Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PDsurveyrecommendation final

PDsurveyrecommendation final

Published by 1.patanrad, 2019-10-21 06:50:30

Description: PDsurveyrecommendation final

Search

Read the Text Version

20. ข้อแนะนำกำรปฏิบตั ิกำรทดสอบประสิทธิภำพเย่ือบผุ นังช่องท้อง (Peritoneal Equilibration Test ;PET) วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื เป็นการประเมนิ ประสทิ ธภิ าพเย่อื บุผนงั ชอ่ งทอ้ ง 2. เพ่อื เป็นแนวทางปฏบิ ตั งิ านสาหรบั พยาบาล อปุ กรณ์ 1. 2.5% Dextrose หรอื 2.3% Glucose dialysate 2,000 มลิ ลลิ ติ ร จานวน 1 ถงุ 2. อปุ กรณ์สาหรบั เปลย่ี นน้ายา 3. ตาชงั่ แขวน 3 - 5 กโิ ลกรมั จานวน 1 อนั 4. Tube clot blood จานวน 1 tube 5. Tube เปลา่ 10 มลิ ลลิ ติ ร จานวน 3 tube 6. Syringe 5 หรอื 10 มลิ ลลิ ติ ร จานวน 3 อนั 7. Syringe 5 มลิ ลลิ ติ ร จานวน 1 อนั 8. Needle No.21 จานวน 1 อนั ( สาหรบั เจาะเลอื ด ) 9. Needle No.24 จานวน 3 อนั ( สาหรบั เกบ็ ตวั อย่างน้ายา ) 10. Tourniquet จานวน 1 อนั 11. ผา้ ปิดปากและจมกู จานวน 1 ผนื 12. ถุงมอื disposable จานวน 2 คู่ 13. 10% povidone iodine หรอื 2% Chlorhexidine in 70%Alcohol ขนั้ ตอนกำรปฏิบตั ิ

1. ใหผ้ ปู้ ่วยใส่น้ายาคา้ งไวใ้ นชอ่ งทอ้ งตงั้ แตก่ อ่ นนอน เพอ่ื ใหน้ ้ายาอยใู่ นชอ่ งทอ้ งมากกวา่ 4 ชวั่ โมง โดยใหม้ าปลอ่ ยน้ายาทโ่ี รงพยาบาล สาหรบั ผปู้ ่วยทท่ี าการลา้ งไตทางชอ่ งทอ้ งแบบใชเ้ ครอ่ื ง APD ใหต้ งั้ การ ทางานของเครอ่ื งโดยใหม้ ี LAST FILL เท่ากบั จานวนทต่ี อ้ งการคา้ งน้ายา ก่อนทจ่ี ะเรม่ิ ลา้ งไต โดยคานวณ เวลาใหน้ ้ายาทใ่ี สร่ อบสดุ ทา้ ยอยูใ่ นชอ่ งทอ้ งมากกวา่ 4 ชวั่ โมง 2. ผปู้ ่วยมาโรงพยาบาลในตอนเชา้ ปล่อยน้ายาทใ่ี ส่คา้ งไวใ้ นชอ่ งทอ้ งตงั้ แต่กอ่ นนอน โดยใชเ้ วลา อยา่ งนอ้ ย 20 นาทใี นท่านงั่ ตวงปรมิ าตรน้ายาทป่ี ลอ่ ยออก 3. เปลย่ี นน้ายาตามขนั้ ตอนการเปลย่ี นน้ายาของแตล่ ะระบบ โดยใชน้ ้ายา 2.5% Dextrose หรอื 2.3% Glucose dialysate 2,000 มลิ ลลิ ติ ร ใสเ่ ขา้ ชอ่ งทอ้ งท่านอน ดว้ ยอตั รา 400 มลิ ลลิ ติ ร ในเวลา 2 นาที ใชเ้ วลาทงั้ หมด 10 นาที 4. ใหผ้ ปู้ ่วยพลกิ ตวั ไปมาทุก ๆ 400 มลิ ลลิ ติ ร ทใ่ี ส่น้ายาเขา้ ไปบนั ทกึ เวลาทน่ี ้ายาเขา้ ทอ้ งหมดเป็น เวลาท่ี 0 (zero time) หลงั จากปลอ่ ยน้ายาเขา้ ชอ่ งทอ้ งหมด ใหป้ ล่อยน้ายาออกจากชอ่ งทอ้ งทนั ที 200 มลิ ลลิ ติ ร (ไมร่ วมน้าหนกั ถงุ น้ายา) 5. เขย่าถงุ ไปมา ใชส้ าลี sterile ชบุ 10% povidone iodine solution หรอื ใช้ 2%Chlorhexidine in 70%Alcohol เชด็ injection port ทง้ิ ไวใ้ หแ้ หง้ จากนนั้ ใช้ syringe 10 มลิ ลลิ ติ ร หวั เขม็ เบอร์ 24 เกบ็ ตวั อยา่ งน้ายา 10 มลิ ลลิ ติ ร จากถงุ ทเ่ี วลาท่ี 0 ปิดฉลากเป็น PET#1 ส่งตรวจ sugar และ creatinine จากนนั้ ใสน่ ้ายาทเ่ี หลอื กลบั คนื เขา้ ชอ่ งทอ้ ง 6. ทเ่ี วลา 2 ชวั่ โมง ปล่อยน้ายาออกเชน่ เดยี วกบั ขอ้ 4 และเกบ็ ตวั อยา่ งน้ายาสง่ ตรวจเชน่ เดยี วกบั ขอ้ 5 ปิดฉลากเป็น PET#2 ส่งตรวจ sugar และ creatinine พรอ้ มกบั เจาะเลอื ดผปู้ ่วยเพ่อื สง่ ตรวจ sugar และ creatinine 7. ทเ่ี วลา 4 ชวั่ โมง ใหป้ ล่อยน้ายาออกโดยจนหมดใชเ้ วลาอย่างน้อย 20 นาที ในทา่ นงั่ (หรอื ทา่ ท่ี น้ายาไหลออกเรว็ ทส่ี ดุ ) เปลย่ี นถุงน้ายาตามขนั้ ตอนการเปลย่ี นน้ายา เขยา่ ถุงน้ายา เกบ็ ตวั อยา่ งน้ายา 10 มลิ ลลิ ติ ร ปิดฉลากเป็น PET#3 สง่ ตรวจ sugar และ creatinine 8. ตวงปรมิ าตรน้ายาทป่ี ลอ่ ยออกไว้ บนั ทกึ ปรมิ าตรโดยรวมกบั ปรมิ าตรน้ายา 30 มลิ ลลิ ติ ร ทท่ี า การสง่ ตรวจดว้ ย 9. นาผลเลอื ดและผลการตรวจน้ายา dialysate มาคานวณและทาการ plot graph เพอ่ื เปรยี บเทยี บ ประสทิ ธภิ าพการแลกเปลย่ี นของเสยี และน้าของผปู้ ่วยวา่ อย่ใู นระดบั ใด หมำยเหตุ ระหวา่ งทาการตรวจ ผปู้ ่วยสามารถทากจิ วตั รประจาวนั ไดต้ ามปกติ รวมทงั้ รบั ประทานอาหารได้ Modified PET : เป็นการทดสอบประสทิ ธภิ าพของเยอ่ื บุผนงั ชอ่ งทอ้ ง โดยการใชน้ ้ายา Dialysis ความ เขม้ ขน้ 4.25% Dextrose ( 3.86%G ) แทนการใช้ 2.5% Dextrose ( 2.36%G)ของวธิ ี Standard PET

โดยมเี หตผุ ลในการเปลย่ี นแปลงความเขม้ ขน้ ของน้ายา ดงั้ น้ี 1.ลดความผดิ พลาดของปรมิ าตร net UF ทใ่ี ชว้ นิ ิจฉยั UF failure 2.ชว่ ยในการวนิ ิจฉยั ภาวะ AQP deficiency โดยการตรวจ Na+ dipping 3. D/P solute ทไ่ี ดจ้ ากการใช้ 4.25% Dextrose และ 2.5% Dextrose ไม่แตกตา่ งกนั 4.เพ่อื ใหก้ ารวนิ จิ ฉยั UF failure ถูกตอ้ ง กำรตรวจผนังช่องท้องผปู้ ่ วยล้ำงไตทำงช่องท้องแบบ Modified PET จะเหมอื นกบั การทดสอบ standard PET ยกเวน้ 1. เปลย่ี นใชค้ วามเขม้ ขน้ ของน้ายา dialysis จาก 2.5% dextrose เป็น 4.25% dextose 2. วดั ความเขม้ ขน้ ของ Na+ ทงั้ ในน้ายา dialysis และในพลาสมาเพม่ิ ขน้ึ จากเดมิ วดั แต่ Cr และ Glucose 3. เกบ็ ตวั อย่างน้ายา dialysis เพม่ิ ขน้ึ อกี 1 ครงั้ คอื ทเ่ี วลา 0, 1, 2 และ 4 ชวั่ โมง เหตุผลทเ่ี พมิ่ การ เกบ็ ตวั อย่างน้ายา dialysis ท่ี 1 ชวั่ โมง กเ็ พอ่ื ใชค้ านวณ Na+ dipping ขอ้ ควรระวงั กอ่ นกำรทำ PET 1. ผปู้ ่วยไม่มภี าวะ dehydration 2. ผปู้ ่วยไม่มภี าวะ hyperglycemia 3. สง่ น้ายาตรวจทนั ที 4. ไมม่ ี peritonitis ภายใน 1 เดอื น 5. ไมม่ ี mechanical failure 6. ในกรณที ห่ี อ้ งปฏบิ ตั กิ ารใชว้ ธิ ี Jaffe ตอ้ งทาการ correction ค่า creatinine เอกสำรอ้ำงอิง 1. ฉตั รสดุ า เออ้ื มานะพงษ,์ อจั ฉรา บุญกาญจน์,ป่ินแกว้ กลา้ ยประยงค,์ จนั ทนา ชน่ื วสิ ทิ ธิ ์บรรณาธกิ าร. แนวทางปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลสาหรบั การฟอกเลอื ดดว้ ยเคร่อื งไตเทยี มและการลา้ งไตทางชอ่ งทอ้ ง.พมิ พ์ ครงั้ ท่ี 1.กรุงเทพฯ: เอส.พ.ี เอม็ . การพมิ พ;์ 2550. 2. เถลงิ ศกั ดิ์กาญจนบุษย์ บรรณาธกิ าร.ตาราแนวปฏบิ ตั กิ ารลา้ งไตทางชอ่ งทอ้ ง Textbook of Practical Peritoneal Dialysis. พมิ พค์ รงั้ ท่ี 1. กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั ศริ วิ ฒั นาอนิ เตอรพ์ รน้ิ ท์ จากดั (มหาชน); 2556.

3. สมชาย เอย่ี มออ่ ง,เกรยี ง ตงั้ สงา่ ,อนุตตร จติ ตนิ นั ทน์,เถลงิ ศกั ดิ ์ กาญจนบุษย,์ ดสุ ติ ล้าเลศิ กลุ ,ประเสรฐิ ธนกจิ จารุ บรรณาธกิ าร.Textbook of Peritoneal Dialysis.พมิ พค์ รงั้ ท่ี 1.กรงุ เทพฯ:บรษิ ทั เทก็ ซ์ แอนด์ เจอรน์ ลั พบั ลเิ คชนั่ จากดั ; 2551. 4. Twardowski ZJ,Nolph KD,Khanna R, et al.Peritoneal equilibration test. Peritoneal Dialysis Bulletin 7:138-47,1987 5. Twardowski ZJ,Prownt BF,Moore HL,et al. Short peritoneal equilibration test:impact of preceding dwell time.Advance Peritoneal Dialysis 19:53-58,2003

21. ข้อแนะนำปฏิบตั ิกำรหำควำมเพียงพอสำหรบั กำรล้ำงไตทำงช่องท้อง (Adequacy for PD) วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื เป็นแนวทางสาหรบั พยาบาล 2. เพ่อื เป็นการประเมนิ ประสทิ ธภิ าพในการลา้ งไตทางชอ่ งทอ้ ง 3. เพอ่ื ประกอบแนวทางในการวางแผนการรกั ษาของแพทย์ อปุ กรณ์ 1. Tube เกบ็ น้ายาลา้ งไต จานวน 1 tube 2. Tube clot blood จานวน 1 tube 3. Syringe 50 ml จานวน 1 อนั 4. Syringe 5 ml จานวน 1 อนั 5. Needle No.21 จานวน 1 อนั 6. สาลี sterile 7. 70% alcohol จานวน 2 คู่ 8. ถุงมอื สะอาด จานวน 1 ใบ 9. ถงั พลาสตกิ ขนั้ ตอนกำรปฏิบตั ิ 1. ใหผ้ ปู้ ่วยเกบ็ น้ายาลา้ งไตทป่ี ลอ่ ยออก 24 ชวั่ โมง และปัสสาวะ 24 ชวั่ โมง นามาเชา้ วนั ทน่ี ดั ตรวจ 2. ตวงปรมิ าตรน้ายาลา้ งไตทป่ี ลอ่ ยออกทงั้ หมด 2.1 โดยการใชก้ ระบอกตวง หรอื

2.2 โดยวธิ กี ารชงั่ น้าหนกั แลว้ หกั น้าหนกั ถงุ เปล่าออก บนั ทกึ ปรมิ าตรแลว้ ใส่ถงั รวมกนั ไว้ 3. เกบ็ ตวั อยา่ งของน้ายาลา้ งไตทป่ี ลอ่ ยออก โดย 3.1 กวนน้ายาลา้ งไตทป่ี ลอ่ ยออก 24 ชวั่ โมง เขา้ ดว้ ยกนั แลว้ เกบ็ ตวั อยา่ งน้ายาลา้ งไตท่ี ปลอ่ ยออก 10 มลิ ลลิ ติ ร หรอื เขย่าน้ายาทุกถุงจากนนั้ เกบ็ ตวั อย่างน้ายา 1% ของปรมิ าณน้ายาทป่ี ลอ่ ยออก แตล่ ะถุง จากนนั้ นาน้ายาลา้ งไตทป่ี ลอ่ ยออก ทกุ ถุงผสมรวมกนั 3.2 กรณที า automated peritoneal dialysis ใหผ้ ปู้ ่วยกวนน้ายาลา้ งไตทป่ี ล่อยออก และ เกบ็ ใสภ่ าชนะสะอาดประมาณ 50 ml 4. ส่งตวั อยา่ งน้ายาลา้ งไตลา้ งไตทป่ี ล่อยออก และ ปัสสาวะ 24 ชวั่ โมง เพอ่ื ตรวจหา 4.1 Urea 4.2 Creatinine 4.3 Total protein 5. เจาะเลอื ดเพอ่ื ส่ง BUN, Cr 6. ชงั่ น้าหนกั และวดั ส่วนสูงของผปู้ ่วยหลงั จากปลอ่ ยน้ายาลา้ งไตออกหมดแลว้ 7. นาผลการตรวจน้ายาลา้ งไตทป่ี ล่อยออก, เลอื ด และปัสสาวะ 24 ชวั่ โมง มาคานวณตามสูตรการ หาค่า adequacy of PD หมำยเหตุ 1. การเกบ็ ปัสสาวะ 24 ชวั่ โมง ทาดงั น้ี 1.1. ต่นื นอนเชา้ กอ่ นวนั นดั 1 วนั ใหป้ ัสสาวะทง้ิ ไปกอ่ นและดูเวลาทเ่ี รมิ่ เกบ็ 1.2. หลงั จากนนั้ ใหเ้ กบ็ ปัสสาวะทกุ ครงั้ ใสล่ งในภาชนะทใ่ี หไ้ ป 1.3. เมอ่ื ถงึ เชา้ วนั นดั เวลาเดยี วกบั ทเ่ี รม่ิ เกบ็ ใหป้ ัสสาวะครงั้ สุดทา้ ยเกบ็ ใสภ่ าชนะรวมกนั แลว้ นามาส่งทโ่ี รงพยาบาล 2. ถา้ หากผปู้ ่วยปัสสาวะนอ้ ยกวา่ วนั ละ 200 มลิ ลลิ ติ รไมน่ ามาคานวณ

เอกสำรอ้ำงอิง 1. ฉตั รสดุ า เออ้ื มานะพงษ,์ อจั ฉรา บุญกาญจน์,ปิ่นแกว้ กลา้ ยประยงค,์ จนั ทนา ชน่ื วสิ ทิ ธิ ์บรรณาธกิ าร. แนวทางปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลสาหรบั การฟอกเลอื ดด้วยเคร่อื งไตเทยี มและการลา้ งไตทางชอ่ งทอ้ ง.พมิ พ์ ครงั้ ท่ี 1.กรุงเทพฯ: เอส.พ.ี เอม็ . การพมิ พ;์ 2550. 2. เถลงิ ศกั ดิ ์กาญจนบุษย์ บรรณาธกิ าร.ตาราแนวปฏบิ ตั กิ ารลา้ งไตทางชอ่ งทอ้ ง Textbook of Practical Peritoneal Dialysis. พมิ พค์ รงั้ ท่ี 1. กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั ศริ วิ ฒั นาอนิ เตอรพ์ รน้ิ ท์ จากดั (มหาชน); 2556. 3. สมชาย เอย่ี มออ่ ง,เกรยี ง ตงั้ สงา่ ,อนุตตร จติ ตนิ นั ทน์,เถลงิ ศกั ดิ ์ กาญจนบษุ ย,์ ดุสติ ล้าเลศิ กลุ ,ประเสรฐิ ธนกจิ จารุ บรรณาธกิ าร.Textbook of Peritoneal Dialysis.พมิ พค์ รงั้ ท่ี 1.กรุงเทพฯ:บรษิ ทั เทก็ ซ์ แอนด์ เจอรน์ ลั พบั ลเิ คชนั่ จากดั ; 2551.

22. ข้อแนะนำกำรเย่ียมบำ้ นผปู้ ่ วยล้ำงไตทำงช่องท้อง (เย่ียมติดตำม) วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื ป้องกนั ภาวะแทรกซอ้ นจากการปฏบิ ตั ติ วั ไม่ถกู ตอ้ ง 2. เป็นแนวทางสาหรบั พยาบาลและเจา้ หน้าทส่ี าธารณสขุ ในการเยย่ี มบา้ น 3. เพ่อื เป็นแนวทางสาหรบั พยาบาล อปุ กรณ์ 1. เครอ่ื งวดั ความดนั โลหติ 2. ปรอท 3. เคร่อื งเจาะน้าตาล 4. อปุ กรณ์ในการเปลย่ี นน้ายา และอุปกรณ์ทาแผล 5. ผา้ ปิดปากและจมกู 6. กลอ้ งถา่ ยรูป โทรศพั ทม์ อื ถอื 7. แบบฟอรม์ การเยย่ี มบา้ น 8. แฟ้มประวตั ผิ ปู้ ่วย ใบสง่ ตอ่ เพ่อื ให้เจา้ หน้าทส่ี าธารณสุขเยย่ี มบา้ นตอ่ 9. แผนทบ่ี า้ นผปู้ ่วย ขนั้ ตอนกำรปฏิบตั ิ 1. ศกึ ษาประวตั ผิ ปู้ ่วยเพอ่ื ประเมนิ ปัญหาและสรปุ ประเดน็ สาคญั ทต่ี อ้ งตดิ ตาม 2. โทรแจง้ นดั ผปู้ ่วยทราบล่วงหน้า และตอ้ งไดร้ บั ความยนิ ยอมจากผปู้ ่วยโดยนดั วนั เวลา และควร ใชเ้ วลาเยย่ี มบา้ นไมเ่ กนิ 60 นาที 3. ประสานงานผทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ ง เชน่ นกั สงั คมสงเคราะห์ เภสชั กร นกั โภชนากร เจา้ หน้าท่ี เครอื ขา่ ยท่ี เกย่ี วขอ้ ง เจา้ หน้าทย่ี านพาหนะ เป็นตน้ 4. เตรยี มเอกสารการเยย่ี มบา้ น และศกึ ษาแผนทบ่ี า้ นผปู้ ่วย 5. ออกเยย่ี มบา้ นตามวนั เวลาทก่ี าหนด 6. ขนั้ ตอนการประเมนิ

6.1. การประเมนิ สภาพและตดิ ตามปัญหาผปู้ ่วย 6.2. การประเมนิ สภาพแวดลอ้ ม สถานทเ่ี ปลย่ี นน้ายา และสถานทเ่ี กบ็ น้ายาลา้ งไต 6.3. การประเมนิ ขนั้ ตอนการเปลย่ี นน้ายาลา้ งไต 6.4. การประเมนิ การทาแผล exit site 6.5. ประเมนิ การดแู ลรกั ษาความสะอาดร่างกายทวั่ ไป 6.6. ประเมนิ การบรหิ ารยารบั ประทาน ยาฉดี และน้ายาลา้ งไต 6.7. การประเมนิ การรบั ประทานอาหารและน้า 6.8. การประเมนิ ผปู้ ่วยดา้ นครอบครวั สงั คม และ จติ ใจ 6.9. สรปุ ปัญหาทต่ี อ้ งตดิ ตามตอ่ เน่อื ง 7. ใหค้ าแนะนาปรบั เปลย่ี นตามความเหมาะสม เอกสำรอ้ำงอิง 1. ทวี ศริ วิ งศ.์ แนวปฏบิ ตั กิ ารดูแลรกั ษาผปู้ ่วยลา้ งไตในชอ่ งทอ้ ง.พมิ พค์ รงั้ ท่ี 2.นนทบุร:ี บรษิ ทั ทฟี ิลม์ จากดั ;2550. 2. เถลงิ ศกั ดิ์กาญจนบษุ ย์ บรรณาธกิ าร.ตาราแนวปฏบิ ตั กิ ารลา้ งไตทางชอ่ งทอ้ ง Textbook of Practical Peritoneal Dialysis. พมิ พค์ รงั้ ท่ี 1. กรุงเทพฯ: บรษิ ทั ศริ วิ ฒั นาอนิ เตอรพ์ รน้ิ ท์ จากดั (มหาชน); 2556.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook