รูปที่ 2.9 ตวั อย่างตัวดดู ซับสารเคมีและวัสดุกันกระแทก ทีใ่ ชใ้ นการกัน้ ระหวา่ งขวดสารเคมขี ณะเคล่อื นยา้ ย 41
คาํ อธบิ ายประกอบการกรอก checklist 3. ระบบการจัดการของเสยี เป็นการประเมินสถานภาพการจัดการของเสยี ภายในห้องปฏิบัติการ ทั้งระบบข้อมูล การจําแนกและการเก็บ เพ่ือรอการ กําจัด/บําบัด ซ่ึงสามารถติดตามความเคล่ือนไหวของของเสีย ข้อมูลน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อการบริหารจัดการ การประเมินความ เสยี่ งจากอันตรายของของเสีย ตลอดจนการจดั เตรยี มงบประมาณในการกําจัด 3.1 การจัดการข้อมูลของเสยี 3.1.1 ระบบบนั ทกึ ขอ้ มูล หมายถึง ระบบบันทกึ ขอ้ มูลของเสยี สารเคมที ี่ใช้ในห้องปฏิบัตกิ าร/หน่วยงาน/องคก์ ร เพอ่ื ใช้ในการ บนั ทึกและติดตามความเคลอื่ นไหวของเสียสารเคมีท้ังหมด โดย 1. มกี ารบนั ทึกข้อมูลของเสยี ในรปู แบบ ▪ เอกสาร ▪ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ 2. โครงสร้างของข้อมลู ของเสียท่ีบันทกึ ไมว่ า่ จะใชร้ ูปแบบใดก็ตาม ควรประกอบด้วยหวั ข้อ ต่อไปนี้ ผูร้ ับผดิ ชอบ หมายถงึ ผู้ผลิต/ผูท้ ําให้เกิด/ผู้ดูแล ของเสยี ในขวดน้นั ๆ รหสั ของภาชนะบรรจุ (Bottle ID) ประเภทของเสยี (รายละเอยี ดแสดงในข้อ 3.2) ปรมิ าณของเสีย (Waste volume/weight) วันที่บนั ทกึ ขอ้ มูล (Input date) ห้องทีเ่ ก็บของเสีย (Storage room) อาคารที่เกบ็ ของเสยี (Storage building) 3.1.2 การรายงานข้อมูล หมายถงึ การรายงานขอ้ มลู ของเสียที่เกดิ ขนึ้ และท่ีกาํ จัดท้ิงของห้องปฏบิ ัติการ/หนว่ ยงาน/องค์กร โดย มีการจัดทําให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอพร้อมทั้งสามารถรายงานความเคลื่อนไหวของของเสียในห้องปฏิบัติการ/หน่วยงาน/องคก์ รได้ ดว้ ย การรายงานขอ้ มูลท่ีครบวงจรนั้น ตอ้ งครอบคลุมสง่ิ ตอ่ ไปน้ี 1. มีการรายงานข้อมลู ของเสียทเี่ กิดขนึ้ 2. มรี ูปแบบการรายงานทช่ี ดั เจน เพอ่ื รายงานความเคล่ือนไหวข้อมูลในรายงานอย่างน้อยประกอบดว้ ยหวั ข้อตอ่ ไปนี้ ประเภทของเสยี (รายละเอียดแสดงในขอ้ 3.2) ปริมาณของเสยี 3. มีการรายงานข้อมูลของเสยี ทก่ี าํ จดั ท้ิง 4. มีการปรบั ขอ้ มูลเปน็ ปัจจบุ นั สม่ําเสมอ ดงั ตัวอย่างในตารางท่ี 3.1 42
ตารางที่ 3.1 ตวั อย่างบญั ชแี ละรายงานขอ้ มูลของเสยี ปริมาณความจุ ผรู้ ับผดิ ชอบ สถานทีเ่ กบ็ วนั ท่ีบนั ทึก รหัสขวด ประเภทของเสีย ประเภทภาชนะ ของขวด นาย ก 22/12/2554 W04001 Mercury waste Glass bottle หอ้ ง 1411 11/1/2555 1 ลิตร ตกึ A 6/2/2555 26/2/2555 W06001 Heavy metal Glass bottle 2.5 ลติ ร นางสาว ข ห้อง 1411 1/3/2555 W04002 waste Plastic gallon 1 ลติ ร นาย ก ตึก A Mercury waste หอ้ ง 1411 ตึก A W07001 Acid waste Glass bottle 2.5 ลติ ร นาย ค หอ้ ง 1411 W03001 Oxidizing waste Plastic gallon 5 ลิตร นางสาว ง ตกึ A หอ้ ง 1411 ตกึ A 3.1.3 การใช้ประโยชน์จากข้อมูลเพ่ือการบริหารจัดการ หมายถึง การนําข้อมูลของเสียไปใช้ประโยชน์เพื่อการบริหารจัดการให้ เกิดประโยชนส์ งู สดุ กับห้องปฏิบัตกิ าร/หนว่ ยงาน/องคก์ ร ในเรอ่ื งต่อไปนี้ 1. การประเมินความเส่ียง โดยการนําข้อมูลกลับมาวิเคราะห์เพ่ือประเมินอันตรายที่อาจเกิดขึ้นในระหว่างที่ของเสีย เหล่าน้นั ยังไม่ได้ถกู เคลื่อนยา้ ยออกไปจากส่วนงาน เชน่ มีรายงานการประเมนิ ความเสี่ยงจากข้อมูลปริมาณ ประเภท ของเสีย และสถานท่ีเก็บภายในหน่วยงาน เปน็ ตน้ 2. การจัดเตรียมงบประมาณในการกําจัด โดยการประมาณค่าใช้จ่ายที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากข้อมูลปริมาณของเสียที่ส่ง กําจัดในแตล่ ะคร้ัง เช่น รายงานคา่ ใช้จา่ ยในการกําจดั ของเสียย้อนหลัง เพือ่ นาํ มาจดั เตรยี มงบประมาณ เป็นตน้ 3.2 การเกบ็ ของเสีย ห้องปฏบิ ัติการควรมีแนวปฏบิ ัติ ดังน้ี 1. มีการแยกของเสยี อนั ตรายออกจากของเสียท่ัวไป 2. มีเกณฑ์ใการจําแนกประเภทของเสียท่ีเหมาะสม เพ่ือการเก็บรอการบําบัด และกําจัดท่ีปลอดภัย ท้ังนี้อาจอิงเกณฑ์ ตามระบบมาตรฐานสากล หรือมาตรฐานท่ีเป็นท่ียอมรับ เช่น ระบบการจําแนกประเภทของเสียของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (WasteTrack) ระบบการจําแนกประเภทของเสียของศูนย์การจัดการด้านพลังงาน สิ่งแวดล้อม ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย (EESH) ของมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุรี เปน็ ต้น (ดังรายละเอียดในตัวอย่างท่ี 3.1 และ 3.2 ภาคผนวก 3) 3. แยกของเสยี ตามเกณฑท์ ่ีใช้ในข้อ 2 4. ใช้ภาชนะบรรจุของเสียที่เหมาะสมตามประเภท เช่น ไม่ใช้ภาชนะโลหะในการเก็บของเสียประเภทกรด หรือ chlorinated solvents ซึ่งสามารถเกิดปฏิกิริยากับโลหะได้ ในกรณีที่นําขวดสารเคมีท่ีใช้หมดแล้วมาบรรจุของเสีย สารเคมีใน ขวดเดิมตอ้ งไม่ใช่สารท่ีเขา้ กนั ไม่ได้กับของเสียน้ัน เป็นต้น (ดังตารางท่ี 3.1 ภาคผนวก 3) 5. ติดฉลากภาชนะบรรจุของเสยี ทุกชนดิ อยา่ งถูกต้องและเหมาะสม และในกรณีท่ใี ช้ขวดสารเคมีเกา่ มาบรรจขุ องเสีย ตอ้ งลอกฉลากเดิมออกก่อน ฉลากของภาชนะบรรจุของเสียควรมีขอ้ มลู ดังนี้ (ตัวอย่างฉลาก แสดงในหัวขอ้ ที่ 3.3 ภาคผนวก 3) ขอ้ ความระบอุ ย่างชดั เจนวา่ เป็น “ของเสยี ” ชอื่ ห้องปฏิบตั กิ าร/ชอ่ื เจ้าของ/ผูร้ ับผดิ ชอบ ประเภทของเสยี /ประเภทความเปน็ อันตราย ส่วนประกอบของของเสยี (ถ้าเป็นไปได้) ปรมิ าณของเสีย วันท่เี ร่มิ บรรจขุ องเสยี วันท่หี ยุดการบรรจุของเสีย 6. ตรวจสอบความบกพร่องของภาชนะและฉลากของเสียอย่างสม่ําเสมอ เช่น - ไม่มีรอยรั่ว หรอื รอยแตกร้าว 43
- ฉลากสมบรู ณ์ มีข้อมลู ครบถว้ น - ข้อความบนฉลากมีความชัดเจน ไมจ่ าง ไม่เลือน 7. บรรจุของเสยี ในปรมิ าณไม่เกิน 80% ของความจขุ องภาชนะ 8. มีพ้นื ท่ี/บริเวณที่เกบ็ ของเสยี ที่แนน่ อน 9. มีภาชนะรองรับขวดของเสียทเี่ หมาะสม โดยสามารถทนและรองรบั ปรมิ าณของเสยี ไดท้ ัง้ หมด หากเกดิ การร่ัวไหล 10. แยกภาชนะรองรับขวดของเสียทีเ่ ขา้ กันไมไ่ ด้ และควรเก็บ/จัดวางของเสยี ทีเ่ ขา้ กันไม่ไดต้ ามเกณฑก์ ารเข้ากนั ไมไ่ ด้ ของสารเคมี (chemical incompatibility) โดยสามารถใช้เกณฑเ์ ดียวกบั การจัดเก็บสารเคมีที่เขา้ กันไมไ่ ด้ (หวั ขอ้ ที่ 2.3 ภาคผนวก 2) 11. วางภาชนะบรรจุของเสียห่างจากบริเวณอุปกรณ์ฉุกเฉิน เช่น ฝักบัวฉุกเฉิน อุปกรณ์สําหรับสารเคมีหกร่ัวไหล อุปกรณท์ าํ ความสะอาด เปน็ ตน้ หากเกิดการหก/รวั่ ไหลของของเสยี จะไมท่ าํ ให้อุปกรณ์ฉกุ เฉนิ เหล่านั้นเกิดการปนเป้อื น 12. วางภาชนะบรรจุของเสียห่างจากความร้อน แหล่งกําเนิดไฟ และเปลวไฟ อย่างน้อย 25 ฟุต (7.6 เมตร) ท้ังนี้ควร พิจารณาจากขนาดของแหล่งความร้อน/แหล่งกําเนิดประกายไฟในห้องปฏิบัติการประกอบกันด้วย เช่น หากมีแหล่งท่ีให้ความ รอ้ นสงู มากอยู่ในห้องปฏบิ ตั กิ าร ควรจดั วางภาชนะของเสียห่างจากแหลง่ ความรอ้ นมากกว่า 25 ฟุต (7.6 เมตร) เปน็ ตน้ 13. เก็บของเสียประเภทไวไฟในห้องปฏิบัติการไม่เกิน 10 แกลลอน (38 ลิตร) ถ้ามีเกิน 10 แกลลอน (38 ลิตร) ต้อง จัดเกบ็ ไว้ในตูส้ าํ หรบั เกบ็ สารไวไฟโดยเฉพาะ 14. กาํ หนดปริมาณรวมสูงสดุ ของของเสยี ท่ีอนุญาตให้เก็บได้ในห้องปฏิบตั ิการ เชน่ ตามกฎหมายของประเทศ สหรัฐอเมริกาอนุญาตให้เกบ็ ของเสยี ไว้ในหอ้ งปฏบิ ัติการทม่ี ปี รมิ าณน้อยกว่า 55 แกลลอน (ประมาณ 200 ลติ ร) ได้ไม่เกิน 90 วัน และทม่ี ากกว่า 55 แกลลอน ได้ไมเ่ กนิ 3 วนั ทงั้ นห้ี ากเปน็ ของเสียทม่ี คี วามเป็นอันตรายสงู เฉยี บพลัน เชน่ สารใน p–listed waste ของ US EPA ไม่ควรเก็บไว้มากกว่า 1 ลติ ร (http://www.epa.gov/osw/hazard/wastetypes/listed.htm) 15. กําหนดระยะเวลาเก็บของเสียในหอ้ งปฏิบัตกิ าร - กรณที ่ีของเสยี พร้อมส่งกาํ จัด (ปรมิ าตร 80% ของภาชนะ) : ไม่ควรเก็บไว้นานกวา่ 90 วนั - กรณที ่ขี องเสยี ไม่เตม็ ภาชนะ (ปริมาตรน้อยกว่า 80% ของภาชนะ) : ไมค่ วรเกบ็ ไว้นานกวา่ 1 ปี 3.3 การลดการเกิดของเสยี หอ้ งปฏิบตั ิการควรมีแนวปฏบิ ัติ ดงั น้ี 1. มีแนวปฏิบัติหรือมาตรการในการลดการเกิดของเสียในห้องปฏิบัติการ เพื่อเป็นการจัดการของเสียที่ต้นทาง และลด ปริมาณของเสียปลายทางหรือทําให้เกิดของเสียอันตรายปลายทางน้อยท่ีสุด แนวปฏิบัติหรือมาตรการดังกล่าวควรประกาศให้ ผปู้ ฏบิ ัติงานไดท้ ราบทั่วกัน 2. ลดการใชส้ ารตง้ั ตน้ (Reduce) การลดการใช้สารต้ังต้น หมายถึง การลดปริมาณสารเคมีท่ีใช้ทําปฏิกิริยาทั้งหมด (small scale reaction) โดยยังคง ให้ผลการทดสอบตามที่ต้องการได้ อาทิเช่น ลดปริมาตรสารผสมของปฏิกิริยาจาก 10 มิลลิลิตร เหลือ 300 ไมโครลิตร โดยคง ความเข้มข้นของทกุ องคป์ ระกอบไว้ได้ เปน็ ตน้ 3. ใชส้ ารทดแทน (Replace) การใชส้ ารทดแทน หมายถงึ การใชส้ ารเคมีทีไ่ มอ่ ันตรายทดแทนสารเคมอี นั ตราย อาทเิ ชน่ การใชเ้ อทานอลแทน เมทานอลที่เปน็ อนั ตรายในสารผสมสําหรบั การล้างสยี อ้ มคแู มสซีบลู (Coomassie blue) เปน็ ตน้ 4. ลดการเกิดของเสีย ดว้ ยกระบวนการ Reuse, Recovery/Recycle ▪ Reuse คอื การนาํ วัสดุทเ่ี ป็นของเสยี กลบั มาใช้ใหม่ โดยไม่มกี ารเปลีย่ นแปลงหรอื กระทําการใด ๆ ยกเว้นการ ทําความสะอาดและการบํารงุ รักษาตามวัตถปุ ระสงค์เดิม เช่น การนาํ ขวดสารเคมีท่ไี ม่เปน็ อันตรายมาลา้ งเพื่อ ใช้เปน็ ภาชนะบรรจขุ องเสียในหอ้ งปฏิบัติการ การใชส้ ยี ้อมคูแมสซีบลู (Coomasie blue) ซ้ํา เพ่อื ย้อมโปรตนี ในเจล เปน็ ตน้ ▪ Recovery คือ การแยกและการรวบรวมวัสดุที่สามารถนํากลับมาใชไ้ ดจ้ ากวสั ดขุ องเสยี เชน่ แรธ่ าตุ พลงั งาน หรอื น้าํ โดยผ่านกระบวนการและ/หรือการสกดั ซ่ึงส่งิ ท่ีได้มาไมจ่ าํ เปน็ ต้องใชต้ ามวตั ถปุ ระสงคเ์ ดมิ เชน่ การ กลนั่ ตัวทาํ ละลาย เชน่ ethanol, hexane เป็นตน้ 44
▪ Recycle คือ การนาํ วัสดกุ ลบั มาใชใ้ หม่โดยที่มีสมบัติทางกายภาพเปล่ียนไป แตม่ ีองคป์ ระกอบทางเคมี เหมือนเดิม โดยการผ่านกระบวนการตา่ ง ๆ เชน่ การหลอมแก้วมาใช้ใหม่ การนําโลหะมาหลอมใหม่ เปน็ ตน้ 3.4 การบาํ บดั และกําจดั ของเสีย ในการบาํ บัดและกําจดั ของเสียนนั้ ข้ึนกับประเภทของเสีย โดยผปู้ ฏิบัตงิ านสามารถบําบัดของเสียเบ้ืองตน้ กอ่ นทงิ้ และ ก่อนสง่ กาํ จดั (ดรู ายละเอียดเพ่มิ เตมิ ในภาคผนวก 3) ในห้องปฏิบัตกิ ารควรมรี ะบบการจัดการซง่ึ ครอบคลมุ สิ่งตอ่ ไปนี้ 1. บําบัดของเสียกอ่ นทิ้ง หมายถึง ห้องปฏบิ ัตกิ ารควรมกี ารบําบดั ของเสยี ท่ีมคี วามเป็นอันตรายนอ้ ยทสี่ ามารถกาํ จัดได้ เองก่อนทิ้งลงสู่รางระบายนํ้าสาธารณะ เช่น การสะเทินของเสียกรดและเบสให้เป็นกลางก่อนท้ิงลงท่อน้ํา เป็นต้น (ตัวอยา่ งการบําบัดของเสยี เบื้องตน้ แสดงในตารางที่ 3.1 ภาคผนวก 3) 2. บําบัดของเสียก่อนส่งกําจัด หมายถึง ห้องปฏิบัติการควรบําบัดของเสียอันตรายท่ีไม่สามารถกําจัดได้เองเบื้องต้น กอ่ นสง่ บรษิ ัทหรอื หน่วยงานท่ีรับกําจดั เพอื่ ลดความเปน็ อันตรายระหวา่ งการเก็บรักษาและการขนสง่ (ตัวอยา่ งการ บาํ บดั ของเสยี เบอื้ งต้นแสดงในตารางที่ 3.1 ภาคผนวก 3) (ดตู วั อย่างการจดั การของเสยี ในหอ้ งปฏบิ ัติการ และแหล่งความร้เู พมิ่ เตมิ เกี่ยวกับการบาํ บัดและกําจดั ในขอ้ 3.4 และ 3.5 ภาคผนวก 3) 3. สง่ ของเสยี ไปกาํ จัดโดยบริษัททไี่ ด้รบั ใบอนุญาตในการจดั การของเสีย จากกรมโรงงานอตุ สาหกรรม กระทรวง อตุ สาหกรรม (ข้อมูลเพิ่มเติมแสดงในข้อ 3.6 ภาคผนวก 3) 45
คาํ อธิบายประกอบการกรอก checklist 4. ลกั ษณะทางกายภาพของหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร อปุ กรณ์และเครื่องมอื เป็นการประเมินถึงความสมบูรณ์เหมาะสมของโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพ อุปกรณ์และเคร่ืองมือภายใน ห้องปฏิบัติการ ที่จะเอ้ือต่อความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการ และเป็นปัจจัยที่จัดให้สมบูรณ์เต็มที่ได้ยาก เนื่องจากอาจเป็น โครงสร้างเดิม หรือการออกแบบท่ีไม่ได้คํานึงถึงการใช้งานในลักษณะห้องปฏิบัติการโดยเฉพาะ ข้อมูลท่ีให้สํารวจใน checklist ประกอบด้วยข้อมูลเชิงสถาปัตยกรรมและวิศวกรรม ดูพ้ืนท่ีการใช้งานจริง วัสดุท่ีใช้ ระบบสัญจร ระบบไฟฟ้าและระบบระบาย อากาศ ระบบสาธารณปู โภค และระบบฉกุ เฉนิ 4.1 งานสถาปัตยกรรม 4.1.1 สภาพภายในและภายนอกที่ไม่ก่อให้เกิดอันตราย (สภาพบริเวณโดยรอบหรืออาคารข้างเคียง/สภาพภายในตัว อาคารที่อยู่ติดกับห้องปฏิบัตกิ าร) 1) ตามเกณฑ์ของ OSHA7 laboratory standard, GLP8 handbook ของ WHO9 และ OECD10 series on GLP and compliance monitoring ไดน้ าํ เสนอรายละเอยี ดไว้เกี่ยวกบั ในเร่ืองอาคารไวด้ งั น้ี ห้องปฏิบัติการควรมี ขนาด ลักษณะการก่อสร้างและสถานที่ต้ัง ท่ีเหมาะสมกับการปฏิบัติการเพ่ือลดปัจจัยที่อาจจะ ส่งผลต่อผลการทดลองโดยห้องปฏิบัติการควรได้รับการออกแบบให้มีการแยกส่วนระหว่างงานส่วนต่างๆ ของห้องปฏิบัติการ อย่างเหมาะสม (ดูรายละเอียดเพมิ่ เตมิ ในข้อ 4.1.1 ภาคผนวก 4) 2) สภาพบริเวณโดยรอบหรืออาคารข้างเคียง/สภาพภายในตัวอาคารที่อยู่ติดกับห้องปฏิบัติการ หมายรวมถึง กิจกรรมต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนด้วย เช่น บริเวณข้างเคียงเป็นส่วนท่ีมีการทํากิจกรรมที่ก่อให้เกิดความเส่ียงหรืออันตรายต่อ ห้องปฏิบตั ิการ (ดรู ายละเอยี ดเพ่ิมเตมิ ในขอ้ 4.1.2 ภาคผนวก 4) 4.1.2 แยกสว่ นท่เี ป็นพื้นทห่ี ้องปฏิบัติการ (laboratory space) ออกจากพนื้ ทอ่ี น่ื ๆ (non–laboratory space) 1) ส่วนหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารแยกจากพน้ื ท่ภี ายนอกอย่างชดั เจน/มผี นงั กัน้ ทั้ง 4 ด้าน/มกี ารควบคุมการเข้าออก 2) แบง่ พ้ืนทส่ี ่วนห้องปฏบิ ัติการและทดลอง/สว่ นสํานกั งาน/สว่ นเกบ็ ของและสารเคมี/สว่ นท่ีพักเจา้ หนา้ ที่ ออกจากกัน 3) ควรมสี ว่ นพื้นที่ตา่ งๆ สาํ หรบั เจ้าหน้าท่ีและนักวจิ ัยเพอ่ื ใชใ้ นกจิ กรรมต่างๆ ตอ่ ไปนี้ 3.1) การทาํ งานสําหรบั จดบันทึกข้อมูล โดยมีพื้นทท่ี าํ งานซ่งึ เหมาะสมกบั จาํ นวนคนและปรมิ าณงาน 3.2) การพกั ผอ่ น สําหรับ การรับประทานอาหาร การทํากิจกรรมสว่ นตวั ต่างๆ เป็นตน้ พื้นท่ีดงั กล่าวควรแบ่ง พนื้ ทอ่ี อกจากส่วนพ้นื ท่ีหอ้ งปฏิบตั ิการอยา่ งชดั เจน ไม่ปะปนกนั 4) มีการจัดพื้นท่ีใช้งาน เชน่ พนื้ ทเ่ี ก็บของหรอื เกบ็ สารเคมี มขี นาดเพยี งพอ และมกี ารใชง้ านอย่างเหมาะสม 4.1) ตามเกณฑ์ของ OSHA laboratory standard, GLP handbook ของ WHO และ OECD series on GLP and compliance monitoring ได้นําเสนอรายละเอียดไว้เกี่ยวกับในเร่ืองการแบ่งพื้นท่ีการใช้งาน (zoning) ไว้ว่า การมี ห้องปฏิบัติการท่ีมีการก้ันพื้นที่ใช้สอยจะช่วยในการควบคุมการเข้าถึงของบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องกับห้องปฏิบัติการโดยเฉพาะใน หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารท่ีมสี ารเคมอี นั ตราย หรือห้องปฏบิ ัตกิ ารท่มี ีสารกมั มนั ตรงั สี 4.2) ควรดรู ายละเอยี ดในข้อ 4.1.1 4.3) เพียงพอและใช้งานอย่างเหมาะสม หมายถึง มีการจัดเตรียมพ้ืนท่ีสําหรับเก็บของและสารเคมีที่ จัดเตรียมไว้โดยเฉพาะ (ดูรายละเอียดใน คําอธิบายประกอบการกรอก checklist 2. ระบบการจัดการสารเคมี) ไม่มีการเก็บของ หรือสารเคมีนอกเหนือไปจากบริเวณท่ีกําหนดไว้ ทั้งบริเวณภายนอกห้อง เช่น ตามทางเดิน หรือภายในห้อง เช่น ใต้ตู้ดูดควัน หรือ อ่างนาํ้ เปน็ ตน้ นอกจากท่ีกลา่ วมาขา้ งต้นแลว้ หากเปน็ ไปได้ห้องปฏบิ ัตกิ ารควรมีการแยกประเภทห้องปฏิบตั ิการเปน็ หอ้ งปฏบิ ัติการ เคมที ่ัวไปหรือห้องปฏบิ ัตกิ ารพเิ ศษ รวมทัง้ มอี าจมีการแยกประเภทหอ้ งปฏิบตั ิการตามความเสีย่ ง เป็นตน้ 7 OSHA ยอ่ มาจาก Occupational Safety & Health Administration, U.S. Department of Labor 8 GLP ยอ่ มาจาก Good Laboratory Practice 9 WHO ย่อมาจาก World Health Organization 10 OECD ยอ่ มาจาก Organization for Economic Co–operation and Development 46
(ดูเกณฑ์การประเมินความเส่ียงใน คําอธิบายประกอบการกรอก checklist 5. ระบบการป้องกันและแก้ไขภัยอันตราย และดู รายละเอียดเพ่มิ เติมในขอ้ 4.1.3 และ 4.1.4 ภาคผนวก 4) 4.1.3 ขนาดพ้ืนที่และความสูงของห้องปฏิบัติการและพื้นที่เกี่ยวเน่ือง มีความเหมาะสมและเพียงพอกับการใช้งาน จํานวนผู้ ปฏิบตั กิ าร ชนดิ และปริมาณเครอ่ื งมือและอุปกรณ์ การกาํ หนดพน้ื ทีห่ อ้ งปฏิบตั ิการทเี่ หมาะสมกับกิจกรรมการใช้งาน จาํ นวนผใู้ ชแ้ ละปริมาณเครือ่ งมอื และอปุ กรณ์ มี การกาํ หนดไว้ ดังนี้ ตามมาตรฐานการปอ้ งกันอคั คีภยั วสท. 3002–51ไดก้ ําหนดขนาดพน้ื ทีต่ ่อคนสําหรบั ห้องปฏิบัตกิ าร ตามตารางท่ี 4.1 ตารางท่ี 4.1 ลกั ษณะกิจกรรมการใชแ้ บบเฉพาะ กบั ขนาดพน้ื ทตี่ ่อคนเพือ่ คาํ นวณความจุคน ลักษณะกิจกรรมการใช้แบบเฉพาะ ขนาดพน้ื ที่ตอ่ คน (หน่วย : ตารางเมตรตอ่ คน) สถานศึกษา ห้องทดลอง (laboratory) 5.0 (ทม่ี า มาตรฐานการปอ้ งกันอัคคีภยั วสท. 3002-51, 2551: หนา้ 73) การกาํ หนดขนาดพืน้ ที่ห้องปฏบิ ัติการ นอกจากกาํ หนดตามมาตรฐาน วสท. 3002 – 51 แล้ว ยงั สามารถกาํ หนด ได้ในรปู แบบอ่นื ๆ ตามเกณฑแ์ ละมาตรฐานการออกแบบของต่างประเทศ (ดูรายละเอียดในข้อ 4.1.5 ภาคผนวก 4) สําหรับความสูงของอาคาร ตามกฎกระทรวงฉบับท่ี 55 (พ.ศ. 2543) ข้อ 22. ได้มีการกําหนดขนาดความสูงของ อาคาร (ดูรายละเอียดเรื่องการวัดระยะดิ่งในข้อ 4.1.6 ภาคผนวก 4) ห้องหรือส่วนของอาคารที่ใช้ในการทํากิจกรรมต่างๆ ต้องมี ระยะด่งิ ไมน่ อ้ ยกวา่ ตามทก่ี าํ หนดไวใ้ นตารางท่ี 4.2 ตารางท่ี 4.2 ขนาดความสูงของอาคาร ประเภทการใชอ้ าคาร ระยะดง่ิ 1. ช่องทางเดินในอาคาร 2.60 เมตร 2. สาํ นกั งาน ห้องเรยี น 3.00 เมตร (ทมี่ า กฎกระทรวงฉบบั ท่ี 55 (พ.ศ. 2543) ในกฎหมายอาคาร อาษา, 2548: หน้า 3–211) ส่วนการกําหนดขนาดและระยะต่างๆ ของพื้นที่และทางเดินภายในห้องปฏิบัติการ สามารถกําหนดได้ตามเกณฑ์ และมาตรฐานในตา่ งประเทศ (ดรู ายละเอยี ดในข้อ 4.1.7 ภาคผนวก 4) 4.1.4 วสั ดุทีใ่ ชเ้ ป็นพนื้ ผิวของพ้นื ผนัง เพดาน อยใู่ นสภาพทด่ี ี มีความเหมาะสมตอ่ การใชง้ านและได้รบั การดแู ลและ บาํ รุงรกั ษาอย่างสมํ่าเสมอ วัสดุอยู่ในสภาพที่ดี หมายถึง วัสดุยังไม่หมดอายุการใช้งานหรือเสื่อมสภาพ ไม่มีการหลุดร่อนจากพื้นผิว หรือมีส่วน หนึ่งส่วนใดแตกหัก หลุดร่อนออกจากผิวพ้ืนด้านล่าง ไม่มีการเปลี่ยนลักษณะทางกายภาพเดิมของวัสดุ เช่น สี หรือ ผิวสัมผัส (texture) เป็นต้น วัสดุมีความเหมาะสมต่อการใช้งาน หมายถึง มีลักษณะพื้นผิวเป็นเนื้อเดียวกัน มีผิวเรียบ ไม่มีรูพรุน มี ความสามารถในการกันไฟ ทนไฟ ไม่เป็นอันตรายเม่ือเกิดไฟไหม้ มีความปลอดภัยในการทํางาน การป้องกันอุบัติเหตุ มีความ คงทน (ทนทาน) ในการใช้งาน มีความทนทานต่อสารเคมี น้ําและความช้ืน สามารถซ่อมแซมได้ง่ายเม่ือเกิดความเสียหาย และมี ความสะดวกและงา่ ยตอ่ การดแู ลรกั ษา (ดูรายละเอยี ดในขอ้ 4.1.8 ภาคผนวก 4) ได้รับการดูแลและบํารุงรักษาอย่างสมํ่าเสมอ หมายถึง ควรมีการดูแลรักษา ตรวจสอบสภาพการใช้งานอย่างละเอียด ดําเนนิ การซอ่ มแซมสว่ นทเี่ สยี หายใหอ้ ยูใ่ นสภาพพร้อมใช้งาน อย่างน้อยปลี ะ 1 คร้งั 47
4.1.5 ช่องเปิด (ประตู–หน้าต่าง) มีขนาดและจํานวนที่เหมาะสม โดยสามารถควบคุมการเข้าออกและเปิดออกได้ง่ายใน กรณีฉกุ เฉิน มีประตูอย่างน้อย 2 ประตูเพ่ือใช้ในกรณีฉุกเฉิน หากมีเพียง 1 ประตู ควรมีหน้าต่างที่สามารถใช้เพื่อเป็นทางออก ฉุกเฉินออกไปยังพ้ืนที่ภายนอกได้โดยสะดวกและปลอดภัย ตามมาตรฐาน NFPA Standard 101 กําหนดให้ประตูที่ใช้เป็นประตู ทางเข้าออกหลักของห้องปฏิบัติการ รวมถึงประตูใช้งานอื่นๆ ท่ัวไป ท่ีติดกับทางสัญจรหลักนับเป็นประตูที่ใช้ในการอพยพหนีไฟ (egress door) ควรมขี นาดอย่างน้อย 0.80 เมตร มอี ปุ กรณ์ประกอบบานประตอู ย่างน้อย 1 ชดุ ที่ใชใ้ นการควบคุมการปดิ -เปดิ และรักษาความปลอดภยั บานประตูปดิ กลับสนิทได้เองสามารถปิดล็อคได้ภายหลังการใช้งาน อาจเป็นระบบธรรมดาที่ใช้มือควบคุมการทํางาน (manual) หรือ ระบบ อัตโนมัติ (automatic) แบบใดแบบหน่ึงหรือทั้งสองอย่างร่วมกัน ถ้าเป็นประตูอัตโนมัติท่ีใช้ระบบไฟฟ้าควบคุม เมื่อเกิดเหตุ ฉุกเฉนิ เชน่ ไฟดบั หรือ เกดิ อัคคภี ัยต้องสามารถปลดล็อคเองโดยอัตโนมัติเพือ่ ความปลอดภัย หากประตูมีทิศทางการเปิดเข้าเพียงอย่างเดียวอาจเกิดอุบัติเหตุได้เม่ือเกิดเหตุฉุกเฉิน ในกรณีท่ีเปิดเข้าให้ทําการ ปรับเปลี่ยนชุดอุปกรณ์ประกอบบานประตู (door fitting) ใหม่เพื่อให้สามารถเปิดออก หรือ เปลี่ยนเป็นแบบบานสวิง (สามารถ เปดิ เข้า–ออก ได้ท้ังสองด้าน) หรือแบบบานเลือ่ น เพอื่ ความปลอดภัย 4.1.6 ประตูมชี ่องสําหรบั มองจากภายนอก (Vision panel) การมีช่องสําหรับมองจากภายนอกท่ีประตู เพ่ือความปลอดภัยและให้แน่ใจว่าเม่ือเกิดอุบัติเหตุภายในห้องขณะ ทาํ งานคนเดียว บคุ คลภายนอกสามารถมองเห็น และเขา้ ไปชว่ ยเหลอื ได้ 4.1.7 มีหน้าต่างท่ีสามารถเปิดออกเพื่อระบายอากาศได้ สามารถปิดล็อคได้และสามารถเปิดออกได้ในกรณีฉุกเฉิน เนอ่ื งจากบางกรณีมีความจําเป็นต้องมกี ารเปิดหนา้ ต่างระบายอากาศเนือ่ งจากการทดลองสารเคมี เปน็ ต้น หากไม่ มีหน้าต่างแต่มกี ารระบายอากาศด้วยวธิ ีอื่นๆ ก็อาจไม่จาํ เป็นต้องมีหนา้ ตา่ งก็ได้ (ดูรายละเอยี ดในขอ้ 4.1.9 ภาคผนวก 4) 4.1.8 ขนาดทางเดินภายในห้อง (Clearance) กว้างไม่น้อยกว่า 0.60 เมตร สําหรับทางเดินทั่วไป และกว้างไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร สาํ หรับชอ่ งทางเดนิ ในอาคาร ตามกฎกระทรวงฉบบั ที่ 55 (พ.ศ. 2543) ข้อ 21 ได้มกี ารกําหนดขนาดความกว้างช่องทางเดินในอาคารตามตาราง ท่ี 4.3 ตารางท่ี 4.3 ขนาดช่องทางเดินในอาคาร ตอ้ งมีความกว้างไมน่ ้อยกวา่ ตามท่ีกําหนด ประเภทการใช้อาคาร ความกวา้ ง 1.50 เมตร สํานักงาน อาคารสาธารณะ (ท่ีมา กฎกระทรวงฉบบั ท่ี 55 (พ.ศ. 2543) ในกฎหมายอาคาร อาษา, 2548: หนา้ 3–210 ) ดรู ายละเอียดเพิ่มเติมจากกฎกระทรวงฉบบั ที่ 55 (พ.ศ. 2543) ข้อ 21 ในกฎหมายอาคาร อาษา, 2548 หน้า 3–207 ถึง 3–215 4.1.9 บรเิ วณทางเดนิ และบรเิ วณพื้นทตี่ ดิ กับโถงทางเข้า–ออก ปราศจากสงิ่ กดี ขวาง หากมสี ิง่ ของหรอื อปุ กรณก์ ดี ขวางบริเวณทางเดนิ และโถงทางเข้า–ออก อาจทําให้เกดิ อบุ ตั ิเหตุทง้ั ในภาวะปกติและ ในกรณีฉกุ เฉนิ ได้ เพราะบริเวณดงั กลา่ วเป็นส่วนเสน้ ทางสญั จรหลกั ซึง่ มีการใชง้ านอยูต่ ลอดเวลา 4.1.10 บริเวณเส้นทางเดินสู่ทางออก ไม่ผ่านส่วนอันตราย หรือผ่านครุภัณฑ์ต่างๆ ที่มีความเส่ียงอันตราย เช่น ตู้เก็บ สารเคม,ี ตดู้ ูดควนั เปน็ ตน้ ครภุ ัณฑ์ต่างๆ ท่เี ส่ียงอันตรายและสามารถเกิดอคั คภี ัย เชน่ ตเู้ กบ็ สารเคมี หรือ ตู้ดดู ควนั มโี อกาสทจ่ี ะเกดิ อุบัตเิ หตุ ได้ง่ายกว่าครุภัณฑ์ประเภทอื่นๆ และเมื่อเกิดเหตุแล้วหากต้ังอยู่ในบริเวณทางสัญจรหลักจะทําให้กีดขวางเส้นทางเดินท่ีใช้ในกรณี ฉกุ เฉนิ ได้ 4.1.11 ทางสัญจรสู่หอ้ งปฏิบตั ิการแยกออกจากทางสาธารณะหลกั ของอาคาร เนื่องจากห้องปฏิบัติการจําเป็นต้องควบคุมการเข้าถึงจากบุคคลภายนอกท่ัวไป และเป็นห้องท่ีมีโอกาสเกิด อุบัตเิ หตุตา่ งๆ ได้ ดงั นนั้ การแยกทางสญั จรออกจากส่วนทางสาธารณะหลักของอาคารจะช่วยใหแ้ ยกผู้ใช้สอยอาคารทีไ่ ม่เกยี่ วข้อง 48
ออกไปไดส้ ะดวก และทําให้พนื้ ทใี่ ชง้ านอืน่ ๆ ของอาคารมีความเสีย่ งนอ้ ยลงจากอบุ ัตเิ หตุหรือการปนเป้ือนสารเคมีที่อาจเกิดขึ้นได้ เป็นต้น 4.1.12 มีการแสดงขอ้ มลู ท่ตี งั้ และสถาปัตยกรรมท่ีส่อื สารถงึ การเคล่อื นท่ีและลกั ษณะทางเดนิ ได้แก่ ผงั พ้ืน แสดงตาํ แหน่ง และเส้นทางหนีไฟและตําแหน่งท่ีตั้งอุปกรณ์ฉุกเฉิน (ฝักบัวฉุกเฉิน ท่ีล้างตา อ่างนํ้า อุปกรณ์ดับเพลิง ชุดปฐมพยาบาลโทรศัพท์ เป็นตน้ ) การกาํ หนดแบบผงั พ้ืน (Floor plan) ของอาคารแตล่ ะชน้ั ใหใ้ ชต้ ามมาตรฐานดังตอ่ ไปนี้ 1) ตามกฎกระทรวงฉบับท่ี 47 (พ.ศ. 2540) 2) ตามกฎกระทรวงกําหนดเง่ือนไขในการใช้ การเก็บรักษาและการมีไว้ครอบครอง ซ่ึงสิ่งที่ทําให้เกิดอัคคีภัยได้ง่าย และกจิ การอันอาจทาํ ให้เกดิ อัคคภี ัยไดง้ า่ ยและการจดั การใหม้ บี ุคคลและสง่ิ จําเป็นในการป้องกนั และระงับอคั คีภยั พ.ศ. 2548 3) ตามคู่มือเทคนิคการตรวจสอบอาคารเพ่ือความปลอดภัย (สําหรับการตรวจสอบอาคารตามกฎหมาย) โดย วศิ วกรรมสถานแหง่ ประเทศไทย (วสท.) (ดูรายละเอียดในข้อ 4.1.10 ภาคผนวก 4) 4.2 งานสถาปตั ยกรรมภายใน: ครภุ ณั ฑ์ เฟอรน์ ิเจอร์ เครอ่ื งมือและอปุ กรณ์ 4.2.1. มีการควบคุมการเขา้ ถงึ หรือมอี ุปกรณค์ วบคมุ การปดิ -เปิด ครภุ ัณฑ์ เฟอร์นิเจอร์ เครื่องมอื และอุปกรณ์ โดยการควบคุมสามารถครอบคลุมถึง การมีข้อปฏิบัติก่อนเข้าใช้งานท่ีถูกต้องและเหมาะสม เช่น ตู้เก็บสารเคมีท่ีใช้ เก็บสารเคมีทีต่ อ้ งควบคุมพเิ ศษ ตอ้ งมีกญุ แจลอ็ คและตอ้ งไดร้ บั อนุญาตกอ่ นใช้ (องคป์ ระกอบ 2.2.1 ขอ้ 6) เป็นต้น 4.2.2 ครุภัณฑ์ เฟอรน์ ิเจอร์ เคร่ืองมือและอุปกรณ์ทส่ี ูงกว่า 1.20 เมตร มีตัวยึดหรอื มฐี านรองรับท่แี ขง็ แรง สว่ นช้ันเก็บ ของ หรือตลู้ อย มกี ารยึดเข้ากบั โครงสร้างหรือผนงั อย่างแน่นหนาและมั่นคง 1) ฐานท่ีรองรับควรได้มาตรฐาน (ตรวจสอบกับตัวแทนหรือผู้จําหน่ายครุภัณฑ์ เฟอร์นิเจอร์ เคร่ืองมือและอุปกรณ์ เหล่านั้น) ไม่ควรใชค้ รภุ ัณฑ์สํานักงาน เชน่ โตะ๊ เรยี น โตะ๊ ทํางาน หรือเก้าอ้ีทํางาน รองรบั อุปกรณ์ที่มนี ํ้าหนักมากๆ เน่อื งจากอาจ เกดิ อุบัตเิ หตุได้ เพราะเฟอรน์ ิเจอร์เหล่านี้มไิ ดถ้ ูกออกแบบมาเพอ่ื ใช้งานในลกั ษณะดงั กลา่ ว 2) การต่อเตมิ ช้ันเก็บของ ตูล้ อย ชนั้ เกบ็ อุปกรณเ์ ครอื่ งแก้ว ชนั้ สาํ หรับวางหรือทต่ี ากเคร่อื งแก้วเหลา่ น้ี ควรมีลกั ษณะ ที่แข็งแรง ได้มาตรฐานมกี ารตรวจสอบดา้ นความแข็งแรงและการรับนํ้าหนัก (ตรวจสอบเบ้อื งต้นกับวศิ วกร หรอื สถาปนกิ หรือกับ ตัวแทนหรือผู้จาํ หนา่ ยครภุ ณั ฑ์ เฟอรน์ ิเจอร์ เครอ่ื งมือและอุปกรณเ์ หลา่ น้นั ) ไม่ควรต่อเตมิ เอง หรอื นาํ สง่ิ ของตา่ งๆ มาประยกุ ต์ใช้ เพื่อเป็นช้ันเก็บของ ตู้ลอย ชั้นเก็บอุปกรณ์เครื่องแก้ว เน่ืองจากอาจเกิดอุบัติเหตุได้ หากมีการก่อสร้างและติดตั้งที่ไม่ถูกต้อง เหมาะสม 4.2.3 ครุภัณฑ์ เฟอร์นิเจอร์ เคร่ืองมือและอุปกรณ์ ควรมีความเหมาะสมกับขนาดและสัดส่วนร่างกายของผู้ปฏิบัติงาน การกําหนดรายละเอียดต่างๆ ไม่มีข้อกําหนดตามกฎหมายมีเพียงข้อแนะนําและข้อพิจารณาต่างๆ เพ่ือตรวจสอบ ขนาดและระยะรวมถึงรายละเอียดต่างๆ ของครุภัณฑ์ เฟอร์นิเจอร์ เคร่ืองมือและอุปกรณ์ ที่ใช้งานในห้องปฏิบัติการว่ามีความ เหมาะสมกับขนาดและสัดส่วนร่างกายของผูป้ ฏิบตั ิการตามหลักการยศาสตร์ (ergonomics) ซ่ึงไม่ก่อให้เกิดหรือมีแนวโน้มทอ่ี าจ เกดิ อบุ ตั เิ หตุหรืออนั ตรายต่อผ้ใู ชง้ าน (ดรู ายละเอียดเพิ่มเตมิ ในข้อ 4.2.1 ภาคผนวก 4) 4.2.4 กาํ หนดระยะห่างระหวา่ งโตะ๊ ปฏิบตั กิ ารและตาํ แหนง่ โตะ๊ ปฏบิ ัตกิ ารอย่างเหมาะสม ดูรายละเอียดในข้อ 4.1.7 ภาคผนวก 4 หรือ ดูรายละเอียดจากเรื่อง Building: general principles หัวข้อ Facilities: building and equipment ใน GLP handbook หนา้ 18–19 4.2.5 มีอา่ งน้ําตั้งอยใู่ นหอ้ งปฏิบตั กิ ารและมีอยา่ งน้อย 1 ตาํ แหนง่ ควรตัง้ อย่ใู กล้บริเวณทางออกห้องปฏิบัติการ เนื่องจากเป็นตาํ แหนง่ ที่สามารถจดจําไดง้ า่ ย และเข้าถงึ ได้สะดวกใน กรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน เช่น สารเคมีหก หรือเกิดไฟไหม้ และใช้ทําความสะอาดร่างกายก่อนเข้า–ออกจากห้องปฏิบัติการ เพื่อ สุขอนามัยทดี่ แี ละลดการปนเปอื้ นทางสารเคมีจากภายในหอ้ งปฏิบัติการสู่ภายนอก 4.2.6 ครุภัณฑ์ต่างๆ เช่น ตู้ดูดควัน ตู้ลามินาโฟล์ว อยู่ในสภาพที่ยังสามารถใช้งานได้ดี และมีการดูแลบํารุงรักษาอย่าง สมํ่าเสมอ 49
ควรมีการตรวจลักษณะการทํางานของอุปกรณ์เหล่าน้ีอย่างสมํ่าเสมอ โดยตรวจสอบสภาพการทํางานของระบบ การดูดอากาศ การระบายอากาศ ความเข้มของรังสีอลั ตราไวโอเลต และการทาํ งานของชอ่ งเปิด (sash) ดา้ นหน้า โดยอ้างอิงจาก คมู่ อื การใชง้ านของอปุ กรณ์น้นั ๆ การดูแลและบํารุงรักษาอย่างสม่ําเสมอ หมายถึง มีการดูแลและบํารุงรักษาตามเกณฑ์ของ OSHA laboratory standard, GLP handbook ของ WHO และ OECD series on GLP and compliance monitoring ในบทที่ 2 เร่ือง Good laboratory practice training หัวข้อ Building and equipment หัวข้อย่อย equipment (ดูรายละเอียดในข้อ 4.2.2 ภาคผนวก 4) และควรมีการดูแลรักษา ตรวจสอบสภาพการใช้งานอย่างละเอียด ดําเนินการซ่อมแซมส่วนท่ีเสียหายให้อยู่ในสภาพ พร้อมใชง้ าน อย่างนอ้ ยปลี ะ 1 คร้ัง 4.3 งานวิศวกรรมโครงสร้าง 4.3.1 ไม่มีการชํารุดเสียหายบริเวณโครงสร้าง ไม่มีรอยแตกร้าวตามเสา - คานมีสภาพภายนอกและภายใน ห้องปฏิบัติการที่ไม่ก่อให้เกิดอันตราย (สภาพภายนอก ได้แก่ สภาพบริเวณโดยรอบหรืออาคารข้างเคียงและสภาพภายในตัว อาคารทอี่ ยู่ตดิ กับห้องปฏบิ ัตกิ าร) ดรู ายละเอยี ดจากขอ้ 4.3 งานวศิ วกรรมโครงสรา้ ง ขอ้ ย่อยท่ี 4.3.2 4.3.2 โครงสร้างอาคารสามารถรองรับน้ําหนักบรรทุกของอาคาร (น้ําหนักของผู้ใช้อาคาร อุปกรณ์และเคร่ืองมือ) ได้ การตรวจสอบโครงสร้างอาคารทางด้านความมั่นคงแข็งแรง จากคู่มือเทคนิคการตรวจสอบอาคาร เพื่อความ ปลอดภัย (สําหรับการตรวจสอบอาคารตามกฎหมาย) โดยวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย (วสท.) ได้มีข้อแนะนําเกี่ยวกับการ ตรวจสอบภาคสนาม ไว้ดังนี้ การตรวจอาคารตามกฎหมายตรวจสอบอาคารเป็นเพียงการตรวจเบ้อื งตน้ โดยมีแนวทางการสํารวจ เบ้ืองตน้ แสดงดังรปู ที่ 4.1 สงิ่ ทคี่ วรสาํ รวจตรวจสอบ รปู ทรง ชนิ้ ส่วนโครงสร้าง กายภาพ ที่เสยี รูป สาํ รวจเบือ้ งตน้ (ตรวจสอบขน้ั พืน้ ฐาน) การเสยี รูปของอาคาร ความเสอ่ื มสภาพ ของวัสดุ การแตกร้าว รปู ที่ 4.1 แนวทางการตรวจสอบอาคารในภาคสนามเบ้อื งตน้ (ที่มา คมู่ ือเทคนคิ การตรวจสอบอาคาร เพอ่ื ความปลอดภยั , 2551: หนา้ 333) สว่ นรายละเอียดการตรวจสอบสภาพความเสียหายของโครงสร้าง ให้ดูรายละเอียดเพิม่ เติมในข้อ 4.3.1 ภาคผนวก 4 4.3.3 โครงสร้างอาคารมีความสามารถในการกันไฟและทนไฟ รวมถึงรองรับเหตุฉุกเฉินได้ (มีความสามารถในการ ตา้ นทานความเสยี หายของอาคารเมอื่ เกดิ เหตุฉุกเฉินในชว่ งเวลาหนึ่งท่สี ามารถอพยพคนออกจากอาคารได)้ ให้ใช้ตามมาตรฐานการป้องกันอัคคีภัย วสท. 3002–51 ในภาคที่ 2 หมวดที่ 3 เรื่องมาตรฐานโครงสร้างของ อาคารเพ่ือปอ้ งกันอัคคีภัย (ดูรายละเอยี ดในข้อ 4.3.2 ภาคผนวก 4) 4.3.4 มกี ารตรวจสอบสภาพของโครงสรา้ งอาคารอยเู่ ปน็ ประจาํ มกี ารดูแลและบาํ รุงรกั ษาอยา่ งน้อยปลี ะครง้ั ควรมีการดูแลรักษา ตรวจสอบสภาพการใช้งาน ดําเนินการซ่อมแซมส่วนที่เสียหายให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน อย่างน้อยปีละครัง้ ตามคู่มือเทคนิคการตรวจสอบอาคารเพื่อความปลอดภยั (สาํ หรับการตรวจสอบอาคารตามกฎหมาย) ภาคที่ 4 การตรวจสอบด้านความม่นั คงแขง็ แรงของอาคาร (ดรู ายละเอียดในข้อ 4.3.3 ภาคผนวก 4) 50
4.4 งานวิศวกรรมไฟฟ้า 4.4.1 มีปริมาณแสงสวา่ งพอเพยี งมคี ณุ ภาพเหมาะสมกับการทาํ งาน 1) ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 39 (พ.ศ. 2537) ได้มีการกําหนดปริมาณความเข้มของแสง สําหรับสถานท่ี หรือ กระบวนการใช้งานตา่ งๆ ดงั น้ี ความเข้มแสง (หนว่ ยเปน็ Lux) สาํ หรบั สถานที่ หรือประเภทการใชง้ านต่างๆ กาํ หนดในกฎกระทรวงมหาดไทย ฉบับ ท่ี 39 พ.ศ. 2537 กาํ หนด ดังตารางที่ 4.4 ตารางที่ 4.4 ความเขม้ ของแสงตามกฎกระทรวงฉบบั ท่ี 39 พ.ศ. 2537 ลาํ ดับ สถานท่ี หนว่ ยความเข้มของ (ประเภทการใช้) แสงสว่าง (Lux) 1 ชอ่ งทางเดนิ ภายใน โรงเรียน สาํ นักงาน 200 2 หอ้ งเรียน 300 3 บรเิ วณทีท่ ํางานในสํานกั งาน 300 (ทม่ี า กฎหมายอาคาร อาษา 2548 เลม่ 1, 2548: หนา้ 3–155) 2) มาตรฐานของสมาคมไฟฟ้าแสงสว่างแห่งประเทศไทย (TIEA) ได้มีการกําหนดปริมาณความเข้มของแสง สําหรับ สถานที่ ซ่ึงมลี กั ษณะใกล้เคยี งกับหอ้ งปฏิบัติการไว้ตามทปี่ รากฏในตารางท่ี 4.5 ตารางท่ี 4.5 ข้อแนะนําระดบั ความสอ่ งสว่าง (Illuminance) สาํ หรับพน้ื ทท่ี ํางานและกิจกรรมต่างๆ ภายในอาคารตาม TIEA– GD 003 ของสมาคมไฟฟ้าแสงสว่างแห่งประเทศไทย (TIEA) ประเภทของพ้ืนทแ่ี ละกจิ กรรม หน่วยความเข้มของแสงสว่าง (Lux) UGRL11 Ra12 (นาท)ี อาคารสถาบันการศกึ ษา โรงเรยี น 300 19 80 1 พ้ืนท่สี ําหรบั การเรียนการศกึ ษาท่วั ๆ ไป 500 19 80 2 ห้องบรรยาย 500 19 80 3 พ้ืนทีโ่ ต๊ะสาธติ งาน (ทมี่ า ขอ้ แนะนาํ ระดับความส่องสวา่ งภายในอาคารของประเทศไทย TIEA–GD 003: 2003, 2546: หนา้ 18) 3) แสงประดิษฐ์ในท่ีนี้ได้แก่ ดวงโคมและหลอดไฟ ควรเลือกรูปแบบท่ีเหมาะสมกับการทํางาน ไม่ดัดแปลงหรือต่อ เติมดวงโคมเอง หรือติดตั้งหลอดไฟท่ีไม่ได้มาตรฐาน เช่น การติดตั้งหลอดไฟแบบชั่วคราว (หลอดไฟเปลือย หลอดไฟที่สามารถ เคลื่อนย้ายไปมา หรือหลอดไฟท่ีใช้เทปยึดตัวหลอดไว้ชั่วคราว เป็นต้น) แหล่งกําเนิดแสงควรส่องสว่างโดยตรงลงบนพ้ืนท่ีทํางาน โดยไม่ถกู บดบังหรือเกิดเงาของวตั ถหุ รืออุปกรณใ์ ดๆ ทอดลงบนพื้นที่ทาํ งาน หรือโตะ๊ ปฏิบตั กิ าร 4.4.2. ออกแบบระบบไฟฟา้ กําลงั ของหอ้ งปฏบิ ัติการใหม้ ปี รมิ าณกาํ ลงั ไฟฟ้าพอเพียงต่อการใช้งาน ปรมิ าณกาํ ลังไฟพอเพียงตอ่ การใช้งาน หมายถึง เมื่อมีการใชง้ านอุปกรณต์ า่ งๆ ที่ใชก้ าํ ลงั ไฟฟ้าในปริมาณท่ีมาก พร้อมๆ กนั แล้วไม่กอ่ ใหเ้ กดิ ไฟดบั หรือการตดั ไฟของเบรคเกอร์ เป็นตน้ 4.4.3 ใชอ้ ปุ กรณ์สายไฟฟ้า เต้ารับ เตา้ เสยี บ ทไี่ ด้มาตรฐานและมีการติดต้ังแหลง่ จ่ายกระแสไฟฟา้ ในบรเิ วณที่เหมาะสม 11 UGRL (Unified Glare Rating System) เป็นเกณฑ์มาตรฐานสากล ในการประเมินแสงบาดตา ของการให้แสงสว่างภายในอาคาร โดยมีสเกลค่าของ UGR คือ 13 16 19 22 25 และ 28 ซ่ึงหากค่า UGR เป็น 13 หมายความว่า มีแสงบาดตาน้อย ส่วนหากมีค่า 28 แสดงว่ามีแสงบาดตามาก โดยในการใช้งานแต่ละกิจกรรม ผู้ออกแบบควรอา้ งอิงเกณฑ์ ตามข้อแนะนําระดบั ความส่องสว่าง (Illuminance) และค่า UGR สูงสดุ ของแตล่ ะกจิ กรรมตามมาตรฐาน TIEA-GD 003 12 Raค่าดัชนีความถูกต้องของสี (Color Rendering Index, CRI หรือ Ra) เป็นค่าท่ีบอกว่าแสงที่ส่องไปถูกวัตถุ ทําให้เห็นสีของวัตถุได้ถูกต้องมากน้อยเพียงใด ค่า Ra ไม่มีหน่วย มีค่าต้ังแต่ 0–100 โดยกําหนดให้แสงอาทิตย์กลางวัน เป็นดัชนีอ้างอิงเปรียบเทียบ ท่ีมีค่า Ra = 100 เพราะแสงอาทิตย์กลางวันประกอบด้วย สเปกตรัมครบทุกสี เม่ือใช้แสงน้ีส่องวัตถุ แล้วสีของวัตถุที่เห็นจะไม่มีความเพ้ียนของสี แต่หากเลือกหลอดที่มีค่า Ra ต่ํา ก็จะทําให้เห็นสีเพี้ยนไปได้ การเลือก หลอดไฟแต่ละกจิ กรรมจะมขี ้อแนะนําว่าควรเลอื กหลอดที่ให้ความถูกต้องของสไี มน่ ้อยกว่าคา่ ท่ีแนะนําไว้ในมาตรฐาน TIEA-GD 003 51
1) ในมาตรฐานการติดต้ังทางไฟฟ้าสําหรับประเทศไทย วสท. 2001–51 บทที่ 2 มาตรฐานสายไฟฟ้า และบริภัณฑ์ ไฟฟ้า ได้กําหนดรายละเอียดของอุปกรณ์ต่างๆ ไว้ดังนี้ บริภัณฑ์และสายไฟฟ้าทุกชนิด ต้องมีสมบัติเป็นไปตามมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) ฉบับล่าสุด หรือมาตรฐานที่การไฟฟ้าฯ ยอมรับ เช่น มาตรฐาน วสท. หรือเป็นชนิดท่ีได้รับความ เหน็ ชอบจากการไฟฟ้าฯ กอ่ น ดูรายละเอียดเพ่ิมเติมจากบทท่ี 2 มาตรฐานสายไฟฟา้ และบรภิ ณั ฑไ์ ฟฟ้า หนา้ 2–1 ถงึ 2–7 ในมาตรฐานการติดตั้ง ทางไฟฟ้าสําหรับประเทศไทย 2545 วสท. 2001–51 และมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) ของอุปกรณ์ไฟฟ้า ท่ี www.tisi.go.th และแนวปฏิบัติในการเดินสายและติดต้ังอุปกรณ์ไฟฟ้า บทที่ 2 มาตรฐานของเคร่ืองอุปกรณ์และสายไฟฟ้าท่ี www.pea.co.th ของการไฟฟ้าสว่ นภมู ภิ าค 2) สายไฟถูกยึดอยู่กับพ้ืนผนังหรือเพดาน ไม่ควรมีสายไฟท่ีอยู่ในสภาพการเดินสายไม่เรียบร้อย เช่น บางส่วนหรือ ทั้งหมดของสายไฟมิได้มีการยึดติดให้มั่นคงแข็งแรง หรือยึดติดแบบไม่ได้มาตรฐาน เช่น การใช้เทปกาวในการยึดติด เป็นต้น เน่อื งจากอาจก่อให้เกิดอบุ ัตเิ หตุได้ง่ายและมคี วามเสีย่ งอนั ตรายสงู การติดต้ังสายไฟให้เป็นไปตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสําหรับประเทศไทย 2545 วสท. 2001–51 และ มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) ของอุปกรณ์ไฟฟ้า ท่ี www.tisi.go.th และแนวปฏิบัติในการเดินสายและติดตั้งอุปกรณ์ ไฟฟา้ บทที่ 2 มาตรฐานของเครอื่ งอปุ กรณ์และสายไฟฟ้าท่ี www.pea.co.th ของการไฟฟ้าสว่ นภูมิภาค 3) ไม่มีสายไฟชํารดุ หรือสายเปลอื ย สายไฟชํารุดหรือสายเปลอื ยรวมถึงสายไฟที่มิได้มีการใช้งานแล้ว มีความเสี่ยงสงู ในการก่อให้เกิดความอันตรายและอุบัติเหตุภายในห้องปฏิบัติการ เช่น การเกิดอัคคีภัยเนื่องจากกระแสไฟฟ้าลัดวงจรจาก สายไฟฟ้าเก่าชํารุด เป็นต้น ดังนั้นถ้าหากไม่มีการใช้งานของสายไฟดังกล่าวควรดําเนินการรื้อถอนหรือดําเนินการติดตั้งใหม่ให้ ถูกต้องตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสําหรับประเทศไทย 2545 วสท. 2001–51 และมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) ของอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ www.tisi.go.th และแนวปฏิบัติในการเดินสายและติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้า บทที่ 2 มาตรฐานของ เครอื่ งอปุ กรณแ์ ละสายไฟฟา้ ท่ี www.pea.co.th ของการไฟฟา้ ส่วนภมู ิภาค 4) แหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้าติดต้ังในบริเวณท่ีเหมาะสม หมายถึง ตําแหน่งและระดับความสูงท่ีเหมาะสมกับ ประเภทการใชง้ าน โดยปกตแิ ลว้ การตดิ ตง้ั แหล่งจ่ายกระแสไฟฟา้ นิยมตดิ ตัง้ ใน 2 รปู แบบ คือ การตดิ ต้งั ทร่ี ะดับพนื้ ห้อง และการติดตง้ั ทีร่ ะดับเหนอื โต๊ะปฏบิ ตั กิ าร (ดูรายละเอียดเพิม่ เติมในข้อ 4.4.1 ภาคผนวก 4) 5) ส่วนรูปแบบและประเภทของแหล่งจา่ ยกระแสไฟฟ้าควรเป็นไปตามมาตรฐานการติดต้ังทางไฟฟ้าสําหรับประเทศ ไทย 2545 วสท. 2001–51 และมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) ของอุปกรณ์ไฟฟ้า ท่ี www.tisi.go.th และแนวปฏิบตั ิ ในการเดินสายและติดต้ังอุปกรณ์ไฟฟ้า บทท่ี 2 มาตรฐานของเครื่องอุปกรณ์และสายไฟฟ้าที่ www.pea.co.th ของการไฟฟ้า ส่วนภมู ิภาค 4.4.4 ต่อสายดิน 1) สําหรับครุภัณฑ์และอุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการบางประเภทจําเป็นต้องมีการต่อสายดินเพื่อความปลอดภัยในการ ใช้งานอุปกรณ์ดังกล่าว ลดโอกาสและความเส่ียงในการเกิดอุบัติเหตุ รวมท้ังควรมีการต่อสายดินสําหรับแหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้า และอปุ กรณไ์ ฟฟ้าอน่ื ๆ 2) การต่อสายดินให้เป็นไปตามมาตรฐานการติดต้ังทางไฟฟ้าสําหรับประเทศไทย 2545 วสท. 2001–51 และ มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) ของอุปกรณไ์ ฟฟ้า ที่ www.tisi.go.th และแนวปฏิบัตใิ นการเดินสายและติดต้ังอุปกรณ์ ไฟฟา้ บทที่ 2 มาตรฐานของเครอ่ื งอปุ กรณแ์ ละสายไฟฟ้าที่ www.pea.co.th ของการไฟฟา้ สว่ นภูมภิ าค 4.4.5 ไม่มกี ารตอ่ สายไฟพว่ ง ในห้องปฏิบัติการไม่ควรใช้สายไฟพ่วง ในกรณที ีจ่ าํ เป็นการต่อสายพ่วงไม่ควรนานเกินกวา่ 8 ชวั่ โมง มฉิ ะน้ันจะถือ วา่ เป็นการใช้งานแบบกึ่งถาวร ซึง่ อาจก่อให้เกดิ อบุ ัติเหตุไดง้ ่ายและมคี วามเสีย่ งอนั ตรายสงู 4.4.6 มีระบบควบคุมไฟฟา้ ของหอ้ งปฏบิ ัติการแตล่ ะหอ้ ง 1) มีระบบควบคุมไฟฟ้าของห้องปฏิบัติการแต่ละห้อง สามารถเข้าถึงเพื่อการซ่อมบํารุงและตรวจสภาพได้ง่ายและ รวดเรว็ เพื่อความปลอดภัยและลดความเส่ียงและโอกาสในการเกิดอบุ ัตเิ หตุภายในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ 2) สามารถควบคุมความปลอดภัยและอันตรายที่อาจเกิดขึ้นของแต่ละส่วนพื้นท่ี แยกการควบคุมระบบไฟฟ้าออก จากกันอย่างชัดเจน ไม่ส่งผลกระทบต่อระบบไฟฟ้าโดยรวมของอาคาร หรือเกิดผลกระทบข้างเคียงต่อพื้นที่ใช้งานท่ีอยู่ในบริเวณ เดยี วกัน 52
4.4.7 มีอุปกรณต์ ัดตอนไฟฟา้ ข้ันตน้ เชน่ ฟวิ ส์ (Fuse) เครอื่ งตดั วงจร (Circuit breaker) ทีส่ ามารถใช้งานได้ 1) มีอุปกรณ์ตัดตอนไฟฟ้าขั้นต้น เช่น ฟิวส์ (fuse) เคร่ืองตัดวงจร (circuit breaker) ที่สามารถใช้งานได้ หมายถึง แต่ละห้องปฏิบัติการมีอุปกรณ์เหล่าน้ีติดต้ังอยู่ภายในห้อง สามารถเข้าถึงเพ่ือการซ่อมบํารุงและตรวจสภาพได้ง่ายและรวดเร็ว เพ่ือความปลอดภัยและลดความเสี่ยงและโอกาสในการเกิดอุบัติเหตุภายในห้องปฏิบัติการ สามารถควบคุมความปลอดภัยและ อันตรายท่ีอาจเกิดขึ้นของแต่ละส่วนพื้นที่ แยกการควบคุมระบบไฟฟ้าออกจากกันอย่างชัดเจน ไม่ส่งผลกระทบต่อระบบไฟฟ้า โดยรวมของอาคาร หรือเกดิ ผลกระทบขา้ งเคียงตอ่ พืน้ ท่ีใช้งานทีอ่ ยู่ในบริเวณเดยี วกนั 2) ในมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสําหรับประเทศไทย วสท. 2001–51 บทที่ 2 มาตรฐานสายไฟฟ้า และบริภัณฑ์ ไฟฟ้า ได้กําหนดรายละเอียดของอุปกรณ์ต่างๆ ไว้ดังน้ี บริภัณฑ์และสายไฟฟ้าทุกชนิด ต้องมีสมบัติเป็นไปตามมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) ฉบับล่าสุด หรือมาตรฐานท่ีการไฟฟ้าฯ ยอมรับ เช่น มาตรฐาน วสท. หรือเป็นชนิดที่ได้รับความ เห็นชอบจากการไฟฟ้าฯ กอ่ น ดูรายละเอยี ดเพ่ิมเติมจากบทที่ 2 มาตรฐานสายไฟฟ้า และบรภิ ณั ฑ์ไฟฟา้ หน้า 2–1 ถงึ 2–7 ในมาตรฐานการติดตั้ง ทางไฟฟ้าสําหรับประเทศไทย 2545 วสท. 2001–51 และมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) ของอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ www.tisi.go.th และแนวปฏิบัติในการเดินสายและติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้า บทท่ี 2 มาตรฐานของเครื่องอุปกรณ์และสายไฟฟ้าที่ www.pea.co.th ของการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค 4.4.8 ตดิ ตั้งระบบแสงสวา่ งฉุกเฉินในปริมาณและบรเิ วณทเี่ หมาะสม ระบบแสงสว่างฉกุ เฉนิ ให้เลอื กใช้ตามมาตรฐานตา่ งๆ ดงั น้ี 1) ตามมาตรฐานการป้องกันอัคคีภัย วสท. 3002 – 51 ภาคที่ 4 หมวดท่ี 7 ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟ ปา้ ยทางออกฉกุ เฉนิ ตามมาตรฐานการปอ้ งกนั อัคคีภยั วสท. 2004 – 51 ภาคที่ 2 ไฟฟา้ แสงสวา่ งฉุกเฉนิ 2) ตามคูม่ อื เทคนคิ การตรวจสอบอาคารเพือ่ ความปลอดภยั ภาคที่ 7 ข้อ 7.4 การตรวจสอบระบบไฟฟา้ สาํ รองฉุกเฉิน 3) ตามกฎกระทรวงฉบบั ท่ี 33 (พ.ศ. 2535) ฉบบั ที่ 39 (พ.ศ. 2537) ฉบบั ที่ 47 (พ.ศ. 2540) และฉบบั ท่ี 55 (พ.ศ. 2543) ดูรายละเอยี ดเพิ่มเตมิ ในข้อ 4.4.2 ภาคผนวก 4 4.4.9 มีระบบไฟฟ้าสาํ รองดว้ ยเคร่ืองกําเนิดไฟฟ้าในกรณีเกิดภาวะฉุกเฉิน ระบบไฟฟ้าสาํ รองด้วยเคร่อื งกําเนดิ ไฟฟ้าในกรณฉี กุ เฉนิ ให้เลือกใชต้ ามมาตรฐานต่างๆ ดังนี้ 1) ตามมาตรฐานการปอ้ งกนั อัคคภี ัย วสท. 3002 – 51 ภาคที่ 4 หมวดท่ี 6 ระบบไฟฟ้าสาํ รองฉกุ เฉิน 2) ตามมาตรฐานการปอ้ งกันอคั คีภัย วสท. 2001 – 51 ภาคที่ 12 วงจรไฟฟ้าชว่ ยชีวิต 3) ตามคู่มือเทคนคิ การตรวจสอบอาคารเพื่อความปลอดภัย ภาคที่ 7 ข้อ 7.4 การตรวจสอบระบบไฟฟ้าสาํ รองฉุกเฉิน 4) ตามกฎกระทรวงฉบบั ที่ 33 (พ.ศ. 2535) ฉบบั ที่ 39 (พ.ศ. 2537) ฉบบั ที่ 47 (พ.ศ. 2540) และฉบบั ท่ี 55 (พ.ศ. 2543) ดรู ายละเอยี ดเพิม่ เติมในข้อ 4.4.3 ภาคผนวก 4 4.4.10 ตรวจสอบระบบไฟฟา้ กําลังและไฟฟ้าแสงสวา่ ง และดแู ลและบาํ รุงรักษาอยา่ งสม่ําเสมอ ควรมีการดูแลรักษา ตรวจสอบสภาพการใช้งานอย่างละเอียด ดําเนินการซ่อมแซมส่วนที่เสียหายให้อยู่ในสภาพ พรอ้ มใช้งาน อย่างน้อยปลี ะคร้งั 53
4.5. งานวิศวกรรมสุขาภบิ าลและส่งิ แวดล้อม 4.5.1 มีระบบนํ้าดี น้ําประปาที่ใช้งานได้ดี มีการเดินท่อและวางแผนผังการเดินท่อนํ้าประปาอย่างเป็นระบบ และไม่ รว่ั ซึม 1) ระบบน้ําดี น้ําประปา ที่ใช้งานได้ดีและเหมาะสม หมายถึง มีปริมาณนํ้าใช้เพียงพอ แรงดันนํ้าในท่อและคุณภาพ ของนํ้าอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมกับการใช้งาน ไม่ทําความเสียหายแก่อุปกรณ์ ไม่มีสิ่งปนเปื้อนจากภายนอกเข้าไปในท่อจ่ายน้ําได้ รวมถงึ มปี ริมาณนํา้ สํารองตามกฎหมาย (ตามกฎกระทรวงฉบับท่ี 33 (พ.ศ. 2535) หมวด 4 ข้อ 36 – 37 กาํ หนดให้อาคารสูงและ อาคารขนาดใหญ่พเิ ศษ ต้องมีที่เกบ็ นาํ้ ใช้สาํ รองซึง่ สามารถจ่ายนํ้าในช่วั โมงการใช้นา้ํ สงู สดุ ไดไ้ มน่ ้อยกว่า 2 ชั่วโมง) 2) หากมีการติดต้งั ระบบน้ําร้อน ไอนาํ้ (steam) หรอื ระบบนํ้ากลน่ั นา้ํ บรสิ ทุ ธิ์ ต้องสามารถใชง้ านไดด้ ีและเหมาะสม มีความปลอดภัยของระบบ ได้รับการออกแบบโดยวิศวกรงานระบบสุขาภิบาลและส่ิงแวดล้อม ไม่มีการต่อเติม ดัดแปลง หรือ ติดต้ังระบบด้วยตนเอง โดยช่างท่ัวไป หรือ ผู้ท่ีมิได้มีใบประกอบวิชาชีพทางด้านวิศวกรรมงานระบบสุขาภิบาลและส่ิงแวดล้อม หากบรรจุใส่ภาชนะแล้วนํามาใช้ภายในห้องควรมีการยึดภาชนะเหล่าน้ันให้ม่ันคงแข็งแรงแน่นหนา และปลอดภัย เพ่ือหลีกเลี่ยง อุบัตเิ หตทุ ี่อาจเกดิ ขึ้น 3) มีการเดินท่อและวางแผนผังการเดินท่ออย่างเป็นระบบมีความปลอดภัยของระบบ ซ่ึงได้รับการออกแบบโดย วิศวกรงานระบบสุขาภบิ าลและสงิ่ แวดล้อม ไมม่ ีการตอ่ เติม ดัดแปลง หรือติดตงั้ ระบบดว้ ยตนเอง โดยช่างทัว่ ไป หรือ ผู้ที่มไิ ด้มใี บ ประกอบวิชาชพี ทางด้านวศิ วกรรมงานระบบสุขาภิบาลและสงิ่ แวดลอ้ ม 4) ท่อน้ําทําจากวัสดุที่เหมาะสมไม่ร่ัวซึม ไม่เป็นสนิม ข้อต่อทุกส่วนประสานกันอย่างดี ไม่มีช้ินส่วนใดๆ หลุดออก จากกัน หากชํารุดมีการดําเนินการซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพท่ีใช้งานได้ดีดังเดิม ไม่ดําเนินการซ่อมแซมเองแบบช่วั คราว เช่นใช้เทป กาวหรือเชอื กมัดชน้ิ ส่วน หรอื ขอ้ ต่อท่ีหลดุ ออกจากกนั เขา้ ดว้ ยกัน 4.5.2. แยกระบบน้ําท้ิงทั่วไปกับระบบน้ําท้ิงปนเป้ือนสารเคมีออกจากกัน และมีระบบบําบัดที่เหมาะสมก่อนออกสู่ราง ระบายนาํ้ สาธารณะ เนื่องจากการบําบัดนํ้าท้ิงทั่วไปและนํ้าท้ิงที่ปนเปื้อนสารเคมีมีวิธีการดูแลและบริหารจัดการแตกต่างกัน จึงควรมี การแยกระบบออกจากกัน โดยมีรายละเอยี ดดงั นี้ 1) ตามกฎกระทรวงฉบับท่ี 33 (พ.ศ. 2535) หมวด 3 ข้อ 31 – 35 กําหนดให้อาคารสูงและอาคารขนาดใหญ่พิเศษ ต้องมีระบบบําบัดน้ําเสียที่ไม่ก่อให้เกิดเสียง กลิ่น ฟอง กาก หรือ สิ่งอ่ืนใดที่เกิดจากการบําบัดนั้นจนถึงขนาดที่อาจก่อให้เกิด อันตรายต่อสุขภาพ ชีวิต ร่างกาย หรือทรัพย์สิน กระทบกระเทือนต่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม หรือความเดือดร้อนรําคาญ แก่ประชาชนผู้อยู่อาศยั ใกล้เคยี ง 2) คุณภาพน้ําท้ิงก่อนระบายลงสู่แหล่งรองรับนํ้าทิ้งให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการส่ิงแวดล้อม เร่ืองการ กาํ หนดมาตรฐานคณุ ภาพน้าํ ทิง้ จากอาคาร 3) กรณีแหลง่ รองรบั นํา้ ทิง้ มขี นาดไม่เพียงพอจะรองรับน้ําทงิ้ ทีจ่ ะระบายจากอาคารในชั่วโมงการใชน้ าํ้ สงู สดุ ให้มีที่ พักน้าํ ทิง้ เพอื่ รองรับนํ้าท้งิ ท่ีเกินกว่าแหลง่ รองรับน้ําท้งิ จะรบั ไดก้ ่อนจะระบายสแู่ หล่งรองรับนํา้ ทิง้ 4.5.3 ตรวจสอบระบบสขุ าภบิ าล และมีการดูแลและบํารุงรกั ษาอยา่ งสม่าํ เสมอ ท่อระบายนํ้ามีความสามารถในการระบายนํ้าออกได้โดยไม่อุดตัน ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ ชีวิต ร่างกาย หรือทรัพย์สิน หรือกระทบกระเทอื นต่อการรักษาคุณภาพสง่ิ แวดล้อม ควรมีการดูแลรักษา ตรวจสอบสภาพการใช้งานอย่างละเอียด ดําเนินการซ่อมแซมส่วนท่ีเสียหายให้อยู่ในสภาพ พรอ้ มใชง้ าน อย่างน้อยปลี ะครั้ง 4.6 งานวศิ วกรรมระบบระบายอากาศและปรบั อากาศ 4.6.1 มีระบบระบายอากาศท่ีเหมาะสมกบั การทํางานและสภาพแวดล้อมของห้องปฏบิ ตั ิการ หากมีการระบายอากาศด้วยพัดลม ให้มีการดําเนินการติดต้ังในตําแหน่งและปริมาณที่เหมาะสม โดยพัดลมที่ เลือกใช้ควรเป็นลักษณะที่ติดต้ังบนผนังหรือเพดานแบบถาวร มากกว่าจะเป็นแบบต้ังพื้นแบบช่ัวคราว ซ่ึงมีแนวโน้มในการ ก่อให้เกิดอันตรายหรือมีความเส่ียงสูงในการเกิดอุบัติเหตุ หากมีความจําเป็นต้องใช้งานพัดลมต้ังพ้ืนหรือชนิดท่ีเคลื่อนย้ายได้ควร ใช้งานในระยะเวลาเท่าที่จําเป็นเท่านั้นรวมทั้งพัดลมท่ีติดตั้งอยู่ภายในห้องสามารถใช้งานโดยไม่ก่อให้เกิดอันตรายในขณะทํางาน หรอื ไม่รบกวนการทดลองทเ่ี กดิ ขึน้ 54
หากมีการติดต้ังระบบระบายอากาศด้วยพัดลมดูดอากาศให้มีการดําเนินการติดต้ังในตําแหน่งและปริมาณท่ี เหมาะสมกบั การทํางานและสภาพแวดลอ้ มของห้องปฏิบัตกิ ารตามมาตรฐานต่างๆ ดงั น้ี 1) ตามมาตรฐานระบบปรับอากาศและระบายอากาศ วสท. 3003 - 50 2) ตามกฎกระทรวงฉบบั ท่ี 33 (พ.ศ. 2535) ฉบบั ท่ี 39 (พ.ศ. 2537) และฉบับท่ี 50 (พ.ศ. 2540) ดูรายละเอียดเพ่ิมเติมในขอ้ 4.5.1 ภาคผนวก 4 4.6.2 ตดิ ตัง้ ระบบปรับอากาศในตาํ แหนง่ และปริมาณท่เี หมาะสมกับการทาํ งานและสภาพแวดล้อมของหอ้ งปฏิบตั กิ าร หากมีการติดต้ังระบบปรับอากาศให้มีการดําเนินการติดต้ังในตําแหน่งและปริมาณที่เหมาะสมกับการทํางานและ สภาพแวดล้อมตามมาตรฐานตา่ งๆ ดังน้ี 1) ตามมาตรฐานระบบปรบั อากาศและระบายอากาศ วสท. 3003 – 50 2) ตามมาตรฐานการตรวจสอบคุณภาพอากาศภายในอาคาร ส.ว.ป.ท. 04 – 2549 3) ตามคู่มือเทคนิคการตรวจสอบอาคารเพื่อความปลอดภัย ภาคที่ 6 เทคนิคการตรวจสอบระบบสุขอนามัยและ สง่ิ แวดลอ้ ม 4) ตามประกาศคณะกรรมการส่ิงแวดล้อมแหง่ ชาติฯ เกยี่ วกับมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศในประเทศไทย ดูรายละเอยี ดเพ่มิ เตมิ ในขอ้ 4.5.2 ภาคผนวก 4 และอ่านควบคกู่ ับข้อ 4.6.1 ระบบระบายอากาศของหอ้ งปฏบิ ตั ิการ 4.6.3 ในกรณีห้องปฏิบัติการไม่มีการติดต้ังระบบปรับอากาศและระบบระบายอากาศ (ระบบธรรมชาติ) ให้ติดต้ังระบบ เคร่อื งกลเพอื่ ช่วยในการระบายอากาศในบรเิ วณทลี่ ักษณะงานกอ่ ให้เกดิ สารพิษหรือกลน่ิ ไมพ่ งึ ประสงค์ ดรู ายละเอียดเพิ่มเตมิ ในข้อ 4.5.1 ภาคผนวก 4 และอา่ นควบคู่กบั ข้อ 4.6.1 ระบบระบายอากาศของหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร 4.6.4 ตรวจสอบระบบระบายอากาศและระบบปรบั อากาศ และมีการดแู ลและบํารงุ รกั ษาอยา่ งสมา่ํ เสมอ ควรมีการดูแลรักษา ตรวจสภาพการใช้งานอย่างละเอียด ดําเนินการซ่อมแซมส่วนท่ีเสียหายให้อยู่ในสภาพพร้อม ใชง้ าน อย่างน้อยปลี ะครง้ั หรือตามทกี่ ําหนดไวใ้ นคมู่ อื การใช้งาน 4.7 งานระบบฉุกเฉนิ และระบบตดิ ตอ่ ส่ือสาร 4.7.1 มรี ะบบแจง้ เหตเุ พลิงไหมด้ ว้ ยมอื (Manual fire alarm system) ดูรายละเอยี ดใน ข้อที่ 4.7.2 และ ในคาํ อธิบายประกอบฯ 5 ระบบการป้องกันและแกไ้ ขภยั อนั ตราย 4.7.2 มีอุปกรณ์ตรวจจับเพลิงไหม้ เช่น อุปกรณ์ตรวจจับเพลิงไหม้ด้วยอุณหภูมิความร้อน (Heat detector) หรือ อปุ กรณ์ตรวจจับเพลงิ ไหมด้ ้วยควันไฟ (Smoke detector) ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ด้วยมือ (Manaual fire alarm system) อุปกรณ์ตรวจจับเพลิงไหม้ด้วยอุณหภูมิความร้อน (Heat detector) และอุปกรณ์ตรวจจบั เพลิงไหมด้ ว้ ยควันไฟ (Smoke detector) ให้เลือกใชต้ ามมาตรฐานต่างๆ ดงั นี้ 1) ตามมาตรฐานระบบแจ้งเหตเุ พลงิ ไหม้ วสท. 2002 - 49 2) ตามกฎกระทรวงฉบบั ท่ี 47 (พ.ศ. 2540) ดูรายละเอียดเพิ่มเตมิ ในขอ้ 4.6.1 ภาคผนวก 4 และ ในคาํ อธิบายประกอบฯ 5. ระบบปอ้ งกันและแกไ้ ขภัยอันตราย ขอ้ 5.2 การเตรยี มความพร้อม/ตอบโตภ้ าวะฉกุ เฉิน 4.7.3 มที างหนไี ฟและป้ายบอกทางหนีไฟตามมาตรฐาน เสน้ ทางหนไี ฟ เป็นไปตามมาตรฐานงานต่างๆ ดังนี้ 1) ตามมาตรฐานการปอ้ งกนั อัคคภี ัย วสท. 3002–51 ภาคที่ 3 มาตรฐานเส้นทางหนไี ฟ 2) ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2535) ฉบับท่ี 47 (พ.ศ. 2540) และฉบับที่ 50 (พ.ศ. 2540) ดูรายละเอยี ดเพิม่ เตมิ ในข้อ 4.6.2 ภาคผนวก 4 ปา้ ยบอกทางหนีไฟในอาคาร เปน็ ไปตามมาตรฐานงานตา่ งๆ ดังน้ี 1) ตามมาตรฐานการปอ้ งกนั อัคคีภยั วสท. 3002 – 51 ภาคท่ี 3 หมวดท่ี 7 สว่ นประกอบของเสน้ ทางหนีไฟ 2) ตามมาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟป้ายทางออกฉุกเฉิน วสท. 2004 – 51 ภาคท่ี 3 โคมไฟ ป้ายทางออกฉกุ เฉิน 55
3) ตามคู่มือเทคนิคการตรวจสอบอาคารเพ่ือความปลอดภัย ภาคที่ 7 เทคนิคการตรวจสอบระบบป้องกันและระงับ อัคคีภัย 4) ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2535) ฉบับที่ 39 (พ.ศ. 2537) ฉบบั ที่ 47 (พ.ศ. 2540) และฉบบั ที่ 55 (พ.ศ. 2543) ดูรายละเอียดเพม่ิ เติมในขอ้ 4.6.3 ภาคผนวก 4 4.7.4 มีเคร่อื งดบั เพลิงแบบเคลอื่ นท่ี เครอ่ื งดับเพลิงแบบเคล่ือนท่ี Portable fire extinguisher ในอาคารใหใ้ ชต้ ามมาตรฐานต่างๆ ดงั นี้ 1) ตามมาตรฐานการป้องกันอัคคีภัย วสท. 3002 – 51 ภาคที่ 5 มาตรฐานระบบดับเพลิง หมวดที่ 3 เคร่ืองดับเพลิง แบบเคล่ือนท่ี 2) ตามกฎกระทรวงฉบับท่ี 33 (พ.ศ. 2535) ฉบบั ท่ี 39 (พ.ศ. 2537) ฉบับที่ 47 (พ.ศ. 2540) และฉบับท่ี 55 (พ.ศ. 2543) 3) ตามคู่มือเทคนิคการตรวจสอบอาคารเพื่อความปลอดภัย ภาคท่ี 7 เทคนคิ การตรวจสอบระบบป้องกันและระงบั อคั คีภัย 4) ตามค่มู ือปอ้ งกัน – ระงับ – รับมอื อัคคภี ยั ของสาํ นักบรหิ ารระบบกายภาพ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ดรู ายละเอียดเพ่มิ เติมในขอ้ 4.6.4 ภาคผนวก 4 4.7.5 มรี ะบบดับเพลิงด้วยน้าํ ชนิดมตี สู้ ายฉดี นาํ้ ดบั เพลิง ระบบดับเพลิงด้วยนา้ํ ชนิดมีต้สู ายฉดี น้ําดับเพลิง (Fire hose cabinet) ใหใ้ ชต้ ามมาตรฐานตา่ งๆ ดังน้ี 1) ตามมาตรฐานการป้องกันอัคคีภัย วสท. 3002 – 51 ภาคที่ 5 มาตรฐานระบบดับเพลิง หมวดที่ 6 ระบบท่อยืนและ สายฉีดนา้ํ ดับเพลงิ 2) ตามคมู่ ือเทคนิคการตรวจสอบอาคารเพ่ือความปลอดภัย ภาคท่ี 7 เทคนิคการตรวจสอบระบบป้องกันและระงบั อัคคีภัย 3) ตามกฎกระทรวงฉบับท่ี 33 (พ.ศ. 2535) ฉบับที่ 39 (พ.ศ. 2537) ฉบบั ท่ี 47 (พ.ศ. 2540) และฉบับท่ี 55 (พ.ศ. 2543) ดรู ายละเอยี ดเพม่ิ เตมิ ในข้อ 4.6.5 ภาคผนวก 4 4.7.6 มรี ะบบดับเพลงิ ด้วยนํ้าชนดิ ระบบหัวกระจายนํา้ ดบั เพลงิ (ตามกฎหมายควบคุมอาคาร) หรือ เทยี บเท่า ระบบดบั เพลิงดว้ ยนํ้าชนิดระบบหัวกระจายน้ําดับเพลิง (ระบบสปริงเกลอร์) ให้ใช้ตามมาตรฐานตา่ งๆ ดังนี้ 1) ตามมาตรฐานการป้องกันอัคคีภัย วสท. 3002 – 51 ภาคที่ 5 มาตรฐานระบบดับเพลิง หมวดท่ี 7 ระบบหัวกระจาย นา้ํ ดบั เพลิง 2) ตามกฎกระทรวงฉบบั ที่ 33 (พ.ศ. 2535) ฉบับท่ี 39 (พ.ศ. 2537) ฉบบั ที่ 47 (พ.ศ. 2540) และฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) ดรู ายละเอียดเพ่มิ เตมิ ในขอ้ 4.6.6 ภาคผนวก 4 3) ในกรณีที่มีความจําเป็นหรือไม่สามารถใช้ระบบดับเพลิงด้วยนํ้าชนิดระบบหัวกระจายนํ้าดับเพลิง (ระบบสปริง เกลอร์) ให้ระบุระบบดับเพลิงแบบอ่ืนที่เทียบเท่าแทน เช่น ระบบดับเพลิงด้วยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เป็น ตน้ 4.7.7 มีระบบติดต่อส่ือสารของห้องปฏิบัติการในกรณีฉุกเฉิน เช่น โทรศัพท์สํานักงาน โทรศัพท์เคล่ือนที่ หรือระบบ อนิ เตอร์เน็ตและระบบไรส้ ายอน่ื ๆ การติดตั้งระบบโทรศัพท์สํานักงาน โทรศัพท์เคล่ือนท่ี หรือระบบอินเตอร์เน็ตและระบบไร้สายอ่ืนๆ มีเป้าหมายหลัก คือ ทําหนา้ ทเี่ ป็นระบบตดิ ตอ่ ส่อื สารพ้นื ฐานของห้องปฏบิ ตั กิ าร เพ่ือใชใ้ นการติดตอ่ ขอความชว่ ยเหลือหรือแจ้งเหตุในกรณีฉุกเฉิน ควรมีการดูแลรักษา ตรวจสอบสภาพการใช้งานอย่างละเอียด ดําเนินการซ่อมแซมส่วนท่ีเสียหายให้อยู่ในสภาพ พร้อมใช้งาน อยา่ งนอ้ ยปลี ะ 1 ครง้ั 4.7.8 ตรวจสอบระบบฉุกเฉินและระบบตดิ ตอ่ สอื่ สาร และมกี ารดูแลและบาํ รุงรกั ษาอย่างสม่ําเสมอ 1) มาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ วสท. 2002–49 มีการกําหนดรายละเอียดการตรวจสอบดูแลบํารุงรักษาไว้ ตามตารางที่ 4.6 56
ตารางท่ี 4.6 ความถ่ีในการตรวจสอบระบบปอ้ งกันอัคคภี ัย ลาํ ดับท่ี รายการ ตรวจซํ้า ประจํา ทกุ ทกุ ประจําปี ข้ันตน้ เดือน 3 เดือน ครงึ่ ปี 1 อุปกรณ์แจ้งสญั ญาณ (ก) เสยี ง (ข) ลําโพง (ค) แสง 2 แบตเตอรี่ (ก) ชนิดน้ํากรด - ทดสอบเคร่ืองประจุ - (เปลีย่ นแบตเตอรี่เม่อื จําเปน็ ) - ทดสอบการคายประจุ (30 นาท)ี - ทดสอบคา่ แรงดนั ขณะมโี หลด - ทดสอบความถว่ งจําเพาะนํา้ กรด (ข) ชนิดนเิ กลิ – แคดเมยี ม - ทดสอบเครื่องประจุ - (เปลีย่ นแบตเตอร่เี มื่อจําเปน็ ) - ทดสอบการคายประจุ (30 นาท)ี - ทดสอบค่าแรงดันขณะมีโหลด (ค) แบตเตอรแี่ ห้งปฐมภมู ิ - ทดสอบค่าแรงดนั ขณะมโี หลด (ง) ชนดิ นํ้ากรดแบบปดิ - ทดสอบเครอ่ื งประจุ (เปล่ยี นแบตเตอรี่เม่อื จําเป็น) - ทดสอบการคายประจุ (30 นาท)ี - ทดสอบคา่ แรงดนั ขณะมโี หลด 3 ตัวนํา/โลหะ 4 ตัวนาํ /อโลหะ 5 บริภัณฑ์ควบคุม: ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ชนิดมี มอนิเตอร์สําหรับสัญญาณแจ้งเหตุควบคุมและ สญั ญาณขัดข้อง (ก) การทาํ งาน (ข) ฟวิ ส์ (ค) บรภิ ณั ฑเ์ ช่อื มโยง (ง) หลอดไฟและหลอดแอลอีดี (จ) แหล่งจ่ายไฟฟ้าหลัก (ฉ) ทรานสปอนเดอร์ (Transponder) 57
ตารางที่ 4.6 ความถี่ในการตรวจสอบระบบป้องกันอัคคีภยั (ตอ่ ) ลําดบั ที่ รายการ ตรวจซํ้า ประจํา ทกุ ทุก ประจําปี ขนั้ ต้น เดือน 3 เดอื น ครึ่งปี 6 บริภัณฑ์ควบคุม: ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ชนิดไม่มี มอนิเตอร์สําหรับสัญญาณแจ้งเหตุควบคุมและ สญั ญาณขัดข้อง (ก) การทํางาน (ข) ฟวิ ส์ (ค) บริภณั ฑ์เชือ่ มโยง (ง) หลอดไฟและหลอดแอลอีดี (จ) แหล่งจ่ายไฟฟา้ หลัก (ฉ) ทรานสปอนเดอร์ (Transponder) 7 ชดุ ควบคมุ สัญญาณขดั ขอ้ ง 8 บรภิ ัณฑ์เสียงประกาศฉกุ เฉนิ 9 เคร่อื งกําเนดิ ไฟฟ้า ทกุ สัปดาห์ 10 สายใยแก้ว 11 อุปกรณเ์ ริม่ สญั ญาณ (ก) อุปกรณต์ รวจจับควันในท่อลม (ข) อปุ กรณ์ปลดล็อคทางกลไฟฟา้ (ค) สวิตซ์ระบบดบั เพลงิ (ง) อปุ กรณ์ตรวจจบั ไฟไหม้ แก๊สและอื่นๆ (จ) อุปกรณต์ รวจจบั ความร้อน (ฉ) อปุ กรณแ์ จ้งเหตุดว้ ยมอื (ช) อปุ กรณต์ รวจจับเปลวเพลิง (ญ) ตรวจการทาํ งานของอุปกรณต์ รวจจับควนั (ด) ตรวจความไวของอปุ กรณ์ตรวจจับควัน (ต) อุปกรณ์ตรวจคุมสญั ญาณ (ถ) อุปกรณต์ รวจการไหลของน้าํ (ที่มา มาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ วสท.2002-49, 2543: หนา้ ช-3 ถึง ช-5) 2) มาตรฐานการป้องกนั อัคคภี ัย วสท. 3002–51 ภาคที่ 5 หมวดที่ 10 การตรวจสอบและทดสอบอุปกรณ์ของระบบ ดับเพลงิ ได้มกี ารสรปุ วิธแี ละระยะเวลาในการตรวจสอบอปุ กรณแ์ ตล่ ะประเภทดงั ตารางท่ี 4.7 ตารางที่ 4.7 ตารางสรุปการตรวจสอบ, การทดสอบและการบํารุงรักษาวสั ดุ อปุ กรณใ์ นระบบปอ้ งกนั อคั คภี ัย อุปกรณใ์ นระบบป้องกันอคั คภี ยั วิธีการ ระยะเวลา 1. เครื่องสบู นา้ํ ดบั เพลิง - ทดสอบเดนิ เคร่ือง ทกุ สัปดาห์ - ขับด้วยเครื่องยนต์ - ทดสอบเดนิ เคร่ือง ทุกเดอื น - ขบั ด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า - ทดสอบปริมาณการสูบน้าํ และความดัน ทุกปี - เครื่องสูบน้ํา - ตรวจสอบ ทุกเดือน 2. หัวรบั นํา้ ดบั เพลิง (Fire department connections) - หัวรับนํ้าดบั เพลงิ 58
ตารางท่ี 4.7 ตารางสรปุ การตรวจสอบ, การทดสอบและการบํารงุ รักษาวสั ดุ อปุ กรณใ์ นระบบป้องกันอัคคภี ัย (ต่อ) อปุ กรณ์ในระบบป้องกันอคั คีภยั วิธีการ ระยะเวลา 3. หัวดับเพลิงนอกอาคาร (Hydrants) - ตรวจสอบ ทกุ เดือน - หวั ดับเพลงิ - ทดสอบ (เปิดและปดิ ) ทุกปี - บํารงุ รักษา ทุก 6 เดอื น 4. ถังนํ้าดับเพลิง - ระดบั นํา้ - ตรวจสอบ ทุกเดือน - สภาพถงั น้ํา - ตรวจสอบ ทกุ 6 เดอื น 5. สายฉีดนาํ้ ดบั เพลงิ และตู้เกบ็ สายฉดี - ตรวจสอบ ทุกเดือน (Hose and hose station) - สายฉดี นาํ้ และอปุ กรณ์ - ทดสอบการไหล ทุก 3 เดือน 6. ระบบหัวกระจายน้ําดับเพลิง - ทดสอบค่าความดนั ทุก 5 ปี (Sprinkler system) - ทดสอบ ทุก 50 ปี - Main drain - ทดสอบ ทกุ 3 เดือน - มาตรวดั ความดัน - ทดสอบ ทุก 3 เดือน - หวั กระจายนา้ํ ดับเพลงิ - ทดสอบ ทุก 5 ปี - สัญญาณวาล์ว - ตรวจสอบซลี วาล์ว ทกุ สัปดาห์ - สวติ ซต์ รวจการไหลของนํ้า - ตรวจสอบอปุ กรณล์ อ็ ควาล์ว ทุกเดือน - ล้างทอ่ - ตรวจสอบสวิตซ์สญั ญาณปิด-เปิดวาลว์ ทกุ 3 เดือน - วาลว์ ควบคมุ (ที่มา มาตรฐานการป้องกันอคั คภี ัย วสท. 3002–51, 2551: หนา้ 229) ส่วนระบบตดิ ต่อสอื่ สาร ควรมกี ารดูแลรกั ษา ตรวจสอบสภาพการใช้งานอย่างละเอียด ดาํ เนนิ การซ่อมแซมส่วนท่ีเสียหาย ใหอ้ ย่ใู นสภาพพรอ้ มใชง้ าน อย่างน้อยปลี ะคร้ัง 4.7.9 แสดงป้ายข้อมูลที่เป็นตัวอักษร เช่น ช่ือห้องปฏิบัติการ ผู้ดูแลห้องปฏิบัติการ และข้อมูลจําเพาะอ่ืนๆ ของ ห้องปฏบิ ตั ิการ รวมถงึ สญั ลักษณ์หรอื เครือ่ งหมายสากลแสดงถึงอันตราย หรือเคร่ืองหมายที่เก่ยี วข้องตามท่ีกฎหมายกาํ หนด ดูรายละเอยี ดจากขอ้ 4.1.12 59
คําอธิบายประกอบการกรอก checklist 5. ระบบการปอ้ งกนั และแก้ไขภยั อนั ตราย การจัดการด้านความปลอดภัยเป็นหัวใจของการสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย ท่ีมีลําดับความคิดต้ังต้นจากการ กําหนดได้ว่าอะไรคือปัจจัยเสี่ยง ผู้ปฏิบัติงานต้องรู้ว่าใช้สารใด คนอ่ืนในท่ีเดียวกันกําลังทําอะไรท่ีเส่ียงอยู่หรือไม่ ปัจจัยเส่ียง ดา้ นกายภาพคืออะไร มกี ารประเมนิ ความเส่ียงหรือไม่ จากน้ันจงึ มกี ารบริหารความเส่ียงด้วยการป้องกัน หรือการลดความเสี่ยง รวมทง้ั การสื่อสารความเสี่ยงท่ีเหมาะสม คาํ ถามในรายการสํารวจ จะช่วยกระตนุ้ ความคิดได้อย่างละเอียด สรา้ งความตระหนักรู้ ไปในตัว รายงานความเสี่ยงจะเป็นประโยชน์ในการบริหารงบประมาณ เพราะสามารถจัดการได้บนฐานของข้อมูลจริง ความ พร้อมและการตอบโตภ้ าวะฉกุ เฉนิ อยู่ภายใต้หัวขอ้ การจัดการดา้ นความปลอดภัยเพื่อเป็นมาตรการปอ้ งกนั เชน่ การมีผงั พ้ืนทใี่ ช้ สอย ทางออก อุปกรณ์เครื่องมือสําหรับเหตุฉุกเฉิน รวมท้ังการมีแผนป้องกันและตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ซ่ึงหมายถึงการจัดการ เบ้ืองต้นและการแจ้งเหตุ ข้อปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยโดยท่ัวไปเป็นการกําหนดความปลอดภัยส่วนบุคคล และระเบียบปฏิบัติ ข้ันตํ่าของแตล่ ะหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร 5.1 การบริหารความเสี่ยง (Risk management) เป็นเคร่ืองมือสําคัญในการบริหารจัดการเพื่อลดความเสี่ยงท่ีอาจเกิดขึ้น ได้ในการทําปฏิบัติการ หัวใจสําคัญของกระบวนการบริหารความเส่ียง (Risk Management Process) เป็นหลักท่ีเชื่อมโยง ประสานกันแบบครบวงจร ผู้ท่ีจะเร่ิมทําการบริหารความเส่ียงต้องเข้าใจแนวคิดและหลักการของการบริหารความเสี่ยงให้ชัดเจน ในทกุ ประเด็น ซ่งึ ประกอบด้วย 5 กระบวนการ ได้แก่ 1) การระบอุ นั ตราย (Hazard identification) 2) การประเมินความเส่ียง (Risk assessment) 3) การจัดการความเส่ียง (Risk treatment) 4) การรายงานการบริหารความเสยี่ ง 5) การใชป้ ระโยชน์จากรายงานการบริหารความเสี่ยง การระบุอันตราย การประเมินความเส่ยี ง การจัดการความเส่ียง การรายงานการบริหารความเสยี่ ง การใชป้ ระโยชน์จาก รายงานการบรหิ ารความเสยี่ ง 5.1.1 การระบุอันตราย (Hazard identification) การระบุอันตราย หมายถึง การระบุความเป็นอันตรายของวัตถุหรือสถานการณ์ท่ีเมื่อเกิดขึ้นแล้วอาจเป็นอันตรายได้ นอกจากน้ี ในปัจจุบันยังได้ปรับเอากลวิธีด้าน “การระบุความเส่ียง” มาใช้เป็นอีกแนวทางสําหรับการบริหารความเสี่ยงได้ เช่นเดยี วกนั โดยการระบุความเสย่ี งคือ การระบอุ นั ตรายท่เี กดิ ข้ึนในชว่ งเวลาหนงึ่ ๆ ยกตัวอย่างเช่น ตัวทําละลายคลอโรฟอร์ม สามารถระบุอันตรายได้ดังนี้ มีความเป็นอันตรายอยู่ในประเภทที่ 6 สารพิษ (UN Class/UN No. 1888) เมื่อสัมผัสโดยการหายใจ ไอคลอโรฟอร์มจะทําให้เกิดความระคายเคืองต่อระบบหายใจและระบบ 60
ประสาทส่วนกลาง เมื่อสัมผัสทางผิวหนังจะทําให้เกิดความระคายเคืองผิวหนังและอาจมีอาการเจ็บปวด เมื่อสัมผัสโดยการ รับประทานจะทําให้เกิดแผลไหม้บริเวณปาก ลําคอ มีอาการเจ็บหน้าอกและอาเจียน เม่ือสัมผัสทางตาจะทําให้ตาระคายเคือง และปวด หากรุนแรงอาจทาํ ให้ตาบอดได้ เปน็ ตน้ เมื่อต้องการ ระบคุ วามเสี่ยง ต้องอาศยั ข้อมลู ช่วงเวลาเขา้ มาพิจารณาร่วมกับความเปน็ อันตรายดว้ ย ยกตัวอยา่ งเชน่ ไอ ระเหยของคลอโรฟอร์มข้างต้น ค่า PEL-TWA (permissible exposure limit – time weighted average) เท่ากับ 2 พีพีเอ็ม กล่าวคือ การสูดดมไอคลอโรฟอร์ม ท่ีมีความเข้มข้นประมาณ 2 พีพีเอ็ม มากกว่า 8 ช่ัวโมงต่อวัน สามารถก่อให้เกิดอันตรายต่อ สุขภาพได้ตามท่ีกล่าวมาข้างต้น จนถึงเสียชีวิตได้ คลอโรฟอร์มอาจเป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์ด้วย (ดู ข้อมูลประกอบได้จาก เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS) ของคลอโรฟอร์ม CAS No. 67-66-3) ดังน้ัน ในการระบุอันตราย หรือการระบุความเสี่ยง จงึ เร่มิ จากการสํารวจความเปน็ อันตรายทเ่ี ป็นรูปธรรม จากปจั จยั ต่อไปน้ี สารเคมี/วสั ดุท่ีใช้ เชน่ ข้อมูลความเป็นอนั ตรายของสารเคม/ี วัสดทุ ใี่ ชง้ าน ตรวจสอบไดจ้ าก ฉลาก/สญั ลักษณ์ความเปน็ อนั ตรายข้างขวด และเอกสารขอ้ มูลความปลอดภัย (SDS) ของสารเคมีนนั้ ๆ เชน่ ethidium bromide (EtBr) จดั เป็นสารกอ่ กลายพนั ธุ์ เนอ่ื งจากสามารถทําให้โครงสรา้ ง DNA หรอื สารพนั ธุกรรมเปลยี่ นได้ เป็นต้น ข้ันตอนการทํางานกับสารเคมีชนิดนั้น หรือ ผลิตผลท่ีเกิดจากปฏิกิริยาของสารเคมีชนิดน้ัน ๆ เช่น การ ใช้ EtBr ต้องเจือจางเป็น working solution ได้สารละลายสีแดง ไม่มีกล่ิน ซึ่งแม้จะเจือจางแล้ว หากผู้ ทํางานสมั ผสั โดยตรงก็สามารถกอ่ ใหเ้ กดิ การกลายพันธไุ์ ด้ เปน็ ตน้ เคร่ืองมือหรืออุปกรณ์ มีการสํารวจว่าสถานภาพของเครื่องมือหรืออุปกรณ์และขั้นตอนการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ นั้น สามารถก่อให้เกิดอันตรายอย่างไรได้บ้าง เช่น เคร่ืองมือเก่าจนเป็นสนิมและมีความคมอาจบาดผิวหนังทําให้ เปน็ แผลและติดเช้อื ได้ หรอื การใชเ้ ครอื่ ง sonicator เพือ่ ทาํ ใหเ้ ซลลแ์ ตกดว้ ยคลื่นเสียงความถส่ี งู อาจเปน็ อันตราย ต่อแกว้ หูได้ เปน็ ตน้ ลักษณะทางกายภาพของห้องปฏิบัติการ มีการสํารวจอันตรายจากลักษณะทางกายภาพโดยรอบบริเวณที่ ปฏิบัติงานว่ามีอะไรท่ีจะเป็นสาเหตุให้เกิดอันตรายได้ เช่น บริเวณที่ทํางานมีการวางของกีดขวางการทํางานที่อาจ ทาํ ใหผ้ ูป้ ฏบิ ัติการเดินชนและหกล้ม หรือพืน้ ของหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารขดั เป็นมนั ทาํ ให้ผปู้ ฏบิ ตั กิ ารอาจลื่นหกลม้ ได้ เป็นต้น 5.1.2 การประเมินความเสี่ยง (Risk assessment) หัวใจของการประเมินความเสี่ยงของผู้ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการ คือการกําหนดตัวแปรที่เก่ียวข้องกับการเกิด อันตรายแล้วนํามาเช่ือมโยงกันซ่ึงนิยมใช้เป็นแบบเมทริกซ์ โดยให้มีตัวแปร 2–3 ตัว เช่น ความเป็นอันตราย (hazard) กับความ เป็นไปได้ในการรับสัมผัส (probability of exposure) หรือ ความเป็นไปได้ที่จะเกิดข้ึน (likelihood/probability) กับผลลัพธ์ที่ ตามมาด้านสุขภาพและ/หรือความปลอดภัย (health and/or safety) เป็นต้น ดังนั้นหลักการของการประเมินความเสี่ยง ไม่ เหมือนกับการประเมินความเป็นอันตราย (hazard assessment) เน่ืองจากต้องมองความสัมพันธ์ของตัวแปรที่มากกว่า 1 ตัว (ตัวอยา่ งการประเมินความเส่ียง แสดงในตารางที่ 5.1 – 5.4 ภาคผนวก 5) ในการปฏิบัติงาน ควร 1. มีการประเมินความเส่ียง ท่ีครบถว้ นครอบคลมุ ทั้ง 3 ระดับ คอื 1.1 บุคคล ผู้ปฏิบัติงาน (เช่น นักศึกษา นักวิจัยที่ทําปฏิบัติการ) ต้องสามารถประเมินความเสี่ยงของตนเองขณะ ทํางานหรืออยู่ในห้องปฏิบัติการได้ เช่น ความเส่ียงของการสัมผัสสารเคมีกับสุขภาพของตนเอง เป็นต้น ใน บางหน่วยงานจะมีการกําหนดให้ผู้ปฏิบัติงานกรอกแบบฟอร์มการประเมินความเสี่ยงของตนเอง (risk self– assessment form) และมสี าํ เนาใหก้ ับผปู้ ฏบิ ตั ิงานเพื่อจัดเกบ็ ดว้ ย 1.2 โครงการ ในกรณีที่ผู้ปฏิบัติงานหลายคนปฏิบัติงานภายใต้โครงการเดียวกัน ต้องมีการประเมินความเสี่ยง ระดับโครงการ เพ่ือให้เห็นภาพรวมของความเส่ียงที่อาจเกิดขึ้นและผลกระทบกับทุกคนท่ีปฏิบัติงาน โดยใช้ แบบฟอร์มการประเมินความเส่ียงของโครงการ (risk project–assessment form) ซึ่งอาจวิเคราะห์ได้จาก ผลการประเมินความเสย่ี งระดับบคุ คลของผปู้ ฏบิ ัตงิ านทั้งหมดในโครงการ 1.3 ห้องปฏิบัติการ การประเมินความเส่ียงในระดับห้องปฏิบัติการนี้ สามารถนําผลการประเมินความเส่ียงระดับ บุคคล หรือระดับโครงการมารวมกันเพ่ือวิเคราะห์ภาพความเส่ียงของห้องปฏิบัติการได้ แต่จะมีหัวข้อการ 61
ประเมินเพ่ิมขึ้น คือ ความเสี่ยงของกิจกรรมที่สามารถทําร่วมกันได้หรือไม่ได้ภายในห้องปฏิบัติการเดียวกัน โดยใชแ้ บบฟอร์มการประเมินความเสย่ี งของหอ้ งปฏบิ ตั ิการ (risk laboratory-assessment form) (หลกั การการประเมนิ ความเส่ียงและตวั อยา่ งแบบฟอร์มการประเมินความเสยี่ งในข้อ 5.1 ภาคผนวก 5 สามารถนําไปปรับใช้ไดใ้ น ทกุ ระดบั ) 2. การประเมินความเส่ียง โดยท่ัวไปแล้ว หน่วยงานหรือผู้ปฏิบัติงาน สามารถกําหนดหัวข้อหรือตัวแปรให้เหมาะสม ไดต้ ามบริบทของตนเอง ซ่ึงการประเมนิ ความเสี่ยงควรครอบคลมุ หัวข้อสาํ คัญ ดงั ตอ่ ไปน้ี 2.1 สารเคมีที่ใช้, เก็บ และท้ิง ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง เช่น ระดับความเป็นอันตราย ปริมาณของสารเคมี ระยะเวลา ท่สี มั ผสั และเส้นทางทไ่ี ด้รบั สัมผสั 2.2 ผลกระทบด้านสุขภาพจากการทํางานกับสารเคมี ตัวแปรที่เก่ียวข้อง เช่น อาการปวดศีรษะธรรมดา การเข้า รบั การรักษาทโี่ รงพยาบาล อาการปว่ ยเฉียบพลัน อาการปว่ ยเรื้อรงั การเสียชวี ติ เปน็ ตน้ 2.3 เส้นทางในการได้รับสัมผัส (exposure route) ตัวแปรท่ีเก่ียวข้อง เช่น การได้รับสัมผัสทางปาก ทางผิวหนัง ทางการหายใจ เปน็ ต้น 2.4 พื้นท่ีในการทํางาน/กายภาพ ตัวแปรท่ีเก่ียวข้อง เช่น ปริมาณพื้นที่ในการทํางานต่อคน สภาพพ้ืนผิว สิ่งกีด ขวาง เป็นตน้ 2.5 เครอ่ื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการทาํ งาน ตัวแปรทเ่ี กี่ยวขอ้ ง เชน่ สภาพของเคร่อื งมือ อายุการใชง้ าน เป็นต้น 2.6 สงิ่ แวดลอ้ มในสถานท่ีทํางาน ตัวแปรท่เี กยี่ วข้อง เช่น เสียง แสง ระบบระบายอากาศ เป็นต้น 2.7 ระบบไฟฟา้ ในท่ที ํางาน ตัวแปรทเี่ กย่ี วขอ้ ง เชน่ ความเข้มแสง กําลังไฟ เปน็ ต้น 2.8 กิจกรรมที่ทําในห้องปฏิบัติการ ตัวแปรท่ีเก่ียวข้อง เช่น ประเภทของกิจกรรมที่ทํา ความถ่ีของการเกิด กจิ กรรมนั้น เป็นต้น 2.9 กิจกรรมที่ไม่สามารถทําร่วมกันได้ในห้องปฏิบัติการ ตัวอย่างเช่น การทําการทดลองของสารเคมีที่เข้ากัน ไม่ได้ในเวลาเดียวกัน เช่น การทําการทดลองกับสารไวไฟ เช่น เอทานอล กับการทําการทดลองกับสาร ออกซิไดซ์ เช่น กรดไนตริก ถ้าสารเคมีทั้งสองชนิดทําปฏิกิริยากันจะทําให้เกิดการระเบิดได้ จึงต้องทําการ ประเมินความเส่ียงของกิจกรรมที่อาจจะเกิดข้ึนได้ ตัวแปรท่ีเกี่ยวข้อง เช่น ลักษณะกิจกรรมท่ีทําใน หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารร่วมกนั ไมไ่ ด้ ความถ่ขี องกิจกรรม จํานวนกิจกรรม เปน็ ตน้ 5.1.3 การจัดการความเส่ียง (Risk treatment) เป็นกระบวนการเพ่ือป้องกันภัยและลดความเสียหายที่อาจเกิดจากปัจจัย เสี่ยงต่างๆ ท่ีมีในห้องปฏิบัติการด้วยการควบคุมและเตรียมพร้อมที่จะรับมือ (ตารางที่ 5.4 ภาคผนวก 5) โดยทั่วไปหลักการใน การจัดการความเสยี่ งตอ้ งมกี ารควบคมุ ตามหัวข้อต่อไปนี้ 5.1.3.1 การป้องกันความเส่ียง (Risk prevention) สามารถทําได้ในหลายรูปแบบท่ีมีเป้าหมายในเชิงป้องกัน โดยการ ปอ้ งกันความเส่ียงหลัก ๆ ท่คี วรทาํ กอ่ น มดี งั น้ี ▪ มีพื้นที่เฉพาะสําหรับกิจกรรมท่ีมีความเสี่ยงสูง เช่น เมื่อมีการใช้สารอันตราย ต้องมีการแยกคนทํางานหรือของ ท่ไี ม่เก่ียวข้องกับการทํางานออกหา่ งจากสารอันตราย โดยจํากดั ขอบเขตของพ้ืนที่ หรอื ใช้ฉาก/ท่กี ั้น ▪ มีการขจัดส่ิงปนเปื้อน (decontamination) บริเวณพ้ืนที่ท่ีปฏิบัติงานภายหลังเสร็จปฏิบตั ิการ เพ่ือป้องกันการ เกดิ ปฏกิ ิรยิ าของสารเคมีที่ยงั เหลอื ตกคา้ งอยใู่ นพน้ื ท่ีปฏิบตั ิงานทอ่ี าจเป็นอันตรายต่อผ้อู น่ื 5.1.3.2 การลดความเส่ียง (Risk reduction) สามารถทําได้ในหลายรูปแบบที่มีเป้าหมายเพ่ือลดความเสี่ยงท่ีเกิดข้ึน โดยการลดความเส่ยี งหลกั ๆ ทคี่ วรทํากอ่ น มดี งั น้ี ▪ เปลี่ยนแปลงวิธีการปฏิบตั งิ านเพ่ือลดการสัมผสั สาร เชน่ การทาสีด้วยแปรงแทนการใชส้ ีสเปรย์ เป็นตน้ ▪ ประสานงานกับหน่วยงานกลางขององค์กรที่รับผิดชอบในเรื่องการจัดการความเส่ียง เพื่อให้เกิดการจัดการ ความเส่ียงและรับรู้ร่วมกัน ทําให้เห็นภาพรวมของการจัดการเพื่อลดความเสี่ยงของห้องปฏิบัติการ คณะ และ มหาวิทยาลัย/องค์กร ได้ ตัวอย่างการประสานงาน เช่น เม่ือเกิดอุบัติเหตุภายในห้องปฏิบัติการ ผู้ปฏิบัติงานใน ห้องปฏิบัติการมีช่องทางในการติดต่อกับผู้รับผิดชอบจากหน่วยงานกลางขององค์กรที่รับผิดชอบด้านความ ปลอดภัยได้ทันที ทําให้สามารถเรียกรถพยาบาลมารับผู้บาดเจ็บได้รวดเร็ว เป็นการลดความเสี่ยงจากการ เสียชวี ิต เป็นตน้ 62
▪ บังคับใช้ข้อกําหนด และ/หรือแนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ เพื่อให้เกิดความตระหนักใน การปฏบิ ตั ิงาน ส่งผลใหล้ ดความเสี่ยงของห้องปฏิบตั ิการได้อย่างเป็นระบบ เชน่ การนาํ ขอ้ กําหนดอาชีวอนามัย หรือเครอ่ื งมอื และความรู้จาก ESPReL มาใชใ้ นการกําหนดแนวปฏบิ ัติฯ ในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ เป็นตน้ ▪ ประเมิน/ตรวจสอบการบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างสมํ่าเสมอ เช่น มีการกําหนดตารางเวลาท่ีชัดเจนสําหรับ การตรวจประเมินภายในห้องปฏบิ ัติการ ระหว่างห้องปฏิบัติการ หรือการตรวจประเมินจากหน่วยงานภายนอก เปน็ ต้น 5.1.3.3 การสอื่ สารความเส่ียง (Risk communication) การสื่อสารความเส่ียงเป็นส่วนท่ีเช่ือมโยงกับกระบวนการวิเคราะห์ความเส่ียง ซึ่งเป็นส่วนสําคัญในการสร้างความ ตระหนัก (awareness) ให้กับคนทํางานและผู้ปฏิบัติงาน โดยใช้กลวิธีในการเผยแพร่และกระจายข้อมูลท่ีถูกต้องและเหมาะสม กับเหตุการณ์ ซ่ึงช่วยให้ผู้ท่ีเกี่ยวข้องทั้งหมดมีความเข้าใจลักษณะของภัยอันตรายและผลกระทบเชิงลบได้ การสื่อสารจึงมี ความสําคัญทส่ี ามารถทาํ ใหก้ ารประเมนิ ความเสี่ยงและการบรหิ ารความเสีย่ งดาํ เนนิ ไปได้ดว้ ยดี กลวิธีในการส่อื สารความเสยี่ ง ตอ้ งครอบคลุมบุคคลทเ่ี กี่ยวข้องทกุ กล่มุ โดยอาจใช้หลายวธิ ปี ระกอบกนั ได้แก่ ▪ การบรรยาย การแนะนํา การพูดคุย เช่น การพูดคุยกัน หรือการแจ้งเร่ืองความเสี่ยงหรือความปลอดภัยใน หนว่ ยงานทกุ ครง้ั ก่อนการประชมุ เป็นตน้ ▪ ป้าย, สัญลกั ษณ์ เช่น สญั ลักษณ์/ปา้ ย แสดงความเป็นอนั ตรายในพน้ื ท่ีเส่ียงนั้น เปน็ ตน้ ▪ เอกสารแนะนํา, คมู่ อื เช่น การทาํ เอกสารแนะนําหรอื คู่มอื ข้อปฏบิ ตั ใิ นการปฏบิ ัติงานทม่ี คี วามเสย่ี ง เปน็ ตน้ 5.1.3.4 การตรวจสุขภาพ การตรวจสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการท่ีมีสารเคมีอันตรายอยู่ด้วยเป็นเร่ืองสําคัญอย่างยิ่งสําหรับ การป้องกันและลดผลกระทบต่อสุขภาพ ในการบริหารจัดการห้องปฏิบัติการจึงควรจัดสรรงบประมาณสําหรับการตรวจและการ ให้คําปรกึ ษาเกย่ี วกับสุขภาพรองรบั ไวด้ ว้ ย ผปู้ ฏบิ ัตงิ านควรได้รับการตรวจสขุ ภาพเม่ือ ▪ ถึงกาํ หนดการตรวจสขุ ภาพท่ัวไปประจําปี เพือ่ ทราบผลสขุ ภาพทว่ั ไปของร่างกาย ▪ ถึงกําหนดการตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยงของผู้ปฏิบัติงาน เช่น ผู้ปฏิบัติงานทํางานกับสารปรอท13 มีปัจจัย เส่ียงในด้านสุขภาพสูง ต้องได้รับการตรวจสุขภาพทางประสาท หัวใจ ระบบเลือด และอวัยวะที่สะสมสารพิษ เปน็ ตน้ โดยกาํ หนดช่วงเวลาเพิ่มเติมจากการตรวจสขุ ภาพประจาํ ปี ▪ มีอาการเตือน – เม่ือพบว่า ผู้ปฏิบัติงานมีอาการผิดปกติท่ีเกิดขึ้นจากการทํางานกับสารเคมี วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือในห้องปฏิบัติการ เช่น เมื่อทํางานกับสารปรอทแล้วเกิดอาการระคายเคืองในระบบทางเดินหายใจ รุนแรง มีการเจ็บหน้าอก หายใจติดขัดหรือปวดศรีษะ หรืออาจเกิดผื่นแดงปวดแสบปวดร้อนเมื่อผิวหนังสัมผสั ปรอท ต้องได้รับการตรวจสุขภาพโดยเร็ว เปน็ ต้น ▪ เผชญิ กบั เหตกุ ารณส์ ารเคมีหก รวั่ ไหล ระเบิด หรือเกดิ เหตุการณท์ ่ีทาํ ให้ต้องสัมผัสสารอันตราย เช่น การตรวจ สุขภาพร่างกายผู้ปฏิบัติงานท่ีเข้าไปจัดการกับสารปรอทรั่วไหลบนพ้ืน หรือเกิดไฟไหม้ห้องเก็บสารเคมีท่ี กอ่ ใหเ้ กดิ แก๊สพษิ คลอรนี ปรมิ าณมาก เป็นตน้ 13 ตามข้อกําหนดของ OSHA สําหรับปรอทท่ีเป็นสารประกอบอนินทรีย์และสารประกอบเอริล มีค่าขีดจํากัดเฉลี่ยตลอดเวลาการทํางาน 8 ชั่วโมงต่อ วัน (8-Hour TWA) เท่ากับ 0.1 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ในขณะที่ปรอทที่เป็นสารประกอบอัลคิล มีค่า 8-Hour TWA เท่ากับ 0.01 มิลลิกรัมต่อ ลูกบาศก์เมตร เป็นตน้ (ที่มา: เข้าถงึ ไดจ้ าก https://www.osha.gov/SLTC/mercury/standards.html สืบค้นเม่อื วันท่ี 22 มกราคม 2558) 63
5.1.4 การรายงานการบริหารความเส่ยี ง 1. มีรายงานการบริหารความเสี่ยง การรายงานทั้งที่เป็นกระดาษเอกสาร และ/หรืออิเล็กทรอนิกส์ เพ่ือสื่อสารระดับ ความเสี่ยงในภาพรวม รายงานมีได้หลายรูปแบบ เช่น การใช้แบบสรุปการบริหารความเส่ียง (แผนภาพ 5.1 ภาคผนวก 5) หรือ การสร้าง worksheet เป็นแบบฟอร์มรายงานการบริหารความเส่ียงทุกระดับของแต่ละห้องปฏิบัติการภายในหน่วยงาน (แผนภาพ 5.2 ภาคผนวก 5) เป็นต้น ทง้ั น้คี วรมีการรายงานการบรหิ ารความเสยี่ ง ครอบคลมุ ในระดบั ต่อไปน้ี ▪ บุคคล คนทํางาน/ผู้ปฏิบัติงานจะได้รับข้อมูลความเส่ียงจากรายงานความเส่ียงของตนเอง เป็นการเพิ่มความ ตระหนักในเรอื่ งของความปลอดภัย และดแู ลตวั เองมากข้นึ ▪ โครงการ หัวหน้าโครงการสามารถมองเห็นข้อมูลความเส่ียงของแต่ละโครงการท่ีเกิดขึ้น เป็นข้อมูลความเสี่ยง จรงิ ทช่ี ว่ ยในการบริหารจดั การโครงการได้ ▪ ห้องปฏิบัติการ หัวหน้าห้องปฏิบัติการจะได้รับข้อมูลความเสี่ยงภายในห้องปฏิบัติการที่ดูแล ซ่ึงจะช่วยในการ บริหารจดั การห้องปฏิบตั กิ ารได้ 5.1.5 การใชป้ ระโยชน์จากรายงานการบรหิ ารความเสย่ี ง 1. มกี ารใชข้ ้อมูลจากรายงานการบริหารความเสย่ี ง โดยรายงานการบริหารความเสีย่ ง (ตวั อย่างในแผนภาพ 5.2 ภาคผนวก 5) สามารถนาํ ไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ ดงั นี้ ▪ การสอน แนะนํา อบรม แกผ่ ปู้ ฏิบัติงาน เพอื่ เป็นกลไกสําคัญที่องิ บรบิ ทการทํางานจรงิ ในหน่วยงานน้ัน ๆ เป็น กรณตี ัวอยา่ ง และตอ่ ยอดการเปลีย่ นแนวคดิ และพฤตกิ รรมสวู่ ัฒนธรรมความปลอดภัยขององค์กร ▪ การประเมนิ ผล ทบทวน และวางแผนการปรบั ปรงุ การบรหิ ารความเสี่ยง การประเมนิ ผล ทบทวนและวางแผน เป็นกระบวนการต่อเนื่องเพื่อพัฒนาระบบการบริหารความเส่ียงให้มีประสิทธิภาพเหมาะสมกับบริบทของการ ทาํ งานของแต่ละหนว่ ยงานมากขน้ึ ▪ การจัดสรรงบประมาณในการบริหารความเส่ียง การจัดสรรงบประมาณของหน่วยงานจะมีการกําหนดทิศทาง ทช่ี ัดเจนข้ึน ไม่ใชง้ บประมาณมากเกนิ กว่าขีดจาํ กดั ทยี่ อมรับได้ของหน่วยงานนัน้ 5.2 การเตรยี มความพร้อม/ตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน การเตรยี มความพรอ้ ม/ตอบโต้ภาวะฉุกเฉนิ ครอบคลุมท้งั การจดั การความพรอ้ ม/ตอบโตภ้ าวะฉุกเฉนิ และแผนปอ้ งกนั และตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ซง่ึ ประกอบดว้ ยสิ่งต่อไปนี้ 1. มีอุปกรณ์สาํ หรับตอบโตภ้ าวะฉุกเฉิน อยู่ในบรเิ วณท่สี ามารถเขา้ ถงึ ไดส้ ะดวก ห้องปฏบิ ัติการต้องมกี ารจดั เตรยี ม เครอ่ื งมอื เพื่อรบั ภาวะฉกุ เฉนิ โดยเฉพาะ ▪ ที่ล้างตา ดู มาตรฐานทีล่ ้างตาและอ่างลา้ งตาฉุกเฉิน ข้อ 5.2 ภาคผนวก 5 ▪ ชุดฝักบัวฉกุ เฉิน ดู มาตรฐานชุดฝักบวั ฉุกเฉนิ ขอ้ 5.3 ภาคผนวก 5 ▪ เวชภณั ฑ์ นอกจากยาสามญั ประจําบ้านที่ควรมแี ล้ว ควรมเี วชภัณฑท์ พี่ ร้อมรับเหตฉุ ุกเฉนิ เช่น แก้วบาด ผวิ หนงั ไหม้ ตาระคายเคอื ง เปน็ ต้น และสง่ิ สาํ คัญคอื ควรมี “antidote” ทจี่ าํ เพาะกบั ความเสีย่ งของ ห้องปฏิบัติการด้วย เช่น calcium gluconate สามารถลดพิษของ hydrofluoric acid ได้ เปน็ ต้น และต้องจัด วางในบรเิ วณท่ีผ้ปู ฏบิ ัตงิ านสามารถเข้าถงึ ไดท้ ันทีเมอ่ื เกิดเหตฉุ กุ เฉิน เป็นตน้ ▪ ชุดอุปกรณ์สําหรบั สารเคมีหกร่วั ไหล เช่น มีวัสดุดูดซับที่เหมาะสมกับสารเคมที ีใ่ ชใ้ นห้องปฏิบัตกิ าร (เช่น chemical spill–absorbent pillows หรือ vermiculite (รปู ท่ี 5.1)) ไว้ในหอ้ งปฏิบตั กิ ารอย่างเพียงพอ และ เข้าถงึ ได้ง่ายเมือ่ เกดิ เหตุ เพ่อื ดูดซับสารเคมอี นั ตรายทีเ่ ปน็ ของเหลว เป็นตน้ ▪ ชดุ อุปกรณ์ทาํ ความสะอาด ท่ีเข้าถึงได้สะดวก ผปู้ ฏิบัติการต้องสามารถเข้าถึงอุปกรณ์ทําความสะอาดที่จัดวาง ณ ตําแหน่งท่เี ข้าถงึ ได้ง่าย ไมม่ ีอะไรกีดขวางเมอ่ื เกิดเหตุ 64
a. chemical spill–absorbent pillow b. vermiculite รปู ที่ 5.1 ชุดอปุ กรณ์สาํ หรบั สารเคมหี กรั่วไหล (ที่มา เขา้ ถงึ ได้จาก a. http://www.absorbentsonline.com/pillows.htm สบื ค้นเมือ่ วนั ที่ 19 กมุ ภาพนั ธ์ 2558 b. http://inspectapedia.com/sickhouse/asbestoslookC.htm สืบค้นเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2556) 2. มแี ผนปอ้ งกนั ภาวะฉุกเฉนิ ทเ่ี ป็นรูปธรรม หน่วยงาน/ห้องปฏบิ ตั กิ ารมกี ารวางแผนป้องกันภาวะฉกุ เฉนิ ทเ่ี ป็นรปู ธรรม ปฏบิ ัติไดจ้ ริง หมายถงึ มขี ้ันตอนปฏิบตั ิทเ่ี ปน็ รูปธรรม มีผ้รู ับผดิ ชอบที่ชดั เจน มอี ปุ กรณท์ พ่ี ร้อมรบั มอื กบั เหตุฉกุ เฉนิ บุคลากรและ ผูเ้ ก่ยี วข้องทราบวา่ ต้องดาํ เนนิ การอย่างไรเม่อื เกิดเหตุ 3. ซอ้ มตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทเี่ หมาะสมกับหน่วยงาน หน่วยงาน/ห้องปฏิบตั กิ ารมกี ารซอ้ มรับมือภาวะฉกุ เฉนิ ท่ี เหมาะสมกบั หน่วยงาน เช่น ซ้อมหนไี ฟจากสถานท่จี รงิ ทผี่ ปู้ ฏิบัติงานทํางานอยู่ เป็นต้น 4. ตรวจสอบพ้ืนทแ่ี ละสถานทเ่ี พื่อพรอ้ มตอบโต้ภาวะฉุกเฉนิ หน่วยงาน/ห้องปฏบิ ัติการมกี ารตรวจสอบพน้ื ท่ีและ สถานท่อี ยู่สม่ําเสมอ เชน่ ประตูฉุกเฉนิ ทางหนไี ฟ จดุ รวมพล เป็นต้น 5. ตรวจสอบเครื่องมือ/อุปกรณ์พร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินอย่างสมํ่าเสมอ หน่วยงาน/ห้องปฏิบัติการ มีการกําหนดช่วงเวลา การตรวจสอบเคร่ืองมือ/อุปกรณ์พร้อมรับภาวะฉุกเฉิน อย่างสม่ําเสมอ โดยพิจารณาจากความเสี่ยงท่ีต้องใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์น้ัน โดยครอบคลมุ ส่งิ ต่อไปน้ี ทดสอบทลี่ า้ งตา อย่างนอ้ ยเดือนละครั้ง ขนึ้ กับความเสยี่ งของการเกิดอุบตั เิ หตทุ างตา ทดสอบฝกั บวั ฉกุ เฉิน อย่างนอ้ ย 6 เดอื นคร้งั ขนึ้ กับความเสีย่ งของการเกดิ ภาวะฉกุ เฉินทตี่ อ้ งใชฝ้ ักบวั ฉุกเฉนิ ตรวจสอบและทดแทนเวชภัณฑ์สําหรบั ตอบโตภ้ าวะฉกุ เฉิน อยา่ งนอ้ ยเดือนละครัง้ เพ่อื จัดสรรทดแทนสว่ นท่ีใช้ไป ตรวจสอบชุดอุปกรณส์ ําหรับสารเคมีหกรั่วไหล อย่างน้อย 6 เดือนครั้ง หรือภายหลังจากการใชช้ ดุ อุปกรณต์ อ้ ง ตรวจสอบเพื่อจัดสรรทดแทนส่วนที่ใช้ไป ตรวจสอบอปุ กรณ์ทําความสะอาด อย่างนอ้ ยเดือนละครั้ง 6. มขี ้นั ตอนการจัดการเบอ้ื งต้นเพื่อตอบโต้ภาวะฉกุ เฉิน ท่ีเป็นรปู ธรรม ทค่ี รอบคลุมหัวข้อต่อไปน้ี ▪ การแจง้ เหตุภายในหนว่ ยงาน เมือ่ เกิดภาวะฉกุ เฉินขึน้ ขั้นตอนปฏบิ ัติเป็นส่ิงแรก คอื การแจ้งเหตทุ เ่ี กิดข้นึ ไปยัง เจ้าหน้าท่ีรับแจ้งเหตุของหน่วยงานภายในได้ทันที เพื่อให้ผู้รับผิดชอบของหน่วยงานรับทราบและเพื่อ ประสานงานระหวา่ งหนว่ ยงานตอ่ ไปได้ ▪ การแจ้งเหตุภายนอกหน่วยงาน การแจง้ เหตุภายนอกหน่วยงาน เชน่ องคก์ รทหี่ นว่ ยงานสงั กัด ควรมหี นว่ ยงาน กลางทร่ี บั แจ้งเหตจุ ากผู้ประสบภาวะฉุกเฉิน และ/หรือเจ้าหน้าที่รับแจ้งเหตุ ที่สามารถติดต่อได้ทนั ทโี ดยไม่ต้อง เสียเวลาในการแจ้งตามลําดับข้ัน นอกจากนี้ หน่วยงานต้องมีเบอร์โทรศัพท์ติดต่อไปยังสถานพยาบาล สถานี ตาํ รวจ และสถานดี ับเพลงิ ที่ใกลท้ ี่สุดดว้ ย ▪ การแจ้งเตือน หน่วยงานต้องมีระบบแจ้งเตือนภาวะฉุกเฉินท่ีแจ้งเหตุได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีความ เช่ือถือได้สูง ให้ทุกคนท่ีอยู่ในหน่วยงานทราบเหตุโดยทันที สัญญาณเตือนภัยอาจเป็นระบบอัตโนมัติ เช่น ระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ซ่ึงสามารถตรวจจับการเกิดเพลิงไหม้ หรือเป็นระบบแจ้งเหตุด้วยมือ ซึ่งเป็น อุปกรณ์เร่ิมสัญญาณให้ทํางานโดยใช้การกระตุ้นจากบุคคล เช่น โดยการดึง หรือทุบกระจกให้แตก เป็นต้น เพ่ือให้ผอู้ าศัยในอาคารหนีไปยังที่ปลอดภัย ▪ การอพยพคน หนว่ ยงานมขี ัน้ ตอนการอพยพคนออกจากอาคารไปยงั จดุ รวมพล โดยทกุ คนรบั ทราบขน้ั ตอน และสามารถลงมือปฏบิ ัติไดท้ นั ที ท้ังนี้ต้องมีระบบการตรวจสอบจํานวนคน ณ จดุ รวมพลดว้ ย 65
5.3 ขอ้ ปฏิบัตเิ พ่อื ความปลอดภยั โดยทัว่ ไป ครอบคลมุ 2 ประเดน็ คือ 5.3.1 ความปลอดภัยส่วนบุคคล (personal safety) 5.3.2 ระเบียบปฏิบัติของแต่ละห้องปฏบิ ัติการ 5.3.1 ความปลอดภัยส่วนบคุ คล (Personal safety) ความปลอดภัยระดับบุคคลที่เป็นรูปธรรม จะเน้นในเรื่องของอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personal Protective Equipment, PPE) ในห้องปฏิบัติการ ซึ่งเป็นกุญแจสําคัญที่ใช้ป้องกันผู้สวมใส่จากอันตราย (ไม่ได้ช่วยลดหรือกําจัดความเป็น อันตรายของสารเคมี) โดยการจัดสรร PPE เพ่ือให้ผู้ปฏิบัติงานใช้ในการทํางานหรือในห้องปฏิบัติการ อาจสามารถดําเนินการได้ โดยการจัดสรรจากงบประมาณสว่ นกลางใหค้ รบถว้ นและเหมาะสมกับการปฏบิ ตั งิ านจริง รูปท่ี 5.2 อุปกรณ์ป้องกันส่วนบคุ คลชนิดต่างๆ (ทม่ี า Princeton Lab Safety [ออนไลน]์ เข้าถงึ ไดจ้ าก http://web.princeton.edu/sites/ehs/labsafetymanual/sec6c.htm#ppe สืบค้นเม่อื วนั ท่ี 12 มีนาคม 2555) อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล หมายถึง ถุงมือ, อุปกรณ์กรองอากาศ, อุปกรณ์ป้องกันตา และเสื้อผ้าที่ป้องกันร่างกาย (รูป ที่ 5.2) การใช้ PPE ข้ึนกับชนิดหรือประเภทของการปฏิบัติงาน และธรรมชาติ/ปริมาณของสารเคมีท่ีใช้ โดยต้องมีการประเมิน ความเสย่ี งของการปฏบิ ัตงิ านเปน็ ข้อมูลในการเลอื กใชอ้ ปุ กรณใ์ ห้เหมาะสม ไดแ้ ก่ ▪ อปุ กรณป์ ้องกันหน้า (face protection) ▪ อุปกรณ์ปอ้ งกันตา (eye protection) ▪ อุปกรณ์ปอ้ งกนั มือ (hand protection) ▪ อปุ กรณ์ป้องกันเท้า (foot protection) ▪ อุปกรณป์ อ้ งกนั รา่ งกาย (body protection) ▪ อปุ กรณป์ ้องกันการได้ยนิ (hearing protection) ▪ อปุ กรณ์ปอ้ งกนั ระบบทางเดินหายใจ (respiratory protection) รายละเอยี ดเพม่ิ เตมิ ของ PPE แสดงในขอ้ 5.4 ภาคผนวก 5 5.3.2 ระเบยี บปฏบิ ตั ขิ องแตล่ ะห้องปฏบิ ตั กิ าร 1. มีการกําหนดระเบียบ/ข้อปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ ห้องปฏิบัติการหรือหน่วยงานต้องมีการ กําหนดระเบียบหรือข้อปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการท่ีผู้ปฏิบัติงานทุกคนต้องรับทราบ และปฏิบัติตามได้ โดย 66
ระเบยี บปฏบิ ัติดงั กลา่ วควรมีเนอื้ หาครอบคลุมพฤติกรรมท่ีปลอดภัยสําหรบั ผปู้ ฏบิ ัตงิ าน (ตามรายละเอียด ในขอ้ 2) และสําหรบั ผู้ เยย่ี มชม (ตามรายละเอียด ในขอ้ 3) 2. ผู้ปฏิบัติงานปฏิบัติตามระเบียบ/ข้อปฏิบัติที่กําหนดไว้ ตามระเบียบปฏิบัติของการทํางานในห้องปฏิบัติการท่ีเป็น รปู ธรรม ครอบคลุมกิจกรรมตอ่ ไปนี้ จัดวางเคร่อื งมอื และอุปกรณ์บนโต๊ะปฏิบตั ิการเป็นระเบียบและสะอาด สวมเส้อื คลุมปฏบิ ัตกิ ารทเี่ หมาะสม เส้อื คลุมไมร่ ัดรปู หรือหลวมเกนิ ไป (รายละเอียดในข้อ 5.4 ภาคผนวก 5) รวบผมให้เรยี บร้อยขณะทําปฏิบัติการ เ พ่ือป้องกันการปนเปอื้ นสารเคมีขณะปฏบิ ตั งิ าน และปอ้ งกัน อบุ ตั ิเหตุจากการยึดตดิ ของผมกับเคร่ืองมอื และอุปกรณ์ สวมรองเท้าทปี่ ดิ หน้าเทา้ และสน้ เทา้ ตลอดเวลาในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร เพื่อปอ้ งกนั เทา้ จากการหกรดของ สารเคมี (รายละเอยี ดในข้อ 5.4 ภาคผนวก 5) มปี า้ ยแจง้ กจิ กรรมท่กี าํ ลงั ทาํ ปฏิบัติการท่เี ครอื่ งมอื พร้อมช่ือ และหมายเลขโทรศัพท์ของผ้ทู าํ ปฏิบัตกิ าร ล้างมือทุกครง้ั กอ่ นออกจากห้องปฏิบตั กิ าร ป้องกันการไดร้ บั สารเคมีเขา้ สรู่ า่ งกายและการปนเป้ือนของ สารเคมสี ่บู คุ คล/สิ่งแวดล้อมภายนอกหอ้ งปฏิบตั ิการ ไม่เกบ็ อาหารและเครื่องด่มื ในห้องปฏบิ ัตกิ าร เพื่อลดการดูดซับและปนเปื้อนไอระเหยสารเคมีในอาหารและ เคร่ืองดืม่ ซง่ึ ไม่ใชว่ ัตถุประสงคก์ ารใชง้ านของหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ไม่รบั ประทานอาหารและเครื่องดื่มในหอ้ งปฏิบัตกิ าร เพ่อื ลดความเสีย่ งในการไดร้ บั สารเคมเี ข้าสู่ร่างกาย และ การรับประทานอาหารเป็นกิจกรรมที่ไม่ใช่วัตถปุ ระสงค์การใชง้ านของหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร ไม่สูบบุหรใี่ นห้องปฏิบัติการ เนอื่ งจากบหุ รเ่ี ป็นแหล่งกําเนิดไฟที่เสย่ี งต่อการลุกไหม้ของสารเคมีไวไฟใน ห้องปฏิบตั ิการ ไม่สวมเสอื้ คลมุ ปฏิบัติการและถุงมอื ไปยังพน้ื ที่ซ่งึ ไมเ่ ก่ียวขอ้ งกบั การทําปฏิบัตกิ าร เพ่ือลดการปนเป้ือน สารเคมอี อกไปนอกห้องปฏิบตั กิ าร และลดการปนเป้อื นจากภายนอกเขา้ มาในหอ้ งปฏิบัติการ ไมท่ าํ งานตามลาํ พังในห้องปฏบิ ตั ิการ เพือ่ ลดความเสยี่ งจากการเกิดภาวะฉุกเฉินภายในห้องปฏบิ ตั ิการ นอกจากนี้ เพ่อื นที่ทาํ ปฏิบัตกิ ารภายในห้องปฏบิ ัติการด้วยจะช่วยเหลือไดเ้ ม่ือเกิดภาวะฉุกเฉนิ ไม่พาเด็กและสัตว์เลี้ยงเข้ามาในห้องปฏิบัติการ เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุภายในห้องปฏิบัติการท่ีใช้ เฉพาะผู้ทําปฏิบัติการท่ีได้รับการอบรมแล้ว และป้องกันความเส่ียงจากการปนเปื้อนสารเคมีอันตรายใน ห้องปฏบิ ัตกิ ารไปสเู่ ดก็ และสัตว์เลี้ยง ไม่ใช้เครอื่ งมอื ผิดประเภท การใชเ้ ครือ่ งมอื ผิดประเภทหรือผดิ วัตถปุ ระสงค์ทาํ ให้เกิดอันตรายได้ เช่น การนํา ขวดพลาสติกน้ําด่ืมมาใส่สารละลายกรดหรือบัพเฟอร์ ซ่ึงถูกกัดกร่อนและแตกร่ัวไหลได้ การใช้บีกเกอร์ เป็น ภาชนะเก็บสารละลายแทนทีจ่ ะใชข้ วดเก็บใสส่ ารละลาย เป็นตน้ ไม่ทาํ กจิ กรรมอื่น ๆ ทไี่ ม่เก่ียวข้องกับการปฏิบตั ิการ เช่น ไม่วงิ่ ในห้องปฏบิ ตั กิ ารในขณะทาํ ปฏบิ ตั ิการ เพื่อลด ความเสยี่ งตอ่ การหกล้มหรบื รบกวนผอู้ ่นื ในห้องปฏบิ ัติการ ไมท่ ํากิจกรรมการแต่งใบหน้าในห้องปฏบิ ัติการ เนอ่ื งจากไอระเหยสารเคมอี าจทําปฏิกริ ิยากับเคร่อื งสําอางได้ และสามารถปนเป้ือนผ้ทู าํ ปฏิบตั ิการออกไปสู่ ภายนอกได้ เป็นตน้ ไม่วางของรกรงุ รังและส่ิงของทไี่ มจ่ ําเป็นบรเิ วณภายในห้องปฏิบัตกิ าร อปุ กรณ์เคร่ืองมือหรือสิง่ ต่างๆ ท่มี ิได้ ใช้งานควรนาํ ไปจัดเกบ็ ในพน้ื ท่ีเก็บซง่ึ ได้จัดเตรียมไว้โดยเฉพาะ และเคล่ือนยา้ ยของทไี่ มจ่ าํ เปน็ เช่น กล่อง หรือภาชนะบรรจุสารเคมีทไี่ ม่ไดม้ ีการใช้งาน หรือขยะตา่ งๆ เปน็ ต้น ออกจากห้องปฏิบตั ิการ 3. มีการกําหนดระเบียบ/ข้อปฏิบัติในกรณีที่หน่วยงานอนุญาตให้มีผู้เยี่ยมชม โดย “ผู้เยี่ยมชม” หมายถึง บุคคลภายนอกหน่วยงานท่ีได้รับอนุญาตให้เข้าเย่ียมชมหรือเข้ามาทําปฏิบัติการจากหัวหน้าห้องปฏิบัติการ และ/หรือ ผู้บริหาร หนว่ ยงานอย่างถูกต้องเปน็ ทางการ โดยทางหนว่ ยงานหรือห้องปฏิบัติการ มีการดําเนินการหลกั ๆ ตอ่ ไปน้ี ▪ มีผู้รับผิดชอบนําเข้าไปในห้องปฏิบัติการ ผู้รับผิดชอบนําเข้าไปในห้องปฏิบัติการต้องมีความรู้เบ้ืองต้นว่า ห้องปฏบิ ตั กิ ารนน้ั ทํางานกับสารเคมอี ย่างไร และสามารถดแู ลผ้เู ยีย่ มชมขณะนาํ เยี่ยมชมได้ 67
▪ มีการอธิบาย แจ้งเตือนหรืออบรมเบื้องต้นก่อนเข้ามาในห้องปฏิบัติการ หน่วยงานหรือห้องปฏิบัติการ มี ระบบการให้ความรู้ อธิบาย แจ้งเตือน หรืออบรมเบ้ืองต้น ถึงข้อควรระวังและแนะนําห้องปฏิบัติการก่อนที่ จะเขา้ ชม เพอื่ ช้ีแจงใหผ้ เู้ ยี่ยมชมปฏิบัตติ ามข้อปฏิบตั ิความปลอดภยั ของหนว่ ยงานอยา่ งครบถว้ นและถูกต้อง ▪ ผู้เยี่ยมชมสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลท่ีเหมาะสมก่อนเข้ามาในห้องปฏิบัติการ หน่วยงานหรือ ห้องปฏิบัติการจัดสรรอุปกรณ์ PPE ท่ีเหมาะสมให้แก่ผู้เย่ียมชม ก่อนเข้าไปในห้องปฏิบัติการ เช่น หากผู้ทํา ปฏิบัติการกําลังสกัดสารละลายที่ส่งผลกระทบต่อระบบทางเดินหายใจ PPE ท่ีใช้กับผู้เย่ียมชมก็ควรเป็น อุปกรณ์ปอ้ งกนั ระบบทางเดินหายใจทีส่ ามารถป้องกันได้แทนหน้ากากปิดจมกู แบบทวั่ ไป เป็นต้น 68
คาํ อธิบายประกอบการกรอก checklist 6. การให้ความรู้พื้นฐานเกีย่ วกบั ดา้ นความปลอดภัยในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร การสร้างความปลอดภัยต้องมีการพัฒนาบุคลากรทุกระดับที่เกี่ยวข้อง โดยให้ความรู้พ้ืนฐานท่ีเหมาะสม จําเป็น และ อยา่ งตอ่ เนื่องต่อกลุม่ เป้าหมายทมี่ ีบทบาทต่างกัน ถึงแม้องค์กร/หนว่ ยงานมีระบบการบริหารจดั การอยา่ งดี หากบุคคลในองคก์ ร/ หน่วยงานขาดความรู้และทักษะ ขาดความตระหนัก และเพิกเฉยแล้ว จะก่อให้เกิดอันตรายและความเสียหายต่างๆ ได้ การให้ ความร้ดู ว้ ยการฝกึ อบรมจะช่วยให้ทุกคนเข้าใจ และสามารถปฏบิ ตั งิ านในห้องปฏิบัติการ หรอื ทํางานเกี่ยวข้องกับสารเคมีได้อย่าง ปลอดภัย และลดความเสีย่ งในการเกิดอุบตั ิภยั ได้ ในการใหค้ วามรู้พนื้ ฐานนน้ั ควรครอบคลมุ ตามกลมุ่ เปา้ หมายที่เกย่ี วข้องท้ังหมด ได้แก่ ผู้บรหิ าร หัวหนา้ ห้องปฏบิ ัติการ ผ้ปู ฏบิ ัติงานในหอ้ งปฏิบัติการ พนกั งานทาํ ความสะอาด ตามหัวขอ้ ความร้ใู นตารางท่ี 6.1 “ผู้บริหาร” ในที่น้ีหมายถึง หัวหน้าหน่วยงานหรือองค์กร เช่น ผู้บริหารระดับคณะที่เก่ียวข้อง คือ คณบดี หัวหน้า ภาควชิ า หวั หน้าศนู ย์ หัวหน้าหน่วยงาน เปน็ ตน้ ตารางท่ี 6.1 ความรู้พ้ืนฐานสําหรบั ผูเ้ กยี่ วขอ้ ง ผู้บรหิ าร หัวหน้า ผปู้ ฏิบัติงานใน พนกั งานทาํ ห้องปฏบิ ตั ิการ ห้องปฏบิ ัติการ ความสะอาด รายการ *** *** *** * * กฎหมายทเ่ี กี่ยวข้อง * *** * ระบบการบรหิ ารจัดการด้านความปลอดภยั * *** *** * ระบบการจัดการสารเคมี * *** *** * ระบบการจัดการของเสีย ** *** *** * สารบบข้อมูลสารเคม/ี ของเสีย ** *** *** * การประเมนิ ความเส่ยี ง ** *** ** * ลกั ษณะทางกายภาพของห้องปฏิบัตกิ ารกับความปลอดภยั * *** *** * การป้องกันและตอบโต้ภาวะฉุกเฉนิ *** *** * อุปกรณ์ปอ้ งกนั สว่ นบคุ คล * *** *** SDS *** *** * ป้ายสญั ลกั ษณด์ า้ นความปลอดภัย หมายเหตุ ความละเอยี ดลกึ ซ้งึ ของเนอ้ื หามีเพมิ่ ข้นึ ตามจํานวนเครอื่ งหมาย * (หรอื ปรบั ได้ตามความเหมาะสมของหน่วยงาน) (ดรู ายละเอียดเพ่ิมเติมได้ในภาคผนวก 6) 69
ความร้ดู า้ นความปลอดภัย กฎหมายทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับความปลอดภยั เช่น ข้อกําหนดอาชีวอนามัย (OSHA), กฎหมายของ National Fire Protection Association (NFPA) และมาตรฐานฯ ระบบการจัดการดา้ นความปลอดภัยของห้องปฏิบตั ิการท่ีเกย่ี วกับสารเคมี สาํ นกั งานมาตรฐานผลติ ภัณฑอ์ ุตสาหกรรม (สมอ.) เป็นตน้ ระบบการบริหารจัดการด้านความปลอดภัย เป็นองค์ความรู้หลักการการบริหารจัดการความปลอดภัย ที่ครอบคลุมด้านนโยบาย แผนงาน โครงสร้างการบริหาร และบทบาทหน้าท่ีที่เกี่ยวข้อง เช่น ระบบการบริการจัดการฯ ของ ESPReL เปน็ ต้น ระบบการจัดการสารเคมี ห้องปฏิบัติการวิจัยเคมี ต้องเกี่ยวข้องกับสารเคมีหลากหลาย ความปลอดภัยจะ เกดิ ขน้ึ ได้ ผเู้ กีย่ วข้องต้องรู้วา่ กาํ ลังเก่ียวข้องกบั สารตัวใด และเป็นอันตรายอยา่ งไร การทําสารบบข้อมูลจะช่วยให้ติดตามความ เคลื่อนไหวและการจัดเก็บได้ อาศัยความรู้จากเอกสารข้อมูลความปลอดภัย (Safety Data Sheet, SDS) ในการจําแนกและการ แยกเก็บ การเคล่ือนย้าย ที่ถูกหลัก โดยกําหนดให้มีการ clearance เพื่อกันการถูกลืมด้วย ข้อมูลเหล่าน้ีเม่ือประมวลจัดทําเป็น รายงานเป็นระยะๆ ก็สามารถนําไปใช้ประโยชน์ในการจัดการความเสี่ยง นอกจากนั้นยังใช้รายงานให้เป็นประโยชน์เพ่ือการ แบง่ ปนั สารเคมี รวมท้ังการใช้ประโยชน์ในการบรหิ ารจัดการ และจดั สรรงบประมาณไดด้ ว้ ย ระบบการจัดการของเสีย หลักคิดของการเก็บข้อมูลของเสียเป็นไปในทางเดียวกันกับการจัดการสารเคมี คือ ให้มรี ะบบบันทึกข้อมูลที่ติดตามได้ โดยมีหลกั ในการแยกของเสียในเบ้ืองต้น มีการเกบ็ อย่างไร ข้อมูลนจี้ ะเป็นประโยชน์ต่อการ บริหารจดั การ เชน่ การจดั เตรยี มงบประมาณในการกําจดั และการประเมนิ ความเส่ียง ลักษณะทางกายภาพของห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์ และเคร่ืองมือ ลักษณะทางกายภาพของห้องปฏิบัติการ น่าจะเป็นโครงสร้างพ้ืนฐานท่ีจะเอื้อต่อความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการ และเป็นปัจจัยท่ีจัดให้สมบรู ณ์เต็มที่ได้ยาก เนื่องจาก อาจเป็นโครงสร้างเดิม หรือการออกแบบท่ีไม่ได้คํานึงถึงการใช้งานในลักษณะห้องปฏิบัติการโดยเฉพาะ ข้อมูลท่ีให้สํารวจใน checklist ประกอบด้วยข้อมูลเชิงสถาปัตยกรรมและวิศวกรรม ดูพื้นท่ีการใช้งานจริง วัสดุที่ใช้ ระบบสัญจร ระบบไฟและระบบ ระบายอากาศ ระบบสาธารณปู โภค และระบบฉกุ เฉนิ การป้องกนั และตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ทรี่ วมถงึ การประเมนิ ความเสีย่ ง การปอ้ งกนั และตอบโต้ภยั อนั ตรายและ ภาวะฉุกเฉิน และข้อปฏิบัติเพื่อความปลอดภัย การจัดการความปลอดภัยเป็นหัวใจของการสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย ท่ีมี ลําดับความคิดตั้งต้นจากการกําหนดได้ว่าอะไรคือปัจจัยเสี่ยง ผู้ปฏิบัติงานต้องรู้ว่าใช้สารใด คนอื่นในที่เดียวกันกําลังทําอะไรท่ี เส่ียงอยู่หรือไม่ ปัจจัยเสี่ยงด้านกายภาพคืออะไร มีการประเมินความเส่ียงหรือไม่ จากนั้นจึงมีการบริหารความเสี่ยงด้วยการ ป้องกัน หรือการลดความเสี่ยง รวมทั้งการส่ือสารความเสี่ยงที่เหมาะสม คําถามใน checklist จะช่วยกระตุ้นความคิดได้อย่าง ละเอียด สร้างความตระหนักรู้ไปในตัว รายงานความเสี่ยงจะเป็นประโยชน์ในการบริหารงบประมาณ เพราะสามารถจัดการได้ บนฐานของข้อมูลจริง ความพร้อมและการตอบโตภ้ าวะฉกุ เฉนิ อยู่ภายใต้หัวข้อการจดั การด้านความปลอดภัยเพ่ือเป็นมาตรการ ป้องกัน เช่น การมีผังพ้ืนที่ใช้สอย ทางออก อุปกรณ์เครื่องมือสําหรับเหตุฉุกเฉิน รวมท้ังการมีแผนป้องกันและตอบโต้ภาวะ ฉุกเฉิน ซึ่งหมายถึงการจัดการเบ้ืองต้นและการแจ้งเหตุ ข้อปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยโดยท่ัวไปเป็นการกําหนดความปลอดภัย สว่ นบคุ คล และระเบยี บปฏบิ ตั ิขนั้ ตา่ํ ของแตล่ ะห้องปฏิบตั กิ าร รปู แบบการได้รบั การอบรม การได้รับการอบรมสามารถดําเนินการได้ ทั้งการเข้ารว่ มอบรม การอบรมหรือการเรียนผา่ นสือ่ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ (E- learning) หรือการอา่ นหนังสือท่เี กีย่ วข้องกบั ความปลอดภยั โดยมหี ลกั ฐาน เชน่ ประกาศนียบัตร บนั ทึกการอบรม เปน็ ตน้ 70
คําอธบิ ายประกอบการกรอก checklist 7. การจัดการข้อมูลและเอกสาร การเก็บข้อมูลและการจัดการท้ังหลายหากขาดซ่ึงระบบการบันทึกและคู่มือการปฏิบัติงาน ย่อมทําให้การปฏิบัติขาด ประสิทธิภาพ เอกสารที่จัดทําขึ้นในรูปแบบรายงานต่างๆ ควรใช้เป็นบทเรียนและขยายผลได้ ระบบเอกสารจะเป็นหลักฐาน บันทึกท่ีจะส่งต่อกันได้หากมีการเปล่ียนผู้รับผิดชอบ และเป็นการต่อยอดของความรู้ในทางปฏิบัติ ให้การพัฒนาความปลอดภัย เป็นไปได้อยา่ งตอ่ เนื่อง การจัดการข้อมูลและเอกสารที่ใช้ในการดําเนินการด้านต่างๆ มีไว้เพื่อความสะดวกในการบันทึกเก็บรวบรวม ประมวลผลและค้นหามาใช้ได้ทันกาล รวมถึงสามารถนําไปเช่ือมโยงข้อมูลด้านต่างๆ เพื่อประมวลผลรวมของการบริหารจัดการ ได้ง่ายและรวดเร็ว เพื่อใช้ในการตัดสินใจในการบริหารจดั การด้านตา่ งๆ ที่เก่ียวข้องกับห้องปฏิบัตกิ าร เช่น การจัดการด้านความ ปลอดภัย การบริหารงบประมาณโครงการวิจัย เป็นต้น ทั้งน้ีการจัดการข้อมูลที่ใช้ในการดําเนินงานของแต่ละห้องปฏิบัติการ อาจจะแตกต่างกันไปตามลักษณะงานและความจําเป็น ดังนั้นจึงมีความจําเป็นท่ีจะต้องมีเอกสารคู่มือการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure, SOP หรอื Procedure Manual, PM ซ่ึงปัจจบุ ันนยิ มคําว่า Procedure คําเดียว) ที่ชดั เจนและทันสมัย สาํ หรบั ช่วยให้การจัดการตามระบบเป็นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 1. การจัดการขอ้ มูลและเอกสาร ควรมอี งคป์ ระกอบ ดังน้ี ระบบการจดั กลุ่ม หมายถึง การจัดกลุ่มของข้อมลู และเอกสารท้ังหมดที่มีในห้องปฏิบตั ิการ แบ่งออกเป็นกลุ่ม ชัดเจน ไมป่ ะปนกันเพื่อใหก้ ารเข้าถงึ หรือค้นหาเอกสารได้รวดเร็ว เช่น กลุ่มเอกสารขอ้ มูลความปลอดภัย กลุ่ม เอกสารคูม่ ือการใชเ้ คร่ืองมอื กลุ่มเอกสารคู่มือการปฏิบัตงิ าน เป็นต้น ระบบการจัดเก็บ หมายถึง วิธีในการจัดเก็บข้อมูลและเอกสาร ซึ่งอาจจะเป็นในรูปแบบเอกสาร และ/หรือ อิเล็กทรอนิกส์ ทั้งน้ีต้องคํานึงถึงการเข้าถึงข้อมูลท่ีง่าย สะดวก รับรู้ร่วมกันแม้เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน หรือขณะ ไฟฟ้าดับด้วย เช่น มีตู้เก็บเอกสารหรือคอมพิวเตอร์ที่จัดไฟล์เป็นหมวดอย่างชัดเจน การสํารอง (back up) ข้อมูล การให้รหัสเอกสาร เป็นต้น ระบบการนําเข้า-ออก และติดตาม หมายถึง วิธีการนําเข้า-ออกของข้อมูลหรือเอกสารที่เป็นระบบ และ สามารถตรวจติดตามได้ว่า มีการนําเข้า-ออกข้อมูลหรือเอกสารในช่วงเวลาใด และใครเป็นผู้ดําเนินการเร่ือง นั้น ๆ โดยข้อมูลหรือเอกสารต้องมีที่มา ท่ีไป ไม่สูญหายโดยไม่ทราบสาเหตุ เช่น มีบันทึกหรือขั้นตอนการ ปฏิบตั งิ านใน การยืม-คนื เอกสาร การบนั ทกึ แกไ้ ขและการปรับปรงุ ขอ้ มูล โดยลงชอ่ื และระบุวนั เวลา กาํ กับไว้ เปน็ ต้น ระบบการทบทวนและปรับปรุงให้ทันสมัย (update) หมายถึง การทบทวนและปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยบน พ้ืนฐานความคิดในเชิงพัฒนา ให้ง่าย สะดวก รวดเร็ว และถูกต้องมากขึ้น เช่น มีการกําหนดผู้รับผิดชอบใน การทบทวน ระบุความถ่ีในการทบทวน เป็นต้น หลังการทบทวนข้อมูลหรือเอกสารไม่จําเป็นต้องมีการ ปรับปรุงเสมอไปหากข้อมลู หรอื เอกสารน้นั ยงั ทันสมัยอยู่ 71
2. การมเี อกสารและบันทึกประจาํ ห้องปฏบิ ัติการ ท่ผี ปู้ ฏิบตั กิ ารทกุ คนสามารถเขา้ ถงึ ได้ ไดแ้ ก่ กลุม่ เอกสารต่อไปนี้ เอกสารนโยบาย แผน และโครงสร้างบรหิ าร ประวตั กิ ารไดร้ บั การอบรมด้านความปลอดภยั ด้านความปลอดภัย ประวัติเก่ียวกบั สุขภาพ โดยเฉพาะของผู้ทาํ ระเบยี บและข้อกําหนดความปลอดภัยของ ปฏบิ ตั ิงาน ท้ังกอ่ น ระหวา่ ง และหลังจากปฏบิ ตั ิงาน ห้องปฏบิ ตั ิการ ควรเปน็ ลายลกั ษณ์อักษร เอกสารตรวจประเมนิ ด้านความปลอดภัยของ และติดประกาศเพอ่ื เตือนยาํ้ ให้ผู้ปฏบิ ตั ิ ห้องปฏบิ ตั กิ าร เช่น รายงานการตรวจประเมิน เอกสารข้อมลู ความปลอดภยั (SDS) ESPReL รายงานการตรวจสอบโครงสรา้ งอาคาร คมู่ อื การปฏิบตั ิงาน (SOP) ดูรายละเอยี ด เป็นต้น “คู่มือการปฏิบตั งิ าน (Standard ขอ้ มลู การบาํ รงุ รกั ษาองค์ประกอบทางกายภาพ Operating Procedure, SOP)” ดา้ นล่าง อปุ กรณ์ และเครื่องมือ เชน่ การบาํ รุงรักษา รายงานอบุ ัตเิ หตุในหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร ควร เครอ่ื งปรบั อากาศ การตรวจสอบการทํางานของตู้ บันทกึ รายละเอียดของอบุ ัติเหตุที่เกิดขน้ึ ดดู ควนั เป็นต้น พร้อมทง้ั การแก้ไขเพือ่ ปอ้ งกนั ไม่ให้เกดิ ซ้าํ เอกสารความรเู้ ก่ียวกับความปลอดภัย เช่น เอกสาร รายงานเชงิ วเิ คราะห์/ถอดบทเรียน เพือ่ ใชใ้ น จากการอบรม คู่มอื การใช้เครื่องดบั เพลงิ เป็นต้น การเรยี นร้แู ละนําไปใช้ คูม่ ือการใชเ้ คร่อื งมือ ไดแ้ ก่ ค่มู อื ที่มาพร้อมกบั ข้อมูลของเสียอนั ตราย และการสง่ กําจดั เครอื่ งมือในห้องปฏบิ ตั กิ าร ซึง่ อาจมรี ายละเอียด ประวัตกิ ารศึกษาและคุณวฒุ ิ โดยเฉพาะของ มาก สว่ นใหญ่มักจัดทําคู่มือการปฏิบัตงิ านท่ีมี ผูป้ ฏิบตั งิ าน เพื่อประเมนิ ความรู้และทกั ษะ เฉพาะขัน้ ตอนที่จําเป็นเทา่ นั้น การปฏบิ ัติงาน คู่มอื การปฏบิ ตั งิ าน (Standard Operating Procedure, SOP) SOP เป็นเอกสารท่ีแนะนําวิธีการปฏิบัติงานต่าง ๆ เพ่ือให้มีการปฏิบัติอย่างถูกต้องและมีทิศทางในแนวเดียวกัน โดย ระบุข้ันตอนการปฏิบัติงานที่ชัดเจน และสามารถปรับปรุงพัฒนาได้ตามความเหมาะสมของแต่ละหน่วยงาน เพื่อให้เกิดผลจริงที่ ปฏิบตั ไิ ด้ ซงึ่ วธิ ีการของหอ้ งปฏิบตั ิการแตล่ ะแหง่ อาจจะแตกต่างกนั ไป วตั ถปุ ระสงคห์ ลักของ SOP คอื ลดการปฏบิ ัตงิ านผดิ พลาด และสามารถใชเ้ ปน็ แนวทางขององคก์ ร/หน่วยงานในการ จดั การขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ิงานมาตรฐานได้ สง่ิ ทีค่ วรกําหนดในเอกสาร SOP มีดงั นีค้ อื 1) รูปแบบ (Format) ประกอบด้วย ช่ือเรอ่ื ง แบบฟอรม์ และเน้ือหา ชื่อเร่อื ง ควรส้นั กระชับ ชัดเจน สอื่ ความหมายได้ เพอ่ื ให้ทราบวา่ เป็นคมู่ อื การปฏบิ ตั ิงานอะไร เชน่ การใช้ เคร่อื งมอื การลงบันทกึ ขอ้ มลู ในสารบบสารเคมี เปน็ ตน้ แบบฟอร์ม ประกอบด้วย ใบปะหน้า สารบัญของเน้ือเร่ือง สารบัญเอกสารอ้างอิง สารบัญแบบฟอร์ม เนื้อหา SOP ท่ีเป็นวิธีการปฏิบัติงาน (work procedure) หรือข้ันตอนการปฏิบัติงาน (work instruction) แบบฟอร์มที่ใชป้ ระกอบ เอกสารอา้ งอิง และความหมายรหัสเอกสาร เนื้อหา ใช้ภาษาท่ีเข้าใจง่าย และมีองค์ประกอบตามมาตรฐานสากล ประกอบด้วย 9 หัวข้อคือ วัตถุประสงค์ ขอบเขตของงาน หน่วยงานท่ีรับผิดชอบ เคร่ืองมือ/อุปกรณ์และสารเคมี เอกสารอ้างอิง แผนภูมิการทํางาน รายละเอียดของข้ันตอนการทํางาน คําอธิบายศัพท์หรือนิยาม และแบบฟอร์มท่ี เก่ยี วข้อง 2) การกําหนดหมายเลขเอกสาร (Number assignment) SOP แต่ละเร่ือง ต้องระบุหมายเลข เพ่ือให้ง่ายต่อการ ตรวจสอบ ควบคุม และติดตาม โดยประกอบด้วย 3 ส่วนหลักเรียงกัน (A-B-C) คือ (A) รหัสที่บ่งถึงหน่วยงาน/ หน่วยปฏบิ ตั นิ นั้ , (B) รหสั ท่บี ง่ ถึงเรื่องทที่ ํา และ (C) หมายเลขลาํ ดบั 3) การตรวจทานและการรับรอง (Review and Approval) เม่ือเขียน SOP เสร็จ จะต้องได้รับการตรวจทานและ รบั รองความถกู ต้องจากผ้ทู ่ีมีความชาํ นาญในงานน้นั และถูกต้องในรูปแบบทก่ี าํ หนด 4) การแจกจา่ ยและการควบคุม (Distribution and Control) 72
การแจกจ่ายเอกสารไปยงั หน่วยงาน/หนว่ ยปฏบิ ตั ิต่าง ๆ ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง มีระบบการแจกจ่ายท่สี ามารถตรวจสอบ และควบคมุ ได้ เพือ่ ใหท้ ราบว่า ทกุ ทีม่ ีการใช้ SOP ลา่ สุดทไ่ี ด้พฒั นาแกไ้ ขแล้ว การควบคุม ได้แก่ SOP ที่แจกจ่ายได้ต้องผ่านการอนุมัติแล้วเท่าน้ัน มีระบบการแจกจ่ายรับ-ส่งเอกสาร ชัดเจน มีหมายเลขสําเนาของ SOP ทุกสําเนา มีการเรียก SOP ท่ียกเลิกไม่ใช้แล้วกลับคืนได้ ไม่ทําสําเนา ขึ้นมาเอง มกี ารทําลายสําเนา SOP ท่เี รยี กกลบั คืนทกุ ฉบับ จะเก็บเฉพาะตน้ ฉบบั ไวเ้ ทา่ นน้ั 5) การทบทวนและแก้ไข (Review and Revision) SOP ทใ่ี ชต้ อ้ งมกี ารทบทวนเป็นประจาํ เพ่ือใหเ้ หมาะสมกับการ ปฏิบัติงานจริง เม่ือทบทวนแล้วจะแก้ไขหรือไม่ ก็ต้องมีระบบการกรอกข้อมูลเก็บไว้ เช่น ไม่แก้ไข (no revision) แกไ้ ข (revision) หรือเลกิ ใช้ (deletion) ตัวอย่าง SOP แสดงในภาคผนวก 7 73
เอกสารอ้างองิ 1. การบริหารระบบการจัดการความปลอดภัย 1. จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . คู่มือแนวปฏบิ ัติท่ีดีด้านการบรหิ ารจดั การสารเคมีและของเสยี อันตราย., มนี าคม 2551. 2. ระบบการจดั การสารเคมี 1. ขวัญนภัส สรโชติ รดาวรรณ ศิลปโภชากุล และวราพรรณ ด่านอตุ รา. เอกสารขอ้ มูลความปลอดภัยสารเคมี (Safety Data Sheet). กรงุ เทพฯ: จรลั สนทิ วงศก์ ารพิมพ์, 2552. 2. Prevention & Control of Hazards, Canadian Centre for Occupational Health and Safety. How Do I Work Safely with Compressed Gases?. [ออนไลน์] เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://www.ccohs.ca/oshanswers/prevention/comp_gas.html สบื คน้ เมือ่ วันท่ี 2 กมุ ภาพันธ์ 2558. 3. Council Directive 67/548/EEC of 27 June 1967 on the approximation of laws, regulations and administrative provisions relating to the classification, packaging and labelling of dangerous substances. 4. C&L Inventory database, harmonized classification, Annex VI of Regulation (EC) No. 1272/2008 (CLP Regulation). [อ อ น ไล น์ ] เข้ า ถึ ง ได้ จ า ก http://echa.europa.eu/information-on-chemicals/cl- inventory-database สืบค้นเมอ่ื วันที่ 2 กมุ ภาพนั ธ์ 2558. 5. Department of Microbiology, University of Manitoba. ChemAlert chemical incompatibility color coding system. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก http://umanitoba.ca/faculties/science/departments/microbiology /general/1605.html สบื ค้นเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2557. 6. Directive 1999/45/EC of the European Parliament and of the Council of 31 May 1999 concerning the approximation of the laws, regulations and administrative provisions of the Member States relating to the classification, packaging and labeling of dangerous preparations. 7. Environmental Health and Safety Weill Cornell Medical College, Cornell University. Compressed Gas Cylinder Storage and Handling. [ออนไลน]์ เขา้ ถึงไดจ้ าก http://weill.cornell.edu/ehs/static_local/ pdfs/Compressed_Gases.pdf สบื ค้นเม่อื วันที่ 6 พฤษภาคม 2557. 8. Environmental Health and Safety Office, George Mason University. Flammable and Combustible Liquid Safety Guide. [ออนไลน]์ เขา้ ถึงไดจ้ าก http://ehs.gmu.edu/guides/FlammableandCombustibleLiquidSafetyGuide.pdf สบื คน้ เม่ือวนั ที่ 2 กมุ ภาพนั ธ์ 2558. 9. Environmental Health & Safety, University of Washington. EH&S Guidelines for Peroxide Forming Chemicals. [ออนไลน]์ เข้าถงึ ไดจ้ าก http://www.ehs.washington.edu/forms/epo/peroxideguidelines.pdf สบื คน้ เม่อื วันที่ 2 กุมภาพนั ธ์ 2558 10. Lawrence Berkeley National Laboratory (Berkeley Lab), U.S. Department of Energy. Chemical Hygiene and Safety: Plan Chemical storage. [ออนไลน์] เข้าถึงไดจ้ าก http://www.lbl.gov/ehs/chsp/ html/storage.shtml. สืบค้นเม่ือวนั ที่ 6 พฤษภาคม 2557. 11. National Research Council of the National Academies. 2011. Prudent Practices in the Laboratory; 6.G.3.2 Peroxide Dectection Tests. The United States of America. 12. NFPA 30. Flammable and combustible liquids code, 2015: Table 9.6.2.1. [ออนไลน์] เข้าถึงไดจ้ าก http://www.nfpa.org/codes-and-standards/document-information-pages?mode=code&code=30 สบื คน้ เม่ือวันที่ 2 กมุ ภาพันธ์ 2558. 13. Princeton University. Laboratory Safety Manual. [ออนไลน]์ เข้าถึงไดจ้ าก http://web.princeton.edu/sites/ehs/labsafetymanual/TOC.htm. สบื คน้ เม่ือวนั ท่ี 6 พฤษภาคม 2557. 74
14. Sigma-Aldrich. Peroxide Forming Solvents. [ออนไลน์] เข้าถงึ ไดจ้ าก http://www.sigmaaldrich.com/chemistry/solvents/learning-center/peroxide-formation.html สืบค้น เมอ่ื วนั ท่ี 2 กมุ ภาพนั ธ์ 2558 15. The United States Environmental Protection Agency. EPA's Chemical Compatibility Chart. [ออนไลน์] เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://www.ehs.harvard.edu/sites/ehs.harvard.edu/files/chemical_waste_chemical_ compatibility_chart.pdf. สบื คน้ เม่อื วันท่ี 6 พฤษภาคม 2557. 16. The University of Texas at Austin. Laboratory Safety Manual, January 2011. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก http://www.utexas.edu/safety/ehs/lab/manual/. สืบค้นเม่ือวนั ท่ี 6 พฤษภาคม 2557. 17. United Nations. Globally Harmonised System for Classification and Labeling of Chemicals (GHS). Rev. 3, 2009. [ออนไลน์] เข้าถงึ ได้จาก http://www.unece.org/fileadmin/DAM/trans/danger/publi/ghs/ ghs_rev04/English/ST-SG-AC10-30-Rev4e.pdf. สืบคน้ เม่ือวันที่ 6 พฤษภาคม 2557. 18. University of Texas at Arlington. Chemical Segregation & Incompatibilities Guidelines. [ออน ไลน์ ] เข้าถึงได้จาก http://www.uta.edu/campus-ops/ehs/chemical/docs/chemical-segregation.pdf. สืบค้น เมื่อวนั ที่ 6 พฤษภาคม 2557. 3. ระบบการจัดการของเสยี 1. กรมโรงงานอุตสาหกรรม. คู่มือหลักปฏิบัติที่ดีสําหรับการให้บรกิ ารบําบดั กําจดั กากอุตสาหกรรม. โครงการจัดระดับ โรงงานจัดการกากอุตสาหกรรมประเภท 101 105 และ 106., มกราคม 2554. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก http://www2.diw.go.th/iwmb/form/factory1.pdf. สืบคน้ เมื่อวนั ที่ 6 พฤษภาคม 2557. 2. คณะเภสชั ศาสตร,์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร. คู่มือการแยกประเภทและการจดั การของเสยี จากห้องปฏิบัติการ., เมษายน 2553. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก http://chemsafe.chula.ac.th/waste_NU/document.pdf. สืบค้นเม่ือวันที่ 6 พฤษภาคม 2557. 3. ระบบการจัดการของเสยี อนั ตราย WasteTrack จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. การจาํ แนกของเสีย. [ออนไลน์] เขา้ ถึงได้ จาก http://chemsafe.chula.ac.th/waste/index.php?option=com_content&task=view&id=42& Itemid=27. สืบคน้ เมือ่ วนั ท่ี 6 พฤษภาคม 2557. 4. ศูนย์การจัดการด้านพลังงาน สิ่งแวดล้อม ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี. ค่มู อื การจดั การของเสยี อันตรายภายใน มจธ., สิงหาคม 2552. 5. ศูนย์วิจัยสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยนเรศวร. คู่มือการบําบัดและกําจัดของเสียอันตรายที่แหล่งกําเนิด., มีนาคม 2550. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก http://www.erc.nu.ac.th/web/index.php/2011-02-16-07-32-24. สืบค้นเมื่อ วนั ที่ 6 พฤษภาคม 2557. 6. Environmental Health & Safety, Washington State University. Waste Identification Guide, [ออนไลน์] เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://ehs.wsu.edu/es/WasteIdentification.html. สืบคน้ เมอื่ วันที่ 6 พฤษภาคม 2557. 7. Princeton University. Laboratory Safety Manual. [ออนไลน์] เข้าถงึ ไดจ้ าก http://web.princeton.edu/sites/ehs/labsafetymanual/TOC.htm. สืบค้นเม่ือวนั ท่ี 6 พฤษภาคม 2557. 8. The University of Texas at Austin. Laboratory Safety Manual, January 2011. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก http://www.utexas.edu/safety/ehs/lab/manual/. สบื คน้ เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2557. 4. ลกั ษณะทางกายภาพของห้องปฏบิ ัตกิ าร อปุ กรณ์และเครอ่ื งมอื 1. การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค. “บทที่ 2 มาตรฐานของเคร่ืองอุปกรณ์และสายไฟฟ้า” แนวปฏิบัติในการเดินสายและติดต้ัง อุป กรณ์ ไฟ ฟ้ า. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก http://www.pea.co.th/th/services/services_how2_setting equipment2.html สืบคน้ เม่อื วันท่ี 16 กรกฎาคม 2554. 2. วศิ วกรรมสถานแห่งประเทศไทย. ค่มู ือเทคนิคการตรวจสอบอาคารเพ่ือความปลอดภัย (สาํ หรับการตรวจสอบอาคาร ตามกฎหมาย). กรุงเทพฯ: โกลบอล กราฟฟิค, 2551. 75
3. วศิ วกรรมสถานแหง่ ประเทศไทย. มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสําหรับประเทศไทย พ.ศ. 2545. ฉบับปรับปรุงครั้ง ที่ 1 พ.ศ. 2551 กรเุ ทพฯ: โกลบอล กราฟฟิค, 2551. 4. วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย. มาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้. ฉบับปรับปรุงคร้ังท่ี 1 กรุงเทพฯ: โกลบอล กราฟฟคิ , 2553. 5. วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย. มาตรฐานป้องกันอัคคีภัย. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ: โกลบอล กราฟฟิค, 2551. 6. วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย. มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน และโคมไฟป้ายทางออกฉุกเฉิน. ฉบับ ปรบั ปรงุ ครงั้ ท่ี 1 กรุงเทพฯ: โกลบอล กราฟฟิค, 2551. 7. สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเก่ียวกับวิศวกรรมไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก http://app.tisi.go.th/standard/comp_tha.html สืบค้นเม่ือวันที่ 6 พฤษภาคม 2557. 8. สํานักบริหารระบบกายภาพ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คู่มือป้องกัน – ระงับ – รับมืออัคคีภัย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , 2553. 9. สุพิน เรียนศรีวิไล. กฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม ส่วนที่ 1: เน้ือหากฎหมายท่ีเก่ียวข้อง. (เอกสารไม่ตีพมิ พ)์ กรุงเทพ : คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั , 2552. 10. สมาคมไฟฟ้าแสงสว่างแห่งประเทศไทย. ข้อแนะนําระดับความส่องสว่างภายในอาคารของประเทศไทย TIEA – GD 003: 2003. กรงุ เทพฯ: สมาคมไฟฟา้ แสงสว่างแหง่ ประเทศไทย, 2546. 11. สมาคมวศิ วกรรมปรับอากาศแห่งประเทศไทย. มาตรฐานการตรวจสอบคุณภาพอากาศภายในอาคาร. กรุงเทพฯ: จุด ทอง, 2549. 12. สมาคมสถาปนกิ สยาม. กฎหมายอาคาร อาษา 2548. เล่ม 1 – 3 กรุงเทพฯ: เมฆาเพรส, 2548. 13. ศูนย์ความเป็นเลิศการจัดการสิ่งแวดล้อมและของเสียอันตราย. ESPReL Inspection Criteria & Checklists. โครงการยกระดับมาตรฐานความปลอดภัย ห้องปฏิบัติการวิจัยในประเทศไทย. รายงานความก้าวหน้าวิจัย สํานัก คณะกรรมการวจิ ัยแห่งชาต,ิ 2554. 14. Joseph De Chiara and Michael J. Crosbie, (Eds.) Time – Saver Standards for Building Types. 4th ed. Singapore: McGraw – Hill, 2001. 15. Louis J. DiBerardinis, Janet S. Baum, Melvin First, Gari T. Gatwood and Anand K. Seth. Guidelines for Laboratory Design: Health and Safety Consideration. 3rd ed. New York: John Wiley & Son, 2001. 16. OECD (Organization for Economic Co – operation and Development) Environment Directorate, Environmental Health and Safety Division. OECD Principles of Good Laboratory Practice. Paris: OECD, 1998. 17. Julius Panero and Martin Zelnik. Human Dimension & Interior Space: a source book for design reference standards. New York: Watson – Guptill, 1979. 18. World Health Organization, Handbook: good laboratory practice (GLP): quality practice for regulate non – clinical research and development. 2nd ed. Switzerland: W.H.O., 2009. 5. ระบบป้องกนั และแกไ้ ขภยั อันตราย 5.1 การจัดการความเส่ยี ง 1. The University of Melbourne. Risk Assessment. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก http://safety.unimelb.edu.au /tools/risk/assessment/. สืบคน้ เมอ่ื วันท่ี 6 พฤษภาคม 2557. 2. นนั ทิกา สนุ ทรไชยกุล. Risk Communication. คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์, สิงหาคม 2551. [ออน ไลน์ ] เข้าถึงได้จาก http://beid.ddc.moph.go.th/th/images/stories/pdf/bioweapons/26Aug08 /riskcommunication_drnantika.pdf. สืบคน้ เมือ่ วนั ที่ 12 มนี าคม 2555. 3. The University of Melbourne. Chemical Risk Assessment form. [อ อ น ไ ล น์ ] เ ข้ า ถึ ง ไ ด้ จ า ก http://safety.unimelb.edu.au/tools/risk/ สบื คน้ เมอ่ื วันท่ี 6 พฤษภาคม 2557. 76
4. University of Arizona. Risk Management. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก http://risk.arizona.edu/. สืบค้นเมื่อวันท่ี 6 พฤษภาคม 2557. 5. United States Department of Labor. OSHA Standard: Mercury. [อ อ น ไ ล น์ ] เ ข้ า ถึ ง ไ ด้ จ า ก https://www.osha.gov/SLTC/mercury/standards.html สืบค้นเม่ือวันที่ 22 มกราคม 2558. 6. The Environmental, Health & Safety, California State University. CSULA Risk Management. Los Angeles. [ออนไลน]์ เขา้ ถึงไดจ้ าก http://www.calstatela.edu/univ/ehs/. สบื คน้ เม่ือวนั ที่ 6 พฤษภาคม 2557. 5.2 การเตรียมความพร้อม/ตอบโต้กรณีฉุกเฉิน 1. Michigan State University (MSU). Safety Rules and Guidelines. [อ อ น ไ ล น์ ] เ ข้ า ถึ ง ไ ด้ จ า ก https://www.msu.edu/~nixonjos/teaching/bio/safety/safety05.html. สืบค้นเม่ือวันท่ี 12 มีนาคม 2555. 2. Robert Friedel and Paul Israel. Edison's Electric Light: Biography of an Invention, Rutgers University Press. New Brunswick New Jersey USA, 1986 ISBN 0-8135-1118-6 pp.65-66. 3. Bentley University. Campus Fire Safety Procedures. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก http://www.bentley.edu/ offices/facilities-management/campus-fire-safety-procedures สบื คน้ เมือ่ วันที่ 6 พฤษภาคม 2557. 5.3 ขอ้ ปฏบิ ตั เิ พอ่ื ความปลอดภัยโดยท่วั ไป 1. Princeton University. Laboratory Safety Manual: Controlling Chemical Exposure. [ออนไลน์] เข้าถึงได้ จ า ก http://web.princeton.edu/sites/ehs/labsafetymanual/sec6c.htm#ppe. สื บ ค้ น เ มื่ อ วั น ที่ 6 พฤษภาคม 2557. 2. U.S. Department of Labor, Occupational Safety & Health Administration. Occupational Safety and Health Standards. [อ อ น ไล น์ ] เข้ า ถึ ง ได้ จ า ก http://www.osha.gov/pls/oshaweb/owadisp.show_ document?p_table=STANDARDS&p_id=10051. สบื ค้นเมือ่ วันที่ 6 พฤษภาคม 2557. 3. Wikipedia, the free encyclopedia. Usage of Personal Protective Equipment. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก http://en.wikipedia.org/wiki/List_of_personal_protective_equipment_by_body_area. สืบค้นเม่ือวันท่ี 6 พฤษภาคม 2557. 6. การใหค้ วามรู้พนื้ ฐานเกย่ี วกบั ด้านความปลอดภยั ในห้องปฏิบัติการ - 7. การจดั การข้อมลู และเอกสาร 1. หน่วยตรวจสอบเคลื่อนที่เพื่อความปลอดภัยด้านอาหาร กองควบคุมอาหาร สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา. คู่มือการจัดทําคู่มือการปฏิบัติงาน (SOP). [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก http://www.ctalro.com/images/SOP.pdf. สบื ค้นเมือ่ วนั ที่ 6 พฤษภาคม 2557. 77
ภาคผนวก
ภาคผนวก 1 การบรหิ ารระบบการจดั การด้านความปลอดภัย 1.1 โครงสร้างการบริหารจัดการดา้ นความปลอดภัย ตารางท่ี 1.1 องคป์ ระกอบของโครงสรา้ งการบริหารและภาระหน้าท่ี องคป์ ระกอบ ภาระหนา้ ท่ี ส่วนอํานวยการ กําหนดนโยบาย แผนยุทธศาสตร์ โครงสร้างการบริหารจัดการด้านความปลอดภัยของ สว่ นบรหิ ารจัดการ ส่วนปฏบิ ัตกิ าร องคก์ ร/หน่วยงาน แต่งตั้งผู้รบั ผิดชอบระดับบริหาร ภาระหน้าท่ีและขอบเขตการรับผิดชอบ ดูแลการปฏิบัตใิ ห้ เปน็ ไปตามแผนฯ ให้งบประมาณสนับสนุนการดําเนินการต่างๆ เพื่อความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการใน องคก์ ร/หนว่ ยงาน สื่อสารความสําคญั ของการมรี ะบบบรหิ ารความปลอดภัยของหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารอยา่ งทวั่ ถงึ ภายในองคก์ ร/หนว่ ยงาน ทําให้เกิดความย่ังยืนของระบบความปลอดภัยของห้องปฏบิ ตั ิการ ภายในองค์กร/หน่วยงาน ทบทวนการรายงานผลการดาํ เนินงานตามนโยบายของผู้บรหิ าร บรหิ ารจัดการและกาํ กบั ดแู ลการดาํ เนนิ การด้านต่างๆตามนโยบายและแผน แต่งตั้งผู้รับผิดชอบระดับหน่วยงาน ภาระหน้าที่และขอบเขตการรับผิดชอบทุกด้านเพ่ือ ดแู ลการปฏบิ ัติใหเ้ ปน็ ไปตามแผนฯ จัดสรรงบประมาณสําหรบั ดําเนินโครงการความปลอดภยั กําหนดข้อปฏบิ ัติความปลอดภัยภายในองคก์ ร/หนว่ ยงาน แตง่ ต้ังคณะกรรมการรบั ผดิ ชอบทุกด้าน สร้างระบบการสร้างความตระหนัก ระบบตดิ ตาม และระบบรายงานความปลอดภัย กาํ หนดหลักสูตรการสอน การอบรมที่เหมาะสมใหก้ บั บุคลากรทุกระดับ ปฏบิ ตั ติ ามภารกิจทไ่ี ด้รบั มอบหมาย ปฏิบัติงานตามขอ้ กําหนดของการปฏบิ ัติการท่ีดี สํารวจ รวบรวม วิเคราะห์ ประเมินและจัดการความเสยี่ งในระดับบุคคล/โครงการ/ ห้องปฏบิ ตั กิ ารอย่างสมาํ่ เสมอ เขา้ ร่วมกิจกรรมและรับการอบรมความร้ทู ่เี กี่ยวข้องกบั ความปลอดภัยท่ีเหมาะสมของ หนว่ ยงาน/ห้องปฏิบตั กิ าร เช่น การจัดการความเสีย่ ง การซ้อมรับมอื เหตุฉกุ เฉิน ฯลฯ จัดทําระบบเอกสารท่ีครอบคลมุ ทุกองคป์ ระกอบความปลอดภัยใหท้ ันสมัยอยู่เสมอ จัดทํารายงานการดําเนินงานความปลอดภยั การเกิดภัยอนั ตราย และความเส่ยี งท่พี บเสนอ ต่อผูบ้ รหิ าร ภ1-1
สาํ นักกายภาพ ศูนย์/ส การจัดก สว่ นอาํ นวยการ หวั หนา้ องคก์ ร (ตารางท่ี 1.2 ข้อ 1) ผู้บรหิ ารจัดการความปลอดภัยขององคก์ ร (ตารางที่ 1.2 ข้อ 2) คณะอํานวยการจัดการความปลอดภยั (ตารางที่ 1.2 ข้อ 3) หัวหน้าหนว่ ยงา (ตารางท สว่ นบร แผนภาพที่ 1.1 ตวั อยา่ งโครงสร้างการบริหาร ภ1-2
สํานักประสานงานกลางด้าน สว่ นปฏบิ ัติการ การสขุ ภาพและสงิ่ แวดลอ้ ม คณะทาํ งานเพ่ือความปลอดภัยฯ านท่มี ีห้องปฏบิ ัตกิ าร (ตารางท่ี 1.2 ขอ้ 6) ท่ี 1.2 ข้อ 4) ริหารจัดการ หวั หน้าหนว่ ยรกั ษา รจดั การดา้ นความปลอดภยั ของหอ้ งปฏิบัตกิ าร ความปลอดภยั ขององคก์ ร (ตารางท่ี 1.2 ข้อ 5) หวั หนา้ หอ้ งปฏบิ ัตกิ าร (ตารางที่ 1.2 ข้อ 7) พนักงาน/เจา้ หนา้ ท่ี ประจําห้องปฏิบัตกิ าร (ตารางท่ี 1.2 ข้อ 8)
1.2 ผรู้ บั ผิดชอบระดบั ต่างๆ ตารางท่ี 1.2 ตัวอย่างการกาํ หนดบทบาทหน้าที่ความรับผดิ ชอบของผู้เกยี่ วข้อง ตาํ แหน่ง บทบาทหนา้ ที่ 1. หวั หน้าองคก์ ร แต่งตัง้ ผรู้ บั ผดิ ชอบการบรหิ ารจัดการด้านความปลอดภัยขององค์กร - กําหนดนโยบาย แผนยุทธศาสตร์ โครงสร้างการบริหารจัดการด้านความ ปลอดภัยขององค์กร กาํ หนดผ้รู บั ผิดชอบ และภาระหน้าที่ - สร้างระบบสนบั สนนุ การดาํ เนนิ การตา่ งๆ เพ่ือความปลอดภยั ของห้องปฏบิ ัตกิ าร - สื่อสารความสาํ คญั ของการมรี ะบบบริหารความปลอดภัยและทาํ ให้เกิดความ ยงั่ ยนื ในองคก์ ร/หนว่ ยงาน - ทบทวนการรายงานผลการดาํ เนนิ งานตามนโยบาย 2. ผู้บรหิ ารจัดการความปลอดภยั ขององค์กร - ส่งเสริมและสนบั สนุนการดาํ เนินการตามแผนบรหิ ารจัดการความปลอดภยั ของ องค์กร - แตง่ ต้งั คณะอาํ นวยการจัดการความปลอดภยั ในห้องปฏิบัติการ 3. คณะอาํ นวยการจดั การความปลอดภยั ใน - กําหนดนโยบาย และกลยทุ ธ์ในการดาํ เนนิ การเพ่อื ความปลอดภยั ของ ห้องปฏิบตั ิการ ห้องปฏิบัตกิ าร ใน 6 ดา้ น ได้แก่ ประกอบด้วย ระบบการจัดการสารเคมี - หวั หนา้ หน่วยงานท่มี หี ้องปฏบิ ัตกิ าร ระบบการจดั การของเสยี เชน่ คณบดี หวั หนา้ กอง/ฝ่าย ลักษณะทางกายภาพของห้องปฏิบัตกิ าร อปุ กรณ์และเครอ่ื งมอื - หัวหนา้ หนว่ ยรักษาความปลอดภยั ระบบการป้องกันและแกไ้ ขภัยอันตราย ขององคก์ ร ระบบการให้ความรูพ้ ืน้ ฐานเกีย่ วกับดา้ นความปลอดภยั ในห้องปฏบิ ัตกิ าร ระบบการจัดการข้อมูลและเอกสาร - สง่ เสริมและสนบั สนนุ การดําเนินการของห้องปฏิบตั ิการเพื่อให้เกดิ ความปลอดภัย 4. หวั หน้าหน่วยงานทีม่ ีห้องปฏบิ ัติการ - กาํ หนดใหม้ กี ารจัดการด้านความปลอดภยั ของหอ้ งปฏบิ ัติการทั้งหมดของ หนว่ ยงาน - สนบั สนนุ และสง่ เสริมใหห้ อ้ งปฏิบตั ิการบรหิ ารจดั การดา้ นความปลอดภยั โดยใชก้ ล ยุทธท์ ้ัง 6 ด้านในลกั ษณะบูรณาการระบบและกจิ กรรม - สนับสนุนและสง่ เสริมให้ห้องปฏบิ ตั ิการใช้ระบบการจัดการขอ้ มลู สารเคมแี ละ ของเสยี อันตรายรว่ มกัน - แต่งตงั้ คณะทํางานดาํ เนนิ การเพื่อความปลอดภัยฯ ของหน่วยงาน - สง่ เสริมสนับสนนุ และติดตามการดาํ เนนิ การของคณะทาํ งานฯ 5. หวั หน้าหนว่ ยรักษาความปลอดภัยของ - บริหารจัดการให้เกิดกล่มุ ปฏิบัตดิ ้านการโตต้ อบเหตุฉกุ เฉนิ องค์กร - จดั ระบบรายงานและพฒั นาระบบการตอบสนองตอ่ สถานการณฉ์ กุ เฉิน - ประสานการดําเนินงานรักษาความปลอดภัยระหว่างหนว่ ยงานภายในและภายนอก ภ1-3
ตารางที่ 1.2 ตัวอย่างการกําหนดบทบาทหนา้ ทคี่ วามรับผิดชอบของผเู้ ก่ยี วขอ้ ง (ตอ่ ) ตําแหนง่ บทบาทหน้าที่ 6. คณะทาํ งานเพอ่ื ความปลอดภยั ฯ - บรหิ ารจดั การให้เกิดกลมุ่ ดาํ เนินการจัดระบบและกิจกรรม เพ่ือความปลอดภัย 7. หวั หน้าห้องปฏบิ ัติการ ของห้องปฏบิ ัติการทง้ั 6 ด้าน ตามนโยบายและเปา้ ประสงค์ที่คณะกรรมการ อํานวยการฯ กาํ หนดไว้ 8. พนกั งาน/เจา้ หนา้ ท่ีประจาํ ห้อง หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร - สง่ เสรมิ และสนับสนุนให้ห้องปฏิบตั กิ ารใช้ระบบและร่วมกจิ กรรมของทงั้ 6 กลุ่ม ด้วยการถ่ายทอดความรู้และฝกึ อบรมผู้ปฏบิ ัติงานในห้องปฏิบัตกิ ารและ ผู้เกยี่ วข้อง - ปอ้ งกนั และลดความเสีย่ งของผู้ปฏบิ ตั ิงานในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารดว้ ยระบบการจัดการ สารเคมีและของเสียอันตราย การตดิ ตามตรวจสอบและดูแลบํารุงรกั ษาลักษณะ ทางกายภาพให้อยู่ในสภาพปลอดภัย จัดหาและบํารุงรกั ษาเคร่ืองปอ้ งกนั ภัยสว่ น บคุ คลไวใ้ หพ้ ร้อมสาํ หรบั การปฏิบัตกิ ารทม่ี คี วามเสย่ี งสูง - กาํ หนดหนา้ ท่คี วามรบั ผิดชอบใหผ้ เู้ กย่ี วขอ้ งในการดาํ เนินการตามกลยุทธ์ทัง้ 6 ด้าน - กาํ หนดมาตรการและกํากับดแู ลใหม้ ีการปฏิบตั ิตามระเบยี บขอ้ บังคบั ของ หอ้ งปฏบิ ัติการ เพ่อื ความปลอดภัย - ส่อื สารและแจง้ เตือนขอ้ มลู ปจั จยั และความเสี่ยงต่างๆ ของห้องปฏิบตั กิ ารให้ ผ้เู ก่ียวข้องทราบ - อบรมใหค้ วามรเู้ กยี่ วกบั ความปลอดภยั ใหผ้ ู้เกย่ี วข้องกับห้องปฏบิ ัติการ - ปฏิบัติตามกฎระเบยี บขอ้ บงั คับและมาตรการความปลอดภัยของห้องปฏบิ ตั ิการ - รบั ทราบข้อมลู ปัจจัยและความเส่ยี งตา่ งๆ ของห้องปฏบิ ัติการ - เข้ารบั การอบรมความรเู้ ก่ียวกับความปลอดภัยของห้องปฏบิ ัติการตามที่กําหนด - รายงานภยั อนั ตรายทเี่ กิดขึ้นในการทาํ งานในห้องปฏิบัติการ - แจง้ ให้ผู้รบั ผิดชอบทราบถงึ ปจั จยั หรอื ความเสี่ยงท่ีพบ ภ.1-4
ภาคผนวก 2 ระบบการจัดการสารเคมี 2.1 สารบบสารเคมี ตารางท่ี 2.1 ตัวอย่างรปู แบบสารบบสารเคมี รหัสขวด ชือ่ สารเคมี CAS no. UN สถานะ มี SDS เกรด วนั หมดอายุ ขนาด ปริมาณ สถานที่ ผ้ผู ลิต ผู้ขาย ราคา วนั ที่รับ วันที่ Class บรรจุ คงเหลอื เก็บ (บาท) เขา้ มา ปรับปรุง AA5100001 Ethyl Merck alcohol 64-17-5 3 ของเหลว ACS 31/12/2556 2.50 ลิตร 1.00 ลติ ร หอ้ ง Merck Thailand ใน Lab ข้อมูล 500 25/1/2551 22/12/2554 reagent 1411 AA5100002 Sodium 1310-73-2 8 ของเหลว AnalaR 31/12/2556 10.00 10.00 ลิตร ห้อง Merck Merck 800 15/6/2551 23/12/2554 hydroxide ลติ ร 907 Thailand AA5100003 Ammonium 12125-02-9 - ของแข็ง AnalaR 31/12/2556 500.00 100.00 หอ้ ง Merck Merck 3,300 15/6/2551 23/12/2554 chloride กรมั กรมั 1411 Thailand AA5100004 Ammonium 7783-85-9 - ของแข็ง ACS 31/12/2556 100 กรัม 50 กรมั หอ้ ง Sigma SM 6,000 15/6/2551 23/12/2554 iron (II) reagent 1411 chemical sulfate hexahydrate AA5100005 Antimony 10025-91-9 8 ของแข็ง Purum 31/12/2556 100.00 10.00 กรมั หอ้ ง Fluka ไมท่ ราบ 3,500 30/8/2551 26/12/2554 trichloride กรมั 1411 AA5100006 Hydrogen 215-605-7 2.1 แกส๊ - 31/12/2556 5 ลิตร - ห้อง TIG TIG 2,500 30/8/2551 26/12/2554 907 AA5100007 Nickel(II) 10101-97-0 6.1 ของแข็ง ACS 31/12/2556 1,000 500 กรมั หอ้ ง Sigma SM 9,500 3/10/2551 26/12/2554 sulfate reagent กรมั 907 chemical hexahydrate AA5200001 Ethyl 64-17-5 3 ของเหลว ACS 31/12/2556 5.00 ลติ ร 5.00 ลติ ร หอ้ ง Merck Merck 1,000 10/1/2552 26/12/2554 alcohol reagent 1411 Thailand ตารางที่ 2.2 ตวั อยา่ งรายงานความเคลื่อนไหวสารเคมี ชือ่ สารเคมี CAS no. UN Class สถานะ ปรมิ าณ สถานที่เกบ็ วันท่ปี รบั ปรุง คงเหลือ ขอ้ มูล 6.00 ลติ ร Ethyl alcohol 64–17–5 3 ของเหลว ของเหลว หอ้ ง 1411 22/12/2554 10.00 ลิตร ไวไฟ Sodium hydroxide 1310–73–2 8 กดั กร่อน ของเหลว ห้อง 907 23/12/2554 Ammonium chloride 12125–02–9 - - ของแขง็ 100.00 กรัม ห้อง 1411 23/12/2554 Ammonium iron (II) 7783–85–9 - - ของแข็ง 50 กรมั ห้อง 1411 23/12/2554 sulfate hexahydrate Antimony trichloride 10025–91–9 8 กัดกรอ่ น ของแข็ง 10.00 กรมั หอ้ ง 1411 26/12/2554 Hydrogen 215–605–7 2.1 แก๊สไวไฟ แก๊ส - ห้อง 907 26/12/2554 Nickel (II) sulfate 10101–97–0 6.1 สารพิษ ของแขง็ 500 กรมั ห้อง 907 26/12/2554 hexahydrate ภ2-1
* กาหนดให้ 1 หนว่ ย = 1 kg. = 1 l. = 1 m3 หากสารมี แผนภาพที่ 2.1 สัดสว่ นเชงิ ปรมิ าณของสารเคมจี าแนกตาม หนว่ ยอน่ื จะไมถ่ ูกคานวณ เช่น คิวร,ี vials ประเภทความเป็นอนั ตราย 2.2 ประเภทและสญั ลกั ษณ์ความเป็นอนั ตรายของสารเคมี 2.2.1 ระบบการจาแนกประเภทและการตดิ ฉลากสารเคมที ่เี ป็นระบบเดยี วกนั ทัว่ โลก (Globally Harmonised System for Classification and Labeling of Chemicals, GHS) GHS เป็นระบบการจาแนกประเภท การติดฉลาก และการแสดงรายละเอยี ดในเอกสารข้อมลู ความปลอดภยั (Safety Data Sheet, SDS) ของสารเคมแี ละเคมภี ณั ฑ์ ทีอ่ งค์การสหประชาชาตพิ ฒั นาขึ้น เพ่ือให้ใช้สื่อสารและมีความเข้าใจเกยี่ วกับ อนั ตรายทเ่ี กดิ จากสารเคมีน้ันๆ ในทิศทางเดียวกนั ซึ่งจะช่วยลดความซา้ ซอ้ นและค่าใชจ้ ่ายในการทดสอบและประเมนิ สารเคมี และม่นั ใจว่าการใช้สารเคมแี ตล่ ะประเภทจะถกู ตอ้ งตามทร่ี ะบุ โดยไม่เกดิ ผลเสยี หรอื อนั ตรายต่อสขุ ภาพมนุษยแ์ ละส่งิ แวดลอ้ ม แต่อย่างใด ระบบ GHS ประกอบด้วยองคป์ ระกอบหลัก 2 ประการ 1. กาหนดเกณฑ์การจาแนกประเภทสารเคมแี ละเคมภี ณั ฑ์ ตามความเป็นอันตรายดา้ นกายภาพ สขุ ภาพ และ ส่ิงแวดล้อม 2. กาหนดองค์ประกอบในการสือ่ สารข้อมูลสารเคมีและเคมภี ณั ฑผ์ า่ นทางฉลาก และเอกสารขอ้ มลู ความปลอดภัย (SDS) ภ2-2
ระบบ GHS ประกอบด้วยสญั ลักษณแ์ สดงความเป็นอันตราย 9 รปู (pictograms) ดังน้ี Flame Flame over circle Exploding bomb Corrosion Gas cylinder Skull and crossbones Exclamation mark Environment Health Hazard ระบบ GHS แบง่ ประเภทความเปน็ อันตรายเปน็ 3 ด้าน ดังน้ี ดา้ นกายภาพ 16 ประเภท ดา้ นสขุ ภาพ 10 ประเภท ดา้ นสงิ่ แวดล้อม 2 ประเภท ดงั แสดงรายละเอียดในตารางท่ี 2.3–2.5 ตารางท่ี 2.3 ประเภทและสญั ลกั ษณ์ความเป็นอนั ตรายดา้ นกายภาพ ประเภทความเป็นอนั ตราย คาอธิบายโดยสงั เขป สญั ลักษณ*์ 1. วัตถุระเบดิ (Explosives) สารในรปู ของแขง็ หรือของเหลวทเ่ี มือ่ ทาปฏกิ ิริยาทางเคมีแล้ว 2. แกส๊ ไวไฟ (Flammable เกิดแกส๊ ทีม่ ีอณุ หภมู ิและความดนั สูงจนสามารถทาความเสยี หาย gases) ให้กบั สิง่ โดยรอบ สารดอกไมเ้ พลงิ (pyrotechnic substance) แก๊สทม่ี ีช่วงความไวไฟกบั อากาศท่อี ุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส ที่ ความดนั บรรยากาศ 101.3 กโิ ลปาสกาล 3. สารละอองลอยไวไฟ สารละอองลอยที่มคี ณุ สมบตั ไิ วไฟ หรอื มีส่วนประกอบของสารไวไฟ (Flammable aerosols) 4. แกส๊ ออกซไิ ดซ์ (Oxidizing แกส๊ ที่ใหอ้ อกซเิ จนได้ ซึง่ เปน็ สาเหตหุ รือมสี ว่ นทาใหว้ ัสดุอ่ืนเกิดการ gases) เผาไหม้มากกวา่ ปกติ 5. แก๊สภายใตค้ วามดัน แกส๊ ทมี่ คี วามดนั ไมต่ ่ากวา่ 200 กิโลปาสกาล ทบ่ี รรจอุ ยู่ในภาชนะ (Gases under pressure) บรรจุ ซ่ึงหมายรวมถึง แกส๊ อดั (compressed gas) แกส๊ เหลว (liquefied gas) แก๊สในสารละลาย (dissolved gas) และแกส๊ เหลว อณุ หภมู ติ า่ (refrigerated liquefied gas) หมายเหตุ * ประเภทความเป็นอันตรายบางประเภทสามารถมีสัญลกั ษณ์แสดงความเปน็ อนั ตรายได้มากกว่า 1 รูป ขึ้นกบั ระดับความเปน็ อนั ตราย ยอ่ ย (category) ของประเภทความเปน็ อันตรายน้นั ๆ ภ2-3
ตารางท่ี 2.3 ประเภทและสญั ลกั ษณ์ความเป็นอนั ตรายด้านกายภาพ (ต่อ) ประเภทความเป็นอนั ตราย คาอธบิ ายโดยสังเขป สญั ลกั ษณ*์ ของเหลวทมี่ จี ุดวาบไฟไมเ่ กนิ 93 องศาเซลเซยี ส 6. ของเหลวไวไฟ (Flammable liquids) 7. ของแข็งไวไฟ ของแข็งทล่ี กุ ตดิ ไฟได้งา่ ย หรอื อาจเป็นสาเหตุหรือชว่ ยให้เกดิ ไฟดว้ ย (Flammable solids) แรงเสียดทาน 8. สารเคมที ท่ี าปฏกิ ริ ยิ าได้เอง สารทไ่ี มเ่ สถยี รทางความร้อนซ่งึ มแี นวโนม้ ทจ่ี ะเกดิ การสลายตัว (Self-reactive ระดับโมเลกุลทาใหเ้ กิดความรอ้ นขน้ึ อย่างรุนแรง แม้ไมม่ อี อกซิเจน substances and (อากาศ) เป็นสว่ นรว่ ม mixtures) (ไม่รวมถงึ สารท่ีเปน็ วัตถรุ ะเบดิ สารเปอรอ์ อกไซด์อนิ ทรีย์ หรอื สาร ออกซไิ ดซ์) 9. ของเหลวทล่ี ุกตดิ ไฟได้เอง ของเหลวที่มีแนวโนม้ ทีจ่ ะลุกตดิ ไฟภายใน 5 นาที แมม้ อี ย่ใู นปริมาณ ในอากาศ (Pyrophoric นอ้ ย เม่อื สัมผสั กบั อากาศ liquids) 10. ของแข็งทลี่ ุกตดิ ไฟไดเ้ องใน ของแข็งทมี่ ีแนวโน้มทีจ่ ะลกุ ติดไฟภายใน 5 นาที แม้มีอยูใ่ นปรมิ าณ อากาศ (Pyrophoric นอ้ ย เมอื่ สมั ผัสกับอากาศ solids) 11. สารเคมีทเ่ี กิดความรอ้ นได้ สารที่ทาปฏกิ ริ ิยากับอากาศโดยไมไ่ ดร้ ับพลังงานจากภายนอก จะทา เอง (Self-heating ให้เกดิ ความรอ้ นไดเ้ อง substances and (สารประเภทนี้จะแตกตา่ งจากสารทลี่ ุกติดไฟไดเ้ องในอากาศ คือ จะ mixtures) ลกุ ติดไฟไดก้ ็ตอ่ เม่อื มปี รมิ าณมาก (หลายกโิ ลกรมั ) และสะสมอยู่ ดว้ ยกันเป็นระยะเวลานาน (หลายชว่ั โมงหรอื หลายวนั ) 12. สารเคมีที่สมั ผสั นา้ แลว้ ให้ สารที่เปน็ ของแขง็ หรอื ของเหลวทท่ี าปฏกิ ิรยิ ากับน้าแล้วสามารถลกุ แก๊สไวไฟ (Substances ไหมไ้ ด้โดยตัวเองหรือปลอ่ ยแกส๊ ไวไฟออกมาในปรมิ าณทีเ่ ป็น and mixtures, which in อันตราย contact with water, emit flammable gases) 13. ของเหลวออกซไิ ดซ์ ของเหลวท่โี ดยทัว่ ไปจะปล่อยแกส๊ ออกซเิ จน ซึง่ เปน็ สาเหตหุ รือมี (Oxidizing liquids) สว่ นทาใหว้ ัสดอุ ืน่ เกดิ การเผาไหมไ้ ด้มากกวา่ ปกติ 14. ของแข็งออกซไิ ดซ์ ของแข็งที่โดยท่วั ไปจะปล่อยแกส๊ ออกซเิ จน ซึ่งเป็นสาเหตุหรอื มสี ่วน (Oxidizing solids) ทาให้วสั ดอุ ื่นเกิดการเผาไหมไ้ ดม้ ากกว่าปกติ หมายเหตุ * ประเภทความเปน็ อนั ตรายบางประเภทสามารถมีสญั ลักษณ์แสดงความเปน็ อนั ตรายไดม้ ากกว่า 1 รูป ขึน้ กับระดับความเปน็ อันตราย ย่อย (category) ของประเภทความเปน็ อนั ตรายนั้นๆ ภ2-4
ตารางที่ 2.3 ประเภทและสัญลักษณ์ความเปน็ อนั ตรายดา้ นกายภาพ (ต่อ) ประเภทความเป็นอันตราย คาอธิบายโดยสงั เขป สญั ลกั ษณ*์ 15. สารเปอรอ์ อกไซด์อนิ ทรยี ์ สารอนิ ทรยี ท์ เี่ ปน็ ของเหลวและของแขง็ ทป่ี ระกอบด้วยโครงสรา้ งที่มี (Organic peroxides) ออกซเิ จนสองอะตอมเกาะกัน (bivalent-O-O-structure) และ อนพุ นั ธข์ องไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ทอี่ ะตอมไฮโดรเจนถกู แทนที่ 16. สารท่ีกดั กรอ่ นโลหะ ดว้ ยอนุมลู อินทรยี ์ (organic radicals) และอาจมีคณุ สมบัตอิ ยา่ งใด (Corrosive to metals) อย่างหนึ่ง ดงั นี้ เมื่อสลายตัวทาให้เกดิ การระเบิดได้ ลุกไหมไ้ ดอ้ ย่างรวดเรว็ ไวต่อแรงกระแทกหรือการเสียดสี เกิดปฏกิ ริ ยิ าอันตรายกับสารอนื่ ๆ ได้ สารที่ทาความเสยี หายหรอื ทาลายโลหะไดด้ ว้ ยผลจากการกระทา ทางเคมี หมายเหตุ * ประเภทความเปน็ อันตรายบางประเภทสามารถมสี ัญลักษณ์แสดงความเปน็ อนั ตรายได้มากกว่า 1 รปู ข้ึนกับระดบั ความเปน็ อนั ตราย ย่อย (category) ของประเภทความเปน็ อนั ตรายนนั้ ๆ ตารางที่ 2.4 ประเภทและสัญลกั ษณ์ความเป็นอนั ตรายด้านสขุ ภาพ ประเภทความเปน็ อนั ตราย คาอธิบายโดยสงั เขป สัญลกั ษณ*์ 1. ความเปน็ พษิ เฉยี บพลนั ทาใหเ้ กิดผลกระทบรา้ ยแรงหลังจากการได้รบั สารเคมเี ข้าสู่รา่ งกาย (Acute toxicity) ทางปากหรอื ทางผวิ หนงั เพียงคร้งั เดยี วหรอื หลายครั้งภายในเวลา 24 ชัว่ โมง หรอื ทางการหายใจเป็นเวลา 4 ช่วั โมง 2. การกดั กร่อน/ระคายเคอื ง แบ่งเปน็ 2 ประเภท คอื ผวิ หนงั (Skin กัดกร่อนผวิ หนงั หมายถงึ การเกดิ อันตรายตอ่ ผิวหนังชนิดท่ีไม่ corrosion/irritation) สามารถฟน้ื ฟใู หก้ ลับคืนสสู่ ภาพเดมิ ได้ หรือมีการตายของเซลล์ ผิวหนังชั้นนอกจนถึงชน้ั ใน หลงั การทดสอบกบั สารทดสอบเปน็ ระยะเวลา 4 ชว่ั โมง ระคายเคืองผิวหนงั หมายถงึ การเกดิ อันตรายตอ่ ผิวหนังชนดิ ที่ สามารถฟื้นฟูใหก้ ลับคนื สสู่ ภาพเดมิ ได้ หลงั การทดสอบกบั สาร ทดสอบเป็นระยะเวลา 4 ชัว่ โมง หมายเหตุ * ประเภทความเปน็ อนั ตรายบางประเภทสามารถมีสัญลกั ษณแ์ สดงความเปน็ อันตรายได้มากกว่า 1 รปู ขึ้นกับระดบั ความเปน็ อันตรายยอ่ ย (category) ของประเภทความเป็นอนั ตรายนัน้ ๆ ภ2-5
ตารางท่ี 2.4 ประเภทและสัญลกั ษณ์ความเปน็ อันตรายดา้ นสุขภาพ (ตอ่ ) ประเภทความเปน็ อนั ตราย คาอธบิ ายโดยสังเขป สญั ลกั ษณ*์ 3. การทาลายดวงตาอย่าง แบง่ เป็น 2 ประเภท คอื รนุ แรง/การระคายเคืองตอ่ ทาลายดวงตาอยา่ งรนุ แรง คอื ทาให้เนอื้ เยอื่ ตา เสยี หาย หรอื ดวงตา (Serious eye damage/eye irritation) เกดิ ความเสยี หายทางกายภาพอยา่ งรุนแรงต่อการมองเหน็ ท่ไี ม่ สามารถฟน้ื ฟกู ลบั สสู่ ภาพเดมิ ไดภ้ ายใน 21 วัน หลังการสมั ผสั ระคายเคืองตอ่ ดวงตา คอื การเปล่ียนแปลงของดวงตา ที่ สามารถฟื้นฟูกลบั สสู่ ภาพเดมิ ไดภ้ ายใน 21 วัน หลงั การสมั ผสั 4. การทาใหไ้ วต่อการกระต้นุ ไวตอ่ การกระตนุ้ ใหเ้ กิดอาการแพท้ างระบบทางเดินหายใจ อาการแพ้ต่อระบบทางเดิน หมายถงึ ทาให้เกดิ ภาวะภูมไิ วเกินในระบบทางเดินหายใจ หายใจหรอื ผวิ หนงั หลงั จากไดร้ ับสารจากการหายใจ (Respiratory or skin ไวตอ่ การกระตนุ้ ใหเ้ กิดอาการแพท้ างผิวหนงั หมายถงึ ทาให้ sensitization) เกดิ อาการภมู ิแพห้ ลงั จากไดร้ บั สารทางผิวหนงั 5. การกลายพนั ธ์ุของเซลล์ ทาให้เกิดการกลายพนั ธข์ุ องเซลลส์ ืบพันธข์ุ องมนุษย์ซึ่งสามารถ สบื พนั ธ์ุ (Germ cell ถา่ ยทอดสลู่ กู หลานได้ mutagenicity) ทาใหเ้ กดิ มะเร็งหรอื เพมิ่ อบุ ัตกิ ารณข์ องการเกิดมะเรง็ หรอื ทาใหเ้ กดิ 6. ความสามารถในการก่อ กอ้ นเนอื้ งอกชนดิ ไมร่ นุ แรงและรุนแรงลกุ ลามในสัตวท์ ดลอง มะเร็ง (Carcinogenicity) 7. ความเป็นพิษตอ่ ระบบ เปน็ พิษต่อระบบสบื พนั ธข์ุ องมนษุ ย์ อาจเกดิ อันตรายต่อการเจรญิ สืบพันธุ์ (Reproductive พนั ธ์หุ รอื ทารกในครรภ์ รวมถงึ อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพของเดก็ ท่ี toxicity) ไดร้ ับการเล้ยี งด้วยน้านมมารดา 8. ความเป็นพษิ ตอ่ ระบบ ทาใหเ้ กดิ ความผิดปกติของระบบต่างๆ ของร่างกาย ท้ังท่ีสามารถ อวัยวะเปา้ หมาย-การได้รบั กลบั คืนสสู่ ภาพเดมิ ได้และไมส่ ามารถกลับคนื สสู่ ภาพเดมิ ได้ แบบ สัมผสั คร้งั เดียว (Specific เฉียบพลันและ/หรือเรือ้ รัง (แต่ไมถ่ ึงระดับทาใหเ้ สียชีวติ ) จากการ target organ toxicity - ได้รบั สัมผสั คร้ังเดยี ว Single exposure) หมายเหตุ * ประเภทความเปน็ อนั ตรายบางประเภทสามารถมีสัญลกั ษณ์แสดงความเป็นอนั ตรายไดม้ ากกว่า 1 รูป ขึ้นกบั ระดับความเปน็ อันตรายยอ่ ย (category) ของประเภทความเป็นอันตรายน้นั ๆ ภ2-6
ตารางที่ 2.4 ประเภทและสญั ลักษณ์ความเป็นอันตรายดา้ นสขุ ภาพ (ตอ่ ) ประเภทความเป็นอนั ตราย คาอธิบายโดยสงั เขป สัญลักษณ*์ 9. ความเป็นพษิ ตอ่ ระบบ ทาใหเ้ กดิ ความผิดปกตขิ องระบบต่างๆ ในร่างกาย ทง้ั ทส่ี ามารถ อวัยวะเปา้ หมาย-การไดร้ บั กลบั คนื สสู่ ภาพเดมิ ได้และไมส่ ามารถกลับคืนสู่สภาพเดมิ ได้ แบบ สัมผสั ซ้า (Specific target เฉียบพลันและ/หรือเรื้อรัง (แตไ่ มถ่ งึ ระดับทาให้เสียชวี ิต) จากการ organ toxicity - ได้รบั สัมผสั ซ้าๆ กนั repeated exposure) 10. อนั ตรายตอ่ ระบบทางเดิน เมื่อไดร้ บั สารที่เปน็ ของแขง็ /ของเหลวเข้าสูร่ ะบบหายใจ โดยผ่าน หายใจส่วนล่างหรือทาให้ ทางปาก จมูก หรอื การสาลัก จะทาใหเ้ กิดอาการรนุ แรงทเ่ี กิดขึน้ ปอดอกั เสบจากการสาลกั อย่างเฉยี บพลัน เช่น ปอดบวมจากสารเคมี การบาดเจ็บทเ่ี กดิ ต่อ (Aspiration hazardous) ปอด โดยมคี วามรนุ แรงหลายระดบั จนถงึ เสยี ชีวติ หมายเหตุ การสาลกั คือการที่ของเหลวหรอื ของแข็งเข้าสู่หลอดลม และทางเดินหายใจส่วนลา่ ง โดยผา่ นปากหรอื จมกู โดยตรง หรือ ทางออ้ มผ่านการอาเจยี น หมายเหตุ * ประเภทความเปน็ อนั ตรายบางประเภทสามารถมสี ญั ลักษณ์แสดงความเปน็ อันตรายไดม้ ากกว่า 1 รูป ข้ึนกับระดับความเป็นอันตราย ย่อย (category) ของประเภทความเปน็ อนั ตรายนั้นๆ ตารางท่ี 2.5 ประเภทและสัญลักษณค์ วามเป็นอนั ตรายดา้ นสง่ิ แวดล้อม ประเภทความเปน็ อนั ตราย คาอธิบายโดยสังเขป สญั ลกั ษณ์ 1. ความเป็นอนั ตรายต่อ หมายรวมถงึ ปัจจยั ต่อไปน้ี สิ่งแวดล้อมทางนา้ เป็นพิษเฉียบพลันตอ่ สงิ่ มีชีวิตในนา้ (Hazardous to the เปน็ พษิ เรือ้ รังต่อสง่ิ มีชีวิตในน้า aquatic environment) ทาใหเ้ กิดการสะสมสารเคมีในส่ิงมชี ีวติ ในน้า ส่งผลกระทบต่อระบบการย่อยสลายสารเคมีในน้าหรือใน 2. ความเปน็ อันตรายต่อช้นั โอโซน (Hazardous to สิง่ มีชวี ิต the ozone layer) สามารถทาลายช้ันโอโซนในชนั้ บรรยากาศได้ เปน็ สารทมี่ ีอย่ใู นรายการสารเคมที พี่ ิจารณาวา่ เปน็ อันตรายต่อ ช้ันโอโซน ในภาคผนวกของ Montreal Protocol ภ2-7
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187