2) ตามกฎกระทรวงฉบับท่ี 39 (พ.ศ. 2537) กฎกระทรวงฉบับท่ี 47 (พ.ศ. 2540) และกฎกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติอาคาร พ.ศ. 2522 กําหนดรายละเอียดสําหรับอาคารทั่วไปท่ีมิใช่อาคารสูงหรือ อาคารขนาดใหญพ่ ิเศษไว้ดังนี้ เคร่ืองหมายและไฟปา้ ยบอกทางออกฉกุ เฉิน สําหรบั อาคารทวั่ ไปที่มใิ ช่อาคารสงู หรอื อาคารขนาดใหญพ่ เิ ศษ 2.1) ต้องมีป้ายเรืองแสงหรือเคร่ืองหมายไฟแสงสว่างด้วยไฟสํารองฉุกเฉินบอกทางออกสู่บันไดหนีไฟ ติดตั้ง เป็นระยะตามทางเดนิ บริเวณหน้าทางออกสู่บันไดหนีไฟ และทางออกจากบันไดหนีไฟสู่ภายนอกอาคารหรอื ชั้นที่มีทางหนีไฟได้ ปลอดภัยต่อเนื่องโดยป้ายดังกล่าวต้องแสดงข้อความหนีไฟเป็นอักษรมีขนาดสูงไม่น้อยกว่า 0.15 เมตร หรือเคร่ืองหมายที่มีแสง สว่างและแสดงวา่ เปน็ ทางหนีไฟให้ชดั เจน 2.2) ตดิ ตั้งระบบไฟส่องสว่างสํารองเพื่อให้มีแสงสว่างสามารถมองเหน็ ช่องทางเดินไดข้ ณะเพลิงไหมแ้ ละมีป้าย บอกช้ันและป้ายบอกทางหนีไฟท่ีด้านในและด้านนอกของประตูหนีไฟทุกช้ัน ด้วยตัวอักษรที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจน โดย ตวั อักษรต้องมีขนาดไม่เลก็ กวา่ 0.10 เมตร 2.3) เครอ่ื งหมายและไฟปา้ ยบอกทางออกฉกุ เฉนิ สําหรับอาคารสงู และอาคารขนาดใหญ่พิเศษ ตอ้ งมปี ้าย บอกชั้นและป้ายบอกทางหนไี ฟที่ด้านในและด้านนอกของประตูหนีไฟทุกชัน้ ด้วยตวั อักษรทม่ี ขี นาดไม่เล็กกวา่ 0.10 เมตร พร้อมระบบไฟส่องสว่างสํารองเพ่ือใหส้ ามารถมองเหน็ ช่องทางเดนิ ไดข้ ณะเพลิงไหม้ 4.6.4 มาตรฐานเคร่อื งดบั เพลงิ แบบเคลือ่ นที่ (Portable fire exitinguisher) 1) ตามมาตรฐานการป้องกันอัคคีภัย วสท. 3002–51 ภาคที่ 5 มาตรฐานระบบดับเพลงิ หมวดท่ี 3 เครือ่ งดับเพลิง แบบเคลื่อนท่แี ละการตดิ ตั้งไดม้ กี ารกาํ หนดรายละเอียด ไวด้ ังนี้ ประเภทของเพลงิ และประเภทของการใชง้ าน (ตารางที่ 4.10) 1.1) ประเภทของเพลงิ : ประเภทของเพลงิ แบ่งออกเป็น 5 ประเภทดงั นี้ 1.1.1) ประเภท ก. (Class A) หมายถึง เพลิงท่ีเกิดข้ึนจากวัสดุติดไฟปกติ เช่น ไม้ ผ้า กระดาษ ยาง และพลาสติก 1.1.2) ประเภท ข. (Class B) หมายถึง เพลิงท่ีเกิดข้ึนจากของเหลวติดไฟปกติ เช่น น้ํามัน จารบี นํา้ มนั ผสมสนี ํ้ามนั นํา้ มันชกั เงา นํ้ามนั ดิน และแกส๊ ติดไฟต่างๆ 1.1.3) ประเภท ค. (Class C) หมายถึง เพลงิ ที่เกดิ ขนึ้ จากอปุ กรณไ์ ฟฟา้ เชน่ ไฟฟ้าลัดวงจร 1.1.4) ประเภท ง. (Class D) หมายถงึ เพลิงที่เกิดขน้ึ จากโลหะทต่ี ิดไฟได้ เช่น แมกนเี ซยี ม เซอร์โครเนียม โซเดยี ม ลิเธียม และโปแตสเซยี ม 1.15) ประเภท จ. (Class K) หมายถงึ เพลงิ ท่เี กิดขนึ้ จากไขมันพชื หรอื สัตว์ ตารางท่ี 4.10 การเลือกใช้ชนิดของเครอื่ งดบั เพลิงประเภทต่างๆ ชนิดของสารดบั เพลงิ ประเภทของเพลงิ ประเภท จ. ประเภท ก. ประเภท ข. ประเภท ค. ประเภท ง. ผงเคมีแหง้ แบบอเนกประสงค์ ผงเคมแี หง้ ชนิดอืน่ ๆ (Sodium bicarbonate & Potassium bicarbonate) คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) โฟม (Foam) สารสะอาดดบั เพลงิ (Clean agent fire extinguishing systems) น้ํายาเคมีดบั เพลิง (Wet chemical) หมอกน้ํา (Water mist) (ทม่ี า มาตรฐานการปอ้ งกนั อคั คีภัย วสท. 3002–51, 2551: หนา้ 147) 1.2) ประเภทการใช้งาน: การใช้งานของเครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนท่ี จะต้องเลือกขนาดและสารดับเพลิงให้ เหมาะสมกับประเภทของเพลิงท่ีเกดิ ขึน้ ภ4-22
1.2.1) การติดตั้งเคร่ืองดับเพลิง จะต้องติดต้ังอยู่ในบริเวณท่ีสามารถมองเห็นได้ชัดเจนและสามารถหยิบ ฉวยเพ่ือนําไปใช้ในการดับเพลิงได้โดยสะดวก เคร่ืองดับเพลิงจะต้องติดต้ังไม่สูงกว่า 1.40 เมตร จากระดับพื้นจนถึงหัวของ เครอื่ งดับเพลิง 1.2.2) เคร่อื งดับเพลิงแบบเคล่อื นท่ีปกตจิ ะมีขนาดบรรจุประมาณ 4.5 กโิ ลกรัม และไม่ควรจะเกิน 18.14 กโิ ลกรัม เพราะจะหนักเกนิ ไป ยกเว้นชนดิ ท่ีมีลอ้ เขน็ 1.2.3) การกําหนดความสามารถ (rating) ของเครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนที่ ให้ใช้ตามมาตรฐานของ UL หรือสถาบันท่เี ชือ่ ถือหรอื ตามมาตรฐานผลิตภณั ฑ์อุตสาหกรรม มอก. 332–เครอ่ื งดบั เพลงิ ยกหิว้ ชนดิ ผงเคมีแห้ง ฉบับล่าสดุ รายละเอยี ดเพิ่มเตมิ ดจู ากมาตรฐานการป้องกนั อัคคีภยั วสท. 3002–51 หนา้ 146–150 2) ตามกฎกระทรวงฉบบั ที่ 33 (พ.ศ. 2535) ฉบับท่ี 39 (พ.ศ. 2537) ฉบับที่ 47 (พ.ศ. 2540) และฉบบั ที่ 55 (พ.ศ. 2543) ไดก้ าํ หนดรายละเอยี ดสาํ หรับอาคารประเภทตา่ งๆ ดังน้ี 2.1) กฎกระทรวงฉบับท่ี 33 (พ.ศ. 2535) ได้กําหนดให้อาคารสูงและอาคารขนาดใหญ่พิเศษต้องมีการติดตั้ง อุปกรณด์ บั เพลงิ ดงั น้ี ระบบการติดต้ังอุปกรณ์ดับเพลิง: ต้องติดตั้งเคร่ืองดับเพลิงแบบเคล่ือนที่โดยให้มี 1 เครื่องต่อพ้ืนท่ีไม่เกิน 1,000 ตารางเมตร ทกุ ระยะไมเ่ กิน 45 เมตร แต่ไม่นอ้ ยกวา่ ชั้นละ 1 เคร่ือง การติดต้ังเครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนท่ีต้องติดตงั้ ให้ ส่วนบนสุดของตัวเครื่องสูงจากระดับพ้ืนอาคารไม่เกิน 1.50 เมตร ในจุดที่สามารถนํามาใช้ได้สะดวก และต้องอยู่ในสภาพท่ีใช้ งานไดต้ ลอดเวลา 2.2) กฎกระทรวงฉบับที่ 39 (พ.ศ. 2537) ฉบับท่ี 47 (พ.ศ. 2540) และฉบับท่ี 55 (พ.ศ. 2543) กําหนดให้ อาคารทว่ั ไปทม่ี ิใชอ่ าคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษ ตอ้ งมกี ารติดตั้งอุปกรณ์ดับเพลงิ ดังนี้ ระบบการติดตั้งอุปกรณ์ดับเพลิง: ติดต้ังเคร่ืองดับเพลิงแบบเคลื่อนท่ีโดยให้มี 1 เคร่ืองต่อพ้ืนท่ี ไม่เกิน 1,000 ตารางเมตร ทุกระยะไม่เกิน 45 เมตร แต่ไม่น้อยกวา่ ช้ันละ 1 เครอ่ื ง การติดต้ังเคร่ืองดับเพลิงแบบเคล่ือนท่ีนี้ ต้องติดต้ังให้ส่วน บนสุดของตัวเคร่ืองสูงจากระดับพ้ืนอาคารไม่เกิน 1.50 เมตร 3) การตรวจสอบสภาพความสามารถในการใช้งานของถังดับเพลิงตามคู่มือเทคนิคการตรวจสอบอาคารเพื่อความ ปลอดภัยของ วสท. ได้กําหนดเกยี่ วกบั ถงั ดงั เพลงิ ไว้ดงั น้ี 3.1) การติดตงั้ 3.1.1) ระยะหา่ งของถงั ดบั เพลงิ ตอ้ งไมเ่ กิน 45 เมตร 3.1.2) ระยะการเข้าถงึ ถงั ดบั เพลงิ ตอ้ งไมเ่ กิน 23 เมตร 3.1.3) ความสูงจากระดบั พนื้ ถึงส่วนสงู สดุ ของถังดบั เพลงิ ตอ้ งไมเ่ กนิ 1.40 เมตร 3.1.4) ความเหมาะสมต่อการยกห้ิวเคล่อื นยา้ ย ขนาดบรรจทุ ี่ 10–20 ปอนด์ 3.1.5) ชนดิ ของเคร่อื งดบั เพลิงตอ้ งเหมาะสมกับวสั ดทุ ่ีตดิ ไฟในแตล่ ะพ้นื ที่ 3.1.6) มปี า้ ยสัญลักษณ์ 3.2) การตรวจสอบ 3.2.1) ตรวจใบกาํ กับการตรวจสอบของบรษิ ทั ผ้ผู ลติ หรือบรษิ ทั ผู้ให้บรกิ าร 3.2.2) ตรวจสอบมาตรวัดแรงดนั ตอ้ งอยู่ในตําแหนง่ พรอ้ มใช้งานดงั แสดงในรูปที่ 4.8 3.2.3) ตรวจสอบนาํ้ หนักสทุ ธขิ องถังดับเพลงิ ต้องพร้อมใชง้ าน ใชใ้ นกรณเี คร่อื งดับเพลิงเป็นชนิดที่ไมม่ ี มาตรวัดแรงดนั เชน่ เครือ่ งดบั เพลงิ ชนิดแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) รูปที่ 4.8 มาตรวัดแรงดนั ของแกส๊ ภายในถังดับเพลงิ เพือ่ ใชข้ บั ดนั สารเคมีออกจากถังบรรจุ (ท่ีมา คมู่ ือเทคนิคการตรวจสอบอาคารเพ่ือความปลอดภยั , 2551: หนา้ 255) ภ4-23
4) ตามคู่มือป้องกัน–ระงับ–รับมืออัคคีภัย ของสํานักบริหารระบบกายภาพ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เสนอแนะ วิธีการตรวจสอบสภาพถงั ดับเพลิงไวด้ ังรูปที่ 4.9 ดงั น้ี รูปที่ 4.9 การตรวจสอบถังดบั เพลิง (ที่มา ค่มู ือการป้องกัน – ระงบั – รบั มอื อคั คภี ยั . สาํ นักบริหารระบบกายภาพ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย, 2553: หน้า 26) 4.6.5 มาตรฐานระบบดับเพลงิ ด้วยน้าํ ชนิดมีตู้สายฉดี นํ้าดับเพลงิ (Fire hose cabinet) มีรายละเอียดดังนี้ 1) มาตรฐานการป้องกนั อัคคีภัย วสท. 3002–51 ภาคท่ี 5 มาตรฐานระบบดับเพลิง หมวด 6 ระบบทอ่ ยืนและสาย ฉดี นํา้ ดับเพลงิ ไดก้ ําหนดรายละเอียดไว้ดงั นี้ 1.1) ประเภทของการใช้งาน ระบบท่อยืนและสายฉีดนํ้าดับเพลิง แบ่งตามประเภทของการใช้งานได้เป็น 3 ประเภท ดงั นี้ 1.1.1) ประเภทท่ี 1: ติดต้ังวาล์วสายฉีดน้ําดบั เพลิงขนาด 65 มิลลเิ มตร สําหรับพนกั งานดับเพลิงหรือผู้ที่ ไดผ้ า่ นการฝึกการใช้สายฉดี นา้ํ ดบั เพลงิ ขนาดใหญเ่ ทา่ นน้ั 1.1.2) ประเภทที่ 2: ติดตั้งชุดสายฉีดน้ําดับเพลิงขนาด 25 มิลลิเมตร หรือ 40 มิลลิเมตร สําหรับผู้ใช้ อาคารเพอ่ื ใช้ในการดบั เพลงิ ขนาดเล็ก 1.1.3) ประเภทที่ 3: ติดตั้งชุดสายฉีดนํ้าดับเพลิงขนาด 25 มิลลิเมตร หรือ 40 มิลลิเมตร สําหรับผู้ใช้ อาคารและวาล์วสายฉีดน้ําดับเพลิงขนาด 65 มิลลิเมตร สําหรับพนักงานดับเพลิงหรือผู้ที่ได้รับการฝึกในการใช้สายฉีดน้ํา ดบั เพลิงขนาดใหญ่ 1.2) การจดั เตรียมระบบทอ่ ยนื ให้จัดเตรียมระบบทอ่ ยนื ประเภทตา่ งๆ สาํ หรับอาคารหรือพนื้ ทต่ี ามทป่ี รากฏ ในตารางที่ 4.11 ภ4-24
ตารางท่ี 4.11 ตารางระบบท่อยืนประเภทตา่ งๆ อาคารท่ไี มม่ รี ะบบ อาคารท่ีมีระบบ หัวกระจายน้ําดับเพลิง หัวกระจายน้ําดับเพลิง อาคารหรอื พนื้ ท่ีครอบครอง ท่อยนื ความต้องการสาย ประเภท ฉีดนํ้าดับเพลงิ ทอ่ ยนื ประเภท ความต้องการสาย 1. อาคารสูงเกนิ 23 เมตร ฉีดนํ้าดบั เพลิง 2. อาคารท่มี ีพ้ืนทม่ี ากกวา่ 4,000 ตารางเมตร 3 ตอ้ งติดตัง้ 3. อาคารตั้งแต่ 4 ช้นั ขน้ึ ไป และไม่ใช่อาคารสงู 2 ตอ้ งตดิ ต้ัง 3 ตอ้ งตดิ ตั้ง 3 ตอ้ งตดิ ตงั้ 2 ตอ้ งตดิ ตง้ั (ที่มา มาตรฐานการปอ้ งกนั อคั คภี ยั วสท. 3002–51, 2551 : หน้า 168) 1.3) สายฉดี น้าํ ดับเพลงิ และอปุ กรณ์ 1.3.1) สายฉีดน้ําดบั เพลิง (Fire hose): อาคารที่ติดตัง้ ทอ่ ยนื ประเภทท่ี 2 และ 3 จะตอ้ งจดั ใหม้ ีสายฉีด น้ําดับเพลิงขนาด 25 มลิ ลิเมตร ยาว 30 เมตร หรือขนาด 40 มลิ ลิเมตร ยาว 30 เมตร 1.3.2) อุปกรณ์เก็บสายฉีดน้าํ ดับเพลงิ (Hose reel or hose rack) สําหรับสายฉีดน้ําดับเพลิงขนาด 25 มิลลเิ มตร จะต้องมว้ นอยู่ในขนาด 40 มิลลิเมตร จะต้องจดั ให้ มที ่แี ขวนเก็บสายฉีดนํ้าดบั เพลงิ หรืออุปกรณ์ดงั กลา่ ว ท้งั หมดจัดวางใหส้ ะดวกตอ่ การใชใ้ นตู้ดับเพลงิ ตอ้ งจดั ให้มปี ้ายแสดงถงึ การใช้สายฉีดนํ้าดบั เพลิงและอุปกรณ์ โดยแสดงเป็นรูปภาพและตัวอกั ษร ท่มี ีขนาดเหมาะสมเห็นได้ชัดและเขา้ ใจง่าย ดรู ายละเอียดเพ่ิมเตมิ จากมาตรฐานการป้องกันอัคคภี ยั วสท. 3002–51 ภาคที่ 5 มาตรฐานระบบดบั เพลิงหมวด 6 ระบบทอ่ ยืนและสายดบั เพลิงหนา้ 167–181 2) ตามคมู่ ือเทคนคิ การตรวจสอบอาคารเพอื่ ความปลอดภยั (สําหรบั ตรวจสอบอาคารตามกฎหมาย) ภาคท่ี 7 เทคนคิ การตรวจสอบระบบปอ้ งกนั และระงบั อคั คภี ยั ไดก้ ําหนดรายละเอียดเก่ียวกับตสู้ ายฉดี นํ้าดับเพลงิ (fire hose cabinet) ไว้ตามทแ่ี สดงในรูปท่ี 4.10 และมีรายละเอียดดังนี้ 2.1) ตอ้ งมีระยะห่างระหว่างตู้ไมเ่ กนิ 64 เมตร 2.2) มีสายสง่ นํา้ ดบั เพลิง (fire hose) 2.3) มีวาล์วควบคมุ เปิด–ปิดดว้ ยมอื หรืออตั โนมตั ิ 2.4) มหี ัวฉีดนํา้ ดับเพลิงแบบปรบั การฉดี น้ําเป็นลํา เป็นฝอย และเป็นม่านได้ (jet–spray–steam) 2.5) มีปา้ ยสัญลักษณ์ ดรู ายละเอียดเพิ่มเตมิ จากคมู่ ือเทคนคิ การตรวจสอบอาคารเพอื่ ความปลอดภัย (สาํ หรบั การตรวจอาคารตาม กฎหมาย) ภาคที่ 7 เทคนิคการตรวจสอบระบบป้องกนั และระงับอคั คีภยั หนา้ 257–266 รูปที่ 4.10 การตดิ ตั้งตู้สายฉดี น้ําดบั เพลิง (ทม่ี า คู่มอื เทคนิคการตรวจสอบอาคารเพื่อความปลอดภยั , 2551: หนา้ 257) 3) ตามกฎกระทรวงฉบับท่ี 33 (พ.ศ. 2535) ฉบบั ที่ 39 (พ.ศ. 2537) ฉบบั ท่ี 47 (พ.ศ. 2540) และฉบับท่ี 55 (พ.ศ. 2543) ไดก้ าํ หนดรายละเอยี ดสาํ หรับอาคารประเภทตา่ งๆ ดังน้ี 3.1) กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2535) ได้กําหนดให้อาคารสูงและอาคารขนาดใหญ่พิเศษต้องมีการติดต้ัง ระบบดับเพลงิ ดว้ ยนํา้ ชนิดมตี ู้สายฉดี นํา้ ดับเพลงิ (fire host cabinet, FHC) ดังน้ี ระบบการจ่ายนํ้าดบั เพลิง เครอื่ งสบู นาํ้ ดับเพลิง และหวั ฉดี นา้ํ ดบั เพลิง ภ4-25
3.1.1) ทุกช้ันของอาคารต้องมีตสู้ ายฉีดนํ้าดับเพลิง (FHC) ท่ีประกอบด้วยหัวตอ่ สายฉีดน้ําดบั เพลงิ พร้อม สายฉีดน้ําดับเพลิงขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 25 มิลลิเมตร และหัวต่อสายฉีดน้ําดับเพลิงชนิดหัวต่อสวมเร็วขนาดเส้นผ่าน ศูนย์กลาง 65 มิลลิเมตร พร้อมท้ังฝาครอบและโซ่ร้อยติดไว้ทุกระยะไม่เกิน 64.00 เมตร และเมื่อใช้สายฉีดนํ้าดับเพลิงยาวไม่ เกิน 30.00 เมตรตอ่ จากตู้หวั ฉีดนาํ้ ดบั เพลงิ แลว้ สามารถนําไปใชด้ บั เพลิงในพนื้ ทีท่ ้งั หมดในช้ัน 3.1.2) อาคารสูงต้องมีที่เก็บนํ้าสํารองเพื่อใช้เฉพาะในการดับเพลิงและให้มีประตูนํ้าปิด–เปิด และ ประตนู ้าํ กันนา้ํ ไหลกลบั อตั โนมัตดิ ้วย 3.1.3) หัวรับน้ําดับเพลิงที่ติดตั้งภายนอกอาคารต้องเป็นชนิดข้อต่อสวมเร็วขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 65 มิลลิเมตร สามารถรับน้ําจากรถดับเพลิงท่ีมีข้อต่อสวมเร็วแบบมีเขี้ยวขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 65 มิลลิเมตร ท่ีหัวรับนํ้า ดับเพลิงต้องมีฝาปิด–เปิดท่ีมีโซ่ร้อยติดไว้ด้วย ระบบท่อยืนทุกชุดต้องมีหัวรับนํ้าดับเพลิงนอกอาคาร 1 หัวและอยู่ใกล้หัวท่อ ดับเพลิงสาธารณะมากที่สุดพรอ้ มปา้ ยขอ้ ความเขยี นด้วยสีสะท้อนแสดงวา่ “หวั รับน้ําดบั เพลิง” 3.1.4) ปริมาณการสง่ จ่ายนา้ํ สํารองตอ้ งสามารถสง่ จ่ายนาํ้ สาํ รองไดเ้ ป็นเวลาไม่น้อยกว่า 30 นาที 3.2) กฎกระทรวงฉบับท่ี 39 (พ.ศ. 2537) ฉบับที่ 47 (พ.ศ. 2540) และฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) ได้กําหนดให้ อาคารสูงตอ้ งมีระบบดบั เพลงิ ดว้ ยนาํ้ ชนดิ สายสง่ ทอ่ น้าํ ดบั เพลิง ดังนี้ ระบบการจ่ายนา้ํ ดับเพลิง เครอื่ งสูบน้ําดบั เพลงิ และหัวฉีดนํา้ ดับเพลงิ 3.2.1) อาคารขนาดใหญ่ต้องจัดให้มีระบบท่อยืน สายฉีดน้ําพร้อมอุปกรณ์หัวรับน้ําดับเพลิงชนิดข้อต่อ สวมเรว็ ขนาดเสน้ ผ่านศูนย์กลาง 65 มลิ ลเิ มตร เพ่ือดบั เพลิงไดท้ กุ สว่ นของอาคาร 3.2.2) สว่ นอาคารท่วั ไปท่มี ิใช่อาคารสงู อาคารขนาดใหญ่ หรืออาคารขนาดใหญพ่ ิเศษ มไิ ด้มีการกาํ หนดรายละเอยี ดไว้ 4.6.6 มาตรฐานระบบดบั เพลงิ ดว้ ยน้ําชนดิ ระบบหัวกระจายนํา้ ดบั เพลิง (Sprinkler System) มีรายละเอยี ดดังนี้ 1) มาตรฐานการป้องกันอัคคีภัย วสท. 3002–51 ภาคท่ี 5 มาตรฐานระบบดับเพลิง หมวด 7 ระบบหัวกระจายนํ้า ดับเพลิง ไดก้ าํ หนดรายละเอยี ดไว้ดังนี้ วัสดแุ ละอุปกรณท์ ใ่ี ชต้ ิดตั้ง จะต้องได้รับการรับรองจากสถาบันทเ่ี ช่อื ถอื ได้ 1.1) หัวกระจายนํ้าดับเพลิง 1.1.1) หัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่นํามาใช้ในการติดตั้ง จะต้องเป็นของใหม่ ท่ีไม่เคยผ่านการใช้งานมาก่อน และเปน็ ชนิดทไี่ ด้รบั การรับรองจากสถาบันทเ่ี ช่อื ถือไดเ้ ทา่ นน้ั 1.1.2) หวั กระจายนา้ํ ดบั เพลงิ จะต้องเลือกชนิด และตดิ ตั้งใหถ้ ูกต้องตามคําแนะนาํ ของผู้ผลิต 1.1.3) หัวกระจายน้ําดับเพลิงจะต้องเลือกอุณหภูมิทํางาน (temperature rating) ให้เหมาะสมกับพื้นท่ี ที่ติดตั้งตามที่ระบุ ดูรายละเอียดในตาราง 5.7.2 อุณหภูมิทํางาน ระดับอุณหภูมิ และรหัสสีของหัวกระจายนํ้าดับเพลิง ใน มาตรฐานการปอ้ งกนั อัคคภี ัย วสท. 3002–51 หนา้ 190 1.1.4) หัวกระจายนํ้าดับเพลิงท่ีติดต้ังในบริเวณท่ีหัวมีโอกาสถูกทําให้เสียหาย จะต้องมีอุปกรณ์ป้องกัน ตดิ ตง้ั ท่ีหวั ดว้ ย (sprinkler guard) 1.2) การติดตัง้ ระบบหวั กระจายนํ้าดับเพลงิ 1.2.1) หวั กระจายนํ้าดบั เพลิงจะตอ้ งตดิ ตง้ั ทว่ั ทง้ั อาคาร 1.2.2) หัวกระจายน้ําดับเพลิงจะต้องติดต้ังในตําแหน่งที่ระยะเวลาในการทํางาน (activation time) และการกระจายน้ํา (distribution) สามารถดบั เพลงิ ได้ผลดี 1.2.3) วาล์วและอุปกรณ์ท่ีจําเป็นของระบบจะต้องเข้าถึงได้สะดวกเพ่ือการใช้งาน ตรวจสอบ ทดสอบ และบาํ รงุ รกั ษาได้สะดวก ดูรายละเอียดเพ่ิมเติมจากมาตรฐานการป้องกันอัคคีภัย วสท. 3002–51 ภาคท่ี 5 หมวดท่ี 7 ระบบหัว กระจายนาํ้ ดับเพลิง หน้า 182–215 2) ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2535) ฉบับที่ 39 (พ.ศ. 2537) ฉบับท่ี 47 (พ.ศ. 2540) และฉบับท่ี 55 (พ.ศ. 2543) ได้กาํ หนดรายละเอยี ดสําหรับอาคารประเภทตา่ งๆ ดังนี้ 2.1) กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2535) ได้กําหนดให้อาคารสูงและอาคารขนาดใหญ่พิเศษ ต้องมีระบบ ดบั เพลิงอัตโนมัติ ดังนี้ ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ ต้องมีระบบดับเพลิงอตั โนมัติ เช่น sprinkler system หรือระบบอื่นท่ีเทียบเท่า ทีส่ ามารถทํางานได้ทนั ทเี ม่ือมเี พลงิ ไหม้ โดยครอบคลมุ พ้นื ทีท่ ้ังหมดทุกชนั้ 2.2) กฎกระทรวงฉบับที่ 39 (พ.ศ. 2537) ฉบับท่ี 47 (พ.ศ. 2540) และฉบับท่ี 55 (พ.ศ. 2543) มิได้มีการ กาํ หนดข้อกาํ หนดไว้ สาํ หรบั อาคารทว่ั ไปทม่ี ใิ ชอ่ าคารสูงหรอื อาคารขนาดใหญ่พิเศษ ภ4-26
ภาคผนวก 5 ระบบการปอ้ งกันและแกไ้ ขภยั อนั ตราย 5.1 ตวั อย่างการประเมนิ ความเสย่ี ง การประเมินความเส่ียงนั้น มักนิยมใช้แบบเมทริกซ์ โดยมีตัวแปร 2–3 ตัว เม่ือสามารถตั้งตัวแปรท่ีต้องการประเมิน ความเสี่ยงไดแ้ ลว้ จากน้ันตั้งค่าระดบั จากต่าไปสูงซ่ึงความละเอียดของการตั้งค่าระดับข้ึนกับบริบทของหน่วยงานแตล่ ะที่ ส่วน ใหญ่ควรอยู่ในช่วง 3-5 ระดับ ในที่นี้ขอยกตัวอย่างการประเมินความเส่ียงโดยมีตัวแปร 2 ตัว คือ “ความเป็นไปได้ที่จะเกิด เหตุการณ์นัน้ ” (ตารางท่ี 5.1) และ “ผลต่อสุขภาพ ความปลอดภยั และสิ่งแวดล้อม” (ตารางท่ี 5.2) ดังนี้ 1) การนิยามความเป็นไปได้ทีจ่ ะเกดิ ขึ้น “ความเป็นไปได้ที่จะเกิดเหตุการณ์น้ัน” ตั้งค่าเป็น 5 ระดับ โดยตั้งชื่อเป็น A-D ซ่ึงมีการนิยามและอธิบายค่าไว้ เช่น ระดบั A หมายถึง ความเป็นไปได้ทจี่ ะเกดิ เหตกุ ารณน์ ั้น เกอื บเปน็ ประจ่า ซึ่งหมายถึง มคี วามถ่ใี นการเกิดสูงมาก เปน็ ต้น ตารางท่ี 5.1 ตัวอย่างการนิยามระดบั ของความเป็นไปไดท้ จี่ ะเกิดขึ้น ระดับ ความหมายของระดับ คาอธบิ าย ความถที่ ค่ี าดว่าจะเกดิ ขึ้น A เกอื บเปน็ ประจ่า (almost เหตกุ ารณ์จะเกดิ ขนึ้ ได้ 1-2 คร้ังต่อสปั ดาห์ certain) ตลอดเวลา B เป็นไปไดม้ าก (likely) เหตกุ ารณ์เกดิ ขนึ้ หลายครงั้ หรอื 1-2 ครง้ั ต่อเดือน มากกว่าในการทา่ งาน C เปน็ ไปไดป้ านกลาง (possible) เหตุการณ์อาจเกดิ ขน้ึ ในการ 1-2 ครั้งต่อปี ทา่ งาน D ไม่ค่อยเกิดขนึ้ (unlikely) เหตุการณ์เกดิ ขึน้ ทใ่ี ดท่หี นง่ึ 1-2 ครัง้ ต่อ 5 ปีหรือมากกว่า บางคร้งั บางคราว E เกดิ ขน้ึ ได้ยาก (rare) เคยได้ยินว่าเหตุการณ์เกิดขึ้นมา ไมเ่ คยเกดิ ขนึ้ เลยในระยะ 10 ก่อนที่ไหนสักแหง่ ปี หรือมากกวา่ ทมี่ า ดัดแปลงจาก General risk assessment form ของ University of Melbourne [ออนไลน]์ เขา้ ถึงได้จาก http://safety.unimelb.edu.au/docs/RiskAssess2Variable.pdf สืบคน้ เม่ือวันที่ 6 สิงหาคม 2556 2) การนิยามชนิดของผลต่อสุขภาพความปลอดภยั และสิ่งแวดลอ้ ม “ผลต่อสุขภาพความปลอดภยั และสิ่งแวดล้อม” ในตารางท่ี 5.2 ต้ังค่าเป็น 5 ระดับ เช่นเดียวกัน แต่ใช้ตัวเลขโรมนั (I-V) แทนแตล่ ะระดบั ตารางท่ี 5.2 ตัวอย่างการนิยามระดบั ความรนุ แรงท่ีมีผลต่อสขุ ภาพความปลอดภยั และส่งิ แวดลอ้ ม ระดับความรุนแรง ชนิดผลลัพธท์ ี่ตามมา ส่งิ แวดล้อม สุขภาพและความปลอดภัย V มากทส่ี ุด มผี เู้ สียชวี ิตจา่ นวนมาก หรอื เกดิ อันตรายตอ่ คน (มหันตภัย) มากกวา่ 50 คน มีผลท่าให้เกิดความเส่ือมโทรมของส่ิงแวดล้อม IV มาก มผี ้เู สยี ชวี ิต และ/หรือเกดิ สภาวะทพุ พลภาพ และระบบนิเวศ ระยะยาวและรุนแรงมาก น่า รุนแรงและถาวร (>30%) เทา่ กบั หรือมากกว่า วติ กมาก 1 คน ภ5 - 1
ตารางท่ี 5.2 ตวั อยา่ งการนยิ ามระดับความรนุ แรงทมี่ ีผลตอ่ สขุ ภาพความปลอดภยั และสง่ิ แวดลอ้ ม (ต่อ) ระดบั ความรนุ แรง ชนดิ ผลลพั ธ์ทีต่ ามมา สิ่งแวดล้อม สุขภาพและความปลอดภยั III ปานกลาง เกิดสภาวะทุพพลภาพปานกลาง หรอื เกิดความ มีผลต่อสิ่งแวดล้อม ระยะเวลาปานกลางและ บกพร่อง (<30%) เท่ากบั หรือมากกว่า 1 คน รุนแรง II นอ้ ย เกิดสภาวะทพุ พลภาพทีร่ กั ษาได้ และตอ้ งการ มผี ลต่อสง่ิ แวดลอ้ ม ระยะเวลาสั้นถงึ ปานกลาง การรักษาตัวในโรงพยาบาล และไมก่ ระทบต่อระบบนเิ วศ I น้อยมาก มีผลกระทบเล็กน้อย ไม่จ่าเป็นต้องได้รับการ มีผลนอ้ ยมากต่อส่ิงมีชวี ิตในสง่ิ แวดล้อม รักษาท่ีโรงพยาบาล ที่มา ดดั แปลงจาก General risk assessment form ของ University of Melbourne [ออนไลน]์ เข้าถึงไดจ้ าก http://safety.unimelb.edu.au/docs/RiskAssess2Variable.pdf สืบคน้ เมื่อวันท่ี 6 สิงหาคม 2556 3) การคานวณความเสี่ยง/การประเมินความเส่ียง (Risking rating) เป็นการน่าตัวแปรท่ีก่าหนดระดับและนิยามไว้ ข้างต้น มาวางเป็นเมทริกซ์ดังตารางท่ี 5.3 จากนน้ั ต้ังค่าระดบั ความเสี่ยง กจ็ ะสามารถประเมินความเสย่ี งของสิ่งที่จะ เกดิ ข้นึ บนตัวแปรของความถ่แี ละผลตอ่ สขุ ภาพ ตัง้ แต่ ต่า ปานกลาง สงู และสูงมาก ตารางที่ 5.3 ตัวอยา่ งการคา่ นวณความเส่ยี ง (Risking rating) ระดับความ ระดบั ความรุนแรงที่มผี ลตอ่ สุขภาพ ความปลอดภยั และสิง่ แวดลอ้ ม เป็นไปได้ท่ี I II III IV V จะเกดิ ขนึ้ A ปานกลาง สูง สูง สงู มาก สงู มาก B ปานกลาง ปานกลาง สูง สงู สงู มาก C ต่า ปานกลาง สงู สงู สงู D ตา่ ต่า ปานกลาง ปานกลาง สงู E ต่า ตา่ ปานกลาง ปานกลาง สงู ทมี่ า ดัดแปลงจาก General risk assessment form ของ University of Melbourne[ออนไลน]์ เข้าถงึ ได้จาก http://safety.unimelb.edu.au/docs/RiskAssess2Variable.pdf สืบคน้ เม่ือวนั ท่ี 6 สิงหาคม 2556 ในการเกบ็ ข้อมลู ความเสยี่ งสามารถทา่ เป็นรูปแบบตารางเพอื่ บันทกึ ผลการประเมินความเสีย่ งได้ ดังตวั อยา่ งในตาราง ท่ี 5.4 ส่าหรับการออกแบบแบบฟอร์มที่ใช้ในการประเมินความเสี่ยงน้ัน สามารถท่าแยกแบบฟอร์ม หรือ สามารถรวมหลาย องค์ประกอบของการจัดการความเสยี่ งในแบบฟอร์มเดยี วกันได้ (ตัวอย่างแบบฟอร์มการประเมินความเสยี่ งแบบรวม ดังแสดง ในแผนภาพที่ 5.1) ภ5 - 2
ตารางท่ี 5.4 ตวั อย่างการเก็บข้อมูลความเสย่ี ง (1) เหตุการณ์ (2) ระดบั ความเส่ียง (3) ตวั บง่ ชี้ (4) วธิ ีการจัดการ (5) คาอธิบายวธิ กี าร ทีก่ ่อใหเ้ กดิ อนั ตราย A–E I–V ระดบั ความเป็นอันตราย B III สงู ความเส่ียง จดั การความเส่ียง 1. การตกหล่นของขวด ชัน้ วางไม่แขง็ แรงและ สารเคมี C IV สงู เบียดแน่น กา่ จัดท้งิ เปลี่ยนชัน้ วางใหม่ ใช้เครือ่ งกล่ัน 2. การเกดิ ไฟไหม้ในตู้ แอลกอฮอล์ ตงั้ กฎการท่างาน ห้ามใชเ้ ครอื่ งมือในตคู้ วัน ควนั ติดตอ่ กันจนท่าใหเ้ กดิ ตดิ ต่อกันเปน็ เวลานาน ความรอ้ นและเกดิ ไฟไหม้ ใช้ PPE และต้องมผี รู้ บั ผิดชอบ 3. การสดู ดมสารพษิ เชน่ A II สงู Benzamidine เปน็ เฝา้ ตดิ ตาม ดูแลเปน็ ระยะ Benzamidine สารพษิ ท่ไี วปฏิกิริยากบั อากาศ ... ใช้อปุ กรณ์ป้องกนั ระบบ ... ... … … ทางเดนิ หายใจแบบเต็ม ... รูป และท่างานในตู้ควนั หมายเหตุ (4) และ (5) เปน็ การจดั การความเสีย่ ง ตรวจสุขภาพประจา่ ปี ... ภ5 - 3
ระดับ ความหมายของระดบั คาอธิบาย ความถ่ีทีค่ าดว่าจะเกิดข้นึ ระดับความ ชนิดผ 1-2 ครง้ั ตอ่ สปั ดาห์ รุนแรง A เกือบเป็นประจา่ เหตุการณจ์ ะเกดิ ข้ึนได้ สขุ ภาพและความปลอดภัย 1-2 ครง้ั ตอ่ เดือน V มากทส่ี ุด (almost certain) ตลอดเวลา (มหนั ตภัย) มีผเู้ สยี ชวี ิตจ่านวนมาก หรือเกดิ อันต 1-2 ครงั้ ต่อปี ต่อคน มากกว่า 50 คน B เปน็ ไปได้มาก (likely) เหตกุ ารณเ์ กดิ ข้นึ หลายครงั้ IV มาก 1-2 ครัง้ ตอ่ 5 ปหี รอื มผี เู้ สียชีวติ และ/หรอื เกดิ สภาวะทพุ หรือมากกว่าในการทา่ งาน มากกว่า III ปานกลาง ภาพรุนแรงและถาวร (>30%) เท่าก ไม่เคยเกิดขน้ึ เลยในระยะ หรือมากกว่า 1 คน C เปน็ ไปได้ปานกลาง เหตุการณอ์ าจเกิดข้ึนในการ 10 ปี หรอื มากกวา่ II นอ้ ย เกิดสภาวะทพุ พลภาพปานกลาง หร (possible) ทา่ งาน เกดิ ความบกพรอ่ ง (<30%) เท่ากับห มากกวา่ 1 คน D ไม่ค่อยเกดิ ขึน้ เหตุการณเ์ กดิ ข้นึ ท่ีใดทห่ี นึ่ง เกิดสภาวะทุพพลภาพทรี่ ักษาได้ แล (unlikely) บางครง้ั บางคราว ต้องการการรกั ษาตวั ในโรงพยาบาล E เกดิ ขนึ้ ไดย้ าก (rare) เคยไดย้ นิ ว่าเหตกุ ารณเ์ กิด ขน้ึ มาก่อนท่ีไหนสักแหง่ I น้อยมาก มผี ลกระทบเล็กนอ้ ย ไมจ่ า่ เป็นตอ้ งไ การรกั ษาท่โี รงพยาบาล (1) เหตกุ ารณ์ (2) ระดับความเส่ยี ง (3) ตวั บ่งช้ี ท่กี อ่ ให้เกดิ อนั ตราย 1. การตกหลน่ ของขวดสารเคมี A–E I-V ระดบั ความเป็นอันตราย 2. การเกิดไฟไหมใ้ นต้คู วนั B III สูง ชัน้ วางไมแ่ ขง็ แรงและ 3. การสูดดมสารพิษเช่น เบียดแน่น Benzamidine C IV สูง ใชเ้ ครื่องกลน่ั แอลกอฮอล์ ตดิ ตอ่ กนั จนทา่ ใหเ้ กดิ ความร้อนและเกิดไฟไหม้ A II สูง Benzamidine เป็น สารพษิ ท่ีไวปฏกิ ิริยากบั อากาศ แผนภาพท่ี 5.1 ตัวอย่างแบบฟอ
ผลลพั ธท์ ีต่ ามมา ระดับความ ระดบั ความรุนแรงทมี่ ผี ลต่อสุขภาพ ความปลอดภัยและสงิ่ แวดลอ้ ม สิง่ แวดล้อม เป็นไปไดท้ ี่ จะเกดิ ขน้ึ I II III IV V ตราย มีผลทา่ ให้เกิดความเสือ่ มโทรมของ A ปานกลาง สงู สูง สูงมาก สงู มาก B ปานกลาง ปานกลาง สงู สงู สูงมาก พพล ส่ิงแวดล้อมและระบบนิเวศ ระยะ ปานกลาง สูง สงู กับ ยาวและรุนแรงมาก นา่ วติ กมาก C ต่า ปานกลาง สูง D ตา่ ต่า ปานกลาง ปานกลาง สงู รือ มีผลต่อสง่ิ แวดลอ้ ม ระยะเวลาปาน ต่า ตา่ ปานกลาง สูง หรอื กลางและรนุ แรง E ละ มีผลตอ่ สงิ่ แวดล้อม ระยะเวลาสน้ั ล ถงึ ปานกลางและไมก่ ระทบต่อ ระบบนิเวศ ไดร้ ับ มี ผ ล น้ อ ย ม า ก ต่ อ ส่ิ ง มี ชี วิ ต ใน ส่งิ แวดลอ้ ม (4) วิธกี ารจัดการความเสย่ี ง (5) คาอธิบายวธิ กี ารจดั การความเสย่ี ง เปลยี่ นชัน้ วางใหม่ (หัวขอ้ 5.1.3) กา่ จดั ท้ิง ตง้ั กฎการท่างาน ห้ามใช้เครื่องมอื ในตคู้ วันตดิ ต่อกนั เปน็ เวลานานและตอ้ งมผี ู้รับผิดชอบดแู ลเป็น ระยะ ใช้ PPE ใช้อปุ กรณ์ป้องกันระบบทางเดินหายใจแบบ เฝ้าตดิ ตาม เต็มรปู และท่างานในตู้ควัน ตรวจสุขภาพประจ่าปี อร์มการบรหิ ารความเสยี่ ง ภ5 - 4
5.2 ตวั อย่างแบบฟอร์มรายงานการบริหารความเส่ยี งการรายงานการบรหิ ารความเสี่ยงควรครอบคลุม ผ้บู รหิ ารในการนา่ ไปสอน อบรม แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ ประเมินผลภาพรวมและทบทวนการบรหิ ารจดั การ ตารางรายงานการบรหิ ารความเส่ียงระดับ บคุ คล โครงการ ห้องปฏบิ ตั กิ าร ชื่อหน่วยงาน/หอ้ งปฏิบัตกิ าร ........................................................................................................ ผรู้ วบรวมรายงาน ......................................................................................................................... ช่วงเวลาทีร่ วบรวม ........................................................................................................................ ลาดับที่ ชื่อ-สกุล/โครงการ/หอ้ งปฏบิ ตั ิการ ระดบั ความเสี่ยง เหตกุ ขอ้ คิดเห็นและเสนอแนะในภาพรวม หมายเหตุ ระดบั ความเสย่ี ง เปน็ ขอ้ มลู ท่ีไดจ้ ากแบบฟอร์มการบรหิ ารความเสี่ยง โดยเลอื กรายงานร ภ5 - 5
มท้งั ระดบั บคุ คล โครงการและห้องปฏิบัตกิ าร เพอ่ื เป็นประโยชนต์ ่อหัวหนา้ หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารและ และการวางแผนจดั สรรงบประมาณเพ่อื การบรหิ ารความเสยี่ งตอ่ ไป .............. เรื่อง ............................................................................................................ ................................................................................................................................... .................................................................................................................................. การณ์เสยี่ ง วิธีการจัดการความเสีย่ ง งบประมาณทใ่ี ช้ ระดับความเสยี่ งในระดบั ทเ่ี หน็ สมควร
ตารางรายงานการบรหิ ารความเสี่ยงระดบั บคุ คล โครงการ หอ้ งปฏิบตั ิการ ชอ่ื หน่วยงาน/หอ้ งปฏิบตั ิการ ..............................AEC....................................................................... ผรู้ วบรวมรายงาน .........................นายสภุ าพ ปลอดภยั ................................................................ ชว่ งเวลาทร่ี วบรวม ......................เดือน กมุ ภาพนั ธ์ 2558............................................................. ลาดับที่ ชื่อ-สกลุ /ช่อื โครงการ/ชื่อห้องปฏิบัติการ ระดับความเส่ยี ง เหตกุ 1 นาย ก. สูง ทา่ งานกับสารปรอท 2 นาย ข. สงู สกดั สารประกอบด้วย 3 นาย ค. สงู สูดดมสารพษิ กลุ่ม be 4 นาย ง. สูง กลั่นแอลกอฮอลไ์ หม 5 นาย จ. สูง การตกหลน่ ของขวดส ขอ้ คิดเห็นและเสนอแนะในภาพรวมมกี ารประชาสมั พันธแ์ จ้งเตอื นความเสย่ี งใหห้ นว่ ยงานทราบ เพอื่ อยา่ งเคร่งครดั หมายเหตุ ระดบั ความเส่ยี ง เปน็ ข้อมลู ทีไ่ ดจ้ ากแบบฟอร์มการบรหิ ารความเส่ียง โดยเลอื กรายงานร แผนภาพท่ี 5.2 ตวั อยา่ งแบบฟอร์ม
........ เร่ือง ............การทางานกับสารเคมี............................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................. การณเ์ สีย่ ง วิธกี ารจดั การความเสี่ยง งบประมาณที่ใช้ มากกว่า 8 ชว่ั โมงตอ่ วัน ตรวจสขุ ภาพ, ใช้ PPE ท่เี หมาะสม X,xxx ยคลอโรฟอรม์ ทุกวัน ตรวจสขุ ภาพ, ใช้ PPE ท่เี หมาะสม X,xxx enzamidine ตรวจสุขภาพ, ใช้ PPE ทเ่ี หมาะสม X,xxx ม้ในตดู้ ดู ควนั บอ่ ย ตั้งกฎการทา่ งานใหม,่ ใช้ PPE ที่เหมาะสม X,xxx สารเคมีจากชน้ั วาง เปลี่ยนช้นั วางใหม่ X,xxx อจะไดร้ ะมัดระวังเม่ือเขา้ มาในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร และรณรงคใ์ หผ้ ู้ปฏบิ ัตงิ านใช้ PPE ทเ่ี หมาะสม ระดับความเส่ียงในระดับทเี่ ห็นสมควร มรายงานการบริหารความเสยี่ ง ภ5 - 6
5.2 มาตรฐานทล่ี า้ งตาและอา่ งลา้ งตาฉกุ เฉนิ ท่ีล้างตา (รูปท่ี 5.1) ในห้องปฏิบัติการควรเป็นน่้าสะอาด หรือสารละลายน่้าเกลือท่ีใช้กันท่ัวไปในการชะล้างตา มาตรฐานท่ีล้างตาและอ่างล้างตาฉุกเฉิน (ANSI Z358.1–2004: American National Standard Institute) มีข้อก่าหนด ท่ัวไปว่า ท่ีล้างตาฉุกเฉินมคี ุณภาพและลักษณะตรงตามมาตรฐานที่ยอมรบั ได้ สามารถเข้าถึงไดโ้ ดยง่าย มีประสทิ ธิภาพในการ ชะลา้ งสารอันตรายออกจากตาได้ ต้องมสี ัญญาณเสยี งหรอื ไฟกระพรบิ ขณะใชง้ าน ตอ้ งมีการทดสอบการใช้งานอย่างสม่าเสมอ และต้องมีการจดั ท่าค่มู ือวธิ ีการใช้/อบรมใหแ้ กผ่ ูป้ ฏิบัตงิ าน มาตรฐานทลี่ า้ งตาและอา่ งล้างตาฉกุ เฉิน ANSI Z358.1–2004 ก่าหนดไวว้ ่า - ความเร็วของน้่าต้องไมเ่ กดิ อนั ตรายกบั ตาของผู้ใช้น่้าและจา่ ยให้กับตาทงั้ สองขา้ งอย่างต่อเน่ืองท่อี ัตราการไหลไม่ นอ้ ยกว่า 1.5 ลติ ร/นาที หรอื 0.4 แกลลอน/นาทีดว้ ยแรงดนั 40 ปอนด์/ตารางน้ิว เป็นเวลาอย่างน้อย 15 นาที - น้่าตอ้ งไหลภายใน 1 วินาทีหลงั จากเปิดวาลว์ และยงั คงเกิดอยโู่ ดยไม่ต้องใชม้ ือของผู้ใช้งานบังคับจนกวา่ จะปดิ โดย ตงั้ ใจน่้าจะต้องสะอาดปราศจากสง่ิ ปนเปอ้ื นทมี่ องเหน็ ได้เชน่ สง่ิ สกปรก ความขนุ่ สนิมเป็นต้น ถ้าเปน็ ชนดิ บรรจนุ า่้ ในตัว จะตอ้ งมีการเปลีย่ นนา่้ ตามคา่ แนะน่าของผูผ้ ลติ หากไม่มีข้อแนะน่าจากผู้ผลติ ใหเ้ ปลยี่ นน้่าทุก 1 เดือน - ที่ลา้ งตาฉกุ เฉนิ ต้องสามารถเข้าถงึ ไดโ้ ดยงา่ ยและรวดเร็ว มรี ะยะไม่เกนิ 16 เมตรหรือ 55 ฟตุ จากจดุ เส่ยี งและ สามารถไปถงึ ได้ ภายใน 10 วนิ าทเี สน้ ทางที่ไปต้องโล่งไมม่ สี ิ่งกีดขวาง มีแสงสว่างพอเพยี ง อยา่ งไรก็ตามหากพน้ื ทน่ี น้ั มี การใช้ สารเคมีอนั ตรายสงู เชน่ กรดแก่ ดา่ งแก่หรอื สารอื่นที่มผี ลกระทบรนุ แรงควรตดิ ตั้งทล่ี า้ งตาฉกุ เฉนิ ใหต้ ดิ กับพื้นทน่ี ั้นหรอื ให้ใกล้ ท่สี ดุ เทา่ ทจ่ี ะทา่ ได้ - จุดติดตั้งจะต้องอยู่ในพนื้ ที่ระดบั เดยี วกันกับพ้นื ทที่ ่ีมคี วามเส่ยี งเชน่ ทางท่ีจะไปถงึ ไมค่ วรจะตอ้ งลงหรอื ข้ึนไปชน้ั อืน่ หรอื ไมเ่ ปน็ ทางลาดขน้ึ -ลง - อุณหภมู ขิ องน่า้ ควรรกั ษาให้คงที่ และควรอยรู่ ะหว่าง 15 -่ 35 C่ ในกรณีท่ีเคมที ่าใหเ้ กิดการไหมท้ ผี่ วิ หนัง (Chemical burn) ควรใหน้ า่้ มีอณุ หภมู อิ ยู่ที่ 15 C่ และหากปฏิกิรยิ าเคมเี กดิ ข้ึนหรอื ถูกเรง่ ทีอ่ ณุ หภมู ิใดอุณหภมู ิหนง่ึ ควรศกึ ษา จากSDS หรอื ผ้จู า่ หนา่ ยเพือ่ ขอข้อมูลอณุ หภูมินา่้ ทจ่ี ะใชก้ บั ท่ลี ้างตาฉุกเฉนิ - ตา่ แหนง่ การติดตงั้ หวั ฉดี น้่าลา้ งตาอยู่ในระยะ 33 นว้ิ (83.3 เซนติเมตร) - 53 น้วิ (134.6 เซนติเมตร) จากพ้นื และ ห่างจากผนังหรือสิง่ กีดขวางที่อยู่ใกลท้ ีส่ ุดอย่างน้อย 6 นวิ้ (15.3 เซนติเมตร) รปู ที่ 5.1 ตวั อย่างป้ายบอกจดุ ตดิ ตงั้ ที่ลา้ งตา ชุดลา้ งตาแบบติดผนงั และอ่างล้างตาฉกุ เฉนิ (ทีม่ า เขา้ ถึงไดจ้ าก http://ca.wikipedia.org/wiki/Fitxer:Sign_eyewash.svg, http://en.wikipedia.org/wiki/File:2008-07-02_Eye_wash_station.jpg, http://www.plumbingsupply.com/eyewash_heaters.html. สืบค้นเม่อื วันที่ 12 มนี าคม 2555) ภ5 - 7
5.3 มาตรฐานชุดฝกั บัวฉกุ เฉิน ชดุ ฝักบัวฉุกเฉนิ (Emergency shower, รปู ท่ี 5.2) ตามมาตรฐาน ANSI Z358.1–2004 กา่ หนดไวว้ า่ - น้่าที่ถูกปล่อยออกมาตอ้ งมีความแรงท่ีไมท่ ่าอันตรายต่อผู้ใช้ โดยตอ้ งปล่อยน่้าได้อย่างนอ้ ย 75.7 ลิตร/นาที หรอื 20 แกลลอน/นาที ที่แรงดัน 30 ปอนด์/ตารางนิ้ว เป็นเวลาไมน่ ้อยกวา่ 15 นาที - อปุ กรณ์ส่าหรับการควบคุมปดิ /เปดิ ต้องเขา้ ถึงไดง้ ่าย สามารถปลอ่ ยน่า้ ไดภ้ ายใน 1 วนิ าทหี รอื น้อยกว่า - นา้่ มีอัตราการไหลอยา่ งสม่าเสมอโดยไม่ต้องใชม้ ือบังคบั - ต้องมปี า้ ย ณ บริเวณจดุ ตดิ ตงั้ ชดั เจน - ฝักบัวฉุกเฉินต้องสามารถเข้าถึงไดโ้ ดยง่ายและรวดเร็ว มีระยะไม่เกิน 16 เมตร (55 ฟุต) จากจุดเสี่ยง และ ต้องไปถึงได้ใน 10 วินาที เส้นทางต้องโล่งไม่มีสิ่งกีดขวาง (เป็นเส้นทางตรงที่สุดเท่าที่จะท่าได้ และมีแสง สว่างเพยี งพอ) หากมีการใชส้ ารเคมีที่มอี นั ตรายมาก ควรตดิ ตัง้ ฝกั บัวฉุกเฉนิ ใหต้ ิดกบั พ้ืนทน่ี ั้น หรือใกล้ที่สุด เท่าท่จี ะทา่ ได้ - บรเิ วณที่ตดิ ต้ังอยู่บนพน้ื ระดบั เดียวกันกบั พืน้ ท่ีท่ีมคี วามเสี่ยง ไมใ่ ช่ทางลาดลง - อุณหภูมิของน้่าควรรักษาให้คงที่อยู่ระหว่าง 15 – 35 องศาเซลเซียส ในกรณีที่สารเคมีท่ีใช้ท่าให้เกิดแผล ไหม้ที่ผวิ หนัง ควรให้น่้ามีอณุ หภูมอิ ยทู่ ี่ 15 องศาเซลเซียส ดังนั้นจึงควรศึกษาข้อมูลจาก SDS ของสารเคมี ก่อน - ต่าแหน่งที่ติดต้ังฝักบัวฉุกเฉิน ควรอยู่ในระยะ 82 – 96 นิ้ว (208.3 – 243.8 เซนติเมตร) จากระดับพ้ืน นอกจากน้ี ที่ระดับสูงจากพื้น 60 นิ้ว (152.4 เซนติเมตร) ละอองน้่าจากฝักบัวต้องแผ่กว้างเป็นวงที่มี เส้นผ่าศูนย์กลางอย่างน้อย 20 น้ิว (50.8 เซนติเมตร) และคันชักเปิดวาล์วเข้าถึงได้ง่าย และไม่ควรสูงเกิน 69 นวิ้ (173.3 เซนตเิ มตร) จากระดับพ้นื (อาจปรับใหเ้ หมาะสมตามส่วนสูงของผปู้ ฏบิ ัตงิ าน) รปู ที่ 5.2 ตัวอยา่ งปา้ ยบอกจดุ ตดิ ตั้งชดุ ฝักบัวฉกุ เฉิน ชุดฝักบวั ฉุกเฉนิ และลกั ษณะการใชง้ าน (ท่ีมาเข้าถงึ ไดจ้ าก https://www.clarionsafety.com/Learning-Center/Topics/Emergency-Shower- Signs.aspx ,http://www.bigsafety.com.au/category9_1.htm. สบื ค้นเม่อื วันท่ี 12 มนี าคม 2555) ภ5 - 8
5.4 อปุ กรณ์ปอ้ งกนั ส่วนบคุ คล อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล หมายถึง ถุงมือ, อุปกรณ์กรองอากาศ, อุปกรณ์ป้องกันตา และเส้ือผ้าที่ป้องกันร่างกาย การใช้ PPE ข้นึ กบั ชนดิ หรอื ประเภทของการปฏิบัติงาน และธรรมชาต/ิ ปริมาณของสารเคมที ี่ใช้ โดยตอ้ งมกี ารประเมินความ เสีย่ งของการปฏบิ ตั งิ านเปน็ ขอ้ มูลในการเลือกใชอ้ ุปกรณใ์ ห้เหมาะสม PPE ครอบคลุมส่งิ ตอ่ ไปน้ี อปุ กรณป์ ้องกนั หนา้ (Face protection) หรอื ทก่ี าบังใบหนา้ (Face shield, รปู ท่ี 5.3) ใชเ้ มอื่ ทา่ งานกบั รังสหี รือสารเคมอี นั ตรายท่ีอาจกระเด็น ซ่ึงสามารถใช้ รปู ที่ 5.3 หน้ากากป้องกันใบหน้า รว่ มกันกบั แวน่ ตาได้ อปุ กรณป์ ้องกนั ตา (Eye protection) (Face shield) ใช้ป้องกันตา อาจใช้ร่วมกับอุปกรณ์ป้องกันหน้า ลักษณะของแว่นตาที่ใช้ ในห้องปฏิบัติการมี 2 ประเภท คอื แว่นตากันฝุ่น/ลม/ไอระเหย (Goggles)เป็นแว่นตาท่ีป้องกนั ตาและพ้ืนที่บริเวณรอบดวงตาจากอนุภาค ของเหลวติดเช้ือ รูปท่ี 5.4 Goggles หรือสารเคม/ี ไอสารเคมี (รูปท่ี 5.4) แว่นตานิรภัย (Safety glasses) จะคล้ายกับแว่นตาปกติท่ีมี เลนสซ์ ่ึงทนตอ่ การกระแทกและมีกรอบแว่นตาทีแ่ ข็งแรงกว่า แว่นตาท่ัวไป แว่นตานิรภัยมักมีการช้ีบ่งด้วยอักษร เครื่องหมาย \"Z87\" ตรงกรอบแว่นตาหรือบนเลนส์ ควรสวม ใส่เพื่อป้องกันดวงตาจากอนุภาค แก้ว เศษเหล็ก และ สารเคมี (รูปท่ี 5.5) รปู ที่ 5.5 Safety glasses อปุ กรณ์ปอ้ งกันมือ (Hand protection) ถุงมือ (Gloves) ใช้ป้องกนั มือจากส่งิ ตอ่ ไปน้ี - สารเคมี สิ่งปนเปอื้ นและเชื้อโรค (เช่น ถุงมอื ลาเท็กซ/์ ถุงมือไวนลิ /ถุงมอื ไนไทรล)์ - ไฟฟา้ (เชน่ ถงุ มอื ป้องกนั ไฟฟา้ สถิต) - อุณหภูมิที่สงู /รอ้ นมาก (เชน่ ถุงมอื ท่ใี ชส้ า่ หรบั ตอู้ บ) - อนั ตรายทางเครอ่ื งมอื /เครือ่ งกล สิ่งของมคี มซึ่งอาจท่าใหเ้ กิดบาดแผลได้ การเลือกถุงมือที่เหมาะสมเป็นเร่ืองส่าคัญ (ตารางที่ 5.5) ปัจจุบันพบว่า โรคผิวหนังอักเสบเป็นโรคที่เกิดข้ึนมากถึง 40–45% ของโรคท่ีเกี่ยวข้องกับการท่างานในห้องปฏิบัติการวิจัยท่ีมีสารเคมีอันตราย สารเคมีหลายชนิดท่าให้ผวิ หนังระคาย เคอื งหรอื ผิวหนังไหม้ และยงั อาจถกู ดดู ซมึ ผา่ นผวิ หนังไดด้ ้วย เชน่ สารไดเมทิลซลั ฟอกไซด์ (dimethyl sulfoxide, DMSO) ไน โตรเบนซนี (nitrobenzene) และตัวท่าละลายหลายๆ ชนดิ สามารถถูกดูดซึมผ่านผิวหนังเข้าสกู่ ระแสโลหิตได้ ถุงมือแต่ละชนิดมีสมบัติและอายุการใช้งานแตกต่างกัน ดังนั้นจึงต้องพิจารณาเลือกใช้ให้ถูกต้อง เพ่ือให้เกิด ความปลอดภัยสูงสดุ ภ5 - 9
ตารางท่ี 5.5 ตัวอยา่ งชนดิ ของถงุ มอื และการใชง้ าน การใช้งานท่ัวไป วสั ดุทใี่ ชท้ าถุงมือ มีความทนทานสูงมากที่สดุ ตอ่ การซมึ ผ่านของแก๊สและไอน้่า จึงมักใช้ในการท่างานกับ สารกล่มุ เอสเทอรแ์ ละคีโตน บวิ ทลิ (Butyl) มคี วามทนทานตอ่ การถลอกและขดี ข่วนปานกลาง แต่ทนแรงดึงและความร้อนได้ดี มักใช้งานกบั กรด สารกัดกร่อน และนา้่ มนั นีโอพรีน (Neoprene) ถุงมือท่ีใช้ท่างานทั่วไปได้ดีมาก สามารถป้องกันสารเคมีกลุ่มตัวท่าละลาย น้่ามัน ผลติ ภณั ฑ์ปิโตรเลียมและสารกดั กร่อนบางชนดิ และยังทนทานต่อการฉกี ขาด การแทง ทะลุและการขีดขว่ น ไนไทรล์ (Nitrile) ภ5 - 10
ตารางที่ 5.5 ตัวอย่างชนดิ ของถุงมือและการใช้งาน (ตอ่ ) การใช้งานทว่ั ไป วสั ดุที่ใชท้ าถงุ มือ ทนทานต่อรอยขีดข่วนได้ดีมาก และสามารถป้องกันมือจากไขมัน กรด และสารกลุ่ม ปิโตรเลยี มไฮโดรคาร์บอน พอลไิ วนลิ คลอไรด์ (Polyvinyl chloride, PVC) สามารถป้องกันการซึมผ่านของแก๊สได้ดีมาก สามารถป้องกันตัวท่าละลายชนิดอะโร มาติก (aromatic)และคลอริเนต (chlorinate)ไดด้ มี าก แต่ไม่สามารถใชก้ ับน่้าหรือสาร ทลี่ ะลายในน้า่ พอลิไวนลิ แอลกอฮอล์ (Polyvinyl alcohol, PVA) มีความทนทานต่อตัวท่าละลายชนิดอะโรมาติกและคลอริเนต ได้ดีเยี่ยม มีความ ทนทานมากต่อการฉกี ขาดหรอื การขดี ขว่ น ไวทอน (Viton) ทนต่อสารเคมีท่ีมีพิษและสารอันตรายหลายชนิด จัดเป็นถุงมือที่ทนทานต่อสารเคมี ระดับสูงท่สี ดุ ซลิ เวอรช์ ลิ ด์ (Silver shield) มีความยืดหยุ่นและทนต่อกรด สารกัดกร่อน เกลือ สารลดแรงตึงผิว และแอลกอฮอล์ แต่มีข้อจ่ากัด เช่น ไม่สามารถใช้กับ chlorinated solvents ได้ และสารบางอย่าง สามารถซมึ ผ่านถุงมือยางได้ เชน่ dimethylmercury ยางธรรมชาติ ภ5 - 11
อุปกรณป์ อ้ งกนั เท้า (Foot protection) รองเท้าทใ่ี ช้สวมใส่ในห้องปฏบิ ัตกิ าร ตอ้ งเปน็ รองเท้าทีป่ ดิ หนา้ เท้าและ ส้นเท้า (รูปท่ี 5.6) และควรสวมใส่ตลอดเวลา รองเท้าที่ท่าจากวัสดุบางชนิด สามารถทนต่อการกัดกร่อนของสารเคมี ตัวท่าละลาย หรือป้องกันการซึมผ่าน ของน่้าได้ เช่น รองเท้ายางที่สวมหุ้มรองเท้าธรรมดา และรองเท้าบูท ส่าหรับ รองเท้าหนังสามารถดูดซับสารเคมีได้จึงไม่ควรสวมอีกถ้าปนเปื้อนสารเคมี อันตราย รปู ท่ี 5.6 ตวั อยา่ งรองเท้าทปี่ ดิ นิ้วเทา้ อุปกรณ์ปอ้ งกนั ร่างกาย (Body protection) ผปู้ ฏิบตั ิงานควรสวมเสอ้ื คลุมปฏบิ ัติการ (lab coat) ตลอดเวลาทอ่ี ยู่ในห้องปฏิบตั ิการเส้อื คลุมปฏบิ ตั กิ ารควรมคี วาม ทนทานตอ่ สารเคมีและการฉีกขาดมากกวา่ เสื้อผ้าโดยท่วั ไปนอกจากนี้ ผา้ กนั เปือ้ นทที่ า่ ดว้ ยพลาสติกหรือยางก็สามารถป้องกัน ของเหลวท่มี ีฤทธกิ์ ัดกร่อนหรอื ระคายเคอื งได้ “เส้ือผา้ ท่ีหลวมไม่พอดีตัว ใหญเ่ กนิ ไปหรอื รดั มากเกนิ ไป เสื้อผา้ ที่มีรอยฉกี ขาดอาจทาให้เกดิ อนั ตรายใน ห้องปฏิบตั กิ ารได้ และควรตดิ กระดุมเส้ือคลมุ ปฏบิ ตั ิการตลอดเวลา” อุปกรณป์ อ้ งกันการไดย้ ิน (Hearing protection) (รปู ที่ 5.7) ใ ช้ เ ม่ื อ ท่ า ง า น กั บ เ ค ร่ื อ ง มื อ ห รื อ อุ ป ก ร ณ์ ที่ มี ค ล่ื น เ สี ย ง ค ว า ม ถี่ สู ง เ ช่ น sonicator ตามเกณฑ์ของ OSHAได้ก่าหนดไว้ว่าคนที่ท่างานในสภาพแวดล้อมท่ีมีเสียง ระดับ 85 เดซิเบล ไม่ควรท่างานเกิน 8 ชั่วโมงต่อวัน (OSHA Occupational Noise Standard) รูปที่ 5.7 อุปกรณป์ ้องกันการได้ อปุ กรณ์ป้องกนั ระบบทางเดนิ หายใจ (Respiratory protection) ยิน ผู้ปฏิบัติงานควรสวมอุปกรณ์ป้องกันระบบทางเดินหายใจ ท่ีสามารถกรองหรือมีตัวดูดซบั ส่ิงปนเป้ือนเมื่อท่างานทม่ี ี อนุภาคฝุ่นผงหรือไอ การเลือกใช้ต้องค่านึงถึงศักยภาพและประสิทธิภาพของตัวกรอง (filter) หรือตัวดูดซับ (chemical absorbent) ในการป้องกันสารอันตรายท่ีกฎหมายก่าหนด เช่น โครเมียม ตะก่ัว ให้ต่ากว่าระดับการได้รับสมั ผัสสารจากการ ทา่ งาน (Occupational Exposure Level, OEL) อุปกรณ์ป้องกันระบบทางเดินหายใจ ต้องไม่ร่ัวซึมและสวมได้กระชับกับใบหน้า รวมท้ังมีการบ่ารุงรักษาท่าความ สะอาดอยา่ งสม่าเสมอ ภ5 - 12
ภาคผนวก 6 การใหค้ วามรูพ้ ื้นฐานเกยี่ วกับดา้ นความปลอดภัยในห้องปฏิบตั กิ าร ในหลายหน่วยงานมีการกําหนดระบบการให้ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับด้านความปลอดภัยแก่ผู้เกี่ยวข้อง อาทิ เช่ น ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ค ลิ ฟ อ ร์ เนี ย (University of California, UCLA: http://map.ais.ucla.edu /go/1003937) ม ห า วิ ท ย า ลั ย พ ริ น ซ์ ตั น (Princeton University: http://web.princeton.edu/sites/ehs/labpage/training.htm) ม ห า วิ ท ย า ลั ย บ ริ ติ ช โ ค ลั ม เบี ย (The University of British Columbia: http://riskmanagement. ubc.ca/ courses/laboratory-chemical-safety) เป็นต้น โดย อาจารย์ เจ้าหน้าที่ นักเรียน และผู้เข้าเยี่ยมชม ต้องเข้ารับการอบรม ตามหลกั สูตรหรอื โปรแกรมทห่ี น่วยงานจดั ข้ึน ระบบของการให้ความรแู้ ละการอบรม ตอ้ งคาํ นงึ ถงึ ส่งิ ตอ่ ไปน้ี 1. หลักการในการเขา้ อบรม 1.1 การเขา้ รบั การอบรมเรือ่ งใดกต็ าม ข้ึนกบั ธรรมชาตกิ ารปฏบิ ัตงิ านของบคุ คลน้นั ๆ 1.2 บุคคลท่ีจะเข้ารบั การอบรมควรเลือกหลักสูตรหรือหัวข้อการเข้าอบรมบนพ้ืนฐานของชนิดหรือประเภท ความเปน็ อนั ตรายท่บี คุ คลเหลา่ นน้ั จะตอ้ งเผชญิ ขณะปฏิบัตงิ าน ยกตัวอย่าง ตารางแมทริกซ์ท่ีสร้างขึ้นเพื่อให้บุคคลเลือกเข้ารับการอบรม (ดัดแปลงจาก Safety Training Matrix for Laboratory Personnel ของ UCLA: http://map.ais.ucla.edu /go/1003937) หลักสตู รการให้ความร/ู้ อบรมด้านความปลอดภยั ท่านต้อง.... กฎหมายท่ี การประเมนิ ความเป็น การใช้ การ ข้อปฏบิ ตั ใิ น เกี่ยวขอ้ ง ความเสีย่ ง อันตราย PPE ซ้อม หอ้ งปฏบิ ตั ิ- บรหิ ารจัดการด้านความปลอดภัย ของสารเคมี หนไี ฟ ทดลองกบั สารไวไฟ การ ทดลองกบั สารพษิ /สารกอ่ มะเร็ง ทาํ ความสะอาดห้องปฏบิ ตั กิ าร น่ังทาํ งานขา้ งห้องปฏบิ ัติการ จากตารางน้ี จะทําให้คนทํางานสามารถเลือกหัวข้อท่ีตนเองต้องได้รับการอบรมในเรื่องใดบ้าง ตามสถานภาพและ ลักษณะการทาํ งานของตนเอง ภ6-1
2. ช่วงเวลาท่ีเหมาะสมสําหรับการเข้าอบรม ทกุ คนจะต้องเขา้ รับการอบรม 2.1 ก่อนเรม่ิ การปฏิบตั งิ านท่ที ราบความเป็นอันตรายแล้ว 2.2 เม่อื ไดร้ ับมอบหมายใหป้ ฏิบัติงานใหม่ซึ่งมคี วามเป็นอันตราย 2.3 เมื่อมีเหตุการณ์หรอื รายงานความเปน็ อนั ตรายเกดิ ขน้ึ ในการปฏิบัตงิ าน 3. บุคคลท่ีเก่ียวข้องกับการปฏิบัติงาน จะครอบคลุมทั้ง ผู้บริหาร หัวหน้าห้องปฏิบัติการ ผู้ปฎิบัติงาน และ พนักงานทาํ ความสะอาด นอกจากน้ี ผเู้ ขา้ เยยี่ มชมหนว่ ยงานกต็ ้องได้รับความร้ดู ้านความปลอดภยั ด้วยเช่นกนั ยกตวั อย่าง บทบาทหน้าท่ใี นการบริหารจัดการดา้ นการอบรมในระดบั ต่าง ๆ ดงั นี้ ตาํ แหน่ง บทบาทหนา้ ท่ี ผปู้ ฏบิ ตั ิงาน หัวหน้าห้องปฏิบตั งิ าน - รบั ผดิ ชอบต่อวธิ กี ารปฏบิ ัติงานอยา่ งปลอดภัย - เขา้ รับการอบรมตามหวั ข้อทเี่ ก่ยี วข้องกับการปฏิบตั งิ าน ผู้บริหาร - รับผิดชอบต่อการจัดให้ผู้ปฏิบัติงานในความดูแลได้รับการฝึกอบรมด้าน ความปลอดภยั ในทุกหวั ขอ้ ตามความเหมาะสม - อนุญาตให้ผู้ปฏิบัติงานทไี่ ดร้ ับการอบรมเขา้ ห้องปฏิบัตกิ ารได้ - เข้ารบั การอบรมตามหวั ข้อทเี่ กี่ยวข้องกับการปฏบิ ตั ิงาน - รับผิดชอบต่อการบังคับใช้ให้ลูกจ้างทุกคนได้รับการอบรมด้านความ ปลอดภัย - สนบั สนนุ ด้านงบประมาณในการใหค้ วามร/ู้ อบรมในภาพรวม - เข้ารบั การอบรมตามหัวข้อทเี่ กีย่ วขอ้ งกบั การปฏิบตั งิ าน 4. หัวข้อ/รปู แบบหลกั สูตร ระบบของการจดั การหลกั สตู ร จะครอบคลมุ หัวข้อดงั ต่อไปน้ี 4.1 หัวข้อท่ัวไปตามข้อกําหนด ได้แก่ กฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม ความเป็น อันตรายของสารเคมี การจัดการของเสียสารเคมีอันตราย ความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการ ข้อ ปฏบิ ัตทิ ัว่ ไปในห้องปฏิบตั กิ าร การซ้อมหนีไฟ การจดั การความเสีย่ ง เปน็ ตน้ 4.2 หัวข้อเฉพาะที่ข้ึนกับการปฏิบัติงานของแต่ละท่ี อาทิเช่น ถ้าหน่วยงานทํางานกับรังสีและเลเซอร์ ก็ ตอ้ งมีการอบรม “ความปลอดภยั เม่ือทํางานกบั รงั สแี ละเลเซอร”์ เปน็ ตน้ --------------------- ภ6-2
ภาคผนวก 7 การจัดการขอ้ มูลและเอกสาร ตัวอย่างรูปแบบ ค่มู อื การปฏบิ ตั กิ าร(SOP) ภ7-1
A (รหสั หน่วยงานหรือหนว่ ยปฏิบัต)ิ – B (รหัสเร่ืองท่ที ํา) –C (เลขลาํ ดับ) ช่ือเร่อื ง............ ภ7-2
(ระบุสถานท่ีหรือ คูม่ ือการปฏิบัตงิ าน: A-B-C ผทู้ บทวน…………………… หมายเลขสําเนาเอกสาร... หนว่ ยงาน) ผเู้ สนอ……………………….. วันที…่ …………………….. ลาํ ดับการแก้ไข ครง้ั ท่.ี .... ผ้อู นมุ ัติ ……………………… หน้าท่ี ....... ทบทวนคร้ังท่ี บันทึกการทบทวนและแก้ไข วนั ท่ี รายการการทบทวนและแกไ้ ข หมายเหตุ:ไม่แกไ้ ข (no revision) แก้ไข (revision) หรอื เลิกใช้ (deletion) ภ7-3
(ระบสุ ถานท่ีหรือ คมู่ ือการปฏบิ ัตงิ าน: A-B-C ผทู้ บทวน…………………… หมายเลขสาํ เนาเอกสาร... หน่วยงาน) ผู้เสนอ……………………….. วันท…่ี …………………….. ลาํ ดบั การแก้ไข ครง้ั ท.่ี .... ผู้อนุมตั ิ ……………………… หนา้ ที่ ......... 1. 2. รายชือ่ ผู้ถือครองเอกสารฉบบั น้ี 3. 4. 11. 5. 6. 12. 7. 13. 8. 14. 9. 15. 10. 16. 17. 18. 19. 20. ภ7-4
(ระบุสถานที่หรือ คมู่ อื การปฏิบัตงิ าน: A-B-C ผทู้ บทวน…………………… หมายเลขสําเนาเอกสาร... หน่วยงาน) ผ้เู สนอ……………………….. วนั ท…ี่ …………………….. ลําดับการแกไ้ ข ครั้งท่ี..... ผู้อนมุ ัติ ……………………… หนา้ ท่ี ......... ชือ่ เรอื่ ง................................................ เอกสารอ้างอิง 1. วัตถปุ ระสงค์ 2. ขอบเขต 3. ผรู้ บั ผดิ ชอบ 4. ส่งิ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง/เอกสารอ้างอิง 5. นิยามศพั ท์ 6. ข้นั ตอนการปฏิบัตงิ าน ข้ัน ผู้รบั ผดิ ชอบ กจิ กรรม 1 2 3 7. รายละเอียดการปฏบิ ัติงาน 8. ภาคผนวก ภ7-5
CT-PM-02 ขั้นตอนการประเมินความพรอ้ มของผ้ปู ฏิบตั งิ านกอ่ นทําวจิ ยั ภ7-6
ภาควิชาเทคโนเคมี คมู่ อื การปฏิบัติงาน: CT-PM-02 หมายเลขสาํ เนาเอกสาร 01 ลาํ ดับการแกไ้ ข คร้งั ที่ 3 ผูเ้ สนอ นักวิทยาศาสตร์ ผทู้ บทวน ประธานกลุม่ วิจัย หน้าที่ 1 ผู้อนมุ ัติ หัวหน้าภาควิชา วันท่ี 30 มนี าคม 2557 บนั ทกึ การทบทวนและแกไ้ ข ทบทวนคร้งั วันที่ รายการการทบทวนและแก้ไข ท่ี 5 ส.ค. 55 1 1 เม.ย. 56 หน้าที่ 3 เพม่ิ ผรู้ ับผดิ ชอบ คือ “ฝ่ายบริหาร มีหน้าท/ี่ ความรับผิดชอบ ตรวจสอบผลงานการ 30 ม.ี ค. 57 ปฏิบตั งิ านของหัวหน้าหอ้ งปฏบิ ัติการวิจยั ให้เปน็ ไปตามขอ้ กําหนด” 2 หน้าท่ี 3 ตดั เอกสารอา้ งอิง “CT-SD-02-04 การประเมนิ การใช้เครื่องมอื ” 3 2 ก.พ.58 หน้าท่ี 6 แก้ไขนิยามศัพท์ “ความพร้อมของผู้ปฏบิ ัตงิ านก่อนทําวิจัย หมายถงึ ผปู้ ฏบิ ตั งิ านตอ้ งมี ความรูใ้ นเรือ่ งของความปลอดภยั ห้องปฏิบตั กิ ารวิจัย” เป็น “ความพร้อมของผปู้ ฏบิ ัตงิ านก่อน 4 ทําวิจยั หมายถงึ ผปู้ ฏบิ ัติงานต้องมีความรใู้ นเรื่องของความปลอดภยั ห้องปฏิบตั กิ ารวิจยั ตาม องค์ประกอบของ ESPReL การใชแ้ ละการดูแลเคร่ืองมือในห้องปฏบิ ัตกิ ารได้” ไม่แกไ้ ข หมายเหต:ุ ไมแ่ ก้ไข (no revision) แกไ้ ข (revision) หรอื เลกิ ใช้ (deletion) ภ7-7
ภาควิชาเทคโนเคมี คู่มือการปฏบิ ัติงาน: CT-PM-02 หมายเลขสําเนาเอกสาร 01 ลาํ ดบั การแก้ไข ครง้ั ท่ี 3 ผู้เสนอ นกั วทิ ยาศาสตร์ ผทู้ บทวน ประธานกลุ่มวิจัย หนา้ ที่ 2 ผอู้ นุมตั ิ หวั หนา้ ภาควิชา วันที่ 30 มนี าคม 2557 รายชื่อผ้ถู ือครองเอกสารฉบบั นี้ 1. หวั หนา้ หน่วยงาน/หน่วยปฏิบัติ 11. 2. หัวหนา้ หอ้ งวิจยั 12. 3. 13. 4. 14. 5. 15. 6. 16. 7. 17. 8. 18. 9. 19. 10. 20. ภ7-8
ภาควชิ าเทคโนเคมี ค่มู อื การปฏบิ ตั งิ าน: CT-PM-02 หมายเลขสาํ เนาเอกสาร 01 ลําดบั การแกไ้ ข ครัง้ ที่ 3 ผเู้ สนอ นกั วิทยาศาสตร์ ผ้ทู บทวน ประธานกล่มุ วจิ ัย หนา้ ท่ี 3 ผู้อนุมัติ หัวหน้าภาควชิ า วนั ที่ 30 มนี าคม 2557 ขนั้ ตอนการประเมนิ ความพรอ้ มของผปู้ ฏบิ ตั ิงานก่อนทาํ วจิ ยั 1. วัตถุประสงค์ เพ่ือใหก้ ารประเมนิ ความพรอ้ มของผปู้ ฏิบตั งิ านก่อนทาํ วจิ ยั เป็นไปอย่างถกู ตอ้ ง 2. ขอบเขต หอ้ งปฏิบตั กิ ารและหอ้ งวิจยั ทกุ ห้องของหนว่ ยงาน/หนว่ ยปฏิบัติ 3. ผรู้ บั ผิดชอบ ผรู้ บั ผิดชอบ หน้าที่/ความรับผิดชอบ ฝา่ ยบริหาร - ตรวจสอบผลงานการปฏิบตั ิงานของหวั หนา้ ห้องปฏบิ ตั กิ ารวจิ ยั ให้ เปน็ ไปตามขอ้ กําหนด ผปู้ ระสานงานฝา่ ยความปลอดภัย - จัดอบรมความรู้เกยี่ วกบั ความปลอดภยั หอ้ งปฏบิ ตั ิการวจิ ยั หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารวิจยั - จดั อบรมการใช้เครอื่ งมือพน้ื ฐานในห้องปฏบิ ัตกิ าร - จัดอบรมความเป็นอนั ตรายและการจดั การสารเคมี/ของเสยี ใน ห้องปฏบิ ตั กิ าร หวั หนา้ หอ้ งปฏิบัติการ - รวบรวมรายชอ่ื ผู้ปฏิบตั งิ านในหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร - ควบคุมการปฏบิ ัติงานให้เปน็ ไปตามแผนการปฏบิ ัตงิ าน - ตรวจสอบผลการดําเนนิ งาน กอ่ นสง่ ฝ่ายบรหิ าร - ให้คําปรึกษาในทุกขัน้ ตอนการปฏิบัตงิ าน ผู้ปฏิบตั งิ าน (เจ้าหน้าที,่ นิสติ /นักศกึ ษา - ปฏิบตั ิงานตามท่รี ะบใุ นเอกสารทุกขน้ั ตอนทก่ี าํ หนดให้อยา่ งถูกต้อง , นกั วจิ ัย) 4. สิง่ ที่เก่ียวขอ้ ง/เอกสารอ้างอิง 4.1 CT-FM-001 แบบฟอรม์ รายชอ่ื ผูป้ ฏิบตั ิงานทีก่ าํ ลังจะเข้าทําวิจยั ในห้องปฏบิ ตั กิ าร4.2 CT-FM- 002แบบฟอร์มรายการฝกึ อบรมของผปู้ ฏบิ ัติงาน 4.3 CT-FM-003 แบบฟอรม์ การประเมินความพร้อมก่อนเรม่ิ ดําเนนิ การวิจยั 4.4 เอกสารโครงการ ESPReL 2555: แนวปฏิบตั ิเพื่อความปลอดภยั ในหอ้ งปฏิบตั กิ าร(ทีม่ า: http://www.chemtrack.org/Doc/F622.pdf) 4.5 เอกสารโครงการ ESPReL 2555: ค่มู ือการประเมินความปลอดภัยหอ้ งปฏิบตั กิ าร (ท่มี า: http://www.chemtrack.org/Meeting/F52-10.pdf) 5. นยิ ามศพั ท์ ความพรอ้ มของผปู้ ฏิบัตงิ านกอ่ นทําวจิ ยั หมายถงึ ผปู้ ฏบิ ัติงานต้องมคี วามรู้ในเรื่องของความ ปลอดภัยหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารวิจยั ตามองคป์ ระกอบของ ESPReL การใชแ้ ละการดูแลเคร่อื งมือในหอ้ งปฏบิ ตั ิการได้ 6. ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน ขน้ั ผรู้ บั ผิดชอบ กจิ กรรม เอกสารอา้ งอิง 1 หวั หนา้ หอ้ งปฏบิ ัติการ รวบรวมรายชือ่ ผู้ปฏิบตั งิ านท่กี าํ ลงั จะเข้าห้องปฏิบตั ิการ CT-FM-001 วิจยั (ข้อ 7.1) ภ7-9
ภาควชิ าเทคโนเคมี คมู่ อื การปฏิบัติงาน: CT-PM-02 หมายเลขสาํ เนาเอกสาร 01 ลาํ ดบั การแกไ้ ข ครง้ั ที่ 3 ผูเ้ สนอ นักวทิ ยาศาสตร์ ผทู้ บทวน ประธานกล่มุ วิจัย หน้าท่ี 4 ผู้อนมุ ตั ิ หวั หน้าภาควชิ า วนั ที่ 30 มีนาคม 2557 เอกสารอ้างอิง CT-FM-002 ข้ัน ผรู้ บั ผิดชอบ กจิ กรรม 2 ผู้ประสานงานฝา่ ยความ จดั อบรม “ดา้ นความปลอดภัยของ ปลอดภัยหอ้ งปฏบิ ัติการวจิ ยั หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารวิจยั ”แก่ผู้ปฏบิ ตั งิ าน (ขอ้ 7.2.1) 3 ผูป้ ระสานงานฝา่ ยความ จดั อบรม “การใช้เครื่องมอื และดูแลเครื่องมอื ใน CT-FM-002 ปลอดภัยหอ้ งปฏบิ ัติการวิจยั ห้องปฏบิ ตั ิการ”แก่ผปู้ ฏิบตั งิ าน(ข้อ 7.2.2) 4 ผปู้ ระสานงานฝา่ ยความ จดั อบรม “ความเป็นอนั ตรายและการจัดการสารเคมี/ CT-FM-002 ปลอดภยั ห้องปฏิบตั ิการวิจัย ของเสยี ในห้องปฏบิ ัตกิ าร” แก่ผู้ปฏิบัติงาน(ข้อ 7.2.3) 5 หัวหนา้ ห้องปฏบิ ัติการ ใหผ้ ปู้ ฏิบตั ิงานประเมินความพร้อมกอ่ นเร่ิมดาํ เนินการ CT-FM-003 วจิ ยั และรวบรวมส่งใหส้ ํานกั งาน(ขอ้ 7.3) 6 หัวหน้าห้องปฏบิ ัติการ ตรวจสอบผลการปฏิบัติงาน และพจิ ารณาลงมตใิ ห้ ผ้ปู ฏบิ ัตงิ านทีผ่ ่านตามแผนให้ทําวิจัยได้(ข้อ 7.4) 7 ผู้ประสานงานฝา่ ยความ ประกาศรายชอ่ื ผปู้ ฏิบัติงานทผี่ า่ นการเตรียมความพร้อม ปลอดภยั หอ้ งปฏิบัติการวจิ ยั ก่อนทําวิจัยและสาํ เนาเอกสารส่งหวั หนา้ ห้องปฏบิ ัติการ วจิ ยั (ข้อ 7.5) 8 หวั หนา้ หอ้ งปฏบิ ัติการ เก็บข้อมูลของผู้ปฏบิ ตั งิ านเข้าแฟ้มประวัติ (ข้อ 7.6) 7. รายละเอยี ดการปฏิบัตงิ าน 7.1 รวบรวมรายชือ่ ผู้ปฏิบัตงิ านท่กี ําลงั จะเข้าห้องปฏิบัติการวจิ ัย หัวหน้าห้องปฏิบัติการวิจัยรวบรวมรายชื่อผู้ปฏิบัติงานที่กําลังจะเข้าห้องปฏิบัติการ วิจยั ให้กบั ผปู้ ระสานงานด้านความปลอดภยั หอ้ งปฏบิ ตั งิ านวจิ ยั ของหน่วยงาน 7.2 การจดั อบรมผปู้ ฏบิ ตั ิงาน ผูป้ ระสานงานฯ จะรับผิดชอบในการจดั การอบรมระดบั หน่วยงาน ในเรอ่ื ง - การจดั หาวทิ ยากรอบรม - การติดต่อประสานเร่อื งเวลาและสถานที่อบรม จดั หัวขอ้ ฝึกอบรม ดงั ตอ่ ไปนี้ 7.2.1 ความปลอดภยั ของหอ้ งปฏบิ ตั ิการวจิ ยั แก่ผูป้ ฏิบตั งิ าน ภ7-10
ภาควิชาเทคโนเคมี คมู่ ือการปฏิบัตงิ าน: CT-PM-02 หมายเลขสําเนาเอกสาร 01 ผเู้ สนอ นักวทิ ยาศาสตร์ ผทู้ บทวน ประธานกลุ่มวจิ ัย ลําดับการแกไ้ ข คร้ังที่ 3 ผอู้ นุมตั ิ หวั หน้าภาควชิ า วันที่ 30 มีนาคม 2557 หนา้ ที่ 5 - องคป์ ระกอบของ ESPReL 7.2.2 การใช้เครือ่ งมือและดูแลเคร่อื งมอื ในห้องปฏิบตั ิการแก่ผปู้ ฏบิ ัตงิ าน - เคร่ืองมือพ้ืนฐานท่ีใชใ้ นห้องปฏบิ ัตกิ ารวจิ ัย 7.2.3 ความเป็นอนั ตรายและการจดั การสารเคมี/ของเสยี ในห้องปฏิบัตกิ าร - ตัวอยา่ งจะเน้นสารเคม/ี ของเสียหลัก ๆ ที่ใชใ้ นห้องปฏิบัตกิ ารวจิ ัยของ หนว่ ยงาน 7.3 ใหผ้ ้ปู ฏิบัติงานประเมินความพร้อมกอ่ นเรม่ิ ดาํ เนินการวจิ ยั และรวบรวมสง่ ให้ สํานกั งาน - ผ้ปู ฏิบตั ิงานตอ้ งประเมินความพรอ้ มก่อนเรมิ่ ดําเนนิ การวจิ ยั อย่างน้อย 1 สปั ดาห์ และส่งแบบฟอร์มประเมนิ ใหห้ ัวหนา้ หอ้ งปฏบิ ตั ิการ 7.4 ตรวจสอบผลการปฏิบัตงิ าน และพิจารณาลงมติให้ผปู้ ฏบิ ตั ิงานทผ่ี า่ นตามแผนให้ ทําวิจยั ได้ หัวหน้าห้องปฏิบัติการพิจารณาลงมติอนุมัติให้ผู้ปฏิบัติงานที่พร้อมเข้าทําวิจัย และ ตรวจสอบผลการปฏิบตั ิงานท่ีตงั้ ไวต้ ามแผน และสง่ ใหผ้ ู้ประสานงานฯ 7.5 ประกาศรายชอ่ื ผูป้ ฏิบตั งิ านทีผ่ า่ นการเตรียมความพร้อมกอ่ นทาํ วิจัยและสําเนา เอกสารส่งหัวหน้าห้องปฏบิ ตั กิ ารวจิ ัย ผูป้ ระสานงานฯ ทําประกาศรายช่ือผูป้ ฏิบตั ิงานที่พร้อมเขา้ ทาํ วจิ ยั สําหรับผู้ท่ีไมผ่ ่าน จะต้องรอรอบใหม่ทจ่ี ะมีการฝกึ อบรมและประเมนิ ความพร้อม ในคร้งั ถัดไป 7.6 เก็บขอ้ มูลของผปู้ ฏบิ ตั งิ านเข้าแฟ้มประวัติ หวั หนา้ หอ้ งปฏบิ ตั ิการดําเนนิ การเก็บข้อมูลการฝึกอบรมและประกาศฯ ในแฟ้มของ ห้องปฏิบัติการ และแฟ้มประวัตขิ องผปู้ ฏิบัตงิ านแต่ละคน 8. ภาคผนวก- ภ7-11
ภาควิชาเทคโนเคมี คู่มอื การปฏบิ ตั งิ าน: CT-PM-02 หมายเลขสาํ เนาเอกสาร 01 ลาํ ดบั การแกไ้ ข ครงั้ ท่ี 3 ผ้เู สนอ นักวิทยาศาสตร์ ผูท้ บทวน ประธานกลุ่มวจิ ัย หน้าที่ 6 ผ้อู นุมัติ หัวหนา้ ภาควชิ า วนั ท่ี 30 มนี าคม 2557 เอกสารท่เี กยี่ วข้อง CT-FM-001 แบบฟอร์มรายชือ่ ผ้ปู ฏิบตั งิ านทีก่ ําลงั จะเขา้ ทาํ วจิ ัยในหอ้ งปฏิบัติการ สถานท/ี่ หนว่ ยงาน แบบฟอรม์ รายช่อื ผปู้ ฏิบัติงานที่กาํ ลงั จะเข้าทําวิจยั ในหอ้ งปฏิบตั กิ าร ปี CT-FM-001 .............. หน้าท.่ี ........ ช่อื หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ................................................................................................................................ ชือ่ หวั หนา้ หอ้ งปฏบิ ัตกิ าร ............................................................................................................................... วันทแ่ี จ้ง/ส่งรายชอ่ื .......................................................... เบอรโ์ ทรตดิ ตอ่ ............................................ ท่ี ชื่อ-สกลุ นกั วจิ ัย นิสติ / เจา้ หน้าท่ี หมาย นักศึกษา เหตุ 1 2 3 4 รวม จํานวนรวมท้ังหมด ……………………………………………………ผู้ประสานงานฯ …………………………………………หัวหน้าหอ้ งปฏิบตั ิการ รบั เร่อื ง วนั ท่ี............................................................... ภ7-12
ภาควชิ าเทคโนเคมี คมู่ ือการปฏิบตั ิงาน: CT-PM-02 หมายเลขสาํ เนาเอกสาร 01 ลาํ ดับการแก้ไข ครั้งท่ี 3 ผู้เสนอ นักวทิ ยาศาสตร์ ผู้ทบทวน ประธานกลุม่ วิจยั หน้าท่ี 7 ผู้อนมุ ัติ หัวหน้าภาควชิ า วนั ที่ 30 มนี าคม 2557 สถานท่ี/หนว่ ยงาน CT-FM-002 CT-FM-002 แบบฟอรม์ รายการฝึกอบรมของผปู้ ฏบิ ัตงิ าน หนา้ ที่......... แบบฟอร์มรายการฝึกอบรมของผู้ปฏบิ ตั งิ าน ชื่อ-สกุลผ้ปู ฏบิ ตั งิ าน ............................................................................................................................... หอ้ งปฏิบัตกิ าร ............................................................................................................................... ทอ่ี ยูต่ ิดตอ่ ............................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………… E-mail………………………………………………………………….เบอรโ์ ทรติดต่อ…………………………………………………… วันท่ี ผลการ ลายเซน็ ผู้ ลายเซน็ หวั หน้า ที่ รายการฝึกอบรม ฝึกอบรม อบรม ประสานงานฯ หอ้ งปฏบิ ัตกิ าร 1 2 3 4 หมายเหตุ – กรณที ก่ี ารวดั ผลไมผ่ า่ น หน่วยงานจะไม่อนญุ าตใหผ้ ู้ปฏิบัติงานเข้าทําวิจัย ดังนั้น ผู้ปฏิบัตงิ านต้องเข้าเตรียมความพรอ้ มฯ ใหม่ในครง้ั ถดั ไป ภ7-13
ภาควิชาเทคโนเคมี ค่มู อื การปฏบิ ัติงาน: CT-PM-02 หมายเลขสําเนาเอกสาร 01 ลาํ ดับการแกไ้ ข ครง้ั ท่ี 3 ผู้เสนอ นักวทิ ยาศาสตร์ ผูท้ บทวน ประธานกลมุ่ วจิ ัย หน้าท่ี 8 ผอู้ นุมัติ หัวหน้าภาควชิ า วันท่ี 30 มนี าคม 2557 CT-FM-003 แบบฟอรม์ การประเมินความพรอ้ มก่อนเรม่ิ ดาํ เนนิ การวจิ ยั สถานท่ี/หนว่ ยงาน แบบฟอร์มการประเมินความพรอ้ มก่อนเร่มิ ดําเนินการวจิ ัย CT-FM-003 หน้าท.ี่ ....... ช่อื -สกลุ ผปู้ ฏิบตั ิงาน ............................................................................................................................... ห้องปฏบิ ตั กิ าร ............................................................................................................................... หวั หน้าห้องปฏิบัติการ ............................................................................................................................... ชว่ งเวลาทท่ี าํ การประเมิน ............................................................................................................................... สารเคมที ี่ต้องใช้ ท่ี ชอื่ สารเคมี ปริมาณทใ่ี ช้ สถานะ ประเภทความ ระดับความเป็น ของสาร เปน็ อันตราย อนั ตราย 1 2 อปุ กรณ์และเครื่องมือท่ีตอ้ งใช้ ผู้ปฏบิ ตั งิ านต้องได้รบั การอบรมจากผู้ดูแลตามรายการ ที่ อปุ กรณ์/เครื่องมอื สถานทว่ี าง วันท่ไี ด้รบั การฝึกใช้ ลายเซ็นผดู้ แู ลฯ/ เครื่องมือ เครอ่ื งมือจรงิ ผเู้ ชี่ยวชาญ 1 2 วธิ ีการทดลองที่ตอ้ งทาํ ท่ี ชื่อวิธีการทดลอง ระยะเวลา ระดับความ เส้นทางรับ PPE ท่ีตอ้ งใช้ การทดลอง เปน็ อันตราย สมั ผสั 1 2 ของเสยี ทเ่ี กดิ ข้ึนและวิธีการกําจัดของเสีย ที่ รายการของเสียสารเคมี ประเภท สถานทเ่ี ก็บ ชนิด/ขนาด วธิ กี ารกําจัด ของเสีย ของเสยี ภาชนะบรรจุ 1 2 นิสติ ได้ดาํ เนินการเตรยี มการครบทกุ ขน้ั ตอนแล้ว หวั หนา้ หอ้ งปฏิบัติการเหน็ สมควรอนมุ ัติให้เรมิ่ ทําวจิ ยั ได้ ลงชอื่ หวั หน้าหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร............................................................................................................... วนั ท่.ี ............................................................................................................ ลงช่ือผ้ปู ระสานงานความปลอดภัยห้องปฏิบัตกิ ารฯ...................................................................... วันที่ได้รับเอกสาร...................................................................................... ภ7-14
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187