2.2.2 ระบบ UNRTDG (UN Class)1 United Nations Committee of Experts on the Transport of Dangerous Goods จาแนกสารทเ่ี ปน็ อันตราย และเป็นเหตใุ หถ้ งึ แก่ความตายหรอื ก่อให้เกดิ ความพินาศเสยี หาย สาหรบั การขนส่ง ออกเปน็ 9 ประเภท (UN-Class) ตาม ลักษณะทีก่ ่อใหเ้ กดิ อนั ตรายหรือความเส่ยี งในการเกดิ อันตราย ดงั นี้ ประเภทที่ 1 วัตถุระเบิด (Explosives) วัตถุระเบดิ หมายถึง ของแขง็ หรือของเหลว หรอื สารผสมทสี่ ามารถ เกดิ ปฏกิ ริ ยิ าทางเคมดี ว้ ยตัวมนั เองทาใหเ้ กิดแกส๊ ทม่ี ีความดันและความรอ้ นอยา่ ง รวดเรว็ กอ่ ใหเ้ กดิ การระเบดิ สรา้ งความเสยี หายแก่บรเิ วณโดยรอบได้ ซง่ึ รวมถึงสาร ท่ีใช้ทาดอกไม้เพลงิ และส่ิงของท่ีระเบดิ ได้ดว้ ย แบง่ เปน็ 6 กลุ่มยอ่ ย คือ 1.1 สารหรือส่ิงของทกี่ ่อใหเ้ กดิ อันตรายจากการระเบดิ อยา่ งรนุ แรงทันทที ันใดทง้ั หมด (mass explosive) ตัวอยา่ งเช่น เชือ้ ปะทุ ลกู ระเบิด เปน็ ตน้ 1.2 สารหรอื สิ่งของทีม่ ีอันตรายจากการระเบิดแตกกระจาย แตไ่ มร่ ะเบดิ ทันทีทันใดทง้ั หมด ตวั อยา่ งเชน่ กระสุนปนื ทุ่นระเบิด ชนวนปะทุ เปน็ ต้น 1.3 สารหรอื สิ่งของทเี่ ส่ยี งตอ่ การเกดิ เพลงิ ไหม้ และอาจมีอันตรายบา้ งจากการระเบดิ หรอื การระเบดิ แตกกระจาย แต่ ไม่ระเบิดทันทีทันใดทง้ั หมด ตวั อยา่ งเชน่ กระสนุ เพลงิ เปน็ ต้น 1.4 สารหรอื สง่ิ ของทไี่ มแ่ สดงความเปน็ อันตรายอย่างเดน่ ชดั หากเกิดการปะทุหรอื ปะทุในระหว่างการขนสง่ จะเกดิ ความเสยี หายเฉพาะภาชนะบรรจุ ตัวอยา่ งเชน่ พลุอากาศ เปน็ ตน้ 1.5 สารท่ีไมไ่ วต่อการระเบดิ แต่หากมกี ารระเบิดจะมอี ันตรายจากการระเบิดท้ังหมด 1.6 สงิ่ ของทไี่ วต่อการระเบิดน้อยมากและไมร่ ะเบดิ ทันทที ้ังหมด มีความเสย่ี งต่อการระเบิดอย่ใู นวงจากัดเฉพาะในตวั สิง่ ของนนั้ ๆ ไมม่ โี อกาสท่ีจะเกดิ การปะทหุ รอื แผก่ ระจาย ประเภทท่ี 2 แกส๊ (Gases) แก๊ส หมายถงึ สารทีอ่ ณุ หภมู ิ 50 องศาเซลเซียส มคี วามดันไอมากกว่า 300 กิโลปาสกาล หรอื มีสภาพเปน็ แกส๊ อย่างสมบูรณท์ อ่ี ณุ หภมู ิ 20 องศาเซลเซยี ส และ มีความดนั 101.3 กโิ ลปาสกาล (ความดนั บรรยากาศปกติท่รี ะดบั น้าทะเล) ไดแ้ ก่ แกส๊ อัด แก๊สพษิ แก๊สในสภาพของเหลว แกส๊ ในสภาพของเหลวอณุ หภูมติ า่ และรวมถึงแกส๊ ที่ละลายในสารละลายภายใตค้ วามดัน เม่อื เกดิ การรว่ั ไหลสามารถ กอ่ ให้เกิดอันตรายจากการลกุ ตดิ ไฟ และ/หรอื เปน็ พษิ และแทนทอี่ อกซเิ จนในอากาศ แบง่ เปน็ 3 กลมุ่ ย่อย ดงั นี้ 2.1 แก๊สไวไฟ (Flammable gases) หมายถึง แก๊สที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียสและมีความดัน 101.3 กิโลปาสกาล (ความดันบรรยากาศปกติท่ีระดับน้าทะเล) สามารถติดไฟได้เม่ือผสมกับอากาศ 13 เปอร์เซ็นต์ หรือต่ากว่าโดย ปริมาตร หรอื มีช่วงกวา้ งที่สามารถติดไฟได้ 12 เปอร์เซน็ ต์ขนึ้ ไปเมื่อผสมกบั อากาศโดยไม่คานึงถึงความเข้มขน้ ต่าสุด ของการผสม โดยปกติแกส๊ ไวไฟหนักกวา่ อากาศ (ยกเวน้ แกส๊ มีเทนและไฮโดรเจน) ตัวอยา่ งของแก๊สกลมุ่ นี้ เช่น แก๊ส หุงต้ม หรือ LPG เป็นตน้ 2.2 แก๊สไม่ไวไฟและไม่เป็นพิษ (Non-flammable, non-toxic gases) หมายถึง แก๊สที่มีความดันไอไม่น้อยกว่า 280 กิโลปาสกาล ที่อุณหภมู ิ 20 องศาเซลเซียส หรอื อยใู่ นสภาพของเหลวอุณหภมู ิต่า ไม่ติดไฟและไมเ่ ปน็ พิษโดยตรง แต่ 1 http://www.chemtrack.org/unclass-intro.asp ภ2-8
อาจแทนท่ีออกซิเจนในอากาศและทาให้เกิดสภาวะขาดแคลนออกซิเจนได้ ตัวอย่างของแก๊สกลุ่มน้ี เช่น ไนโตรเจน คารบ์ อนไดออกไซด์ อารก์ อน เปน็ ตน้ 2.3 แกส๊ พิษ (Toxic gases) หมายถงึ แกส๊ ทมี่ ีคณุ สมบัตเิ ป็นอนั ตรายต่อสุขภาพหรอื ถึงแกช่ วี ติ ไดจ้ ากการหายใจ โดยสว่ น ใหญห่ นักกวา่ อากาศ มกี ลนิ่ ระคายเคอื ง ตวั อยา่ งของแก๊สในกลุ่มนี้ เช่น คลอรนี เมทิลโบรไมด์ ฟอสจีน เป็นตน้ บาง ชนิดไม่มีกลิน่ เช่น คารบ์ อนมอนนอกไซด์ ประเภทท่ี 3 ของเหลวไวไฟ (Flammable liquids) ของเหลวไวไฟ หมายถึง ของเหลว หรือของเหลวผสมท่ีมีจุดวาบไฟ (flash point) ไม่เกิน 60.5 องศาเซลเซียสจากการทดสอบด้วยวิธีถ้วยปิด (closed-cup test) หรือไม่เกิน 65.6 องศาเซลเซียสจากการทดสอบด้วยวิธีถ้วยเปิด (opened- cup test) ไอของเหลวไวไฟพร้อมลุกติดไฟเม่ือมีแหล่งประกายไฟ ตัวอย่างเช่น อะซโี ตน น้ามนั เช้อื เพลิง ทินเนอร์ เปน็ ตน้ ประเภทที่ 4 ของแขง็ ไวไฟ สารท่ีลกุ ไหม้ได้เอง และสารทีส่ ัมผัสกับนาแล้วให้แกส๊ ไวไฟ แบ่งเป็น 3 กลมุ่ ย่อย ดงั นี้ 4.1 ของแข็งไวไฟ (Flammable solids) หมายถึง ของแข็งท่ีสามารถติดไฟได้ง่ายจากการได้รับความร้อนจาก ประกายไฟ/เปลวไฟ หรือเกิดการลุกไหม้ได้จากการเสียดสี ตัวอย่างเช่น กามะถัน ฟอสฟอรัสแดง ไนโตร เซลลูโลส เป็นต้น หรือเป็นสารที่มีแนวโน้มที่จะเกิดปฏิกริ ิยาคายความร้อนท่ีรุนแรง ตวั อยา่ งเช่น เกลือไดอะโซ เนียม เปน็ ต้น หรอื เปน็ สารระเบิดท่ถี กู ลดความไวตอ่ การเกดิ ระเบดิ ตวั อย่างเชน่ แอมโมเนียมพิเครต (เปียก) ได ไนโตรฟนี อล (เปียก) เป็นตน้ 4.2 สารทม่ี ีความเสยี่ งตอ่ การลกุ ไหม้ไดเ้ อง (Substances liable to spontaneous combustion) หมายถงึ สารที่ มแี นวโน้มจะเกิดความร้อนขึน้ ไดเ้ องในสภาวะการขนสง่ ตามปกตหิ รอื เกดิ ความรอ้ นสูงขน้ึ ไดเ้ ม่ือสมั ผสั กับอากาศ และมีแนวโนม้ จะลกุ ไหม้ได้ เชน่ ฟอสฟอรัส (ขาว) 4.3 สารท่ีสัมผัสกับน้าแล้วทาให้เกิดแก๊สไวไฟ (Substances which in contact with water emit flammable gases) หมายถึง สารที่ทาปฏิกิริยากับน้าแล้ว มีแนวโน้มท่ีจะเกิดการติดไฟได้เอง หรือทาให้เกิดแก๊สไวไฟใน ปริมาณทเ่ี ปน็ อนั ตราย เช่น โลหะอัลคาไลน์ สารประกอบโลหะไฮไดรด์ ประเภทที่ 5 สารออกซิไดซแ์ ละสารอนิ ทรียเ์ ปอรอ์ อกไซด์ แบ่งเปน็ 2 กลมุ่ ย่อย ดังน้ี 5.1 สารออกซิไดซ์ (Oxidizing substances) หมายถึง ของแข็ง หรือของเหลวท่ีตัวของสารเองไม่ติดไฟ แต่ให้ ออกซเิ จนซ่ึงช่วยให้วตั ถอุ ่ืนเกดิ การลุกไหม้ และอาจจะกอ่ ใหเ้ กิดไฟเมือ่ สัมผัสกับสารที่ลกุ ไหม้และเกดิ การระเบิด อย่างรนุ แรง ตัวอยา่ งเชน่ แคลเซียมไฮโปคลอไรท์ โซเดียมเปอร์ออกไซด์ โซเดียมคลอเรต เป็นตน้ 5.2 สารเปอร์ออกไซด์อินทรีย์ (Organic peroxides) หมายถึง ของแข็ง หรือของเหลวท่ีมีโครงสร้างออกซิเจนสอง อะตอม -O-O- และช่วยในการเผาสารที่ลุกไหม้ หรือทาปฏิกิริยากับสารอ่ืนแล้วก่อให้เกิดอันตรายได้ หรือเม่ือ ไดร้ บั ความรอ้ นหรือลุกไหม้แล้วภาชนะบรรจุสารนอี้ าจระเบิดได้ ตัวอยา่ งเชน่ อะซีโตนเปอรอ์ อกไซด์ เปน็ ต้น ภ2-9
ประเภทที่ 6 สารพษิ และสารตดิ เชอื แบง่ เปน็ 2 กลุ่มย่อย ดังนี้ 6.1 สารพิษ (Toxic substances) หมายถึง ของแข็งหรือของเหลวท่ีสามารถทาให้เสียชีวิตหรือบาดเจ็บรุนแรงต่อ สุขภาพของคน หากกลืน สูดดมหรือหายใจรับสารนี้เข้าไป หรือเม่ือสารน้ีได้รับความร้อนหรือลุกไหม้จะปล่อย แกส๊ พษิ ตัวอย่างเช่น โซเดยี มไซยาไนด์ กลุ่มสารกาจดั แมลงศตั รูพืชและสตั ว์ เป็นต้น 6.2 สารติดเชื้อ (Infectious substances) หมายถงึ สารที่มเี ช้ือโรคปนเปือ้ น หรือสารที่มตี ัวอย่างการตรวจสอบของ พยาธสิ ภาพปนเปอ้ื นท่ีเป็นสาเหตขุ องการเกิดโรคในสตั ว์และคน ตวั อยา่ งเช่น แบคทีเรียเพาะเชือ้ เป็นต้น ประเภทที่ 7 วัสดกุ มั มนั ตรังสี วสั ดุกัมมันตรังสี (Radioactive materials) หมายถึง วัสดุท่ีสามารถแผ่รังสี ทีม่ องไมเ่ ห็นอย่างตอ่ เนอ่ื งมากกว่า 0.002 ไมโครคูรตี ่อกรัม ตัวอย่างเชน่ โมนาไซด์ ยเู รเนยี ม โคบอลต์-60 เปน็ ตน้ ประเภทท่ี 8 สารกดั กร่อน สารกัดกร่อน (Corrosive substances) หมายถึง ของแข็ง หรือของเหลวซ่ึง โดยปฏิกิริยาเคมมี ีฤทธ์ิกดั กรอ่ นทาความเสียหายตอ่ เน้ือเยื่อของสงิ่ มชี ีวิตอย่างรุนแรง หรือทาลายสินค้า/ยานพาหนะท่ีทาการขนส่งเมื่อเกิดการร่ัวไหลของสาร ไอระเหย ของสารประเภทนี้บางชนิดก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อจมูกและตา ตัวอย่างเช่น กรดเกลอื กรดกามะถัน โซเดยี มไฮดรอกไซด์ เป็นตน้ ประเภทที่ 9 วสั ดุอนั ตรายเบด็ เตลด็ วัสดุอันตรายเบ็ดเตล็ด (Miscellaneous dangerous substances and articles, including environmentally hazardous substances) หมายถึง สาร หรอื สิง่ ของท่ีในขณะขนสง่ เปน็ สารอันตรายซง่ึ ไมจ่ ดั อยู่ในประเภทที่ 1 ถงึ ประเภทท่ี 8 รวมถึงสารท่ีเป็นอันตรายต่อส่ิงแวดล้อม และให้รวมถึงสารทรี่ ะหว่างการขนส่งมี อุณหภูมิตั้งแต่ 100 องศาเซลเซียส ในสภาพของเหลว และมีอุณหภูมิต้ังแต่ 240 องศาเซลเซยี ส ในสภาพของแขง็ 2.2.3 ระบบการจาแนกประเภทและการตดิ ฉลากสารเคมีและเคมีภณั ฑ์ของสหภาพยโุ รป (เดมิ )2 ในอดตี ก่อนท่ีประเทศในกลมุ่ สหภาพยุโรปจะนาระบบ GHS มาปรับใช้ กลุ่มสหภาพยโุ รปมกี ฎหมายเก่ยี วกบั การ จาแนกประเภทและตดิ ฉลากสารเคมีและเคมภี ณั ฑ์ หรอื Directive 67/548/EEC และ Directive 1999/45/EC ดังนัน้ เนอ่ื งจากประเทศในกลมุ่ สหภาพยโุ รปเป็นผผู้ ลติ สารเคมแี ละเคมภี ณั ฑร์ ายใหญ่ของโลก ระบบการจาแนกน้จี ึงพบเหน็ และเปน็ ทร่ี จู้ กั อยา่ งกว้างขวาง 2 กฎหมายการจาแนกประเภท ติดฉลาก และบรรจุภัณฑส์ ารเคมแี ละเคมภี ณั ฑ์ (Directive 67/548/EEC และ 1999/45/EC) ภ2-10
ก) ประเภทความเป็นอนั ตราย (Hazard class) ประกอบด้วย 15 ประเภท ดงั น้ี 1. วตั ถุระเบดิ (Explosive) 2. สารออกซไิ ดซ์ (Oxidizing) 3. สารไวไฟมากเป็นพเิ ศษ (Extremely flammable) 4. สารไวไฟมาก (Highly flammable) 5. สารไวไฟ (Flammable) 6. สารมพี ษิ มาก (Very toxic) 7. สารมพี ิษ (Toxic) 8. สารอนั ตราย (Harmful) 9. สารกดั กร่อน (Corrosive) 10. สารระคายเคือง (Irritant) 11. สารท่ีทาใหไ้ วต่อการกระตุ้นอาการแพ้ (Sensitization) 12. สารก่อมะเรง็ (Carcinogenic) 13. สารกอ่ ใหเ้ กดิ การกลายพันธ์ุ (Mutagenic) 14. สารที่เปน็ พษิ ตอ่ ระบบสบื พันธุ์ (Toxic for reproduction) 15. สารอนั ตรายตอ่ สงิ่ แวดล้อม (Dangerous for the environment) ข) สัญลกั ษณแ์ สดงความเป็นอนั ตราย (Hazard symbols) ประกอบด้วย 10 สัญลกั ษณ์ ดังน้ี วัตถรุ ะเบดิ (Explosive) สารออกซไิ ดซ์ (Oxidizing) สารไวไฟมากเป็นพเิ ศษ (Extremely สารไวไฟมาก (Highly flammable) flammable) สารมพี ษิ มาก (Very toxic) สารไวไฟ (Flammable) สารมีพิษ (Toxic) สารระคายเคอื ง (Irritant) สารกอ่ มะเรง็ ประเภทที่ 1, 2 สารที่ทาใหไ้ วตอ่ การกระตนุ้ อาการ (Carcinogenic) แพ้ (Sensitization) สารก่อให้เกดิ การกลายพันธุ์ ประเภทที่ สารอนั ตราย (Harmful) 1, 2 (Mutagenic) สารทีท่ าใหไ้ วต่อการกระตุ้นอาการ สารทีเ่ ป็นพษิ ตอ่ ระบบสบื พันธ์ุ แพ้ (Sensitization) ประเภทท่ี 1, 2 (Toxic for สารกอ่ มะเร็ง ประเภทท่ี 3 reproduction) (Carcinogenic) สารอนั ตรายต่อส่ิงแวดลอ้ ม สารกอ่ ให้เกดิ การกลายพนั ธุ์ (Dangerous for the environment) ประเภทท่ี 3 (Mutagenic) สารทีเ่ ปน็ พิษต่อระบบสืบพันธุ์ ประเภทที่ 3 (Toxic for reproduction) สารกดั กร่อน (Corrosive) ภ2-11
เกณฑท์ ี่ 1: การจดั การเก็บสารเคมีและวตั ถอุ ันตราย ของ กรมโรงงานอุตสาหกรรม ทีม่ า ตารางการจัดเก็บสารเคมแี ละวตั ถอุ ันตราย [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก http://eis.diw.go.th/haz/Doc/ManualK.pdf สบื ค้นเม่อื วนั ท่ี 27 พฤษภาคม 2558 2.3 ตวั อย่างเกณฑ์การแยกประเภทสารเคมเี พ่อื การจดั เกบ็ ภ2-12
เกณฑ์ท่ี 2: Chemical Segregation (Hazard class) จาก Laboratory Safety Manual, The University of Texas at Austin ทมี่ า ดดั แปลงจาก Laboratory Safety Manual, The University of Texas at Austin, January 2011 กล่มุ ของสารเคมี คาแนะนาวิธีการเก็บรกั ษา ตัวอย่างสารเคมี สารทเ่ี ข้ากนั ไมไ่ ด้ (ดู SDS ในทกุ กรณ)ี แกส๊ ไวไฟภายใตค้ วามดัน เกบ็ รักษาในทเี่ ยน็ และแห้ง ห่าง แกส๊ ไวไฟภายใตค้ วามดนั (รวมถงึ แก๊สติดไฟได้) จากแก๊สออกซิไดซ์ อย่างนอ้ ย 6 (รวมถงึ แก๊สติดไฟได)้ เกบ็ รกั ษาในที่เยน็ และแหง้ (Compressed gases– เมตร (20 ฟุต) โดยมดั หรอื ล่าม (compressed gases– หา่ งจากแก๊สออกซไิ ดซ์ flammable includes ถงั ไว้กับผนังหรือโตะ๊ ปฏบิ ตั กิ าร flammable includes อย่างนอ้ ย 6 เมตร (20 ฟตุ ) combustible) combustible) โดยมดั หรือลา่ มถังไว้กบั ผนัง หรือโตะ๊ ปฏบิ ัตกิ าร แกส๊ เหลวไวไฟภายใต้ เก็บรกั ษาในท่เี ยน็ และแหง้ ห่าง Propane, Butane แกส๊ พิษและออกซไิ ดซ์ ความดนั (Compressed จากแกส๊ ออกซไิ ดซ์ ภายใต้ความดนั , gases–liquefied อย่างนอ้ ย 6 เมตร (20 ฟตุ ) โดย ของแขง็ ออกซิไดซ์ flammable) มัดหรอื ลา่ มถังไวก้ บั ผนังหรือโต๊ะ (oxidizing and toxic ปฏิบตั ิการ compressed gases, แก๊สบางชนดิ อาจต้องเก็บในตู้ที่ oxidizing solids) ติดตัง้ สปริงเกลอรห์ รือระบบ ระบายอากาศ แก๊สที่เกบ็ ในอาคาร ถังควรมี ขนาดบรรจุ ไมเ่ กิน 16 ออนซ์ (350 กรมั ) หากมีขนาดใหญ่ให้ นาเข้ามาใช้ภายในอาคารเป็น รายวนั เทา่ นัน้ และเก็บถาวรอยู่ ภายนอกอาคาร แกส๊ ภายใตค้ วามดันทไ่ี ว เกบ็ รักษาในทีเ่ ย็นและแหง้ ห่าง Oxygen, Chlorine แก๊สไวไฟ ต่อปฏกิ ริ ยิ า (รวมถึง จากแกส๊ ไวไฟอย่างนอ้ ย 6 เมตร (flammable gases) แก๊สออกซิไดซ)์ (20 ฟตุ ) มดั หรือลา่ มถังไวก้ ับ (Compressed gases– ผนังหรือโตะ๊ ปฏิบตั กิ าร reactive, including แก๊สบางชนดิ อาจตอ้ งเก็บในตทู้ ี่ oxidizing) ติดตัง้ ระบบระบายอากาศ ภ2-13
กลุ่มของสารเคมี คาแนะนาวธิ ีการเกบ็ รักษา ตวั อย่างสารเคมี สารทเี่ ข้ากันไม่ได้ (ดู SDS ในทุกกรณี) แก๊สภายใตค้ วามดันที่ เกบ็ รกั ษาในทเี่ ย็นและแหง้ ห่าง Carbon monoxide, คกุ คามสุขภาพของคน จากแก๊สและของเหลวไวไฟ โดย Hydrogen sulfide, แก๊สไวไฟ และ/หรอื รวมถึงแกส๊ พษิ และกดั มดั หรือลา่ มถังไวก้ บั ผนงั หรือโตะ๊ Hydrogen chloride ออกซิไดซ์ กร่อน (Compressed ปฏิบัตกิ าร (flammable and/or gases–threat to แกส๊ บางชนิดอาจต้องเก็บในต้ทู ี่ oxidizing gases) human health, ติดตั้งระบบระบายอากาศ includes toxic and corrosive) สารกดั กรอ่ น–กรด เกบ็ ในตเู้ ก็บรักษากรดทตี่ ดิ ตง้ั Inorganic (mineral) ของเหลวไวไฟ อนนิ ทรีย์ (Corrosives– ระบบปอ้ งกนั หรือมภี าชนะ acids, Hydrochloric acid, (flammable liquids) acids inorganic) พลาสติกรองรบั Sulfuric acid, Chromic ของแขง็ ไวไฟ (flammable acid, Nitric acid solids) เบส (bases) หมายเหต:ุ Nitric acid เป็น สารออกซไิ ดซ์ (oxidizers) สารออกซิไดซท์ แ่ี รงและควร และ กรดอินทรีย์ (organic เกบ็ แยกจากกรดอน่ื ๆ โดย acids) เก็บในภาชนะรองรับหรือตู้ กรดทแ่ี ยกออกจากกัน สารกัดกร่อน–กรดอินทรยี ์ เกบ็ ในตู้เกบ็ รักษากรดทีต่ ดิ ตั้ง Acetic acid, ของเหลวไวไฟ (Corrosives–acids ระบบปอ้ งกัน หรอื มภี าชนะ Trichloroacetic acid, (flammable liquids) organic) พลาสตกิ รองรบั Lactic acid ของแข็งไวไฟ (flammable solids) เบส (bases) สารออกซไิ ดซ์ (oxidizers) และ กรดอนินทรยี ์ (inorganic acids) สารกัดกรอ่ น–เบส เก็บในตูท้ ่ีแยกตา่ งหาก Ammonium hydroxide, สารออกซิไดซ์ และกรด (Corrosives–bases) Potassium hydroxide, (oxidizers and acids) Sodium hydroxide สารระเบดิ ได้ เก็บใหห้ ่างจากสารเคมีอน่ื ๆ Ammonium nitrates, สารเคมีอน่ื ๆ ทง้ั หมด (Explosives) ท้งั หมด ในตาแหน่งทปี่ ลอดภยั Nitrourea, Sodium เพือ่ มิให้พลัดตกลงมาได้ azide, Trinitroaniline, Trinitroanisole, Trinitrobenzene, Trinitrophenol (Picric acid), Trinitrotoluene (TNT) ของเหลวไวไฟ เก็บในต้เู กบ็ เฉพาะสารไวไฟ Acetone, Benzene, สารออกซไิ ดซ์ และกรด (Flammable liquids) หมายเหต:ุ สารเคมที ่ีเกิดเปอร์ Diethyl ether, (oxidizers and acids) ออกไซด์ได้ตอ้ งลงวันท่ที ีเ่ ปิดขวด Methanol, Ethanol, เช่น Ether, Tetrahydrofuran, Hexanes, Toluene ภ2-14
กลุม่ ของสารเคมี คาแนะนาวธิ กี ารเก็บรักษา ตัวอย่างสารเคมี สารท่เี ขา้ กันไม่ได้ (ดู SDS ในทุกกรณ)ี ของแข็งไวไฟ Dioxane Phosphorus, Carbon, (Flammable solids) Charcoal สารออกซไิ ดซ์ และกรด เกบ็ ในพืน้ ที่ทเี่ ยน็ และแห้ง แยก (oxidizers and acids) สารเคมที ่ีไวปฏิกิรยิ าตอ่ น้า ห่างออกไปจากสารออกซิไดซ์ Sodium metal, (Water reactive และสารกดั กรอ่ น Potassium metal, แยกจากสารละลายทมี่ ีนา้ chemicals) Lithium metal, เปน็ องคป์ ระกอบทง้ั หมด เก็บในสถานท่ที ่ีเย็นและแห้ง Lithium aluminum และสารออกซไิ ดซ์ และมกี ารปอ้ งกันสารเคมีจาก hydride (all aqueous solutions การสัมผัสนา้ (รวมทั้งระบบ and oxidizers) สปรงิ เกลอร)์ และตดิ ปา้ ยเตอื น ในสถานทีน่ นั้ วา่ “สารเคมที ่ไี ว ปฏิกิรยิ าต่อน้า”, “ห้ามใช้นา้ ดับไฟในทกุ กรณี” ไม่เก็บบนพืน้ เผือ่ กรณนี า้ ท่วม (เช่น ท่อนา้ แตก) สารออกซิไดซ์ วางบนถาดและเก็บไวใ้ นต้ทู นไฟ Sodium hypochlorite, สารรีดิวซ์, สารไวไฟ, สาร (Oxidizers) แยกต่างหากจากสารไวไฟ และ Benzoyl peroxide, ไหมไ้ ฟได้, วสั ดุอนิ ทรีย์ และ วสั ดุที่ตดิ ไฟได้ Potassium โลหะสภาพเปน็ ผงละเอยี ด permanganate, Potassium chlorate, Potassium dichromate หมายเหต:ุ กลมุ่ สารเคมี ต่อไปน้ีเปน็ สารออกซไิ ดซ:์ Nitrates, Nitrites, Chromates, Dichromates, Chlorites, Permanganates, Persulfates, Peroxides, Picrates, Bromates, Iodates, Superoxides สารพษิ แยกเกบ็ จากสารอ่ืน โดยมี Cyanides, สารประกอบ ดู SDS (Poisons) ภาชนะรองรบั ทท่ี นสารเคมีใน โลหะหนัก เชน่ Cadmium, พนื้ ทท่ี ่แี ห้ง เยน็ และมกี าร Mercury, Osmium สารเคมีทั่วไปทไ่ี มไ่ วต่อ ระบายอากาศ ปฏิกิริยา Agar, Sodium chloride, ดู SDS (General chemicals เก็บในตหู้ รอื ชนั้ วาง Sodium bicarbonate, non–reactive) และเกลือท่ีไมไ่ วต่อปฏิกริ ิยา ส่วนใหญ่ ภ2-15
เกณฑท์ ี่ 3: Chemical Segregation (Hazard class) ของ Lawrence Berkeley National Laboratory (Berkeley Lab), U.S. Department of Energy ที่มา Chemical segregation (Hazard class,) Lawrence Berkeley National Laboratory (Berkeley Lab), U.S. Department of Energy [ออนไลน]์ เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://www.lbl.gov/ehs/chsp/html/storage.shtml สืบคน้ เมือ่ วนั ที่ 12 มนี าคม 2555 Acids, Acids, Acids, Alkalis Oxidizers Poisons, Poisons, Water- Organic solvents inorganic oxidizing organic (bases) inorganic organic reactives X Acids, inorganic XX XXX X Acids, oxidizing XX XXX X X Acids, organic X X XX X X X X Alkalis (bases) X X X XX Oxidizers X XX Poisons, inorganic X XX XX Poisons, organic X X XX X X Water- reactives X X XX X X Organic solvents X X XX X หมายเหตุ X = เขา้ กนั ไมไ่ ด้ เกณฑท์ ี่ 4: ChemAlert chemical incompatibility color coding system ของ Department of Microbiology, University of Manitoba ทีม่ า Department of Microbiology, University of Manitoba [ออนไลน]์ เขา้ ถึงไดจ้ าก http://umanitoba.ca/ science/microbiology/WHMIS/WHMISincapatibility.htm สืบค้นเมือ่ วนั ท่ี 12 มนี าคม 2555 รหัสการเก็บรกั ษา สี ความหมาย เกบ็ ใหห้ า่ งจาก ข้อกาหนดการเก็บรกั ษา R สีแดง สารไวไฟ สเี หลือง, สีน้าเงิน, สี เกบ็ ในพ้ืนทที่ กี่ าหนดไว้สาหรับวสั ดุ ขาว และสเี ทา ไวไฟ Y สเี หลือง สารไวต่อปฏกิ ริ ิยาและสาร สแี ดง เก็บให้ห่างจากวัสดไุ วไฟและไหมไ้ ฟได้ ออกซไิ ดซ์ B สนี า้ เงนิ สารอนั ตรายต่อสุขภาพ เกบ็ ในพ้นื ที่ปลอดภยั (สารพษิ ) W สขี าว สารกัดกร่อน สีแดง, สีเหลอื ง และสี เก็บใหห้ า่ งจากสารไวไฟ, สารไวตอ่ น้าเงิน ปฏิกริ ยิ า, สารออกซไิ ดซ์, และสารพิษ G สเี ทา ไม่มสี ารอันตรายต่อ ไมม่ ขี ้อกาหนดของ ข้ึนกบั สารเคมีแตล่ ะชนดิ สุขภาพมาก เฉพาะ ภ2-16
เกณฑ์ท่ี 5: Partial Incompatibility Listing จาก Chemical Segregation & Incompatibilities Guidelines, University of Texas at Arlington ทม่ี า Chemical Segregation & Incompatibilities Guidelines, University of Texas at Arlington [ออนไลน]์ เข้าถึง ไดจ้ าก http://www.uta.edu/campus-ops/ehs/chemical/docs/chemical-segregation.pdf สบื ค้นเมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2555 Compound/Class Avoid Storage Near or Contact With: Acids Acetic acid Chromic acid, nitric acid, hydroxyl compounds, ethylene, glycogen, perchloric acid, peroxides, permanganate Hydrofluoric acid Ammonia (aqueous or anhydrous) Nitric acid (conc.) Acetic acid, aniline, chromic acid, acetone, alcohol, or other flammable liquids, hydrocyanic acid, hydrogen sulfide, or other flammable gases, nitratable substances: copper, brass or any heavy metals (or will generate nitrogen dioxide/nitrous fumes) or organic products such as wood and paper Sulfuric acid Light metals (Iithium, sodium, potassium), chlorates, perchlorates, permanganates Compound/Class Avoid Storage Near or Contact With: Bases Ammonia Mercury, chlorine, bromine, iodine, hydrofluoric acid, calcium hypochlorite Calcium oxide Water Alkaline metals Sodium, potassium, magnesium, calcium, aluminum, carbon dioxide, carbon tetrachloride or other chlorinated hydrocarbons, halogens, water Bromine Ammonia, acetylene, butadiene, methane, propane, butane (or other petroleum gases), hydrogen, sodium carbide, turpentine, benzene, finely divided metals Carbon, activated Calcium hypochlorite, oxidizing agents Chlorine Ammonia, acetylene, butadiene, methane, propane, butane, or other petroleum gases, hydrogen, sodium carbide, turpentine, benzene, finely divided metals Copper Acetylene, hydrogen peroxide, nitric acid Fluorine Isolate from everything Iodine Acetylene, ammonia (aqueous or anhydrous), hydrogen Mercury Acetylene, ammonia, fulminic acid (produced in nitric acid–ethanol mixtures) Oxygen Oils, grease, hydrogen, other flammable gases, liquids, or solids Phosphorous (white) Air, oxygen, caustic alkalis as reducing agents (will generate phosphine) Potassium Carbon tetrachloride, carbon dioxide, water Silver Acetylene, oxalic acid, tartaric acid, fulminic acid (produced in nitric acid-ethanol mixtures), and ammonium compounds Organics Hydrocarbons Fluoride, chlorine, bromine, chromic acid, sodium peroxide (propane, butane, etc.) Nitroparaffins Inorganic bases, amines Oxalic acid Silver, mercury Oxidizers Chlorates Ammonium salts, acids, metal powders, sulfur, finely divided organics, or combustible materials ภ2-17
Chromic acid (trioxide) Acetic acid, naphthalene, camphor, glycerol, turpentine, alcohol or flammable liquids Ammonium nitrate Acids, metal powders, flammable liquids, chlorates, nitrates, sulfur, finely divided organics or combustible materials Chlorine dioxide Ammonia, methane, phosphine, hydrogen sulfide Cumene hydroperoxide Organic or inorganic acids Hydrogen peroxide Copper, chromium, iron, most other metals or salts, alcohols, acetone, or other flammable liquids, aniline, nitromethane, or other organic or combustible materials Hypochlorites Acids (will generate chlorine or hypochlorous acid) Nitrates Sulfuric acid (will generate nitrogen dioxide ) Compound/Class Avoid Storage Near or Contact With: Oxidizers Perchloric acid Acetic acid, bismuth and its alloys, alcohol, paper, wood, grease, oils Peroxides (organics) Organic or inorganic acids; also avoid friction and store cold Potassium chlorate Acid, especially sulfuric acid Potassium Glycerol, ethylene glycol, benzaldehyde, sulfuric acid permanganate Sodium peroxide Any oxidizable substance such as methanol, ethanol, glycerol, ethylene glycol, glacial acetic acid, acetic anhydride, benzaldehyde, furfural, methyl acetate, ethyl acetate, carbon disulfide Alkaline metals Sodium, potassium, magnesium, calcium, aluminum, carbon dioxide, carbon tetrachloride or other chlorinated hydrocarbons, halogens, water Calcium oxide Water Cyanides Acids (will generate hydrogen cyanide) Phosphorous (white) Air, oxygen, caustic alkalis as reducing agent (will generate phosphine) Potassium Carbon tetrachloride, carbon dioxide, water Sodium Carbon tetrachloride, carbon dioxide, water Sodium peroxide Any oxidizable substance such as methanol, ethanol, glycerol, glacial acetic acid, acetic anhydride, benzaldehyde, furfural, methyl acetate, ethyl acetate, carbon disulfide Sulfides Acids (will generate hydrogen sulfide) Reducing Agents Hydrazine Hydrogen peroxide, nitric acid, other oxidants Nitrites Acids (will generate nitrous fumes) Sodium nitrite Ammonium nitrate and other ammonium salts Toxics/Poisons Arsenicals Reducing agents (will generate arsine) Azides Acids (will generate hydrogen azide) Cyanides Acids (will generate hydrogen cyanide) Hydrocyanic acid Nitric acid, alkalis Hydrogen sulfide Fuming nitric acid, oxidizing gases Selenides Reducing agents (will generate hydrogen selenide) Sulfides Acids (will generate hydrogen sulfide) Tellurides Reducing agents (will generate hydrogen telluride) ภ2-18
เกณฑท์ ี่ 6: EPA's Chemical Compatibility Chart ทีม่ า EPA's Chemical Compatibility Chart [ออนไลน]์ เข้าถงึ ได้จาก http://www.uos.harvard.edu/ehs/environmental/EPAChemical CompatibilityChart.pdf สืบคน้ เม่ือวันที่ 12 มนี าคม 2555 ภ2-19
2.4 การจาแนกประเภทสารไวไฟ ของเหลวไวไฟ (Flammable liquid) ระบบ NFPA Class เกณฑ์การจาแนก IA ของเหลวทม่ี ีจุดวาบไฟ < 22.8 C และ มจี ุดเรม่ิ เดอื ด (Initial boiling point) < 37.8 C IB ของเหลวที่มจี ุดวาบไฟ < 22.8 C และ มีจดุ เริ่มเดอื ด (Initial boiling point) 37.8 C IC ของเหลวทม่ี จี ดุ วาบไฟ 22.8 C แต่ < 37.8 C ท่ีมา: NFPA 30, 2015 ของเหลวไวไฟ (Flammable liquid) ระบบ GHS Category เกณฑก์ ารจาแนก 1 ของเหลวทีม่ ีจุดวาบไฟ < 23 C และ มจี ดุ เรมิ่ เดอื ด (Initial boiling point) 35 C 2 ของเหลวทม่ี ีจดุ วาบไฟ < 23 C และ มจี ดุ เร่มิ เดอื ด (Initial boiling point) > 35 C 3 ของเหลวทมี่ จี ุดวาบไฟ 23 C แต่ 60 C 4 ของเหลวที่มีจดุ วาบไฟ > 23 C แต่ 93 C ท่ีมา: Globally Harmonised System for Classification and Labeling of Chemicals (GHS), UN, 2011 ของแขง็ ไวไฟ (Flammable solids) ระบบ GHS Category เกณฑก์ ารจาแนก 1 เม่ือทาการทดสอบอัตราการลุกไหม้ (Burning rate test) แลว้ ให้ผลดงั น้ี สารหรือของผสมท่ีนอกเหนือจากผงโลหะ: - โซนเปียก (wetted zone) ไมห่ ยดุ การลกุ ไหม้ของไฟ และ - เวลาในการลุกไหม้ < 45 วนิ าที หรือ อตั ราการลกุ ไหม้ > 2.2 มลิ ลเิ มตร/วินาที ผงโลหะ: เวลาในการลกุ ไหม้ 5 นาที 2 เมอ่ื ทาการทดสอบอตั ราการลกุ ไหม้ (Burning rate test) แล้วให้ผลดงั นี้ สารหรอื ของผสมท่ีนอกเหนือจากผงโลหะ: - โซนเปยี ก (wetted zone) หยุดการลุกไหม้ของไฟอย่างนอ้ ย 4 นาที และ - เวลาในการลกุ ไหม้ < 45 วินาที หรอื อัตราการลุกไหม้ > 2.2 มิลลเิ มตร/วินาที ผงโลหะ: เวลาในการลุกไหม้ > 5 นาที และ ≤ 10 นาที ที่มา: Globally Harmonised System for Classification and Labeling of Chemicals (GHS), UN, 2011 ตารางที่ 2.6 ตวั อยา่ งสารไวไฟ Flash Point (C) Boiling Point (C) NFPA Classification Chemical -20.0 56.1 -38.9 21.1 IB Acetone 5.6 81.7 IA Acetaldehyde 0.0 77.2 IB Acetonitrile -11.1 80.0 IB Acrylonitrile 11.1 82.8 IB Benzene < -6.7 82.8 IB Tert-Butyl Alcohol 12.2 101.1 IB Cyclohexene -4.4 77.2 IB Dioxane 12.8 78.3 IB Ethyl Acetate -45.0 35.0 IB Ethyl Alcohol IA Ethyl Ether ภ2-20
Chemical Flash Point (C) Boiling Point (C) NFPA Classification Gasoline -42.8 37.8 -204.4 IB Hexane -21.7 68.9 IB Isopropanol 11.7 83.9 IB Methanol 11.1 78.9 IB Methylene Chloride None 40.0 None Methyl Ethyl Keytone -8.9 80.0 IB Pentane < -40 36.1 IA Petroleum Ether < -17.8 35-60 IA-IB Propyl Alcohol 23.3 97.2 IC n-Propyl Ether 21.1 90.0 IB Pyridine 20.0 115.0 IB Tetrahydrofuran -14.4 66.1 IB Toluene 4.4 110.0 IB Triethylamine -8.9 89.4 IB m-Xylene 25.0 138.9 IC ทม่ี า: ดัดแปลงจาก Flammable Liquid Storage, Environmental, Health and Safety Department, University of South Dakota (http://www.usd.edu/research/research-and-sponsored-programs/upload/Flammable-Liquids-Storage.pdf สบื ค้นเมื่อวนั ที่ 2 กมุ ภาพันธ์ 2558) ตารางที่ 2.7 ตวั อยา่ งสารไวไฟสงู ของเหลวไวไฟสูง (category 1 ตามระบบ GHS) ของแข็งไวไฟสูง (category 1 ตามระบบ GHS) 2-Methylbutane หรอื isopentane (CAS no. 78-78-4) magnesium powder (CAS no. 7439-95-4) 1,1-dichloroethylene (CAS no. 75-35-4) aluminium powder (CAS no. 7429-90-5) diethyl ether (CAS no. 60-29-7) white/red phosphorus (CAS no. 7723-14-0) acetaldehyde (CAS no. 75-07-0) diphosphorus pentasulphide (CAS no. 1314-80-3) furan (CAS no. 110-00-9) pentachlorobenzene (CAS no. 608-93-5) trichlorosilane (CAS no. 10025-78-2) 1,3,5-trioxan (CAS no. 110-88-3) ท่ี ม า : C&L Inventory database, harmonized classification, Annex VI of Regulation (EC) No. 1272/2008 (CLP Regulation), http://echa.europa.eu/information-on-chemicals/cl-inventory-database สบื ค้นเมือ่ วันท่ี 2 กมุ ภาพันธ์ 2558 ภ2-21
2.5 เอกสารขอ้ มลู ความปลอดภยั (Safety Data Sheet, SDS) เอกสารข้อมู ลค วาม ป ล อด ภั ย (Material Safety Data Sheet: MSDS ห รือ Safety Data Sheet: SDS) เป็ น แหล่งข้อมูลที่สาคัญของสารเคมี ท่ีใช้ในการส่ือสารข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัย ทั้งนี้ข้อมูลท่ีแสดงใน SDS ในบางหัวข้อจะ ประกอบด้วยค่าตัวแปรต่างๆ และข้อมูลเชิงเทคนิค เช่น ตัวแปรแสดงความเป็นพิษ (เช่น LD50, LC5, NOEL ฯลฯ) ค่า มาตรฐานด้านอาชีวอนามัย (เช่น TWA, TLV, STEL ฯลฯ) เป็นต้น ดังน้ันผู้อ่านควรทาความเข้าใจเพื่อที่จะสามารถใช้ ประโยชน์จากข้อมูลใน SDS ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ตามระบบสากล เชน่ GHS ขององคก์ ารสหประชาชาติ ข้อมลู ใน SDS จะประกอบด้วย 16 หวั ข้อ3 ดงั นี้ 1. ขอ้ มูลเกี่ยวกับสารเคมี บริษัทผู้ผลิตและหรือจาหน่าย (identification) แสดงชื่อผลิตภัณฑ์ที่เหมือนกับท่ีแสดงบน ฉลากของผลิตภัณฑ์ ชือ่ สารเคมี วัตถุประสงคก์ ารใชง้ านของผลติ ภัณฑ์ ช่ือที่อยู่และหมายเลขโทรศพั ท์ของผู้ผลิต ผู้นา เขา้ หรอื ผจู้ ัดจาหนา่ ย และหมายเลขโทรศพั ท์ฉุกเฉนิ 2. ข้อมูลความเปน็ อันตราย (hazards identification) โดยระบวุ ่า 2.1 เปน็ สารเคมหี รือเคมีภัณฑ์อันตรายหรอื ไม่ และเปน็ สารประเภทใดตามเกณฑก์ ารจัดประเภทความเป็นอันตราย และระบุความเปน็ อันตรายตอ่ มนุษย์และส่งิ แวดลอ้ มด้วย 2.2 ลักษณะความเป็นอันตรายทสี่ าคัญทีส่ ุดของสารเคมหี รือเคมีภณั ฑ์ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพมนุษย์และสงิ่ แวดลอ้ ม และอาการทอ่ี าจเกิดขน้ึ จากการใชแ้ ละการใชท้ ่ผี ดิ วิธี 2.3 ความเปน็ อันตรายอน่ื ๆ ถึงแม้ว่าส่ิงเหล่าน้นั จะไมไ่ ดจ้ ัดอยู่ในประเภทของความเปน็ อนั ตรายตามขอ้ กาหนด 3. ส่วนประกอบและข้อมูลเก่ียวกับส่วนผสม (composition/information on ingredients) ระบุสารเคมีท่ีเป็น ส่วนประกอบในเคมีภัณฑ์ ปริมาณความเข้มข้นหรือช่วงของความเข้มข้นของสารเคมีท่ีเป็นส่วนผสมของเคมีภัณฑ์ แสดงสัญลกั ษณ์ประเภทความเป็นอนั ตราย และ CAS no. ของสารเคมี 4. มาตรการปฐมพยาบาล (first aid measures) ระบุวิธีการปฐมพยาบาลที่พิจารณาถึงคุณสมบัติและความเป็น อันตรายของสาร และความเหมาะสมกับลักษณะของการได้รับหรือสัมผัสกับสารน้ัน รวมท้ังการใช้อุปกรณ์ในการ ช่วยเหลอื เป็นพเิ ศษสาหรบั เคมีภัณฑบ์ างอย่าง 5. มาตรการผจญเพลิง (fire fighting measures) แสดงข้อมูลเกี่ยวกับการดับเพลิงเม่ือเกิดเหตุเพลิงไหม้อัน เน่ืองมาจากสารเคมีหรือเคมีภัณฑ์ ประกอบด้วย วัสดุที่เหมาะสมสาหรับการดับเพลิง วัสดุท่ีไม่เหมาะสมสาหรับการ ดับเพลิง ความเป็นอันตรายท่ีจะเกิดขึ้นเม่ือเกิดเหตุเพลิงไหม้ ความเป็นอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้ของผลิตภัณฑ์ อปุ กรณ์ทใ่ี ช้ในการป้องกันภยั สาหรบั ผู้ผจญเพลงิ หรือพนักงานดบั เพลิง และคาแนะนาอื่น ๆ ในการดบั เพลิง 6. มาตรการจัดการเม่ือมีการหกร่ัวไหล (accidental release measures) ครอบคลุมถึง การป้องกันส่วนบุคคลเพ่ือ ไม่ให้ได้รับอันตรายในการจัดการสารเคมีหรือเคมีภัณฑ์ที่หกร่ัวไหล การดาเนินการเพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายต่อ ส่ิงแวดล้อม และวธิ ที าความสะอาด เช่น การใชว้ ัสดุในการดูดซับ เปน็ ต้น 7. การใช้และการจัดเก็บ (handling and storage) ครอบคลุมถึง ข้อปฏิบัติในการใช้ท้ังเรื่องการจัดเก็บ สถานท่ีและ การระบายอากาศ มาตรการป้องกันการเกิดละอองของเหลว มาตรการเพ่ือการรักษาสิ่งแวดล้อม การเก็บรักษาอย่าง ปลอดภัย และขอ้ บง่ ใช้พเิ ศษ 8. การควบคุมการได้รบั สมั ผัสและการปอ้ งกันสว่ นบุคคล (exposure controls/personal protection) ครอบคุลม ถึง ปริมาณท่ีจากัดการได้รับสัมผัส สาหรับผู้ปฏิบัติงานกับสารเคมีน้ัน (exposure limit values) การควบคุมการ ได้รับสัมผัสสาร (exposure controls) เช่น อุปกรณ์ป้องกันระบบทางเดินหายใจ ถุงมือที่ใช้ป้องกันขณะปฏิบัติงาน และความรบั ผิดชอบของผูใ้ ช้สารเคมตี ามกฎหมายเก่ยี วกับการป้องกนั ส่งิ แวดล้อม หากทารวั่ ไหลปนเป้อื นส่ิงแวดลอ้ ม 9. สมบัติทางกายภาพและเคมี (physical and chemical properties) ประกอบด้วย ข้อมูลท่ัวไป เช่น ลักษณะท่ี ปรากฏ กลิน่ เป็นตน้ ข้อมูลท่สี าคัญต่อสุขภาพความปลอดภัยและส่ิงแวดล้อม เชน่ ความเป็นกรด-ดา่ ง (pH) จุดเดอื ด/ 3 ดูรายละเอยี ดเพิม่ เตมิ ไดท้ ่ี Annex 4 : Guidance on the Preparation of Safety Data Sheets, Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS), 4thed., United Nations, 2011. [http://www.unece.org/trans/danger/publi/ghs/ghs_rev04/04files_e.html] ภ2-22
ชว่ งการเดือด จุดวาบไฟ ความไวไฟ สมบัตกิ ารระเบิด ความดันไอ อัตราการระเหย เปน็ ต้น และข้อมลู อืน่ ๆ ท่ีเปน็ ตัว แปรเกยี่ วกบั ความปลอดภยั 10. ความเสถียรและการเกิดปฏิกิริยา (stability and reactivity) แสดงข้อมูลท่ีครอบคลุมถึง สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง เชน่ รายการของสภาวะต่าง ๆ ที่เป็นสาเหตุให้สารเคมีหรือเคมภี ัณฑ์เกิดปฏกิ ิริยาที่อันตราย วสั ดุท่ีควรหลกี เลี่ยง และ สารอันตรายท่เี กิดจากการสลายตวั ของสารเคมหี รือเคมภี ณั ฑ์ 11. ข้อมูลด้านพิษวิทยา (toxicological information) คาอธิบายท่ีสั้นและชัดเจนถึงความเป็นอันตรายท่ีมีต่อสุขภาพ จากการสัมผสั กับสารเคมีหรือเคมีภัณฑ์ท่ีไดจ้ ากการคน้ ควา้ และบทสรปุ ของการทดลองทางวิทยาศาสตร์ จาแนกข้อมูล ตามลกั ษณะและชอ่ งทางการรบั สัมผัสสารเขา้ สรู่ า่ งกาย เชน่ ทางการหายใจ ทางปาก ทางผิวหนัง และทางดวงตา เป็น ต้น และขอ้ มลู ผลจากพษิ ต่าง ๆ เชน่ กอ่ ใหเ้ กิดอาการแพ้ กอ่ มะเร็ง เปน็ ตน้ 12. ข้อมูลด้านระบบนิเวศ (ecological information) ระบุถึงการเปลี่ยนแปลงและการสลายตัวของสารเคมีใน สิ่งแวดล้อมและความเป็นไปได้ของผลกระทบ และผลลัพธ์ต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นผลท่ีได้จากการทดสอบ เช่น ข้อมูล ความเป็นพิษที่มีต่อสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กในน้า (ecotoxicity), ระดับปริมาณท่ีถูกปลดปล่อยสู่ส่ิงแวดล้อม (mobility) ระดับ/ความสามารถในการคงอยู่และสลายตัวของสารเคมหี รือส่วนประกอบเมื่ออยู่ในส่งิ แวดล้อม (persistance and degradability) และ ระดับหรือปรมิ าณการสะสมในสงิ่ มชี วี ิตและส่งิ แวดลอ้ ม (bioaccumulative potential) 13. ข้อพิจารณาในการกาจัด (disposal considerations) ระบุวิธีการกาจัดสารเคมีหรือเคมีภัณฑ์ และบรรจุภัณฑ์ท่ี เหมาะสม และถา้ การกาจัดสารเคมีหรือเคมีภัณฑ์มีความเป็นอันตรายต้องให้ข้อมูลเก่ยี วกับส่วนที่เหลือจากการกาจัด และข้อมลู ในการจัดการกากอย่างปลอดภัย 14. ข้อมูลสาหรับการขนส่ง (transport information) แสดงข้อมูลเก่ียวกับการขนส่งท่ีผู้ใช้จาเป็นต้องรู้ หรือใช้ ตดิ ต่อส่อื สารกบั บริษัทขนส่ง 15. ข้อมูลเกี่ยวกับกฎข้อบังคับ (regulatory information) แสดงข้อมูลกฎหมายหรือข้อกาหนดต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับ ความปลอดภยั สขุ ภาพ และส่ิงแวดล้อมของสารเคมี 16. ขอ้ มูลอ่ืนๆ (other information) แสดงข้อมูลต่างๆ ท่ีเกีย่ วข้องกับการจัดเตรยี ม SDS ที่ผู้จัดจาหน่ายประเมินแล้ว เห็นวา่ เปน็ ข้อมูลท่มี คี วามสาคัญ และไมไ่ ดแ้ สดงอยู่ในหัวข้อ 1-15 เช่น ข้อมูลอา้ งอิง แหล่งข้อมลู ท่ีรวบรวม ข้อมลู การ ปรบั ปรงุ แก้ไข คายอ่ เป็นตน้ ภ2-23
ภาคผนวก 3 ระบบการจดั การของเสยี ประกอบด้วยหัวขอ้ ดังนี้ 1) หลกั การการจําแนกประเภทของเสีย 2) ตัวอยา่ งระบบการจําแนกประเภทของเสยี 3) ตัวอยา่ งฉลากบนภาชนะบรรจุของเสีย 4) ตวั อย่างประเภทของเสยี และการจัดการในห้องปฏบิ ตั ิการ 5) แหลง่ ขอ้ มลู เพ่ิมเติมสําหรับรายละเอยี ดการจาํ แนกของเสีย ภาชนะบรรจุของเสยี และการบาํ บัดเบ้อื งตน้ 6) ความรู้เก่ียวกับบรษิ ทั รับกําจดั ของเสียในประเทศไทย 3.1 หลักการการจําแนกประเภทของเสีย (แผนผังท่ี 3.1-3.2) จะช่วยให้เห็นภาพรวมของการจัดการของเสียแบบครบ วงจร ต้ังแต่การบําบัดเบ้ืองต้นจนถึงการส่งของเสียไปกําจัดโดยบริษัทผู้รับกําจัดของเสียที่ขึ้นทะเบียนกับกรมโรงงาน อุตสาหกรรม ของเสียจากห้องปฏิบัติการอาจจําแนกประเภทได้หลายแบบข้ึนอยู่กับชนิด และลักษณะอันตรายของสารตั้งต้น แต่ละ ห้องปฏิบัติการอาจใช้ระบบการจําแนกของเสียท่ีแตกต่างกัน เช่น ตัวอย่างเกณฑ์ท่ีใช้ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (หัวข้อ 3.2 ตัวอย่างที่ 3.1) และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (หัวข้อ 3.2 ตัวอย่างท่ี 3.2) ไม่ว่าจะใช้ระบบแบบใดก็ตาม ของเสียที่รอการกําจดั ควรมกี ารตดิ ฉลากให้ชัดเจน (ตวั อย่างฉลากของเสีย หวั ข้อ 3.3) ท้ังน้ีไดย้ กตวั อยา่ งประเภทของเสยี และ การจัดการเบื้องต้นบางส่วนไว้ในตารางที่ 3.1 (หัวข้อ 3.4) และหากผู้สนใจรายละเอียดของความรู้เพ่ิมเติมสําหรับการจําแนก ของเสีย ภาชนะบรรจุ และการบาํ บดั เบ้ืองต้น สามารถดไู ดจ้ ากแหลง่ ขอ้ มลู ในหัวขอ้ 3.5 นอกจากนี้ปัญหาท่ีห้องปฏิบัติการพบบ่อยคือ ไม่ทราบข้อมูลเกี่ยวกับบริษัทรับกําจัดของเสีย ทําให้การจัดการทําได้ไม่ ครบวงจร ดังนนั้ ความรูเ้ กยี่ วกบั บรษิ ทั รบั กําจดั ของเสยี ท่ีแสดงในขอ้ 3.6 อาจเปน็ ประโยชนไ์ ด้ ภ3-1
แผนผงั ท่ี 3.1 หลักการการจาํ แนกประเภทของเสยี ภ3-2
แผนผงั ท่ี 3.2 หลกั การการจาํ แนกประเภทของเสยี ที่ไม่ทราบข้อมลู 1การทดสอบลักษณะความเป็นอันตรายของของเสยี ตามวธิ ีของ US EPA (ทีม่ า http://www.epa.gov/epawaste/hazard/wastetypes/wasteid/index.htm สบื คน้ เม่อื วนั ท่ี 12 มีนาคม 2555) ภ3-3
3.2 ตวั อย่างระบบการจําแนกประเภทของเสยี ตัวอย่างที่ 3.1: ระบบการจาํ แนกของจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย (WasteTrack) WasteTrack จําแนกของเสยี อนั ตรายเปน็ 14 ประเภท ดังนี้ ประเภทท่ี 1 ของเสียพิเศษ (I : Special Waste) หมายถึง ของเสียท่ีมีปฏิกิริยาต่อนํ้าหรืออากาศ ของเสียที่อาจมีการ ระเบิด (เช่น azide, peroxides) สารอินทรีย์ ของเสียท่ีไม่ทราบที่มา ของเสียท่ีเป็นชีวพิษ และของเสียท่ีเป็นสารก่อมะเร็ง เช่น เอทธิเดยี มโบรไมด์ ประเภทที่ 2 ของเสียที่มีไซยาไนด์ (II : Cyanide Waste) หมายถึง ของเสียที่มีไซยาไนด์ เป็นส่วนประกอบ เช่น โซเดียม ไซยาไนด์ หรือเป็นของเสียท่ีมีสารประกอบเชิงซ้อนไซยาไนด์ หรือมีไซยาโนคอมเพล็กซ์ เป็นองค์ประกอบ เช่น Ni(CN)42- เป็นตน้ ประเภทท่ี 3 ของเสียที่มีสารออกซิแดนซ์ (III : Oxidizing Waste) หมายถึง ของเสียท่ีมีคุณสมบัติในการให้อิเล็กตรอน ซ่งึ อาจเกิดปฏิกิริยารุนแรงกับสารอ่ืนทําให้เกดิ ระเบิดได้ เชน่ โพแทสเซยี มเปอร์แมงกาเนต, โซเดียมคลอเรต, โซเดียมเปอร์ ไอออเดต และโซเดยี มเปอร์ซัลเฟต ประเภทท่ี 4 ของเสยี ที่มีปรอท (IV : Mercury Waste) หมายถึง ของเสยี ชนิดท่ีมีปรอทเป็นองค์ประกอบ เช่น เมอรค์ ิวรี (II) คลอไรด,์ อัลคิลเมอร์ควิ รี เปน็ ตน้ ประเภทท่ี 5 ของเสียท่มี ีสารโครเมต (V : Chromate Waste) หมายถึง ของเสยี ท่ีมีโครเมียม (VI) เปน็ องคป์ ระกอบ เช่น สารประกอบ Cr6+, กรดโครมกิ , ของเสียทไี่ ดจ้ ากการวิเคราะห์ Chemical Oxygen Demand (COD) เป็นตน้ ประเภทท่ี 6 ของเสียท่ีมีโลหะหนัก (VI : Heavy Metal Waste) หมายถึง ของเสียที่มีไอออนของโลหะหนักอ่ืนท่ีไม่ใช่ ปรอทเป็นส่วนผสม เช่น แบเรียม แคดเมียม ตะก่ัว ทองแดง เหล็ก แมงกานีส สังกะสี โคบอล นิเกิล เงิน ดีบุก แอนติโมนี ทงั สเตน วาเนเดียม เป็นตน้ ประเภทที่ 7 ของเสียท่ีเป็นกรด (VII : Acid Waste) หมายถึง ของเสียท่ีมีค่าของ pH ต่ํากว่า 7 และมีกรดแร่ปนอยู่ใน สารมากกวา่ 5% เชน่ กรดซลั ฟูริก, กรดไนตรกิ , กรดไฮโดรคลอริก เป็นตน้ ประเภทที่ 8 ของเสียอัลคาไลน์ (VIII : Alkaline Waste) หมายถึง ของเสียท่ีมีค่า pH สูงกว่า 8 และมีด่างปนอยู่ใน สารละลายมากกวา่ 5% เช่น คาร์บอเนต, ไฮดรอกไซด,์ แอมโมเนยี เปน็ ตน้ ประเภทท่ี 9 ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม (IX : Petroleum Products) หมายถึง ของเสียประเภทน้ํามันปิโตรเลียม และ ผลติ ภณั ฑ์ท่ไี ดจ้ ากนาํ้ มนั เชน่ นํา้ มนั เบนซิน, นาํ้ มันดีเซล, น้าํ มนั ก๊าด, นํา้ มันเครื่อง, น้ํามนั หล่อลนื่ ประเภทที่ 10 Oxygenated (X : Oxygenated) หมายถึง ของเสียท่ีประกอบด้วยสารเคมีที่มีออกซิเจนอยู่ในโครงสร้าง เช่น เอทิลอาซเิ ตต อะซโิ ตน, เอสเทอร,์ อลั กอฮอล,์ คโี ตน, อีเทอร์ เปน็ ตน้ ประเภทที่ 11 NPS Containing (XI : NPS Containing) หมายถึง ของเสียที่ประกอบด้วยสารอินทรีย์ที่มีส่วนประกอบ ของ ไนโตรเจน, ฟอสฟอรัส, ซัลเฟอร์ เช่น สารเคมีท่ีมีส่วนประกอบของ Dimethyl formamide (DMF), Dimethyl sulfoxide (DMSO), อะซิโตรไนไตรล์, เอมีน, เอไมน์ ประเภทที่ 12 Halogenated (XII : Halogenated) หมายถึง ของเสียที่มีสารประกอบอินทรีย์ของธาตุฮาโลเจน เช่น คาร์บอนเตตราคลอไรด์ (CCl4), คลอโรเอทลิ นี ประเภทท่ี 13 (a) : ของแข็งทีเ่ ผาไหมไ้ ด้ (XIII (a) : Combustible Solid) (b) : ของแข็งที่ไมส่ ามารถเผาไหมไ้ ด้ (XIII (b) : Incombustible Solid) ประเภทท่ี 14 ของเสียที่มีน้าํ เป็นตัวทําละลายอนื่ ๆ (XIV : Miscellaneous Aqueous Waste) หมายถงึ ของเสียทีม่ ี สารประกอบน้อยกว่า 5% ที่เปน็ สารอนิ ทรยี ์ท่ไี มม่ ีพิษ หากเป็นสารมีพิษให้พิจารณาเสมือนวา่ เปน็ ของเสยี พิเศษ (I : Special Waste) ภ3-4
Special Waste? Yes Special Waste (I) eg. Water/air sensitives, Explosives (azide, peroxides), Photographic waste, Unknown No All types of waste containing mercury Mercury? Yes Mercury Waste (IV) in any oxidation state No All types of waste containing inorganic cyanides Inorganic Cyanides? Yes Cyanide Waste (II) All solid waste not containing special No Yes Combustible Solid (XIIIa) waste, mercury and cyanides Incombustible Solid (XIIIb) Solid? No Must not contain less than 5% water otherwise it must be classified as Petroleum Products (IX) XIV (>95% water) or I (5–95% water) IX: eg. engine oil, kerosine diesel oil hydrocarbon solvents Organic? Yes Halogenated (XII) XII: eg. CHCl3, CH2Cl2, CDCl3, trichloroethylene, CCl4 NPS containing (XI) XI: eg. DMF, DMSO, acetonitrile, amines, amides X: eg. Ethyl acetate, acetone, esters, alcohols, ketones Oxygenated (X) ethers No Oxidizing agents? Yes Oxidizing Waste (III) Should require special treatment before Chromate Waste (V) storage & disposal III: eg. KMnO4, H2O2, HNO3 (>6M), HClO4, nitrates, No chlorates, perchlorates V: eg. COD waste, Cr (VI, III) waste Heavy metals? Yes Heavy Metal Waste (VI) Should be fairly concentrate (>0.1 g/L) eg. Ti, V, Mn, Fe, Co, Ni, Cu, Zn, Be, Ba, As, Sn, Pb, Bi, Lanthanides No Should be neutralized in small volume and discard Acidic or Basic? Yes Acid Waste (VII) VII: eg. Mineral acids soln with pH < 4 Alkaline Waste (VIII) VIII: eg. Alkali and alkaline earth hydroxides, No b t i t ith H > 8 Miscellaneous Should contain less than 5% of nontoxic organic Aqueous Waste (XIV) materials. Toxic waste should be regarded as Special Waste (I). รูปที่ 3.1 แผนผังการจําแนกประเภทของเสยี อนั ตรายในระบบ WasteTrack ท่มี า ระบบการจดั การของเสยี อนั ตราย จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย เขา้ ถึงได้จาก http://chemsafe.chula.ac.th/waste/index. php?option=com_content&task=view&id=42&Itemid=27 สบื คน้ เมื่อวันท่ี 12 มีนาคม 2555 ภ3-5
ตวั อยา่ งท่ี 3.2 : ระบบการจาํ แนกของศูนยก์ ารจัดการด้านพลังงาน ส่งิ แวดล้อม ความปลอดภยั และอาชวี อนามัย (EESH) มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุรี ของเสยี อนั ตรายชนดิ ของเหลว 18 ประเภท ดงั น้ี 1. ของเสียที่เป็นกรด หมายถึง ของเสียที่มีค่า pH ต่ํากว่า 7 และมีกรดแร่ปนอยู่ในสารละลายมากกว่า 5% เช่น กรดซัลฟูริก กรดไนตรกิ กรดไฮโดรคลอริก ของเสียจากการทดลอง Dissolved Oxygen (DO) 2. ของเสียที่เป็นเบส หมายถึง ของเสียท่ีมีค่า pH สูงกว่า 7 และมีเบสปนอยู่ในสารละลายมากกว่า 5% เช่น แอมโมเนียมไฮดรอกไซด์ โซเดยี มคารบ์ อเนต โซเดยี มไฮดรอกไซด์ 3. ของเสยี ที่เป็นเกลือ หมายถึง ของเสียท่ีมีคุณสมบัติเป็นเกลือ หรือของเสียที่เป็นผลิตผลจากการทําปฏิกิริยาของกรด กบั เบส เช่น โซเดียมคลอไรด์ แอมโมเนยี มไนเตรต 4. ของเสียท่ีประกอบด้วยฟอสฟอรัส หรือฟลูออไรด์ หมายถึง ของเสียท่ีเป็นของเหลวที่ประกอบด้วยฟอสฟอรัส/ ฟลูออไรด์ เชน่ กรดไฮโดรฟลูออรกิ สารประกอบฟลอู อไรด์ ซิลคิ อนฟลอู อไรด์ กรดฟอสฟอริก 5. ของเสียที่ประกอบด้วย ไซยาไนด์อนินทรีย์/อินทรีย์ หมายถึง ของเสียที่มีโซเดียมไซยาไนด์และของเสียที่มี สารประกอบเชิงซ้อนไซยาไนด์ หรือไซยาโนคอมเพล็กซ์เป็นส่วนประกอบ เช่น โซเดียมไซยาไนด์ (NaCN), [Ni(CN4)]2-, [Cu(CN)4]2- 6. ของเสียที่ประกอบด้วยโครเมียม หมายถึง ของเสียที่มีโครเมียมเป็นองค์ประกอบ เช่น สารประกอบ Cr6+, Cr3+, กรดโครมิก 7. ของเสียท่ีเป็นสารปรอทอนินทรีย์/ปรอทอินทรีย์ หมายถึง ของเสียชนิดที่มีปรอทอนินทรีย์และปรอทอินทรีย์เป็น องคป์ ระกอบ เชน่ เมอควิ รี (II) คลอไรด์, อัลคลิ เมอรค์ วิ รี 8. ของเสยี ที่เป็นสารอาร์เซนกิ หมายถึง ของเสยี ชนดิ ท่มี ีอารเ์ ซนกิ เปน็ องคป์ ระกอบ เช่น อารเ์ ซนกิ ออกไซด์ อาร์เซนิกคลอ ไรด์ 9. ของเสียที่เป็นไอออนของโลหะหนักอ่ืนๆ หมายถึง ของเสียที่มีไอออนของโลหะหนักอื่นซึ่งไม่ใช่โครเมียม อาร์เซนิก ไซยาไนด์ และปรอทเป็นสว่ นผสม เช่น แบเรยี ม แคดเมยี ม ตะกั่ว ทองแดง 10. ของเสียประเภทออกซิไดซิงเอเจนต์ หมายถึง ของเสียท่ีมีคุณสมบัติในการให้อิเล็กตรอนซ่ึงอาจเกิดปฏิกิริยารุนแรง กบั สารอนื่ ทําให้เกดิ การระเบดิ ได้ เช่น ไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์ เปอรแ์ มงกาเนต ไฮโปคลอไรต์ 11. ของเสียประเภทรีดิวซิงเอเจนต์ หมายถึง ของเสียท่ีมีคุณสมบัติในการรับอิเล็กตรอน ซ่ึงอาจเกิดปฏิกิริยารุนแรงกับ สารอน่ื ทําให้เกดิ การระเบิดได้ เช่น กรดซลั ฟรู สั ไฮดราซนี ไฮดรอกซลิ เอมีน 12. ของเสียที่สามารถเผาไหม้ได้ หมายถึง ของเสียท่ีเป็นของเหลวอินทรีย์ท่ีสามารถเผาไหม้ได้ เช่น ตัวทําละลาย อินทรีย์ อัลกอฮอล์เอสเทอร์ อัลดีไฮด์ คีโตน กรดอินทรีย์ และสารอินทรีย์พวกไนโตรเจนหรือกํามะถัน เช่น เอมีน เอไมด์ ไพริมดิ นี ควิ โนลิน รวมทั้งน้าํ ยาจากการล้างรปู (developer) 13. ของเสียท่ีเป็นนํ้ามัน หมายถึง ของเสียที่เป็นของเหลวอินทรีย์ประเภทไขมันที่ได้จากพืช และสัตว์ (เช่น กรดไขมัน น้ํามันพืชและสัตว์ นํ้ามันปิโตรเลียม) และผลิตภัณฑ์ที่ได้จากน้ํามัน (เช่น น้ํามันเบนซิน นํ้ามันก๊าด นํ้ามันเคร่ือง น้าํ มนั หลอ่ ลนื่ ) 14. ของเสียท่ีเป็นสารฮาโลเจน หมายถึง ของเสียที่เป็นสารประกอบอินทรีย์ของธาตุฮาโลเจน เช่น คาร์บอนเตตราคลอ ไรด์ (CCl4) คลอโรเบนซิน (C6H5Cl) คลอโรเอทลิ นี โบรมีนผสมตวั ทาํ ละลายอนิ ทรีย์ 15. ของเสียท่ีเป็นของเหลวอินทรีย์ท่ีประกอบด้วยน้ํา หมายถึง ของเสียที่เป็นของเหลวอินทรีย์ที่มีนํ้าผสมอยู่มากกว่า 5% เช่น นํ้ามันผสมนํ้า สารที่เผาไหม้ได้ผสมนํ้า เช่น อัลกอฮอล์ผสมน้ํา ฟีนอลผสมนํ้า กรดอินทรีย์ผสมน้ํา เอมีน หรอื อัลดีไฮดผ์ สมน้ํา 16. ของเสียท่ีเป็นสารไวไฟ หมายถึง ของเสียท่ีสามารถลุกติดไฟได้ง่าย ซ่ึงต้องแยกให้ห่างจากแหล่งกําเนิดไฟ ความ ร้อน ปฏิกิริยาเคมี เปลวไฟ เครื่องไฟฟ้า ปลั๊กไฟ เช่น อะซิโตน เบนซิน คาร์บอนไดซัลไฟด์ ไซโคลเฮกเซน ไดเอทธิล อเี ทอร์ เอทธานอล เมทธานอล เมธิลอะซเี ตต โทลูอนี ไซลีน ปิโตรเลยี มสปริ ติ 17. ของเสียที่มีสารท่ีทําให้สภาพคงตัว หมายถึง ของเสียท่ีเป็นพวกน้ํายาล้างรูป ซ่ึงประกอบไปด้วยสารเคมีอันตราย และสารอินทรีย์ เช่น ของเสียจากห้องมืด (Dark room) สําหรับล้างรูป ซ่ึงประกอบด้วยโลหะเงินและของเหลว อินทรีย์ 18. ของเสียท่ีเป็นสารระเบิดได้ หมายถึง ของเสียหรือสารประกอบที่เมื่อได้รับความร้อน การเสียดสี แรงกระแทก ผสม กับนํ้า หรือความดันสูงๆ สามารถระเบิดได้ เช่น พวกไนเตรต ไนตรามีน คลอเรต ไนโตรเปอร์คลอเรต พิเครต (picrate) เอไซด์ ไดเอโซ เปอร์ออกไซด์ อะเซตไิ ลด์ อะซิติคลอไรด์ ภ3-6
ของเสยี อนั ตรายชนิดของแขง็ 5 ประเภท 1. ขวดแก้ว ขวดสารเคมีท่ีใช้หมดแล้ว หมายถึง ขวดแก้วเปล่าที่เคยบรรจุสารเคมีท้ังชนิดของเหลวและของแข็ง ขวด พลาสตกิ เปล่าท่เี คยบรรจุสารเคมีทัง้ ชนิดของเหลวและของแขง็ 2. เครื่องแก้ว หรือ ขวดสารเคมแี ตก หมายถงึ เครอื่ งแก้ว ขวดแก้วทแ่ี ตก หกั ชํารุด หลอดทดลองทแ่ี ตกหกั ชํารุด 3. Toxic Waste หมายถึง สารพิษ สารเคมีอันตราย สารก่อมะเร็ง เช่น สารเคมีหมดอายุ สารเคมีที่เส่ือมคุณภาพ สารเคมที เี่ ปน็ อนั ตรายต่อสขุ ภาพ 4. Organic Waste หมายถึง ของเสียชนิดของแข็งที่มีจุลินทรีย์ปนเปื้อน หรือมีเช้ือก่อโรคปนเปื้อน เช่น อาหารเลี้ยง เช้ือแบบแขง็ 5. ขยะปนเป้ือนสารเคมี หมายถึง ขยะท่ีมีการปนเปื้อนสารเคมี หรือบรรจุภัณฑ์ที่ปนเป้ือนสารเคมี เช่น ทิชชู ถุงมือ เศษผา้ หนา้ กาก หรือบรรจภุ ณั ฑ์ทป่ี นเป้ือนสารเคมี ของเสียอันตรายพิเศษ 4 ประเภท 1. ของเสียทเ่ี ปน็ สารกมั มันตรงั สี หมายถึง ของเสียท่ปี ระกอบดว้ ยสารกัมมันตรังสี ซ่ึงเปน็ สารท่ีไม่เสถยี ร สามารถแผ่ รังสี ทาํ ให้เกดิ อันตรายตอ่ ท้งั สิ่งมชี ีวติ และสิ่งแวดลอ้ ม เช่น S35, P32, I125 2. ของเสยี ท่มี จี ุลินทรยี ์ หมายถึง ของเสียท่มี ีสารประกอบของสารจุลนิ ทรียท์ ่ีอาจมีอนั ตรายหรือผลกระทบต่อ ส่ิงแวดลอ้ มและระบบนเิ วศ เชน่ ของเสียทีไ่ ด้จากการเล้ียงเชอ้ื แยกเชือ้ บม่ เพาะจลุ นิ ทรยี ์ รา เช้ือในถงั หมัก 3. ของเสยี จาก pilot plant หมายถึง ของเสียท่ีเกดิ จากกิจกรรมใน pilot plant ซึง่ เป็นเช้ือจุลนิ ทรีย์หรอื สารเคมี ซง่ึ หากมีการระบายของเสยี ลงส่รู ะบบบาํ บัดนา้ํ เสียจํานวนมากจะทําใหร้ ะบบบาํ บดั เสียหายได้ เช่น ของเสียทีไ่ ดจ้ าก กิจกรรมการวจิ ยั หรอื บรกิ าร โดยใชถ้ ังหมกั ขนาดใหญ่หรือจากกิจกรรมของเคร่ืองมือในระดับตน้ แบบ 4. ของเสยี Ethidium bromide (EtBr) หมายถงึ ของเสียอนั ตรายทัง้ ชนิดของเหลวและของแข็งทม่ี ีการปนเปอ้ื น หรอื มีส่วนประกอบของ EtBr เช่น EtBr buffer solution, EtBr Gel ทิชชหู รือบรรจภุ ณั ฑ์ทีป่ นเปอ้ื น EtBr ภ3-7
รปู ที่ 3.2 แผนผังการจาํ แนกประเภทของเสียอันตรายในระบบของ มจธ. ที่มา คู่มอื การจัดการของเสียอนั ตรายภายใน มจธ., ศนู ยก์ ารจดั การด้านพลงั งาน ส่ิงแวดล้อม ความปลอดภยั และอาชวี อนามัย มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี พระจอมเกลา้ ธนบุรี, สงิ หาคม 2552 ภ3-8
3.3 ตัวอย่างฉลากบนภาชนะบรรจขุ องเสยี เคร่อื งหมายแสดงประเภท ฉลากข องเสยี ความเปน็ อันตรายของ ของเสยี ประเภทของเสยี .................................................................... ผ้รู ับผิดชอบ/เบอรโ์ ทร ช่ือหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร/ ช่อื เจา้ ของ........................................................... รหัสฉลาก/รหัสภาชนะ สเบถอารน์โทท่.ี ร..ต..ิด...ต..่อ.............. ............................................................................................................................................................ ส่วนประกอบของของเสยี ………………………… ……………………………………………………………… ………………………… ……………………………………………………………… ………………………………………………………………………….…………….. ปรมิ าณของเสยี .... ....................................................................... ววันันททเี่ีห่ รยิ่มดุ บกรารรจบขุ รอรงจ เุขสียอ…งเ…สยี…..…..…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…..…...…...….... 3.4 ตัวอยา่ งประเภทของเสียและการจดั การในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ตารางท่ี 3.1 ตวั อยา่ งประเภทของเสียและการจัดการในหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร ประเภทของ คําอธิบาย ตวั อย่าง ภาชนะเกบ็ ท่ี วิธกี ารบําบัด วธิ กี ารกําจดั ของเสยี ของเสยี เหมาะสม เบ้อื งตน้ ของเสียท่ีเปน็ หากเกดิ ตะกอน กรด ของเสียที่มคี า่ ของ กรดซลั ฟูริก, ใชภ้ าชนะเดิมที่ สะเทินกรดให้เป็น ใหก้ รองตะกอน กลางด้วยด่าง และ และสง่ กําจดั ใน ของเสยี ท่ีเป็น pH ตํ่ากว่า 7 และมี กรดไนตรกิ , บรรจสุ ารนน้ั หรือ ทิ้งลงทอ่ สุขาภบิ าล กลุ่มของแขง็ ดา่ ง กรดแรป่ นอยู่ในสาร กรดไฮโดรคลอริก ภาชนะทําจาก สะเทินด่างใหเ้ ป็น หากเกิดตะกอน กลางดว้ ยกรด และ ใหก้ รองตะกอน มากกว่า 5% พลาสตกิ PP หรือ ท้งิ ลงท่อสุขาภิบาล และส่งกาํ จดั ใน กลมุ่ ของแขง็ PE ที่มีฝาปดิ มิดชิด ของเสยี ทีม่ ีคา่ ของ คารบ์ อเนต, ใช้ภาชนะเดิมที่ pH สงู กว่า 7 และมี ไฮดรอกไซด์, บรรจุสารนั้น หรือ ด่างปนอย่ใู นสาร แอมโมเนยี ภาชนะทาํ จาก มากกว่า 5% พลาสติก PP หรือ PE ทีม่ ีฝาปิดมิดชิด ภ3-9
ตารางที่ 3.1 ตวั อยา่ งประเภทของเสียและการจัดการในหอ้ งปฏิบัติการ (ตอ่ ) ประเภทของ คาํ อธิบาย ตัวอย่าง ภาชนะเกบ็ ท่ี วิธกี ารบาํ บัด วธิ ีการกําจัด ของเสีย ของเสยี เหมาะสม เบอ้ื งต้น ส่งบริษัทรบั กําจดั ของเสียกลุ่ม ทมี่ ีวิธกี ารกําจัดท่ี ไซยาไนด์ ของเสียท่ีมี โซเดียมไซยาไนด์ หรือ ใชภ้ าชนะเดมิ ท่ี ทําลายพษิ โดยการ เหมาะสม ออกซิไดซเ์ ป็นไซยา- ของเสียกลมุ่ ไซยาไนด์ เป็น เป็นของเสยี ที่มี บรรจสุ ารนน้ั หรือ เนตดว้ ยสารฟอกสี ภายหลงั จากการ สารออกซิ- (bleach) หรือ บําบดั เบอ้ื งตน้ แดนซ์ ส่วนประกอบ สารประกอบเชิงซ้อน ภาชนะทาํ จาก สารละลายไฮโปคลอ- หากไม่มีสารพิษ ไรต์ (NaOCl) ทคี่ วาม ชนดิ อื่นปนเปอื้ น ไซยาไนด์ หรือมีไซยา- พลาสตกิ PP หรือ เขม้ ขน้ 5% ใหส้ ง่ บรษิ ัทรับ กําจดั ที่มวี ิธกี าร โนคอมเพล็กซ์ เป็น PE ที่มีฝาปิดมิดชิด บาํ บัดดว้ ยการ กาํ จดั ทเ่ี หมาะสม รดี ักชันและการ องคป์ ระกอบ เช่น ห้ามผสมกับกรดทุก สะเทิน 1) เตมิ สารละลาย Ni(CN)4 ชนดิ 10% โซเดียมซลั ไฟต์ หรอื เมตาไบซัลไฟตท์ ่ี ของเสียทม่ี ีสารออก โปแตสเซียมเปอรแ์ มง- ใช้ภาชนะเดิมที่ เตรียมขนึ้ มาใหม่ 2) ปรับคา่ pH ให้ ซแิ ดนซ์เป็น กาเนต, โซเดียมคลอ- บรรจสุ ารน้นั หรือ เป็นกลาง องค์ประกอบ เรต, โซเดียมเปอรไ์ อโอ ภาชนะทําจาก ซง่ึ อาจเกิดปฏกิ ริ ิยา เดต, และโซเดยี มเปอร์ พลาสติก PP หรือ รุนแรงกบั สารอ่ืนทํา ซัลเฟต PE ที่มีฝาปิดมดิ ชิด ใหเ้ กิดระเบดิ ได้ 3.5 แหลง่ ขอ้ มลู เพ่ิมเติมสําหรบั รายละเอยี ด การจาํ แนกของเสีย ภาชนะบรรจขุ องเสีย และ การบําบัดเบอื้ งต้น 1. คู่มอื การจดั การของเสียอันตรายภายใน มจธ., ศนู ยก์ ารจดั การด้านพลงั งาน ส่งิ แวดลอ้ ม ความปลอดภัยและอาชวี อนามยั , มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบรุ ,ี สงิ หาคม 2552. 2. คมู่ อื การแยกประเภทและการจัดการของเสียจากห้องปฏิบัติการ, คณะเภสัชศาสตร,์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร, เมษายน 2553. [ออนไลน]์ เข้าถึงได้จาก http://chemsafe.chula.ac.th/waste_NU/document.pdf สืบคน้ เม่ือวันท่ี 12 มนี าคม 2555. 3. ค่มู อื การบาํ บดั และกําจดั ของเสียอันตรายทีแ่ หลง่ กาํ เนดิ , ศนู ย์วิจยั ส่งิ แวดลอ้ ม, มหาวิทยาลัยนเรศวร, มีนาคม 2550. 4. ระบบการจัดการของเสียอนั ตราย จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย, [ออนไลน์] เข้าถงึ ได้จาก http://chemsafe.chula.ac.th/waste/index.php?option=com_content&task=view&id=42&Itemid=27 สบื คน้ เมือ่ วันที่ 12 มีนาคม 2555. 5. Chemical Waste Disposal, Princeton University. [ออนไลน์] เขา้ ถงึ ได้จาก http://web.princeton.edu/sites/ehs/chemwaste/index.htm pdf สืบคน้ เมือ่ วนั ที่ 12 มนี าคม 2555. 6. Waste Identification Guide, Environmental Health & Safety, Washington State University. [ออนไลน์] เข้าถึงไดจ้ าก http://ehs.wsu.edu/es/WasteIdentification.html สืบค้นเม่ือวนั ท่ี 12 มีนาคม 2555. ภ3-10
3.6 ความร้เู กยี่ วกับบรษิ ัทรับกาํ จดั ของเสยี ในประเทศไทย การส่งของเสียจากห้องปฏิบัติการไปกําจัดต้องพิจารณาลักษณะและความสามารถในการจัดการของเสียของบริษัท ให้ เหมาะสมกับประเภทของเสียท่ีส่งกําจัดด้วย ตามกฎกระทรวง ที่ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 จําแนก ประเภทโรงงานอุตสาหกรรมที่ประกอบกิจการจัดการกากอุตสาหกรรมไว้ 3 ประเภท ตามลักษณะกิจการ ดังแสดงในตารางที่ 3.2 โดยโรงงานอุตสาหกรรมท่ีประกอบกิจการจัดการกากอุตสาหกรรมต้องข้ึนทะเบียนและได้รับอนุญาตจากกรมโรงงาน อุตสาหกรรมก่อนการประกอบกิจการ ผู้สนใจสามารถสืบค้นชื่อ ประเภท และลักษณะกิจการของโรงงานฯ ท่ีขึ้นทะเบียนกับ กรมโรงงานอุตสาหกรรมได้ที่เว็บไซต์กรมโรงงานอุตสาหกรรม เมนู “บริการข้อมูล” --- > “ข้อมูลโรงงาน” --- > “ค้นหา โรงงานอตุ สาหกรรม” [http://hawk.diw.go.th/content.php?mode=data1search] ตารางที่ 3.2 ประเภทและลกั ษณะกจิ การของโรงงานอุตสาหกรรมทป่ี ระกอบกิจการจดั การกากอตุ สาหกรรม ลําดบั ประเภทหรอื ชนิดโรงงาน ลกั ษณะกิจการ ประเภท โรงงานปรบั คุณภาพของเสยี รวม (Central Waste Treatment) โรงงานบาํ บัดนา้ํ เสียรวม : เปน็ การลด/กําจัด/บาํ บดั 101 มลพิษทม่ี ีอยู่ในนํ้าเสยี และนาํ กากตะกอนไปกาํ จดั อยา่ ง โรงงานประกอบกจิ การเกย่ี วกบั การคดั ถูกวธิ ตี อ่ ไป 105 แยกหรือฝงั กลบสงิ่ ปฏกิ ูลหรือวสั ดุทีไ่ ม่ใช้ แลว้ ทีม่ ลี กั ษณะและคณุ สมบตั ิตามท่ี โรงงานเผาของเสยี รวม (เตาเผาเฉพาะ/เตาเผารว่ ม) : กําหนดไว้ในกฎกระทรวงฉบับท่ี 2 (พ.ศ. เป็นการบาํ บดั ของเสยี โดยการใช้ความรอ้ นเพ่ือทาํ ลาย 2535) ออกตามความในพระราชบญั ญตั ิ มลพิษ และลดความเปน็ อนั ตรายของสารบางอยา่ ง โดยมี โรงงาน พ.ศ. 2535 ระบบบําบัดมลพษิ อากาศและจดั การเถา้ ที่เกิดข้นึ อยา่ ง ถกู ตอ้ ง โรงงานคัดแยกของเสยี : เปน็ การคดั แยกของเสีย โดย ของเสยี ทสี่ ามารถใช้ประโยชน์ได้อกี จะถกู สง่ ไปยังโรงงาน ต่างๆ เพือ่ นํากลับมาใชป้ ระโยชน์อกี และจัดการส่วนท่ี เหลอื จากการคดั แยกอยา่ งถกู ตอ้ งต่อไป โรงงานฝงั กลบของเสีย : เปน็ การนาํ ของเสยี ไปฝงั กลบใน หลุมฝังกลบ ซง่ึ แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท ได้แก่ - หลมุ ฝังกลบตามหลกั สุขาภิบาล (Sanitary Landfill) - หลุมฝงั กลบอยา่ งปลอดภยั (Secure Landfill) ภ3-11
ตารางที่ 3.2 ประเภทและลกั ษณะกิจการของโรงงานอุตสาหกรรมที่ประกอบกิจการจัดการกากอตุ สาหกรรม (ต่อ) ลําดบั ประเภทหรือชนิดโรงงาน ลักษณะกิจการ ประเภท โรงงานประกอบกจิ การเก่ยี วกบั การนาํ เปน็ การนําผลิตภณั ฑ์อตุ สาหกรรมท่ีไม่ใชแ้ ลว้ หรอื ของเสียจาก 106 ผลติ ภัณฑอ์ ตุ สาหกรรมท่ีไมใ่ ชแ้ ล้วหรอื โรงงานมาผลิตเปน็ วตั ถุดิบหรือผลิตภณั ฑใ์ หม่โดยผ่านกรรมวธิ ี ของเสยี จากโรงงานมาผลิตเปน็ วัตถดุ บิ การผลติ ทางอตุ สาหกรรม เช่น หรือผลติ ภัณฑ์ใหมโ่ ดยผ่านกรรมวิธกี าร 1) ทําสนี ้ํามันหรือผลิตภัณฑอ์ ืน่ ๆ จากนาํ้ มนั หล่อลืน่ ผลติ ทางอุตสาหกรรม ใช้แล้ว (Waste Oil Refining) 2) สกดั แยกผลติ ภัณฑ์ปิโตรเลียมจากกากหรอื ตะกอนนา้ํ มนั ดิบ (Waste Oil Separation) 3) สกัดแยกโลหะมีค่า (Precious Metals Recovery) 4) กลัน่ ตัวทําละลายใช้งานแล้วกลบั มาใช้ใหม่ (Solvents Recovery) 5) ทาํ เชือ้ เพลิงทดแทน (Fuel Substitution) 6) ทาํ เชอ้ื เพลิงผสม (Fuel Blending) 7) ซ่อมหรอื ล้างบรรจุภณั ฑ์ 8) คืนสภาพกรดหรือดา่ ง (Acid/Base Regeneration) 9) คนื สภาพถา่ นกัมมันต์ (Activated Carbon Regeneration) 10) ผลิตเคมีภัณฑ์ สารเคมี ซึ่งมีการนําเคมภี ณั ฑห์ รือ สารเคมีท่ใี ชง้ านแลว้ หรือเสื่อมสภาพมาเป็น วัตถดุ บิ ในการผลิต 11) ซ่อมแซม ปรบั ปรงุ บดยอ่ ยเคร่ืองใช้ไฟฟ้าและ อุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ บดหรือล้างผลิตภัณฑแ์ ก้ว ทม่ี า คมู่ อื หลักปฏบิ ตั ทิ ี่ดีสาํ หรับการให้บริการบําบดั กาํ จัดกากอตุ สาหกรรม, โครงการจดั ระดับโรงงานจัดการกากอตุ สาหกรรมประเภท 101 105 และ 106, กรมโรงงานอตุ สาหกรรม, มกราคม 2554. ภ3-12
ตารางท่ี 3.3 ตวั อย่างการเลือกประเภทโรงงานฯ ในการสง่ กําจัด/บาํ บัดที่เหมาะสมกับลักษณะของเสยี ลาํ ดับประเภท ประเภทหรือชนิดโรงงาน ลกั ษณะกจิ การ ลกั ษณะของเสียท่สี ง่ กาํ จัด/ โรงงาน โรงงานปรับคุณภาพของเสียรวม บําบดั 101 (Central Waste Treatment) ปรับคุณภาพของเสยี รวม (บาํ บดั หรือกาํ จัดวสั ดุท่ไี มใ่ ช้ ของเหลวอินทรยี ์ประเภท 105 โรงงานประกอบกจิ การเกี่ยวกบั การ แล้ว เช่น นํา้ มนั หลอ่ ลื่น และ ไขมนั ท่ไี ด้จากพืช และสตั ว์ 106 คัดแยกหรอื ฝงั กลบส่งิ ปฏกิ ูลหรือวสั ดุ ยางรถยนต์ เป็นตน้ โดย และผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้จากนํ้ามัน ท่ีไมใ่ ชแ้ ล้ว กระบวนการใชค้ วามรอ้ นด้วย โรงงานประกอบกจิ การเกี่ยวกับการ การเผาในเตาเผาซีเมนต์) สารปรอทอินทรีย์ นาํ ผลติ ภัณฑอ์ ุตสาหกรรมทีไ่ ม่ใช้แลว้ ฝงั กลบส่งิ ปฏิกูลและวสั ดทุ ไี่ ม่ หรือของเสยี จากโรงงานมาผลติ เป็น ใชแ้ ลว้ ที่เปน็ ของเสยี อนั ตราย ของเหลวอนิ ทรยี ์ท่ี วตั ถุดบิ หรือผลิตภณั ฑ์ใหมโ่ ดยผ่าน และไมอ่ ันตราย ประกอบดว้ ยน้าํ กรรมวิธกี ารผลติ ทางอุตสาหกรรม กล่นั ตัวทําละลายใชง้ านแลว้ กลับมาใชใ้ หม่ ไอออนของโลหะหนกั เช่น เงนิ (Solvents Recovery) ทองแดง สกัดแยกโลหะมีคา่ (Precious Metals Recovery) ภ3-13
ภาคผนวก 4 ลักษณะทางกายภาพของหอ้ งปฏิบตั กิ าร อปุ กรณแ์ ละเคร่อื งมือ 4.1 งานสถาปัตยกรรม 4.1.1 การแยกส่วนระหวา่ งงานสว่ นตา่ งๆ ของห้องปฏิบัตกิ ารอย่างเหมาะสม สามารถทําได้โดย 1) การแยกพื้นท่ีใช้สอยทางกายภาพ โดยการใช้ผนัง ประตู ฉากก้ันห้อง หากเป็นห้องหรืออาคารท่ีได้รับการ ออกแบบใหม่ หรอื เป็นหอ้ งทีไ่ ด้รบั การปรบั ปรงุ ต่อเตมิ การแยกพ้ืนที่ใช้สอยควรเป็นขอ้ หน่งึ ของการออกแบบ 2) การแยกพ้ืนท่ีใช้สอยโดยการบริหารจัดการ อาทิ การจัดให้มีกิจกรรมต่างๆ กันในเวลาต่างๆ กันในพ้ืนที่เดียวกัน และการทาํ งานใหไ้ มม่ ีความทับซอ้ นกัน หรือการจดั แยกพ้ืนท่ีเฉพาะสาํ หรับแตล่ ะคน 3) การปฏบิ ัตกิ ารทางดา้ นเภสชั กรรม หรอื การผสมยา ซงึ่ ตอ้ งมกี ารควบคุมดแู ลสารปฏบิ ตั กิ ารต้งั ตน้ 4) การแยกส่วนห้องปฏิบัติการที่เก่ียวกับสัตว์ทดลอง (ในกรณีท่ีมีการใช้งานเกี่ยวกับสัตว์ทดลอง เช่น ห้องปฏิบัตกิ ารทางชีวเคมี เปน็ ต้น) ดูรายละเอียดเพม่ิ เตมิ จากเร่อื ง Buildings: general principles ใน GLP handbook หน้า 18–23 4.1.2 สว่ นบริเวณข้างเคียงที่มกี จิ กรรมท่กี ่อให้เกิดความเส่ียงหรอื อนั ตรายต่อห้องปฏิบตั กิ ารไดแ้ ก่ พ้ืนท่ีตา่ งๆ ดังน้ี 1) สนามกีฬา ลานออกกาํ ลังกาย ทีม่ ีลักษณะของกจิ กรรมแบบเคลือ่ นที่ไปมา (active) 2) ห้องปฏิบัติการที่มีความเส่ียงสูงในการเกิดอุบัติเหตุหรืออัคคีภัย รวมถึงท่ีมีความเส่ียงทางด้านชีวนิรภัยและการ ติดเชอ้ื ทีใ่ ชใ้ นการทดลอง เป็นต้น 3) อาคารที่มีความเส่ียงสูงในการเกิดอุบัติเหตุหรืออัคคีภัย เช่น อาคารท่ีใช้เก็บสารเคมี สถานที่ตั้งหม้อแปลงไฟฟ้า (transformer) สถานที่ต้ังเคร่ืองกําเนิดไฟฟ้า (generator) หรือ อาคารที่ต้ังของ เครื่องต้มน้ํา (boiler) ครัว (kitchen) หรือ โรงอาหาร (canteen) เป็นตน้ 4.1.3 การแยกประเภทหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารเคมที ว่ั ไป หรอื ห้องปฏิบัติการพิเศษ หมายถงึ การแยกประเภทห้องปฏบิ ตั ิการ พิเศษ เช่น หอ้ งปฏบิ ตั ิการด้านกัมมนั ตรังสี หรือ ด้านชวี นริ ภยั เป็นต้น ซึ่งมีการทดลองและเกยี่ วข้องกับการใช้งานสารเคมที ี่มี ความอนั ตรายสูง เช่น สารกัมมันตรงั สี หรือ ห้องปฏบิ ตั ิการทตี่ อ้ งทาํ งานที่มีความเสีย่ งเก่ียวกับเชื้อและระดบั ความปลอดภยั ทางชวี ภาพ (Biosafety levels–BSL) ตงั้ แต่ระดับ BSL1–BSL4 แยกสว่ นพน้ื ทกี่ ารทํางานออกจากห้องปฏบิ ตั กิ ารเคมที ว่ั ไปให้ ชดั เจนเพอ่ื ความปลอดภัยของผูท้ ําการวจิ ัย และลดความเส่ยี งต่างๆ ที่อาจเกิดขน้ึ 4.1.4 การแยกประเภทห้องปฏิบัติการตามความเส่ียง หมายถึง การแยกประเภทห้องปฏิบัติการตามความเสี่ยง (ตํ่า– ปานกลาง–ค่อนข้างสูง–สูง) ในกรณีท่ีภายในห้องปฏิบัติการประกอบด้วยโครงงานวิจัยหลากหลายประเภทท่ีมีระดับความ อันตรายและความเสี่ยงแตกต่างกันปะปนกันอยู่ ควรแยกประเภทของการทดลองและวิจัยที่มีอยู่โดยจัดแบ่งกลุ่มตามระดับ ความเส่ียงใกล้เคียงกันรวมไว้ด้วยกัน กลุ่มท่ีมีความเสี่ยงสูงควรจัดไว้ตรงบริเวณด้านในของห้องปฏิบัติการ ห่างจากทางสัญจร หลักหรือทางเข้าออกของในห้อง หรือบริเวณที่เข้าถึงได้ยากสุด แล้วจึงเร่ิมการกําหนดส่วนพ้ืนที่ทํางานของงานวิจัยอ่ืนๆ ท่ีมี ระดบั ความเสยี่ งน้อยลงมาตามลาํ ดับให้ขยายออกไป จนเต็มส่วนพื้นที่ห้องปฏบิ ตั ิการ 4.1.5 การกาํ หนดขนาดพน้ื ท่หี ้องปฏบิ ตั ิการตามเกณฑ์และมาตรฐานตา่ งประเทศ ขนาดพ้ืนท่ีมาตรฐานสําหรับห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์แต่ละประเภทตามมาตรฐานของ Time – saver standard for building types และตาม Guidelines for laboratory design กาํ หนดไว้ตรงกนั ตามทปี่ รากฏในตารางที่ 4.1 ดงั นี้ ภ4-1
ตารางที่ 4.1 ขนาดพน้ื ท่มี าตรฐานสําหรับการทําวิจยั สาํ หรบั ห้องปฏิบตั ิการทางวิทยาศาสตรแ์ ต่ละประเภท ประเภทของพื้นที่หอ้ งปฏิบตั กิ าร (Laboratory area categories) (ตารางเมตรต่อนกั วิจัยหนึ่งคน) กิจกรรมหลกั สาํ นักงาน หอ้ งปฏิบตั กิ าร ส่วนสนับสนนุ Lab รวม ตารางเมตร* ค่าน้อยสุด–เฉล่ีย ค่าน้อยสุด–เฉล่ีย คา่ น้อยสุด–เฉลยี่ ค่าน้อยสุด–เฉลี่ย ชวี วิทยาโมเลกุล 5.5–9.0 12.0–13.0 8.0 25.5–30.0 เพาะเล้ียงเนอื้ เยื่อ 5.5–9.0 9.5–13.0 9.5 24.5–31.5 เคมีวเิ คราะห์ 5.5–9.0 11.0–15.0 20.0–35.0 18.5–27.5 ชวี เคมี 5.5–9.0 13.0–17.5 60.0–80.0 24.5–34.5 เคมีอนิ ทรีย์ 5.5–9.0 15.0–19.0 40.0–50.0 24.5–33.0 เคมเี ชิงฟิสิกส์ 5.5–9.0 17.0–20.0 30.0–40.0 25.5–33.0 สรรี วทิ ยา 5.5–9.0 15.0–17.0 20.0–40.0 22.5–30.0 * ขนาดพ้ืนทีร่ วมยงั ไม่รวมพืน้ ทีอ่ ืน่ ๆ เช่น พ้ืนที่เล้ียงสตั วท์ ดลอง ส่วนบริหาร สว่ นเจา้ หน้าที่ หรือส่วนสนบั สนุนตา่ งๆ ของอาคาร ท่มี า Time–saver standard for building types, 2001: หนา้ 507 และ Guidelines for laboratory design, 2001: หน้า 9 4.1.6 การกาํ หนดขนาดความสงู ของห้องปฏบิ ตั ิการ การวัดความสูงของห้องปฏิบัติการตามกฎกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) เป็นการวัดความสูงตามแนวดิ่งจาก พ้ืนถึงพ้ืน หมายถึง การวัดระยะจากพื้นห้องท่ีทําการประเมินไปตลอดความสูง จนถึงพ้ืนห้องของชั้นถัดไป (มิใช่การวัดระยะ ความสูงจากพ้ืนถึงฝ้าเพดานภายในห้องปฏิบัติการ) ส่วนในกรณีของชั้นใต้หลังคาให้วัดจากพ้ืนถึงยอดฝาหรือยอดผนังอาคาร และ ในกรณีของห้องหรือส่วนของอาคารที่อยู่ภายในโครงสร้างของหลังคาให้วัดจากพ้ืนถึงยอดฝาหรือยอดผนังของห้อง หรือส่วนของอาคาร ดังกล่าว ที่ไม่ใช่โครงสร้างของหลังคา ดูรายละเอียดเพ่ิมเติมจากกฎกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) ในกฎหมายอาคาร อาษา, 2548: หน้า 3–211 4.1.7 การกําหนดขนาดและระยะต่างๆ ของพ้ืนที่และทางเดินภายในห้องปฏิบัติการ สามารถกําหนดขนาดตามเกณฑ์ ของ Time–saver standard for building types และตาม Guidelines for laboratory design ซึ่งกําหนดไว้ตรงกัน โดยมี รายละเอยี ดตามทป่ี รากฏในตารางท่ี 4.2 ดงั น้ี ตารางที่ 4.2 ขนาดความกว้างของห้องปฏิบัติการตามจาํ นวนหน่วยยอ่ ย (มอดลู ) จาํ นวนหนว่ ยมอดูล 12 3 4 56 จํานวนแถวทีข่ นานกัน ทางเดนิ 12 3 4 56 โตะ๊ ปฏบิ ตั กิ ารสาํ หรบั อุปกรณ์ 2 4 6 8 10 12 จาํ นวนแนวของระบบสาธารณปู โภค 2 4 6 8 10 12 ความกวา้ งของแถวทีข่ นานกนั ทางเดิน–กว้าง 1.50 เมตร 1.50 เมตร 3.00 เมตร 4.50 เมตร 4.50 เมตร 7.50 เมตร 9.00 เมตร อปุ กรณ์–กวา้ ง 0.75 เมตร 1.50 เมตร 3.00 เมตร 4.50 เมตร 4.50 เมตร 7.50 เมตร 9.00 เมตร ระบบสาธารณปู โภค–กว้าง 0.15 เมตร 0.30 เมตร 0.60 เมตร 0.90 เมตร 1.20 เมตร 1.50 เมตร 1.80 เมตร ขนาดความกวา้ งรวมเพ่ือการก่อสรา้ ง (วดั จากก่งึ กลางถงึ ก่งึ กลางหนว่ ย) ผนังเบา* หนา 0.10 เมตร 3.40 เมตร 6.70 เมตร 11.50 เมตร 13.60 เมตร 17.10 เมตร 20.50 เมตร ผนังก่อ/หนัก** หนา 0.15 เมตร 3.45 เมตร 6.70 เมตร 11.50 เมตร 13.75 เมตร 17.20 เมตร 20.65 เมตร * ผนังเบา หมายถงึ ผนงั ทีม่ ีความหนาประมาณ 0.10 เมตร ภายในมีโครงครา่ วโลหะแล้วกรผุ วิ ผนังสองด้านด้วยวสั ดุแผน่ บางที่มีความหนา ประมาณ 12 มิลลเิ มตร (ข้างละ 6 มิลลิเมตร) เช่น แผน่ ยิบซมั่ บอรด์ หรือ แผ่นไฟเบอรซ์ เี มนต์ เปน็ ตน้ ** ผนังกอ่ /ผนงั หนัก หมายถงึ ผนงั ท่ีมีความหนาประมาณ 0.15 เมตร (สาํ หรบั ประเทศไทยมคี วามหนาอยู่ที่ประมาณ 0.10–0.20 เมตร) กอ่ สรา้ ง ด้วยวสั ดุก่อจาํ พวก อฐิ อฐิ มวลเบา หรือ คอนกรตี บลอ็ ค เป็นต้น (ทมี่ า Time–saver standard for building types, 2001: หนา้ 508 และ Guidelines for laboratory design, 2001: หน้า 24) 4.1.8 สําหรับรายละเอียดเก่ียวกับวัสดุท่ีใช้เป็นพ้ืนผิวของพ้ืน ผนัง เพดาน มีความเหมาะสมต่อการใช้งานภายใน ห้องปฏบิ ัติการ สามารถอธิบายเพม่ิ เติมในรายละเอยี ดได้ดงั น้ี 1) มีลักษณะพ้ืนผิวเป็นเนื้อเดียวกัน มีผิวเรียบ ไม่มีรูพรุน ปราศจากรอยต่อ เนื่องจากวัสดุท่ีมีลักษณะเป็นแผ่น ขนาดเล็กเช่นกระเบื้อง (กระเบ้ืองเซรามิก กระเบ้ืองยาง) มีแนวโน้มท่ีจะเกิดการสะสมของคราบสกปรกและสารเคมีระหว่าง แนวรอยต่อ ภ4-2
2) มีความสามารถในการกันไฟ/ทนไฟ/ไม่เป็นอันตรายเมื่อเกิดไฟไหม้ ไม่ติดไฟเม่ือเกิดอัคคีภัย ได้แก่ วัสดุจําพวก คอนกรีตเสริมเหล็ก เหล็ก (ท่ีผ่านการจัดทําระบบกันไฟ) หรือ วัสดุก่อ (อิฐประเภทต่างๆ) เป็นต้น ส่วนวัสดุจําพวกไม้ เป็นวัสดุ ที่ติดไฟได้ จึงไม่เหมาะสมสําหรับใช้งานภายในห้องปฏิบัติการ ส่วนวัสดุประเภทอื่นๆ ที่สามารถติดไฟได้ มีการกําหนด รายละเอียดการใช้งานวัสดุแต่ละประเภทให้เป็นไปตามข้อกําหนดในการใช้วัสดุพื้น ผนัง และฝ้าเพดาน ตามมาตรฐานการ ปอ้ งกันอัคคีภัย วสท. 3002–51 (ดรู ายละเอยี ดเพ่ิมเติมจากมาตรฐานการป้องกนั อคั คภี ัย วสท. 3002–51, 2551: หนา้ 51-57) 3) มีความปลอดภัยในการทํางาน/การป้องกันอุบัติเหตุ เช่น การกันลื่น/ไม่ล่ืน หรือ กันไฟฟ้าสถิต เป็นต้น ตัวอย่างเช่น วัสดุปูพ้ืนที่มีลักษณะผิวเรียบลื่น เช่น วัสดุประเภท กระเบื้องเซรามิก (ชนิดผิวเรียบ) หรือ หินขัด มีโอกาสเกิด อุบัติเหตไุ ด้งา่ ยเม่อื เปียกช้ืน 4) มีความคงทน (ทนทาน) ในการใช้งาน มีความสามารถในการป้องกันการเกิดรอยขูดขีด หรือสามารถซ่อมแซม ได้งา่ ยเมื่อเกดิ ความเสียหายบนพน้ื ผวิ วสั ดอุ ันเกดิ จากการใชง้ าน เปน็ ตน้ 5) มคี วามทนทานต่อสารเคมี/นํ้าและความช้ืน รวมถึงการกันนํ้าและกันการรั่วซมึ /ความรอ้ น โดยสามารถทนทาน ได้เมื่อเกิดการร่ัวซึมแล้วไม่เกิดความเสียหาย หรือหากเกิดความเสียหายข้ึนสามารถดําเนินการซ่อมแซมได้ง่าย รวมถึงมี ความสามารถในการปอ้ งกันการเกิดรั่วซมึ ของนํ้าหรือของเหลว (จากภายนอกเข้าสู่ภายในและจากภายในร่ัวซมึ ออกสู่ภายนอก) จากภายในห้องปฏิบัติการ เช่น จากระบบท่อน้ําต่างๆ หรือ จากภายนอกห้องปฏิบัติการ เช่น จากการรั่วซึมของนํ้าฝน หรือ จากห้องปฏบิ ตั กิ ารที่ตัง้ อยูบ่ ริเวณใกลเ้ คียง เป็นตน้ ส่วนความร้อนที่มีผลกับวัสดุพ้ืนผิว ได้แก่ ความร้อนจากอุปกรณ์ จากสภาพแวดล้อมภายนอก และจากการทาํ งาน ภายในห้องปฏิบัติการ วัสดุพ้ืนผิวบางประเภทเกิดการเปล่ียนแปลงสภาพเม่ือสัมผัสกับความร้อนเป็นเวลานาน เช่น กระเบื้องยาง ดังน้ันในบริเวณท่ีมีเคร่ืองมือ กิจกรรมหรือ สภาพแวดล้อมท่ีก่อให้เกิดความร้อน จึงควรเลือกใช้วัสดุโดยพิจารณาถึงความ เหมาะสมด้วย 6) มีความสะดวกและง่ายต่อการดูแลรักษา ทําความสะอาดและการฆ่าเชื้อ มีลักษณะพื้นผิวถูกสุขลักษณะ วัสดุท่ี ใช้ต้องไม่สะสมหรือเก็บคราบฝุ่นหรือสิ่งสกปรกต่างๆ สามารถทําความสะอาดฆ่าเชื้อ (disinfected) ได้ง่าย ในกรณีท่ีมีความ จําเป็นต้องดําเนินการ วัสดุบางประเภทอาจไม่เหมาะสมในแง่ดังกล่าว เช่น วัสดุปูพ้ืนประเภทหินขัดเป็นวัสดุท่ีเนื้อภายในมีรู พรุน มีโอกาสในการเกิดการสะสมของคราบสกปรกและสารเคมีภายในเนื้อวัสดุเม่ือมีสารเคมีหกลงบนพื้นผิว ยากต่อการทํา ความสะอาดคราบเหลา่ น้นั เม่อื ใช้นํ้ายาสําหรบั ทําความสะอาดผวิ หนา้ ก็มโี อกาสเกดิ ความเสยี หายของวสั ดุเพ่ิมข้นึ เป็นต้น 4.1.9 สําหรับในกรณีที่มีหนา้ ตา่ งซง่ึ ใช้เพื่อการระบายอากาศดว้ ยวธิ ีธรรมชาติ (natural ventilation) ควรมีบาน หนา้ ต่างอยา่ งน้อย 2 ดา้ นท่ตี ิดภายนอกอาคารเพื่อใหส้ ามารถระบายอากาศได้ หากมเี พียงหน่งึ ด้านควรมีพัดลม หรอื พัดลม ระบายอากาศชว่ ยในการหมุนเวียนและระบายอากาศภายในหอ้ งปฏิบัตกิ าร ควรศกึ ษารายละเอียดเพ่ิมเติมในข้อ 4.5 งาน วศิ วกรรมระบบระบายอากาศและปรับอากาศ หากหน้าต่างทุกบานในห้องเป็นหน้าต่างบานติดตายควรปรับเปล่ียนให้มีหน้าต่างที่เปิดออกได้อย่างน้อย 1 บาน หรือถ้าหากมีประตูภายในห้องอย่างน้อย 2 บานซ่ึงสามารถใช้ได้สําหรับในกรณีฉุกฉินแล้ว อาจไม่จําเป็นต้องมีหน้าต่างท่ีเปิดได้ ในหอ้ งปฏิบตั กิ ารก็ได้ 4.1.10 มีการแสดงข้อมูลที่ตั้งและสถาปัตยกรรมท่ีสื่อสารถึงการเคลื่อนที่และลักษณะทางเดิน ได้แก่ ผังพื้นแสดง ตําแหนง่ และเสน้ ทางหนไี ฟ และตาํ แหนง่ ท่ีตั้งอุปกรณฉ์ ุกเฉนิ ให้เป็นไปตามเกณฑด์ งั ตอ่ ไปนี้ 1) ตามกฎกระทรวงฉบับท่ี 47 (พ.ศ. 2540) ข้อ 5. (2) ได้กําหนดให้ อาคารสูง อาคารขนาดใหญ่พิเศษ อาคาร ขนาดใหญ่ อาคารสาธารณะ และสํานักงาน (ดูรายละเอียดนิยามอาคารแต่ละประเภทจากกฎกระทรวงฉบับท่ี 47 (พ.ศ. 2540) หน้า 3–179 ถึง 3–181 ในกฎหมายอาคาร อาษา เล่ม 1 โดยสมาคมสถาปนิกสยามฯ) ต้องจัดให้มีการติดต้ังแบบ แปลนแผนผังของอาคารแต่ละชัน้ แสดงตําแหนง่ หอ้ งต่างๆ ทุกห้อง ตําแหน่งที่ตดิ ตั้งอุปกรณ์ดับเพลิงต่างๆ ประตูหรือทางหนีไฟ ของชั้นน้ันติดไวใ้ นตาํ แหน่งทเี่ ห็นได้ชัดเจนที่บริเวณห้องโถงหรือหนา้ ลฟิ ท์ทุกแห่งทุกชั้นของอาคาร และท่บี รเิ วณพ้ืนช้ันล่างของ อาคารต้องจัดให้มีแบบแปลนแผนผังของอาคารทุกช้ันเก็บรกั ษาไว้เพือ่ ให้สามารถตรวจสอบไดโ้ ดยสะดวก 2) ตามกฎกระทรวงกําหนดเงื่อนไขในการใช้ การเกบ็ รักษาและการมีไวค้ รอบครอง ซ่งึ สิง่ ที่ทาํ ให้เกดิ อัคคีภัยได้ง่าย และกิจการอันอาจทําให้เกิดอัคคีภัยได้ง่ายและการจัดการให้มีบุคคลและสิ่งจําเป็นในการป้องกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ. 2548 หมวดท่ี 2 ได้กาํ หนดรายละเอยี ดไว้ดังนี้ ได้กําหนดให้กจิ การอันอาจทําให้เกดิ อัคคีภัยได้ง่าย ได้แก่ กจิ การท่ีใช้ หรือเก็บรักษา หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งสิ่งที่ ทาํ ให้เกดิ อัคคภี ัยได้ง่าย หรือกิจการท่ีมีกระบวนการผลิตหรืออุปกรณ์การผลิตที่ก่อให้เกิดความร้อน หรือประกายไฟ หรือเปลวไฟ ท่ีอาจทําให้เกิดอัคคีภัยได้ง่าย รวมท้ังกิจการที่มีสภาพหรือมีการใช้อาจไม่ปลอดภัยจากอัคคีภัย โดยมีการประกอบกิจการใน ภ4-3
อาคารหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของอาคาร ของสถานศึกษา เช่น โรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย หรือ สถานท่ีผลิต เก็บ หรือ จําหน่ายสารเคมีและวัตถุอันตราย ตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย ต้องจัดให้มีส่ิงจําเป็นในการป้องกันและระงับอัคคีภัย สาํ หรับอาคารที่ประกอบกิจการที่สําคญั ได้แก่ แบบแปลนแผนผงั ของอาคารแตล่ ะชนั้ ส่วนเนื้อหาอ่ืนๆ นอกเหนือจากที่กล่าวมาสามารถดูรายละเอียดเพ่ิมเติมจากกฎกระทรวงกําหนดเงื่อนไขในการใช้ การเก็บรักษาและการมีไว้ในครอบครอง ซึ่งส่ิงท่ีทําให้เกิดอัคคีภัยได้ง่ายและกิจการอันอาจทําให้เกิดอัคคีภัยได้ง่ายและการจัด ใหม้ ีบคุ คลและส่งิ จําเปน็ ในการป้องกนั และระงับอคั คภี ยั พ.ศ. 2548 3) ตามคู่มือเทคนิคการตรวจสอบอาคารเพื่อความปลอดภัย (สําหรับการตรวจสอบอาคารตามกฎหมาย) โดย วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย (วสท.) ได้มีการระบุรายละเอียดเกี่ยวกับป้ายแผนผังอาคารไว้ดังรูปที่ 4.1 แสดงตัวอย่างป้าย แผนผังของอาคาร และมรี ายละเอียดเกย่ี วกับป้ายแผนผงั ของอาคารดงั ตอ่ ไปนี้ 3.1) ป้ายแผนผังของอาคารแต่ละช้ันใช้ในกรณีฉุกเฉินทั้งอพยพและบรรเทาเหตุ ต้องติดต้ังในตําแหน่งที่ ชัดเจนและเข้าถึงได้ง่ายบนพื้นที่ส่วนกลางและต้องมีรายละเอียดอย่างน้อยดังน้ี ให้แสดงแปลนห้องต่างๆ ในชั้นน้ันๆ บันไดทุก แห่ง ตําแหนง่ อุปกรณแ์ จ้งเหตุเพลิงไหมด้ ้วยมอื และตาํ แหน่งอุปกรณด์ ับเพลงิ พร้อมแสดงเส้นทางอพยพของชน้ั นัน้ 3.2) ป้ายแผนผังอาคารต้องมีขนาดใหญ่พอเหมาะกับรายละเอียดท่ีต้องแสดง และสามารถอ่านได้ในระยะ ประมาณ 1 เมตร แต่ต้องมีขนาดไม่เล็กกว่า 0.25 x 0.25 เมตร มีสีพื้นของป้ายแตกต่างจากสีผนังบริเวณท่ีติดตั้งและต่างจากสี รายละเอียดทีแ่ สดงในป้ายให้ติดต้งั สูงจากพ้ืนถึงก่งึ กลางปา้ ยอย่างนอ้ ย 1.20 เมตร แต่ไมเ่ กนิ 1.60 เมตร รูปท่ี 4.1 ปา้ ยแผนผงั ของอาคาร (ทม่ี า คูม่ อื เทคนคิ การตรวจสอบอาคารเพื่อความปลอดภัย, 2551: หนา้ 206) นอกจากการแสดงป้ายแผนผังของอาคารที่มีรายละเอียดตามกฎกระทรวง และตามข้อแนะนําในคู่มือเทคนิคการ ตรวจสอบอาคารฯแล้ว ควรแสดงรายละเอียดตําแหน่งที่ต้ังอุปกรณ์ฉุกเฉิน สําหรับห้องปฏิบัติการเพ่ิมเติมบนแผนผังอาคาร ดงั กล่าวให้สมบูรณ์ 4.2 งานสถาปตั ยกรรมภายใน: ครุภณั ฑ์ เฟอรน์ เิ จอร์ เคร่อื งมอื และอุปกรณ์ 4.2.1. การกําหนดขนาดและระยะต่างๆ ของครุภัณฑ์ เฟอร์นิเจอร์ เครื่องมือและอุปกรณ์ สามารถกําหนดให้สอดคล้อง หลักการยศาสตร์ (ergonomics) ซงึ่ มรี ายละเอียดดังนี้ 1) ขนาดพื้นท่ีห้องปฏิบัติการตามจํานวนหน่วยย่อย (มอดูล) ภายในห้องปฏิบัติมีการกําหนดระยะทางเดินที่ สอดคล้องกบั ครภุ ณั ฑแ์ ละอุปกรณต์ า่ งๆ ดรู ายละเอียดในขอ้ 4.1.7 ภาคผนวก 4 2) ขนาดและระยะของครุภัณฑแ์ ละอุปกรณ์ตา่ งๆ ของ Human dimension & interior space กาํ หนดรายละเอียดไวด้ ังนี้ 2.1) ขนาดและสัดส่วนของเคร่ืองมือ โต๊ะปฏิบัติการติดผนัง ตู้เก็บอุปกรณ์ ตู้ลอย และอ่างล้างมือ มีระยะต่างๆ แบ่งตามเพศ ดงั แสดงในรปู ที่ 4.2 และ รูปที่ 4.3 ภ4-4
รูปท่ี 4.2 ขนาดและระยะตา่ งๆ ของร่างกายมนุษย์ท่สี มั พนั ธ์กบั ครภุ ณั ฑ์ เคร่ืองมือและอุปกรณ์ตา่ งๆ ในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ สําหรับเพศชาย (ที่มา Human dimension & interior space, 1979: หนา้ 236) รูปท่ี 4.3 ขนาดและระยะต่างๆ ของรา่ งกายมนุษย์ทสี่ มั พันธ์กบั ครุภณั ฑ์ เคร่อื งมือและอปุ กรณ์ตา่ งๆ ในห้องปฏิบัติการสําหรับ เพศหญิง (ท่มี า Human dimension & interior space, 1979: หน้า 236) 2.2) ขนาดและสัดส่วนของมนุษย์ (Human scale & proportion) ตามลักษณะของกิจกรรมทเ่ี กิดขึ้นภายใน ห้องปฏบิ ัตกิ าร มรี ายละเอียดดงั แสดงในรปู ที่ 4.4 และ รปู ท่ี 4.5 ภ4-5
รปู ท่ี 4.4 ขนาดและระยะตา่ งๆ ของรา่ งกายมนษุ ยท์ ี่สัมพันธ์กับ ครภุ ณั ฑ์ เครอ่ื งมือและอุปกรณ์ ขณะน่งั ทาํ กิจกรรมต่างๆ ภายในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร (ที่มา Human dimension & interior space, 1979: หนา้ 235) รปู ที่ 4.5 ขนาดและระยะต่างๆ ของรา่ งกายมนุษย์ท่สี ัมพันธก์ ับ ครภุ ณั ฑ์ เครื่องมือและอุปกรณ์ ขณะยนื กม้ หรอื เดิน เพ่ือทาํ กจิ กรรมตา่ งๆ ภายในห้องปฏิบตั กิ าร (ทมี่ า Human dimension & interior space, 1979: หน้า 239) ภ4-6
4.2.2 ครุภัณฑต์ ่างๆ เชน่ ตู้ดูดควัน ตู้ลามนิ าโฟล์ว อยใู่ นสภาพทสี่ ามารถใช้งานไดด้ ีและมีการดูแลและบาํ รงุ รักษาอยา่ ง สม่ําเสมอ ตามเกณฑ์ของ OSHA laboratory standard, GLP handbook ของ WHO และ OECD series on GLP and compliance monitoring ในบทท่ี 2 เร่ือง Good laboratory practice training หัวข้อ Building and equipment หัวข้อ ยอ่ ย equipment ไดน้ ําเสนอรายละเอียดไว้ดงั นี้ 1) อุปกรณ์ (Equipment) เพ่ือให้การปฏิบัติเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ ต้องมีจํานวนอุปกรณ์ท่ีเพียงพอ โดย อุปกรณ์ต่างๆ ต้องมีความเหมาะสมกับลักษณะการใช้งานและมีการตรวจสอบความเท่ียงตรง (calibration) และมีการ บํารุงรักษาอย่างสมํ่าเสมอควรมีการบันทึกการซ่อมแซมและการบํารุงรักษาประจําปี รวมไปถึงการบันทึกซ่อมแซม เพ่ือความ นา่ เชอ่ื ถอื ของขอ้ มูลท่ไี ดจ้ ากการทดลองและลดจาํ นวนขอ้ มูลทผ่ี ิดพลาดอนั เกิดจากเครอ่ื งมอื ท่ไี ม่ไดม้ าตรฐาน 1.1) ความเหมาะสม (Suitability) ความเหมาะสมของการใช้เครื่องมือจะได้จากการประเมินการปฏิบัติงาน โดยดูว่าเคร่อื งมือชนิ้ น้ันๆ สามารถปฏบิ ตั งิ านไดอ้ ย่างเหมาะสมหรือไม่ โดยคาํ นึงถึงลักษณะการใชง้ านของเครือ่ งมือ 1.2) การตรวจสอบความเที่ยงตรง (Calibration) เครื่องมือในห้องปฏิบัติการทุกประเภท ไม่ว่าจะเป็น เคร่ืองมือที่ใช้สําหรับการเก็บข้อมูล หรือเครื่องมืออุปกรณ์ท่ีใช้สําหรับเก็บสารเคมีตั้งต้น ควรจะมีการควบคุมให้เป็นไปตาม ข้อกําหนดเบื้องต้นของอุปกรณ์น้ันๆ (อาทิ การกําหนดอุณหภูมิของตู้เย็นท่ีใช้เก็บเนื้อเยื่อ) โดยควรมีการตรวจสอบอยู่อย่าง สมํา่ เสมอ เพ่อื ท่ีจะป้องกันไมใ่ หเ้ กดิ ความผิดพลาดในการดําเนินงานในห้องปฏิบตั ิการ 1.3) การบํารงุ รกั ษา (Maintenance) การบํารงุ รักษาอุปกรณ์อย่างสมํ่าเสมอสามารถทําได้ 2 วธิ ี 1.3.1) การบํารงุ รักษาเชงิ ป้องกนั (Preventive maintenance) เป็นการเปล่ียนช้ินส่วนของอุปกรณ์ตาม ระยะเวลาของชิ้นสว่ นนัน้ ๆ เพอ่ื ปอ้ งกนั ความเสียหายทอ่ี าจเกิดขึ้นกับอปุ กรณช์ ิน้ ใหญ่หากชิน้ ส่วนของอปุ กรณ์บางชน้ิ เสียหาย 1.3.2) การซ่อมบํารุง เป็นการบํารุงรักษาในกรณีท่ีเกิดการเสียหายของเคร่ืองมือ ในกรณีที่ไม่สามารถ บํารุงรักษาเชิงป้องกันได้ โดยทางห้องปฏิบัติการควรมีแผนรองรับในกรณีฉุกเฉิน อาทิมีการเตรียมอุปกรณ์ชุดท่ีสอง หรือมีแผน ในการติดต่อวิศวกรหรือช่างซ่อมแซม ควรมีการสํารองชิ้นส่วนของอุปกรณ์ท่ีสําคัญ หรือช้ินส่วนท่ีหาได้ยากไว้เผื่อในกรณีฉุกเฉิน โดยเฉพาะในกรณี ของการทดลองบางประเภทท่ีไม่สามารถยอมรับให้เกิดการผิดพลาดได้ โดยเฉพาะการควบคุมอุณหภูมิของสัตว์ทดลอง อาจมี การตดิ ตงั้ ระบบสัญญาณเตือน ในกรณีทอี่ ุปกรณห์ ยุดทาํ งาน 2) การเก็บเอกสาร (Documentation) ควรมีการติดป้ายแสดงการบํารุงรักษาอุปกรณ์ การตรวจสอบความเท่ียง ของอปุ กรณ์ เพื่อท่ีบุคลากรภายในห้องปฏบิ ัตกิ ารจะไดท้ ราบถงึ ประวัติการซ่อมบํารุงรักษาอุปกรณ์และเคร่ืองมือตา่ งๆ และแจ้ง ขอการบาํ รุงรกั ษาไดต้ ามระยะเวลาที่กาํ หนด ดูรายละเอียดเพิ่มเตมิ จากเรอ่ื ง Equipment ใน GLP handbook หนา้ 21–23 4.3 งานวศิ วกรรมโครงสรา้ ง 4.3.1 การตรวจสอบสภาพความเสียหายของโครงสร้าง: ลักษณะรอยร้าวและสาเหตุเน้ือหาในส่วนนี้จะกล่าวถึงเฉพาะ ส่วนรอยร้าวหลักๆ ทีส่ ามารถเหน็ ลกั ษณะรอยแตกไดช้ ดั เจน ดังตอ่ ไปนี้ 1) ตาํ แหนง่ รอยร้าว : ตําแหนง่ ท่ีจะเกิดรอยร้าวมี 4 แห่ง คือ ผนงั คาน พืน้ และเสา รอยรา้ วแตล่ ะตาํ แหนง่ ดังกลา่ วจะมีลักษณะแตกตา่ งกันไปขึ้นอยกู่ บั สาเหตุทีท่ าํ ให้เกดิ รอยร้าวนัน้ 2) การพจิ ารณารอยรา้ ว : เม่ือพบเห็นรอยร้าวมขี อ้ แนะนําเบอื้ งตน้ ดังน้ี 2.1) ควรพิจารณาว่าส่วนใดของรอยร้าวเส้นนั้นท่ีแตกอ้ากว้างมากที่สุด ส่วนท่ีแตกอ้ากว้างมากท่ีสุดคือ ส่วน ทีเ่ รม่ิ แตกเปน็ อนั ดบั แรก แล้วจงึ ค่อยแตกลามยาวออกไป 2.2) ทุกคร้ังท่ีพบเห็นรอยร้าวควรตรวจดูว่าเป็นรอยแตกทะลุหรือไม่ หลักการก็คือ เมื่อพบเห็นรอยร้าวท่ี ตําแหน่งใดควรไปดูอีกด้านหนึ่งของโครงสร้างหรือผนังท่ีตําแหน่งเดียวกันนั้นว่ามีรอยแตกตรงตําแหน่งเดียวกันหรือไม่ ถ้ามี แสดงว่ารอยแตกนั้นเป็นรอยแตกทะลุผนังหรือโครงสรา้ งทพ่ี บเห็นน้นั 3) ชนิดของรอยร้าว : รอยร้าวแบ่งได้เป็น 4 ชนิด เร่ิมจากรอยร้าวจากฐานรากทรุดตัว ถัดมาได้แก่รอยร้าวอัน เน่ืองจากโครงสร้างรับนํ้าหนักไม่ได้ ลําดับถัดไปคือรอยร้าวจากความเส่ือมสภาพ และท้ายสุดคือรอยร้าวจากฝีมือก่อสร้างและ อุณหภูมิ ความรุนแรงของรอยรา้ วทั้งส่ีน้ัน บ่งบอกสาเหตคุ วามรนุ แรงของปัญหาจากมากไปน้อยเรยี งลําดับจากบนลงล่าง น่ัน คือรอยร้าวทเ่ี กดิ จากฐานรากทรดุ เม่อื พบเหน็ ควรเสนอแนะใหเ้ จา้ ของอาคารติดต่อผู้เช่ียวชาญทําการตรวจสอบเชิงลกึ และแกไ้ ข ทันทีไม่ควรปล่อยท้ิงไว้นาน รอยร้าวเนื่องจากโครงสร้างรับนํ้าหนักไม่ได้จัดเป็นปัญหาที่ควรรีบแก้ไขเช่นกัน แต่เมื่อพบเห็นสามารถ แก้ไขในเบื้องต้นได้ด้วยการปลดนํ้าหนักบรรทุกออกก่อนเพ่ือเป็นการลดอันตรายท่ีจะเกิดขึ้น แล้วจึงตามผู้เชี่ยวชาญเข้ามา ภ4-7
ตรวจสอบ สว่ นรอยร้าวในลําดับถัดลงมายังพอมีเวลาให้แก้ไข อย่างไรก็ตาม ควรทําการแก้ไขในทกุ กรณีของรอยร้าว ท้ังน้ีเพื่อ เปน็ การบาํ รุงรกั ษาอาคารให้มีสภาพทด่ี แี ละมคี วามม่นั คงแข็งแรงใชง้ านไดต้ ลอดไป อ่านรายละเอยี ดเพม่ิ เตมิ ภาคท่ี 4 การตรวจสอบดา้ นความม่นั คงแขง็ แรงของอาคาร หนา้ 50–82 และภาคท่ี 10 เคลด็ การตรวจสอบอาคารด้วยสายตา หนา้ 333–350 ในคู่มือเทคนิคการตรวจสอบอาคารเพ่ือความปลอดภยั ของ วสท. 4.3.2 โครงสรา้ งอาคารมีความสามารถในการกนั ไฟและทนไฟ รวมถงึ รองรับเหตุฉุกเฉินได้ (มีความสามารถในการ ตา้ นทานความเสยี หายของอาคารเมื่อเกิดเหตฉุ กุ เฉินในช่วงเวลาหนึ่งทีส่ ามารถอพยพคนออกจากอาคารได)้ ให้เป็นไปตาม มาตรฐานการปอ้ งกนั อัคคีภัย วสท. 3002–51 ในภาคที่ 2 หมวดที่ 3 เรื่องมาตรฐานโครงสรา้ งของอาคารเพือ่ ปอ้ งกันอัคคภี ัยได้ มกี ารกาํ หนดรายละเอียดเกยี่ วกับมาตรฐานโครงสรา้ งของอาคารเพอื่ การป้องกนั อคั คีภัย ไว้ดังน้ี แนวทางในการกําหนดมาตรฐานโครงสรา้ งสาํ หรับอาคารนัน้ จะพิจารณาจากปัจจัยท่ีสําคญั สองสว่ น ได้แก่ ชนิด ของการก่อสร้าง (construction type) และประเภทกิจกรรมการใช้งานของอาคาร โดยการก่อสร้างแต่ละประเภทจะมี ข้อกําหนดเกี่ยวกับอัตราการทนไฟของส่วนต่างๆ ของโครงสร้างแตกต่างกัน และอาคารท่ีมีการใช้งานแต่ละประเภทจะมีพ้ืนท่ี และความสูงสุดที่ยอมให้สร้างต่างกัน ถ้าเป็นอาคารที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัยสูงและมีขนาดใหญ่ ก็อาจจะต้องเลือก ประเภทของการก่อสร้างที่กําหนดให้มีอัตราการทนไฟของโครงสร้างสูง ในทางตรงกันข้ามถ้าเป็นอาคารที่มีความเสี่ยงต่อการ เกดิ อคั คีภยั ต่าํ และมีขนาดเล็ก ก็อาจเลือกใชป้ ระเภทของการกอ่ สรา้ งท่กี ําหนดใหม้ อี ตั ราการทนไฟของโครงสรา้ งต่ํากว่าได้ อา่ นรายละเอียดเพิ่มเตมิ ภาคที่ 2 หมวดท่ี 3 มาตรฐานโครงสรา้ งอาคารเพ่อื การป้องกนั อคั คภี ยั หมวด 4 การ แบ่งส่วนอาคาร และหมวด 5 การควบคุมวสั ดุในอาคาร ในมาตรฐานการปอ้ งกันอัคคภี ัย วสท. 3002–51 (E.I.T. 3002–51) หนา้ 38-53 ในคู่มือเทคนคิ การตรวจสอบอาคารเพ่อื ความปลอดภัยของ วสท. 4.3.3 การตรวจสอบสภาพของโครงสร้างอาคาร ตามคมู่ อื เทคนคิ การตรวจสอบอาคารเพอื่ ความปลอดภยั (สาํ หรบั การ ตรวจสอบอาคารตามกฎหมาย) ภาคท่ี 4 การตรวจสอบด้านความมัน่ คงแข็งแรงของอาคาร ได้มีการแนะนาํ แนวทาง ไว้ดังน้ี 1) อายุการใช้งานของอาคาร : อาคารที่ก่อสร้างในยุคปัจจุบัน โดยเฉลี่ยแล้ววิศวกรมักจะถือว่า อาคารมีอายุใช้งาน ประมาณ 50 ปี อายกุ ารใชง้ านของอาคารมักถูกกาํ หนดด้วยคุณค่าทางเศรษฐกจิ ของอาคาร เมื่อหมดคุณค่าทางเศรษฐกิจแล้ว แมโ้ ครงสร้างอาคารจะมีความคงทนถาวรต่อไปก็มักจะถูกร้ือถอนเพ่ือใหส้ ามารถใช้ที่ดินเพื่อประโยชน์อยา่ งอืน่ 2) การตรวจสภาพและบํารุงรักษาอาคาร : เป็นความจริงท่ีว่าอาคารส่วนใหญ่มีความคงทนมาก แต่หากมี ขอ้ บกพร่องหรอื การแตกร้าวของตวั อาคาร อันเนื่องจากการกอ่ สร้างหรือการใชง้ าน การซ่อมบํารุงเล็กๆ นอ้ ยๆ จะชว่ ยยืดอายุ อาคารและทําใหอ้ าคารปลอดภัย หรือมอี ตั ราสว่ นความปลอดภยั คงเดมิ ตลอดอายุการใช้งาน สําหรับอาคารที่ไม่มีประวัติการแตกร้าวหรือทรุดเอียง ควรตรวจสอบโครงสร้างท้ังอาคารด้วยสายตา และ เครื่องมือช่วยพ้ืนฐาน เช่น ลูกดิ่ง ไม้บรรทัดระดับน้ํา สายยางระดับน้ํา อย่างน้อยปีละคร้ังว่ามีการทรุดตัว เอียงตัว หรือการ แตกร้าวหรือไม่ หรือ มีคอนกรีตกะเทาะ เช่น จากการชนของเครื่องจักร จนอาจเป็นเหตุให้ความชื้น และอากาศเข้าไปทําให้ เกิดสนิมในเหล็กเสริมหรือไม่ หรือมีน้ําร่ัวซึม (จากน้ําฝน หรือน้ําจากห้องนํ้า หรือนํ้าจากกระบวนการผลิต) ทําให้โครงสร้าง พนื้ –คาน–เสา สว่ นทไี่ มไ่ ด้ออกแบบไวใ้ หเ้ ปยี กนา้ํ ตลอดเวลาหรือไม่ การซ่อมแซมเล็กๆ น้อยๆ อาทิ เช่น ใช้ปูนทรายปิดรอยกะเทาะของคอนกรีต การขจัดน้ํารั่วซึมเข้าในอาคารหรือ การทาสภี ายนอกอาคาร กเ็ ปน็ การบํารุงรกั ษาชว่ ยยดื อายอุ าคารใหอ้ ยูไ่ ดย้ ืนยาวตามทอี่ อกแบบไว้ ดูรายละเอียดเพ่ิมเติมจาก คู่มือเทคนิคการตรวจสอบอาคารเพ่ือความปลอดภัย (สําหรับการตรวจสอบอาคารตาม กฎหมาย) ภาคท่ี 4 การตรวจสอบด้านความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร หนา้ 50–82 4.4 งานวิศวกรรมไฟฟา้ 4.4.1 การติดต้ังแหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้าท่ีนิยมติดตั้งใน 2 รูปแบบ คือ การติดต้ังที่ระดับพื้นห้องและการติดต้ังท่ีระดับ เหนือโตะ๊ ปฏบิ ตั กิ าร มีรายละเอยี ดการตดิ ตั้งดังนี้ 1) การติดต้ังท่ีระดับพ้ืนห้อง ควรอยู่สูงกว่าระดับพื้น ประมาณ 0.15 – 0.30 เมตร เพื่อให้สามารถทําความสะอาด พ้ืนห้องปฏิบัติการได้ง่ายและไม่ก่อให้เกิดอันตรายในการใช้งาน หากมีการทําความสะอาดบ่อย หรือ มีการฉีดน้ําเพื่อทําความ สะอาด ควรเลือกชนดิ ท่มี ฝี าครอบกันนาํ้ เป็นต้น 2) การติดต้ังท่ีระดับเหนือโต๊ะปฏิบัติการ มีท้ังแบบที่ติดต้ังอยู่สูงกว่าระดับโต๊ะปฏิบัติการท่ีบริเวณผนังห้องหรือบน รางสายไฟบนผนงั ส่วนดา้ นในของโตะ๊ ปฏบิ ัติการท่ีชนกบั ผนงั หรอื ตัง้ อยู่บนโตะ๊ ปฏบิ ัตกิ าร (บนพนื้ ผิวด้านบน, (Top) หรอื สว่ น หนึ่งส่วนใดของโต๊ะปฏิบัติการ) ตามมาตรฐานผู้ผลิตและจําหน่ายโต๊ะปฏิบัติการ ในบริเวณอ่างน้ํา (sink) ควรหลีกเลี่ยง การติดตง้ั แหล่งจา่ ยกระแสไฟฟา้ หรอื ถา้ หากจาํ เป็นควรเลอื กใช้ชนิดทมี่ ีฝาครอบกนั น้ํา เป็นต้น ภ4-8
4.4.2. มาตรฐานการตดิ ตงั้ ระบบแสงสวา่ งฉกุ เฉิน มีรายละเอยี ดดังนี้ 1) ตามมาตรฐานการป้องกันอัคคีภัย วสท. 3002–51 ภาคท่ี 4 หมวดท่ี 7 ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟ ปา้ ยทางออกฉกุ เฉนิ ได้กําหนดรายละเอียดไวด้ ังนี้ 1.1) ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟป้ายทางออกฉุกเฉิน มีวัตถุประสงค์เพ่ือใช้ในการส่องสว่างบน เสน้ ทางหนไี ฟ และแสดงทิศทางการหนีไฟให้ผ้ใู ช้อาคารสามารถอพยพออกจากอาคารท่ีกําลงั เกิดเพลงิ ไหมไ้ ด้ด้วยตนเอง 1.2) ข้อกําหนดต่างๆ ของระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟป้ายทางออกฉุกเฉิน ของมาตรฐานการ ป้องกันอัคคีภัยน้ี ให้เป็นไปตาม วสท. – 2004 มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟป้ายทางออกฉุกเฉิน ฉบับ ล่าสุดของวศิ วกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ 2) ตามมาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟปา้ ยทางออกฉกุ เฉนิ วสท. 2004–51 ภาคท่ี 2 ไฟฟา้ แสง สว่างฉกุ เฉนิ ไดก้ ําหนดรายละเอยี ดการออกแบบการใหแ้ สงสว่างฉกุ เฉินไว้ดังนี้ 2.1) ทั่วไป: การให้แสงสว่างฉุกเฉินใช้เมื่อแสงสวา่ งจากแหล่งจ่ายไฟฟ้าปกติล้มเหลว ดังนั้นต้องมีแหล่งจ่ายไฟ อสิ ระที่ไม่ขนึ้ กบั แหล่งจ่ายไฟแสงสวา่ งปกติ 2.2) แหลง่ จา่ ยไฟฟา้ แสงสว่าง: 2.2.1) ในสภาวะปกติ แสงสว่างท่ีทางออกควรมาจากแหล่งจ่ายไฟฟ้าท่ีมีความเชื่อถือได้สูง เช่นจากการไฟฟ้าฯ 2.2.2) ในสภาวะฉุกเฉิน ให้ใช้โคมที่จ่ายไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ ซึ่งต้องเป็นชนิดที่มีความเชื่อถือได้สูง สามารถประจุกลับเข้าไปใหม่ได้เองโดยอัตโนมัติ ไม่อนุญาตให้ใช้เคร่ืองกําเนิดไฟฟ้าเป็นแหล่งจ่ายไฟให้กับโคมไฟฟ้าฉุกเฉิน และต้องใช้วงจรไฟฟ้าจากวงจรไฟฟ้าแสงสวา่ งของในพ้ืนที่นั้นๆ 2.3) การทาํ งานของแหล่งจ่ายไฟฟ้าฉกุ เฉนิ : 2.3.1) แหล่งจ่ายไฟฟ้าฉุกเฉินต้องสามารถทํางานได้เมื่อแหล่งจ่ายไฟฟ้าปกติล้มเหลว หรือ เมื่อเครื่อง ปอ้ งกนั กระแสเกินเปดิ วงจร และแหล่งจา่ ยไฟฟ้าฉกุ เฉนิ ต้องทํางานได้อยา่ งต่อเน่อื งและทาํ งานได้อีกโดยอตั โนมตั ิ 2.3.2) การเปล่ียนจากแหล่งจ่ายไฟฟ้าปกติมาเป็นแหล่งจ่ายไฟฟ้าฉุกเฉิน ต้องทําได้สมบูรณ์ภายในเวลา 5 วนิ าที ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้จากมาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสวา่ งฉุกเฉนิ และโคมไฟป้ายทางออกฉุกเฉิน วสท. 2004–51 ภาคที่ 2 ไฟฟา้ แสงสว่างฉุกเฉิน หน้า 21–32 3) ตามคู่มือเทคนิคการตรวจสอบอาคารเพ่ือความปลอดภัย ภาคที่ 7 เทคนิคการตรวจสอบระบบป้องกันและ ระบบอัคคีภัย ข้อ 7.4 การตรวจสอบระบบไฟฟ้าสํารองฉุกเฉิน ได้มีการเสนอรายละเอียดเกี่ยวกับระบบหลอดไฟฟ้าส่องสว่าง ฉุกเฉินดงั นี้ 3.1) หลอดไฟต้องสามารถตดิ สว่างสูงสุดไดท้ นั ที (ควรเปน็ หลอดทใ่ี ช้ไสห้ ลอด) 3.2) ไม่ควรใช้หลอดทีต่ อ้ งมสี ตาร์ทเตอร์ในการจุด 3.3) โคมไฟฟ้าแบบต่อพ่วงตอ้ งติดตั้งในตําแหน่งที่เหมาะสม สามารถส่องสว่างครอบคลมุ พื้นที่เสน้ ทางอพยพ และไม่ส่องแสงบาดตาผู้อพยพ 4) ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2535) ฉบับท่ี 39 (พ.ศ. 2537) ฉบับท่ี 47 (พ.ศ. 2540) และฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) ไดก้ ําหนดรายละเอยี ดสําหรบั อาคารประเภทตา่ งๆ ดังนี้ 4.1) กฎกระทรวงฉบับท่ี 33 (พ.ศ. 2535) ได้กาํ หนดให้อาคารสูง และอาคารขนาดใหญ่พิเศษ และ กฎกระทรวงฉบับท่ี 39 (พ.ศ. 2537) ฉบบั ที่ 47 (พ.ศ. 2540) และฉบับท่ี 55 (พ.ศ. 2543) ไดก้ าํ หนดให้อาคารท่ีมิใชอ่ าคารสงู และอาคารขนาดใหญพ่ ิเศษ ให้อาคารทัง้ หมดท่ีกลา่ วมาต้องมรี ะบบแสงสว่างฉุกเฉิน ที่มีแสงสว่างจากระบบไฟฟา้ ฉุกเฉินให้ สามารถมองเห็นชอ่ งทางหนไี ฟได้ชัดเจนขณะเพลิงไหม้ 4.4.3 อุปกรณส์ ายไฟฟา้ เต้ารับ เต้าเสียบ ตรงตามมาตรฐานวศิ วกรรมสถานแหง่ ประเทศไทย (วสท.) ถกู ยึดอยู่ กบั พน้ื ผนังหรือเพดาน และติดตงั้ แหลง่ จา่ ยกระแสไฟฟ้าในบรเิ วณที่เหมาะสม 1) ตามมาตรฐานการป้องกันอัคคีภัย วสท. 3002–51 ภาคท่ี 4 หมวดท่ี 6 ระบบไฟฟ้าสํารองฉุกเฉิน ได้กําหนด รายละเอยี ดไว้ดังน้ี 1.1) ระบบไฟฟ้าสํารองฉุกเฉิน มีวัตถุประสงค์เพ่ือใช้ในการจ่ายไฟฟ้าฉุกเฉินอย่างต่อเนื่อง สําหรับอาคารที่ กําลังเกิดเพลิงไหม้ ซึ่งสาเหตุการดับของแหล่งจ่ายไฟฟ้าปกติอาจเกิดจากกระแสไฟฟ้าขัดข้อง หรือพนักงานดับเพลิงตัดกระแส ไฟฟ้าเพ่อื ปฏิบัตหิ นา้ ที่ ภ4-9
1.2) ข้อกําหนดต่างๆ ของระบบไฟฟ้าสํารองฉุกเฉินและจ่ายกระแสไฟฟ้าของมาตรฐานการป้องกันอัคคีภัยน้ี ใหเ้ ป็นไปตาม วสท. – 2001 มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสําหรบั ประเทศไทย ฉบับล่าสุดของวศิ วกรรมสถานแหง่ ประเทศไทย 2) ตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสําหรับประเทศไทย วสท. 2001–51 บทท่ี 12 วงจรไฟฟ้าช่วยชีวิต ได้ กําหนดรายละเอียดไวด้ ังน้ี 2.1) ขอ้ กําหนดท่ัวไปกาํ หนดให้ในอาคารสูงหรอื อาคารขนาดใหญพ่ ิเศษ เปน็ อาคารหรอื สถานท่ี ทีม่ ผี ู้คนอาศัย อยู่จํานวนมากและหนีภัยได้ยากเม่ือเกิดอัคคีภัยหรือภาวะฉุกเฉินอื่นๆ จําเป็นต้องตัดกระแสไฟฟ้าวงจรปิดเพ่ือให้เกิดความ ปลอดภัยจากไฟฟ้าร่ัว การฉีดน้ําดับเพลิงชํารุด เน่ืองจากถูกเพลิงเผาไหม้ หรือกดทับกระแทกต่างๆ แต่ในภาวะเช่นนี้ ระบบ วงจรไฟฟ้าฉุกเฉินต่างๆ ตามข้อ 2.3 ยังจําเป็นต้องมีไฟฟ้าให้ทํางานอยู่ได้ตามที่กําหนดไว้ วงจรไฟฟ้าเหล่านี้จึงต้องออกแบบ เป็นพิเศษให้สามารถทนต่อความร้อนจากอัคคีภัย มีความแข็งแรงทางกลเป็นพิเศษ คงสภาพความปลอดภัยต่อกระแสไฟฟ้าร่ัว หรือลัดวงจรเพ่อื ให้สามารถช่วยชีวิตผ้คู นท่ีติดอยใู่ นสถานทีน่ ้ันๆ ได้ทันการณ์ วงจรไฟฟ้าดังกลา่ วน้ีเรียกว่า วงจรไฟฟา้ ชว่ ยชีวติ 2.2) ข้อกาํ หนดทั่วไปกาํ หนดใหว้ งจรไฟฟา้ ชว่ ยชวี ิตใหม้ กี ารตรวจสอบและทดสอบความพร้อมทุกปี 2.3) ข้อกําหนดด้านขอบเขตได้ระบุข้อกําหนดสําหรับวงจรไฟฟ้าท่ีจําเป็นต้องใช้งานได้อย่างดีและต่อเนื่องใน ภาวะฉกุ เฉนิ ดงั น้ี ระบบจ่ายไฟฟา้ ฉกุ เฉนิ ระบบสญั ญาณเตอื นอัคคีภยั ระบบสือ่ สารฉกุ เฉิน ระบบอัดอากาศสาํ หรบั บันไดหนีไฟ ระบบลฟิ ทผ์ จญเพลงิ ระบบเครอ่ื งสบู นํ้าและระบบดบั เพลิงอตั โนมตั ิ ระบบดดู และระบายควนั รวมทั้งระบบ ระบบไฟฟ้าแสงสวา่ งฉุกเฉนิ ควบคุมการกระจายของไฟและควนั 2.4) ข้อกําหนดด้านขอบเขตได้ระบุข้อกําหนดสําหรับอาคารสถานท่ีต่อไปน้ี อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่ พเิ ศษ/อาคารหรือสถานที่ใดๆ ท่ีกฎหมายกําหนดให้ต้องมีระบบวงจรไฟฟ้าช่วยชีวิต ตามข้อ 2.3 ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วนหรือ ระบบใดระบบหนึ่ง/อาคารหรือสถานท่ีสลับซับซ้อน หรือท่ีมีผคู้ นจํานวนมากอยู่ในอาคารนั้น ไม่วา่ เพ่ือจะดาํ เนินกิจกรรมใดก็ตาม หรืออาคารใดท่ีจําเป็นต้องติดตั้งระบบวงจรไฟฟ้าช่วยชีวิต ตาม ข้อ 2.3 ไม่ว่าท้ังหมดหรือบางส่วนหรือระบบใดระบบหนึ่ง/อาคาร หรอื สถานทจี่ ดั เป็นบรเิ วณอันตรายจะต้องปฏบิ ตั ติ ามข้อกําหนดการตดิ ตัง้ สําหรับบริเวณอันตรายตามแตล่ ะประเภทน้ันดว้ ย 2.5) การจ่ายไฟฟ้าฉุกเฉินสําหรับวงจรไฟฟ้าช่วยชีวิตจะต้องมีลักษณะคือ ต้องมีแหล่งไฟฟ้าจ่ายไฟฟ้าฉุกเฉิน อาจเป็นเคร่ืองกําเนิดไฟฟ้า แบตเตอร่ี หรืออ่ืนใดท่ีสามารถจ่ายไฟให้ระบบวงจรไฟฟ้าช่วยชีวิตอย่างเหมาะสม และในระยะ เวลานานพอเพียงท่ีจะครอบคลุมความต้องการของระบบวงจรไฟฟ้าช่วยชีวิตส่วนที่ต้องมีไฟฟ้าใช้ท่ีนานท่ีสุดได้ด้วย และการมี ไฟฟ้าจ่ายให้ระบบวงจรไฟฟ้าช่วยชีวิตนี้จะต้องไม่ถูกกระทบจากเหตุใดๆ ท่ีทําให้ไม่มีไฟฟ้าจ่ายให้ได้ เช่น การปลดหรือการงด จา่ ยไฟฟ้าของการไฟฟ้าฯ หรือเกิดเพลิงไหม้ เป็นตน้ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้จากมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสําหรับประเทศไทย พ.ศ. 2545 วสท. 2001–51 บทท่ี 12 วงจรไฟฟา้ ชว่ ยชวี ติ หน้า 12–1 ถึง 12–8 3) ตามคู่มือเทคนิคการตรวจสอบอาคาร เพื่อความปลอดภัย ภาคท่ี 7 เทคนิคการตรวจสอบระบบป้องกันและ ระบบอัคคีภัย ข้อ 7.4 การตรวจสอบระบบไฟฟ้าสํารองฉุกเฉิน ได้มีการเสนอรายละเอียดเก่ียวกับการตรวจสอบระบบไฟฟ้า สํารองฉุกเฉินดังนี้ ระบบการจ่ายไฟฟ้าสํารองฉุกเฉินสําหรับแสงสว่างเพื่อการอพยพ ทําหน้าที่จ่ายไฟฟ้าให้กับโคมไฟส่องสว่าง เส้นทาง และป้ายบอกเส้นทางเพ่ือการหนีภัย แบ่งเป็นการจ่ายไฟฟ้าสํารองฉุกเฉินจากแบตเตอรี่สํารองไฟ และจากเครื่อง กาํ เนิดไฟฟ้าสํารองฉุกเฉิน แสงสวา่ งในเส้นทางหนีไฟต้องสอ่ งสว่างตลอดเวลาท้งั ในสภาวะปกติและสภาวะไฟฟ้าดบั โดยแสงสวา่ ง เฉล่ียท่ีพื้นเม่ือใช้ไฟฟ้าจากไฟฟ้าสํารองฉุกเฉินต้องส่องสว่างเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 10 ลักซ์ โดยไม่มีจุดใดตํ่ากว่า 1 ลักซ์ สามารถ ส่องสวา่ งต่อเน่ืองเปน็ เวลาไมน่ ้อยกวา่ 2 ชวั่ โมง ดูรายละเอียดเพ่ิมเติมดูได้จากคู่มือเทคนิคการตรวจสอบอาคารเพ่ือความปลอดภัย (สําหรับการตรวจสอบอาคาร ตามกฎหมาย) ภาคท่ี 7 เทคนิคการตรวจสอบระบบป้องกัน และระงบั อัคคีภัย ข้อ 7.4 การตรวจสอบระบบไฟฟ้าสํารองฉุกเฉิน หนา้ 226–233 4) ตามกฎกระทรวงฉบบั ที่ 33 (พ.ศ. 2535) ฉบับที่ 39 (พ.ศ. 2537) ฉบับท่ี 47 (พ.ศ. 2540) และฉบบั ท่ี 55 (พ.ศ. 2543) ได้กําหนดรายละเอยี ดสาํ หรับอาคารประเภทต่างๆ ดงั นี้ 4.1) กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2535) ได้กําหนดให้อาคารสูง และอาคารขนาดใหญ่พิเศษต้องมีระบบ ไฟฟ้าสํารองฉุกเฉิน ให้มีระบบจ่ายพลังงานไฟฟ้าสํารองสําหรับกรณีฉุกเฉินและสามารถทํางานได้โดยอัตโนมัติเม่ือระบบจ่าย ไฟฟา้ ปกติหยุดทาํ งาน โดยสามารถจ่ายพลังงานไฟฟา้ ไดเ้ พยี งพอสาํ หรบั ใชง้ านดังตอ่ ไปนี้ ภ4-10
4.1.1) จ่ายพลังงานไฟฟ้าเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 2 ช่ัวโมงสําหรับเคร่ืองหมายแสดงทางฉุกเฉิน ทางเดิน หอ้ งโถง บนั ได และระบบสัญญาณเตือนเพลิงไหม้ 4.1.2) จ่ายพลังงานไฟฟ้าตลอดเวลาที่ใช้งานสําหรับลิฟท์ดับเพลิง เครื่องสูบนํ้าดับเพลิง ห้องช่วยชีวิต ฉุกเฉิน ระบบส่ือสารเพ่ือความปลอดภัยของสาธารณะและกระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรมท่ีจะก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิต หรือสขุ ภาพอนามยั เม่อื กระแสไฟฟ้าขดั ข้อง 4.2) กฎกระทรวงฉบับท่ี 39 (พ.ศ. 2535) ฉบับท่ี 47 (พ.ศ. 2540) และฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) มิได้มีการ กําหนดรายละเอียดเก่ียวกับระบบไฟฟ้าสํารองไว้ สําหรับอาคารทั่วไปที่มิใช่อาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษ เพียงแต่มี การกําหนดให้ต้องมีแสงสว่างจากระบบไฟฟา้ ฉุกเฉนิ เพียงพอท่จี ะมองเห็นชอ่ งทางหนีไฟไดช้ ัดเจนขณะเพลิงไหม้เทา่ นน้ั 4.5 งานวศิ วกรรมระบบระบายอากาศและปรบั อากาศ 4.5.1 มาตรฐานระบบระบายอากาศ มรี ายละเอียดดังนี้ 1) ตามมาตรฐานระบบระบายอากาศ และระบบปรับอากาศ วสท. 3003–50 ประกอบด้วยขอ้ กาํ หนดต่างๆ ไวด้ ังน้ี 1.1) ข้อกาํ หนดท่ัวไป 1.1.1) ระบบปรับอากาศและระบายอากาศต้องได้รับการออกแบบและติดตัง้ ตามหลักปฏบิ ัติทางวิศวกรรม ทด่ี ี (good engineering practice) 1.1.2) งานไฟฟ้าสําหรับระบบปรับอากาศและระบายอากาศต้องปฏิบัติตามมาตรฐานการจัดต้ังทาง ไฟฟ้าสาํ หรบั ประเทศไทย ตามมาตรฐาน วสท. 2001 1.2) ระบบระบายอากาศสําหรบั พืน้ ทีท่ ว่ั ไป 1.2.1) อัตราการระบายอากาศของอาคาร ต้องมีอัตราไม่น้อยกว่าท่ีกําหนดในมาตรฐานการระบาย อากาศ เพื่อคุณภาพอากาศภายในอาคารท่ียอมรบั ได้ ของวศิ วกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ (มาตรฐาน วสท. 3010) 1.2.2) อากาศทม่ี สี ่ิงปนเปือ้ นต้องได้รับการทาํ ความสะอาดกอ่ นทจี่ ะนํามาหมนุ เวยี นใชใ้ หม่ 1.2.3) ตอ้ งจดั ใหม้ ีระบบระบายอากาศเฉพาะที่ (local exhaust system) เพื่อกาํ จัดความช้นื กลน่ิ ควัน แก๊ส ละอองน้ํา ความร้อน ฝนุ่ หรอื สารอน่ื ท่มี ปี รมิ าณมากจนกอ่ ใหเ้ กดิ การระคายเคือง หรอื การเจบ็ ปว่ ยกับผ้ใู ช้อาคาร 1.2.4) สารอันตราย เช่น สารพิษ สารกัดกร่อน สารท่ีเป็นกรด หรือ สารร้อน ซ่ึงเกิดจากกระบวนการ อตุ สาหกรรม ต้องถูกดูดจบั (capture) และระบายท้ิงส่ภู ายนอกอาคาร 1.2.5) สารอันตราย ต้องถูกจาํ กัดให้อย่ใู นพื้นท่ที ีก่ าํ เนิดข้ึนโดยวธิ รี กั ษาความดันในบริเวณดังกล่าวใหม้ คี วาม ดันตํ่ากว่าบริเวณโดยรอบ และวิธีการปิดล้อม บริเวณดังกล่าวไม่ให้มีอากาศร่ัวไหล จนกว่าสารอันตรายจะถูกระบายออกไป ภายนอกอาคาร 1.2.6) อากาศที่มสี ารอันตราย ต้องไดร้ บั การบาํ บดั ให้มคี ณุ ภาพตามกฎหมายก่อนทง้ิ ออกสภู่ ายนอกอาคาร 1.2.7) พ้ืนท่ีสําหรับใช้เพื่อเก็บของ (storage occupancies) ต้องจัดให้มีการระบายอากาศด้วยวิธีกล โดยมีอัตราไม่น้อยกว่า 2 เท่าของปริมาตรห้องต่อชั่วโมง ในขณะท่ีมีคนใช้งาน หรือมีช่องเปิดออกสู่ภายนอกไม่น้อยกว่า 10% ของ พน้ื ที่ 1.2.8) ตําแหน่งช่องนําอากาศเข้าโดยวิธีกล ต้องห่างจากท่ีเกิดอากาศเสียและช่องระบายอากาศท้ิงไม่ นอ้ ยกวา่ 5.00 เมตร และอยสู่ งู ไมน่ ้อยกวา่ 3.00 เมตร 2) ตามมาตรฐานระบบปรับอากาศและระบายอากาศ วสท. 3003–50 ในบทท่ี 8 เร่ือง การระบายอากาศสําหรับ บริเวณที่มีสารเคมีและสารอันตราย หัวข้อ 8.3 ระบบระบายอากาศสําหรับห้องปฏิบัติการได้มีการกําหนดรายละเอียด ระบบ ระบายอากาศสาํ หรับหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารไวด้ ังน้ี 2.1) ขอบเขต 2.1.1) ระบบระบายอากาศเสียของห้องปฏิบัติการ, ระบบครอบดูดลม/ตู้ดูดควันสําหรับห้องปฏิบัติการ (laboratory hood), อุปกรณ์ระบายอากาศเฉพาะท่ี และระบบอ่ืนๆ สําหรับระบายอากาศเสียในพ้ืนทหี่ ้องปฏิบัติการ ซ่ึงได้แก่ แกส๊ ติดไฟ, ไอระเหย หรืออนุภาคต่างๆ ทีถ่ กู ปล่อยออกมา 2.1.2) ระบบจ่ายอากาศในห้องปฏิบัติการซึ่งจะต้องจัดเตรียมไว้ตามแต่ละประเภท, การตรวจสอบและ บาํ รงุ รักษา ทงั้ ในระบบระบายอากาศและครอบดดู ลม/ตู้ดดู ควันสาํ หรบั หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร 2.2) ความตอ้ งการท่ัวไป 2.2.1) ระบบส่งจ่าย (supply systems) ภ4-11
ต้องออกแบบระบบระบายอากาศในห้องปฏบิ ตั ิการใหไ้ อสารเคมีที่เกดิ ข้ึนไมถ่ กู นาํ กลับมาหมุนเวียนอีก และสารเคมีท่ีปลอ่ ยออกมาต้องกกั เกบ็ หรือถกู กาํ จัดออกเพอ่ื ปอ้ งกันอนั ตรายจากการลุกติดไฟ บริเวณที่นําอากาศบริสุทธ์ิเข้าจะต้องหลีกเลี่ยงการนําอากาศท่ีมีสารเคมีหรือสารติดไฟจากส่วนอื่นๆ เข้ามาในพื้นทห่ี อ้ งปฏิบัตกิ าร หอ้ งปฏบิ ัติการทม่ี ีสารเคมจี ะต้องมีการระบายอากาศอยา่ งต่อเนือ่ ง ความดนั อากาศภายในห้องปฏิบตั ิการจะตอ้ งมีค่าน้อยกวา่ ภายนอก ขอ้ ยกเวน้ (1) หากห้องดังกล่าวต้องการให้เป็นลักษณะห้องสะอาด ซ่ึงไม่สามารถทําให้ความดันภายในห้องมีค่าน้อยกว่า ภายนอกได้ จะตอ้ งมีการจดั เตรียมระบบเพอ่ื ป้องกันอากาศภายในห้องรั่วสู่บรรยากาศภายนอก (2) ระดับความดันท่ีเหมาะสมระหว่างส่วนโถงทางเดินและส่วนที่ไม่ใช่ห้องปฏิบัติการ อาจเปลี่ยนแปลงได้ช่ัวขณะ หากมีการเปดิ ประตู มกี ารเปลย่ี นตําแหนง่ หัวดดู อากาศ หรือ กิจกรรมอื่นๆ ในระยะเวลาอนั ส้ัน ตําแหน่งของหัวจ่ายลมจะต้องอยู่ในตําแหน่งท่ีไม่มีผลกระทบต่อประสิทธิภาพของครอบดูดลม/ตู้ดูด ควนั สาํ หรับห้องปฏิบัตกิ าร ระบบระบายอากาศ อุปกรณต์ รวจจบั เพลิงไหม้หรอื ระบบดบั เพลงิ 2.2.2) การระบายอากาศเสยี (exhaust air discharge) อากาศเสียท่ีออกจากห้องปฏิบัตกิ ารหรอื อากาศเสยี อ่นื ๆ จะต้องไม่ถกู นํากลับมาหมนุ เวยี นใชอ้ ีก อากาศเสียจากห้องปฏิบัติการที่ต้องระบายผ่านพ้ืนท่ีอ่ืนที่ไม่ใช่ห้องปฏิบัติการต้องส่งผ่านออกไป ภายนอกอาคารโดยใชท้ ่อลม อากาศจากพื้นท่ีท่ีมีสารเคมีปนเป้ือนจะต้องมีการระบายทิ้งอย่างต่อเนื่องและต้องรักษาความดันใน หอ้ งใหม้ ีคา่ น้อยกวา่ ภายนอกอยูเ่ สมอ ในระบบระบายอากาศเสียสว่ นท่มี ีความดนั สูง เช่น พัดลม, คอยล์, ท่อลมออ่ น หรอื ท่อลม จะต้องมี การอดุ รอยร่ัวเป็นอย่างดี ความเรว็ ของทอ่ ดดู และปริมาณลมจะต้องเพียงพอตอ่ การลาํ เลียงสงิ่ ปนเป้อื นเหล่านั้นได้ตลอด แนวท่อ หา้ มนําครอบดูดลม/ต้ดู ดู ควนั ทว่ั ไปมาใช้แทนครอบดูดลม/ตดู้ ูดควันสาํ หรบั ห้องปฏบิ ัติการ ห้ามนําตู้นริ ภยั ทางชวี ภาพ มาใช้แทนครอบดดู ลม/ตู้ดูดควันสําหรับหอ้ งปฏบิ ตั ิการ หา้ มนาํ laminar flow cabinet มาใชแ้ ทนครอบดดู ลม/ต้ดู ดู ควนั สําหรับห้องปฏิบัติการ อากาศเสยี จากห้องปฏิบัตกิ ารหรอื อากาศเสียอ่นื ๆ จะตอ้ งถกู ระบายทง้ิ เหนอื ระดับหลงั คาโดย ระดับความสูงและความเรว็ จะตอ้ งเพียงพอท่ีจะปอ้ งกันการไหลยอ้ นกลบั เข้ามาและสง่ ผลถงึ บุคคลโดยท่ัวไป ความเร็วอากาศต้องมีความเร็วพอที่จะป้องกันการสะสมตัวของของเหลว หรือการเกาะตัวของวสั ดุ ในระบบระบายอากาศเสีย 2.2.3) การเตมิ อากาศจากภายนอก อากาศจากภายนอกที่เติมเขา้ ห้องเพ่ือชดเชยการระบายอากาศควรผ่านการลดความช้ืนให้มปี ริมาณไอ นา้ํ ในอากาศหรืออุณหภูมิหยาดน้าํ ค้างตาํ่ กว่าสภาวะภายในห้อง ก่อนผสมกับลมกลบั หรอื กอ่ นจ่ายเข้าไปในห้องโดยตรง 2.3) วัสดอุ ุปกรณ์และการติดต้งั 2.3.1) ท่อลมและอุปกรณ์ระบายอากาศเฉพาะที่ (duct construction for hoods and local exhaust systems) กําหนดให้ท่อลมจากช่องดูดต่างๆ ต้องทําจากวัสดุไม่ติดไฟ (ดูรายละเอียดเพ่ิมเติมได้จากมาตรฐานระบบปรับอากาศและ ระบายอากาศ วสท. 3003–50 ในบทท่ี 8 เรอื่ ง การระบายอากาศสําหรับบริเวณทมี่ สี ารเคมแี ละสารอนั ตราย หนา้ 63 ถึง 64) 2.3.2) อปุ กรณร์ ะบายอากาศ, การควบคมุ , ความเร็ว และการระบายทิง้ พัดลมท่เี ลือกใช้จะต้องพจิ ารณาถงึ การตดิ ไฟ, การเสียหายตา่ งๆ และการกัดกร่อน พัดลมซ่ึงใช้กับวัสดุท่ีมีการกัดกร่อนหรือติดไฟได้อนุญาตให้เคลือบด้วยวัสดุหรือทําจากวัสดุที่ สามารถต้านทานการกดั กรอ่ นซง่ึ มดี ัชนกี ารลามไฟไม่เกนิ กวา่ 25 ได้ พดั ลมจะต้องติดต้ังในตําแหน่งทีส่ ามารถเขา้ ทาํ การบํารุงรกั ษาได้อยา่ งสะดวก หากมีวสั ดุหรือแก๊สทีส่ ามารถตดิ ไฟได้ไหลผา่ นพัดลมอุปกรณส์ ่วนหมนุ ต่างๆ ตอ้ งไมเ่ ปน็ เหลก็ หรือไม่มสี ่วนทีท่ าํ ให้เกิดประกายไฟและความร้อน มอเตอรแ์ ละอุปกรณค์ วบคุมตา่ งๆ จะต้องตดิ ต้ังภายนอกของบริเวณท่มี สี ารไวไฟ ไอ หรอื วัสดุตดิ ไฟ จะตอ้ งจดั ทําลกู ศรแสดงทิศการหมนุ ของพดั ลม 2.3.3) ตาํ แหนง่ การตดิ ตงั้ ครอบดูดลม ตดู้ ูดควนั สาํ หรับหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร ภ4-12
ครอบดูดลม ตู้ดูดควันสําหรับห้องปฏิบัติการต้องอยู่ในตําแหน่งที่มีลักษณะการไหลเวียนอากาศมี ความป่ันปว่ นนอ้ ยท่ีสุด ครอบดูดลม ตดู้ ูดควันสําหรับปฏิบัติการต้องไมอ่ ยู่ในตําแหน่งท่ีใกล้กับทางเขา้ –ออก หรือสถานท่ี ท่ี มีความพลุกพลา่ น สถานท่ที าํ งานสว่ นบคุ คลที่ใชเ้ วลาส่วนใหญ่ทาํ งานในแตล่ ะวนั เช่น โต๊ะทาํ งาน ตอ้ งไมอ่ ยใู่ กล้ บริเวณท่เี ป็นครอบดูดลม ตู้ดดู ควนั สาํ หรบั ห้องปฏบิ ัติการ 2.3.4) ระบบป้องกันอคั คีภยั สําหรับครอบดูดลม ตดู้ ูดควันสําหรับห้องปฏิบัติการ ระบบดับเพลิงอัตโนมัติไม่จําเป็นสําหรับครอบดูดลม ตู้ดูดควันสําหรับห้องปฏิบัติการ หรือระบบ ระบายอากาศเสีย 2.3.5) การตรวจสอบ, การทดสอบและการบํารุงรักษา จะตอ้ งมกี ารตรวจสอบสภาพครอบดดู ลม ตดู้ ดู ควันสาํ หรบั ห้องปฏบิ ตั ิการ อย่างน้อยปลี ะ 1 คร้งั ดูรายละเอียดเพ่ิมเติมได้จากมาตรฐานระบบปรับอากาศและระบายอากาศ วสท. 3003–50 ในบทที่ 8 เร่ืองการ ระบายอากาศสาํ หรบั บรเิ วณทีม่ สี ารเคมแี ละสารอนั ตราย หนา้ 64 ถงึ 67 3) ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2535) ฉบับท่ี 39 (พ.ศ. 2537) และ ฉบับที่ 50 (พ.ศ. 2540) ได้กําหนด รายละเอยี ดไว้ดังน้ี 3.1) กฎกระทรวงฉบับท่ี 33 (พ.ศ. 2535) และ 50 (พ.ศ. 2540) หมวด 2 ระบบระบายอากาศ ระบบไฟฟ้า และระบบปอ้ งกนั เพลิงไหม้ ข้อ 9 (1) ได้กําหนดการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติ ให้ใช้เฉพาะกับห้องในอาคารที่มีผนังด้านนอกอาคาร อย่างน้อยหน่ึงด้าน โดยจัดให้มีช่องเปิดสู่ภายนอกอาคารได้ เช่น ประตู หน้าต่าง หรือบานเกล็ด ซ่ึงต้องเปิดไว้ระหว่างใช้สอย หอ้ งน้ันๆ และพ้ืนที่ของช่องเปิดนี้ต้องเปิดได้ไม่น้อยกว่า 10% ของพื้นทีข่ องห้องน้นั และ (2) การระบายอากาศโดยวิธีกล ให้ใช้ กับห้องในอาคารลักษณะใดก็ได้โดยจัดให้มีกลอุปกรณ์ขับเคลื่อนอากาศ ซึ่งต้องทํางานตลอดเวลาระหว่างท่ีใช้สอยห้องน้ัน เพอ่ื ให้เกดิ การนําอากาศภายนอกเขา้ มาตามอตั ราในตารางที่ 4.3 ดังต่อไปนี้ ตารางท่ี 4.3 การระบายอากาศ ลําดับ สถานท่ี อตั ราการระบายอากาศไม่น้อยกวา่ จาํ นวน 1 สํานักงาน เท่าของปริมาตรของห้องใน 1 ชวั่ โมง 7 ดูรายละเอียดเพิ่มเตมิ จากกฎกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) ข้อ 21 ในกฎหมายอาคาร อาษา, 2548 หน้า 3–120 (สว่ นสถานที่อน่ื ๆ ที่มไิ ด้ระบไุ ว้ในตาราง ให้ใช้อัตราการระบายอากาศของสถานทที่ ่มี ลี กั ษณะใกล้เคียงกับอัตราที่ กาํ หนดไว้ในตาราง) ตําแหน่งของช่องนําอากาศภายนอกเข้าโดยวิธีกล ต้องห่างจากท่ีเกิดอากาศเสียและช่องระบายอากาศท้ิง ไมน่ ้อยกวา่ 5.00 เมตร สงู จากพน้ื ดินไมน่ อ้ ยกวา่ 1.50 เมตร การนําอากาศภายนอกเข้าและการระบายอากาศท้ิงโดยวิธีกล ต้องไม่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนรําคาญแก่ ประชาชนผู้อยู่อาศยั ใกลเ้ คียง ขอ้ 10 การระบายอากาศในอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษที่มีการปรับภาวะอากาศด้วยระบบการปรับ ภาวะอากาศ ต้องมีการนําอากาศภายนอกเข้ามาในพ้ืนที่ปรับภาวะอากาศหรือดูดอากาศจากภายในพื้นท่ีปรับภาวะอากาศ ออกไปไมน่ ้อยกวา่ อัตราในตารางท่ี 4.4 ดังตอ่ ไปน้ี ภ4-13
ตารางท่ี 4.4 การระบายอากาศในกรณที ่มี ีระบบปรับภาวะอากาศ ลําดับ สถานที่ ลกู บาศก์เมตร/ช่วั โมง/ตารางเมตร 3 สาํ นักงาน 2 7 ห้องปฏิบัติการ 2 11 หอ้ งเรียน 4 ดูรายละเอียดเพิ่มเติมจากกฎกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) ข้อ 21 ในกฎหมายอาคาร อาษา, 2548 หน้า 3–121 (สถานทอี่ นื่ ๆ ท่มี ไิ ดร้ ะบุไวใ้ นตารางให้ใช้อัตราการระบายอากาศของสถานทม่ี ีลักษณะใกลเ้ คียงกัน) 3.2) กฎกระทรวงฉบับที่ 39 (พ.ศ. 2537) ได้กําหนดรายละเอียดเก่ียวกับอัตราการระบายอากาศด้วยวิธีกล และการระบายอากาศในกรณีท่ีมีระบบปรับอากาศ สําหรับอาคารอ่ืนที่มิใช่อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษตามท่ีปรากฏ ในหมวดที่ 3 ระบบการจัดแสงสวา่ งและการระบายอากาศไว้ดงั น้ี ข้อ 12 ระบบการระบายอากาศในอาคารจะจดั ใหม้ กี ารระบายอากาศโดยวธิ ีธรรมชาติหรอื โดยวธิ ีกลก็ได้ ข้อ 13 ในกรณีท่ีจัดให้มีการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติ ห้องในอาคารทุกชนิดทุกประเภทต้องมีประตู หน้าต่างหรือช่องระบายอากาศด้านติดกับอากาศภายนอกเป็นพื้นที่รวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละสิบของพ้ืนท่ีของห้องนั้น ทั้งนี้ ไมน่ ับรวมพน้ื ทป่ี ระตู หน้าตา่ ง และช่องระบายอากาศทีต่ ิดต่อกบั ห้องอืน่ หรือช่องทางเดินภายในอาคาร ข้อ 14 ในกรณีที่ไม่อาจจัดให้มีการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติตามข้อ 13 ได้ ให้จัดให้มีการระบายอากาศ โดยวธิ กี ลซงึ่ ใช้กลอุปกรณข์ ับเคลื่อนอากาศ กลอุปกรณ์นต้ี อ้ งทํางานตลอดเวลาระหว่างทใี่ ช้สอยพ้ืนท่นี ้นั และการระบายอากาศ ต้องมีการนําอากาศภายนอกเข้ามาในพื้นที่ไม่น้อยกว่าอัตราท่ีกําหนดไว้ในตารางอัตราการระบายอากาศโดยวิธีกลท้าย กฎกระทรวงนี้ ส่วนสถานที่อื่นท่ีมิได้ระบุไว้ในตารางตามวรรคหน่ึง ให้ใช้อัตราการระบายอากาศของสถานที่ท่ีมีลักษณะ ใกลเ้ คียงกับอัตราท่ีกาํ หนดไวใ้ นตารางดังกล่าว ข้อ 15 ในกรณีที่จัดให้มีการระบายอากาศด้วยระบบการปรับภาวะอากาศต้องมีการนําอากาศภายนอกเข้ามา ในพ้ืนทป่ี รับภาวะอากาศหรอื ดูดอากาศจากภายในพื้นท่ปี รบั ภาวะอากาศออกไปไม่น้อยกวา่ อัตราทีก่ าํ หนดไวใ้ นตารางอัตราการ ระบายอากาศในกรณีท่ีมีระบบการปรับอากาศ ท้ายกฎกระทรวงน้ี ส่วนสถานที่อ่ืนที่มิได้ระบุไว้ในตารางตามวรรคหน่ึง ให้ใช้ อัตราการระบายอากาศของสถานที่ท่ีมลี ักษณะใกล้เคยี งกบั อัตราทีก่ าํ หนดไว้ในตารางดงั กลา่ ว ข้อ 16 ตําแหน่งของช่องนําอากาศภายนอกเข้าโดยวิธกี ล ต้องห่างจากที่เกิดอากาศเสียและช่องระบายอากาศท้ิง ไม่น้อยกว่า 5 เมตร และสูงจากพื้นดินไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร การนําอากาศภายนอกเข้าและการระบายอากาศท้ิงโดยวิธีกล ตอ้ งไม่ก่อใหเ้ กดิ ความเดือดรอ้ นรําคาญแกป่ ระชาชนผู้อย่อู าศยั ใกลเ้ คียง ตารางที่ 4.5 ตารางแนบทา้ ยกฎกระทรวง : อตั ราการระบายอากาศโดยวธิ ีกล ลําดับ สถานที่ (ประเภทการใช)้ อตั ราการระบายอากาศ ไม่น้อยกวา่ จํานวน เท่าของปรมิ าตรของห้องใน 1 ช่ัวโมง 1 สํานักงาน 7 ดูรายละเอียดเพมิ่ เตมิ จากกฎกระทรวงฉบับที่ 39 (พ.ศ.2537) ในกฎหมายอาคาร อาษา, 2548 หน้า 3–155 ตารางที่ 4.6 ตารางแนบทา้ ยกฎกระทรวง : อตั ราการระบายอากาศในกรณีที่มีระบบการปรับอากาศ ลาํ ดบั สถานที่ (ประเภทการใช)้ ลูกบาศก์เมตร/ชวั่ โมง/ตารางเมตร 1 สํานักงาน 2 2 หอ้ งปฏบิ ัตกิ าร 2 3 หอ้ งเรียน 4 ดูรายละเอยี ดเพ่มิ เตมิ จากกฎกระทรวงฉบับท่ี 39 (พ.ศ.2537) ในกฎหมายอาคาร อาษา, 2548 หนา้ 3–156 โดยสรุปและเมื่อพิจารณาจากกฎกระทรวงท้ัง 3 ฉบับ พบว่า อัตราการระบายอากาศโดยวิธีกลของอาคาร ห้องปฏิบัติการ (ซึ่งไม่ได้ระบุไว้ในตารางแต่มีลักษณะสถานท่ีใกล้เคียงกับอาคารประเภทสํานักงาน) ควรจะมีอัตราการระบาย อากาศไม่น้อยกว่าจํานวนเท่าของปริมาตรของห้องใน 1 ช่ัวโมงอยู่ท่ี 7 เท่า ส่วนอัตราการระบายอากาศในกรณีที่มีระบบการ ปรบั ภาวะอากาศของห้องปฏิบตั ิการอยู่ที่ 2 ลูกบาศกเ์ มตร/ชั่วโมง/ตารางเมตร ภ4-14
นอกจากน้ียังสามารถศกึ ษาเรือ่ งตรวจสอบคุณภาพอากาศอย่างละเอยี ดและการควบคมุ ปัญหาคุณภาพอากาศใน อาคารเก่ียวกับการปนเปื้อนทางเคมีได้ อ่านเพิ่มเติมได้ในมาตรฐานการตรวจสอบคุณภาพอากาศภายในอาคารสมาคม วิศวกรรมปรับอากาศแห่งประเทศไทย (ส.ว.ป.ท.) 04–2549 หน้า 14–23 และดูรายละเอียดประกอบกับข้อ 4.6.2 การติดตั้ง ระบบปรบั อากาศของห้องปฏิบตั กิ าร 4.5.2 มาตรฐานระบบปรบั อากาศ มรี ายละเอียดดังนี้ 1) มาตรฐานระบบปรับอากาศและระบายอากาศ วสท. 3003–50 ไดก้ าํ หนดรายละเอยี ดตา่ งๆ ไว้ดังน้ี 1.1) ข้อกําหนดทั่วไป 1.1.1) ระบบปรบั อากาศและระบายอากาศตอ้ งได้รบั การออกแบบและติดต้ังตามหลักปฏิบัติทาง วิศวกรรมที่ดี (good engineering practice) 1.1.2) งานไฟฟ้าสําหรับระบบปรับอากาศและระบายอากาศต้องปฏิบัติตามมาตรฐานการติดตั้งทาง ไฟฟา้ สําหรับประเทศไทย (มาตรฐาน วสท. 2001) 1.2) การเขา้ ถึง (Access) 1.2.1) ท่ัวไป อุปกรณ์และเคร่ืองใช้ทางกลทุกชนิดจะต้องเข้าถึงได้ เพื่อตรวจสอบบริการ ซ่อมแซม และ เปลย่ี น โดยไมต่ ้องรอ้ื ถอนโครงสรา้ งถาวร หากไม่ไดร้ ะบเุ ปน็ อยา่ งอ่นื ต้องมกี ารจัดเตรียมพื้นท่ีและชอ่ งวา่ งสาํ หรับทํางานไม่นอ้ ย กว่า 0.75 เมตร ในการบริการอุปกรณ์ หรือเครื่องใช้อุปกรณ์ควบคุม มาตรวัดแผงกรองอากาศ พัดลม มอเตอร์ และหัวเผา จะตอ้ งเข้าถงึ ได้ และต้องแสดงข้อแนะนาํ ในการใชง้ านใหเ้ ห็นไดอ้ ยา่ งชัดเจนอยใู่ กล้เคยี งกบั เคร่ืองใชน้ ั้น 1.2.2) เครือ่ งทาํ ความเย็น จะต้องจดั เตรยี มชอ่ งทางท่ีเขา้ ถึงได้ มีความกว้างไมน่ ้อยกว่า 0.60 เมตร และ สงู ไมน่ ้อยกวา่ 2.00 เมตร สาํ หรับเคร่ืองทําความเย็นแตล่ ะเครอ่ื งที่ติดต้ังไวภ้ ายในอาคารยกเว้นทอ่ นํา้ ทอ่ ลม และอุปกรณ์ใน ลักษณะท่ีไม่จําเป็นตอ้ งได้รับการบรกิ ารหรือการปรบั แก้ ข้อยกเว้น: ช่องเปิดบริการไปยังเครื่องทําความเย็นที่อยู่เหนือฝ้าเพดานจะต้องมีขนาดความกว้างอย่างน้อย 0.60 เมตร และยาวอย่างน้อย 0.60 เมตร และต้องมขี นาดใหญ่เพยี งพอในการเปล่ยี นเครอื่ งทําความเยน็ ได้ 1.2.3) การตดิ ตง้ั เหนือฝา้ เพดาน หากชอ่ งเปิดบรกิ ารอยู่ห่างจากพืน้ ทที่ าํ งานมากกวา่ 1.00 เมตร จะต้อง จดั เตรียมพ้ืนทม่ี ีความม่นั คงแขง็ แรงและต่อเน่อื งซ่งึ มีความกวา้ งไมน่ อ้ ยกวา่ 0.60 เมตร จากช่องเปดิ บรกิ ารไปยงั พืน้ ทีท่ าํ งานทจี่ าํ เป็น 1.2.4) แผงกรองอากาศ วาลว์ ควบคุม และเครอื่ งสง่ ลมเยน็ จะต้องจดั เตรียมชอ่ งทางทีไ่ มม่ สี ่งิ กดี ขวางท่ีมคี วาม กวา้ งไม่นอ้ ยกว่า 0.60 เมตรและความสูงไมน่ ้อยกว่า 0.75 เมตร เพื่อเข้าบาํ รุงรักษา แผงกรองอากาศ วาล์วควบคมุ และเครอ่ื งส่งลมเย็น ข้อยกเว้น: ชอ่ งเปิดที่เปิดถึงอุปกรณ์โดยตรง อาจลดขนาดลงเหนือ 0.30 เมตร โดยท่ียังคงสามารถบาํ รุงรักษา อปุ กรณ์น้ันได้ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมจาก มาตรฐานระบบปรบั อากาศและระบายอากาศ วสท. 3003–50 หน้า 3 ถึง 5 1.3) การปรับอากาศ สภาวะการออกแบบ (design condition) สาํ หรบั การปรับอากาศเพ่อื ความสบาย ตอ้ งเลือกสภาวะการ ออกแบบภายในอาคารให้เกดิ การอนุรกั ษพ์ ลงั งานมากทส่ี ุดเท่าท่ีเปน็ ไปได้ ในกรณีไมม่ ีความตอ้ งการเป็นกรณพี เิ ศษอนื่ ๆ การ คํานวณภาระการทําความเย็นแนะนําให้ใชอ้ ุณหภูมิและความชืน้ สมั พทั ธต์ ามทแ่ี สดงในตารางที่ 4.7 ตารางท่ี 4.7 คา่ แนะนําสภาวะการออกแบบภายในอาคาร อณุ หภูมกิ ระเปาะแห้ง ความชนื้ สมั พัทธ์ ลักษณะการใชง้ าน (องศาเซลเซียส) (เปอรเ์ ซ็นต์) สํานักงาน โรงเรียน 24 55 (ทม่ี า มาตรฐานระบบปรับอากาศและระบายอากาศ วสท. 3003–50 หน้า 7) ดรู ายละเอยี ดเพ่ิมเตมิ จาก มาตรฐานระบบปรบั อากาศและระบายอากาศ วสท. 3003–50 หน้า 7 1.4) การตดิ ตง้ั ระบบปรับอากาศและระบายอากาศเพอ่ื ความปลอดภยั ดา้ นอัคคีภัย ความต้องการทวั่ ไปสาํ หรบั อปุ กรณ์ 1.4.1) ต้องจดั วางตาํ แหนง่ อปุ กรณใ์ หส้ ามารถเข้าถงึ ไดเ้ พ่ือการตรวจสอบบาํ รุงรักษา และซ่อมแซม 1.4.2) ต้องเลือกใช้และติดตงั้ อปุ กรณต์ ามท่ผี ู้ผลติ แนะนํา 1.4.3) การติดตงั้ อุปกรณต์ ้องมีการป้องกันเพอ่ื ไม่ให้เกดิ อันตรายกบั บคุ คลที่เขา้ ใกลอ้ ุปกรณ์ ภ4-15
1.4.4) ต้องมีการป้องกันช่องสําหรับดูดลมของอุปกรณ์เช่น การมีตะแกรงโลหะเพื่อป้องกันอุบัติเหตุจาก บคุ คลหรือป้องกนั วัสดทุ ่ีไมต่ อ้ งการเขา้ ไปในระบบได้ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมจาก เร่ืองการติดต้ังระบบปรับอากาศและระบายอากาศเพื่อความปลอดภัยด้านอัคคีภัยใน มาตรฐานระบบปรบั อากาศและระบายอากาศ วสท. 3003–50 หนา้ 15–26 2) ตามมาตรฐานการตรวจสอบคุณภาพอากาศภายในอาคาร ส.ว.ป.ท. 04–2549 ได้กําหนดรายละเอียดต่างๆ ไว้ เกีย่ วกับแนวทางการตรวจสอบและประเมนิ ระบบปรับอากาศและระบายอากาศไว้ดงั น้ี 2.1) การตรวจสอบอยา่ งละเอยี ด อณุ หภมู คิ วามช้ืนสมั พทั ธ์ และคาร์บอนไดออกไซด์ การตรวจวัดค่าตัวแปรต่างๆ เช่น อุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธแ์ ละระดบั แก๊สคารบ์ อนไดออกไซดจ์ ะกระทํา ในข้ันตอนน้ีของการตรวจสอบ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากมีการร้องทุกข์เก่ียวกับสภาวะสุขสบายหรือมีการบ่งชี้ใดๆ ในเร่ืองของ อากาศภายนอกที่นําเข้ามาอย่างไม่เพียงพอ สําหรับข้อมูลเพิ่มเติมเก่ียวกับอุณหภูมิ ความช้ืน และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ สามารถดูไดใ้ นภาคผนวก จ ในอาคาร ส.ว.ป.ท.04–2549 2.1.1) เพื่อลดปัญหาการร้องทกุ ข์ของพนักงานเก่ียวกับความไมส่ ุขสบายให้เหลอื น้อยสดุ อุณหภูมภิ ายใน หอ้ งควรจะต้งั ไว้ ระหวา่ ง 23–26 องศาเซลเซียส คนส่วนใหญ่จะรู้สึกสุขสบายมากทส่ี ุดที่อณุ หภมู ิ 23+1 องศาเซลเซียส ทั้งนีค้ ่า ตัวเลขอุณหภูมิดงั กลา่ วต้ังอยู่บนพื้นฐานของการสมมติคา่ ความชื้นสมั พทั ธ์ที่ 50% 2.1.2) ถ้าความชื้นสัมพัทธ์ในบริเวณท่ีมีคนอยู่มีค่ามากกว่า 60% อาจจะเกิดการเจริญเติบโตของเชื้อราข้ึนได้ ความชื้นสัมพัทธ์ในอาคารที่มีระบบปรับอากาศไม่ควรจะมากกว่า 60% และความช้ืนท่ีต่ํากว่า 20–30% จะทําให้รู้สึกแห้งไม่ สบายกาย เช่น เกิดอาการเคืองตา เป็นต้น 2.1.3) โดยท่ัวไป ความเข้มข้นของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ภายนอกจะอยู่ที่ประมาณ 300–400 ส่วนต่อ ล้านส่วน (ppm) ผู้ตรวจสอบจะต้องพิจารณาการเปรียบเทียบระหว่างความเข้มข้นของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ภายในกับ ภายนอก ทั้งน้ี พึงตระหนักไว้ว่าการวัดความเข้มข้นของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์แต่เพียงอย่างเดียวไม่เพียงพอต่อการสรุปถึง ปัญหาที่เกิดขึ้นว่ามาจากการระบายอากาศของอาคาร อย่างไรก็ตาม ข้อมูลดังกล่าวมักจะมีส่วนสําคัญในการพิจารณาร่วมกับ ส่ิงที่ได้ค้นพบอ่ืนๆ จากการตรวจสอบ ความเข้มข้นของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ภายในที่มากกว่า 800 –1,000 ส่วนต่อล้านส่วน มักจะถูกใช้เป็นตัวบ่งช้ีถึงความไม่เพียงพอของการระบายอากาศภายนอก มาตรฐาน ASHRAE 62.1–2004: Ventilation for acceptable indoor air quality ระบุความแตกต่างของความเข้มข้นของแก๊สคาร์บอนออกไซด์ระหว่างภายในกับภายนอกอาคาร ไม่มากกว่า 700 ส่วนต่อล้านส่วน ซึ่งตัวเลขดังกล่าวดูเหมือนว่าจะสามารถผ่านข้อกําหนดความสุขสบายในเรื่องกลิ่นที่สัมพันธ์ กบั ผลทางชีวภาพของมนษุ ย์ 2.2) การประเมินระบบปรับอากาศและระบายอากาศ ระบบปรับอากาศและระบายอากาศจะต้องถูกประเมินเพ่ือหาปรมิ าณอากาศภายนอกท่ีแท้จริงท่ีนําเข้าสู่ อาคารโดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริเวณท่ีมีปัญหา ตัวระบบจะต้องนําปริมาณอากาศภายนอกอย่างน้อยท่ีสุดตามจํานวนคนท่ีอยู่ ภายในอาคารท่ีแท้จริง ซึ่งเป็นไปตามมาตรฐานของอาคาร มาตรฐานงานเคร่ืองกลหรือมาตรฐานการระบายอากาศท่ีใช้อยู่ใน เวลาที่อาคารถูกสร้างข้ึนหรือถูกปรับปรุงหรือถูกเปลี่ยนแปลงรูปแบบแล้วแต่ว่าแบบไหนจะมาล่าสุด ปริมาณอากาศภายนอกที่ จ่ายเข้าไปในบริเวณที่ทํางานโดยท่ัวๆ ไป จะอยู่ที่อย่างน้อยประมาณ 8.5 ลิตรต่อวินาทีต่อคน โดยจ่ายเข้าไปอย่างต่อเนื่อง ภายในบริเวณทีม่ ีคนอย่ตู ลอดเวลา 2.3) การปนเปอื้ นทางเคมี สารปนเปอ้ื นทกุ ชนิดควรจะได้รับการกําจัดตงั้ แตต่ ้นทางหรือแหล่งกาํ เนิดหากเปน็ ไปได้ เชน่ ทเ่ี ครื่องถ่าย เอกสารห้องถ่ายเอกสารควรจะมีการระบายอากาศออกสภู่ ายนอกและให้สภาพในห้องมีสภาพของความดันอากาศที่เป็นลบเม่ือ เทียบกับพ้ืนที่บริเวณรอบๆ วัสดุท่ีมีการปลดปล่อยสารปนเปื้อนน้อยควรจะถูกนํามาใช้ต่อเม่ือจําเป็น หรือหากสามารถนําไป บําบัดหรือขจัดสารปนเป้ือนออกเสียก่อนการนําไปใช้ก็ควรท่ีจะทํา การกําหนดพ้ืนท่ีใช้สอยต่างๆ ในตัวอาคารให้เป็นพื้นที่ห้าม สูบบุหร่ีก็เป็นส่ิงหน่ึงท่ีสามารถกระทําได้ตามนโยบายของฝ่ายบริหาร การจัดพ้ืนที่สูบบุหร่ีภายนอกและการติดป้ายประกาศ ควรจะให้แนใ่ จว่าจะไม่มีควันบุหรไี่ หลกลับเข้ามาในอาคารหรอื อาคารใกลเ้ คียง การรักษาความสะอาดและการดูแลรักษา สารเคมี ยาฆ่าแมลงและสารเคมีอันตรายอื่นๆ ควรจะทําตาม คําแนะนําของผู้ผลิต การล้างทําความสะอาดคอยล์เย็นด้วยสารทําความสะอาดชนิดระเหยได้ควรจะกระทําต่อเมื่อมีการปิด ระบบระบายอากาศแล้ว และเปิดระบบระบายอากาศเมื่อพ้ืนที่น้ันไม่มีคนอยู่ การรมควันตลอดทั้งอาคารควรจะกระทําเม่ือตัว อาคารนัน้ ไม่มีคนอยู่ และควรเปิดระบบระบายอากาศล่วงหน้า 2 ชวั่ โมง ก่อนที่จะเปดิ ให้คนเข้ามาในอาคาร หากจําเป็นอาจจะ ต้องเปิดล่วงหน้ามากกว่า 2 ชั่วโมง ถ้าหากได้รับคําแนะนําจากบริษัทท่ีเข้ามาทําการรมควันอาคาร ผู้ท่ีอยู่ภายในอาคารควรจะ ภ4-16
ได้รับการแจ้งล่วงหน้าอย่างน้อย 24 ช่ัวโมง ก่อนจะทําการรมควันในอาคารซ่ึงอาจจะส่งผลให้มีอากาศปนเปื้อนหลุดเข้าไปใน พนื้ ทที่ าํ งานของคนเหลา่ น้นั อุปกรณ์ที่ใช้ในการกรองอากาศก่อนเข้าอาคารควรจะมีประสิทธิภาพที่ดีในการดักกรองเอาฝุ่นผงและ อนุภาคตา่ งๆ ไว้ ทง้ั นจี้ ะสังเกตความเสอื่ มประสทิ ธภิ าพของตวั กรองไดจ้ ากการที่ตัวกรองเกดิ การฉกี ขาด การตดิ ตงั้ ตวั กรองไมถ่ ูกวธิ ี หรือพบเห็นฝุ่นจํานวนมากหลุดออกมาจากตัวกรองหรือภายในท่อลมหรือกล่องลม ตัวกรองที่ใช้ในระบบระบายอากาศในอาคาร ควรจะได้รบั การตรวจสอบและเปลี่ยนเป็นประจํา อย่างน้อยทุกๆ 6 เดือน ในระหว่างที่มีการเปล่ียนตัวกรองอากาศ ควรจะทํา การปดิ ระบบระบายอากาศกอ่ น 3) ตามคู่มอื เทคนคิ การตรวจสอบอาคารเพ่ือความปลอดภยั ภาคท่ี 6 เทคนคิ การตรวจสอบระบบสขุ อนามยั และ สิง่ แวดล้อม และประกาศคณะกรรมการสงิ่ แวดล้อมแห่งชาตฯิ มีข้อกาํ หนดเก่ียวกับมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศใน ประเทศไทย ดังท่ีแสดงในตารางท่ี 4.8 และในปี 2550 ไดม้ ีการกาํ หนดมาตรฐานคา่ สารอินทรียร์ ะเหยง่าย (volatile organic compounds) ในบรรยากาศโดยท่ัวไปในเวลา 1 ปี ดังแสดงในตารางท่ี 4.9 ดังนี้ ตารางท่ี 4.8 มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยท่วั ไป คา่ เฉลี่ย สารมลพิษ ความเข้มข้น ค่ามาตรฐาน วิธกี ารตรวจวัด ในเวลา 1. แกส๊ คารบ์ อนมอนนอกไซด์ (CO) 1 ชวั่ โมง ไมเ่ กิน 30 ppm 34.2 มลิ ลกิ รัมตอ่ ลกู บาศก์เมตร Non–dispersive 2. แกส๊ ไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) 8 ชัว่ โมง ไม่เกนิ 9 ppm 10.26 มิลลิกรมั ตอ่ ลูกบาศกเ์ มตร Infrared detection 1 ชั่วโมง ไมเ่ กิน 0.17 ppm 0.32 มลิ ลกิ รัมต่อลกู บาศกเ์ มตร ไม่เกนิ 0.03 ppm 0.057 มลิ ลกิ รมั ตอ่ ลูกบาศกเ์ มตร Chemiluminescence 1 ปี 3. แกส๊ โอโซน (O3) 1 ชวั่ โมง ไม่เกนิ 0.10 ppm 0.20 มลิ ลกิ รมั ต่อลูกบาศก์เมตร Chemiluminescence 8 ช่ัวโมง ไม่เกนิ 0.07 ppm 0.14 มลิ ลิกรมั ตอ่ ลูกบาศกเ์ มตร 4. แกส๊ ซลั เฟอรไ์ ดออกไซด์ (SO2) 1 ปี ไม่เกิน 0.04 ppm 0.10 มลิ ลกิ รัมตอ่ ลกู บาศกเ์ มตร - UV–Fluorescence 24 ชั่วโมง ไม่เกนิ 0.12 ppm 0.30 มลิ ลกิ รมั ต่อลูกบาศก์เมตร - Pararosaniline 1 ช่ัวโมง ไมเ่ กิน 0.3 ppm 0.78 มลิ ลกิ รมั ต่อลูกบาศกเ์ มตร 5. ตะกว่ั (Pb) 1 เดอื น ไมเ่ กนิ 1.15 ไมโครกรัมตอ่ ลกู บาศกเ์ มตร Atomic absorption Spectrometer 6. ฝุ่นละอองขนาดไมเ่ กนิ 2.5 24 ช่วั โมง ไมเ่ กิน 0.05 มลิ ลกิ รมั ต่อลูกบาศกเ์ มตร - Gravimetric ไมครอน 1 ปี ไมเ่ กนิ 0.025 มิลลิกรัมต่อลกู บาศกเ์ มตร (high volume) ไมเ่ กนิ 0.12 มลิ ลกิ รัมตอ่ ลูกบาศกเ์ มตร - Beta ray 7. ฝนุ่ ละอองขนาดไม่เกิน 10 24 ช่วั โมง ไมเ่ กิน 0.05 มลิ ลกิ รมั ตอ่ ลูกบาศก์เมตร - Dichotomous ไมครอน (PM10) 1 ปี - Tapered Element Oscillating Microbalance (TEOM) 8. ฝ่นุ ละอองขนาดไมเ่ กิน 100 24 ชั่วโมง ไมเ่ กนิ 0.33 มลิ ลกิ รัมตอ่ ลกู บาศก์เมตร Gravimetric ไมครอน 1 ปี ไมเ่ กนิ 0.10 มลิ ลกิ รมั ต่อลูกบาศก์เมตร (high volume) ทีม่ า 1. คมู่ อื เทคนคิ การตรวจสอบอาคารเพ่ือความปลอดภัย, 2551: หนา้ 146 2. ประกาศคณะกรรมการสง่ิ แวดลอ้ มแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 33 (พ.ศ. 2552) เรอ่ื ง กาํ หนดมาตรฐานค่ากา๊ ซไนโตรเจนไดออกไซด์ ในบรรยากาศทว่ั ไป 3. ประกาศคณะกรรมการส่งิ แวดลอ้ มแห่งชาติ ฉบับที่ 36 (พ.ศ. 2553) เร่อื ง กําหนดมาตรฐานฝุ่นละอองขนาดไมเ่ กนิ 2.5 ไมครอนในบรรยากาศ ทัว่ ไป ภ4-17
ตารางที่ 4.9 กาํ หนดมาตรฐานค่าสารอนิ ทรียร์ ะเหยง่าย (Volatile organic compounds) ในบรรยากาศ พ.ศ. 2550 คา่ เฉลย่ี ในเวลา สาร 1 ปี วธิ ีการตรวจวัด ไมโครกรมั ตอ่ ลูกบาศกเ์ มตร 1. เบนซนี (benzene) 1.7 1. ให้นําผลการตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างอากาศ 2. ไวนลิ คลอไรด์ (vinyl chloride) 10 แบบต่อเนื่องตลอด 24 ช่ัวโมงของทุกๆ เดือน อย่าง 0.4 น้อยเดือนละหนึ่งคร้ังมาหาค่ามัชฌิมเลขคณิต 3. 1,2–ไดคลอโรอีเทน (1,2 dichloroethane) 23 (arithmetic mean) 4. ไตรคลอโรเอทธิลนี (trichloroethylene) 22 2. กรณีตัวอย่างอากาศที่เก็บมาตรวจวิเคราะห์ตาม 5. ไดคลอโรมเี ทน (dichloromethane) 4 ข้อ 1 ไม่สามารถตรวจวิเคราะห์ได้ให้เก็บตัวอย่างมา 200 วิเคราะห์ใหม่ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่เก็บตัวอย่าง 6. 1,2–ไดคลอโรโพรเพน (1,2–dichloropropane) 0.43 ท่ไี ม่สามารถตรวจวิเคราะห์ได้ 7. เตตระคลอโรเอทธลิ นี (tetrachloroethylene) 8. คลอโรฟอร์ม (chloroform) 9. 1,3–บิวทาไดอนี (1,3–butadiene) 0.33 (ทม่ี า คมู่ อื เทคนคิ การตรวจสอบอาคารเพอื่ ความปลอดภัย, 2551: หน้า 148) ดูรายละเอียดเพ่ิมเตมิ จาก มาตรฐานการตรวจสอบคณุ ภาพอากาศภายในอาคาร ส.ว.ป.ท. 04–2549 4.6 งานระบบฉุกเฉินและระบบติดต่อสื่อสาร 4.6.1 ข้อกําหนดดา้ นการออกแบบและมาตรฐานระบบแจง้ เหตเุ พลงิ ไหม้ มีรายละเอียดดังนี้ 1) ตามมาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลงิ ไหม้ วสท. 2002–49 และกฎกระทรวงฉบับที่ 47 พบว่ามกี ารระบุรายละเอียด เกยี่ วกับขอ้ กาํ หนดด้านการออกแบบและมาตรฐานระบบแจง้ เหตเุ พลิงไหม้ไว้ดงั นี้ การออกแบบระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ตามมาตรฐานนี้ ใช้สําหรับประเภทอาคารดังต่อไปนี้ อาคารขนาดเล็ก อาคารสูง อาคารขนาดใหญ่ อาคารขนาดใหญ่พิเศษ และอาคารสาธารณะ หมายเหตุ: อาคารท่ีไม่รวมอยู่ในมาตรฐานน้ีได้แก่ อาคารท่ีเก็บสารไวไฟหรือสารเคมี รวมทั้งอาคารที่เก็บวัตถุ ระเบิด อาคารดงั กล่าวต้องใช้มาตรฐานสากลทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับเรอื่ งนโ้ี ดยเฉพาะ ดูรายละเอียดนิยามของอาคารประเภทต่างๆ เพ่ิมเติมจากกฎกระทรวงฉบับท่ี 33 (พ.ศ. 2535), ฉบับที่ 39 (พ.ศ. 2537) ฉบับท่ี 47 (พ.ศ. 2540) และฉบับท่ี 55 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติ อาคาร พ.ศ. 2522 และ ตามนยิ ามของมาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลงิ ไหม้ของ วสท. 2002–49, 2543: หนา้ 1 – 8 2) ตามมาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ของ วสท. 2002–49 ได้มีการกําหนดให้อาคารแต่ละประเภทมีระบบแจ้ง เหตุเพลงิ ไหม้ขน้ั พ้นื ฐาน ดังตอ่ ไปน้ี 2.1) อาคารขนาดเล็ก: ระบบแจง้ เหตเุ พลงิ ไหม้ ตอ้ งประกอบด้วยอปุ กรณ์สําคญั เป็นอย่างตํ่า ดงั ตอ่ ไปนี้ แผงควบคมุ ระบบแจง้ เหตุเพลงิ ไหม้ อปุ กรณ์ตรวจจับเพลิงไหม้อัตโนมัติ อปุ กรณแ์ จ้งเหตดุ ว้ ยมอื อุปกรณ์แจง้ เหตุเตอื นภยั ข้อยกเว้น ไม่ต้องมีอุปกรณ์ตรวจจับเพลิงไหม้อัตโนมัติสําหรับอาคารขนาดเล็กท่ีเป็นอาคารชั้นเดียว และ โปร่งโลง่ ทส่ี ามารถมองเหน็ ได้ทัว่ ทุกพืน้ ที่ในอาคาร 2.2) อาคารสูง อาคารขนาดใหญ่ อาคารขนาดใหญ่พิเศษ: ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ต้องประกอบด้วยอุปกรณ์ สาํ คัญเปน็ อย่างตาํ่ ดงั ตอ่ ไปน้ี แผงควบคมุ ระบบแจง้ เหตุเพลงิ ไหม้ อุปกรณต์ รวจจบั เพลิงไหมอ้ ัตโนมัติ อุปกรณแ์ จง้ เหตุด้วยมือ อุปกรณ์แจง้ เหตเุ ตอื นภัย อปุ กรณ์โทรศัพทฉ์ กุ เฉิน อุปกรณป์ ระกาศเรียกฉุกเฉนิ ภ4-18
แผงแสดงผลเพลิงไหม้ทศ่ี นู ยส์ ง่ั การดบั เพลิง 2.3) การเลือกอุปกรณ์ตรวจจับสําหรับพ้ืนที่ซึ่งต้องพิจารณาพิเศษ ให้เป็นไปตามมาตรฐาน วสท. 2002–49 โดยกาํ หนดอุปกรณท์ แี่ นะนาํ ให้ใชด้ งั รายการต่อไปนี้ พนื้ ทที่ ีม่ ีเครอื่ งฆา่ เช้อื โรคดว้ ยไอน้าํ -- > อปุ กรณ์ตรวจจบั ความรอ้ น ห้องเก็บสารไวไฟชนิดเหลว -- > อปุ กรณต์ รวจจับความร้อน หรืออุปกรณ์ตรวจจบั ควนั หรือเปลวเพลงิ ท่อลมระบบปรับอากาศ -- > อุปกรณต์ รวจจบั ควัน ห้องหม้อนาํ้ หรอื หอ้ งเตาหลอม -- > อุปกรณ์ตรวจจบั ความรอ้ น 4.6.2 มาตรฐานเส้นทางหนไี ฟ มรี ายละเอียดดังนี้ 1) ตามมาตรฐานการป้องกันอัคคีภัย วสท. 3002–51 ภาคท่ี 3 มาตรฐานเส้นทางหนีไฟ สามารถสรุปโดยย่อท่ี เก่ยี วกบั การหนีไฟไดด้ งั น้ี 1.1) ลักษณะท่ัวไปทางหนีไฟ (Fire Exit): ทางหนีไฟต้องถูกก้ันแยกออกจากส่วนอ่ืนของอาคาร ตามหลักเกณฑ์ดังนี้ 1.1.1) ถ้าทางหนีไฟเช่ือมต่อกันไม่เกิน 3 ช้ัน ให้กั้นแยกทางหนีไฟออกจากส่วนอ่ืนของอาคาร โดยการปิด ลอ้ มทางหนไี ฟทุกด้านด้วยอตั ราการทนไฟไมน่ อ้ ยกว่า 1 ช่ัวโมง 1.1.2) ถ้าทางหนีไฟเชื่อมต่อกันต้ังแต่ 4 ช้ัน ให้กั้นแยกทางหนีไฟออกจากส่วนอื่นของอาคาร โดยการปิด ล้อมทางหนีไฟทกุ ดา้ นดว้ ยอัตราการทนไฟไมน่ ้อยกวา่ 2 ชัว่ โมง ซ่ึงรวมถงึ ส่วนประกอบของโครงสรา้ งทีร่ องรับทางหนีไฟดว้ ย 1.1.3) ช่องเปิดต่างๆ ต้องป้องกันด้วยประตูทนไฟ (fire doors) โดยต้องติดต้ังอุปกรณ์ดึงหรือผลักบาน ประตูใหก้ ลบั มาอย่ใู นตาํ แหนง่ ปิดอย่างสนทิ ได้เองโดยอัตโนมตั ิด้วย 1.1.4) การปิดล้อมทางหนไี ฟตอ้ งทาํ อยา่ งต่อเนอ่ื งจนกระทง่ั ถึงทางปล่อยออก 1.1.5) ห้ามใช้ส่วนปิดล้อมทางหนีไฟเพ่ือจุดประสงค์อ่ืนที่อาจจะทําให้เกิดการกีดขวางในระหว่างการอพยพหนีไฟ 1.2) ระยะความสูงของเส้นทางหนีไฟ 1.2.1) สําหรับอาคารทจี่ ะก่อสรา้ งใหม่ ระยะความสูงของเส้นทางหนไี ฟต้องไม่น้อยกว่า 2.2 เมตร โดยวัด ตามแนวดิ่งจากระดับผิวบนสุดของพื้น (finished floor) ในกรณีที่มีคานหรืออุปกรณ์ใดติดย่ืนลงมาจากเพดาน ระยะความสูง ต้องไม่นอ้ ยกวา่ 2.0 เมตร 1.2.2) สําหรับอาคารเดิม ระยะความสูงของเส้นทางหนีไฟต้องไม่น้อยกว่า 2.1 เมตร โดยวัดตามแนวด่ิง จากระดับผิวบนสุดของพื้น (finished floor) ในกรณีท่ีมีคานหรืออุปกรณ์ใดติดยื่นลงมาจากเพดาน ระยะความสูงต้องไม่น้อย กว่า 2.0 เมตร 1.2.3) ระยะความสงู ของบนั ไดจะต้องไมน่ ้อยกว่า 2.0 เมตร โดยวัดตามแนวดง่ิ จากระดับลกู นอนของ ข้ันบันได 1.3) ผิวทางเดินในเส้นทางหนไี ฟ 1.3.1) ผิวทางเดินบนเส้นทางหนไี ฟตอ้ งมีการป้องกนั การลน่ื ตลอดเส้นทาง 1.3.2) ผิวทางเดินบนเส้นทางหนีไฟต้องราบเรียบ กรณีระดับผิวต่างกันเกิน 6 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน13 มิลลิเมตร ต้องปรับระดับด้วยความลาดเอียง 1 ต่อ 2 กรณีต่างระดับมากกว่า 13 มิลลิเมตร ให้อ้างอิงมาตรฐาน วสท. 3002–51 ขอ้ 3.1.7 1.4) การเปลย่ี นระดบั ในเสน้ ทางหนีไฟ 1.4.1) กรณีมีการเปล่ียนระดับบนเส้นทางหนีไฟ ต้องใช้ทางลาดเอียงหรือบันได หรือวิธีอ่ืนๆ ตาม รายละเอยี ดท่กี ําหนดในมาตรฐานน้ี 1.4.2) ถา้ ใชบ้ ันได ลกู นอนจะต้องมคี วามลึกไม่น้อยกว่า 0.28 เมตร 1.4.3) ถ้ามกี ารเปลย่ี นระดบั ในเส้นทางหนไี ฟเกิน 0.75 เมตร ด้านท่ีเปิดโลง่ ตอ้ งทาํ ราวกันตก 1.5) ความน่าเช่อื ถอื ของเสน้ ทางหนไี ฟ 1.5.1) ต้องไม่ทําการประดับตกแต่ง หรอื มีวัตถุอื่นใด จนทําให้เกิดการกีดขวางในทางหนีไฟ ทางไปสู่ทาง หนีไฟ ทางปลอ่ ยออก หรอื ทําใหบ้ ดบงั การมองเหน็ ภายในเสน้ ทางเหลา่ น้นั 1.5.2) ห้ามไม่ให้ติดต้ังกระจกบนบานประตูทางหนีไฟ รวมทั้งห้ามไม่ให้ติดต้ังกระจกในทางหนีไฟหรือ บริเวณใกล้กบั ทางหนไี ฟทอี่ าจจะทาํ ใหเ้ กดิ ความสบั สนในการอพยพหนไี ฟ 1.6) การติดตงั้ ระบบหัวกระจายน้ําดับเพลงิ ถ้าข้อกําหนดใดในหมวดน้ีกล่าวถึงระบบหัวกระจายนํ้าดับเพลิงแล้ว หมายถึง ระบบหัวกระจายน้ํา ดับเพลิงท่ีได้รบั การออกแบบ ติดต้ัง ทดสอบ และบาํ รุงรักษา ตามท่กี ําหนดในมาตรฐานนี้ ในหมวดของระบบหัวกระจายนาํ้ ดบั เพลิง ภ4-19
1.7) ขีดความสามารถของเสน้ ทางหนไี ฟ 1.7.1) ความกว้างของเส้นทางหนีไฟ ต้องกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 900 มิลลิเมตร โดยวัดท่ีจุดท่ีแคบท่ีสุดใน เส้นทางหนีไฟ ยกเว้นส่วนที่ยื่นเข้ามาด้านละไม่เกิน 110 มิลลิเมตร และสูงไม่เกิน 950 มิลลิเมตร (ดูรายละเอียดในมาตรฐาน การปอ้ งกนั อคั คภี ัย วสท. 3002–51 หน้า 76) 1.7.2) ห้องหรือพ้ืนที่กิจการชุมนุมคน เส้นทางออกและประตูทางเข้าออกหลักที่มีแห่งเดียว ต้องรองรับ จาํ นวนคนได้ไม่น้อยกวา่ 2/3 ของจาํ นวนคนทัง้ หมดในหอ้ งหรอื พืน้ ที่น้นั 1.8) ขอ้ กําหนดเกีย่ วกับจาํ นวนเส้นทางหนีไฟ 1.8.1) จํานวนเส้นทางหนีไฟจากช้ันของอาคาร ช้ันลอย หรือระเบียง ตอ้ งมีอย่างน้อย 2 เส้นทาง ยกเว้น แต่ขอ้ กาํ หนดใดในมาตรฐานน้ยี ินยอมให้มเี ส้นทางหนีไฟทางเดียว 1.8.2) ถ้าในพื้นท่ีใดของอาคารมีความจุคนมากกว่า 500 คน แต่ไม่เกิน 1,000 คน ต้องมีเส้นทางหนีไฟ 3 เส้นทาง ถ้าความจคุ นมากกว่า 1,000 คน ต้องมเี ส้นทางหนไี ฟ 4 เสน้ ทาง 1.8.3) ให้ใช้ความจุของคนของแต่ละชั้นเท่านั้นในการกําหนดจํานวนเส้นทางหนีไฟของชั้นน้ันๆ และ จํานวนเส้นทางหนีไฟตอ้ งไม่ลดลงตลอดทิศทางการหนีไฟ ดูรายละเอียดอ่ืนๆ จากมาตรฐานเส้นทางหนีไฟ หมวดที่1 ถึงหมวดที่ 7 หน้า 67 ถึง 120 ในมาตรฐานการ ป้องกันอัคคีภยั วสท. 3002–51 2) ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2535) ฉบับที่ 47 (พ.ศ. 2540) และฉบับที่ 50 (พ.ศ. 2540) ไม่ได้มีการ กาํ หนดรายละเอยี ดเกย่ี วกับเสน้ ทางหนไี ฟไว้ชัดเจนมีเพียงแต่การกําหนดรายละเอยี ด ปา้ ยบอกชัน้ และปา้ ยบอกทางหนีไฟเทา่ นัน้ 4.6.3 ป้ายบอกทางหนีไฟ มรี ายละเอียดดงั นี้ 1) ตามมาตรฐานการป้องกันอัคคีภัย วสท. 3002–51 ภาคที่ 3 หมวดที่ 7 ส่วนประกอบของเส้นทางหนีไฟ มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟป้ายทางออกฉุกเฉิน ภาคท่ี 3 โคมไฟป้ายทางออกฉุกเฉินและตามคู่มือเทคนิค การตรวจสอบอาคารเพือ่ ความปลอดภัย ได้นําเสนอรายละเอยี ดรูปแบบปา้ ยโดยสรปุ ไวด้ งั นี้ 1.1) รูปแบบป้าย: ป้ายต้องมีรูปแบบที่ได้มาตรฐาน ท้ังในรูปแบบอักษรหรือสัญลักษณ์ ขนาดและสีตามท่ี ปรากฏในรปู ท่ี 4.6 และมรี ายละเอียดต่างๆ ดังนี้ 1.1.1) ต้องใช้ตัวอักษรท่ีอ่านง่ายและชัดเจน ขนาดตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ไม่เล็กกว่า 100 มิลลิเมตร และห่างจากขอบ 25 มิลลเิ มตร โดยใชค้ ําว่า เช่น FIRE EXIT หรอื ทางหนไี ฟ 1.1.2) ตัวอักษรต้องห่างกันอย่างน้อย 10 มิลลิเมตร ความหนาอักษรไม่น้อยกว่า 12 มิลลิเมตร ความกว้าง ตัวอกั ษรท่วั ไป 50 – 60 มิลลิเมตร 1.1.3) สีของป้ายให้ใช้อักษรหรือสัญลักษณ์สีขาวบนพื้นสีเขียว พื้นที่สีเขียวต้องมีอย่างน้อย 50% ของพื้นท่ี ปา้ ย ภ4-20
รปู ที่ 4.6 ขนาดอกั ษรหรือสัญลักษณท์ แี่ สดงทางหนีไฟทไี่ ด้มาตรฐาน (ท่ีมา คู่มือเทคนคิ การตรวจสอบอาคารเพอื่ ความปลอดภยั , 2551: หน้า 199) 1.2) ตาํ แหน่งติดตั้งควรดาํ เนินการติดต้งั ตามรปู แบบทป่ี รากฏในรูปที่ 4.7 โดยมรี ายละเอียดดังนี้ 1.2.1) ต้องตดิ ตง้ั เหนือประตทู างออกจากหอ้ งทีม่ ีคนเกิน 50 คน 1.2.2) ต้องตดิ ตัง้ เหนือประตทู ีอ่ ยู่บนทางเดินไปสูท่ างหนีไฟทุกบาน 1.2.3) ป้ายทางออกบน สงู จากพน้ื ระหวา่ ง 2.0–2.7 เมตร 1.2.4) ปา้ ยทางออกล่าง ขอบลา่ งสูง 15 เซนติเมตร ไมเ่ กิน 20 เซนตเิ มตร 1.2.5) ขอบปา้ ยห่างขอบประตูไม่นอ้ ยกวา่ 10 เซนตเิ มตร (ตดิ ต้ังเสริม) ดรู ายละเอียดเพ่มิ เติมจาก ภาคที่ 3 โคมไฟปา้ ยทางออกฉกุ เฉินมาตรฐาน วสท. 2004–51 หนา้ 35–56 รปู ที่ 4.7 ตําแหน่งการตดิ ต้ังปา้ ยบอกทางหนไี ฟ (ทีม่ า คู่มอื เทคนิคการตรวจสอบอาคารเพอ่ื ความปลอดภัย, 2551: หน้า 200) ภ4-21
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187