สภาทอ้ งถน่ิ หรอื ผบู้ รหิ ารทอ้ งถนิ่ พ.ศ. 2562) 30 ไมเ่ ก่ยี วข้องกับความผดิ มลู ฐาน 321 299 343 รวม 2,430 2,164 1,602 47รายงานประจำ� ปี 2564 ส�ำนักงาน ปปง.

1.2 การดำ� เนนิ การเกยี่ วกบั การตรวจสอบและวเิ คราะหธ์ รุ กรรม หลงั จากทไี่ ดร้ บั รายงานธรุ กรรมประเภทตา่ งๆ ทงั้ รายงานธรุ กรรมทใ่ี ชเ้ งนิ สด ธรุ กรรมทเ่ี กย่ี วกบั ทรพั ยส์ นิ ธุรกรรมท่ีเป็นการโอนเงินหรือช�ำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ และธุรกรรมท่ีมีเหตุอันควรสงสัย ส�ำนักงาน ปปง. จะด�ำเนินการตรวจสอบและวิเคราะห์ธุรกรรมดังกล่าว เพื่อวิเคราะห์หาความผิดปกติของธุรกรรมทางการเงิน ทอี่ าจเชอ่ื มโยงหรอื เกยี่ วขอ้ งกบั การกระทำ� ความผดิ มลู ฐานหรอื ความผดิ ตามกฎหมายอนื่ สง่ ใหห้ นว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง ท้ังภายในและภายนอกสำ� นักงาน ปปง. ดำ� เนินการตอ่ ไป โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564) ส�ำนักงาน ปปง. ได้มีผลการตรวจสอบและวิเคราะห์ธุรกรรมเพื่อน�ำไปสู่การด�ำเนินการ จำ� นวน 594 คดี โดยมรี ายละเอยี ด ดงั นี้ คดีท่ีส่งหนว่ ยงานภายใน คดีท่สี ง่ หนว่ ยงานภายนอก ส�ำนกั งาน ปปง. ปีงบประมาณ รวมท้งั สิน้ พ.ศ. (คด)ี คดีเชงิ รกุ คดี รวม คดีเชิงรกุ คดี รวม ขอขอ้ มูล ขอข้อมูล 750 25 510 885 2562 77 163 240 46 485 677 594 2563 59 149 208 6 631 414 2564 87 93 180 408 แผนภมู แิ สดงจ�ำนวนคดีที่ส่งหน่วยงานต่าง ๆ (เปรียบเทยี บปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 - 2564) หน่วยงานภายใน คดเี ชิงรุก หนว่ ยงานภายใน คดีขอขอ้ มูล หนว่ ยงานภายนอก คดเี ชิงรุก หน่วยงานภายนอก คดขี อขอ้ มลู 485 631 408 163 149 87 93 100 77 59 46 25 6 0 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 48รายงานประจ�ำปี 2564 ส�ำนักงาน ปปง.

ทง้ั นี้ ในการตรวจสอบและวเิ คราะหธ์ รุ กรรม ซง่ึ อาจเชอ่ื มโยงหรอื เกยี่ วขอ้ งกบั การกระทำ� ความผดิ มลู ฐาน หรอื ความผดิ ตามกฎหมายอน่ื นน้ั ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 (1 ตลุ าคม 2563 - 30 กนั ยายน 2564) สำ� นกั งาน ปปง. ได้น�ำธุรกรรมท่ีได้รับรายงานมาใช้ตรวจสอบและวิเคราะห์ธุรกรรมแยกตามประเภทรายงานธุรกรรมเพื่อน�ำไปสู่ การดำ� เนนิ การ รวมจำ� นวนทงั้ สน้ิ 628,719 เรอ่ื ง โดยมรี ายละเอยี ด ดงั น้ี จ�ำนวนธุรกรรมท่นี �ำมาวเิ คราะห์ (เรือ่ ง) ปงี บประมาณ ธรุ กรรมท่ี ธรุ กรรมท่ี ธรุ กรรมท่ี ธรุ กรรมทีเ่ ปน็ ธุรกรรมที่เป็น รวมทั้งสิ้น พ.ศ. ใชเ้ งินสด เก่ียวกบั มเี หตอุ ัน การโอนเงนิ หรอื การโอนเงิน (เรือ่ ง) ทรัพย์สนิ ควรสงสยั ชำ� ระเงินทาง ระหวา่ งประเทศ 2562 32,935 อิเล็กทรอนกิ ส์ (โอน - รบั โอน) 568,243 2563 66,257 4,243 1,051,129 2564 35,812 4,908 5,059 484,216 41,790 628,719 2,555 6,983 967,114 5,867 7,184 571,749 11,419 แผนภูมแิ สดงจ�ำนวนธุรกรรมท่นี �ำมาวิเคราะห์ (เปรยี บเทยี บปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 - 2564) เงินสด ทรัพยส์ นิ ธรุ กรรมที่มเี หตอุ ันควรสงสยั ธุรกรรมทีเ่ ปน็ การโอนเงินหรือ ธรุ กรรมทเ่ี ปน็ การโอนเงนิ ช�ำระเงนิ ทางอิเล็กทรอนกิ ส์ ระหวา่ งประเทศ 1,000,000 967,114 517,749 484,216 66,257 32,935 41,790 35,812 11,419 4,2435,059 4,9086,983 5,867 7,184 2,555 0 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 49รายงานประจ�ำปี 2564 ส�ำนกั งาน ปปง.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook