90 4) ปัจจยั และเงอื่ นไขที่สนับสนนุ กระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การ เปลี่ยนแปลงด้านความมน่ั คงทางอาหารในชมุ ชนเกษตร ผู้วิจัยเสนอร่างกระบวนการส่งเสรมิ การเรยี นรสู้ กู่ ารเปลยี่ นแปลงด้าน ความมน่ั คงทางอาหารในชุมชนเกษตรที่ผู้วิจัยพัฒนาข้ึน เพ่ือปรึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ หลักเพ่ือตรวจสอบความเหมาะสมและแก้ไขปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ จากน้ันผู้วิจัยจึงเสนอรายช่ือ ผู้เช่ียวชาญด้านการส่งเสริมการเรียนรู้ในชุมชน และด้านการส่งเสริมความม่ันคงทางอาหารในชุมชน เกษตร จานวน 3 ท่าน เพื่อคัดเลือกเป็นผู้เช่ียวชาญตรวจสอบความตรงเชิงเน้ือหา โดยกาหนดเกณฑ์ ในการคัดเลือกผู้ทรงคุณวุฒิที่จะทาการตรวจสอบกระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง ด้านความมน่ั คงทางอาหารในชมุ ชนเกษตร ดังนี้ 1) เป็นผู้ท่ีมีบทบาททางวิชาการหรือมีประสบการณ์ทางานใน การส่งเสรมิ การเรยี นรู้เพือ่ การพัฒนาชมุ ชน 2) เป็นผู้ที่มีบทบาททางวิชาการหรือมีประสบการณ์ทางานใน การส่งเสรมิ การเรียนรู้เพอ่ื เสริมสร้างความม่นั คงทางอาหารของชุมชนเกษตร 3) เปน็ ผทู้ ่มี ีความรแู้ ละมีผลงานดา้ นการวิจยั เชิงคณุ ภาพ จากนั้นจึงจัดทาเอกสารประกอบการสัมภาษณ์ผู้ทรงทรงคุณวุฒิเพ่ือ รับรองร่างกระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การเปล่ียนแปลงด้านความมั่นคงทางอาหารในชุมชน เกษตร ซ่ึงเป็นการสัมภาษณ์ เพ่ือศึกษาข้อคิดเห็นท่ีมีต่อร่างกระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การ เปล่ียนแปลงด้านความม่ันคงทางอาหารในชุมชนเกษตร เพ่ือผู้ทรงคุณวุฒิจะใช้ประโยชน์สาหรับให้ ข้อคิดเห็นและข้อเสนอต่อร่างกระบวนการท่ีจัดทาข้ึน เพื่อให้เกิดความสมบูรณ์ และเสนอแนะความ คิดเห็นท่ีจะเป็นประโยชน์ ในการปรับปรุงแก้ไขกระบวนการให้มีความถูกต้องเหมาะสม และ ครอบคลุมตรงตามวัตถุประสงคข์ องการวิจัยตอ่ ไป เอกสารประกอบการสัมภาษณ์ดังกล่าว แบ่งเป็น 3 ตอน ได้แก่ ตอนท่ี 1 ข้อมูลโดยสรปุ เก่ียวกับการวจิ ยั ตอนที่ 2 สรุปผลการศึกษากระบวนการเรียนรู้ที่เสริมสร้างความ มนั่ คงทางอาหารในชุมชนต้นแบบ จาก 3 กรณีศึกษา ตอนท่ี 3 ร่างกระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงด้าน ความม่นั คงทางอาหารในชมุ ชนเกษตร ขั้นตอนที่ 2 การตรวจสอบกระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง ดา้ นความม่ันคงทางอาหารในชุมชนเกษตรทผ่ี ู้วิจยั พฒั นาข้นึ โดยผทู้ รงคุณวฒุ ิ ผู้วิจัยประสานขอความอนุเคราะห์ไปยังผู้เช่ียวชาญ เพื่อตรวจสอบ ร่างกระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงด้านความม่ันคงทางอาหารในชุมชนเกษตรที่
91 ผวู้ จิ ัยพฒั นาขึ้น โดยผทู้ รงคุณวุฒิ จานวน 3 ท่าน (รายนามผู้ทรงคุณวุฒิ ปรากฏในภาคผนวก ก) เพ่ือ ดาเนินการเกบ็ ขอ้ มลู ด้วยการสัมภาษณ์รายบคุ คล ซง่ึ ดาเนินการในช่วงเดอื นตลุ าคม 2559 ท้ังนี้ผู้วิจัยได้จัดส่งเอกสารท้ังไปพบผู้ทรงคุณวุฒิโดยตรงเพื่อส่ง เอกสารและชแ้ี จงวัตถปุ ระสงคข์ องการวิจัยและทางไปรษณยี ์อิเล็กทรอนกิ ส์ ประกอบดว้ ย (1) เอกสารประกอบการสัมภาษณ์เพื่อรับรองการยกร่าง กระบวนการสง่ เสรมิ การเรยี นรูส้ กู่ ารเปลี่ยนแปลงดา้ นความมน่ั คงทางอาหารในชมุ ชนเกษตร และ (2) แบบการสัมภาษณ์เพื่อตรวจรับรองการยกร่างกระบวนการ ส่งเสริมการเรียนรู้สู่การเปล่ียนแปลงด้านความม่ันคงทางอาหารในชุมชนเกษตร (ดังภาคผนวก จ) ที่ ผู้วิจัยจัดทาขึ้น โดยแบบสัมภาษณ์ดังกล่าว แบ่งเป็น 2 ตอน ได้แก่ ตอนท่ี 1 ข้อมูลส่วนบุคคลของ ผู้ทรงคุณวุฒิ ตอนที่ 2 ร่างกระบวนการและประเด็นในการสัมภาษณ์เพ่ือสอบถามข้อคิดเห็นท่ีมีต่อ ความสอดคล้องและความตรงกับเนื้อหา และความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติของกระบวนการส่งเสริม การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงด้านความมั่นคงทางอาหารในชุมชนเกษตร โดยผู้วิจัยขอนัดหมายเพื่อ ดาเนนิ การสมั ภาษณถ์ ึงผลการตรวจสอบกระบวนการเรยี นรทู้ ี่พฒั นาขึ้นในลาดับต่อไป ทั้งนี้ ประเด็นในการตรวจสอบกระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้ท่ี พฒั นาขึน้ ได้แก่ 1) ความเหมาะสมของกระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การ เปล่ยี นแปลงดา้ นความมน่ั คงทางอาหารในชมุ ชนเกษตร 2) ความเป็นไปได้ของกระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การ เปลี่ยนแปลงดา้ นความมัน่ คงทางอาหารในชมุ ชนเกษตร 3) ข้อเสนอแนะต่อการนากระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การ เปลยี่ นแปลงด้านความมน่ั คงทางอาหารในชุมชนเกษตรไปใช้ประโยชน์ สาหรับเกณฑ์เพ่ือพิจารณาผลการตรวจสอบร่างกระบวนการเรียนรู้ ของผู้ทรงคุณวุฒิในประเด็นต่าง ๆ ผู้วิจัยกาหนดเกณฑ์โดยใช้ความเห็นมากกว่าก่ึงหน่ึงของ ผู้ทรงคุณวุฒิเป็นเกณฑ์ในการพิจารณา ดังน้ี ประเด็นท่ีผู้ทรงคุณวุฒิเห็นด้วย จานวน 2 ท่านขึ้นไป ผวู้ จิ ัยยนื ยันนาเสนอตามประเด็นเนื้อหาทน่ี าเสนอ และกรณปี ระเดน็ ท่ีผทู้ รงคณุ วฒุ ิไมเ่ หน็ ด้วย จานวน 2 ทา่ นข้นึ ไป ผวู้ ิจัยดาเนนิ การปรับปรุงและเพิม่ เตมิ ตามที่ผูท้ รงคุณวุฒิเสนอไว้ การสรุปและการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยนาข้อคิดเห็ นและ ขอ้ เสนอแนะท่ีได้จากการสัมภาษณ์มาปรับปรุงและแก้ไขกระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้ที่นาไปสู่การ เปล่ียนแปลงด้านความมั่นคงทางอาหารในชุมชนเกษตรที่พัฒนาให้มีความถูกต้อง เหมาะสม และมี ความเป็นไปได้ในการนาไปประยกุ ต์ใชไ้ ด้มากย่ิงข้ึน และเพ่ือเขยี นเปน็ ขอ้ สรุปผลการวจิ ัยตอ่ ไป
92 ระยะท่ี 3 การศกึ ษาผลของการประยกุ ต์ใช้กระบวนการส่งเสริมการเรียนรสู้ ่กู ารเปลยี่ นแปลง ดา้ นความมน่ั คงทางอาหารในชมุ ชนเกษตรท่ีพัฒนาขึน้ การศกึ ษาในระยะที่ 3 มีเปูาหมายเพ่ือตรวจสอบกระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้ท่ีนาไปสู่ การเปลี่ยนแปลงด้านความม่ันคงทางอาหารในชุมชนเกษตร ว่าส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านความรู้ และการกระทาของสมาชิกในชุมชนหรือไม่ อย่างไร และรวบรวมข้อเสนอแนะที่จะเป็นประโยชน์ต่อ การนากระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงด้านความมั่นคงทางอาหารในชุมชนเกษตร ไปใช้กบั ชมุ ชนเกษตรอ่ืนต่อไป การดาเนินงานวิจัยในระยะนี้ เป็นการศึกษาภาคสนามดาเนินการโดยใช้วิธีการวิจัยเชิง ปฏบิ ัตกิ ารร่วมกบั การศกึ ษาเอกสารและงานวิจัยต่าง ๆ ประกอบด้วย 3 ข้ันตอนสาคัญ ได้แก่ 1) การ คัดเลือกเกษตรกรกลุ่มตัวอย่าง และ 2) การประยุกต์ใช้กระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การ เปลยี่ นแปลงด้านความมนั่ คงทางอาหารในชมุ ชนเกษตรที่พัฒนาขน้ึ 3) การประเมินผลการประยุกต์ใช้ กระบวนการส่งเสรมิ การเรยี นรู้สู่การเปลย่ี นแปลงดา้ นความมน่ั คงทางอาหาร ขัน้ ตอนท่ี 1 การคดั เลือกเกษตรกรกลุ่มทดลอง การดาเนินงานวิจัยเพ่ือคัดเลือกเกษตรกรกลุ่มทดลอง ผู้วิจัยใช้วิธีการสุ่ม ตัวอยา่ งแบบเจาะจงเพือ่ คัดเลอื กเกษตรกรกล่มุ ทดลอง โดยมเี กณฑใ์ นการพจิ ารณาเลอื กดงั นี้ คือ 1) เป็นเกษตรกรทีอ่ าศยั อยูใ่ นชมุ ชนทีต่ งั้ ในภาคกลางที่มีสภาพทางนิเวศ เป็นพื้นท่ีราบลุ่ม ซ่ึงประชากรส่วนใหญ่มีรายได้จากการประกอบอาชีพทางการเกษตร มีผลผลิตทาง การเกษตรหลกั คอื ขา้ ว ในสดั ส่วนทมี่ ากกว่าผลผลติ อน่ื 2) เปน็ เกษตรกรทอี่ าศยั อยใู่ นชมุ ชนที่ประสบปัญหาหรือมีความเส่ียงต่อ ความไมม่ ่ันคงทางอาหาร 3) เป็นเกษตรกรที่ดาเนินชีวิตและมีรายได้จากการเพาะปลูกพืชและ จาหนา่ ยผลผลติ ทางการเกษตรต่าง ๆ 4) เป็นเกษตรกรที่มีความสมัครใจเข้าร่วมกิจกรรมและยินดีให้ความ ร่วมมอื ในการเก็บขอ้ มูลเชิงลกึ สามารถสละเวลาเขา้ รว่ มกจิ กรรมท่จี ัดข้ึน 5) เป็นเกษตรกรที่อาศัยในชุมชนท่ีผู้วิจัยสามารถเดินทางเข้าไปได้อย่าง ตอ่ เนอื่ งตลอดระยะเวลาการวจิ ัย จากเกณฑ์การคัดเลือกชุมชนข้างต้น ผู้วิจัยได้ประสานความร่วมมือกับ เกษตรกรซึ่งเป็นผู้ประสานงานเครือข่ายเกษตรกรรุ่นใหม่ ภาคตะวันตก ช่วงเดือนตุลาคม พ.ศ.2559 เพอ่ื ช้ีแจงวัตถปุ ระสงคก์ ารวิจัยและการคัดเลือกเกษตรกรกลุ่มทดลอง เพื่อศึกษาความเหมาะสม และ
93 ความเป็นไปได้ในการนากระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้ท่ีพัฒนาขึ้น ไปใช้เพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้ด้าน ความมัน่ คงทางอาหารของชุมชนเกษตรอน่ื ต่อไป จากน้ันผู้ประสานงานเครือข่ายเกษตรกรรุ่นใหม่ ภาคตะวันตก จึงสอบถาม ไปยงั เกษตรกรในเครอื ขา่ ย ในเดอื นพฤศจิกายน ในช่วงเวลาดังกล่าวผู้ประสานงานเครือข่าย ฯ ทาให้ ได้รายช่ือเกษตรกรที่สนใจซึ่งเป็นผู้นาชุมชนท่ีสนใจจะส่งเสริมการเรียนรู้ที่นาไปสู่การเปลี่ยนแปลง ด้านความมั่นคงทางอาหารในพ้ืนท่ี เม่ือได้รายชื่อดังกล่าวจากผู้ประสานงานเครือข่าย ฯ ผู้วิจัยจึง ประสานกับเกษตรกรซึง่ เป็นผู้นาชุมชนเพ่ือศึกษาข้อมูลสภาพชุมชนเบ้ืองต้น ในช่วงเดือนพฤศจิกายน และเดอื นธนั วาคม พ.ศ.2559 โดยวิธกี ารศึกษาเอกสาร การสมั ภาษณ์ผู้ใหญ่บ้านและเกษตรกรที่สนใจ รวมทั้งการสังเกตสภาพทั่วไปของชุมชน โดยมีผู้ให้ข้อมูลสาคัญในข้ันตอนน้ีคือ ผู้ใหญ่บ้าน เกษตรกร และผู้ประสานงานเครือข่ายเกษตรกรรุ่นใหม่ ภาคตะวันตก โดยผู้วิจัยได้ติดต่อขอประสานความ ร่วมมือทางโทรศัพท์จากผู้ให้ข้อมูลสาคัญโดยตรง เพ่ือขอนัดหมายช้ีแจงวัตถุประสงค์ของการศึกษา วธิ กี ารดาเนินงานวิจัย และทาการศึกษาสภาพชุมชน สถานการณ์เกี่ยวกับความม่ันคงทางอาหารของ ชมุ ชน เพื่อทาความเขา้ ใจประสบการณ์ ภูมหิ ลงั ของผู้นาและเกษตรกรในพน้ื ที่ นอกจากการเก็บข้อมูล จากผู้ให้ข้อมูลสาคัญข้างต้น ผู้วิจัยลงพ้ืนที่สังเกตและสัมภาษณ์ผู้จาหน่ายผลผลิตทางการเกษตรของ ตนไปจาหน่ายที่ตลาดนัดในพื้นที่ ซ่ึงผู้ใหญ่บ้านและสมาชิกในชุมชนให้ข้อมูลว่าเป็นแหล่งที่มาของ อาหารทส่ี าคญั ของคนในชมุ ชน เพ่อื สอบถามเกี่ยวกบั ที่มาของสนิ ค้าทางเกษตรทนี่ ามาจาหนา่ ย จากนั้นนาข้อมูลได้เก็บรวบรวมมาพิจารณาโดยใช้เกณฑ์การคัดเลือก เกษตรกรกลุ่มทดลองตามท่ีกาหนดไว้ พบว่า สภาพชุมชนที่เกษตรกรอาศัยอยู่มีลักษณะตรงตาม เกณฑ์ท่ีกาหนด เป็นชุมชนซ่ึงตั้งในตาบลท่ีมีสภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่มริมฝ่ังแม่น้า มีระบบ ชลประทานท่ัวถึงท้ังพ้ืนท่ี ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม พืชเศรษฐกิจที่สาคัญได้แก่ ข้าว รองลงมาคือ ผักและผลไม้ จากการศึกษาเบ้ืองต้นพบว่า สภาพตาบลที่เกษตรกรกลุ่มตัวอย่าง อาศัยอยู่นี้ เป็นพื้นที่ท่ีเผชิญสถานการณ์น้าท่วมบ่อยครั้ง ทาให้บางครัวเรือนเลือกที่จะหยุดการเส่ียง จากพืชผลทางการเกษตรเสียหายด้วยการไปทางานรับจ้างต่างถิ่นแทน หรือเปลี่ยนจากการทานาไป เพาะปลูกผัก ผลไม้แทน ขณะที่สถานการณ์ท่ีดินทาการเกษตรมีแนวโน้มของการขายท่ีดินให้กับคน ภายนอกชุมชนมากขึ้นโดยเฉพาะพื้นที่ริมน้า แม้ว่าสมาชิกในชุมชนจะได้รับการสนับสนุนในโครงการ หรือกิจกรรมท่ีเก่ียวข้องกับการผลิตอาหารปลอดภัยและการทาเกษตรอินทรีย์ แต่เกษตรกรในพื้นที่ ส่วนใหญ่ยงั คงทาการเกษตรเคมี ใชป้ ุย๋ เคมี สารเคมีกาจัดวัชพืช และสารกาจัดแมลงศัตรูพืช ซึ่งข้อมูล จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล พบว่า กว่าร้อยละ 80 ของประชากรในตาบลท่ีรับการตรวจ เลอื ดมสี ารพิษตกค้างในเลือดในภาวะเส่ียงและไม่ปลอดภัย ซ่ึงข้อสันนิษฐานหนึ่งน่าจะเป็นผลมาจาก การบรโิ ภคอาหารที่ไม่ปลอดภยั มจี ากการปนเปอื้ นของสารเคมี
94 ด้วยเหตุน้ผี ู้นาชุมชนซงึ่ เปน็ เกษตรกรในพน้ื ท่จี ึงมีความสนใจที่จะส่งเสริมให้ สมาชิกในชุมชนมีความเข้าใจแนวคิดความมั่นคงทางอาหารและนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงเพื่อ เสรมิ สรา้ งความม่นั คงทางอาหารในระดบั ครวั เรอื นและชมุ ชน อยา่ งไรกต็ ามจากการลงพ้ืนท่ีสัมภาษณ์ผู้ใหญ่บ้านและเกษตรกรในชุมชนท่ี จะดาเนินการศึกษาในระยะน้ี ผู้วิจัยได้รับฟังข้อกังวลจากผู้นาชุมชนและสมาชิกในชุมชนว่า ข้อมูล บางอย่างที่จะปรากฏและเผยแพร่ในงานน้ี อาจจะกระทบต่อความสัมพันธ์ของคนในชุมชน การ ประสานงานกับหน่วยงานภายนอกเพื่อสนับสนุนการดาเนินงานพัฒนาชุมชนในอนาคต ด้วยเหตุนี้ เพื่อเปน็ การปกปอู งผใู้ หข้ ้อมลู และผูเ้ กีย่ วขอ้ ง ผูว้ จิ ัยจงึ ใชช้ อ่ื ชมุ ชน ชอ่ื ตาบล ชอ่ื อาเภอ ช่ือจังหวัดและ ชอื่ บคุ คลต่าง ๆ เปน็ นามสมมตทิ ้ังสิ้น ขั้นตอนที่ 2 การประยุกต์ใช้กระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงด้าน ความมนั่ คงทางอาหารในชุมชนเกษตรทพี่ ฒั นาขน้ึ ผู้วิจัยนารูปแบบกระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การเปล่ียนแปลงด้าน ความมั่นคงทางอาหารในชุมชนเกษตรทไ่ี ด้จากการศกึ ษาในระยะที่ 2 ซ่ึงประกอบด้วย องค์ประกอบท่ี เก่ียวข้องกับแนวทางการจัดกระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การเปล่ียนแปลงด้านความมั่นคงทาง อาหารในชุมชนเกษตร ได้แก่ หลักการ เปูาหมายการเรียนรู้ เนื้อหา วิธีการเรียนรู้ และแหล่งเรียนรู้ รวมทั้งขั้นตอนในการดาเนินกระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงด้านความม่ันคงทาง อาหารในชุมชนเกษตร มาผนวกกับผลการศึกษาข้อมูลทั่วไปของชุมชนทดลองเก่ียวกับลักษณะท่ัวไป ของชุมชนด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจ แบบแผนการผลิต แหล่งทรัพยากรธรรมชาติ ในช่วงเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2559 ถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2560 มาประชุมร่วมกับให้กับผู้ใหญ่บ้าน อาสาสมัคร สาธารณสุขประจาหมู่บ้าน ผู้มีส่วนเก่ียวข้องในชุมชน และผู้เชี่ยวชาญด้านประเด็นความม่ันคงทาง อาหาร เพื่อวางแผนปฏิบัติการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การเปล่ียนแปลงด้านความม่ันคงทางอาหารใน ชมุ ชนเกษตรร่วมกัน ผลการประชุมทาให้ได้ 3 กิจกรรมสาคัญ ไดแ้ ก่ กิจกรรมที่ 1 สร้างการรับรู้และความตระหนักเกี่ยวกับแนวคิดและ สถานการณด์ ้านความมน่ั คงทางอาหาร กจิ กรรมที่ 2 กาหนดแนวทางในการเสรมิ สร้างความมั่นคงทางอาหาร กิจกรรมท่ี 3 ปฏิบัติตามแนวทางในการเสริมสร้างความมั่นคงทาง อาหารท่ีเกษตรกรกลมุ่ ทดลองเป็นผกู้ าหนด แต่ละขั้นตอนมีรายละเอยี ดดังนี้ กิจกรรมที่ 1 สร้างการรับรู้และความตระหนักเกี่ยวกับแนวคิดและ สถานการณ์ด้านความม่ันคงทางอาหาร รายละเอียดของกิจกรรมเป็นผลจากการประชุมวางแผน
95 ร่วมกันผู้นาชุมชน ผู้มีส่วนเก่ียวข้องในชุมชน และผู้เชี่ยวชาญด้านประเด็นความม่ันคงทางอาหาร ใน วันท่ี 23 มกราคม 2560 เพื่อกาหนดรายละเอียดของวัน เวลา และสถานที่ในการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ตามแผนปฏบิ ตั กิ ารทีก่ าหนดขึ้น รวมทั้งตรวจสอบความเป็นไปได้และปรับปรุงก่อนนาไปใช้จริง ซึ่ง ผลการประชุมดังกล่าวเบื้องต้นจึงกาหนดให้มีการจัดประชุมเพ่ือดาเนินกิจกรรมสร้างความรู้และสร้าง คว ามต ร ะห นั กถึงคว ามส า คัญแล ะแน ว คิ ด เ กี่ย ว กับ ส ถ าน ก าร ณ์ด้ าน คว ามม่ัน คงท างอาห าร ขอ ง ครวั เรอื นและชมุ ชน ประกอบด้วย 2 กิจกรรมย่อยดงั น้ี 1) กิจกรรมสร้างความรู้เกี่ยวกับแนวคิดความม่ันคงทางอาหารของ ชุมชน ด้วยวิธีการบรรยาย การระดมความคิด และการเล่าเรื่องราวของกรณีศึกษาท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อ แลกเปลยี่ นความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับความมนั่ คงทางอาหารของชุมชน โดยวิทยากรผู้เช่ียวชาญด้าน เนอ้ื หาและประเดน็ ความมนั่ คงทางอาหารของชมุ ชนเกษตร 2) กจิ กรรมสรา้ งความตระหนกั ถงึ ความสาคัญของของแนวคิดเกี่ยวกับ สถานการณ์ด้านความม่ันคงทางอาหารของครัวเรือนและชุมชน ด้วยวิธีการเรียนรู้จากการทาแบบ ประเมินตนเอง การสนทนากลุ่มร่วมกัน การเล่าเรื่องราวของกรณีตัวอย่างท่ีสอดคล้องกับประเด็นท่ีมี ความสงสัยหรือมีความเข้าใจไม่ตรงกัน เพื่อทบทวนความเข้าใจเก่ียวกับความเข้าใจในประเด็นปัญหา ต่าง ๆ และวิธีการที่ครัวเรือนและชุมชนเคยใช้ในการแก้ปัญหาดังกล่าว โดยวิทยากรผู้เช่ียวชาญด้าน เนื้อหาและประเด็นความมั่นคงทางอาหารของชุมชนเกษตร และผู้วิจัยในฐานะวิทยากรกระบวนการ ในการต้ังคาถามและกระตุ้นความคิดให้สมาชิกชุมชนที่เข้าร่วมการสนทนาได้ทบทวนกลยุทธ์หรือ วิธีการซ่ึงนามาใช้ในการแก้ปัญหาหรือการส่งเสริมด้านความมั่นคงทางอาหารท่ีผ่านมา โดยใช้แบบ ตรวจสอบรายการสถานะความมนั่ คงทางอาหารของครัวเรือนและชุมชน เป็นเครื่องมือในการสนทนา ร่วมกนั เพ่ือสรา้ งความเขา้ ใจและทบทวนสถานการณ์ กิจกรรมสร้างการรับรู้และความตระหนักเกี่ยวกับแนวคิดและสถานการณ์ ด้านความมน่ั คงทางอาหาร จัดขึ้นในวันเสารท์ ่ี 4 กุมภาพนั ธ์ 2560 เวลา 09.00 – 12.00 น. ณ ศาลา อเนกประสงค์ของชุมชน ผู้ใหญ่บ้านในฐานะผู้ประสานงานหลักในชุมชน เชิญผู้นาชุมชน และสมาชิก ในหมู่บ้านและหมู่บ้านใกล้เคียงท่ีสนใจ มีเกษตรกรท่ีสนใจเข้าร่วมเป็นเกษตรกรกลุ่มทดลอง 8 คน โดยดาเนินกิจกรรมตามลาดบั ดังน้ี 1.1 ผูว้ จิ ัยชีแ้ จงวตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั และนาเสนอกระบวนการส่งเสริม การเรียนรู้สู่การเปล่ียนแปลงด้านความม่ันคงทางอาหารในชุมชนเกษตร และขอให้ผู้เข้าร่วมการ ประชมุ ทุกท่านแนะนาตวั ทลี ะคน โดยบอก ชื่อ ตาแหนง่ ในชุมชน (ถา้ ม)ี อาชพี หลัก 1.2 เกษตรกรกลุ่มทดลองร่วมกันระดมความคิดเห็นเก่ียวกับความหมาย ของคาว่าความมั่นคงทางอาหารของชุมชน โดยผู้วิจัยและวิทยากรร่วมกันบันทึกคาตอบที่เกษตรกร
96 กลมุ่ ตวั อย่างเสนอลงในบัตรคา และตดิ บนกระดานทจ่ี ัดให้เป็นหมวดหมู่ตามมิติสาคัญของความมั่นคง ทางอาหาร ไดแ้ ก่ ความพอเพียง การเข้าถึง การใช้ประโยชน์ และเสถียรภาพ 1.3 วิทยากรบรรยายความหมายของความมั่นคงทางอาหาร และตั้งคาถาม เพ่ือใหเ้ กิดการแลกเปลีย่ นความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั ความมน่ั คงทางอาหาร 1.4 ผู้วิจัยแจกแบบตรวจสอบรายการสถานะความม่ันคงทางอาหารของ ครัวเรือนและชุมชน เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มทดลองทุกท่านทาการประเมินสถานการณ์ความม่ันคงทาง อาหารของครวั เรือนและชมุ ชนดว้ ยตนเองรอบที่ 1 โดยประเมินตามความเขา้ ใจของแตล่ ะท่าน 1.5 วิทยากรสรุปผลการประเมินรอบท่ี 1 จากนั้นจึงให้ที่ประชุมอภิปราย ร่วมกันถึงผลการประเมินตนเองเป็นรายข้อ เพ่ือสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับรายละเอียดของแต่ละ ตัวช้วี ดั พร้อมกับเช่ือมโยงประสบการณข์ องผู้เขา้ ร่วมการประชมุ มาแลกเปลีย่ นรว่ มกนั 1.6 เกษตรกรกลุ่มทดลองทาการประเมินสถานการณ์ความมั่นคงทาง อาหารของครัวเรอื นและชมุ ชนดว้ ยตนเองรอบที่ 2 จากนัน้ จึงการสนทนาร่วมกันเพ่ือแลกเปลี่ยนความ คดิ เหน็ เก่ียวกบั ผลประเมนิ ทมี่ กี ารเปล่ยี นแปลงไป 1.7 ร่วมกันแลกเปลีย่ นความคดิ เห็น ความรสู้ กึ ทีม่ ตี ่อกจิ กรรม กจิ กรรมท่ี 2 กาหนดแนวทางเสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร เป็นการ ประชุมเพ่ือกาหนดประเด็นความม่ันคงทางอาหารของครัวเรือนและชุมชนท่ีเกษตรกรกลุ่มทดลอง ต้องการแก้ปัญหาและพัฒนาร่วมกัน โดยนาผลการสนทนาเกี่ยวกับสถานการณ์ด้านความมั่นคงทาง อาหารของครัวเรือนและชุมชนข้างต้น มาพิจารณาประกอบ เพื่อให้ที่ประชุมร่วมกันหาข้อสรุปใน ประเด็นดังนี้ 1) ความต้องการในการแก้ปัญหาหรือส่งเสริมความม่ันคงทางอาหารของครัวเรือนและ ชุมชน 2) กิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาร่วมกัน และ 3) การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบในกิจกรรม ต่าง ๆ ท่ีกาหนดข้ึน จากน้ันจึงจัดทาแนวทางเสริมสร้างความมั่นคงทางอาหารของครัวเรือนและ ชุมชนร่วมกัน พร้อมกาหนดช่วงเวลาในการดาเนินการของแตล่ ะกจิ กรรมที่กาหนดขน้ึ การดาเนินกิจกรรมกาหนดแนวทางเสริมสร้างความม่ันคงทางอาหารของ ครัวเรือนและชมุ ชน จัดขึ้นในวันอาทิตย์ท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 10.00 – 14.00 โดยมีเกษตรกร กลุ่มทดลองทเ่ี ขา้ รว่ มการประชุมทั้งสิน้ 8 คน โดยมกี ารดาเนนิ กิจกรรมตามลาดับ ดงั น้ี 2.1 การกาหนดความต้องการในการแก้ปัญหาหรือพัฒนาโดยเกษตรกร กลุ่มทดลองร่วมกันพิจารณาผลการประเมินสถานการณ์ความม่ันคงทางอาหารของครัวเรือนและ ชุมชนดว้ ยตนเองรอบที่ 2 จากกิจกรรมท่ีผา่ นมา พร้อมกับสนทนาร่วมกับท่ีประชุมถึงรายละเอียดของ ประเด็น ซ่ึงที่ประชุมส่วนใหญ่มีความเห็นว่า ครอบครัวและชุมชนไม่มีความมั่นคงทางอาหารใน ประเดน็ ดงั กล่าว
97 2.2 เกษตรกรกลุ่มทดลองร่วมกันกาหนดกิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาหรือ พัฒนาตามแนวทางเสรมิ สรา้ งความม่ันคงทางอาหารของครัวเรือนและชุมชน ตามท่ีกาหนดไว้ร่วมกัน โดยบางประเด็นทต่ี รงกบั กรณีศึกษาชุมชนต้นแบบในงานวิจัยคร้ังน้ี ผู้วิจัยจะนาเสนอเป็นทางเลือกให้ เกษตรกรกลุม่ ตวั อย่างเพอ่ื จุดประกายความคิดและเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาตามแนวคิดความ ม่ันคงทางอาหาร หรือบางประเด็นที่เกี่ยวข้องกับองค์ความรู้ด้านเทคนิควิธีการเกษตรกร โภชนาการ และการตลาด จะมีวิทยากรคอยให้ข้อมูลแลกเปล่ียนร่วมกัน นอกจากนี้พบว่ามีบางประเด็นซึ่งท่ี ประชุมเสนอวา่ ข้อมูลท่ีนามาแลกเปล่ียนกันไม่เพียงพอ จึงเสนอว่าควรมีการศึกษาทางเลือกท่ีเป็นไป ได้และควรส่งเสรมิ ให้คนในชมุ ชนตอ่ ไป 2.3 เกษตรกรกลุ่มทดลองร่วมกันกาหนดหน้าที่รับผิดชอบในกิจกรรมที่ กาหนดขน้ึ โดยระบผุ รู้ ับผิดชอบหลักในแต่ละกิจกรรม และเครอื ข่ายสนบั สนุน 2.4 เกษตรกรกลุ่มทดลองร่วมกันสรุปและทบทวนแนวทางเสริมสร้าง ความมนั่ คงทางอาหารของชมุ ชนทดลองร่วมกนั ประกอบดว้ ย กจิ กรรม เปูาหมาย ระยะเวลาท่ีคาดว่า จะดาเนนิ การในแตล่ ะกิจกรรม กิจกรรมท่ี 3 ปฏิบัติตามแนวทางเสริมสร้างความมั่นคงทางอาหารของ ครวั เรือนและชุมชนท่ีกาหนด เกษตรกรกลมุ่ ทดลองนาผลการจัดกิจกรรมที่ 2 กาหนดแนวทางในการ เสริมสร้างความม่ันคงทางอาหารของครัวเรือนและชุมชนข้างต้น มาประชุมร่วมกันเพ่ือคัดเลือก กิจกรรมที่ระบุในแนวทางเสริมสร้างความม่ันคงทางอาหารของครัวเรือนและชุมชน เพื่อนาไปปฏิบัติ ท้ังในระดับครวั เรือน กลุ่ม และชุมชน ข้ันตอนท่ี 3 การประเมินผลการประยุกต์ใช้กระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การ เปลยี่ นแปลงดา้ นความม่ันคงทางอาหาร การประเมินผลท่เี กิดขึ้นจากการประยุกต์ใช้กระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้ สู่การเปลี่ยนแปลงด้านความม่ันคงทางอาหาร ผู้วิจัยกาหนดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติในทุก ขั้นตอน โดยผู้วิจัยใช้วิธีการสังเกตพฤติกรรมของเกษตรกรกลุ่มทดลองท่ีเข้าร่วมกิจกรรมในแต่ละ ขัน้ ตอน รวมทง้ั การสมั ภาษณ์ความคดิ เห็นของเกษตรกรกลุ่มทดลองผู้เข้าร่วมต่อกิจกรรมท่ีจัดข้ึนตาม กระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การเปล่ียนแปลงด้านความม่ันคงทางอาหารในชุมชน โดยผู้วิจัย สัมภาษณ์เกษตรกรกลุ่มทดลองในวันท่ี 14 – 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 ในประเด็นตา่ ง ๆ ดังน้ี 1) ภมู ิหลังของเกษตรกรกลมุ่ ทดลอง 2) เหตุผลท่ีเข้าร่วมกระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงด้าน ความม่ันคงทางอาหาร
98 3) ผลการดาเนนิ กจิ กรรมตามแนวทางเสรมิ สรา้ งความมั่นคงทางอาหารของ ครัวเรอื นและชุมชน 4) ผลการเรียนรู้ที่เกิดจากกระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การ เปลี่ยนแปลงดา้ นความมัน่ คงทางอาหาร 5) ขอ้ เสนอแนะตา่ ง ๆ เกย่ี วกบั การนากระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การ เปลี่ยนแปลงดา้ นความมัน่ คงทางอาหารในชมุ ชนเกษตรไปใช้ จากน้นั ผู้วิจัยนาผลที่ไดจ้ ากการสังเกตและการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์เนื้อหา เพื่อ สรปุ เปน็ ขอ้ เสนอแนะต่อการนากระบวนการสง่ เสรมิ การเรียนรู้สู่การเปล่ียนแปลงด้านความม่ันคงทาง อาหารในชุมชนเกษตรไปใชต้ ามประเดน็ ทกี่ าหนด ระยะท่ี 4 ขอ้ เสนอเชงิ นโยบายเพ่ือส่งเสรมิ การเรยี นรสู้ ู่การเปลย่ี นแปลงด้านความมั่นคงทาง อาหารในชมุ ชนเกษตร การศึกษาในระยะท่ี 4 มีวัตถุประสงค์เพื่อนาเสนอข้อเสนอเชิงนโยบายเพ่ือส่งเสริมการ เรียนรู้สู่การเปล่ียนแปลงด้านความม่ันคงทางอาหารในชุมชนเกษตร ประกอบด้วยจุดมุ่งหมายและ แนวทางปฏบิ ัตใิ นการสง่ เสริมการเรียนรสู้ ู่การเปล่ยี นแปลงด้านความมั่นคงทางอาหารในชุมชนเกษตร สาหรบั ใช้เปน็ แนวทางในการตัดสินใจเพอ่ื การวางแผนและการดาเนินการต่าง ๆ ของผู้มีส่วนเก่ียวข้อง โดยให้ความสาคัญกับการส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อสร้างความเข้าใจและการเปลี่ยนแปลงวิธีคิดและ เปูาหมายท่ีมีต่อระบบการผลิตและวิถีการบริโภคของครัวเรือนชุมชนเกษตรท่ีสัมพันธ์กับสถานการณ์ ความมั่นคงทางอาหารมาสู่การพ่ึงพาตนเองจากภายในครัวเรือนและชุมชนมากขึ้น ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนสาคัญ 1) การจัดทาร่างข้อเสนอเชิงนโยบาย 2) ตรวจสอบร่างและปรับปรุงข้อเสนอเชิง นโยบาย และ 3) นาเสนอร่างข้อเสนอเชงิ นโยบาย ขั้นตอนท่ี 1 การจัดทาร่างข้อเสนอเชิงนโยบายเพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้สู่การ เปล่ยี นแปลงด้านความม่ันคงทางอาหารในชุมชนเกษตร การดาเนินการวิจัยในข้ันตอนน้ี ผู้วิจัยจัดทา (ร่าง) ข้อเสนอเชิงนโยบาย โดยนาข้อมูลมาจากการวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้ที่ได้จากการ วิจัยในขั้นตอนที่ 1 การศึกษากระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้ท่ีนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงด้านความ ม่ันคงทางอาหารของชุมชนต้นแบบ (วัตถุประสงค์ข้อที่ 1) และการวิจัยในขั้นตอนที่ 3 การศึกษาผล ของการประยุกต์ใช้กระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงด้านความมั่นคงทางอาหารใน ชุมชนเกษตร (วัตถุประสงค์ข้อที่ 3) ที่ได้จากการสัมภาษณ์ การสังเกต และการสนทนากลุ่ม ร่วมกับ ผู้นาชุมชน เกษตรกร สมาชิกในชุมชน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ในประเด็นท่ีเก่ียวข้องกับสถานการณ์
99 ปัญหาและขอ้ เสนอแนะทม่ี ตี อ่ การส่งเสรมิ และสนับสนุนการเรียนรู้ที่นาไปสู่การเปลี่ยนแปลงความคิด และการกระทาของสมาชิกกลุ่มและชมุ ชนเพ่ือเสริมสร้างความมน่ั คงทางอาหารของชุมชน ร่างข้อเสนอเชิงนโยบายนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือนาเสนอข้อเสนอแนะเก่ียวกับจุดมุ่งหมาย และแนวทางปฏิบัติในการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การเปล่ียนแปลงด้านความมั่นคงทางอาหารในชุมชน เกษตร สาหรับใช้เป็นแนวทางในการตัดสินใจเพ่ือการดาเนินการต่าง ๆ ของผู้บริหารและของ หนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วข้อง ขั้นตอนที่ 2 การตรวจสอบร่างและปรับปรุงข้อเสนอเชิงนโยบายเพ่ือส่งเสริมการ เรยี นร้สู กู่ ารเปลี่ยนแปลงด้านความมน่ั คงทางอาหารในชุมชนเกษตร ขั้ น ต อ น นี้ ใ ช้ วิ ธี ก า ร สั ม ภ า ษ ณ์ ร า ย บุ ค ค ล แ ล ะ ก า ร สั ม ภ า ษ ณ์ ก ลุ่ ม กั บ ผู้ทรงคุณวุฒิและกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงด้านความมั่นคง ทางอาหารในชุมชนเกษตร ได้แก่ หน่วยงานองค์กรที่เก่ียวข้อง นักวิชาการ นักพัฒนา และผู้แทน ชุมชนทดลอง จานวน 8 ท่าน เพ่ือร่วมให้ข้อคิดเห็น ข้อวิพากษ์ และข้อเสนอแนะเพิ่มเติม เพื่อให้ได้ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายที่มีความเหมาะสมและเป็นไปได้มากขึ้น โดยกาหนดเกณฑ์ในการคัดเลือก ผู้ทรงคุณวุฒิท่ีจะทาการตรวจสอบร่างข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้สู่การเปล่ียนแปลง ดา้ นความมนั่ คงทางอาหารในชุมชนเกษตร ดังนี้ 1) เป็นผู้ที่มีบทบาททางวิชาการหรือมีประสบการณ์ทางานในการ สง่ เสรมิ การเรยี นรูเ้ พอ่ื การพัฒนาชุมชน 2) เป็นผู้ท่ีมีบทบาททางวิชาการหรือมีประสบการณ์ทางานในการ สง่ เสริมการเรยี นรเู้ พ่อื เสรมิ สร้างความม่นั คงทางอาหารของชมุ ชนเกษตร 3) เปน็ ผู้ทมี่ คี วามรู้และมผี ลงานด้านการวิจัยเชิงคณุ ภาพ ผู้วิจัยประสานขอความอนุเคราะห์ไปยังผู้เช่ียวชาญ เพ่ือตรวจสอบร่างร่าง ข้อเสนอเชิงนโยบายเพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงด้านความมั่นคงทางอาหารในชุมชน เกษตรท่ีผวู้ ิจัยจัดทาขนึ้ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 8 ท่าน (รายนามผู้ทรงคุณวุฒิ ปรากฏในภาคผนวก ก) เพ่ือดาเนินการเก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์รายบุคคล จานวน 4 ท่าน และการสัมภาษณ์กลุ่ม จานวน 4 ท่าน เกบ็ ขอ้ มูลชว่ งเดือนมนี าคม ถงึ เดอื นเมษายน พ.ศ.2560 ทั้งนี้ผู้วิจัยจัดเตรียมและนาส่งเอกสารประกอบการสัมภาษณ์เพ่ือศึกษ า ข้อคดิ เห็นของผ้เู ชยี่ วชาญทีม่ ตี ่อรา่ งขอ้ เสนอเชงิ นโยบายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้สู่การเปล่ียนแปลงด้าน ความมนั่ คงทางอาหารในชุมชนเกษตร ประกอบดว้ ย
100 1) ประเด็นการสัมภาษณ์เพื่อสอบถามข้อคิดเห็นท่ีมีต่อความสอดคล้อง และตรงกับเน้ือหา และความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติของข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้สู่ การเปลย่ี นแปลงดา้ นความมั่นคงทางอาหารในชมุ ชนเกษตร แบง่ เปน็ 4 ประเด็นย่อย ได้แก่ 1.1) ข้อมลู สว่ นบุคคลของผู้ทรงคณุ วฒุ ิ 1.2) เปาู หมายของขอ้ เสนอเชงิ นโยบาย 1.3) ร่างข้อเสนอเชิงนโยบายและแนวทางปฏิบัติในการส่งเสริมการ เรียนร้สู กู่ ารเปล่ียนแปลงดา้ นความมัน่ คงทางอาหารในชุมชนเกษตร 1.4) ผลการประเมินข้อเสนอเชิงนโยบายแต่ละข้อ ด้านความ สอดคล้องและความตรงกับเนอื้ หา ความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ และข้อเสนอแนะเพิ่มเติมต่อข้อเสนอ เชิงนโยบายที่ผวู้ ิจัยรา่ งขึน้ 2) ผลการวิจัยกระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงด้าน ความมนั่ คงทางอาหารในชมุ ชนเกษตร เพื่อเป็นขอ้ มลู พืน้ ฐานประกอบการพจิ ารณา ขั้นตอนที่ 3 การนาเสนอร่างข้อเสนอเชิงนโยบายเพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้สู่การ เปลยี่ นแปลงดา้ นความมนั่ คงทางอาหารในชมุ ชนเกษตร ผู้วิจัยนาผลท่ีได้จากการสัมภาษณ์เพื่อตรวจสอบร่างข้อเสนอเชิงนโยบาย มาปรับปรุง และนาเสนอขอ้ เสนอเชิงนโยบายเพอ่ื ส่งเสริมการเรียนรู้สู่การเปล่ียนแปลงด้านความมั่นคงทางอาหาร ในชมุ ชนเกษตรในรูปแบบความเรียงให้สมบรู ณ์มากขนึ้
101 บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพ่ือพัฒนากระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การ เปล่ียนแปลงด้านความมั่นคงทางอาหารในชุมชนเกษตร โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อศึกษา ปรากฏการณ์และกระบวนการเรียนรู้ที่เสริมสร้างความม่ันคงทางอาหารในชุมชนต้นแบบจาก การศึกษากรณตี วั อย่างท่ีดี 3 ชุมชน และศึกษาผลของการประยุกต์ใช้กระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้ สู่การเปล่ียนแปลงด้านความม่ันคงทางอาหารในชุมชนเกษตรท่ีผู้วิจัยพัฒนาข้ึนในชุมชนทดลอง 1 ชุมชน รวมทั้งพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงด้านความมั่นคง ทางอาหารในชุมชนเกษตรด้วยการสมั ภาษณ์ผ้ใู ห้ข้อมูลหลัก ในบทนี้ นาเสนอผลการวิจัยโดยแบ่งเป็น 4 ตอน ดงั นี้ ตอนท่ี 1 การศึกษากระบวนการเรียนรู้ท่ีเสริมสร้างความม่ันคงทางอาหารในชุมชน ต้นแบบ แบง่ การนาเสนอเป็น 4 ตอนยอ่ ย ไดแ้ ก่ 1.1 กรณีศึกษาท่ี 1 ชมุ ชนคยู้ ายหมี อาเภอสนามชัยเขต จังหวดั ฉะเชงิ เทรา 1.2 กรณีศกึ ษาท่ี 2 ชุมชนหนองสาหรา่ ย อาเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี 1.3 กรณศี กึ ษาที่ 3 ชมุ ชนลานตากฟาู อาเภอนครชยั ศรี จังหวดั นครปฐม 1.4 สรุปกระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้ของชุมชนต้นแบบท่ีนาไปสู่การ เปลยี่ นแปลงดา้ นความมน่ั คงทางอาหารในชมุ ชน ตอนที่ 2 การพัฒนากระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงด้านความมั่นคง ทางอาหารในชุมชนเกษตร แบ่งการนาเสนอเป็น 3 ตอนย่อย ได้แก่ 2.1 การสงั เคราะห์กระบวนการส่งเสรมิ การเรียนรู้สกู่ ารเปล่ียนแปลงด้านความ ม่นั คงทางอาหารในชุมชนเกษตร 2.2 ผลการตรวจสอบ (ร่าง) กระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การเปล่ียนแปลง ดา้ นความมนั่ คงทางอาหารในชุมชนเกษตร 2.3 กระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงด้านความม่ันคงทาง อาหารในชุมชนเกษตร ตอนท่ี 3 การประยุกต์ใช้กระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การเปล่ียนแปลงด้านความ ม่ันคงทางอาหารในชมุ ชนเกษตรทพ่ี ฒั นาขึน้ แบ่งการนาเสนอเป็น 3 ตอนยอ่ ย ได้แก่ 3.1 ข้อมลู พ้ืนฐานของชมุ ชนและเกษตรกรกลุ่มตัวอย่าง
102 3.2 ผลการประยุกต์ใช้กระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงด้าน ความมน่ั คงทางอาหารในชมุ ชนเกษตร 3.3 ข้อเสนอแนะต่อการนากระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การเปล่ียนแปลง ด้านความมัน่ คงทางอาหารในชมุ ชนเกษตรไปใช้ ตอนท่ี 4 การศึกษาข้อเสนอเชิงนโยบายเพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้สู่การเปล่ียนแปลงด้าน ความมนั่ คงทางอาหารในชมุ ชนเกษตร แบง่ การนาเสนอเป็น 3 ตอนย่อย ไดแ้ ก่ 4.1 ร่างข้อเสนอเชิงนโยบายในการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงด้าน ความมนั่ คงทางอาหารในชมุ ชนเกษตร 4.2 ผลการประเมิน (ร่าง) ข้อเสนอเชิงนโยบายในการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การ เปลีย่ นแปลงดา้ นความมนั่ คงทางอาหารในชมุ ชนเกษตร 4.3 ข้อเสนอเชงิ นโยบายในการส่งเสรมิ การเรียนรู้สู่การเปล่ียนแปลงด้านความ ม่นั คงทางอาหารในชมุ ชนเกษตร (ปรับปรุง) โดยมผี ลการศึกษาดงั น้ี ตอนท่ี 1 การศกึ ษากระบวนการเรียนรูท้ เี่ สรมิ สร้างความม่นั คงทางอาหารในชมุ ชนตน้ แบบ ในส่วนน้ีนาเสนอผลการศึกษาตามวัตถุประสงค์การวิจัยข้อท่ี 1 กระบวนการเรียนรู้ที่ เสรมิ สร้างความมั่นคงทางอาหารในชุมชนต้นแบบ โดยผู้วิจัยศึกษากรณีตัวอย่างที่ดีของชุมชนท่ีมีการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีส่งเสริมการเปล่ียนแปลงด้านความม่ันคงทางอาหารในชุมชน โดยใช้วิธีการ คดั เลอื กแบบเจาะจง เป็นชุมชนท่ีมีสภาพนิเวศเป็นท่ีราบลุ่ม ประชากรส่วนใหญ่มีรายได้หลักจากการ ผลิตข้าว และเป็นชุมชนท่ีมีการเรียนรู้และปฏิบัติการร่วมกันอย่างต่อเนื่องในการเสริมสร้างความ มัน่ คงทางอาหารของชุมชน จานวน 3 ชมุ ชน ได้แก่ 1) ชุมชนคูย้ ายหมี อาเภอสนามชัยเขต จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา 2) ชมุ ชนหนองสาหร่าย ตาบลหนองสาหรา่ ย อาเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบรุ ี 3) ชุมชนลานตากฟูา ตาบลลานตากฟาู อาเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม การเก็บรวบรวมข้อมูลผู้วิจัยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยวิธีการศึกษาเอกสาร การ สัมภาษณ์รายบุคคล การสัมภาษณ์รายกลุ่ม และการสังเกต โดยมีผู้ให้ข้อมูลหลักได้แก่ ผู้มีส่วน เกี่ยวข้องในการจัดกระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การเปล่ียนแปลงด้านความม่ันคงทางอาหารของ ชุมชนต้นแบบ สมาชิกในชุมชนที่เข้าร่วมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการเปลี่ยนแปลงด้านความม่ันคงทาง อาหารในชุมชนต้นแบบ ผ้วู จิ ัยนาเสนอผลการศึกษาเป็นรายชุมชน ประกอบด้วย
103 1) ขอ้ มูลพื้นฐานของชมุ ชน 2) ขอ้ มูลท่วั ไปเกี่ยวกับการเสรมิ สร้างความมัน่ คงทางอาหารของชมุ ชน 3) กระบวนการเรียนรู้ที่เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหารในชุมชนต้นแบบ 6 ประเด็น สาคัญ ไดแ้ ก่ เปาู หมาย เนอ้ื หา ขน้ั ตอน วธิ ีการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ 4) ปัจจัยและเง่ือนไขท่ีเก่ียวข้องกับกระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง ดา้ นความมน่ั คงทางอาหารในชมุ ชนตน้ แบบ โดยมีผลการศึกษาของแต่ละชมุ ชนตามประเด็นต่าง ๆ ข้างต้น ดงั นี้ กรณีศึกษาท่ี 1 ชุมชนคู้ยายหมี อาเภอสนามชัยเขต จงั หวดั ฉะเชิงเทรา การศึกษาคร้ังน้ีเป็นการศึกษากระบวนการเรียนรู้ของสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการ พัฒนาแม่บ้านยางแดง และกลุ่มเกษตรอินทรีย์อาเภอสนามชัย จังหวัดฉะเชิงเทรา สมาชิกของกลุ่ม ดังกลา่ วอาศัยในตาบลคู้ยายหมี ครอบคลุมหมู่บ้านต่าง ๆ 7 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ท่ี 2 บ้านบางพะเนียง หมู่ท่ี 6 บา้ นยางแดง หมูท่ ่ี 10 บา้ นอา่ งทอง หมู่ท่ี 12 บ้านปุาอีแทน หม่ทู ่ี 13 บ้านโพธิ์ทอง หมู่ท่ี 15 บ้านห้วยกบ และ หมู่ที่ 16 บ้านโพธิ์งาม ซ่ึงกลุ่มดังกล่าวเป็นที่รู้จักโดยทั่วไปในฐานะแหล่งศึกษาดู งานท่ีเกี่ยวข้องกับการขับเคล่ือนงานด้านความมั่นคงทางอาหารและเกษตรกรรมยั่งยืน เพราะมีการ เรยี นรู้และปฏิบตั ิการร่วมกันในประเด็นที่เก่ียวข้องกับความม่ันคงทางอาหารมากว่า 30 ปี มีกิจกรรม การเรียนรู้ครอบคลุมตั้งแต่การผลิตถึงการตลาด โดยใช้กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการพัฒนาเป็นวิธีการใน การพัฒนาการเรียนรู้และดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกัน โดยมีประเด็นเร่ืองการรักษาและการสร้าง พน้ื ทีแ่ หลง่ อาหารเป็นประเดน็ เร่ิมต้นทีส่ าคญั ในการเรยี นร้เู พื่อเสรมิ สรา้ งความมั่นคงทางอาหาร ผวู้ จิ ัยดาเนินการวจิ ยั ภาคสนามศึกษาด้วยวธิ ีการสมั ภาษณ์ ประธานและสมาชิกกลุ่มออม ทรัพย์เพื่อการพัฒนาแม่บ้านยางแดง 4 คน คณะกรรมการและสมาชิกกลุ่มเกษตรอินทรีย์อาเภอ สนามชยั เขต 5 คน และนกั พฒั นาซง่ึ เป็นกรรมการและทปี่ รกึ ษาของกลุ่ม 2 คน เพ่อื ศึกษาสภาพท่ัวไป ของชุมชนและกระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงด้านความมั่นคงทางอาหารในชุมชน ผู้วิจัยใช้วิธีการสังเกตวิธีการเรียนรู้และการส่ือสารจากกการเข้าร่วมกิจกรรมของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อ การพัฒนาแม่บ้านยางแดงและกลุ่มเกษตรอินทรีย์อาเภอสนามชัยที่จัดขึ้นในตาบลคู้ยายหมี ได้แก่ การประชมุ กลมุ่ การเย่ียมแปลงนา และกิจกรรมต่าง ๆ ทีส่ มาชกิ ของกลุม่ ไปเขา้ ร่วมซึ่งจัดขึ้นภายนอก ชมุ ชน ไดแ้ ก่ การประชุมสัมมนาเชิงวิชาการและการออกร้านจาหน่ายสินค้าเกษตร รวมท้ังการศึกษา เอกสารตา่ ง ๆ ทเี่ กีย่ วขอ้ ง ผลการศึกษากลา่ วโดยสรุปได้ ดงั น้ี
104 1.1 ข้อมูลพืน้ ฐานของชุมชนคู้ยายหมี เนื่องจากกลุ่มเกษตรอินทรีย์อาเภอสนามชัยมีสมาชิกซ่ึงเป็นเกษตรกรท่ีมาจากหลาย ชุมชนในตาบลคู้ยายหมี ในส่วนนี้จึงขอนาเสนอข้อมูลสภาพทั่วไปของตาบลคู้ยายหมีเพ่ือทาความ เข้าใจเก่ยี วกบั บรบิ ทของสภาพพืน้ ที่ทีส่ มาชกิ กลุ่มอาศยั อยู่ เดิมตาบลคู้ยายหมีเป็นตาบลหนึ่งของอาเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทราต่อมา ราวปี 2520 มีการแบ่งแยกอาเภอใหม่ จงึ เปล่ียนมาขึ้นอยู่กับเขตการปกครองของอาเภอสนามชัยเขต แทน หมู่บ้านดั้งเดิมของตาบลคู้ยายหมี ได้แก่ บ้านบางมะเฟือง บ้านดอนท่านา บ้านบางพะเนียง บ้านคู้ยายหมี ปัจจุบันตาบลคู้ยายหมีมีพื้นที่ท้ังหมด 159 ตารางกิโลเมตร ตาบลคู้ยายหมี มีการแบ่ง การปกครองออกเป็น 17 หมบู่ ้าน ไดแ้ ก่ บ้านบางมะเฟือง บ้านบางพะเนียง บ้านดอนท่านา บ้านโพน งาม บา้ นสระไม้แดง บา้ นยางแดง บ้านวังไทร บ้านหนองยาง บ้านท่าม่วง บ้านอ่างทอง บ้านอ่างตาผ้ึง บ้านปุาอีแทน บ้านโพธิ์ทอง บ้านบึงตะเข้ บ้านห้วยกบ บ้านโพธ์ิงาม บ้านเนินทราย ที่ตั้งของตาบลคู้ ยายหมมี ีอาณาเขตติดตอ่ ดังนี้ ทศิ เหนือ มีอาณาเขตติดต่อกบั ตาบลเกาะขนุน อาเภอพนมสารคาม จงั หวัดฉะเชิงเทรา ทศิ ใต้ มีอาณาเขตติดต่อกับ ตาบลลาดกระทิง อาเภอสนามชัยเขต จังหวัด ฉะเชงิ เทรา ทศิ ตะวันออก มีอาณาเขตติดต่อกับ ตาบลท่ากระดาน อาเภอสนามชัยเขต จังหวัด ฉะเชิงเทรา ทิศตะวนั ตก มีอาณาเขตติดต่อกับ ตาบลลาดเกาะขนุน อาเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ลักษณะภูมิประเทศเป็นพ้ืนท่ีส่วนใหญ่อยู่ในเขตปุาสงวนแห่งชาติแควระบม -สียัด สภาพพื้นที่เป็นราบตามเชิงเขาสลับกับพื้นท่ีเนินลาด สภาพดินเป็นดินลูกรังและดินร่วนปนทราย แหลง่ นา้ ทีส่ าคญั ไดแ้ ก่ คลองสยี ัด คลองระบม และห้วยหนองต่าง ๆ เช่น ห้วยมาบต้นยาง หนองยาง หนองแก่น หนองหอย บงึ ดว้ น บึงตะกุด บึงสระไมแ้ ดง บงึ โสม อ่างตาผ้ึง เป็นตน้ ข้อมูลจากองค์การบริหารส่วนตาบลคู้ยายหมี ด้านศาสนสถาน มีวัดทั้งหมด 9 แห่ง สานักสงฆ์ 6 แห่ง และโบสถ์คริสต์ 1 แห่ง สาหรับสถานศึกษามีโรงเรียนระดับประถมศึกษา 7 แห่ง โรงเรียนขยายโอกาส 2 แห่ง โรงเรียนมัธยม 1 แห่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 9 แห่ง ด้านสาธารณสุขมี โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบล 2 แหง่ ที่เขาสระไม้แดงและบ้านยางแดง มีโรงพยาบาลสนามชัยเขต 1 แหง่ โดยมรี ะยะทางจากตาบลคยู้ ายหมถี ึงท่วี ่าการอาเภอสนามชัยเขต ประมาณ 9 กิโลเมตร และมี ระยะทางจากตาบลคยู้ ายหมถี งึ กรุงเทพมหานคร ประมาณ 120 กโิ ลเมตร
105 ปจั จบุ ันประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ไดแ้ ก่ ทานา ทาสวน ปลูกผัก ผลไม้ ทาไร่ ปลูกเห็ดฟาง เลี้ยงสัตว์ ผลผลิตทางการเกษตรท่ีสาคัญ ได้แก่ มันสาปะหลัง ยูคาลิปตัส อ้อย ยางพารา ข้าวโพด สับปะรด นอกจากนี้ เป็นแรงงานรับจ้างท่ัวไปท้ังในงานเกษตร งานก่อสร้าง และทางานโรงงานอุตสาหกรรมนอกพนื้ ท่ี หลายครัวเรือนมีสมาชิกท่ีทางานท้ังในและนอกภาคเกษตร ควบค่กู ันไป เพ่ือใหม้ ีรายไดเ้ พียงพอต่อการยงั ชีพ พ้ืนที่บริเวณนี้อยู่ในเขตพื้นที่ปุาสงวนแห่งชาติแควระบบ-สียัด ซึ่งประกาศ เม่ือปี พ.ศ. 2512 เดิมเป็นปุาดงดิบ มีพรรณไม้สาคัญ ได้แก่ ตะแบกแดง กระบก ยางแดง ตะเคียนทอง สมพง ปอ อีเก้ง ค้างคาว กระท้อน ตาเสือ คอแลน เป็นต้น ซ่ึงในเวลาต่อมามีการนาพื้นท่ีไปปฏิรูป ที่ดินเป็น สปก. มีการสัมปทานตัดไม้ของบริษัทเอกชน และบางส่วนประกาศเป็นเขตรักษาพันธุ์สัตว์ ปุาเขาอ่างฤๅไน มีสวนรุกขชาติ คือ สวนรุกขชาติสมเด็จพระป่ินเกล้า ซ่ึงเป็นท่ีตั้งของศูนย์ศึกษาการ พฒั นาเขาหินซอ้ นอันเนื่องมาจากพระราชดาริท่ีตาบลเข้าหินซ้อน อาเภอพนมสารคาม ตั้งแต่ต้นศตวรรษ 2500 ที่มีการปฏิรูปท่ีดิน การสัมปทานตัดไม้ และการตัดถนน เพื่อสร้างทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 (สายปากเกร็ด–สะพานต่างระดับนครราชสีมา) ส่งผลให้มี การบกุ รุกจบั จองผืนปาุ เสือ่ มโทรมบริเวณนเี้ พือ่ เป็นพ้ืนทท่ี าการเกษตรและต้ังถิ่นฐานเพิ่มมากขึ้น ผู้คน ท่ีอพยพเข้ามายังชีพด้วยการทานาปลูกข้าว หาของปุา เช่น การตัดหวาย ตัดไม้ซุง ดักจับไก่ปุา กระรอก กระแต กระจง หมูปุา เก้ง กวาง มาเป็นอาหารและขาย ต่อมาเมื่อมีนโยบายจากภาครัฐ กาหนดให้พื้นที่บริเวณอาเภอสนามชัยเขตเป็นพ้ืนที่ปลูกพืชเศรษฐกิจ ได้แก่ มันสาปะหลัง ทาให้มีผู้ ประกอบกจิ การต้งั โรงงานและลานรับซอ้ื มนั สาปะหลังจากเกษตรกร จึงทาให้มีการอพยพของผู้คนเข้า มาต้ังรกรากในบริเวณน้ีหนาแน่นมากข้ึน มีการบุกเบิกถางปุาเพื่อปรับสภาพพ้ืนที่ให้เหมาะกับการ เพาะปลูกมันสาปะหลัง สัปปะรด ด้วยเหตุท่ีเดิมเป็นผืนปุาทาให้ในระยะแรกต้นทุนท่ีใช้ในการผลิต คอ่ นขา้ งตา่ และผลผลิตต่อไร่ค่อนข้างสูง ทาให้หลายครัวเรือนเข้ามาบุกเบิกถางปุาเพื่อปลูกพืชการค้า เพม่ิ มากขึน้ ประกอบกบั การเพาะปลูกพชื เชงิ เดีย่ วโดยขาดการบารุงดินอย่างต่อเน่ือง ทาให้ความอุดม สมบรู ณ์ของผืนดินในอดีตเร่ิมลดน้อยลงไป ปุ๋ยเคมี ยาฆ่าแมลง กาจัดวัชพืช ถูกนามาใช้ในการเกษตร มากขึ้น แหล่งอาหารตามธรรมชาติท่ีเคยอุดสมบูรณ์ลดน้อยลงไป หลายครัวเรือนเผชิญปัญหาหนี้สิน นอกระบบ ความสัมพันธ์ของผู้คนอยู่ในลักษณะต่างคนต่างอยู่ ไม่ค่อยไว้วางใจซ่ึงกันและกัน มีความ หวาดระแวงระหว่างหน่วยงานรฐั และชาวบา้ น ระบบสาธารณสขุ ไม่เขา้ ถึง เยาวชนมีอาหารไม่เพียงพอ ทุกมื้อ สถานการณ์ปัญหาดังกล่าวนามาซึ่งการเรียนรู้ การพัฒนาชุมชนของชาวบ้าน สืบเนื่องมาถึง การเสรมิ สรา้ งความมนั่ คงทางอาหารร่วมกันในเวลาตอ่ มา
106 1.2 ข้อมูลท่วั ไปเกี่ยวกบั การเสริมสรา้ งความม่ันคงทางอาหารของชุมชนคยู้ ายหมี ผลการศึกษาเอกสารท่เี ก่ยี วข้อง การสังเกตการดาเนินกิจกรรมร่วมกันของคนในตาบล คู้ยายหมี การสัมภาษณ์นักพัฒนาเอกชนซึ่งอาศัยและทางานในพื้นที่ การสัมภาษณ์ประธานและ สมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการพัฒนาแม่บ้านยางแดง และการสัมภาษณ์กรรมการและสมาชิกกลุ่ม เกษตรอินทรีย์อาเภอสนามชัย จังหวัดฉะเชิงเทรา กล่าวโดยสรุปถึงการดาเนินกิจกรรมท่ีผ่านมาของ ชมุ ชนที่เกยี่ วข้องกับการเสรมิ สร้างความม่นั คงทางอาหารได้ ดังนี้ การรวมตัวกนั ของเกษตรกรรายยอ่ ยในชุมชนเพอ่ื ร่วมกนั วางแผนและดาเนินกิจกรรมท่ี เก่ียวข้องกบั ความมน่ั คงทางอาหารของชมุ ชนเริม่ ต้นชดั เจนเมอื่ ปี 2528 ทห่ี มบู่ ้านยางแดง โดยนาเอา แนวคิดและการดาเนินงานในลักษณะของกลุ่มออมทรัพย์มาใช้เป็นวิธีการสาคัญในการส่งเสริมให้ เกษตรกรรายย่อยในตาบลคู้ยายหมีได้เรียนรู้ เข้าใจ และตระหนักถึงความสาคัญของการรวมตัวกัน เพื่อแก้ปัญหาในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับอาหารปากท้อง จากจุดเร่ิมต้นดังกล่าวถึงปัจจุบันผู้คนในตาบลคู้ ยายหมดี าเนนิ กจิ กรรมท่ีเกย่ี วข้องกบั การเสริมสรา้ งความมัน่ คงทางอาหาร กลา่ วโดยสรปุ ได้ดังนี้ 1.2.1 การเพ่ิมศักยภาพของครัวเรือนและชุมชนในการแก้ไขปัญหาและการ รวมกลุ่มช่วยเหลือกันด้านอาหารของชุมชน ได้แก่ การรวมตัวกันตั้งกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการพัฒนาแม่บ้านยางแดง ในปี 2528 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้หญิงในงานพัฒนาชุมชน มีเปูาหมายสาคัญคือ การใช้กิจกรรมของ กลุ่มออมทรัพย์เพ่ือเปิดโอกาสในการพบปะพูดคุยแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสาร ความคิดเห็นระหว่าง สมาชิก เป็นแหล่งระดมทุนเพื่อแก้ปัญหาของชุมชนร่วมกัน ควบคู่ไปกับการออม และการกู้ยืมไป ลงทุนในการประกอบอาชีพ เป็นองคก์ รในการประสานความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน ท่ี ตอ่ มากลายเปน็ จดุ เริ่มต้นของการแลกเปล่ียนพูดคุยและร่วมกันวิเคราะห์และแก้ปัญหาของครอบครัว และชุมชนด้านแหล่งอาหารท้องถ่ิน การพึ่งตนเองด้านอาหาร และนาไปสู่การเคล่ือนไหวเพ่ือรักษา สิทธใิ นแหล่งอาหารของชุมชนมาอยา่ งตอ่ เนื่อง การต้ังกลุ่มเกษตรอินทรีย์อาเภอสนามชัยเขต ในปี 2544 เพ่ือส่งเสริมให้ สมาชิกปรับเปล่ียนระบบการผลิตให้มาเป็นเกษตรอินทรีย์ที่ม่ันคงทางด้านอาหาร ให้สมาชิกมีรายได้ ควบคู่ไปกับการฟนื้ ฟูสภาพแวดลอ้ ม โดยมีเมล็ดพันธุ์จาหน่ายให้กับสมาชิก ซ่ึงมีเงื่อนไขว่า หมู่บ้านใด สนใจจะเข้าร่วมกลุ่มหรือเป็นเครือข่าย จะต้องตั้งกลุ่มออมทรัพย์ในหมู่บ้านควบคู่ไปด้วย เพ่ือลดการ พึ่งพาทุนจากภายนอก ดูแลต้นทุนการผลิตให้กับสมาชิกท่ีมีปัญหาหน้ีสินจากการเพาะปลูกต่าง ๆ และมีความกงั วลในผลกระทบด้านสขุ ภาพทเี่ กดิ จากการใช้สารเคมีในการเกษตร 1.2.2 การเสริมสร้างความสามารถในการพึ่งตนเองด้านอาหารของครัวเรือนและ ชมุ ชน โดยเฉพาะอย่างยง่ิ มติ ิการมีอาหารเพียงพอสาหรบั การบริโภคตลอดทั้งปี
107 กจิ กรรมการสรา้ งปาุ ในบา้ น และการเกษตรแบบผสมผสาน การเพาะเห็ด ของ สมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการพัฒนาแม่บ้านยางแดงท่ีมีการระดมทุนจากสมาชิกและมีการ แลกเปลย่ี นเรียนร้รู ่วมกนั ของสมาชกิ เพ่อื แก้ปัญหาต่าง ๆ ของครัวเรือนและชุมชน เช่น ปี 2530 ที่ดิน ในตาบลถูกกว้านซ้ือจากนายทุน พ้ืนที่ปุาใกล้บ้านยางแดงถูกแพ้วถางสาหรับปลูกยูคาลิปตัส พืช เศรษฐกิจใหมท่ มี่ ีการสง่ เสริมในพ้นื ท่ี จงึ มกี ารจัดกิจกรรมสร้างปุาในบ้าน เพ่ือฟ้ืนฟูอนุรักษ์ผักพื้นบ้าน อนุรักษป์ าุ ไผ่ ด้วยแนวคดิ สาคัญ คือ รักษาแหลง่ อาหาร ลดการพึ่งพาจากภายนอก โดยการย้ายปุามา ไว้ในบ้าน เอาผักพ้ืนบ้านในปุา เช่น แต้ว เสม็ด กระเจียว หน่อข่าปุา หวาย ไม้ไผ่ มาปลูกเป็นปุา ครอบครัว “ตอนเลี้ยงไก่ ปลูกผักด้วยกัน เราพบว่ามันเป็นไปไม่ได้ บ้านช่องกระจาย ผู้หญิงเขามีลูก เล็กต้องดู เลยเปล่ียน ไม่เอาแปลงรวมแล้ว เปลี่ยนไปทาบ้านใครบ้านมัน มาทาผัก เอาผักท้องถ่ินมา ปลกู ในบ้าน ตอนน้ันป่าเรมิ่ เตียน เราก็ไปหามาปลกู ปลกู ปา่ ในบา้ น เอาไผ่ตง ไผ่เลี้ยงมาปลูก”(วาสนา เสนาวงศ,์ ประธานกลุม่ ออมทรพั ย์เพอื่ การพัฒนาแมบ่ า้ นยางแดง สมั ภาษณ์, 18 กันยายน 2559) การส่งเสริมการเรียนรู้และการทาเกษตรกรรมย่ังยืน โดยกลุ่มเกษตรอินทรีย์ อาเภอสนามชัยเขต ตั้งแต่กระบวนการผลิต การตรวจและรับรองมาตรฐานฟาร์มเกษตรอินทรีย์ การ จัดการผลผลิตสู่ตลาดท้ังระดับท้องถ่ินและระดับสากล เพ่ือส่งเสริมให้คนในชุมชนหันมาพ่ึงพาตนเอง ด้านอาหาร โดยมีอาหารท่ีปลอดภัยท้ังต่อผู้ผลิตและผู้บริโภค ต่อมามีการขยายแนวคิดจากหมู่บ้าน ยางแดง ไปส่หู มู่บ้านอน่ื ๆ ในตาบลคู้ยายหมี และขยายไปถึงตาบลใกลเ้ คยี งในอาเภอเสนามชยั เขต 1.2.3 การเสริมสร้างความมั่นคงทางอาหารในมิติสิทธิฐานทรัพยากรการผลิต โดยเฉพาะอย่างย่ิงด้านปัจจัยท่ีดินและฐานทรัพยากรพันธุกรรม พบว่า การเรียนรู้และเคล่ือนไหวใน นามของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการพัฒนาแม่บ้านยางแดง เป็นท่ีรู้จักในการเคล่ือนไหวภาคประชาชน อย่างชัดเจน ในช่วงปี 2539 – 2540 เม่ือกลุ่มเข้าร่วมชุมนุมกับเครือข่ายสมัชชาคนจน เรียกร้อง รัฐบาลให้นาประเดน็ เกษตรกรรมย่ังยืนบรรจใุ นแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติฉบับที่ 8 ตอ่ มาปี 2550 รัฐบาลมีนโยบายสร้างโรงไฟฟูาถ่านหินเขาหินซ้อน กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการพัฒนาแม่บ้านยางแดงและกลุ่มเกษตรอินทรีย์อาเภอสนามชัยเขต ร่วมกับเครือข่าย เกษตรกรรมยั่งยืน เครือข่ายสมัชชาแปดริ้วยั่งยืน และเครือข่ายนักวิชาการ สร้างความรู้ความเข้าใจ เร่ืองผลกระทบของการสร้างโรงงานไฟฟูาด้วยการทา CHIA (Community Health Impact Assessment) คือประเมินผลกระทบทางสขุ ภาพโดยใหค้ นในชุมชนจัดทาขอ้ มลู ชุมชนด้วยตนเอง โดย นาเสนอประเด็นเรื่องความม่ันคงทางอาหารเป็นประเด็นสาคัญในการเคลื่อนไหว โดยกล่าวถึงพ้ืนท่ี บริเวณลมุ่ แมน่ ้าบางปะกงในฐานะทีเ่ ป็นแหล่งผลิตอาหารท่สี าคญั ทั้งระดบั ประเทศและระดับโลก และ นาข้อมูลชุดนี้นาเสนอกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ทาให้รัฐบาลรับกลับไปศึกษาผลกระทบด้าน ส่ิงแวดล้อมอีกคร้ัง โดยชุมชนตระหนักถึงการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้และมีการร่วมมือกันติดตาม สถานการณ์เชงิ นโยบายท่ีจะกระทบตอ่ แหล่งอาหารของชมุ ชนมาอย่างต่อเน่ือง
108 ปี พ.ศ.2556 มีการจัดกิจกรรมถนนอาหารปลอดภัย ‘304 กินได้ ฤดูข้าวใหม่ปลา มนั ’ ข้ึนทีล่ านหน้าสานักงานเทศบาลตาบลพนมสารคาม อาเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา เพื่อ เสนอว่าความอุดมสมบูรณ์และความม่ันคงทางอาหาร ‘จากเขาใหญ่ ผ่านทุ่งข้าว สู่อ่าวไทย’ กาลังตก อยู่ในสภาวะวิกฤต เนื่องด้วยเพราะพื้นท่ีเกษตรกรรม ปุาไม้ และชายฝั่ง ของลุ่มน้าบางปะกงที่ ครอบคลุมพื้นที่ 5 จังหวัดของภาคตะวันออก ต้ังแต่สระแก้ว ปราจีนบุรี นครนายก ฉะเชิงเทรา และ ชลบุรี ท่ีเป็นพ้ืนทผี่ ลิตอาหารซ่งึ เชื่อมโยงเศรษฐกจิ ท้องถิ่นและระบบเศรษฐกิจโลกเข้าด้วยกันน้ันกาลัง ถูกคุกคามจากการพัฒนาที่ไม่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและไม่คานึงถึงความม่ันคงทางอาหาร โดยเฉพาะการขยายตัวของเขตอุตสาหกรรม โรงไฟฟูา ท่าเรือและอุตสาหกรรมต่อเนื่องมากมาย กิจกรรมดงั กล่าวจงึ จัดขึ้นเพ่ือชักชวนประชาชนทง้ั ในลุ่มน้าบางปะกงและผู้บริโภคในกรุงเทพ ฯ ได้เข้า มาเป็นส่วนหนึ่งในการปกปูองแหล่งความม่ันคงทางอาหารใกล้เมืองกรุง เช่ือมโยงผู้ผลิตเข้ากับ ผู้บริโภคภายใต้เปูาหมายการปกปูองคุ้มครองพ้ืนที่ผลิตอาหารเพ่ือพลเมืองไทยและโลกได้มีความ ม่ันคงทางอาหารท่ีทั้งอร่อย ปลอดภัย และมีโภชนาการสูงไว้บริโภค โดยจังหวัดฉะเชิงเทราต้ังอยู่ใน บรเิ วณกลางนา้ ถูกพิจารณาในฐานะที่เป็นแหล่งนาข้าว สวนผักและผลไม้ เลี้ยงสัตว์ และนาเกลือ ซ่ึง มกี ล่มุ เกษตรอนิ ทรีย์สนามชัยเขตเปน็ แหล่งผลผลติ เกษตรอนิ ทรีย์ในเสน้ ทางดังกล่าว 1.2.4 การเสริมสร้างความม่ันคงทางอาหารในมิติของการเข้าถึงอาหารในระบบ ตลาด ที่มีระบบการกระจายอาหารท่หี ลากหลาย ผ่านระบบตลาดท่ีเป็นธรรมและเกื้อกูลกันระหว่าง ผู้ผลิตและผู้บริโภค โดยกลุ่มเกษตรอินทรีย์สนามชัยเขตเป็นกลุ่มท่ีมีการดาเนินงานด้านการตลาดใน หลายช่องทาง ได้แก่ การจาหน่ายสินค้าพืชผักสดและแปรรูปในตลาดสีเขียว ซึ่งเป็นตลาดท่ีให้ ความสาคญั กับการจาหน่ายสนิ คา้ ทีม่ าจากกระบวนการผลิตอินทรีย์ที่ไม่มีการใช้สารเคมี กระบวนการ ผลิตท่ีคานึงถึงความปลอดภัยของผู้ผลิต ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม เช่นที่ อาคารรีเจ้นท์ โรงพยาบาล สนามชัยเขต รา้ นเลมอนฟาร์ม และการออกร้านในงานอาหารปลอดภัย 1.2.5 การเสริมสรา้ งความมน่ั คงทางอาหารในมิติของการเข้าถึงอาหารท่ีมีคุณภาพ มีความปลอดภัยด้านอาหารและโภชนาการ ในปี 2532 มีการรวมตัวกันของเกษตรกรมีสนใจเรียนรู้ และปรับปรุงระบบการผลิตอาหารท่ีปลอดภัยไม่ใช้สารเคมี ในนามเครือข่ายเกษตรกรรมทางเลือก จังหวัดฉะเชิงเทรา เพ่ือแก้ปัญหาสุขภาพท่ีเกิดจากการใช้สารเคมีสังเคราะห์ในกระบวนการผลิต ซึ่ง ต่อมาในปี 2544 มีลูกค้าจากต่างประเทศสนใจข้าวเหลืองประทิว ข้าวพันธ์ุพ้ืนเมือง แต่ต้องการ ผลผลิตท่ีมีมาตรฐานเกษตรอินทรีย์รับรอง จึงมีการรวมตัวกันของสมาชิกผู้ผลิตข้าว เพ่ือขึ้นทะเบียน ขอรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ จึงมีการต้ังกลุ่มเกษตรอินทรีย์สนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทราข้ึน โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริมให้สมาชิกกลุ่มได้ปรับเปลี่ยนระบบการผลิตทางการเกษตรเข้าสู่ระบบ การผลิตแบบเกษตรทางเลือกอย่างยั่งยืน ภายใต้แนวคิดท่ีว่าการทาเกษตรอินทรีย์ที่ย่ังยืนไม่ได้ขึ้นอยู่ กับพืชชนิดใดชนิดหน่ึง แต่ควรให้ความสาคัญกับความหลากหลายของพืชอาหารท้องถิ่น จากข้าวจึง
109 ขยายไปส่พู ืชอาหารชนิดอนื่ ซึ่งปัจจุบันกลุ่มมีรายการผลผลิตเกษตรอินทรีย์ทั้งพืชล้มลุก และไม้ยืนต้น รวม 117 รายการ โดยให้ความสาคัญกับการจัดต้ังระบบควบคุมการผลิตภายในกลุ่มและการขอรับ รองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์สากล ควบคู่ไปกับการส่งเสริมให้สมาชิกได้เรียนรู้และพัฒนาศักยภาพใน การผลิตพืชผลทางการเกษตร ท่ีเป็นกระบวนการไม่ใช้สารเคมี ท้ังในการผลิต การแปรรูป และบรรจุ ภัณฑ์ ตามมาตรฐานเกษตรอนิ ทรยี ท์ ี่ไดร้ ับการรับรองจากสานกั งานมาตรฐานเกษตรอนิ ทรีย์ (มกท.) 1.2.6 การเสริมสร้างความม่ันคงทางอาหารในมิติทางวัฒนธรรมและการพัฒนา ได้แก่ ผลการเปล่ียนแปลงระบบการผลิตจากพืชเชิงเด่ียวเพื่อการค้าและใช้สารเคมีในกระบวนการ ผลติ อยา่ งเข้มขน้ หันมาส่กู ารเพาะปลูกพืชอาหารปลอดภัยมากข้ึน พืชผักสวนครัวในบริเวณบ้านและ จากไร่นา นอกจากจะทาให้เกษตรกรมีอาหารท่ีเพียงพอสาหรับกินและขาย ยังทาให้มีการแบ่งปัน อาหารระหว่างคนในชุมชนมากขึ้น มีการฟ้ืนฟูวัฒนธรรมอาหารพ้ืนบ้าน โดยรวบรวบภูมิปัญญา ท้องถิ่นจากผู้สูงอายุในชุมชนเกี่ยวกับการปรุงอาหารและคุณค่าทางโภชนาการสุขภาพจากพืชอาหาร ท้องถิ่นต่าง ๆ รวมทั้งมีการแลกเปล่ียนอาหารและวัฒนธรรมอาหารพื้นบ้านกับผู้บริโภคในเมือง ที่ สาคัญความสาเร็จของกลุ่มออมทรัพย์ทาให้คนในชุมชนเห็นความสาคัญของการพ่ึงพาอาศัยกันและ กันและเชอ่ื มน่ั ในพลงั ความร่วมมือของเกษตรกรรายย่อย ซ่ึงเป็นการสร้างระบบความสัมพันธ์ของการ ชว่ ยเหลือกันและการพึ่งตนเองของเกษตรกรรายยอ่ ยในชุมชนค้ยู ายหมี 1.3 กระบวนการเรียนรูท้ ี่เสริมสรา้ งความมนั่ คงทางอาหารในชมุ ชนคยู้ ายหมี จากการสัมภาษณ์ประธาน กรรมการ และสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการพัฒนา แม่บ้านยางแดง และกลุ่มเกษตรอินทรีย์อาเภอสนามชัย จังหวัดฉะเชิงเทรา กล่าวโดยสรุปถึงผล การศึกษากระบวนการเรียนรู้ที่เสริมสร้างความม่ันคงทางอาหารในชุมชนคู้ยายหมี ประกอบด้วย 4 ประเด็นสาคญั ไดแ้ ก่ เปูาหมายการเรียนรู้ เนอ้ื หา กระบวนการ และผลการเรียนรู้ 1.3.1 ด้านเป้าหมายการเรียนรู้ ของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการพัฒนาแม่บ้านยาง แดงและกลุ่มเกษตรอินทรีย์สนามชัยเขต ให้ความสาคัญกับเปูาหมายของการเรียนรู้และปฏิบัติการที่ เสริมสร้างความม่ันคงทางอาหาร ประการแรก คือ ต้องการรักษาแหล่งอาหารและแหล่งรายได้ท่ี สาคัญของครัวเรือน ประการท่ีสอง คือ เพิ่มความสามารถในการพึ่งตนเองด้านอาหารและเข้าถึง อาหารท่ีปลอดภัยภายในระบบเกษตรกรรมย่ังยืน ควบคู่ไปกับการมีรายได้เพียงพอต่อการยังชีพจาก ระบบการผลิตและการตลาดดังกล่าว ประการที่สาม คือ การพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา และเผชิญกับสถานการณ์ท่ีจะกระทบต่อความไม่ม่ันคงทางอาหารได้ โดยเฉพาะอย่างย่ิงมิติของการ ปรบั เปลี่ยนจากภาวะผู้ตาม มาสู่การเป็นผนู้ าในการเปล่ียนแปลงแกป้ ญั หาดว้ ยตนเอง 1.3.2 ด้านเนื้อหา จากกระบวนการเรียนรู้ของชุมชนข้างต้น กล่าวได้ว่า เนื้อหา ในการเรียนรู้ท่ีสาคัญ ได้แก่ ทักษะในการแก้ไขปัญหาและการรวมกลุ่มช่วยเหลือกันด้านอาหารของ
110 ชุมชน การบริหารจัดการกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการพัฒนาและกลุ่มเกษตรอินทรีย์สนามชัยเขต แนวคิด การพ่ึงตนเองด้านอาหารของครัวเรือนและชุมชน สิทธิชุมชนในฐานทรัพยากรการผลิต ระบบการ ผลิตอาหารที่ปลอดภัยไม่ใช้สารเคมีในระบบเกษตรอินทรีย์ มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ระบบตลาดที่ เปน็ ธรรมและเก้ือกลู กนั ระหว่างผูผ้ ลิตและผู้บริโภค 1.3.3 ดา้ นกระบวนการเรยี นรู้ สมาชิกในชมุ ชนคู้ยายหมีมีการรวมตัวกันเป็นกลุ่ม เพ่ือแก้ปญั หาและชว่ ยเหลือกันดา้ นอาหารของชมุ ชน การเรียนรู้เพ่ือการเปลี่ยนแปลงด้านความม่ันคง ทางอาหารของชุมชนคู้ยายหมี จึงเก่ียวข้องกับการพัฒนาความสามารถในการคิด และวิเคราะห์ สถานการณ์ต่าง ๆ ที่กระทบต่อความมั่นคงทางอาหารของชุมชน จนทาให้ชุมชนตระหนักถึง ความสาคัญของการตัดสินใจเลือกที่จะเปลี่ยนแปลงวิถีการผลิตและพฤติกรรมท่ีจะนา ไปสู่การ เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหารของชุมชนและครัวเรือน ท้ังมิติของตนเองในฐานะท่ีเป็นเกษตรกร ผู้ผลิตและเป็นผู้บริโภค อาจกล่าวโดยสรุปถึงกระบวนการ วิธีการเรียนรู้ และแหล่งเรียนรู้ท่ีส่งเสริม การเรียนร้สู ู่การเปลยี่ นแปลงดา้ นความม่นั คงทางอาหารในชุมชนคยู้ ายหมีไดด้ ังนี้ 1) ตระหนักและสนใจปัญหาเรื่องปากท้อง ในขั้นตอนนี้ประกอบด้วย การ ที่สมาชิกในชุมชนเผชิญกับสถานการณ์ปัญหาที่กระทบต่อความมั่นคงทางอาหาร และรับรู้ไม่พอใจ และอยากเปล่ยี นแปลง 1.1) เผชิญกับสถานการณ์ปัญหาท่ีกระทบต่อความไม่มั่นคงทาง อาหาร ซงึ่ ปัญหาทีช่ ุมชนเผชิญขณะน้ัน ไดแ้ ก่ ปญั หาความไม่สมดุลทางเศรษฐกิจของครัวเรือนระหว่างรายได้ รายจ่าย หน้ีสิน และการออม ช่วงปี 2520 ชาวบ้านยางแดงรายได้จากการทาไร่มันสาปะหลังและ ขา้ วโพด รับจ้าง เก็บหาของปุาตามท่ีสาธารณะมากินและขาย หลายรายประสบปัญหาหนี้นอกระบบ ซง่ึ กจู้ าก “เถา้ แก”่ เพือ่ ไปซอื้ ปจั จยั การผลิตพืชเศรษฐกิจ คือ มันสาปะหลัง และเป็นค่าใช้จ่ายสาหรับ การศึกษา ขณะที่ต้นทุนการผลิตท่ีสูงข้ึนเร่ือย ๆ แต่ราคารับซื้อตกลงเร่ือย ๆ เงินเหลือจากหักเงินต้น และดอกเบี้ยท่กี ู้มา ไปซ้ือขา้ วกนิ ได้ไมม่ าก จะทานาไว้กนิ เองมแี รงงานไม่เพียงพอ ไม่มีเงิน ซ้ือควายมา ช่วยผ่อนแรง บางรายต้องไปเช่าควายมาทานา ได้ข้าวมาใช้หน้ีค่าเช่าควาย หนี้ที่มีแต่เพิ่มขึ้นทาให้ หลายครัวเรือนถูกยึดท่ีดินที่จับจองไว้ทาเกษตรคร้ังถัดไปมีต้นทุนค่าเช่านาเพิ่มข้ึนมาอีก ทาให้ ชาวบ้านอยู่ในวงจรรายได้ไม่พอ เป็นหนี้ เช่นคากล่าวท่ีว่า “เม่ือก่อนทานาเสร็จข้าวไปอยู่กับนายทุน หมด เพราะที่นี่เราไม่แหล่งทุน จะกินจะใช้ก็ต้องไปกู้เขามากินมาใช้ก่อน พอทานามาแระ มาเก็บ ดอกเบ้ียร้อยละ 3 – 4 ถัง เราเอาเงินเขามา เขาเอาข้าวเราไปเป็นดอกเบ้ีย กลายเป็นข้าวไม่อยู่ในมือ เรา” (สอง้ิ สรุ ยิ า, สมั ภาษณ,์ 18 กนั ยายน 2559) ปัญหาการขาดแคลนอาหาร การลดลงของแหล่งอาหารตาม ธรรมชาติและจากการเพาะปลูก ปัญหาความไม่สมดุลทางเศรษฐกิจของครัวเรือนข้างต้น ส่งผลให้
111 กว่าคร่ึงหนึ่งของเด็ก ๆ ท่ีไปโรงเรียนไม่มีอาหารกลางวันไปรับประทานที่โรงเรียน พื้นท่ีสาธารณะที่ ชาวบ้านเคยเข้าไปเกบ็ หา หนอ่ ไม้ ยอดหวาย ชะมวง เสม็ด ผักกดู ดอกกระเจียวต่าง ๆ มาเป็นอาหาร และนาไปขายเป็นแหล่งรายไดท้ ส่ี าคัญ ค่อย ๆ ลดลง บางแปลงถูกแผ้วถางโดยเกษตรกร แปลงขนาด ใหญ่ถูกครอบครองโดยนายทุนท้ังในจังหวัดและต่างประเทศพื้นท่ี และการเพิ่มข้ึนของการใช้ ประโยชน์จากทด่ี นิ เพือ่ การเพาะปลกู พืชเพ่อื การค้ามากข้ึน นามาซึ่งความรู้สึกไม่ม่ันคงในแหล่งอาหาร และรายได้ของครัวเรือน โดยเฉพาะผู้หญิงซ่ึงมีบทบาทสาคัญในการดูแลอาหารของคนในครอบครัว “มันมที ีด่ นิ นะ ที่เขาขาย มันเปล่ยี นมอื แล้วคนซื้อเขาจะปรับพื้นท่ีเป็นพืชเศรษฐกิจแบบยูคา ทีน้ีหมด สิ กระเจยี ว ไผ่ตง ข่า หนอ่ ไม้...ชาวบ้านได้เงิน 300-400 บาท จากขุดหาหน่อไม้ริมคลองนี่แหล่ะ เขา พังหมดเลย” (วาสนา เสนาวงศ์, สัมภาษณ์, 18 กันยายน 2559) “ตอนน้ันก็เดือดร้อนนะ มันเคยหา ได้ เขามาชวนคุยว่า มันจะหายไปเร่ือย ๆ นะ ท่ีเคยเก็บเคยหามาขายได้ มันจะไม่มี ชวนมาคุยกันว่า จะทายังไงดี พวกเคยขุดหน่อขายแหล่ะ เราก็เอ่อรู้จักไปคุยกับเขา” (สนม สมศิริ, สัมภาษณ์, 16 กนั ยายน 2559) 1.2) รับรู้ไม่พอใจและอยากเปล่ียนแปลง ขั้นตอนน้ีเป็นเสมือนการ แสวงหาสมาชิกในชุมชน ผู้ที่ไม่พอใจกับสถานการณ์ปัญหาการลดลงของแหล่งอาหารปลอดภัย และ ความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านอาหารเดียวกันที่เกิดขึ้นในชุมชน เพื่อนาไปสู่การสร้างความ เข้าใจและเกดิ ความต้องการท่ีจะแก้ปัญหาร่วมกัน เป็นที่น่าสังเกตว่า ภูมิหลังและประสบการณ์ท่ีผ่าน มาของกลุม่ แมบ่ ้านเก่ียวกับปัญหาหน้ีสิน ปัญหาด้านสุขภาพ สถานการณ์ที่คุกคามต่อแหล่งอาหารใน ชุมชน รวมทั้งการถูกละเลยจากการพัฒนาที่ผ่านมามีผลต่อการรับรู้และความไม่พอใจกับปัญหา เหล่านั้น จนทาให้แม่บ้านเกษตรกรเกิดความสนใจเรียนรู้ทางเลือกใหม่ ๆ และนาไปสู่การตัดสินใจท่ี จะเปล่ียนแปลงพฤติกรรมตนเองเพื่อแก้ปัญหาที่เผชิญอยู่ เช่น “เดิมมีกลุ่มผู้ชาย ผู้นาไปประชุมกับ ทางอาเภอมา แล้วมาคุยกบั พ่อบ้านต่อ แต่ส่วนใหญ่ผู้หญิงทา เขามาอธิบายเราไม่เข้าใจ เราทาได้บ้าง ไม่ได้บ้าง เหมือนคนทาไม่ได้ฟัง คนฟังไม่ได้ทา เราอึดอัด พอเขามาชวนเลยสนใจรวมกลุ่มผู้หญิง เพ่ือแลกเปลี่ยนความคิดกันบ้าง ดีกว่ารอผู้ชายเขามาบอก..ตอนนั้นเริ่มจากปากท้องของเราก่อน” (วาสนา เสนาวงศ์, สมั ภาษณ,์ 18 กันยายน 2559) วธิ ีการท่ีทาใหแ้ ม่บ้านในชุมชนสนใจรวมตัวกนั ดาเนินกจิ กรรม คือ การลงพื้นท่ีตามบ้านและชวนสนทนารายบุคคลเพื่อสอบถามผลกระทบและปัญหาต่าง ๆ ของ นักพัฒนา การพูดคุยกันในระดับกลุ่มเล็ก ๆ ที่เกิดจากการชักชวนผู้ท่ีใช้ประโยชน์จากปุาไผ่และมี ความรู้จักคุ้นเคยกันอยู่ มาพูดคุยถึงแนวทางที่จะจัดการกับปัญหาดังกล่าวร่วมกัน ท้ังน้ีการสนทนา ดังกล่าวมีการนาเสนอข้อมูลท่ีนักพัฒนาและครูในโรงเรียนทาการสารวจโดยขอความร่วมมือจากแม่ และเด็กในหมู่บ้านช่วยบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์จากปุาไผ่ จากนั้นจึงมีการรวบรวม วิเคราะหข์ อ้ มูลและนาขอ้ มูลเกย่ี วกับรายได้จากการเก็บหาหนอ่ ไมใ้ นชุมชนมานาเสนอท้ังในวงสนทนา
112 และในการประชุมหมู่บ้านทาให้ชาวบ้านรับรู้ว่า ในหนึ่งปีชาวบ้านมีรายได้จากการขายหน่อไม้อย่าง เดยี วสงู 20,000 – 30,000 บาท หลายคนเหน็ ความสาคัญของการมีแหล่งอาหารในชุมชนและรับรู้ว่า มีเพ่ือนบ้านหลายคนที่ประสบปัญหาคล้ายคลึงกันทั้งเรื่องหน้ีสินและแหล่งรายได้จากการเก็บหา พืชผักของปุากาลังจะหายไป จึงเกิดความสนใจที่จะรวมกลุ่มกันเพื่อพัฒนากิจกรรมท่ีสามารถ แก้ปัญหาดังกล่าว เชน่ ที่ วาสนา เสนาวงศ์ ประธานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการพัฒนาแม่บ้านยางแดงคน ท่ี 2 เลา่ วา่ “เมื่อกอ่ นมันอยู่ใครอยู่มันเนอะ ไม่รู้ว่าจะไปช่วยเหลือกันยังไง บางทีเวลามีเร่ืองทุกข์ร้อน เราคิดว่าเราลาบากมาก พอไดม้ ารว่ มกลุ่มมันได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์กัน เราพบว่ามันมีคนอ่ืน ทเี่ ขาทกุ ข์กวา่ เรานะ” (สมั ภาษณ,์ 18 กันยายน 2559) การได้รบั รวู้ า่ ตนไดร้ ับสนใจและมีความสาคัญการพัฒนาทาให้ แมบ่ ้านเกษตรกรกลุ่มหน่ึงรวมตัวกันแลกเปลี่ยนข้อมูลและทบทวนความคิดเห็นเก่ียวกับแนวทางการ พัฒนาท่ีผ่านมาและสถานการณด์ า้ นอาหารในชุมชน โดยมีนักพัฒนาเป็นผู้อานวยความสะดวกในการ นาประชุม เสนอข้อมูล ตั้งคาถามวิเคราะห์ร่วมกัน ในประเด็นดังนี้ คือ การวิเคราะห์เปรียบเทียบ สถานการณ์ปัจจุบันกับอดีต เช่น ความสมบูรณ์ของทรัพยากรต่าง ๆ การใช้ที่ดิน แบบแผนการผลิต โดยมีแนวคาถามสาคัญ ได้แก่ ในอดีตเป็นอย่างไร ชุมชนมีฐานทรัพยากรอะไรบ้าง ปัจจุบันเกิดการ เปลี่ยนแปลงไปอย่างไร และการเปลี่ยนแปลงน้ันผลดีผลเสียอย่างไร เช่น นุชนารถ แก้วอุย เล่าว่า “เขาชวนเราคุย เราเจออะไร จะทาอะไรใหด้ ขี นึ้ ทาแล้วผลยงั ไง ชนเราคุยจนเหน็ ทาง พูดจนเราเข้าใจ อันท่ีไม่แน่ใจ ก็พากันไปดูงาน อบรม คุยกันต่อ เราก็ว่า กลุ่มมันดี มันเหมือนพ่ีน้อง คนละหมู่มาเจอ กันจนเป็นเพ่ือนกัน มันเหมือนมีหลักประกันด้วย ตอนมาคุยก็รู้อะไรหลายอย่างนะ เลยสนใจ ” (สัมภาษณ,์ 17 กันยายน 2559) อาจกล่าวได้ว่า วิธีการสาคัญที่นามาใช้เพื่อกระตุ้นให้แม่บ้าน เกษตรกรและเกษตรกรเกิดความสนใจและนาไปสู่ความต้องการที่จะแก้ปัญหาดังกล่าว คือ การ สนทนาร่วมกันระหว่างเกษตรกรกับนักพัฒนาท่ีมาการเยี่ยมบ้านเพื่อสอบถามผลกระทบและปัญหา ตา่ ง ๆ ทาใหร้ บั รู้วา่ มคี นทส่ี นใจในปัญหาท่ตี นเผชิญอยู่ รวมท้ังการพูดคุยกันในระดับกลุ่มเล็ก ๆ ของ ผ้ทู ี่รู้จักกนั และประสบปัญหาเดยี วกันมาพดู คุยถึงแนวทางที่จะจัดการกับปัญหาดังกล่าวร่วมกัน โดยมี เงอ่ื นไขสาคัญ คอื การสนทนาเหล่านั้นทาใหส้ ถานการณ์ความไมม่ น่ั คงทางอาหารเป็นเรื่องใกล้ตัว เช่น ใช้ข้อมูลพ้ืนฐานของชุมชนที่เช่ือมโยงมาถึงครัวเรือนของเกษตรกรท่ีกาลังสนทนาอยู่ด้วย มีส่วน สาคัญทท่ี าใหเ้ กษตรกรพบว่า ปัญหาที่ตนกาลังเผชิญสอดคล้องกับปัญหาของคนอ่ืน ๆ และหากไม่ทา อะไรบางอย่างย่อมมีผลถึงตนเองและครอบครัวและอยู่ในภาวะดังกล่าวต่อไป ซ่ึงสมาชิกกลุ่มสะท้อน ว่าเป็นเง่อื นไขสาคญั ที่ทาใหต้ ัดสินใจท่ีจะหาทางออกจากปัญหาตา่ ง ๆ ที่เผชญิ เป็นอยู่
113 2) ทบทวนความคิด ทาความเข้าใจปัญหา เพื่อนาไปสู่การกาหนด เป้าหมายร่วมกัน ประกอบด้วย การทบทวนความคิด ทาความเข้าใจปัญหา และแสวงหาทางเลือก และแนวปฏิบัติ ดังนี้ 2.1) ทบทวนความคิด ทาความเข้าใจปัญหา ข้ันตอนนี้เป็นการ ทบทวนความคิดและวิถีชีวิตท่ีผ่านมาร่วมกันระหว่างเกษตรกร ซ่ึงพบว่าท่ีผ่านมาให้ความสาคัญกับ การทานาทาไร่เพ่ือหารายได้หาเงินมาใช้จ่ายเป็นสาคัญ จึงละเลยการดูแลและใช้ประโยชน์จากทุน ทรัพยากร แหล่งอาหารต่าง ๆ ในชุมชน และไม่ได้คานึงถึงความสามารถในการพึ่งตนเองด้านอาหาร และเข้าถึงอาหารท่ีปลอดภัยของครัวเรือน แต่เม่ือมีการสนทนาร่วมกัน การเรียนรู้จากวิทยากร และ การพบปะพดู คยุ กันอยา่ งต่อเน่ือง ทาให้เกิดความคิดท่ีจะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตนเองเพื่อแก้ปัญหา ที่เผชิญอยู่ หันมาไว้ใจในพลังของเกษตรกรรายย่อยในการกาหนดทิศทางการพัฒนาของตัวเอง และ พร้อมที่จะเรียนรู้เพ่ือปรับเปลี่ยนวิถีการผลิตจากเกษตรเคมีไปสู่เกษตรย่ังยืน สนใจการพึ่งพาตนเอง ดา้ นอาหารของครัวเรอื นและสมาชกิ กลุม่ วิธีการเรยี นรู้ทีท่ น่ี ามาสู่การตดั สนิ ใจรวมกลมุ่ เพ่ือแก้ปัญหาด้วยวิธี ซึ่งแตกต่างไปจากความเคยชิน ความคุ้นเคยท่ีผ่านมาของชุมชนคู้ยายหมี มีดังน้ี การสนทนากลุ่มท่ี เกิดจากการชักชวนผูส้ นใจกลุ่มเล็ก ๆ ส่วนใหญ่เป็นผู้ท่ีประสบกับปัญหาดังกล่าวโดยตรง มีความรู้จัก คุ้นเคยกันมาก่อน เพ่ือพูดคุยถึงแนวทางท่ีจะจัดการกับปัญหาดังกล่าวร่วมกัน การสนทนาดังกล่าวมี การนาเสนอข้อมูลที่ชัดเจน มีการยกตัวอย่างสถานการณ์ปัญหาโดยเชื่อมโยงกับเร่ืองราวใกล้ตัว ของเกษตรกรกับผลกระทบของปัญหาหรือสถานการณ์เหล่านั้น โดยมีผู้อานวยความสะดวกในการ นาประชุม เสนอข้อมูล ตั้งคาถามวิเคราะห์ร่วมกัน ในประเด็นดังน้ี คือ การวิเคราะห์เปรียบเทียบ สถานการณ์ปัจจุบันกับอดีต และกาหนดเปูาหมายร่วมกัน ดังเช่น คากล่าวของ สอิ้ง สุริยาที่ว่า “พอ พนี่ ันมาชวน เขาจะมีข้ันตอนของเขา วิเคราะห์ให้ดู ชี้ให้เห็น เอาปัญหามาคุยกับเรา วิเคราะห์ทุนเรา เอง ว่าแต่ก่อนเราปลูกพืชเศรษฐกิจอย่างเดียว (มันสาปะหลัง) ทาข้าวก็ทาอย่างเดียว ก็มาชวนเรา วเิ คราะห์ใหเ้ หน็ วา่ เงินท่ีไดม้ าเดีย๋ วก็ใช้ไป ไม่ถาวร มันเป็นวงเวียนบางปีก็ได้บางปีก็ไม่ได้ มันไม่ใช่ทุน ถาวร พอเข้าใจประเด็นนี้แกค่อยชวนคุยเรื่องความม่ันคงทางอาหาร ปลูกไว้กิน เหลือขาย ในบ้านเรา กินอะไรบ้าง ผักอะไรกิน อะไรท่ีเราปลูกกินเหลือไปขายทาตลาดได้ ไม่มีทุนทาก็ระดมทุนด้วยการทา ออมทรัพย์ไปด้วย ปลูกผักกิน เหลือขาย ขายได้มาแบ่งออม พออย่างน้ีเราเห็นชัด เห็นว่าเป็นไปได้ ก็ ลองชวนกนั เข้ามาทา” (สมั ภาษณ,์ 18 กันยายน 2559) การรับฟังบรรยายจากวิทยากร และมีการประชุมร่วมกันเพื่อ นาความรู้ท่ีได้รับมาเช่ือมโยงกับสถานการณ์ในชุมชน ทาให้เห็นเกิดความเข้าใจสถานการณ์ปัญหา เข้าใจว่าพฤติกรรมท่ีผ่านมาของตนมีผลต่อการคงอยู่ของปัญหาน้ัน รวมทั้งเห็นความเป็นไปได้ในการ เปลยี่ นแปลงท่จี ะเกดิ ขึ้น “เขาหาคนนอก(วิทยากร)มาคยุ กับเรา มาใหค้ วามรู้ อธิบายให้เราเห็น ระบบ
114 ตลาดจนเขา้ ใจวา่ ทาไมเราทานาเคมีย่งิ มีหน.ี้ ....พอเขา(วิทยากร)ไป พี่เสมเขาก็จะชวนเราคุยต่อกัน ถ้า ไม่ทาแบบท่ีผา่ นมา สนใจมารวมกลมุ่ ช่วยกนั ไหม เราเหน็ ไปได้ก็มาทา” (นุชนารถ แก้วอุย, สัมภาษณ์ , 18 กันยายน 2559) การเรียนรู้จากการดาเนินกิจกรรมกลุ่ม เช่น กรณีของกลุ่ม เกษตรอินทรีย์สนามชัยเขตที่เกิดจากประสบการณ์เดิมจากท่ีเคยเข้าร่วมกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการ พัฒนาฯ ทาให้มีโอกาสแลกเปล่ียนความคิดเห็นและแก้ปัญหาท่ีสอดคล้องกับบทบาทของตัวเองใน ฐานะคนดแู ลเร่อื งอาหารการกินของคนในครอบครัว ขณะเดียวกันการรับรู้ว่ามีคนอื่นพร้อมจะเรียนรู้ และเปล่ียนแปลงวิถีการผลิต การบริโภค และการจาหน่ายไปด้วยกัน จึงเกิดความรู้สึกสนใจที่จะ นาเสนอปัญหา ความต้องการท่ีจะเปล่ียนแปลงจากการทาเกษตรเชิงเด่ียวในระบบเกษตรเคมี ไปสู่ การเป็นผู้ผลติ อาหารปลอดภัยในระบบเกษตรยั่งยนื 2.2) แสวงหาทางเลือกและวางแนวปฏบิ ัติ ขั้นตอนน้ีให้ความสาคัญกับการมีข้อมูลที่ตรงประเด็น โดยในการ ประชุม นักพัฒนาซึ่งเป็นผู้ส่งเสริมให้เกิดการรวมกลุ่มในขณะน้ัน ใช้คาถามเป็นวิธีการที่จะทาให้เกิด การระดมความคิดและนาไปสู่การวิเคราะห์และตัดสินใจร่วมกัน เช่น จากสถานการณ์ท่ีแหล่งอาหาร ตามธรรมชาติและแหล่งรายได้สาคัญกาลังลดน้อยลง แนวคาถามสาคัญท่ีถูกถามถึงในที่ประชุมได้แก่ “ถา้ เราจะมชี ีวิตอยู่ได้ ควรเร่ิมต้นจากอะไร” ชาวบ้านซ่ึงส่วนใหญ่เป็นผู้หญิงสะท้อนถึงความต้องการ ท่ีชัดเจนที่สุด คือ อาหารต้องมาก่อน เปูาหมายสาคัญจึงถูกกาหนดขึ้นร่วมกัน คือ การมีอาหาร เพียงพอในระยะยาว โดยท่ีไม่ได้มาจากการกู้ยืมคนอ่ืน จากนั้นจึงนามาสู่คาถามท่ีสอง คือ “ถ้าจะมี อาหารกินในระยะยาว ในชุมชนมีทุนอะไรบ้าง จากทุนที่เรามีอยู่ ทาอะไรได้บ้างเพ่ือแก้ปัญหาน้ัน ทางเลือกของชุมชนมีอะไรบ้าง” ซึ่งในขณะนั้นมีการเสนอทางเลือกท่ีหลากหลายตามประสบการณ์ท่ี แต่ละคนมี ทั้งเลี้ยงไก่เป็ดไว้กินไข่ กินเน้ือและขาย บางครอบครัวจะลดพื้นท่ีปลูกมันสาปะหลัง เพิ่ม พื้นทป่ี ลกู ไมผ้ ล ปลูกผักไว้กินรอบ ๆ บ้าน รวมทั้งการทานาปลูกข้าวไวท้ าน เมื่อเกษตรกรตัดสินใจเข้าร่วมกลุ่มเพื่อแก้ปัญหาหนี้สิน การมี แหล่งอาหารเพยี งพอปลอดภัย และกาหนดบทบาทของตนเองในฐานะผู้ดูแลอาหารการกินของคนใน ครอบครัว โดยการเปลี่ยนแปลงจากการทาเกษตรเชิงเด่ียวในระบบเกษตรเคมี การหันมาเพาะปลูก ข้าว พืชผักเป็นอาหารในครัวเรือน โดยใช้กลุ่มออมทรัพย์เป็นแหล่งทุน จึงมีการเรียนรู้เพ่ือสารวจ ทางเลือกต่าง ๆ ท่ีจะช่วยให้บรรลุเปูาหมายและสามารถแสดงบทบาทตามท่ีกาหนดไว้ ดังท่ีพบว่า ในช่วงก่อตั้งกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการพัฒนาแม่บ้านยางแดง มีข้อสรุปร่วมกันจากการสนทนากลุ่มย่อย ของแม่บา้ นเกษตรกร ประมาณ 10 คน ที่จะรวมกลุ่มผู้หญิงเพื่อแก้ปัญหาและทางานพัฒนาดูแลเร่ือง อาหารของคนในครอบครัว ให้ความสาคัญกับการรักษาแหล่งอาหารของครัวเรือนและชุมชน โดยใช้
115 กิจกรรมออมทรัพย์กลุ่มในการระดมทุนจากสมาชิก และกาหนดให้มีการประชุมทุกเดือนเพื่อเปิด โอกาสให้ได้พบปะ พุดคุยแลกเปลี่ยนทางความคิดระหว่างสมาชิกด้วยกัน ควบคู่ไปกับการเขียน โครงการเพื่อระดมทุนเพิ่มเติมจากภายนอก แต่เน่ืองจากความเชื่อท่ีผ่านมาท่ีมองว่า การพัฒนาเป็น บทบาทของผู้ชาย การจะให้ผู้หญิงมาเป็นผู้บริหารงานกลุ่มเพ่ือระดมทุนสาหรับออมและทางาน พัฒนา ทาให้ผู้หญิงที่สนใจต้ังกลุ่มไปเรียนรู้ศึกษาเร่ืองการบริหารจัดการกลุ่มจากกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือ การพัฒนาบ้านยางแดงและไปศึกษาดูงาน จากกลุ่มองค์กรอื่น ๆ เพ่ิมเติม จากน้ันจึงกลับมาสนทนา ร่วมกันกับแม่บ้านที่สนใจตั้งกลุ่มอีกครั้ง โดยในกระบวนการที่ทาให้ตัดสินใจใช้กลุ่มออมทรัพย์เป็น วิธกี ารในการระดมทุนเพอ่ื แกป้ ญั หาหนสี้ นิ และแหลง่ อาหารร่วมกัน คือ การสนทนาเกี่ยวกับทางเลือก ในการแก้ปัญหาท่ีมีข้อมูลในพื้นที่และข้อมูลเชิงวิชาการท่ีเพียงพอและง่ายต่อการทาความเข้าใจ ใน การคดิ เชือ่ มโยงถึงความเปน็ ไปไดท้ ีจ่ ะทาสาเร็จ เหน็ ทางออกเปน็ รปู ธรรมชัดเจน กรณีของกลุ่มเกษตรอินทรีย์สนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา ท่ี กาหนดเปูาหมายในการต้ังกลุ่มเพ่ือแก้ปัญหาหนี้สินจากการปลูกข้าวเพื่อขาย และการเปล่ียนแปลง จากการทาเกษตรเชิงเด่ียวในระบบเกษตรเคมี ไปสู่การเป็นผู้ผลิตอาหารปลอดภัยในระบบเกษตร ยัง่ ยนื ซง่ึ เป็นการเปลยี่ นแปลงวิถีการผลติ ทก่ี ระทบตอ่ แหลง่ ท่มี ารายได้ และวิถีการบริโภค กระทบต่อ ความเชื่อและแนวปฏิบัติท่ีผ่านมาของเกษตรกร ด้วยเหตุน้ี กลุ่มจึงมีส่วนสาคัญในการทาให้มีโอกาส เขา้ ถึงข้อมูลท่ีเพียงพอและมีโอกาสแลกเปลี่ยนสนทนาร่วมกันท่ีทาให้เห็นความเป็นไปได้ในการนามา ปฏบิ ตั ิ และเปิดโอกาสให้เกษตรกรได้ศึกษาทางเลือกก่อนจะตัดสินใจกาหนดเปูาหมายจึงเป็นเงื่อนไข สาคัญ โดยมีนักพัฒนาเป็นพี่เล้ียงให้คาปรึกษา ประสานวิทยากรผู้รู้มาให้ความรู้ ให้คาแนะนาในการ แกป้ ัญหาตา่ ง ๆ และประสานหน่วยงานเพื่อไปศกึ ษาดงู าน จากน้ันจึงนามาถ่ายทอดใหส้ มาชิกต่อไป นอกจากนี้กลุ่มเกษตรอินทรีย์อาเภอสนามชัยเขต มีการสร้าง ข้อตกลงเพ่ือทางานร่วมกันของสมาชิก มีการแบ่งโครงสร้างการเรียนรู้ภายในกลุ่มเป็นสมาชิกผู้ปลูก ข้าวและสมาชิกผู้ปลูกผัก โดยกลุ่มมีบทบาทสาคัญในการส่งเสริมให้สมาชิกปรับเปล่ียนระบบเกษตร เขา้ สรู่ ะบบเกษตรกรรมยั่งยืน ส่งเสรมิ การผลิตขา้ วปลอดสารเพอ่ื กินในครวั เรือนและเพ่ือจาหน่าย การ ต่อรองราคาข้าว การจัดหาปัจจัยการผลิต รวมทั้งการปลูกพืชผักไว้กินและขายให้กับกลุ่ม มีการทา ประวัติฟาร์ม ประชุมจัดทาแผนการผลิตร่วมกันระหว่างสมาชิก โดยนาเอามาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ของสานกั งานมาตรฐานเกษตรอินทรียม์ าเป็นแนวทางในการเรยี นร้แู ละพัฒนาสมาชิก การทางานของกลุ่มเกษตรอินทรีย์อาเภอสนามชัยเขต ให้ ความสาคัญกับการมีส่วนร่วมของเกษตรกรในพื้นท่ีในการบริหารจัดการกลุ่มมีการแบ่งบทบาทหน้าท่ี ต่าง ๆ ปัจจุบันมีการแบ่งโครงสร้างกลุ่มเป็นฝุายต่าง ๆ 5 ฝุาย (คณะกรรมการรับรองฟาร์ม กลุ่ม เกษตรอินทรีย์อาเภอสนามชยั เขต, 2559) ไดแ้ ก่
116 (1) ทีป่ รึกษา ให้คาปรกึ ษาตามคารอ้ งขอของกรรมการบริหาร (2) คณะกรรมการบริหาร ทาหน้าท่ีบริหารงานกลุ่ม จัดทา แผนงานของกล่มุ และแตง่ ตง้ั กรรมการชุดต่าง ๆ (3) กรรมการควบคุมภายใน ประกอบด้วยกรรมการตรวจ ฟาร์ม 22 คน และกรรมการรับรองฟาร์ม 5 คน โดยกรรมการตรวจฟาร์ม มีหน้าท่ี ตรวจแปลง/ ควบคุมการผลิตให้เป็นไปตามมาตรฐาน ทาประวัติฟาร์ม จัดทาแผนการผลิตร่วมกับสมาชิก จัดทา แผนผังแปลง/ต่ออายุและรับสมัครสมาชิก และจัดทารายงานการตรวจฟาร์ม และกรรมการรับรอง ฟาร์ม มีหน้าท่ี ตรวจรายงานและทาการบ้านรับรองฟาร์มของสมาชิก จัดทารายงานผลการรับรอง และแจง้ ผลแก่สมาชิก และปรบั ปรงุ แก้ไขมาตรฐานกลุ่ม (4) กรรมการฝุายจัดการผลผลิตประกอบด้วยกรรมการตรวจ คุณภาพผลผลิตและฝุายการตลาด กรรมการตรวจคุณภาพผลผลิต โดยกรรมการตรวจคุณภาพข้าว ทาหน้าที่ตรวจประมาณการผลผลิต ตรวจคุณภาพข้าวในเร่ืองการปน ความช้ืน เปอร์เซ็นต์ข้าว และ จัดทารายงาน ขณะท่ีกรรมการตรวจคุณภาพผักและไม้ผล มีหน้าที่ประสานสมาชิกในการจัดเก็บ ผลผลติ ตรวจคัด ตดั แตง่ กอ่ นส่งตลาด และจัดทารายงาน สาหรับกรรมการฝุายตลาด มีหน้าท่ีในการ จดั หาตลาดและนาผลผลิตของสมาชิกออกขาย (5) สมาชิกผู้ผลิต ประกอบด้วย สมาชิกผู้ผลิตเกษตรอินทรีย์ เป็นสมาชิกผู้ผลิตท่ีมีผลผลิตขายให้กับกลุ่มที่ต้องการขอรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์กับองค์กร รับรองมาตรฐานภายนอก และ สมาชิกท่ัวไป ได้แก่ สมาชิกผู้ผลิตเกษตรอินทรีย์โดยควบคุมการผลิต ดว้ ยระบบควบคมุ ภายในของกลุม่ สาหรับวิธีการเรียนรู้ที่นามาใช้ในการแสวงหาทางเลือกและวาง แนวปฏิบัตใิ ห้ความสาคัญกบั การเข้าถึงข้อมูลทีเ่ พียงพอและส่งเสริมให้สมาชกิ กลุ่มมีโอกาสแลกเปลี่ยน ร่วมกันทถ่ี ึงความเป็นไปไดท้ ่จี ะนาไปปฏิบตั ิ โดยมีนกั พัฒนาเป็นพ่ีเลี้ยงให้คาปรึกษา ประสานวิทยากร ผู้รู้มาให้ความรู้ ให้คาแนะนาในการแก้ปัญหาต่าง ๆ และประสานหน่วยงานเพื่อไปศึกษาดูงาน จากนน้ั จงึ นามาถา่ ยทอดใหส้ มาชกิ ต่อไป การประชุมที่มีการแลกเปล่ียนข้อมูลท่ีตรงประเด็น โดยในการ ประชุม นกั พฒั นาซ่ึงเปน็ ทปี่ รึกษาจะใช้คาถามเป็นวิธีการที่จะทาให้เกิดการระดมความคิดและนาไปสู่ การวิเคราะห์และตัดสินใจร่วมกัน เปูาหมายเพ่ือแก้ปัญหา ให้ความสาคัญกับการรักษาแหล่งอาหาร ของครัวเรือนและชุมชน โดยใช้กิจกรรมออมทรัพย์กลุ่มในการระดมทุนจากสมาชิก และกาหนดให้มี การประชมุ ทุกเดอื นเพื่อเปิดโอกาสใหไ้ ด้พบปะ พุดคุยแลกเปล่ียนทางความคิดระหว่างสมาชิกด้วยกัน ควบคู่ไปกบั การเขียนโครงการเพ่ือระดมทุนเพิม่ เตมิ จากภายนอก
117 การศึกษาดูงาน จากกลุม่ องคก์ รอืน่ ๆ โดยเนื้อหาในการดูงานมา จากสิ่งท่ีกลุ่มสนใจต้องการเรียนรู้ จากน้ันจึงกลับมาสนทนาร่วมกันกับแม่บ้านที่สนใจตั้งกลุ่มอีกครั้ง โดยในกระบวนการท่ีทาให้ตัดสินใจใช้กลุ่มออมทรัพย์เป็นวิธีการในการระดมทุนเพื่อแก้ปัญหาหนี้สิน และแหล่งอาหารร่วมกัน คือ การสนทนาเกี่ยวกับทางเลือกในการแก้ปัญหาที่มีข้อมูลในพ้ืนท่ีและ ข้อมูลเชิงวิชาการท่ีเพียงพอและง่ายต่อการทาความเข้าใจ ในการคิดเช่ือมโยงถึงความเป็นไปได้ท่ีจะ ทาสาเรจ็ เห็นทางออกเปน็ รูปธรรมชดั เจน การได้รับคาแนะนาปรึกษา เกษตรกรหลายคนให้ความเห็นว่า การวางแผนรายบุคคลเปน็ อีกเงอ่ื นไขสาคัญท่ที าใหม้ คี วามมั่นใจในการทดลองปฏิบัติและเปล่ียนแปลง พฤติกรรมตามเปูาหมายใหมท่ กี่ าหนดคอื เชน่ ท่ีได้รับคาแนะนาจากผู้นาหรือสมาชิกท่ีเข้าร่วมกลุ่มมา ก่อน ช่วยในการวิเคราะห์ต้นทุนปัจจัยการผลิตเป็นรายครัวเรือน และมีการวางแผนระบบการผลิต การบริโภค และการขาย ขณะเดียวกันกลุ่มจะค่อย ๆ สรุปบทเรียนและวางเงื่อนไขให้สมาชิกทาตาม เช่น ต้องปลกู พืชผกั สวนครัวอยา่ งนอ้ ย 10 ชนดิ ข้ึนไป แบง่ เปน็ พืชยืนตน้ กินระยะยาว พชื สวนครัวกิน ระยะส้ัน และทุกเดือนท่ีมีการประชุมกลุ่มโดยเฉพาะผู้ปลูกผักจะมีการสอบถามและวางแผนการ เพาะปลูกร่วมกัน โดยฝุายการตลาดจะแจ้งให้ทราบถึงความต้องการของผู้ซื้อ สมาชิกจะแจ้งในที่ ประชมุ ใหท้ ราบว่าจะปลกู อะไร คาดว่าผลผลิตจะไดเ้ ท่าไหรใ่ นชว่ งเวลาใด 3) เรียนรแู้ ละปฏิบตั ิรว่ มกนั ในข้ันตอนนี้แบ่งเป็นการเรียนรู้วิธีการดาเนินงานและการกาหนดกติกา การทางานร่วมกัน การวางแผนปฏิบัติการและเรียนรู้ร่วมกัน รวมท้ังการแลกเปลี่ยน ติดตาม และ ปรับปรุงการดาเนินกิจกรรม ซ่ึงเป็นเสมือนการทบทวนความคิดและทดลองแนวปฏิบัติใหม่ท่ีกาหนด ขึน้ โดยเฉพาะแม่บา้ นเกษตรกรซง่ึ เปลย่ี นแปลงจากท่ีเคยเป็นผู้รับการพัฒนา คอยดาเนินการตามท่ีได้ รบั รู้จากสามี มาส่กู ารเป็นผ้นู าการเปล่ียนแปลงดว้ ยตนเอง มีส่วนรว่ มในการตัดสินใจ กาหนดแนวทาง การพัฒนาของตนเองและสมาชิกกลุ่ม และมีบทบาทสาคัญในฐานะผู้ดูแลแหล่งอาหารท่ีปลอดภัยและ ย่ังยืนของคนในครอบครัวและชุมชน และผู้ผลิตอาหารปลอดภัยของชุมชนและผู้บริโภคภายนอก ชุมชน ดงั ท่ีพบวา่ ในปี พ.ศ.2528 มกี ารต้ังกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการพัฒนาแม่บ้านยางแดง มีสมาชิกเป็น ผู้หญิง 13 คน มีเงินสะสมเร่ิมต้นจากสมาชิกเป็นจานวน 93 บาท (ปัจจุบันมีสมาชิกประมาณ 300 ราย) มีเปูาหมายสาคัญคือ การใช้กิจกรรมของกลุ่มออมทรัพย์ ฯ เป็นโอกาสในการพบปะพูดคุย แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ความคิดเห็นระหว่างสมาชิก เป็นแหล่งระดมทุนเพ่ือแก้ปัญหาของชุมชน ร่วมกัน ควบคไู่ ปกับการออม และการกู้ยมื ไปลงทุนในการประกอบอาชีพ ต่อมาจึงขยายรับสมาชิกทุก เพศ ทุกวัย โดยสมาชิกแรกเร่ิมก่อตั้งได้นาบทเรียนจากการศึกษาดูงานมาเป็นแนวทางในการกาหนด ระเบียบข้อตกลงต่าง ๆ โดยมีเงื่อนไขสาคัญ คือ การกาหนดให้สมาชิกทุกคนมาประชุมร่วมกันทุก
118 เดือน โดยวาระในการประชุมจะเป็นการแลกเปลี่ยนพูดคุยถึงปัญหาและความต้องการในการพัฒนา ร่วมกัน ในชว่ งแรกสมาชิกส่วนใหญเ่ ป็นเพ่อื นและรจู้ กั กนั มาก่อนรวมทง้ั เปน็ ผทู้ ีเ่ ข้าถึงและใช้ประโยชน์ จากแหล่งอาหารสาธารณะ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากปัญหาเก่ียวกับค่านิยมของคนในชุมชนท่ีมีต่อ บทบาทชายหญงิ กับการพฒั นาทาให้กลุม่ แม่บ้านเผชิญกับแรงกดดันในการปฏิบัติเพื่อบรรลุตามแผนที่ กาหนดไว้ เช่นท่ี วาสนา เสนาวงศ์ ประธานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการพัฒนาแม่บ้านยางแดง เล่าว่า “พอตงั้ กลุ่มออมทรัพยข์ องแม่บ้านเกษตรกร มันเหมอื นเรา (ผู้นากับสมาชิกกลุ่ม) ต้องพิสูจน์บางอย่าง หลายคนไม่มั่นใจ เขามองว่างานพัฒนา ผู้นา เป็นงานของผู้ชาย เวลาหลวงเขามาทางาน เขามาทาง น้ันทางผู้ชาย แล้วเราไม่ใช่คนมีเงินมารวมกันจะทาไรได้ ต้องศึกษานะ ไปอบรม ไปดูงาน ประชุม ตลอด เม่ือก่อนเปน็ ประธานกลมุ่ แมบ่ ้านออมทรัพย์ สมัยนัน้ หายไป เอาลูกชายเล็ก ๆ 3 – 4 ขวบ เอา ไปประชุมไปดงู าน 2 วนั 3 วนั ตอนน้ีอายุ 25-26 แล้ว” (สัมภาษณ์, 18 กนั ยายน 2559) กรณีของกลุ่มเกษตรอินทรีย์อาเภอสนามชัยเขต มีการดาเนินกิจกรรม ตามที่กาหนดไว้ ดังนี้ การสนับสนุนการผลิตในระบบเกษตรอินทรีย์ การพัฒนาและส่งเสริมการกิน พืชผักพ้ืนบ้าน อาหารท้องถ่ิน การส่งเสริมให้สมาชิกเข้าถึงตลาดนัดผลผลิตเกษตรอินทรีย์ใน โรงพยาบาล ตลาดนัดสเี ขียว และตลาดนัดในสถาบันการศกึ ษา นอกจากนี้มีการนาระบบเกษตรกรรม ที่เก้ือกูลโดยชุมชน (Community Supported Agriculture หรือ CSA) มาใช้ในการจาหน่ายผัก อนิ ทรียซ์ ่งึ เปน็ ผลผลติ ของสมาชกิ ในกลุ่ม โดยระบบดังกล่าวเป็นระบบที่มีการเชื่อมระหว่างผู้ผลิตและ ผู้บริโภคที่มีแนวคิดเดียวกัน เป็นระบบท่ีเกษตรกรจาหน่ายและจัดส่งผลผลิตให้กับผู้บริโภคโดยตรง เช่น เกษตรกรท่ปี ลูกพชื ผกั อินทรีย์และผู้ท่ีอยากบริโภคผักอินทรีย์ที่มีคุณภาพ โดยกาหนดให้มีการทา ข้อตกลงร่วมกันว่าผู้บริโภคจะจ่ายเงินล่วงหน้าให้กับเกษตรกรผู้ผลิต และเกษตรกรจะวางแผนการ ผลิตและจัดส่งผลผลิตให้กับผู้บริโภคเป็นรายสัปดาห์หรือเดือนละสองครั้ง ซ่ึงข้อดีของระบบดังกล่าว คือ ผู้บริโภคจะทราบถึงแหล่งที่มาของอาหารที่ตนบริโภค และเป็นการสนับสนุนเกษตรกรที่ผลิต พชื ผักอินทรีย์ใหส้ ามารถวางแผนการผลิตและมตี ลาดรองรองรับผลผลติ ทต่ี นปลกู วิธีการเรียนรู้ท่ีสาคัญในระยะนี้ได้แก่ การใช้กิจกรรมกลุ่มได้แก่ การ ประชุมประจาเดือน ซ่ึงกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการพัฒนาแม่บ้านยางแดงและกลุ่มเกษตรอินทรีย์อาเภอ สนามชัยเขต มีการกาหนดกติกาการทางานร่วมกัน การประชุมกลุ่มเป็นโอกาสสาคัญท่ีทาให้มีการ พบปะพูดคุยแลกเปล่ยี นขอ้ มูลขา่ วสาร ความคดิ เห็นระหว่างสมาชิก เป็นแหล่งระดมทุนเพื่อแก้ปัญหา ของชุมชนร่วมกัน ควบคู่ไปกบั กจิ กรรมการออม และการกยู้ มื ไปลงทุนในการประกอบอาชีพ มีเง่ือนไข สาคัญ คือ การกาหนดใหส้ มาชกิ ทกุ คนมาประชุมร่วมกันทุกเดือน โดยวาระในการประชุมจะเป็นการ แลกเปลี่ยนพูดคุยถึงปัญหาและความต้องการในการพัฒนาร่วมกัน ในช่วงแรกสมาชิกส่วนใหญ่เป็น เพอื่ นและรจู้ ักกันมาก่อนรวมท้งั เป็นผู้ท่เี ข้าถงึ และใช้ประโยชน์จากแหล่งอาหารสาธารณะ ท้ังนี้ความรู้
119 จากการไปศกึ ษาดูงานและรบั การอบรมเพ่ือให้สามารถนาความรู้กลับมาใช้ในชุมชน ท่ีดาเนินควบคู่ไป กับการประชุมกลุ่มเดือนละคร้ัง ถูกพิจารณาว่าเป็นเง่ือนไขสาคัญที่ทาให้สมาชิกได้เรียนรู้และนาไปสู่ การสรา้ งความม่ันใจในแนวคดิ และแนวปฏิบตั ิในการเพาะปลูกท่ีต่างไปจากเดิม การเรียนรู้จากการแก้ปัญหา เป็นการเรียนรู้จากการแก้ปัญหาท่ี สมาชิกในกลุ่มพบเพื่อกาหนดเนื้อหาท่ีจะต้องเรียนรู้ โดยจะมีการประสานวิทยากรแหล่งความรู้มา อบรมให้ เช่น เชิญปศุสัตว์ เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมมาอบรมให้ความรู้เพิ่มเติม ควบคู่ไปกับการนาความรู้ที่ ได้มาทดลองทา ระหว่างการทดลองจะมีการแสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากเกษตรกรคนอื่น ๆ จาก เอกสารเผยแพร่ต่าง ๆ “ทาไปเรียนรู้ไปนะ....เร่ิมต้นวิเคราะห์ดิน โรค แมลง แมลงดีแมลงร้าย สมัยก่อนตื่นตี 2 ไปลงแปลงศึกษาระบบนิเวศ เราไปเรียนรู้กัน ต้ังโจทย์กันว่าจะเรียนอะไร มาจาก ปัญหาที่เราเจอ มีปัญหากาจัดวัชพืชน่ีแก้ไม่ตก สงสัยต้องกลับไปปักดาม้ัง แต่ ณ ปัจจุบันคนรุ่นใหม่ เขามาแลกเปล่ยี นวา่ จลุ ินทรยี ์บางชนดิ หมกั ดินก่อนปลูก จะช่วยเมล็ดหญ้ามนั ฝอ่ ได้ น่ีก็กาลังทดลอง” (สะอ้งิ สรุ ิยา, สัมภาษณ์, 18 กนั ยายน 2559) การไปศึกษาดูงานการทาเกษตรทางเลือกจากแหล่งเรียนรู้ในชุมชน ที่มีระบบนิเวศน์ใกล้เคียงกัน เน้ือหาสาคัญท่ีมีการเรียนรู้ในเวลาน้ี คือ การเพ่ิมความสามารถในการ พ่ึงตนเองด้านอาหารในครัวเรือนและชุมชน ได้แก่ การเล้ียงสัตว์ การเพาะปลูกพืชผัก การทานาใน ระบบเกษตรทางเลือก และการเรียนร้เู รื่องสทิ ธิชุมชนในการจดั การทรพั ยากร การฝึกอบรมให้กับสมาชิกกลุ่ม สาหรับกรรมการได้รับการพัฒนา โดยการเขา้ รบั การอบรมใหค้ วามรู้ท่ีเกย่ี วข้องกับการบรหิ ารจดั การกลุม่ เช่น กลุ่มเกษตรอินทรีย์สนาม ชัยเขตท่ีให้ความสาคัญกับการจัดตั้งระบบควบคุมการผลิตภายในกลุ่มและการขอรับรองมาตรฐาน เกษตรอินทรีย์สากล ทาให้เกษตรกรท่ีเป็นทั้งกรรมการและสมาชิก จาเป็นต้องได้รับการพัฒนาท้ัง ความรู้และทักษะท่ีจาเป็น โดยกลุ่มได้มีการประชุมและกาหนดเง่ือนไขให้ผู้สมัครและสมาชิก ต้อง ไดร้ บั การฝึกอบรม ได้แก่ การฝึกอบรมมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ท่ีจะจัดขึ้นอย่างน้อยปีละ 1 คร้ัง หรือ ตามความจาเปน็ เชน่ การฝกึ อบรมเทคนคิ การทาเกษตรอินทรยี ์ การขยายพันธพุ์ ชื เบือ้ งต้น เป็นต้น การเข้าร่วมสัมมนาทางวิชาการต่าง ๆ ซ่ึงจะมีการเลือกให้ไปเข้า ร่วมกิจกรรมสัมมนาทางวิชาการตามบทบาทหน้าที่ที่กาหนด หรือตามความถนัดและความสนใจของ สมาชิก โดยมีเง่ือนไขว่าเม่ือกลับมาทุกคนต้องมาเล่าให้ที่ประชุมฟัง ผู้วิจัยพบว่า ในการเข้าร่วม สัมมนาตา่ ง ๆ กลมุ่ เกษตรอนิ ทรีย์อาเภอสนามชัยเขตจะถูกเชญิ ให้ไปใน 3 ลักษณะได้แก่ ลักษณะแรก เป็นผู้เข้าร่วมกิจกรรมรับฟังคาบรรยายต่าง ๆ ลักษณะท่ีสอง คือ เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้แลกเปลี่ยน ประสบการณ์กับชุมชนอ่ืน ๆ และลักษณะสุดท้าย เป็นผู้จาหน่ายผลิตภัณฑ์อาหารปลอดภัยซ่ึงจะทา หน้าที่อธิบายกระบวนการผลิต การตรวจมาตรฐาน การตลาดต่าง ๆ ให้กับผู้สนใจมาเลือกซื้อ ผลิตภัณฑต์ ่าง ๆ
120 การจัดทาแปลงทดลอง การลงมือทดลองปฏิบัติของเกษตรกร เกษตรกรมีความรู้ของตนเอง การออกแบบทดลองในแปลงเพื่อสร้างความรู้ร่วมกัน โดยมีขั้นตอน สาคัญ ได้แก่ กาหนดหัวข้อในการเรียนรู้ที่มาจากการระดมปัญหา นามากาหนดแนวทางแก้ปัญหา ดาเนินการแสวงหาความรู้ด้วยการทดลอง การสารวจระบบนิเวศน์ในแปลง การบันทึกข้อมูล การ อบรมแสวงหาความรู้/อบรมเพมิ่ เตมิ ทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับหัวข้อวจิ ยั 4) ประเมนิ ผลและสรุปบทเรียนเพ่อื ใช้เป็นแนวทางในการทางานและการ ดาเนนิ ชีวิต ข้ันตอนนี้มีแนวทางสาคัญ คือ การประเมินผลการทางานท่ีผ่านมาว่ามี ปัญหา อุปสรรคอะไรบ้าง เพื่อวางแผนปฏิบัติร่วมกัน และสรุปบทเรียนเพื่อเผยแพร่แนวคิดและ ประสบการณข์ องกลมุ่ ใหก้ ับผู้สนใจ ดงั เช่น ผู้นาและสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการพัฒนาแม่บ้านยาง แดงได้ สรุปบทเรียนร่วมกันพบว่า การรวมกลุ่มทาให้ผู้นาและสมาชิกมีความเช่ือม่ันในตนเองในการ ทางานระดับกลุ่ม ชมุ ชนมากขน้ึ เหน็ พลงั ของการรวมกลุ่มระหว่างเกษตรกรรายย่อย สามารถเพ่ิมทุน ในการพึ่งตนเอง ไม่รอคอยจากภายนอกเหมือนท่ีผ่านมา และกลุ่มช่วยให้ได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารท่ีเป็น ประโยชน์ เช่น สามารถไปนาพืชผักพ้ืนเมืองมาปลูกตามบ้าน ตามหัวไร่ปลายนา ต่อมาบางครัวเรือน เสนอกิจกรรมที่จะดาเนินร่วมกันต่อไป คือ การทาเกษตรผสมผสาน และขยายไปสู่ประเด็น เกษตรกรรมยั่งยืน ท่ีสาคัญความสาเร็จจากกิจกรรมต่าง ๆ มีส่วนสาคัญทาให้สมาชิกกลุ่มในขณะนั้น มองเห็นความสาคัญของตนเองในฐานะผู้ดูแลแหล่งอาหารของคนในชุมชน เน่ืองจากการเข้ากลุ่ม ทาใหไ้ ดร้ ับข้อมูลข่าวสารหลายประการ ทาใหร้ ู้สิทธิท่ีชาวบ้านพึงมี เมื่อในหมู่บ้านมีนายทุนมาซื้อที่ริม คลองทง้ั สองด้านและมกี ารทดน้าทาทางเช่ือมระหว่างสองฝ่ังของคลองระบม สมาชิกกลุ่มแม่บ้านเห็น วา่ นา่ จะผดิ กฎหมายจึงไปปรกึ ษานกั พฒั นาและแจ้งให้หน่วยงานท่เี ก่ียวขอ้ งตรวจสอบ ปัจจุบันกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการพัฒนาแม่บ้านยางแดงมีสมาชิกกลุ่มมี จานวน 300-350 ราย การบรหิ ารจัดการการเงินแบ่งเป็น 3 ส่วนหลัก คือ ส่วนแรก ให้สมาชิกได้กู้ยืม เพือ่ นาไปลงทุนประกอบอาชพี สว่ นท่ี 2 นาไปฝากไว้กับธนาคารในรูปแบบของการฝากประจา ส่วนท่ี สาม เป็นงบประมาณสาหรับแก้ไขปัญหาเรื่องที่ดินทากินของสมาชิกและสาหรับแก้ไขปัญหาเร่ือง เร่งด่วนท่ีมีความจาเป็นต้องใช้เงินเป็นจานวนมาก เพ่ือดารงไว้ซ่ึงแหล่งอาหาร สิ่งที่ทาให้กลุ่มภูมิใจ คือ สามารถนาเงนิ ทุนหมนุ เวียนไปใชแ้ ก้ไขปญั หาทด่ี นิ ทากินให้กับสมาชิกท่ีกาลังจะประกาศขาย ซ่ึงมี ทั้งหมด 2 แปลง รวม 8 ไร่ มูลค่า 240,000 บาท เพื่อปูองกันไม่ให้ที่ดินของชุมชนกลายไปเป็น กรรมสทิ ธข์ิ องคนภายนอกชมุ ชน (นันทวัน หาญด,ี สัมภาษณ,์ 18 กันยายน 2559) กรณีของกลุ่มเกษตรอินทรยี อ์ าเภอสนามชัยเขต กาหนดให้มีการประชุม ประจาเดือนเป็นวิธีการสาคัญท่ีนามาใช้ในการแลกเปล่ียนข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ และปัญหาของ
121 สมาชิก โดยสมาชิกกลุ่มเกษตรอินทรีย์ฯ แบ่งเป็น 2 ฐานกิจกรรม ได้แก่ ฐานข้าวอินทรีย์ปัจจุบันมี สมาชิก 14 ราย ทั้งปลูกไว้เพ่ือกินและขาย มีการประชุมทุกเดือน ในช่วงที่มีการทานา คือ เดือน กรกฎาคม ถึงเดือนธันวาคม และ ฐานผัก ประชุมเป็นประจาทุกเดือนตลอดท้ังปี สมาชิกส่วนใหญ่จะ เป็นผู้ปลูกข้าวและผัก ทุกเดือนจะพบกันอย่างน้อย 2 ครั้ง หากรวมประชุมกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการ พฒั นา สมาชิกบางคนเขา้ ประชุมเดือนละ 3 ถึง 4 ครั้ง กลุ่มเกษตรอินทรีย์สนามชัยเขต มีการสรุปบทเรียนร่วมกัน พบว่า ใน ระยะแรกเกษตรกรในตาบลไม่คอ่ ยใหค้ วามสนใจมาสมคั รเปน็ สมาชกิ เพราะยงั ไม่ม่ันใจในบทบาทของ กลุ่มที่บริหารจัดการโดยเกษตรกร ว่าจะส่งเสริมให้สมาชิกสามารถทาเกษตรอินทรีย์ในชุมชนและ สามารถต่อรองกับหน่วยงานภายนอกให้รับซ้ือผลผลิตในราคาประกันได้หรือไม่ ทาให้มีการสรุป บทเรียนและนามาสู่ขอเสนอจากสมาชิกในที่ประชุมว่า กลุ่มควรส่งเสริมการผลิตแบบครบวงจร กล่าวคือ ความรใู้ นการผลติ ส่งเสริมการเรียนรู้ต่อเนื่อง และมีการกาหนดราคาประกันร่วมกันระหว่าง กลุ่มกับสมาชิก เพื่อให้เป็นผลผลิตเกษตรอินทรีย์ท่ีมีมาตรฐานสากลราคาไม่แพง โดยยังคงให้ ความสาคญั กับการสรา้ งความมนั่ คงด้านอาหารและผลิตอาหารที่ปลอดภัย ดังนั้นจึงมีการพัฒนาเกษตรกรให้มีความสามารถในการจัดการผลผลิต ท่ีมีการวางแผนการผลิตของสมาชกิ แตล่ ะครวั เรือน ควบคูไ่ ปกบั การวางแผนการตลาดของกลุ่มเกษตร อนิ ทรีย์ ผา่ นทีป่ ระชุมทกุ เดอื น โดยมกี ารนาข้อมูลจากฝุายการตลาด ได้แก่ ข้อมูลในการจัดการตลาด คุณภาพ ความหลากหลาย ความต่อเน่ือง และความต้องการของผู้บริโภค มาประกอบการวาง แผนการผลติ ของสมาชกิ ร่วมกันโดยเฉพาะผลผลติ พืช ผักอายุสน้ั ขณะเดียวกันดาเนินกิจกรรมการตลาดที่ให้ความสาคัญกับการส่งเสริม ให้เกษตรกรคานึงถึงการผลิตเพื่อกิน เหลือแล้วจึงส่งขายในตลาดท้องถ่ินและตลาดภายนอก สาหรับ ผลผลิตที่เกษตรกรส่งมาท่ีกลุ่มฯ มีการจัดการ ดังนี้ จาหน่ายโดยตรงให้ผู้บริโภคในระบบสมาชิก จาหน่ายให้ผู้ประกอบการ ส่งผลิตผลให้โรงเรียนทางเลือกสาหรับการปรุงอาหาร ส่งให้กับเลมอน ฟาร์มและศูนย์จาหน่ายผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ สาหรับสมาชิกที่รับผิดชอบด้านการตลาด มีการ เปลี่ยนแปลงบทบาทของตนเองท้ังผู้ผลิตและประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจร่วมกันระหว่างผู้บริโภค และผู้ผลิต โดยมตี ลาดเป็นพนื้ ทส่ี ่อื สารแลกเปลยี่ นเพื่อเรยี นร้รู ว่ มกันระหว่างผผู้ ลิตและผู้บริโภค มีการ ถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้บริโภคเก่ียวกับวิธีการผลิต วิธีการใช้ประโยชน์หรือการบริโภคผักพื้นบ้านต่าง ๆ ผ่านจดั ชุดผักตามเมนูอาหารทอ้ งถิ่น เช่น ชดุ ต้มยา ชุดแกงจืด ชุดแกงเลียง ชดุ แกงเผ็ด ชดุ นา้ พรกิ การปรับเปล่ียนพฤติกรรมการผลิตและการบริโภค ตลอดจนการ ปรับปรุงโครงสรา้ งการผลติ การจดั การทรพั ยากรในครวั เรือนและในชุมชน ไม่ใช่เร่ืองง่าย ต้องมีความ มุ่งมั่น ความอดทน เปลี่ยนวิธีคิดจากเดิม เห็นแมลงเห็นหญ้าขึ้นก็ไปซื้อยามาฆ่ามากาจัด ต้องมาน่ัง สังเกต คอยสารวจแมลงในแปลง เรียนรู้และต้องวิเคราะห์สภาพดิน ทาความเข้าในโรคพืชต้องไป
122 ศึกษาวิธีแก้นามาปรับใช้ สังเกต บันทึกผล ซึ่งเป็นพฤติกรรมท่ีต่างไปจากท่ีเคยปฏิบัติมา แต่ปัจจัยท่ี ทาให้เกษตรกรสามารถผ่านพ้นอุปสรรคมาได้ คือ การพบปะแลกเปล่ียนกับสมาชิกคนอ่ืนและมี นักพัฒนาเป็นพี่เล้ียง ติดตามให้คาแนะนาอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะอย่างยิ่งเงื่อนไขที่กาหนดให้ คณะกรรมการและสมาชิกประชุมร่วมกันทุกเดือน หลายคนทาจนคุ้นเคยเป็นกิจวัตร ที่ทุกเดือนต้อง ไปพบปะพูดคุยร่วมกัน จนเป็นความเคยชิน พบว่าตนเองเปล่ียนไปเป็นคนท่ีสนใจรับรู้เรื่องราว เกี่ยวกับการพัฒนาประเทศ นโยบายและข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ มากข้ึน เช่นท่ีคุณสะอิ้ง เล่าว่า “กรรมการจากไมใ่ ชญ่ าติกัน กส็ นิทกัน มันเหมือนเสพติด ไปจนชิน ไม่ไปก็ไม่ได้ กลุ่มเกษตรอินทรีย์ 3 เดือนคร้ัง ถ้าวิกฤตอะไร 6 – 7 คนจะไปจัดรณรงค์นโยบาย กรรมการหลักต้องไปอยู่แล้ว มีนโยบาย อะไรท่มี ีปญั หากระทบมาเราก็ต้องประชมุ เรามันเกษตรกรรายย่อยนะกต็ ้องมารวมกลุม่ ” วิธีการเรียนรู้ท่ีสาคัญในช่วงเวลานี้ ยังคงเป็นการประชุมกลุ่มทุก เดือนในบรรยากาศของการนาข้อมูลข่าวสาร ความรู้ต่าง ๆ มาเล่าสู่กันฟังในท่ีประชุมโดยมีการ เช่ือมโยงมาวิเคราะห์กับในพื้นที่ เป็นสิ่งที่สมาชิกกลุ่มสะท้อนว่าทาให้ได้รับความรู้และสามารถนา ความรู้มาเชือ่ มโยงกับส่งิ ตา่ ง ๆ ในหมบู่ า้ นเพื่อรักษาไว้ซึ่งเปูาหมายที่กลุ่มต้ังไว้ และมีส่วนสาคัญทาให้ สมาชิกกลุ่มในขณะนั้นมองเห็นความสาคัญของตนเองในฐานะผู้ดูแลแหล่งอาหารของคนในครัวเรือน และชุมชน ทาให้สมาชิกกลุ่มได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และพัฒนากิจกรรมกลุ่มอย่างต่อเนื่อง ในระหว่าง การประชมุ จะมีการพูดคยุ แลกเปลย่ี นความคดิ ความรู้สึก ความรู้และประสบการณ์เก่ียวกับผลการ ปฏิบัติตามแผนท่ีกาหนดไว้ร่วมกัน เช่น การทานาอินทรีย์ การปลูกผักอินทรีย์ที่สมาชิกแต่ละคนไป ปฏิบัติที่ไร่นาสวนของตน เป็นวิธีการท่ีสาคัญที่ส่งเสริมความม่ันใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ ผลิตและการบริโภค ตลอดจนการปรับปรุงโครงสร้างการผลิต การจัดการทรัพยากรในครัวเรือนและ ในชุมชน ซง่ึ เป็นพฤติกรรมที่ต่างไปจากท่ีเคยปฏิบตั มิ า การเรียนรู้ด้วยตนเองจากส่ือเอกสารเผยแพร่ความรู้ต่าง ๆ ของ กลมุ่ ท่ีมีการรวบรวมองค์ความรู้ ประสบการณ์ท่ีผ่านมาจัดทาออกมาเผยแพร่เป็นสื่อในรูปแบบต่าง ๆ ให้กับสมาชิกเพ่ือเป็นแนวปฏิบัติและไว้ศึกษาด้วยตนเอง ได้แก่ เอกสาร แผ่นพับ ใบความรู้ต่าง ๆ เก่ียวกับเทคนิคการเกษตร รวมทั้งมีการจัดทาคู่มือโครงการเกษตรอินทรีย์ที่อธิบายข้อตกลงและแนว ปฏบิ ัติรว่ มกันของกลุม่ ซึง่ สมาชกิ กลุ่มจะมกี ารศกึ ษาเอกสารเหล่านน้ั และใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติ “ตอนเข้ากลุ่มใหม่ ๆ เราจะได้เอกสาร ได้คู่มือมาศึกษา สงสัยเราก็ถามคนที่เข้าเป็นสมาชิกมาก่อน บางที่เขากม็ เี อกสารมาแจก เอกสารที่เขาไปอบรม ไปประชุมไดร้ บั แจกมา อันไหนท่ีสนใจก็เอากลับมา อ่าน มาศึกษาก่อน แล้วก็ลองมาปรับดู พี่สนใจพวกขยายพันธุ์พืช ก็เอามาดู ๆ แล้วก็ลองทาดู” (กาญจนา เข็มพลาย, สมั ภาษณ์ 18 กันยายน 2559) การเป็นแหล่งศึกษาดูงาน ทาให้กรรมการกลุ่มและสมาชิกมีโอกาส ได้ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ให้กับผู้สนใจ ทั้งเรื่องการบริหารจัดการกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการ
123 พัฒนาและกลุ่มเกษตรอินทรีย์สนามชัยเขต แนวคิดการพึ่งตนเองด้านอาหารของครัวเรือนและชุมชน การผลิตอาหารที่ในระบบเกษตรอินทรีย์ ระบบตลาดท่ีเป็นธรรมและเกื้อกูลกันระหว่างผู้ผลิตและ ผู้บริโภค ซึ่งสมาชิกกลุ่มหลายคนสะท้อนว่า การเป็นแหล่งศึกษาดูงานทาให้ตนเองต้องกลายเป็น วิทยากรถ่ายทอดความรู้แก่ผู้สนใจไปดว้ ย ทาให้ไดท้ บทวนบทเรียนความรูข้ องตนเอง ขณะเดียวกันทา ให้รู้สึกว่าต้องเรียนรู้พัฒนาตนเองตลอดเวลา และแสดงพฤติกรรมให้ตรงกับภาพลักษณ์ของผู้ผลิต อาหารปลอดภัยท้งั ตอ่ ผู้บริโภคและส่งิ แวดลอ้ มที่ถกู นาเสนอออกไป 5) ขยายผลและสรา้ งเครือขา่ ย การรวมกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการพัฒนาแม่บ้านยางแดงทาให้มีการ แลกเปลย่ี นปญั หาและขอ้ เสนอแนะต่าง ๆ ทาใหส้ มาชิกกลุ่มได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และพัฒนากิจกรรม กลมุ่ อยา่ งต่อเนอ่ื ง เชน่ กิจกรรมผกั กนิ ยอดอย่างยั่งยืน เพราะหลายครอบครัวปลูกผักสวนครัวในบ้าน หรือแปลงใกล้บ้าน เป็นพืชผักท้องถ่ินตามฤดูกาล มีการนาพืชผักพื้นเมืองมาปลูกตามบ้าน ตามหัวไร่ ปลายนา มีการทาเกษตรผสมผสาน ทาให้มีผลผลิตทางเกษตร พืชผักท่ีเป็นอาหารมีจานวนมาก พอที่จะจาหน่าย แต่ขณะเดียวกันพบว่า เกษตรกรในตาบลคู้ยายหมีและพื้นท่ีใกล้เคียงยังคงประสบ กับปัญหาหน้ีสิน ความเส่ือมโทรมของทรัพยากร และปัญหาสุขภาพจากการทาเกษตรเชิงเด่ียวที่ รนุ แรงข้นึ ด้วยเหตุน้ีจึงมีการนาบทเรียนจากบ้านยางแดงไปขยายผลในหมู่บ้าน ใกลเ้ คยี ง และสง่ เสริมใหม้ ีการรวมกล่มุ ของเกษตรกรในฐานะผู้ผลิตอาหารในระบบเกษตรอินทรีย์มาก ข้ึน โดยมีเง่ือนไขสาคัญคือ ในชุมชนท่ีมีผู้สนใจเข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มเกษตรอินทรีย์จะต้องมีการตั้ง กลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการพัฒนาในชุมชนของตนเองควบคู่กันไป โดยมีแนวทางการดาเนินงานท่ีสาคัญ คอื การพงึ่ ตนเองด้วยการระดมทุนจากสมาชิกผ่านกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการพัฒนา ควบคู่ไปกับการทา กลุม่ เกษตรอนิ ทรียฯ์ ทใ่ี ห้ความสาคญั กบั การสง่ เสริมให้คนในชมุ ชนหันมาพ่ึงพาตนเองด้านอาหารและ มีอาหารท่ีดีและปลอดภัยให้มากที่สุด ผ่านการสนับสนุนด้านการฝึกอบรมให้สมาชิกผู้ผลิตทั้งด้าน เทคนิคการผลิตและการดาเนินการให้เป็นไปตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ให้บริการปัจจัยการผลิต การประกันราคา และการจาหนา่ ยผลผลติ กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันเพ่ือเสริมสร้างความม่ันคงทาง อาหารจึงเกิดขึ้นอีกครั้ง ดังนั้นในปี 2544 จึงมีการต้ังกลุ่มเกษตรอินทรีย์อาเภอสนามชัยเขต จังหวัด ฉะเชิงเทราข้ึน ซ่ึงได้รับการสนับสนุนจากโครงการพัฒนาชนบทแควระบม-สียัด และโครงการนาร่อง เพ่ือพัฒนาเกษตรกรรมย่ังยืนของเกษตรกรรายย่อย ภูมินิเวศน์ฉะเชิงเทรา และมูลนิธิสายใยแผ่นดิน เพือ่ สง่ เสรมิ การเรยี นร้แู ละการทาเกษตรยง่ั ยืน ตั้งแต่กระบวนการผลติ การตรวจและรับรองมาตรฐาน ฟารม์ เกษตรอินทรยี ์ การจดั การผลผลิตสู่ตลาดท้ังระดับท้องถ่ินและระดับสากล ท่ีมีวัตถุประสงค์หลัก ในการสง่ เสริมใหส้ มาชิกไดป้ รบั เปลย่ี นระบบการเกษตรเข้าสูร่ ะบบเกษตรกรรมยัง่ ยนื
124 แนวทางการดาเนินงานท่สี าคัญ คือ การพึ่งตนเองด้วยการระดมทุนจาก สมาชิกผ่านกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการพัฒนา ควบคู่ไปกับการทากลุ่มเกษตรอินทรีย์ฯ ท่ีให้ความสาคัญ กับการสง่ เสริมใหค้ นในชุมชนหันมาพึง่ พาตนเองดา้ นอาหารและมีอาหารที่ดีและปลอดภัยให้มากที่สุด ผ่านการสนับสนุนด้านการฝึกอบรมให้สมาชิกผู้ผลิตท้ังด้านเทคนิคการผลิตและการดาเนินการให้ เป็นไปตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ให้บริการปัจจัยการผลิต การประกันราคา และการจาหน่าย ผลผลิต ท้ังนี้การประชุมประจาเดือนยังคงเป็นวิธีการสาคัญในการแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสาร ปัญหา ความต้องการในการเรียนรู้ ร่วมท้ังสอบถามสมาชิกเพื่อวางแผนการผลิตผักต่าง ๆ ตามความต้องการ ตลาดในรอบถดั ไป อย่างไรก็ตามจากการสัมภาษณ์ผู้นาและเกษตรกรในพื้นที่ พบว่า ประเดน็ ความมัน่ คงทางอาหาร เป็นเรื่องที่ต้องเรียนรู้ให้เท่าทันตลอดเวลา เพราะชุมชนอาจเผชิญกับ ความเส่ียงจากนโยบายรัฐบาล ภัยธรรมชาติ ท่ีกระทบต่อแหล่งผลิตอาหาร ขาดแรงงานภาคเกษตร ขณะท่ีต้นทุนในการบริหารจัดการกลุ่มสูงข้ึน กลุ่มจึงยังคงให้ความสาคัญกับการวางแผนการเรียนรู้ การวางแผนการผลติ รายครวั เรอื นที่สัมพันธ์กับระบบตลาดของกลมุ่ อยา่ งต่อเนื่อง วิธีการเรียนรู้ท่ีสาคัญของกลุ่ม นอกจากจะเป็นการประชุม การศึกษาดู งาน จะมกี ารรวบรวมองคค์ วามรู้ตา่ ง ๆ จัดทาออกมาเผยแพร่เป็นสื่อให้กับสมาชิกเพื่อเป็นแนวปฏิบัติ และไว้ศึกษาด้วยตนเอง ได้แก่ เอกสาร แผ่นพับ ใบความรู้ต่าง ๆ เกี่ยวกับเทคนิคการเกษตร คู่มือ โครงการเกษตรอินทรีย์จะบอกภูมิหลังกลุ่ม โครงสร้างองค์กร ขั้นตอนการตรวจและรับรองฟาร์ม เกษตรอินทรีย์ กิจกรรมสนับสนุนการทาเกษตรอินทรีย์ การจัดการผลผลิต และรายช่ือผลิตภัณฑ์ เกษตรอินทรีย์ของโครงการ รวมท้ังกาหนดให้มีการเรียนรู้ในลักษณะของโรงเรียนเกษตรกร ที่มี หลกั การสาคัญ คอื เปน็ การเรียนรู้ท่ียดึ เกษตรกรเป็นศูนย์กลาง วัตถุประสงค์และเนื้อหาในการเรียนรู้ มาจากความต้องการของเกษตรกร ความรู้ที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู้น้ันมาจากการลงมือทดลองปฏิบัติ ของเกษตรกร เกษตรกรมีความรู้ของตนเอง การออกแบบทดลองในแปลงเพ่ือสรา้ งความรู้รว่ มกัน จากกระบวนการเรียนรู้ของชุมชนคู้ยายหมีข้างต้น อาจกล่าวโดยสรุปถึง วิธีการเรียนรู้ที่สาคัญ ได้ดังนี้ การเยี่ยมบ้าน การสนทนารายบุคคล การสนทนากลุ่ม การรับฟัง บรรยายจากวิทยากร การเรียนรู้จาการดาเนินกิจกรรมกลุ่ม การประชุม การเรียนรู้จากการลงมือทา การถ่ายทอด การวิจัย (การสารวจ) การศึกษาดูงาน การฝึกอบรม การเข้าร่วมสัมมนาทางวิชาการ การจดั ทาแปลงทดลอง และการเปน็ แหล่งศึกษาดูงาน และมีแหล่งการเรียนรู้ท่ีสาคัญ ดังน้ีคือ แหล่ง เรียนรู้ในชุมชน ได้แก่ ที่ประชุมกลุ่มที่จัดให้มีการประชุมประจาเดือนของกลุ่มต่าง ๆ ท่ีทาการกลุ่ม แปลงทดลอง แปลงตวั อยา่ ง กรรมการของกลุ่มองคก์ รในชมุ ชน นกั พัฒนาในพ้ืนท่ีซึ่งเป็นท่ีปรึกษาของ กลุ่ม แหล่งเรียนรู้นอกชุมชน ได้แก่ วิทยากรท่ีให้ความรู้ในการอบรม สัมมนา (เช่น นักพัฒนา
125 เจา้ หนา้ ทสี่ ่งเสรมิ การเกษตร ปศุสตั ว์ นักวิชาการด้านส่ิงแวดล้อม) และชุมชนที่ประสบความสาเร็จ ที่ สมาชิกกลุม่ ไดร้ บั โอกาสใหไ้ ปศกึ ษาดงู าน 1.3.4 ด้านผลการเรียนรู้ ผู้วิจัยสัมภาษณ์ประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้นากลุ่ม และสมาชิกของกลุ่ม โดยใช้คาถามว่า “ประสบการณ์เรียนรู้ด้านความความม่ันคงทางอาหารนั้นมีผล ตอ่ การเปล่ยี นแปลงทางดา้ นความรู้ ความคิด และการกระทาหรือไม่ อยา่ งไร และในลักษณะใด” โดย ผู้วิจัยนาผลการสัมภาษณ์ที่ได้รับมาผนวกกับผลการสังเกตพฤติกรรมท่ีผู้นาและสมาชิกแสดงออก ระหว่างการเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการพัฒนาแม่บ้านท่ายางและกลุ่มเกษตร อินทรีย์สนามชัยเขต และการศึกษาเอกสารเผยแพร่เกี่ยวกับการดาเนินงานของกลุ่ม พบว่า การ เปลยี่ นแปลงทเี่ กิดข้นึ กบั ผู้นาและสมาชิกกลุ่มใน 3 ประเดน็ สาคญั คอื 1) การเปลีย่ นแปลงด้านความรู้ 1.1) สมาชิกในชุมชนสะท้อนว่า ได้รับความรู้เกี่ยวกับแนวคิดการ พ่ึงตนเองด้านอาหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในมิติของความสามารถในการเข้าถึงอาหารท่ีมาจากฐาน ทรัพยากรธรรมชาติในชุมชนท้องถิ่นและความสามารถในการผลิตอาหารเพื่อบริโภคจากในครัวเรือน และชุมชน สิทธใิ นการเข้าถงึ ทรพั ยากรธรรมชาติ “เข้ากลุ่มได้ไปอบรม ได้รับรู้ข้อมูลต่าง ๆ รู้ว่าออกแบบสวนใน บา้ นยงั ไงใหม้ นั มกี ินตลอดปี ปลูกพืชยั่งยืน พอต้นน้ันมีหัว อีกต้นก็งอก อีกต้นลงไป เวียนเก็บกิน รู้จัก พืชตามฤดูกาล ปลูกอะไรอยู่ด้วยกันได้.....มีโอกาสไปอบรมเมล็ดพันธ์ุผัก พันธุ์ข้าว เราไปหลายวัน เป็นตัวแทน กลับมาต้องมาบอกคนอ่ืน มาทาเองต่อท่ีบ้าน เราชอบ ตรงกับนิสัยเรา เราทาเร่ือยมา (ผลิตและจาหน่ายเมล็ดพันธุ์ผัก มีแปลงสวนผักในบริเวณบ้านที่พร้อมเป็นท่ีศึกษาดูงานสาหรับ ผู้สนใจ)” (กาญจนา เข็มพลาย, สัมภาษณ์ 18 กนั ยายน 2559) 1.2) ความรู้เกี่ยวกบั การแกไ้ ขปญั หาและการรวมกลมุ่ ชว่ ยเหลือกันด้าน อาหารของชุมชน “ได้วิเคราะห์ตัวเอง เราฐานเกษตรกรรม ทาไง เรามีทุน มี อะไรบา้ ง ทาอะไรให้พอมีกิน ได้ไปขุดหน่อไม้ ขุดต้นไม่มาปลูกในบ้าน รอบบ้านทาสวนผัก สวนผลไม้ รู้ว่าความมั่นคงทางอาหาร คือ มีอาหารกินหลายชนิด ไม่ต้องไปง้อใคร รอบบ้านมีกิน มีขาย” (สุมน สมศริ ิ, สมั ภาษณ์ 17 กนั ยายน 2559) “เรากลับมาในสภาพเคว้งคว้าง กลับมา 1 ปี ไม่รู้จะทาอะไร น้องสาวเป็นแม่ครัวที่ประชุมกลุ่ม เรามาช่วยได้มาฟัง ได้รู้ข้อมูลดี ๆ เห็นเขาประชุมทุกเดือนวางแผน ว่าจะปลูกอะไรจะขายอะไร สมาชิกกลุ่มหลายคนพอรู้จักกัน เลยสนใจมาร่วมกับเขา พอเป็นสมาชิก เขาสอนให้เราวิเคราะห์ตัวเอง ดูสภาพดิน ดูสภาพแปลง แรงงานเรามีไหม ทุนเรามีแค่ไหน มีปัญหา อะไรกระทบทุนที่เรามีไหม คนเก่าๆ เขาก็สอนแนะนา จนเราเห็นทาง จะอยู่จะกินจะขายอะไร พี่เอง
126 พอมเี งนิ เก็บ ไม่คุน้ กบั ทาเกษตรเคมี เพราะเราไปเป็นแม่บ้านในเมือง อายุพี่ 50 แล้ว ตากแดดนาน ๆ เราก็ไม่ไหว พอได้เป็นตัวแทนไปอบรมการคัดเมล็ดพันธ์ุ เราลองมาวิเคราะห์ตัวเอง ก็เลยมาทาเมล็ด พนั ธุ์ขาย คอ่ ย ๆ ทาไป งานถกู กับเราด้วย แลว้ ในกล่มุ คนอื่น ๆ เขามีความจาเป็นต้องใช้จ่าย เขาปลูก พชื ระยะส้นั หลายรอบไป พีล่ กู จบทางานแล้วก็มาทาตรงนี้แทน เมล็ดพันธ์ุก็ส่งให้สมาชิกกลุ่มด้วยขาย เครือข่ายด้วย เพราะเขามั่นใจว่าของเราอินทรีย์แน่นอน แล้วถ้าพ่ีอยากกินผักหลายอย่างท่ีเราไม่ได้ ปลูก ก็มาซ้ือกับกลุ่มไป เป็นที่ให้คนมาดูงานด้วย แปลงที่บ้านนะ มีงานรณรงค์อะไรเราก็ไปด้วย” (กาญจนา เข็มพลาย, สมั ภาษณ์ 18 กนั ยายน 2559) 2) การเปลยี่ นแปลงดา้ นความคิด 2.1) มีความม่ันใจในการทาสิ่งที่ต่างไปจากส่ิงท่ีคนในชุมชนส่วนใหญ่ เชื่อหรือยึดเป็นแนวปฏิบัติ ได้แก่ การรวมกลุ่มช่วยเหลือกันและกันของเกษตรกรรายย่อย และการมี ส่วนร่วมของผู้หญิงในงานพัฒนา“พอเราได้เข้ากลุ่ม มันเหมือนถอนตัวไม่ข้ึน เราจะทาอย่างเก่าไม่อยู่ กับกลุม่ มนั เหมอื นตวั คนเดยี ว จะออกจากกล่มุ เราทาใจไมไ่ ดท้ ่ีจะไปทาเคมีเหมือนคนส่วนใหญ่ เราคิด นะ แต่เพราะเราไปเห็นผู้บริโภค ไปรู้พิษภัยสารตกค้าง” จึงยังคงปลูกข้าวอินทรีย์ต่อไป (สอิ้ง สุริยา, สัมภาษณ์ 18 กันยายน 2559) 2.2) เห็นความสาคัญของการพ่ึงตนเองและการพึ่งพาอาศัยกันของคน ในชุมชน ผลการจาการเรียนรู้ที่ใช้กลุ่มออมทรัพย์เป็นวิธีการในการส่งเสริมให้เกิดการทางานร่วมกัน ของแม่บ้านเกษตรกรรายย่อย ที่เปิดโอกาสให้ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้และมีการทากิจกรรมตามทุนและ ทรพั ยากรที่มี และประสบความสาเรจ็ จงึ ค่อย ๆ ขยายไปสู่กจิ กรรมอืน่ ต่อไป ทาให้ผู้เข้าร่วมการเรียนรู้ น้นั เกดิ ความม่ันใจในการพึ่งตนเองและพลงั ของกลมุ่ มากขนึ้ 3) การเปลย่ี นแปลงด้านการกระทา 3.1) มีการปรับเปลี่ยนวิถีการผลิตจากการผลิตพืชเชิงเดี่ยวไปเป็นการ ผลิตพืชท่ีหลากหลาย การผลิตพืชท้องถิ่น มีการลดหรือเลิกการใช้สารเคมีทั้งปุ๋ยเคมีและยาปราบ ศัตรูพืชในการผลิต และการปรับปรุงระบบการผลิตให้ตรงตามระบบเกษตรกรรมอินทรีย์ โดยจะมี การแจกคมู่ ือแจกให้สมาชิกทุกคนเป็นแนวทางในการปฏบิ ตั ิร่วมกัน นุชนารถ แก้วอุย เล่าว่า การเข้าร่วมกลุ่มเกษตรอินทรีย์สนามชัย เขต ทาให้ได้ประสบการณ์ ความรู้และทาให้ตนเปล่ียนแปลงวิถีการผลิตจากที่เคยใช้สารเคมีใน การเกษตรอย่างเข้มข้นหันมาทานาอินทรีย์ “ตอนน้ัน กลุ่มชวนกันไปดูงาน ปลูกผัก ทานาธรรมชาติ ใชข้ ้ีวัว สารสกัดจากสะเดาแทนปุ๋ยเคมี ยาฆ่าแมลง คือ เดิมเราเคยชิน ข้าวงามไม่งาม เราก็ใส่ ไม่มาดู ดนิ วา่ ขาดอะไร ต้องเตมิ อะไร ไม่มหี รอก เห็นหนอนลงก็ไม่ไหวแล้วต้องไปซ้ือยามาใส่ ฉีดยาฆ่าหญ้า 4 ถึง 5 ถัง ประจา ทาไปเรื่อย ๆ ตอนน้ันแขนขามันหร่อย (ไม่ค่อยมีแรง)....ไม่คิดหรอกเรื่องสุขภาพ คือ เราปลูกข้าวหาเงินนะ เช่ือว่ายังไงก็ต้องได้ข้าวไปขาย ไม่งั้นหนี้มันยังมี เงินใหม่ไม่มา ไม่ได้เลย....แต่
127 พอเปล่ยี นมาทานาธรรมชาติ พบว่าท่ีเราเป็น มันไมเ่ ปน็ แลว้ เลยคิดตอนนน้ั วา่ นา่ จะมาจากยาฆ่าแมลง ........ตอนเปลี่ยนมาทานาธรรมชาติ นาอินทรีย์นะ นาที่บ้านหนอนลง เราเข้ากลุ่มไปเจอทุกเดือน เอา ไปถาม คยุ กนั ทาให้จาได้วา่ ตอนไปอบรมมาเขาแนะนาวา่ ไมต่ ้องไปฆ่า ใหร้ อ แฟนเขาทนไม่ไหวจะเอา ยามาฆ่าหนอน เราว่าต้องคอยใจเย็น ๆ แล้วพอหนอนกินข้าวหมดนา ข้าวมันก็ข้ึนมาใหม่งาม คือถ้า เอายาลง หมดเลยนะที่เตรียมแปลง ท่ีทามา....ท่ีเราม่ันใจเพราะเราไปเจอ ไปเห็นมา คุยกันมีข้อมูลก็ อดใจได้....เราเปล่ียนนิสัยจากใจร้อน ๆ มาทาเกษตรธรรมชาติต้องใจเย็น ๆ คอยสังเกต มันละเอียด ขน้ึ ” (สมั ภาษณ์ 17 กันยายน 2559) 3.2) มกี ารปรบั เปลยี่ นวิถีการบริโภค จากการได้รับความรู้อย่างต่อเน่ือง เกี่ยวกับพิษภัยและผลกระทบจากสารเคมีสังเคราะห์ท่ีนามาใช้ในระบบการผลิตพืชที่นามาปรุงเป็น อาหารต่าง ๆ ทาให้ผู้นาและสมาชิกหลายท่าน กล่าวไปในทานองเดียวกันว่า มีผลต่อการเลือก รับประทานอาหารในชีวิตประจาวัน กล่าวคือ หันมากินพืชผักท่ีตนเองผลิตหรือจากสมาชิกในกลุ่ม มากขึ้นเพราะรู้แหล่งท่ีมาของอาหารว่ามีความปลอดภัยและเป็นการประหยัดรายจ่าย หลายคนเวลา ไปสัมมนาหรือไปศกึ ษาดงู านหากสะดวกจะนาวัตถุดบิ ไปปรุงเปน็ อาหารดว้ ยหรือปรงุ เสรจ็ ไปจากบ้าน 3.3) มีการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต พบว่า จากการสัมภาษณ์หลายท่านให้ ความเห็นว่า การมาร่วมกิจกรรมทาให้ตนมีความสัมพันธ์ท่ีดีกับคนในชุมชนและต่างชุมชนมากขึ้น หลายคนเล่าว่า ทาให้มีเพ่ือน มีพ่ีมีน้อง มีเครือข่ายช่วยเหลือกันมากขึ้น มีความสนใจเรื่องราวของ ชุมชน ของคนในสังคมมากข้ึน เช่น “สมาชิกกลุ่มเจอกันบ่อย จะคุยกันคนเก่าคนใหม่แลกเปลี่ยนกัน ให้ความรู้ แนะนากัน อย่างพ่ีนัน (นักพัฒนา) เขาอยู่มานาน เขารู้ทั้งในท้ังนอก เข้าใจเย็น คนใหม่ ๆ มา แบบไม่เคยทาเกษตร ตั้งใจมาเรียนรู้ทาเกษตรอินทรีย์ง่ายกว่าคนเก่า ๆ ท่ีเขาคุ้นเคยกับเคมีนะ.... คนรุ่นเก่าบางทีเขาเคยทามาแบบน้ัน จะเปล่ียนทาอินทรีย์ แต่ญาติ ๆ ไม่เอาด้วยก็ลาบากใจกัน พี่มา ทาพ่ีสนใจเพราะเคยเจอตอนอยู่ดอนเมือง น้าท่วม โหยตอนนั้นเข้าใจเลยมีเงินซ้ืออะไรกินไม่ได้มัน ยังไง พอกลับมาอยู่บ้าน ไปกลุ่มได้ฟัง ได้มาดูตัวเองก็เลยสนใจ อีกอย่างเด็ก ๆ เราเคยผ่านมาไง แม่ เคยทาเราเคยช่วยแม่ แม่มีลูก 7 คน ซื้อกินไม่ไหว ก็ทาเองปลูกเป็นอาหาร)” (กาญจนา เข็มพลาย, สัมภาษณ์ 18 กนั ยายน 2559) 1.4 ปัจจัยและเงื่อนไขที่เก่ียวข้องกับกระบวนการเรียนรู้ จากผลการศึกษาอาจกล่าว โดยสรุปถึงปัจจัยและเงื่อนไขท่ีเก่ียวข้องกับกระบวนการเรียนรู้ท่ีเสริมสร้างด้านความม่ันคงทาง อาหารของชุมชนค้ยู ายหมี ได้ดงั น้ี 1.4.1 ปจั จยั ทส่ี นับสนุนกระบวนการเรยี นรู้ท่เี สรมิ สรา้ งความมั่นคงทางอาหารใน ชมุ ชนคู้ยายหมี ไดแ้ ก่
128 1) ภูมิหลังประสบการณ์ของสมาชิกในชุมชน พบว่า ประสบการณ์ของ สมาชิกกลุ่มหรือชุมชนมีความสาคัญต่อความสามารถในการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นที่จะ นาไปสูก่ ารเปดิ กวา้ งยอมรับมุมมองความคิดท่ีต่างไปจากเดิม เช่น เกษตรกรที่มีประสบการณ์ตรงจาก การเผชิญกับสถานการณ์อาหารไม่ปลอดภัยและปัญหาสุขภาพ ภาวะไม่สมดุลระหว่างรายรับและ รายจ่ายจากการทาเกษตร หรือเกษตรกรท่ีเคยได้ไปศึกษาดูงาน ไปฝึกอบรมเกี่ยวกับการทาเกษตร อินทรยี ์ มแี นวโน้มที่จะรบั รู้และความไม่พอใจกับปัญหาที่พูดคุยกัน จนทาให้เกษตรกรเกิดความสนใจ เรียนรู้ทางเลือกใหม่ ๆ และนาไปสู่การตัดสินใจที่จะเปล่ียนแปลงพฤติกรรมตนเองเพ่ือแก้ปัญหาที่ เผชญิ อยู่ 2) ฐานะทางเศรษฐกจิ ของสมาชิกในชุมชนที่เข้าร่วมกระบวนการเรียนรู้ มผี ลตอ่ ความพร้อมทีจ่ ะเรียนรู้ข้อมูล ความรู้ต่าง ๆ เพื่อนาไปสู่การตัดสินใจเลือกปรับใช้ข้อมูลความรู้ ท่ีได้รับไปสู่การแสดงพฤติกรรมที่ต่างไปจากความเคยชิน เช่น กรณีของครัวเรือนท่ีมีฐานยากจนและ เป็นกลุ่มท่ีเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากแหล่งอาหารสาธารณะ จะพบว่าในกรณีน้ีครอบครัวท่ีมีฐาน ยากจนถึงปานกลางจะให้ความสนใจกับการเรียนรู้เพ่ือการแก้ปัญหาความไม่ม่ันคงทางทางอาหาร โดยเฉพาะสิทธิของตนเองในการเข้าถึงและมีส่วนร่วมในการจัดการพื้นท่ีเหล่านั้น มากกว่าครัวเรือน เกษตรกรที่มีฐานะรา่ รวยซงึ่ ไมไ่ ด้ใช้ประโยชน์จากพื้นที่ดังกล่าว เพราะการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จาก พืชผักท้องถ่ินช่วยลดค่าใช้จ่ายด้านอาหารและเป็นรายได้ของครอบครัว จึงสนับสนุนและสร้างความ ม่นั ใจในการรวมกล่มุ ทากจิ กรรมท่ีเสริมสรา้ งความมน่ั คงทางอาหารเพ่ือแก้ปญั หาดงั กลา่ ว 3) บรรยากาศการสนทนา เกษตรกรหลายท่านให้ความเห็นว่า บรรยากาศการสนทนาทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม ท่ีมีการให้ความรู้และการมีข้อมูลประกอบการ ตัดสินใจ ช่วยเปิดโอกาสใหเ้ กษตรกรได้ประเมนิ ตนเอง ทบทวนความคิดเก่ยี วกับที่มาปัญหาหนี้สินจาก ระบบการผลิตแบบเดิม ทบทวนวิถีชีวิตท่ีผ่านมาท่ีให้ความสาคัญกับการปลูกพืชเศรษฐกิจเพื่อขายมี รายได้เป็นเงินสาหรับการใช้จ่าย บางคร้ังหลงลืมเรื่องความปลอดภัย เรื่องสุขภาพ นอกจากนี้การ นาเสนอข้อมูลข่าวสารที่เข้าใจง่าย เช่ือมโยงกับส่ิงท่ีเกษตรกรและชุมชนเป็นอยู่ ทั้งในมิติปัญหาและ แนวทางแก้ไข ทาให้เกษตรกรสนใจที่จะเปล่ียนแปลงความคิดและวิถีการผลิตและการบริโภคใน ครอบครวั พรอ้ มเรียนรูแ้ ละพัฒนาตนเองท่ามกลางบทบาทใหม่ท่ีกาหนดขึ้นคือผู้ผลิตอาหารปลอดภัย ผนวกกับการแลกเปล่ียนสนทนาจนทาให้รับรู้ว่าในชุมชนมีคนประสบกับปัญหาใกล้เคียงกันและมี ความไม่พอใจอยากเปล่ียนแปลงแก้ไขสถานการณ์ดังกล่าวร่วมกัน จนนาไปสู่การปรับเปล่ียนวิธีคิดท่ี คานงึ ถึงการอยูร่ อดรว่ มกันมากข้นึ กว่าการแข่งขนั แยง่ ชิงกัน 4) นักพัฒนาเอกชนและนักวิชาการจากภายนอก มีส่วนสาคัญในการ สนับสนุนใหเ้ กดิ การเรยี นรู้และการประสานงานต่าง ๆ ของกลุ่มมาอย่างต่อเนื่อง เช่น ทาหน้าท่ีเป็นผู้ เอื้ออานวยให้เกิดการเรียนรู้ ด้านการส่งเสริมให้เกิดการสนทนาร่วมกันระหว่างสมาชิกในชุมชนเพ่ือ
129 วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาร่วมกัน ทาหน้าที่ในการประสานงานกับหน่วยงาน องค์กรต่าง ๆ เพ่ือให้ เกษตรกรเข้าถึงและแลกเปลี่ยนข้อมูล ความรู้ ประสบการณ์ ที่เป็นประโยชน์ต่อการแก้ปัญหาหรือ เพม่ิ ศักยภาพในการผลติ และการจดั การสถานการณ์ตา่ ง ๆ ในครัวเรอื นไดอ้ ยา่ งตอ่ เนือ่ ง 5) เครือข่ายการเรียนรู้ ความสามารถในการเช่ือมโยงแหล่งเรียนรู้ท้ังใน ชุมชนและนอกชุมชน ได้แก่ ผู้นาชุมชน กลุ่ม องค์กร นักวิชาการ นักพัฒนา หน่วยงาน องค์กร และ สถานศึกษาต่าง ๆ ที่ช่วยส่งเสริมและสนับสนุน ข้อมูล ความรู้ ประสบการณ์ ทรัพยากร ท่ีเป็น ประโยชน์ต่อการแก้ปัญหาหรือเพ่ิมศักยภาพในการผลิตและการจัดการสถานการณ์ต่าง ๆ มีส่วน สาคญั ในการสร้างความมน่ั ใจในการเรียนรูแ้ ละการเปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรมตามบทบาทใหม่คือการเป็น ผผู้ ลิตอาหารปลอดภัยและผลติ อาหารเพอ่ื บรโิ ภคทกี่ าหนดไวไ้ ดอ้ ยา่ งต่อเน่ือง 1.4.2 เงื่อนไขของกระบวนการเรียนรู้ที่เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหารของ สมาชิกในชมุ ชนคยู้ ายหมี ได้แก่ 1) การสร้างกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือแก้ปัญหาร่วมกันอย่างต่อเนื่อง เง่ือนไขสาคัญท่ีทาให้สมาชิกในชุมชนคู้ยายหมี มีการรวมกลุ่มเพื่อดาเนินกิจกรรมเสริมสร้างความ มั่นคงทางอาหารในระดับครัวเรือนและกลุ่มร่วมกันมาอย่างต่อเนื่อง เพราะเง่ือนไขสาคัญ คือ ผู้ริเร่ิม และส่งเสริมกระบวนการเรียนให้ความสาคัญกับการส่งเสริมให้สมาชิกในชุมชนท่ีประสบปัญหาคว าม ไม่มั่นคงทางอาหารได้มาเรียนรู้จากการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาและร่วมมือกันแสวงหาทางออก ของปัญหาทสี่ มาชิกสนใจรว่ มกนั และส่งเสริมให้มีการรวมตัวกันเป็นกลุ่มเพ่ือแก้ปัญหาดังกล่าวมีส่วน สาคัญในการเสริมความม่ันใจให้กับเกษตรกรท่ีเห็นความสาคัญของการเปล่ียนแปลงวิถีกา รผลิตพืช เชงิ เด่ยี วเพื่อการค้ามาสู่การผลิตท่ีคานึงถึงความสามารถในการพึ่งตนเอง ความปลอดภัยด้านสุขภาพ และส่ิงแวดล้อมมากขึ้น ให้เกิดความม่ันใจยอมรับบทบาทใหม่จากมุมมองท่ีเปล่ียนไป พร้อมเรียนรู้ และดาเนนิ กจิ กรรมการผลติ การบรโิ ภคตามแนวคดิ ทเ่ี ปลี่ยนไปได้อย่างตอ่ เนื่อง 2) การสร้างและรักษาความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างสมาชิกกลุ่ม กล่าวคือ การเสริมสร้างความมัน่ คงทางอาหารในชมุ ชนคู้ยายหมีมีการดาเนินกิจกรรมผ่านกระบวนการเรียนรู้ท่ี สนับสนุนให้สมาชิกมีการรวมกลุ่มกันเพื่อแก้ปัญหาบางอย่างร่วมกัน มีการทางานร่วมกัน ประสบ ปัญหาอุปสรรคและความสาเร็จร่วมกัน ภายใต้เงื่อนไขที่กาหนดให้สมาชิกมีการติดต่อส่ือสาร เพื่อ แลกเปล่ียนรบั ฟงั ความรู้ ข้อมลู รวมท้ังปัญหาและอุปสรรค พูดคุยให้กาลังอย่างต่อเนื่อง มีส่วนสาคัญ ในการเสริมสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ที่สมาชิกในชุมชนพร้อมเปิดใจรับฟัง ยอมรับการแสดงความ คดิ เห็น ซึ่งเป็นเงื่อนไขท่ีจาเป็นตอ่ การเรยี นรูส้ ู่การเปล่ยี นแปลงด้านความม่นั คงทางอาหาร ทั้งนี้อาจกล่าวโดยสรุปถึงกระบวนการเรียนรู้ท่ีเสริมสร้างความมั่นคงทางอาหารใน ชมุ ชนค้ยู ายหมี ไดด้ งั ภาพต่อไปน้ี
130 ภาพที่ 2 แผนภาพกระบวนการเรียนรทู้ เ่ี สริมสรา้ งความมัน่ คงทางอาหารในชมุ ชนคูย้ ายหมี
131 กรณีศกึ ษาท่ี 2 ชุมชนหนองสาหร่าย ตาบลหนองสาหรา่ ย อาเภอพนมทวน จังหวดั กาญจนบุรี จากการศึกษาชุมชนหนองสาหร่าย พบว่า ประเด็นสาคัญที่ถูกกล่าวถึงในฐานะที่เป็น เปูาหมายของการพฒั นาในระดับตาบล คือ การเสริมสร้างความม่ันคงทางอาหารในมิติของการเข้าถึง อาหารท่ีมีคุณภาพ มีความปลอดภัยด้านอาหารและโภชนาการทั้งในฐานะผู้บริโภคและผู้ผลิต และ สง่ เสรมิ ให้เกษตรกรและคนในชุมชนมีการพ่งึ ตนเองด้านอาหารที่มากขึ้น การเก็บรวบรวมข้อมูลผู้วิจัย ใช้วิธีการศึกษาเอกสารต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับการเสริมสร้างความมั่นคงทางอาหารของตาบลหนอง สาหร่าย ใช้วธิ ีการสัมภาษณ์รายบุคคลโดยสัมภาษณ์ผู้นาชุมชน ได้แก่ นายศิวโรจน์ จิตนิยม ประธาน สถาบันการเงินชุมชนตาบลหนองสาหร่าย นายแรม เชียงกา ประธานศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง บ้านหนองทราย ซึ่งเป็นผู้ให้ข้อมูลหลัก และสัมภาษณ์สมาชิกในชุมชนท่ีเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ จานวน 8 คน ในประเด็นสภาพท่ัวไปของชุมชน การเปลี่ยนแปลงวิถีการผลิตและการบริโภค การ เรยี นรรู้ ่วมกนั ของคนในชุมชน ท่ีเก่ียวข้องกับความมั่นคงทางอาหารของชุมชน โดยเป็นการสัมภาษณ์ และการสังเกตในระหว่างสมาชิกเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีชุมชนจัดข้ึน ได้แก่ การประชุม การ ถา่ ยทอดความรู้ให้กับผู้มาศึกษาดงู าน การผลิต การเกบ็ เก่ยี ว และการบรโิ ภคอาหารในชวี ิตประจาวัน 2.1 ขอ้ มูลพนื้ ฐานของชุมชน ชมุ ชนตาบลหนองสาหรา่ ย ครอบคลมุ พื้นท่ใี นเขตเทศบาลตาบลหนองสาหร่าย อาเภอ พนมทวน จงั หวัดกาญจนบุรี เนื้อท่ีประมาณ 15,247 ไร่ หรือประมาณ 26.95 ตารางกิโลเมตร โดยมี ระยะทางจากตาบลหนองสาหร่ายถงึ ท่วี า่ การอาเภอพนมทวน ประมาณ 10 กิโลเมตร และมีระยะทาง จากตาบลหนองสาหร่ายถึงกรุงเทพมหานคร ประมาณ 100 กิโลเมตร ได้รับการจัดตั้งเป็นเทศบาล ตาบลหนองสาหร่าย เม่ือปี 2551 การปกครองแบ่งออกเป็น 9 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านสระลุมพุก บ้าน โกรกยาว บ้านหนองปริก บ้านหนองขุย บ้านปลักเขว้า บ้านหนองทราย บ้านหนองแหน บ้านใหม่ พฒั นา และบ้านหนองสาหรา่ ย ทีต่ ั้งของตาบลหนองสาหร่ายมีอาณาเขตติดต่อ ดังน้ี ทศิ เหนือ มอี าณาเขตติดต่อกบั ตาบลพนมทวนและตาบลพงั ตรุ ทศิ ใต้ มอี าณาเขตตดิ ต่อกบั ตาบลตะคร้าเอน ทิศตะวนั ออก มีอาณาเขตตดิ ต่อกับตาบลอโุ ลกส่ีหมน่ื ทิศตะวันตก มีอาณาเขตตดิ ต่อกบั ตาบลดอนเจดยี ์ ลักษณะภูมิประเทศ สภาพพ้ืนท่ีทั่วไปเป็นที่ราบ สภาพดินเป็นดินปนทราย มีคลองส่ง น้าทั่วถึงทุกหมู่บ้าน มีแหล่งน้าตามธรรมชาติ 5 แห่ง สาหรับแหล่งน้าเพื่อการเกษตรมีคลอง ชลประทานตอนพระแท่นที่รับน้ามาจากเข่ือนท่าม่วงหรือเข่ือนแม่กลอง และมีคูส่งน้าเข้าพื้นท่ี การเกษตรทว่ั ทุกพื้นที่
132 ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ ทานา ทาไร่อ้อย ทาสวนผัก และเลย้ี งสตั ว์ รองลงมาคอื การรบั จา้ งทั่วไป ผลผลติ ทางการเกษตรท่ีสาคัญ ได้แก่ ข้าว อ้อย ข้าวโพด และพริก นอกจากน้ี เป็นแรงงานรับจ้างท่ัวไปทั้งในงานเกษตร งานก่อสร้าง และทางานโรงงาน อุตสาหกรรมนอกพ้ืนที่ ข้อมลู จากเทศบาลตาบลหนองสาหร่าย มีสถานที่สาคัญต่าง ๆ ได้แก่ ด้านศาสนสถาน มีวัดทั้งหมด 2 แห่ง การศึกษามีโรงเรียนระดับประถมศึกษา 3 แห่ง โรงเรียนขยายโอกาส 1 แห่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 3 แห่ง ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจาหมู่บ้าน 4 แห่ง โรงเรียนมัธยม 1 แห่ง ด้าน สาธารณสุขมีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล 1 แห่ง ด้านเศรษฐกิจ มีป๊ัมน้ามัน 6 แห่ง โรงงาน อุตสาหกรรมขนาดเลก็ 8 แหง่ และโรงสขี ้าว 3 แหง่ การเปล่ียนแปลงที่กระทบต่อความมั่นคงทางอาหารของคนในชุมชนหนองสาหร่าย เริ่มต้นข้ึนตั้งแต่ปี 2523 เมื่อมีคลองชลประทานตัดผ่านพื้นท่ี ทาให้ครัวเรือนต่าง ๆ พากันขุดคูส่งน้า เข้าพ้ืนท่ีการเกษตรของตน วิถีการผลิตและการบริโภคของคนในชุมชนเริ่มเปลี่ยนแปลงไปอย่าง ชัดเจน ในอดตี คนในชุมชนทาการเกษตรเพ่ือยังชีพ ทานาปลูกข้าวปีละครั้งเพื่อเก็บไว้กินเหลือจึงแบ่ง ขาย มีการลงแขกเกี่ยวข้าว เอาแรงช่วยเหลือกันในงานบุญงานประเพณี เร่ิมเปลี่ยนไปทานาเพ่ือ การค้าอย่างเข้มข้นมาขึ้น เมื่อมีเจ้าหน้าท่ีส่งเสริมการเกษตรเข้ามาส่งเสริมการทานาว่าสามารถ เพาะปลูกข้าวได้ปีละ 2 ครั้ง มีการนาพันธุ์ข้าวมาแจก มีการอบรมให้ความรู้เก่ียวกับการเร่งการ เจริญเติบโตของพชื ว่าควรใสป่ ยุ๋ เคมอี ะไรจึงเหมาะสมกับพนั ธ์ุขา้ วทแี่ จกมา จากเดิมที่เคยใช้ควายไถนา เปล่ียนไปเป็นรถไถ การลงแขกเก่ียวข้าวหายไป ข้าวที่เคยเก็บเกี่ยวแล้วนาไปเก็บไว้บนยุ้งเปล่ียนเป็น ขายทันทหี ลังเกบ็ เกี่ยว การทาเกษตรท่ใี ชป้ ยุ๋ เคมีเพือ่ เร่งการเจรญิ เติบโตมกี ารใชส้ ารเคมีเพ่ือปูองกันและกาจัด แมลงและวชั พชื ต่าง ๆ ทาใหต้ ้นทุนการผลติ สงู ผลผลติ ข้าวส่วนใหญถ่ ูกขายให้กับพ่อค้าคนกลางท่ีเป็น ผู้กาหนดราคารับซื้อ ขณะท่ีราคาขายของข้าวน้ันไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับกลไกตลาด เม่ือสัดส่วนของ รายรบั และรายจ่ายไมส่ มดลุ หลายคนเข้าสู่วงจรหน้ีสินนอกระบบ กล่าวคือ ในการเพาะปลูกจะมีการ กู้ยืมเงินจากพ่อค้าคนกลางหรือนายทุนต่าง ๆ เพื่อนาเงินไปซื้อเมล็ดพันธ์ุข้าวปลูก ปุ๋ยเคมี สารเคมี กาจัดศัตรูพืช และยาฆ่าแมลง เมื่อผลิตในปริมาณมากมากจาเป็นต้องจ้างแรงงานหรือใช้เครื่องจักร ช่วยในการเก็บเกี่ยว หากไม่มีโรงสีข้าวและยุ้งฉาง เกษตรกรต้องขายข้าวเปลือกให้กับพ่อค้าคนกลาง เงินทไี่ ดม้ าแบง่ ไปใชห้ น้ี ใชจ้ ่ายในชีวิตประจาวัน และสาหรับการศึกษาของลูกหลาน เงินไม่พอต้องไป กู้ยืมนอกระบบดอกเบ้ียสูงมาก เมื่อแปลงนาเต็มไปด้วยสารเคมี ปลา กบ สัตว์ที่เคยเก็บหาได้จาก แปลงนากห็ ายไปด้วย การซ้ือหาอาหารจากภายนอกเพิ่มข้ึนตามมา สถานการณ์ดังกล่าวทาให้ชาวนา หนองสาหน่ายหลายคนรู้สึกไม่พอใจ รู้สึกว่าถูกเอารัดเอาเปรียบจากพ่อค้าคนกลาง เนื่องจากถูกกด ราคา จงึ มีการรวมกลุ่มของเกษตรกรผปู้ ลูกขา้ วขาย มีเปาู หมายเพ่ือเพิ่มอานาจในการต่อรองกับพ่อค้า
133 คนกลาง โดยกาหนดให้มีกิจกรรมตลาดกลางรับซื้อข้าวเปลือกข้ึน เชิญพ่อค้าที่สนใจมาประมูล ต่อมา ปี 2542 มกี ารรวมกลมุ่ ตัง้ โรงสขี ้าวชุมชน-ลานคา้ ข้าวชุมชน เพื่อแกป้ ญั หาราคาขา้ วตกตา่ ปี 2535 ชุมชนบ้านหนองสาหร่ายได้มีการแบ่งเขตการปกครองใหม่แยกออกมาจาก ตาบลดอนเจดีย์ ตั้งเป็นตาบลหนองสาหร่ายในปัจจุบัน ผู้นาหมู่บ้านต่าง ๆ ในหนองสาหร่ายต่างมี ความกระตือรือร้นท่ีจะเปลี่ยนแปลงพัฒนาหมู่บ้านของตน จนเกิดการกระทบกระท่ังทางความคิด ระหว่างผนู้ าและชาวบ้านทสี่ นับสนุนผนู้ าเหลา่ นนั้ ขณะทช่ี าวบ้านในชมุ ชนเข้าสูว่ งจรของการปลูกข้าว เพ่ือการค้าอย่างเข้มข้นมากข้ึน การช่วยเหลือเอาแรงกันเร่ิมน้อยลง เปล่ียนไปเป็นแข่งขันกันเพื่อให้ ได้ผลผลิตจานวนมาก โดยไม่คานึงถึงต้นทุนและผลกระทบที่จะเกิดขึ้นตามมา ความขัดแย้งแตกแยก กันของคนในชุมชนเพิ่มข้ึนถึงข้ันที่งานบุญงานประเพณีแต่ละหมู่บ้านต่างคนต่างจัด ต่างคนต่างทา ด้วยเหตุนี้ช่วงต้นทศวรรษ 2540 จึงมีการพูดคุยร่วมกันระหว่างผู้ใหญ่บ้าน ผู้นากลุ่มองค์กรในชุมชน เพื่อแก้ปัญหาการขาดความสามัคคีของคนในชุมชนและผลกระทบต่อการดาเนินงานพัฒนาท่ีผ่านมา ได้ข้อสรุปของปัญหา คือ “เดิมใช้เงินเป็นเป้าหมาย ทะเลาะกัน ยิ่งพัฒนายิ่งไม่มีความสุข คนยิ่งแตก ความสามคั คี” (สมั ภาษณ,์ ศิวโรจน์ จิตนิยม, 5 กันยายน 2558) ช่วงเวลาเดียวกันน้ันมีการส่งเสริมให้ชุมชนและตาบลต่าง ๆ จัดทาแผนแม่บทชุมชน ราวปี 2542 – 2544 ผู้นาชุมชนในตาบลหนองสาหร่ายจึงร่วมกันไปศึกษาดูงานจากชุมชนต้นแบบ เกี่ยวกับการจัดทาแผนชุมชน เช่น ตาบลไม้เรียง จังหวัดนครศรีธรรมราช ตาบลเขาคราม จังหวัด กระบ่ี ได้สรุปสาคัญจากการศึกษาดูงานครั้งนั้น คือ กระบวนการจัดทาแผนแม่บทชุมชนเป็นวิธีการ สาคัญท่ีทาให้ชุมชนต่าง ๆ รู้จักตนเอง เรียนรู้การจัดการตนเอง การแก้ปัญหาและดาเนินการพัฒนา ด้วยตนเอง โดยส่งเสริมให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมในการกาหนดชีวิต กาหนดอนาคตตนเอง บนฐาน ของการค้นหาปัญหา สาเหตุ เสนอแนวทางในการแก้ปัญหาที่สอดคล้องวิถีชีวิตของหมู่บ้านตน กาหนดทิศทางการพัฒนาหมู่บ้านจากฐานทรัพยากรของชุมชน กระบวนการจัดทาแผนแม่บทชุมชน จึงเกิดขนึ้ โดยไดร้ ับการสนับสนุนจาก สาธารณสุข พัฒนาชุมชน ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั หลายแหง่ และสถาบนั พฒั นาองค์กรชมุ ชน ด้วยเหตุน้ีในปี พ.ศ. 2545 จึงมีการออกแบบสารวจชุมชนใช้การสารวจและสถิติเป็น วิธกี ารสาคัญในการสง่ เสรมิ ให้คนในชุมชนเรียนรูท้ ีจ่ ะวเิ คราะหต์ นเอง โดยมีเจ้าหน้าที่จากธนาคารเพื่อ การเกษตรและสหกรณ์มาให้คาแนะนาปรึกษาและให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้านเป็นผู้เก็บ ข้อมูลทาการสารวจรายได้ รายจ่าย หนี้สิน ตลอดทั้งปีของคนท้ังตาบลหนองสาหร่าย แม้จะพบกับ อปุ สรรคสาคัญในการเกบ็ ข้อมูลคือจาก 900 ครวั เรือน มผี ู้ให้ข้อมูลเพียง 500 ราย ข้อมูลที่นามาใช้ได้ มีเพียงข้อมูลจาก 200 กว่าครัวเรือน จึงนาเสนอในท่ีประชุมและวิเคราะห์ร่วมกันเร่ิมจากในระดับ หมูบ่ ้าน จากน้นั จงึ นาผลการประชมุ ทีไ่ ด้มาพูดคยุ รว่ มกันในระดับตาบล พบว่า รายได้ของคนในตาบล รวมแลว้ ประมาณ 76 ลา้ นบาทตอ่ ปี มรี ายจ่าย 72 ล้านบาทต่อปี ขณะท่ีมีหนี้สินทั้งในและนอกระบบ
134 ประมาณ 86 ล้าน จึงมีการตั้งคาถามร่วมกันในขณะนั้นว่า จะจัดการอย่างไรกับหนี้สินของคนรุ่น ปัจจุบัน จะนิ่งเฉยกลายเป็นมรดกตกทอดถึงรุ่นลูก รุ่นหลาน หรือร่วมกันจัดการหน้ีสินเหล่านี้ คนรุ่น ปจั จบุ ันต้องยุติการสร้างหนแ้ี ละหาทางปลดหน้ี จึงนาไปสู่การจัดทาแผนแม่บทชุมชนเป็นการวางแผน รว่ มกันเพ่ือแกป้ ญั หาคนในตาบล ในช่วงแรกของความพยายามที่จะทาให้เกดิ การจดั ทาแผนแมบ่ ทในระดับตาบลร่วมกัน นั้น พบปัญหาอุปสรรคค่อนข้างมาก เนื่องจากความไม่เข้าใจในแนวคิดการจัดทาแผนเพ่ือการ พ่งึ ตนเองวา่ มคี วามสาคญั อยา่ งไร เหตใุ ดตอ้ งมกี ารประชุมหลายครั้งหลายครา ในเมื่อมีผู้นาชุมชนแล้ว ทาไมชาวบ้านต้องเข้าร่วมกระบวนการดังกล่าว แต่เน่ืองจากมีการต้ังสภาองค์กรชุมชนตาบลหนอง สาหร่ายท่ีมาจากผู้นา ตัวแทนทุกกลุ่มในตาบลถึง 79 คน (สภา 79) โดยมีองค์การบริหารส่วนตาบล หนองสาหร่าย (อบต.) เป็นกลไกหนุนเสริมท่ีสาคัญยิ่งของชุมชน ร่วมกันระดมความคิด กาหนด แนวทาง และทางานร่วมกัน จึงทาให้การจัดทาแผนแม่บทชุมชนสาเร็จลุล่วงได้ นอกจากนี้ได้มีการ กาหนด “ปฏิทินชุมชน” เป็นปฏิทินการประชุมประจาเดือนของชุมชนหนองสาหร่าย ซ่ึงกาหนดวัน ประชุมประจาเดือนของทั้ง 9 หมู่บ้าน และวันประชุมระดับตาบล ท่ีประกอบด้วยสภาองค์กรชุมชน คณะกรรมการบริการองค์กรการเงินต่าง ๆ เพื่อเป็นกลไกส่งเสริมการมีส่วนร่วม โดยใช้การประชุม เป็นเวทีในการพูดคุยให้เกิดความรู้ ความเข้าใจเร่ืองการพัฒนาชุมชน เป็นเวทีปรึกษาหารือเร่ืองชีวิต ความเป็นอยู่ของคนในชมุ ชน ตอ่ มา ปี 2548 จงึ มกี ารกาหนดยทุ ธศาสตร์ชุมชน “อยู่ดีมีสุข” ตาบลหนองสาหร่าย โดยมีการกาหนดเปูาหมายในระดับตาบล คือ สร้างความสามัคคี พัฒนาชุมชน และสร้างความสุข ร่วมกัน แก้ปัญหาชุมชน 7 ด้าน ได้แก่ ปัญหาหน้ีสิน ปัญหาวัฒนธรรมประเพณีหายไป ปัญหาอาชีพ และรายได้ทางการเกษตรไม่มั่นคง ปัญหาการเมืองผู้นา ปัญหาด้านการศึกษา ปัญหาสุขภาพ และ ปัญหาส่ิงแวดล้อม จากนั้นผู้นาได้ประสานกับเจ้าหน้าที่ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ์มาช่วย วิเคราะห์ปัญหาดังกล่าว โดยใช้แนวคิดว่าชุมชนเหมือนตุ่มน้า ปัญหาคือรูร่ัว รั่วจุดใด ทางแก้ปิดรูรั่ว น้ัน เปล่ียนจากให้เงินออกจากชุมชนมาเป็นเงินไหลเวียนในชุมชนโดยสร้างผลิตภัณฑ์หรือกิจกรรม ชุมชนทดแทน มีการสารวจข้อมูลชุมชนอีกครั้ง พบว่า ชาวบ้านหนองสาหร่ายทั้งตาบล 900 กว่า ครอบครัว มีรายได้ปีละ 185 ล้านบาท ในขณะท่ีมีรายจ่าย 123 ล้านบาท และมีหน้ี 101 ล้านบาท ดังน้ันจึงมกี ารกาหนดแนวทางแกป้ ญั หาร่วมกันในระดับตาบล โดยพิจารณาตัวเลขรายจ่ายสาเหตุของ ปัญหานั้น และนาจุดเด่นของแต่ละหมู่บ้านมากาหนดเป็นโครงการ/กิจกรรมในการแก้ปัญหานั้น ๆ ได้แก่ (1) ปัญหารายจ่ายจากการซื้อปุ๋ยเคมีปีละ 35 ล้านบาท ให้หมู่ที่ 1 รับผิดชอบผลิตปุ๋ยอินทรีย์ บริการท้ังตาบล (2) รายจ่ายจากการซื้อน้าด่ืมปีละ 5 ล้านบาท ส่งเสริมหมู่ท่ี 2 รวมกลุ่มผลิตน้าดื่ม (3) รายจา่ ยจากการซ้ือแกงถุง ส่งเสริมหมู่ที่ 3 ผลิตพริกแกง (4) ปัญหาด้านหน้ีสินการเงิน ให้หมู่ท่ี 4 รบั ผิดชอบ (5) รายจ่ายจากการซ้ือน้ายาซักผ้า น้ายาล้างจาน มอบหมายหมู่ที่ 5 รวมกลุ่มน้ายาซักผ้า
135 น้ายาล้างจาน (6) ปัญหาเกี่ยวกับการเกษตร หมู่ท่ี 6 รับผิดชอบเร่ืองตลาดกลางรับซ้ือข้าวเปลือก มี โรงสขี า้ ว โรงเรยี นชาวนา และศูนยเ์ รียนร้เู ศรษฐกจิ พอเพียง และ หมู่ 7 รับผิดชอบเร่ืองดินปลูกต้นไม้ (7) รายจา่ ยจากการซื้อขนมถุงกิน สง่ เสริมหมู่ 8 ผลิตกล้วยฉาบขายภายหลังเป็นกลุ่มเบเกอรี่ สุดท้าย (8) รายจ่ายด้านสิ่งแวดล้อม การจัดการขยะ โดยส่งเสริมผู้สูงอายุผลิตไม้กวาด ควบคู่ไปกับการออก กาลงั กายเพ่ือดแู ลสุขภาพ ท้ังน้ีจากข้อเสนอในท่ีประชุมเกี่ยวกับปัญหาและแนวทางแก้ไขหน้ีสินของคนในชุมชน ประการหนึ่ง พบว่า ชุมชนมีกลุ่ม กองทุนต่าง ๆ เช่น กองทุนชมรม อสม. เครือข่ายกองทุนหมู่บ้าน กองทุนฌาปนกิจ กองทุนสวัสดิการบ้านหนองขุย ท่ีจัดสวัสดิการแก่สมาชิก แต่ยังไม่ครอบคลุมทุก กลุม่ คน ไมค่ รบทกุ เรือ่ งท่เี กี่ยวพันกับชีวิต ปี 2545 จึงมีการประชุมและกาหนดแนวทางแก้ไขโดยการ นาผลกาไรจากกลุม่ ออมทรัพย์และกองทุนหมบู ้าน และจากการสมทบเพ่ิมของสมาชิกมาจัดสวัสดิการ เพื่อต้ังเป็นกองทุนสวัสดิการชุมชนตาบลหนองสาหร่าย จัดสวัสดิการดูแลสมาชิกต้ังแต่แรกเกิด ทุนการศึกษา กีฬา ทุนประกอบอาชีพ แต่งงาน ตั้งครรภ์ เจ็บปุวย ผู้พิการ ผู้สูงอายุ และเสียชีวิต ซึ่ง ต่อมาภายหลังมีการเช่ือมโยงกับธนาคารความดี เช่น จัดสรรที่ดินทากินครอบครัวละ 2 ไร่ ให้กับผู้ ผา่ นเกณฑ์คนดศี รสี งั คม จัดสวัสดิการผู้นาชุมชน การทาดีเป็นทุน การปลอดหนี้โดยใช้คุณธรรมความ ดีคา้ ประกนั ปี 2548 มีการประชุมร่วมกันของสภาองค์กรชุมชน ผู้แทนชุมชนกว่า 100 คน เพื่อ กาหนดเกณฑ์ความสุขและตัวช้ีวัดความดีหรือคนดีของชุมชนตาบลหนองสาหร่าย ภายใต้ ยุทธศาสตร์ชุมชน “อยู่ดีมีสุข” ตาบลหนองสาหร่าย ซ่ึงพัฒนาจากการเปล่ียนวิธีคิดท่ีมีต่อปัญหาต่าง ๆ ท่ีพบในขณะน้ัน ด้วยการนาความดีแก้ไขความทุกข์หรือปัญหาที่พบ จึงกาหนดเปูาหมายความดีที่ ต้องการให้เกิดขึ้นในชุมชน 9 ข้อ ได้แก่ ผู้นาและผู้ตามดี สุขภาพดี อาชีพดี ครอบครัวดี สามัคคีดี องคก์ รดี เรียนรู้ดี สวัสดิการดี วัฒนธรรมดี จากเปูาหมาย 9 ความดี นาไปสู่เกณฑ์ความดี 22 ข้อ 63 ตัวช้ีวัด (ปี 2554 ถึงปัจจุบัน เพิ่มขึ้นเป็น 23 ข้อ 67 ตัวชี้วัด) ซ่ึงความดีตามนิยามของหนองสาหร่าย คือ 1) เป็นสิ่งท่ีเราทาแล้วเป็นประโยชน์ต่อตัวเรา ครอบครัว กลุ่ม สังคมและชุมชน 2) ต้องไม่ เบียดเบยี นผูอ้ นื่ และทาลายสง่ิ แวดล้อม 3) ยิง่ ทายิง่ มคี วามสามารถ ปี 2549 มีการบูรณาการองค์กรการเงินตั้งเป็นสถาบันการเงินชุมชนตาบลหนอง สาหร่าย การพัฒนาชุมชนโดยใช้แผนแมบ่ ทชุมชนและการรวมกลุ่มตั้งเป็นองค์กรชุมชนดาเนินการมา อย่างต่อเน่ือง มีการน้อมนาแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รชั กาลท่ี 9 มาประยุกต์ใช้ในการบรหิ ารจดั การสถาบันการเงนิ ชมุ ชน สง่ เสรมิ ให้คนในตาบลเรียนรู้การ ออม การประหยัด การลดรายจ่ายเพ่ิมรายได้ การบูรณาการองค์กรการเงินเกิดข้ึนเน่ืองจากในการ จัดทาแผนแม่บทชุมชนมีการวิเคราะห์ต้นทุนชุมชนโดยเฉพาะด้านองค์กรการเงินพบว่า ในตาบลมี กองทุนต่าง ๆ รวมกันท้ังหมด 93 กลุ่ม มีเงินทุนรวมประมาณ 14 ล้านบาท จึงมีการประชุมร่วมกัน
136 ระหว่างคณะกรรมการองค์การการเงินต่าง ๆ และผู้นาชุมชนในขณะน้ัน จัดตั้งสถาบันการเงินชุมชน ขึ้น โดยมีแนวคิดสาคัญในช่วงแรกที่ก่อต้ัง คือ “ไม่ต้องเอาเงินออมจากรายได้ แต่ให้อดออมจาก รายจ่าย” เพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้ร่วมกันด้วยการลดค่าใช้จ่าย โดยการปลูกพืชผักสวนครัวร้ัวกินได้ อย่างน้อย 3 ชนิดต่อหน่ึงหลังคาเรือน และทาบันทึกรายรับรายจ่าย ซึ่งเป็นตัวช้ีวัดความดีและคนดี ภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ มุ ชนอยดู่ มี ีสขุ ตาบลหนองสาหร่าย สถาบันการเงินชุมชนตาบลหนองสาหร่ายให้บริการรับฝากเงินและให้กู้ยืม มีการ คดั เลือกตัวแทนจากทกุ หมบู่ ้านเป็นคณะทางานทาหน้าที่กากับดูแลการบริหารจัดการ และติดตามผล การดาเนนิ งาน และมคี ณะกรรมการบริหาร ทาหน้าท่ีเป็นสภาผู้นาองค์กรชุมชน ค้นหาและรับรองคน ดี ความดี และติดตามผลการใช้ทุนของสมาชิก โดยมีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาเงินกู้ ดังน้ี ประการ แรก เป็นสมาชิกสถาบันการเงินชุมชนตาบลหนองสาหร่าย ประการที่สอง จัดทาบันทึกบัญชีรายรับ- จา่ ยครัวเรอื น ประการท่ีสาม มีการออมทรัพย์ประจาเดือน ประการที่สี่ เป็นสมาชิกกองทุนสวัสดิการ ชมุ ชนตาบลหนองสาหรา่ ย ประการที่หา้ ปลูกผักสวนครัวอยา่ งน้อย 5 ชนดิ (ปัจจบุ ันเพิ่มเป็น 7 ชนิด) และประการท่หี ก ปฏิบัตติ ามแผนการแก้ปัญหาความยากจนและหนี้สินของตาบล ด้านการจัดสรรผล กาไรมีการสนับสนุนกองทุนสวัสดิการชุมชนตาบลหนองสาหร่ายร้อยละ 30 นอกจากนั้นนาไปปลด หนธี้ นาคารความดแี ละสง่ เสริมผลติ ภัณฑ/์ กิจกรรมชมุ ชน 9 หมู่บา้ น ปี 2550 มีการก่อต้ังธนาคารความดีชุมชนตาบลหนองสาหร่าย หลังจากตัวช้ีวัด ความดีถูกนาไปส่งเสริมคนในชุมชนใช้เป็นแนวทางปฏิบัติแนวทางในการดาเนินชีวิตร่วมกัน ต่อมาใน การทาประชาคมร่วมกันมีข้อเสนอว่า ควรมีแหล่งรวบรวมความดีของคนในชุมชน และนามาใช้ ประโยชน์ในการพฒั นาคนในชมุ ชนตอ่ ไป จึงมีการตงั้ ธนาคารความดขี น้ึ เน้นการ “ฝากความดี พัฒนา คุณธรรมชุมชน ใช้ความดีเข้าถึงแหล่งทุน” มีการจดบันทึกความดีให้กับคนท่ีทาความดีเป็นประจา เพือ่ เป็นศูนย์ข้อมูล เป็นที่รวบรวมเอกสารความดีของบุคคล กลุ่มองค์กรในชุมชน และเพ่ือส่งเสริมให้ คนดีเข้าถึงแหล่งทุนได้ ควบคู่ไปกับการพัฒนาคุณธรรมชุมชน เป็นการสร้างคุณค่าความเป็นคนผ่าน กระบวนการมีส่วนร่วมคนในชุมชน ดว้ ยการสรา้ งเกณฑค์ วามดี 22 ข้อ 63 ตวั ช้ีวัด จากกระบวนการมี ส่วนร่วมท่ีคนในชุมชนออกแบบเกณฑ์ความดีและตัวช้ีวัดภายใต้บริบทชุมชนด้วยตนเอง ดังคากล่าว ท่ีว่า “ความดีต้องกินได้ ความดีปลดหนี้ได้” โดยใช้ความดีเป็นหลักค้าประกันในการเข้าถึงแหล่งทุน หรอื ก้เู งินจากองคก์ รการเงนิ ในชมุ ชนได้ ปัจจุบันตาบลหนองสาหร่ายมีกลุ่มท่ียังคงมีการดาเนินกิจกรรมของสมาชิกร่วมกัน อย่างต่อเน่ืองในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านการเกษตร เช่น กลุ่มเกษตรกรทานาตาบลหนองสาหร่าย กลุ่ม ปยุ๋ อินทรียอ์ ดั เมด็ กลุ่มเลีย้ งสัตว์ กลุ่มปลูกข้าวปลอดสารพิษ กลุ่มปลูกอ้อย กลุ่มปลูกข้าวโพดฝักอ่อน กลุ่มตลาดกลางข้าว กลุ่มกองทุนซื้อปุ๋ย กลุ่มผลิตน้าหมักชีวภาพและสารชีวภัณฑ์ กลุ่มปลูกพืช พลงั งานทดแทน กลมุ่ ผลิตพนั ธุข์ ้าว โรงสขี ้าวชุมชน ด้านการเงิน เช่น สถานบันการเงินชุมชนตาบล
137 หนองสาหร่าย กองทุนหมู่บ้านตาบลหนองสาหรา่ ย กองทุน กขคจ. กลุ่มออมทรัพย์ กองทุนสวัสดิการ ชุมชน กองทุนเพ่ือการศึกษา กองทุนเงินล้าน กลุ่มฌาปนกิจหมู่บ้านตาบลหนองสาหร่าย ด้านกลุ่ม ทางสังคมและวัฒนธรรม เช่น ธนาคารความดี กลุ่มเยาวชนตาบลหนองสาหร่าย กลุ่ม อสม. กลุ่ม แม่บ้านและสตรีตาบลหนองสาหร่าย กลุ่มสตรีอาสาพัฒนาหมู่บ้านตาบลหนองสาหร่าย กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มวัฒนธรรมตาบลหนองสาหร่าย กลุ่มต่อต้านยาเสพติด กลุ่มออกกาลังกาย ด้านเศรษฐกิจ กลุ่ม อาชีพ กลุ่มสาธิตร้านค้าชุมชน กลุ่มสินค้าชุมชนต่าง ๆ เช่น กลุ่มผลิตน้าดื่ม กลุ่มค้าขาย กลุ่มเย็บผ้า กลุ่มรับจ้าง กลุ่มจักสาน กลุ่มธนาคารรีไซเคิล กลุ่มน้ายาเอนกประสงค์ โรงงานปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด โรงงานผลติ น้าดมื่ โรงงานเบเกอรี่ ป้มั น้ามนั ชมุ ชน 2.2 ขอ้ มลู ทว่ั ไปเกย่ี วกบั การเสรมิ สรา้ งความมั่นคงทางอาหารของชุมชน ผลการศึกษาเอกสารท่ีเกี่ยวข้อง การสังเกต และการสัมภาษณ์ผู้นาชุมชนและสมาชิก ชมุ ชน อาจกล่าวโดยสรปุ ถึงการดาเนินกิจกรรมท่ีผ่านมาของชุมชนท่ีเก่ียวข้องกับการเสริมสร้างความ มนั่ คงทางอาหารของตาบลหนองสาหร่ายได้ ดังน้ี 2.2.1. การเสรมิ สร้างความม่ันคงทางอาหารในมิตขิ องการเข้าถึงอาหารท่ีมีคุณภาพ มีความปลอดภัยดา้ นอาหารและโภชนาการ 1) ด้านสุขภาพ ชุมชนหนองสาหร่ายมีความเส่ียงต่อความไม่มั่นคงทางอาหาร ด้านความปลอดภัยเพราะนิยมซื้อพืชผัก อาหารสาเร็จรูปมากกว่าผลิตและปรุงอาหารในครัวเรือน พิจารณาจากผลกระทบด้านสุขภาพของคนในชุมชนที่เกิดจากอาหาร ได้แก่ ปี 2549 อาสาสมัคร สาธารณสุขมีการอบรมให้ความรู้เก่ียวกับปัญหาและวิธีการปูองกันเกี่ยวกับการปนเปื้อนของสารเคมี ในพืชผลทางการเกษตรที่นามาเป็นอาหาร โดยเฉพาะข้าวและพืชผักต่าง ๆ มีการตรวจสารเคมีใน เลือดของคนในชุมชนซึ่งพบว่า ส่วนใหญ่มีสารเคมีตกค้างในเลือดอยู่ในระดับไม่ปลอดภัย ขณะเดียวกันพบวา่ คนในชุมชนมีปัญหาจากพฤติกรรมการบริโภคและโภชนาการท่ีไม่เหมาะสมได้รับ สารอาหารบางอย่างไม่เพียงพอและมากเกินไป ขาดการออกกาลังกาย ส่งผลกระทบต่อสุขภาพใน ระยะยาว ดังท่ีพบได้จากอัตราผู้ปุวยเร้ือร้ังมากขึ้น เช่นที่พบว่ากว่าครึ่งหน่ึงของจานวนผู้สูงอายุใน ตาบลเปน็ โรคเบาหวานความดันโลหิตสงู จึงกาหนดตวั ช้ีวัดความดีของคนหนองสาหร่ายใน ข้อที่ 2 ว่า ต้องมีสุขภาพดี มีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง มีการบริโภคอาหารให้เป็นไปตามน้าหนักตามเกณฑ์ อายุ และส่วนสงู รวมทัง้ มกี ารออกกาลังกายสม่าเสมอ และกาหนดมาตรการสนับสนุนให้ครัวเรือนปลูกผัก ไวร้ ับประทาน สร้างเครอื ขา่ ยผลติ อาหารภายในชมุ ชน เพ่ือให้สามารถตรวจสอบแหล่งท่ีมาของอาหาร ที่จะนามาจาหนา่ ยในชมุ ชน 2) ด้านกระบวนการผลิต เผชิญกับความเส่ียงจากการพ่ึงพาภายนอกสูงต้ังแต่ เมล็ดพนั ธ์ุ ปุ๋ยเคมี ยาฆ่าแมลง และการขายให้กับพ่อค้าคนกลาง จึงมีความพยายามท่ีจะสนับสนุนให้
138 เกษตรกรหันมาให้ความสาคัญกับการทาเกษตรที่ปลอดภัยท้ังต้อเกษตรกรและผู้บริโภค ลดการใช้ สารเคมใี นการเกษตรและสง่ เสรมิ ให้เกษตรกรผลิตในระบบเกษตรอินทรีย์มากข้ึน แม้ว่าเกษตรกรส่วน ใหญ่ยังคงไม่ได้ปรับเปล่ียนไปสู่การทาเกษตรอินทรีย์ แต่มีการส่งเสริมให้หันมาผลิตในระบบที่ ปลอดภัยจากสารเคมีให้มากที่สุด และให้ความสาคัญกับการเพาะปลูกพืชอาหารเพ่ือบริโภคใน ครัวเรือนมากข้ึน โดยผลจากการจัดทาแผนแม่บทตาบลกาหนดให้หมู่ท่ี 6 และหมู่ที่ 7 ส่งเสริมองค์ ความรู้และพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่สนับสนุนการทาเกษตรอินทรีย์ ได้แก่ ปุ๋ยอินทรีย์ สารไล่แมลง และมี การจดั ทาโครงการรณรงค์การปลกู ข้าวปลอดภัย ตามมาตรฐานสินคา้ เกษตรการปฏิบัติทางการเกษตร ทด่ี ี (Good Agricultural Practice - GAP) ต่อมาในปี 2554 มีการนาข้อมูลการสารวจสถานการณ์ความม่ันคงทาง อาหารเสนอในการกระบวนการจัดทาแผนแม่บทชุมชน ทาให้มีการเพ่ิมความดีข้อท่ี 23 โดยมีตัวชี้วัด สาคัญ 4 ข้อ ได้แก่ 1) การใช้สารเคมีอย่างเหมาะสม ลดการใช้สารเคมี 2) ปลูกผักสวนครัวร้ัวกินได้ ชว่ งปีแรก ๆ กาหนดให้ทุกครัวเรอื นปลกู พชื ผักอย่างน้อย 3 ชนิด เพ่ิมเป็น 5 ชนิด ปัจจุบันเพิ่มเป็น 7 ชนิด 3) ส่งเสริมการคดั แยะขยะ และ 4) การไม่เผาตอซัง 2.2.2) การเพ่ิมศักยภาพของครัวเรือนและชุมชนในการแก้ไขปัญหาและการ รวมกลุ่มช่วยเหลอื กนั ด้านอาหารของชุมชน โดยมีการเช่ือมโยงกับมิติทางวัฒนธรรมและการพัฒนา โดยพบวา่ ชุมชนหนองสาหร่ายมกี ารพัฒนาระบบการช่วยเหลือกันของชุมชน ในรูปกองทุนต่าง ๆ ใน ระดับตาบล ไดแ้ ก่ สถาบนั การเงนิ ชุมชนตาบลหนองสาหรา่ ย ธนาคารความดี กองทุนสวัสดิการชุมชน ตาบลหนองสาหร่าย ส่งเสริมให้คนเรียนรู้และนาไปปฏิบัติ ผ่านการสร้างเง่ือนไขและกาหนดเป็น บรรทัดฐานบูรณการเข้าสู่ชีวิต เป็นแนวปฏิบัติสาหรับคนในชุมชน ผ่านตัวช้ีวัดความดี เร่ืองกลุ่ม องค์กรดี ที่ประกอบด้วยตัวชี้วัด ได้แก่ 1) มีการรวมกลุ่มกันทางานและสามารถแก้ไขปัญหาได้ 2) มี โครงสร้างการบริหารและมีคณะกรรมการ 3) มีระเบียบข้อบังคับที่ชัดเจน และ 4) ผ่านการยอมรับ ของชุมชน รวมทั้งมีการแบ่งปันอาหารระหว่างคนในชุมชน ผ่านกิจกรรมตลาดนัดความรัก เพื่อเป็น เง่ือนไขที่ใช้ในการนาเสนอและติดตามความหลากหลายของผลผลิต พืชผักท่ีส่งเสริมให้มีการ เพาะปลูก ตามตวั ชว้ี ดั การปลกู ผกั สวนครัวรั้วกนิ ได้ 2.3 กระบวนการเรียนรทู้ เ่ี สรมิ สรา้ งความม่ันคงทางอาหารในชุมชนหนองสาหรา่ ย จากการศึกษาเอกสาร สัมภาษณ์ผู้นาและสมาชิกในตาบลหนองสาหร่าย พบว่า กระบวนการที่ทาให้คนในตาบลหนองสาหร่ายหันมาให้ความสาคัญกับการเรียนรู้และปฏิบัติการที่ นาไปสู่การเสริมสร้างความมั่นคงทางอาหารมาอย่างต่อเนื่อง ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบสาคัญ ได้แก่ เปูาหมายการเรยี นรู้ เน้อื หา กระบวนการ และผลการเรียนรู้ ดังน้ี
139 2.3.1 ด้านเป้าหมายการเรียนรู้ ของตาบลหนองสาหร่าย ให้ความสาคัญกับ เปูาหมายของการเรียนรแู้ ละปฏบิ ัตกิ ารทีเ่ สรมิ สรา้ งความมน่ั คงทางอาหาร ดงั นี้ คอื ประการแรก คือ การเข้าถึงอาหารที่มีคุณภาพ โดยเฉพาะด้านความ ปลอดภยั และโภชนาการ โดยเช่อื มโยงกับมิตกิ ารส่งเสรมิ สขุ ภาพ ประการที่สอง การพึ่งตนเองด้านอาหารในมิติของการเพ่ิมสัดส่วนของ อาหารทีม่ าจากการผลิตเพื่อบรโิ ภคในครัวเรือนทเ่ี ชอื่ มโยงกับการลดรายจ่ายด้านอาหารของครัวเรือน และ ประการที่สาม การเพ่ิมศักยภาพของครัวเรือนและชุมชนในการแก้ไขปัญหา และช่วยเหลอื กนั ดา้ นอาหารปลอดภัย 2.3.2 ด้านเน้ือหา จากกระบวนการเรียนรู้ของชุมชนข้างต้น กล่าวได้ว่า เนื้อหาใน การเรียนรูท้ ่สี าคญั ไดแ้ ก่ 2.1) การจัดทาแผนชุมชนแบบบูรณาการ เพื่อสร้างระบบการช่วยเหลือกัน ของคนในชุมชนโดยใช้องคก์ รชมุ ชนเป็นฐาน 2.2) ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยด้านอาหารและโภชนาการ ได้แก่ กระบวนการผลิตอาหารท่ีปลอดภยั ลดการใช้สารเคมี มาตรฐานการผลิตอาหารปลอดภัย ด้านสุขภาพ เรยี นรู้เรอ่ื งโรคและความเจ็บปวุ ยท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั อาหาร 2.3.3 ด้านกระบวนการเรยี นรู้ อาจกล่าวโดยสรุปถึงกระบวนการ วิธีการเรียนรู้ และแหล่งเรียนรู้ท่ีส่งเสริม การเรยี นรสู้ กู่ ารเปล่ยี นแปลงด้านความม่ันคงทางอาหารของชุมชนหนองสาหรา่ ย ไดด้ งั นี้ 1) รับรแู้ ละตระหนักถึงสถานการณ์ท่กี ระทบต่อความปลอดภยั ด้านอาหาร เร่ิมต้นจากผู้นาชุมชนนาเอาเหตุการณ์ท่ีสมาชิกในชุมชนท่ีสังเกต พบว่า พืชผักในท้องตลาดซึ่งเคยเชื่อว่าน่าจะปลอดภัยกว่าผลผลิตที่ตนเองเพาะปลูก (ซึ่งใช้สารเคมีอย่าง เข้มข้นจึงไมก่ ลา้ กนิ ผกั ของตน) ไม่เป็นความจรงิ เพราะผักท่ีตนซ้ือจากตลาดในหมู่บ้านเป็นผักที่ตนเพ่ิง ส่งขายไปเม่ือวาน โดยมีการนาข้อมูลดังกล่าวไปเล่าสู่ให้ผู้นาชุมชนคนอ่ืน และนาเสนอในที่ประชุม หมู่บ้าน โดยเชื่อมโยงกับข้อมูลการเจ็บปุวยเร้ือรังจากพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม และข้อมูล สารเคมีตกค้างในกระแสเลือดท่ีอยู่ในระดับเสี่ยงและไม่ปลอดภัยของคนในชุมชน ปัญหาหนี้สิน และ ข้อมูลตัวเลขรายรับและรายจ่ายของคนในตาบล โดยเฉพาะรายจ่ายด้านต้นทุนการผลิตที่เป็นปุ๋ยเคมี และสารเคมีกาจัดศตั รูพืช
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328