Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวคิดและรูปแบบการดูแลต่อเนื่อง06082564new

แนวคิดและรูปแบบการดูแลต่อเนื่อง06082564new

Published by 1.patanrad, 2021-07-09 12:47:50

Description: แนวคิดและรูปแบบการดูแลต่อเนื่อง06082564new

Search

Read the Text Version

แนวคดิ และรปู แบบการดแู ลต่อเน่อื ง

แนวคิดการพยาบาลผู้ปว่ ยตอ่ เนือ่ ง 1.ทฤษฎีระบบ 2. ทฤษฎีทางการพยาบาล 3. กระบวนการพยาบาล 4. การพยาบาลแบบองคร์ วม 5. การดแู ลต่อเน่อื ง

ทฤษฎีระบบ เป็นการนาแนวคิดทฤษฎรี ะบบมาเป็น กรอบช่วยในการ บริหารจดั การการดูแลผ้ปู ว่ ยทีบ่ ้านโดยมองการทางานเปน็ กระบวนการทีต่ ่อเนื่องและมีความเกีย่ วขอ้ งกนั

ปจั จยั นาเขา้ (Input) กระบวนการ (Process/Activity) ผลลัพธ์ (Output) การจัดการผลลพั ธ์(Outcome) ประสิทธภิ าพ (Efficiency) ประสิทธผิ ล (Effectiveness)

Relationships between input activities outputs and outcomes

สหขาขาวชิ าชีพ เทคนิคการสอน Peritonitis rate การเยีย่ มบา้ น การเยยี่ มบา้ น 18 บอ่ ยข้นึ จติ อาสา/ชมรม retaining การใหเ้ วลาทีส่ อน Survival rate ประเมิน lab networks PET/adequacy 1 ปี บ่อยขึน้ ใหค้ วามรู้ทมี C/L no growth < 10 % KPI

Efficiency Vs Effectiveness • ประสทิ ธภิ าพ (Efficiency) – the results of an intervention applied under ideal conditions (RCT) ผลลัพธ์ที่เกดิ จากการทดลองภายใตก้ ารควบคมุ สถานการณ์/เงือ่ นไข ประสิทธิผล (Effectiveness) – the results of an intervention applied in the real world; fewer controls; lack of random assignment-ผลลพั ธท์ เ่ี กดิ เมือ่ นาไปปฏิบตั จิ ริง

ทฤษฎีทางการพยาบาล เป็นองคค์ วามรเู้ ฉพาะเกีย่ วกบั หลักการพยาบาล ที่นามาใช้เปน็ กรอบแนวคิด ในการใช้กระบวนการพยาบาล วางแผนดแู ลผปู้ ่วยเรื้อรัง

ทฤษฎที างการพยาบาลของฟลอเรนซไ์ นตงิ เกล ทฤษฎพี ฤตกิ รรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพของเพนเดอร์ ทฤษฎกี ารดูแลตนเองของโอเร็ม ทฤษฎีการดแู ลแบบองค์รวมของวตั สัน ทฤษฎกี ารปรบั ตัวของ รอย ทฤษฎีการมีสว่ นรว่ มของชมุ ชน

ทฤษฎีทางการพยาบาลของฟลอเรนซ์ไนตงิ เกล เป็นทฤษฎีทีม่ คี วามเช่อื ว่า คนมีพลงั ที่จะฟน้ื หายจากโรค และความเจบ็ ปว่ ย

ทฤษฎีทางการพยาบาลของฟลอเรนซ์ไนตงิ เกล เป้าหมายของการพยาบาล คือ ชว่ ยสง่ เสรมิ การฟื้นหายจากโรค การจัดสิง่ แวดล้อมให้ เป็นธรรมชาติกับบริบทการดาเนินชีวิตของผ้ปู ่วย ใหค้ าแนะนา เพือ่ ส่งเสริมใหบ้ คุ คลปรบั ตัวได้ดี การปอ้ งกนั การติดเชื้อ

ตวั อยา่ งการนาทฤษฎีการพยาบาลของ ไนติงเกล มาประยกุ ตใ์ ช้ใน การดูแลผู้ป่วยCAPD พยาบาลCAPD ช่วยเหลือผ้ปู ว่ ยการปรบั สภาพบ้านและสิง่ แวดลอ้ มให้ เหมาะสม กับสภาวะของผปู้ ว่ ยท่จี ะทาการล้างไต เชน่ ปรบั ปรงุ บา้ นไม่ให้สกปรก อา่ งลา้ งมือ ส้วมชักโครก สัตว์เลย้ี ง โต๊ะพื้นเรียบ

ปรบั ปรงุ บา้ นไมใ่ ห้สกปรก







อา่ งล้างมอื

มกี อ๊ กสา้ หรบั นา้ ไหล อาจใชน้ า้ ประปาหรอื คลู เลอรแ์ ล้วซอ้ื นา้ ถงั เตมิ เนือ่ งจากการลา้ งมือ ให้สะอาดจ้าเป็นมากๆ



สว้ มชักโครก

มสี ว้ มสา้ หรับเทน้ายาท้งิ



สตั ว์เล้ยี ง

การเตรยี มบา้ น และสง่ิ แวดล้อม ตอ้ งไมม่ สี ัตว์เล้ยี ง

การเตรียมบา้ นและส่งิ แวดลอ้ ม

โตะ๊ พื้นเรียบ

มีโตะ๊ พนื้ เรยี บสา้ หรบั ใช้เปลยี่ นนา้ ยา เปน็ โตะ๊ กระจก หรือโตะ๊ วางโทรทศั น์



ทฤษฎีพฤติกรรมสง่ เสริมสุขภาพของเพนเดอร์ เพนเดอร์ (Pender,1996) กลา่ ววา่ พฤติกรรมสง่ เสริมสขุ ภาพเป็นการ ปฏบิ ตั ิ ตนในชวี ิตประจาวันเพือ่ การมีสุขภาพดีทัง้ ด้านร่างกาย จิตใจและสงั คม

ทฤษฎีพฤติกรรมสง่ เสริมสขุ ภาพของเพนเดอร์ ประกอบด้วยการปฏิบตั กิ ิจกรรมในชีวิตประจาวนั 6 ด้าน ได้แก่ 1 ดา้ นความรบั ผดิ ชอบตอ่ สขุ ภาพ (Health Responsibility) 2 ดา้ นกิจกรรมทางกาย (Physical Activity) 3 ด้านโภชนาการ (Nutrition)

ทฤษฎีพฤติกรรมสง่ เสริมสุขภาพของเพนเดอร์ ประกอบด้วยการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจาวนั 6 ดา้ น ไดแ้ ก่ 4 ดา้ นการมปี ฏสิ ัมพันธร์ ะหวา่ งบคุ คล (Interpersonal Relations) 5 ดา้ นการพฒั นาจติ วิญญาณ (Spiritual Growth) 6และดา้ นการจดั การกบั ความเครียด (Stress Management)

ทฤษฎีพฤติกรรมสง่ เสริมสุขภาพของเพนเดอร์ ประเภทของพฤติกรรมสุขภาพ แบง่ เป็น 2 ประเภท 1. พฤตกิ รรมในการปอ้ งกนั โรค เช่น

ทฤษฎีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ ประเภทของพฤติกรรมสุขภาพ แบง่ เป็น 2 ประเภท 2. พฤตกิ รรมส่งเสรมิ สขุ ภาพ เช่น

ทฤษฎีพฤติกรรมสง่ เสริมสขุ ภาพของเพนเดอร์ การส่งเสรมิ สขุ ภาพของเพนเดอร์ มีพ้นื ฐานมาจากแนวคิดดา้ นการคิดรู้ ประกอบดว้ ย ความคาดหวงั ต่อผลลพั ธ์ของการปฏิบัติพฤติกรรม (OutcomeExpectancies) ความคาดหวังในความสามารถของตนเอง (Self-Efficacy Expectancies) ชึ่งอธิบายเกี่ยวกับปจั จัยทีท่ าให้ บุคคลเกิดแรงจงู ใจปฏิบตั พิ ฤตกิ รรม ส่งเสรมิ สุขภาพ

ทฤษฎีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ พยาบาลจะตอ้ งสรา้ งแรงจงู ใจใหป้ ่วยหรือญาติมีการ พฒั นาหรือ ปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง ดงั น้ี 1. รบั รปู้ ระโยชน์ของการปฏิบตั ิพฤติกรรม (Perceived Benefits of Action) และมีความคาดหวังผลทีจ่ ะไดร้ ับภายหลงั การปฏิบัติ พฤตกิ รรม สุขภาพ

ทฤษฎีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ 2. การรับร้อู ปุ สรรคในการปฏิบัตพิ ฤตกิ รรม (Perceived Barriers to Action) หมายถึง การรบั รูถ้ ึงสิ่งขัดขวางที่ทาให้บุคคลไมส่ ามารถปฏิบตั ิ พฤตกิ รรมสง่ เสริมสุขภาพ ประกอบดว้ ย อปุ สรรคภายใน ไดแ้ ก่ ความ ขีเ้ กียจ ความไม่รู้ ไมม่ ีเวลา ไมพ่ งึ พอใจ อุปสรรคภายนอก ไดแ้ ก่ สถานภาพทางเศรษฐกิจ ขาดแคลนสิง่ เอือ้ อานวยในการปฏิบัติพฤติกรรม เช่น คา่ ใชจ้ า่ ยสงู การรบั รวู้ า่ ยาก สภาพอากาศ และความไมส่ ะดวก

ทฤษฎีพฤติกรรมส่งเสริมสขุ ภาพของเพนเดอร์ 3. การรับรคู้ วามสามารถของตนเอง (Perceived Self-Efficacy) หมายถึง ความเชอ่ื มนั่ ของบุคคลเกย่ี วกบั ความสามารถของตนเองใน การกระทา พฤตกิ รรมใดๆ ภายใตอ้ ุปสรรคหรือสภาวะต่างๆ ในการ ส่งเสรมิ สขุ ภาพ

ทฤษฎีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ 4. ความรู้สกึ ทีม่ ีตอ่ พฤติกรรม (Activity-Related Affect) หมายถงึ ความรสู้ ึกในทางบวกหรอื ลบที่เกิดขึ้นกอ่ นระหว่างและหลังการ ปฏิบัตพิ ฤตกิ รรม ความรู้สึกทด่ี หี รือความรสู้ ึกทางบวกมีผลตอ่ แรงจงู ใจของบุคคลใน การปฏิบัตพิ ฤตกิ รรมสง่ เสริมสุขภาพ แต่ถ้าบุคคลเกิดความรสู้ ึกในทางลบก็จะมีผลใหห้ ลีกเลี่ยงการปฏิบตั ิ พฤตกิ รรมดงั กล่าว

ทฤษฎีพฤติกรรมส่งเสริมสขุ ภาพของเพนเดอร์ 5. อิทธิพลระหว่างบุคคล (Interpersonal Influences) หมายถึง พฤตกิ รรม ความเชื่อ หรือทัศนคติของคนอื่นทม่ี ีอิทธิพลต่อความคิดของ บคุ คล ไดแ้ ก่ ครอบครัว เพื่อน และบุคลากรทางสขุ ภาพ ชุมชน

ทฤษฎีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ 6. อิทธิพลจากสถานการณ์ (Situational Influences) หมายถึง การรบั รู้เงื่อนไขท่มี าสนบั สนนุ ความตอ้ งการ บุคคล มกั จะเลอื กทากิจกรรมที่เขา้ กับวิถีชวี ติ รสู้ กึ ปลอดภยั และมน่ั คง เมื่อปฏิบตั พิ ฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกบั สภาพแวดลอ้ มของตนเอง

ตวั อย่างการนาทฤษฎีพฤติกรรมสง่ เสริมสขุ ภาพของเพนเดอร์ มา ประยกุ ตใ์ นการดูแลผ้ปู ่วยCAPD พยาบาลPD ต้องการใหผ้ ูป้ ่วยทาCAPD อยา่ งมีคณุ ภาพชวี ิตที่ดีต้อง สร้างแรงจงู ใจใหท้ า ชีใ้ หเ้ ห็นข้อดขี อ้ เสีย ให้พดู คุยกับผู้ป่วยดว้ ยกัน ปรบั ทศั นคติ

ทฤษฎกี ารดูแลตนเองของโอเร็ม โอเร็ม เชื่อวา่ บคุ คลเมอ่ื มีความเจ็บป่วย หรือพิการจะส่งผลกระทบทาใหบ้ ุคคลมี ความพร่องในการดูแลตนเอง ซง่ึ ความพรอ่ งจะนามาสคู่ วามสามารถทจี่ ากดั ในการ ดแู ลตนเอง พยาบาลจึงมบี ทบาทในการชว่ ยเหลือบคุ คลหรือสง่ เสริมใหส้ มาชกิ ครอบครวั ผดู้ แู ล เข้ามารว่ มใหก้ ารช่วยเหลือดแู ลทีเ่ หมาะสมโดย การกระทาให้ หรือทาการสอน ฝึก ชแ้ี นะ สนับสนนุ ให้กาลงั ใจ ปรบั สภาพแวดลอ้ ม หาสิ่งสนบั สนุนที่จาเป็นในการช่วยเหลือ ใหก้ ารดแู ลที่จาเปน็ ในการตอบสนอง ความ เพอ่ื รกั ษาไวซ้ ง่ึ สขุ ภาพ และอย่ไู ด้อย่างปกติสุข

หลกั การพยาบาลของโอเรม็ ประกอบด้วย 4.1 บคุ คลทุกคนมีศักยภาพในการกระทาเกี่ยวกบั ตนเองถา้ ต้ังใจและ มีความสามารถในการ จดั ระเบียบปฏบิ ัติกิจกรรมเพ่อื ดแู ลตนเองได้ เปิดรบั ข้อมูลขา่ วสารต่าง ๆ เพอ่ื การ เปลีย่ นแปลงตนเองอยเู่ สมอ 4.2 บคุ คลและสิ่งแวดล้อมมีอิทธพิ ลต่อกนั ไม่สามารถแยกออกจาก กนั ได้ สิ่งแวดล้อมทีด่ ี จะเป็นแรงจูงใจให้บคุ คลปรับพฤติกรรมและพัฒนาความ สามารถในการดูแลตนเองได้ บรรลเุ ป้าหมายที่ตัง้ ใจ 4.3 สขุ ภาพดี คอื คนทีส่ ามารถทาหนา้ ทีไ่ ด้ทง้ั ด้านสรีระ จิตใจและ สังคม และมี ความสมั พันธท์ ี่ดีกบั บคุ คลอืน่ รอบขา้ ง สามารถดารงชีวติ อยูใ่ น สิ่งแวดล้อมไดต้ าม ศักยภาพของตน

ตวั อยา่ งการนาทฤษฎีการดแู ลตนเองของโอเร็ม มาประยุกต์ในการ ดูแลผปู้ ่วยCAPD ผปู้ ่วยตอ้ งทาCAPD ระยะแรกผู้ป่วยทาใจไมไ่ ด้กับภาวะโรคของตนเอง ไม่ ร่วมมอื ในการลา้ งไตรบั ประทานยา ไม่รบั ประทานอาหารฯ พยาบาลจะต้อง ประเมินความสามารถในการดแู ลตนเองของผปู้ ว่ ยและผดู้ แู ลวา่ มีศักยภาพ เพียงพอทีจ่ ะตอบสนองต่อความ ต้องการการดแู ลตนเองตามสภาพของ ความเจ็บปว่ ย ชว่ ยสอนใหร้ ู้วิธีปฏบิ ัติ ฝึกทักษะและปฏิบตั ิการทาCAPD เพือ่ ชว่ ยใหผ้ ปู้ ่วย ได้รับการดแู ล ตามความตอ้ งการในระดับที่เพียงพอและต่อเนือ่ ง

ตวั อย่างการนาทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเรม็ มาประยกุ ตใ์ นการ ดูแลผ้ปู ว่ ยCAPD ต้องวางแผนวา่ จะตอ้ งช่วยเพิ่มความสามารถในการดแู ลตนเองของผูป้ ว่ ยและลด บทบาทการช่วยเหลือจากการทาแทนของพยาบาลและผดู้ ูแลลงเรื่อย ๆ จนใน ที่สดุ ผู้ปว่ ยจะมี ชีวิตอย่ไู ดเ้ องอยา่ งอิสระไม่ตอ้ งพี่งพาหรอื พึง่ พาผู้ดูแล/พยาบาล ต้องพูดคยุ ใหก้ าลงั ใจ และให้การชว่ ยเหลือและแนะนาใหร้ ู้จกั ผูท้ เี่ ปน็ โรคเดียวกับผูป้ ่วยทีต่ ้องล้างไตมาพดู คยุ ด้วยหลายๆคน หลายครง้ั ผ่านไป ผปู้ ่วยเริ่มสนใจรบั ประทานอาหารและตัดสินใจสู้ชีวิตยมทาการลา้ งไต

ทฤษฎีการดแู ลแบบองค์รวมของวตั สัน เนน้ การดูแลผปู้ ่วยแบบองค์รวม ระหว่างผู้ใหก้ ารดแู ลกบั ผู้ได้รบั การดแู ล เป็นการดแู ลทีอ่ าศัยการสรา้ งสัมพันธภาพ ภายใต้ความรกั ในความเปน็ เพื่อนมนุษย์ วตั สันมีความเช่อื วา่ การให้การพยาบาลด้วยความรกั จะเปน็ พลงั ช่วยผลักดนั ให้ เกดิ กระบวนการบาบัดเพือ่ การฟืน้ หาย การปฏิบัติการพยาบาลจะทาได้ดี พยาบาลและ ผูป้ ว่ ยต้องมีการเขา้ ถึงจติ ใจยอมรับซึง่ กนั และกนั ระหว่างคนสอง คนเพื่อให้เกดิ การ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ชวี ิต ความเจบ็ ป่วยของผ้ปู ว่ ย และ ยอมรับปฏิบัติตาม คาแนะนา ถงึ แมจ้ ะเป็นผ้ปู ว่ ยในระยะสดุ ท้ายที่หมดหวงั จากการรักษาแล้วก็ตาม เพื่อ นาไปสู่ความสมดุลของผปู้ ่วยทัง้ ด้านร่ายกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ

หลกั การพยาบาลของวตั สัน ประกอบด้วย 3.1 พยาบาลตอ้ งมีเมตตาตอ่ เพื่อนมนุษย์ ปฏิบัตกิ ารพยาบาลและ ดูแล ผปู้ ่วยด้วยความรกั และเมตตา 3.2 พยาบาลต้องไวต่อการรับรคู้ วามรสู้ ึกของผปู้ ่วย จากคาพูดหรอื การ แสดงออกของผปู้ ่วยกบั บุคคลทแ่ี วดล้อมตัวผู้ปว่ ย เปน็ ภาวะทีต่ รงกบั คาพูด คาบอกเลา่ และพยายามทาความเข้าใจกับปญั หาของผูป้ ่วยกับ บรบิ ทแวดล้อม 3.3 สง่ เสรมิ ให้ผปู้ ว่ ยแสดงความร้สู ึกออกมาทัง้ ทางบวกและลบเพ่อื จะได้เขา้ ใจถึงความต้องการของผูป้ ่วย

หลกั การพยาบาลของวัตสัน ประกอบด้วย 3.4 ใชว้ ิธีการแกป้ ัญหาและตดั สินใจอย่างเปน็ ระบบ โดยใช้ศาสตร์ และ องค์ความรูม้ าเป็นส่วนหนึง่ ของกระบวนการดแู ล เพือ่ ถา่ ยทอดสูก่ ารปฏิบัติ ทท่ี าให้ผปู้ ว่ ยสมั ผสั ไดถ้ ึงความรักท่พี ยาบาลปฏิบตั กิ ารดแู ลช่วยเหลอื อย่าง จริงใจ 3.5 ส่งเสริมการเรยี นร้จู ากประสบการณข์ องตัวผ้ปู ่วยเอง จากปัญหา และวิธีปฏิบัติ เพอ่ื ใหผ้ ปู้ ว่ ยพัฒนาการเรยี นรจู้ ากสิง่ งา่ ยไปส่สู ิง่ ซับซ้อน ภายใน กรอบการพยาบาลทพ่ี ยาบาลต้งั เปา้ หมายไว

หลักการพยาบาลของวตั สนั ประกอบดว้ ย 3.6 สนบั สนนุ แกไ้ ขสิง่ แวดลอ้ มด้านภายภาพ เพื่อสร้างสรรค์ สภาพ แวดล้อมแห่งการบาบดั สาหรับผู้ปว่ ยแตล่ ะราย

ตวั อยา่ งการนาทฤษฎีการพยาบาลของวัตสนั มาประยกุ ต์ในการ ดแู ลผู้ป่วยCAPD ผปู้ ่วยCAPDและเปน็ Stroke มคี วามจากดั ในดา้ นการเคล่อื นไหว ผปู้ ่วยรู้สกึ หมดหวงั ไม่ อยากมีชวี ิตอยู่ อยากตาย และไม่ร่วมมือปฏิบตั ติ ามแผนการรกั ษา ไมย่ อมทากิจกรรมฟืน้ ฟู สภาพ พยาบาลต้องพูดคยุ และใชเ้ ทคนิคการฟื้นฟูสภาพ จิตใจเพื่อใหผ้ ปู้ ่วยเกิดกาลงั ใจ มี ความหวังที่จะมีชวี ติ อยู่ตอ่ ไปและพยายามทา ทุกอย่างเพือ่ เอาชนะความพกิ าร สามารถมีชวี ติ อยู่ต่อไปแม้จะมีความพกิ าร กต็ าม พยาบาลต้องเยี่ยมบ้านเพ่อื ประเมนิ ความสัมพันธ์ของผู้ป่วยกับสมาชิกใน ครอบครัว การแสดงออกของผปู้ ่วยต่อบุคคลแวดลอ้ มและสภาพปัญหาของผปู้ ่วย และค้นหาวา่ ใครคือ คนทีร่ ักและห่วงใยดแู ลผู้ป่วย ใครคือคนทีผ่ ู้ป่วยพง่ึ พาได้ยามเจบ็ ป่วย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook