Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความเข้าใจดิจิทัล Digital Literacy ผู้แต่ง : กระทรวางดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม จัดทำ E-BOOK : ห้องสมุดประชาชนจังหวัดชลบุรี

ความเข้าใจดิจิทัล Digital Literacy ผู้แต่ง : กระทรวางดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม จัดทำ E-BOOK : ห้องสมุดประชาชนจังหวัดชลบุรี

Published by 000bookchonlibrary, 2021-01-19 07:28:16

Description: ความเข้าใจดิจิทัล Digital Literacy

Search

Read the Text Version

1

ค�ำ นำ� การขับเคลอื่ นการปฏิรูปประเทศไทยดว้ ยนวตั กรรมดจิ ิทลั หรือ Digital Thailand นอกจากเป้าหมายด้านเศรษฐกิจ ที่ให้ความส�ำ คญั กบั การเพม่ิ สมรรถนะ และขีดความสามารถทางการแขง่ ขนั ดา้ นเศรษฐกจิ ของประเทศแล้ว ยังมีเป้าหมาย ดา้ นสงั คมสร้างโอกาสอยา่ งเทา่ เทียมเพ่ือสร้างสงั คมคุณภาพ และคณุ ภาพชีวิตที่ดี ข้ึนใหก้ บั ประชาชนทกุ กลุม่ โดยเฉพาะกลมุ่ คนพกิ ารและผดู้ ้อยโอกาสทางสงั คม ผา่ น บริการดจิ ิทลั ต่างๆ ซ่ึงเป็นการเรยี นรู้ตลอดชีวติ สำ�หรับประชาชนทุกคน ในการขบั เคล่ือนดังกล่าวำ�เป็นอย่างย่ิงที่จะต้องเร่งสร้างทักษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสร้าง โอกาสในการเข้าถงึ ขอ้ มูล ข่าวสาร และบรกิ ารภาครฐั ผา่ นระบบอิเลก็ ทรอนิกส์ ใน ประชาชนทุกกลมุ่ วยั อยา่ งเหมาะสมและรบั ผิดชอบต่อสังคม กระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมเล็งเห็นความสำ�คัญ ดังกล่าวจึงได้ดำ�เนินกิจกรรมส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างมีคุณธรรม จรยิ ธรรม และรับผิดชอบตอ่ สังคม ในกลุ่มคนพิการ ผู้ดอ้ ยโอกาส และผู้สงู อายุ ในหลกั สตู ร ความเขา้ ใจดิจทิ ลั (Digital Literacy) โดยมีวัตถปุ ระสงค์เพื่อพัฒนา ศักยภาพ คนพกิ าร ผดู้ อ้ ยโอกาส ผูส้ งู อายุ ใหม้ คี วามร้แู ละทักษะในการใช้ประโยชน์ จากเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั และเพอ่ื สร้างโอกาสในการเข้าถึงและใชป้ ระโยชน์จากเทคโนโลยี ดจิ ิทัล เพื่อการสร้างเสรมิ ศกั ยภาพและยกระดับคณุ ภาพชีวิต

สารบัญ 1. สิทธิ และ ความรับผดิ ชอบ - 4 - 2. การเข้าถงึ ส่อื ดิจทิ ัล - 12 - 3. การสื่อสารยคุ ดจิ ิทลั - 18 - 4. ความปลอดภัยยุคดจิ ิทัล - 21 - 5. ความเขา้ ใจสอ่ื ดจิ ิทัล - 31 - 6. แนวทางปฏิบัติในยุคดจิ ทิ ลั - 34 - 7. สุขภาพดียคุ ดิจทิ ัล - 41 - 8. ดจิ ทิ ลั คอมเมิรซ์ - 53 - 9. กฎหมายดิจทิ ลั - 57 -

1 สิทธิ และ ความรับผิดชอบ ผศู้ กึ ษาจาเปน็ ต้องทราบสทิ ธิ เสรีภาพ และความรับ ผิดชอบเมื่อใช้สิทธิน้ันบนส่ือสาธารณะยุคดิจิทัลในฐานะเป็น ประชากรของสงั คมในระดบั ตา่ ง ๆ ไมว่ ่าจะเปน็ ระดับชุมชน ระดบั ประเทศ ระดบั โลก โดยความรบั ผิดชอบน้ีรวมถงึ ความรับผดิ ชอบต่อตัวเอง และความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม ทง้ั ผลกระทบที่เกิด จากการกระทาและทางกฎหมาย ด้วยการใช้สิทธิ เสรีภาพอย่าง ถูกตอ้ ง จะทาใหก้ ารอยู่ร่วมกันในสงั คมเดียวกนั เกดิ ความสงบ สขุ ไมข่ ัดตอ่ กฎหมาย จรยิ ธรรม ศลี ธรรม ของสังคม ถือเป็นพ้นื ฐานประการแรกที่จาเปน็ ต้องทราบ เพือ่ จะอยู่ในสงั คมออนไลน์ท่ี มีการเชอ่ื มโยงประชากรจากทกุ ประเทศท้ังโลกเข้าไว้ด้วยกนั 4

5

6

7

88

99

10

11

2 การเข้าถงึ สื่อดจิ ทิ ลั ผู้ศึกษาจำ�เป็นต้องเข้าใจอินเทอร์เน็ตและการเข้าถึง อินเทอร์เน็ตด้วยชอ่ งทางตา่ ง ๆ รวมถึงข้อดขี ้อเสยี ของแตล่ ะชอ่ ง ทางได้ เพอ่ื ใหส้ ามารถใช้ Search Engine ค้นหาข้อมูลที่ตอ้ งการ จากอินเทอร์เนต็ ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ นอกจากนี้ยงั จาเปน็ ตอ้ งเข้าใจส่ือทางดจิ ทิ ัลชนิดตา่ ง ๆ รวมถึงการนาไปประยกุ ต์ใช้ งานในปจั จบุ ัน 12

13 13

1414

15 15

1616

17 17

3 การสอ่ื สาร ยคุ ดิจทิ ัล ผู้ศึกษาจำ�เป็นต้องมีความเข้าใจการส่ือสารผ่านทางสื่อ และเครอื่ งมอื ทางดจิ ิทัลในแงม่ ุมต่างๆ ไมว่ า่ จะเป็นความเหมาะ สม ความแตกตา่ ง ความเส่ียงของสื่อ และเคร่ืองมือพรอ้ มทง้ั สามารถสื่อสารโดยการใช้ข้อความหรือถ้อยคำ�อย่างสร้างสรรค์ มีประโยชน์ และเคารพผ้อู น่ื เพอ่ื ประโยชนต์ ่อสว่ นรวมนอกจาก นี้ยงั รวมถงึ ความสามารถวิเคราะหข์ ้อมลู ต่าง ๆ ที่มอี ยู่บนสอื่ ดิจทิ ัลต่าง ๆ วา่ ส่ิงไหนเป็นขอ้ เทจ็ จริง ส่งิ ไหนเป็นความเห็น สงิ่ ไหนเป็นความจริงบางส่วน สิง่ ไหนเป็นความจรงิ เฉพาะเหตุการณ์ น้ัน ๆ เพอื่ ไม่ใหต้ กเป็นเหยือ่ ของการส่ือสารทางดจิ ิทลั 18

19 19

20

4 ความปลอดภัย ยุคดิจิทัล ผูศ้ ึกษาจำ�เปน็ เขา้ ใจความม่นั คง ความเป็นส่วนตวั และ การท้ิงรอยเทา้ ดจิ ทิ ลั ในการใช้อุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ในยคุ ดจิ ทิ ลั รวมถงึ ภัยในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งในแงว่ ิธกี ารท่ีไดร้ บั การ คกุ คาม ผลกระทบทีเ่ กดิ ขึน้ การปอ้ งกัน การลดความเส่ียง ต่อ ภัยเหลา่ นั้น 21

รอยเทา้ ดิจทิ ลั หรือ Digital Footprint คือข้อเขยี น รปู ภาพ ส่ิงต่าง ๆ ท่เี ราเขยี นหรอื ลงไว้ใน Social Media ทัง้ หลาย ไมว่ า่ จะเป็น Facebook, Twitter, Instagram, Social Cam หรือชอ่ งทางไหนก็ตาม หลายเหตผุ ลท่ีกระท�ำ กอ่ ใหเ้ กิด Digital Footprint • ไม่เหน็ เปน็ อะไร Facebook , Instagram เป็นพน้ื ท่ีส่วนตวั • ไม่ใชค่ นดัง ไม่ใชด่ ารา ไม่มีใครสนใจหรอก • แคอ่ ยากระบายอะไรบา้ ง อนั ตรายของการทิ้ง Digital Footprint • ทดสอบคน้ หาชือ่ ตวั เอง • ข้อมลู มีโอกาสโดนทำ�ส�ำ เนาไปนับไม่ถ้วน • อยุ่ในมอื ผู้ไมห่ วงั ดี • เสยี ภาพพจน์ และ ภาพลกั ษณ์ โดยไม่อาจแก้ไขได้ ดงั น้นั คดิ ใหด้ ี ก่อนท่ีจะPost 22

การหลอกลวง (Scam) เลห่ ์อุบาย แผนการรา้ ย คำ � น้ี ห า ก อ ยู่ ใ น ว ง ก า ร อ อ น ไ ล น์ จะใชเ้ รียกพฤตกิ รรม ที่มีเจตนา หลอกลวง ใหเ้ สียทรพั ย์ ใหเ้ สีย ขอ้ มลู ตวั อยา่ งการหลอกลวงทาง อนิ เทอร์เน็ต เชน่ Email Scams Phishing Scam เป็นต้น การโจมตแี บบวศิ วกรรมสังคม ใ น ยุ ค ปั จ จุ บั น เ ร า ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ (Social Engineering) ประเภทเคล่ือนทไ่ี ด้ จัดเกบ็ ขอ้ มลู สำ�คัญมากขึน้ อาทเิ ช่น รายช่ือผู้ Phishing คือคำ�ทีใ่ ชเ้ รียกเทคนคิ ติดต่อ รปู ถ่าย ภาพเคล่ือน รวม การหลอกลวงโดยใช้อีเมลหรือหนา้ เว็บไซต์ ทั้งเอกสารสำ�คัญเรื่องงานไว้บน ปลอมเพ่อื ให้ไดม้ าซึง่ ข้อมลู เชน่ ชือ่ ผู้ใช้ รหัส อุปกรณป์ ระเภทเคลอื่ นที่มากขึ้น ผ่าน หรอื ข้อมลู สว่ นบคุ คลอื่น ๆ เพือ่ นำ� ขอ้ มลู ทไ่ี ด้ไปใช้ในการเข้าถึงระบบโดยไม่ได้ รบั อนญุ าต หรือสรา้ งความเสยี หายในด้าน อน่ื ๆ เชน่ ด้านการเงิน เปน็ ตน้ ในบทความนี้ จะเนน้ ในเรื่องของ Phishing ทม่ี จี ดุ มุง่ หมาย เพ่ือหลอกลวงทางการเงนิ เนื่องจากจะท�ำ ให้ ผ้อู ่านมองเหน็ ผลกระทบไดง้ ่าย ความเปน็ ส่วนตวั และความปลอดภัยบนมือถือ • การเก็บขอ้ มูลสำ�คญั • เกิดอะไรขึน้ ถา้ โทรศัพทเ์ คล่ือนทีห่ าย • การส่งตำ�แหน่งทยี่ ่ขู องอุปกรณ์ ไปยงั เครอื่ งแมข่ ่ายตลอดเวลา • การสำ�รองขอ้ มลู บนมือถือ • เอกสารงานส�ำ คัญบนโทรศพั ท์เคล่ือนท่ี 23

รหัสผ่านที่ไม่ควรตั้ง • ใชร้ หัสเดยี วกนั หมด รรู้ หสั เดยี ว • ประกอบด้วยข้อมูลบุคคล สามารถเขา้ ถงึ ไดห้ มด เช่น วันเกิด เบอร์โทร • ไมม่ ีการเปล่ยี นรหัสผา่ น • ใชค้ �ำ มคี วามหมาย เช่น • คาดเดางา่ ย เชน่ 1234567 ชือ่ เลน่ love happy • ใชต้ ัวพมิ พ์ท้งั หมด ไมม่ ี ตวั เลขหรือตวั อักษรผสม รหสั ผา่ นทด่ี ี • ใช้รหัสผา่ นทย่ี าว (อยา่ งนอ้ ย 7 ตวั ) • ใชต้ วั อกั ษรตวั พิมพ์ใหญแ่ ละตวั พมิ พ์เล็ก ตวั เลข รวมทั้งสัญลักษณ์ ตา่ งๆ ประกอบกนั • ใช้สญั ลกั ษณ์อยา่ งนอ้ ยหน่งึ ตัวในตำ�แหนง่ ท่ี 2 – 6 • ใชต้ วั อักษรทีแ่ ตกตา่ งกันอย่างนอ้ ย 4 ตัว (อย่าใชต้ วั อักษรซ้ำ�กัน) ใช้ ตวั เลขและตัวอักษรแบบส่มุ 24

การหลอกลวงในการซ้ือขายสนิ คา้ ออนไลน์ วงจรของกลโกงทม่ี ิจฉาชีพรา้ นขายสนิ ค้าปลอม มกั จะใชเ้ พ่อื หาเหยื่อน้นั มี 6 ขัน้ ตอน ไดแ้ ก่ • มจิ ฉาชพี จะตดิ ต่อหาเหย่อื ทกี่ ำ�ลงั ต้องการสินค้า • สรา้ งความเช่ือถอื ดว้ ยภาพสินค้า และหลกั ฐานปลอมเพือ่ ระบุตวั ตน • หวา่ นล้อมให้เหยื่อยอมโอนเงินคา่ สนิ คา้ หากเหยอ่ื รสู้ กึ ว่าราคาถกู จนผิดปกติ หรือ รูส้ กึ ไม่ไวว้ างใจ มิจฉาชีพก็จะพยายามพูดโกหกเพอ่ื ตอบขอ้ สงสัยของเหยอื่ • ส่งสนิ ค้าปลอมให้เหยอื่ หรอื ในกรณีที่แย่ทส่ี ดุ คอื ไมส่ ง่ สนิ ค้าใดๆ ให้เลย • ปิดช่องทางการส่อื สาร และหลบหนี ลบขอ้ มูลทกุ อยา่ งทิง้ • เปลย่ี นชอ่ื หลักฐาน เร่ิมวงจรหลอกลวงใหม่ การป้องกนั ไม่ใหต้ กเปน็ เหยอ่ื การหลอกลวง • สงั เกตุความเปล่ยี นแปลง เช่น มโี ปรแกรมแปลกปลอมหรือไม่ • หมน่ั ปรับปรงุ ระบบปฏิบัติการและโปรแกรมตา่ ง ๆ • ลงซอฟตแ์ วร์เท่าทีจ่ ำ�เป็น • หลีกเล่ยี งเวบไซคเ์ สย่ี ง • ระวังการใช้งานเมื่ออยใู่ นที่สาธารณะ • ไม่เปดิ เผยขอ้ มลู สว่ นตวั 5 ข้อควรระวังเม่อื ใช้บัตรเครดติ ซ้อื สินคา้ ออนไลน์ • อย่าให้หมายเลขบตั รผา่ นทางอเี มลล์ • ตรวจสอบความน่าเชอื่ ถอื ของรา้ นค้าเสมอ • แนใ่ จว่าเว็บไซต์ตา่ งๆปลอดภยั ส�ำ หรบั คณุ • เช็คยอดหนใี้ นบตั รเครดติ อย่างละเอียด • ไม่มกี ารสง่ ลงิ คห์ รือส่งขอ้ มลู สำ�คัญทางอีเมลล์ 25

26

27

28

29 29

Family 3030

5 ความเข้าใจ ส่ือดจิ ทิ ัล ผู้ศึกษาจำ�เป็นต้องมีความเข้าใจสารสนเทศและสื่อในยุค ดิจิทลั เพื่อท่ีสามารถระบุขอ้ มลู ทต่ี ้องการหาข้อมูลน้นั ประเมนิ ประโยชน์ ความเกีย่ วขอ้ ง ความถกู ตอ้ ง ความน่าเชื่อถือของ ข้อมูลนนั้ จากแหลง่ ต่าง ๆ นอกจากน้นั ผศู้ กึ ษายงั จ�ำ เป็นตอ้ ง สามารถนำ�ข้อมูลเหล่านั้นมาพัฒนาเป็นความรู้เพื่อนาไปใช้ ประโยชน์ผา่ นทางการน�ำ เสนอไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 31

การร้เู ทา่ ทนั ส่ือและสารสนเทศคอื อะไร? MIL = การรูเ้ ทา่ ทนั สื่อ (Media Liter- คื อ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร เ ข้ า ถึ ง acy) + การรูเ้ ท่าทันสารสนเทศ (In- ประเมนิ /เขา้ ใจ และใช/้ สรา้ งสอื่ และสารสนเทศใน formation Literacy) + ทกั ษะด้าน แบบท่มี ีการวิเคราะห์วพิ ากษ์ และมปี ระสิทธภิ าพ เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT skills) (ต้องใชค้ วามสามารถชุดหน่งึ ) ไม่ไดเ้ ก่ียวขอ้ ง กบั สารของสือ่ เท่านัน้ แต่เกย่ี วกบั สารสนเทศทกุ ประเภท การรู้เทา่ ทนั ส่ือและขอ้ มลู (Media and • การรเู้ ท่าทนั สอื่ (ML): ความสามารถในการเขา้ ถงึ เขา้ ใจ Information Literacy- MIL) เป็นแนวคดิ แบบ ประเมิน ใช้ และสรา้ งสารส�ำ หรับสอื่ ได้ในหลาย ผสม รูปแบบ •ทักษะดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ (ICT Skills): ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี • การรเู้ ท่าทันสารสนเทศ (IL): ดจิ ิตอล เคร่อื งมอื การส่ือสาร และ/หรือเครือขา่ ยที่ ชุดความสามารถที่ทำ�ให้บุคคล เหมาะสม เพือ่ แก้ไขปัญหาข้อมูลเพ่ือทีจ่ ะทำ�หนา้ ท่ี ตระหนกั ไดเ้ ม่ือจำ�เปน็ ตอ้ งมขี ้อมูล และมีความ ต่างๆ ได้ในสังคมข้อมูลขา่ วสาร สามารถในการเข้าถึง ประเมนิ และใช้ขอ้ มูล จากหลายๆ แหล่ง การรเู้ ทา่ ทันดจิ ิตอลและสื่อ การร้เู ท่าทนั สอ่ื + การรูเ้ ท่าทันดจิ ิตอล ความเข้าใจแบบขยายว่าอะไรคือการรู้ เท่าทันสื่อ ซ่งึ ตอนน้ีหมายรวมถึงความเข้าใจว่า บคุ คลเปน็ ทง้ั ผ้ผู ลิตและผบู้ ริโภคเน้ือหาของส่อื และ ความเข้าใจถึงผลการเปล่ียนแปลงทางสังคมและ วฒั นธรรมท่เี กดิ ขนึ้ เนอื่ งจากสง่ิ น้ี ท�ำ ให้ความ สามารถเพอื่ การร้เู ทา่ ทนั ส่อื ทกุ วนั น้ี รวมถึงการ คิดวพิ ากษ์ ทกั ษะการสือ่ สารและการจดั การข้อมลู ที่สะท้อนถึงความต้องการและข้อเท็จจริงของ วฒั นธรรมดจิ ติ อล 32

33

6 แนวทางปฏบิ ัติ ในยคุ ดจิ ทิ ลั ผศู้ กึ ษาจ�ำ เป็นต้องทราบ แนวทางปฏิบัติในสังคม มารยาท และพฤตกิ รรมอนั พงึ ปฏิบตั เิ มอ่ื อยู่รว่ มในสงั คมดิจิทลั เพอ่ื ไม่ สร้างความเดือดร้อน ความร�ำ คาญ ความเครยี ด ความกังวลใจ รวมถึงเป็นสาเหตุของปัญหาทางสภาพจิตของบุคคลอ่ืนและตัว เอง การประพฤตติ ามมารยาทที่เหมาะสม จะท�ำ ใหส้ ังคมยอมรบั นบั ถือ และใหเ้ กียรติเรา ดงั นั้นมารยาทในสังคมดจิ ทิ ลั จงึ เปน็ สิ่งท่ี จำ�เป็นตอ้ งเรียนรู้ และปพู ้ืนฐานไว้ในการใชง้ านสังคมดิจิทัล 34

มารยาทการใชม้ อื ถอื • เคารพสถานท่ี เชน่ ห้ามเสียงดัง หา้ มมีแสงสว่าง • ไม่ใช้โซเชยี ลเนต็ เวิร์คขณะประชมุ • ไม่กดโทรศพั ท์มากกวา่ คุยกับเพือ่ น กม้ หน้าเวลาสนทนา • ไม่รับโทรศพั ทข์ ณะขนึ้ ลงรถยนต์ หรือข้ามถนน คือการประทุษร้ายหรือ การกลนั่ แกลง้ ทำ�ให้ผู้อื่นอับอายผ่านทางการใช้สื่อ ในโลกไซเบอร์ อิเลก็ ทรอนิกส์ เช่น อีเมล์, การส่ง ข้อความ, บล็อก, เวบ็ ไซต,์ ชมุ ชน แม้เว็บไซต์หลายแห่งมีผู้ ออนไลน์, เมสเสจ, และโทรศัพท์ สิง่ ดูแลเป็นผู้ใหญ่และสามารถควบคุมให้ ท่ีนักเลงไซเบอร์ต้ังใจคือการแสดง ผู้ใช้บริการรักษากติกาและใช้ภาษาที่ ความเป็นศัตรูหรือแสดงออกในแง่ เหมาะสมได้ แต่นกั เลงไซเบอรก์ ็อาจ ลบต่ออีกฝ่ายนน่ั เอง ปว้ นเป้ียนแถวๆ น้ันและหาโอกาสจ้อง ทำ�ร้ายด้วยการเอาคำ�พูดของผู้ดูแล มี ห ล า ย ท ฤ ษ ฎี อ ธิ บ า ย ไปปรบั เปลยี่ นให้ดแู ยล่ ง หรือปล่อย ข่าวลือด้านลบต่อเว็บไซต์แห่งนั้นได้ ว่าการเพ่ิมขึ้นของการประทุษร้าย เช่นกัน อ อ น ไ ล น์ ส่ ว น ห นึ่ ง เ กิ ด จ า ก เ ด็ ก ท่ี มี ลั ก ษ ณ ะ ช อ บ แ ก ล้ ง ผู้ อื่ น อ ยู่ แ ล้ ว เปลี่ยนวิธีการมาใช้อินเตอร์เน็ต แทนการแกล้งโดยตรงที่โรงเรียน เนื่องจากปลอดภัยจากสายตาของ ผู้ใหญ่มากกว่า ปัจจุบันน้ีหลายประเทศได้ประกาศใช้พรบ.ป้องกันการกระทำ�ผิดทาง อินเตอรเ์ นต็ แล้ว และยอมรบั ว่าผทู้ ท่ี �ำ ตัวเป็นนกั เลงไซเบอร์เปน็ “อาชญากร” ด้วย แมแ้ ตก่ ารเขียนคอมเมนตท์ ี่เปน็ การสบประมาทในเร่อื งเชื้อชาต,ิ ศาสนา, เผ่า พันธ์ุ, หรอื เพศก็จัดเปน็ การกระท�ำ ผิดดว้ ยเชน่ กนั 35

วิธปี อ้ งกนั ภยั จากนักเลงไซเบอร์ อเเดอยง็ก่าจๆงาไรกส?นามักาเลรงถไปซ้อเบงอกรนั ์ไตดวั้ สิ่งแรกที่พ่อแม่ควรทำ� • อยา่ ใหข้ ้อมลู ติดตอ่ ของตัวเองทางเนต็ ก่อนติดอินเตอร์เน็ตให้ลูกที่บ้านคือ เด็ดขาด เชน่ เบอรโ์ ทรศัพท,์ ชอื่ ทีเ่ ราใช้ใน เตือนให้ทราบว่าโลกภายนอกมีอะไร เน็ต, อีเมล์แอดเดรส, ท่ีอนั ตรายบา้ ง และสอนให้รจู้ กั หรอื ท่ีอยู่ท่ีบ้าน คุณธรรมและจริยธรรม ซึ่งหมาย • บอกผู้ใหญถ่ า้ รสู้ ึกวา่ โดนรังแกในเน็ต ถึงความคิดดีและพฤติกรรมทำ�ดี • ถา้ เป็นเวบ็ เกมออนไลนห์ รือสงั คม ว่าเป็นอย่างไร ไมใช่เฉพาะเรอื่ ง ออนไลน์ ใหแ้ จง้ ผดู้ ูแลเว็บไซตเ์ พอ่ื ตดิ ตาม ท่วั ไปเทา่ นั้น การคดิ ชอบท�ำ ชอบใน พฤตกิ รรมนกั เลงไซเบอรเ์ หล่านี้ โลกออนไลน์กต็ อ้ งสอนด้วย รวม • ยนื หยดั สูก้ บั พวกนักเลงไซเบอรด์ ว้ ยการ ถงึ โทรศพั ท์มือถือ เชน่ กัน ไม่เข้ารว่ มพฤติกรรมการกลั่นแกล้งหรือ ผสมโรงแกล้งคนอ่นื หรอื ให้ความเหน็ ตาม นำ�้ ไปด้วย แนวทางปฏบิ ัตเิ มอ่ื เกดิ การรงั แกในโลกไซเบอรข์ ึ้น • บอกนักเลงคนนนั้ ใหห้ ยุดเสียที • รายงานไปยังหน่วยงานที่ ตอ้ งบอกใหช้ ัดเจนและหนักแนน่ ดแู ลความเรียบรอ้ ยของโลก • ถา้ รู้วา่ นกั เลงอยทู่ ่ีไหน อาจสง่ ออนไลนห์ รือบริษัทใหบ้ ริการ จดหมายไปทบี่ ้านเพ่ือเตือน โทรศัพท์ • ถา้ นกั เลงเปน็ คนท่ีรจู้ ัก เชน่ • เซฟขอ้ ความทเี่ ป็นการ เพ่ือนของลูก อาจแจง้ กบั อาจารย์ รังแกเอาไวเ้ พ่ือเป็นหลกั ฐาน ท่ีโรงเรยี นให้ชว่ ยเหลือด้วย • บลอ็ กไมร่ บั ข้อความจาก • รายงานพฤติกรรมการรงั แกต่อ นกั เลงคนน้ัน เจ้าหน้าทต่ี �ำ รวจ 36

37

38

39 39

40

7 สขุ ภาพดยี คุ ดิจทิ ลั ผู้ศึกษาจำ�เป็นต้องเข้าใจอันตรายและผลกระทบด้าน สขุ ภาพในแง่มมุ ตา่ ง ๆ ไม่วา่ จะเปน็ ด้านสขุ ภาพกาย สขุ ภาพจติ โรคทเ่ี กดิ ขึน้ รวมถงึ ความสัมพันธแ์ ละผลกระทบต่อเยาวชน การ ใช้อนิ เทอร์เน็ตและส่ือดิจทิ ัล เพอ่ื ป้องกัน หลีกเลย่ี ง ลดผลกระทบ จนถึงวิธกี ารรักษาเบ้ืองต้น ทัง้ ต่อตวั เอง และคนใกลต้ วั เพือ่ ให้ สามารถ ใชช้ ีวิตอย่างมคี วามสุขในยคุ ดิจิทลั ได้ 41

4422

43

การจะมีสขุ ภาพดีทงั้ กายและใจ ในยคุ ดิจทิ ัลต้องท�ำ อยา่ งไรบา้ ง? โรคออฟฟศิ ซินโดรม (Office Syndrome) • กลมุ่ โรคท่เี กิดจากการท�ำ งาน • สภาพแวดล้อมในท่ที ำ�งานไมเ่ หมาะสม • นัง่ ท�ำ งานตลอดเวลา ไมม่ กี ารเคลือ่ นไหวร่างกาย • ทำ�ให้เกดิ อาการกล้ามเน้อื อักเสบ และปวดเมอื่ ยตามอวยั วะ ตา่ ง ๆ อาการของ office syndrome 1. ปวดบรเิ วณกลา้ มเนอ้ื คอ บา่ ไหล่ ปวดขมบั ปวดเบา้ ตา Office Syndrome 2. ปวดร้าวไปยังบรเิ วณอื่น ๆ 3. อาการชาบรเิ วณข้อมอื / ชาลงขา 44

45

4646

47

48 48

49 49

50