147 โครงสร้างรายวิชา รหสั วชิ า ส๓๓๑๐๑ รายวิชา สงั คมศกึ ษา ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖ เวลาเรยี น ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกติ ภาคเรยี นท่ี ๑ หนว่ ย ชื่อหนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐาน เวลา นำ้ หนกั ท่ี การเรยี นรู้/ สาระสำคัญ (ช่วั โมง) คะแนน ตวั ชี้วดั “ศาสนพธิ ”ี การสวดมนต์แปล และ ๗ ส๑.๑ ม.๖/ แผ่เมตตาภาษามือไทย ๔ ๑๐ ๒๐ การบรหิ ารจิตและเจรญิ ปญั ญาสามารถนำมาใชใ้ น (๑ ตัวชวี้ ัด) การดำเนินชีวิตเพื่อพฒั นา คุณภาพชวี ติ ทด่ี ี “หลักแห่งสนั ตสิ ุข” ส๑.๑ ม.๖/ ศาสนาทุกศาสนามงุ่ เน้นสอน ๒ ๕ ๘ ๒๑ ให้มนุษยเ์ ปน็ คนดขี องสงั คม (๑ ตัวชว้ี ัด)
148 โครงสรา้ งรายวิชา รหสั วชิ า ส๓๓๑๐๑ รายวิชา สังคมศึกษา ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๖ เวลาเรยี น ๔๐ ชว่ั โมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต ภาคเรียนท่ี ๑ หนว่ ย ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก ท่ี การเรยี นร้/ู (ชวั่ โมง) คะแนน ตัวช้ีวัด ๙ “ปญั หาชมุ ชน” ส๑.๑ ม.๖/ สภาพปัญหาของชุมชน ๒๕ ๒๒ มีผลกระทบต่อส่ิงแวดลอ้ ม (๑ ตัวชวี้ ัด) ๑๐ “พุทธบริษัท” ส๑.๒ ม.๖/๕ พทุ ธบริษทั มหี นา้ ทใี่ นการสืบ ๒ ๕ (๑ ตวั ชว้ี ดั ) สานพระพุทธศาสนา ๑๑ “จิตสาธารณะ” ส๑.๒ ม.๖/๕ การปลกู จติ สำนึกและ ๒ ๕ (๑ ตวั ชวี้ ัด) การมสี ว่ นร่วมในสังคมพทุ ธเพื่อ การสร้างจติ สาธารณะ ๑๒ “สิทธมิ นุษยชน ส๒.๑ ม.๖/๔ มนุษยท์ ุกคนพง่ึ ได้รบั ๒ ๕ คนพกิ าร” (๑ ตัวชวี้ ดั ) การคมุ้ ครองสิทธติ ามกฎหมาย อยา่ งเท่าเทียมเสมอภาค วัฒนธรรมเป็นมรดกทด่ี ีงาม ๑๓ “วฒั นธรรม” ส๒.๑ ม.๖/๕ มีความสำคัญต่อประเทศชาติ ๔ ๑๐ (๑ ตัวชว้ี ดั ) ตอ้ งสืบสานรักษาอนรุ กั ษเ์ พ่อื ให้ ชนรุ่นหลงั สืบทอด การปกครองระบอบ ๑๔ “พระมหากษตั รยิ ”์ ส๒.๒ ม.๖/๓ ประชาธปิ ไตยพระมหากษตั ริย์ ๒ ๕ (๑ ตัวชว้ี ดั ) ทรงมีฐานะและพระราชอำนาจ
149 โครงสรา้ งรายวิชา รหสั วชิ า ส๓๓๑๐๑ รายวชิ า สงั คมศกึ ษา ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๖ เวลาเรยี น ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกติ ภาคเรยี นท่ี ๑ หน่วย ชื่อหนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก ท่ี การเรียนรู/้ (ชว่ั โมง) คะแนน ตวั ชีว้ ดั การเปลย่ี นแปลงทางสังคม ๑๕ “ประชาชนกบั ส๒.๒ ม.๖/๔ มีผลจากการใช้อำนาจตาม ๒ ๕ อำนาจอธปิ ไตย” (๑ ตวั ชว้ี ดั ) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั ร ไทย ซึ่งประชาชนมสี ิทธใิ นการ ตรวจสอบ ๑๖ “สหกรณ์” ส๓.๑ ม.๖/๓ ระบบสหกรณ์เป็นกิจกรรมทาง ๒ ๕ (๑ ตวั ชว้ี ดั ) เศรษฐกจิ ที่ประชาชนสามารถ ดำเนินการไดต้ ามกฎหมาย การรวมกลุม่ ของคนในชมุ ชนใน ๑๗ “เศรษฐกจิ ชมุ ชน” ส๓.๑ ม.๖/๔ การดำเนนิ การกิจกรรมทาง ๒ ๕ (๑ ตัวชวี้ ัด) เศรษฐกจิ เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ ของชุมชน ๑๘ “องค์กรทางเศรษฐกิจ” ส๓.๒ ม.๖/๓ องคก์ ารความร่วมมือทาง ๒ ๕ (๑ ตัวชวี้ ดั ) เศรษฐกิจมีบทบาทสำคญั ในการ พัฒนาเศรษฐกิจ รวม ๑๖ ๔๐ ๑๐๐
150 โครงสรา้ งรายวชิ า รหสั วิชา ส ๓๓๑๐๒ รายวชิ า สงั คมศกึ ษา ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๖ เวลาเรยี น ๔๐ ช่วั โมง จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกิต ภาคเรยี นท่ี ๒ หน่วย ชือ่ หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก ท่ี การเรียนร/ู้ (ชว่ั โมง) คะแนน ตัวชีว้ ัด ๑ “วิธีการทาง ส ๔.๑ ม.๖/๒ การทำโครงงานทาง ๔ ๑๐ ประวตั ศิ าสตร”์ (๑ ตวั ชวี้ ัด) ประวัติศาสตรเ์ ปน็ วธิ กี ารทาง ประวตั สิ าสตร์ ๒ “การลา่ อาณานิคม” ส ๔.๒ ม.๖/๓ ในยคุ สมัยโบราณมกี ารลา่ ๔ ๑๐ (๑ ตวั ชวี้ ัด) อาณาจกั รเพื่อขยายอำนาจใน การปกครองและอารยธรรม ๓ “สถานการณโ์ ลก” ส ๔.๒ ม.๖/๔ สถานการณ์สำคญั ของโลกมี ๔ ๑๐ (๑ ตัวชว้ี ัด) ผลตอ่ การพัฒนาประเทศ วฒั นธรรมไทยเปน็ มรดกท่ีสืบ ๔ “วัฒนธรรมไทย” ส ๔.๓ม.๖/๕ ทอดกันมาชา้ นาน ตงั้ แต่สมัย ๑๒ ๓๐ (๑ ตัวชว้ี ดั ) บรรพบุรุษทช่ี นรุ่นหลงั ต้อง ร่วมกนั อนรุ กั ษไ์ ว้ ๕ “การเปล่ียนแปลง ส ๕.๑ ม.๖/๓ , การเปลย่ี นแปลงทาง ๘ ๒๐ ทางธรรมชาติ” ม.๖/๔ ธรรมชาติมอี ิทธพิ ลจากปจั จยั ทางภูมศิ าสตร์และ (๒ ตัวชวี้ ัด) การดำรงชีวติ ของมนษุ ย์ ๖ “ผลจาก ส ๕.๒ ม.๖/๔, การอนรุ ักษท์ รพั ยากรและ ๘ ๒๐ สงิ่ แวดล้อม” ม.๖/๕ ส่ิงแวดล้อมเป็นประโยชน์ (๒ ตัวชว้ี ัด) ตอ่ การพฒั นาที่ย่ังยนื รวม ๘ ๔๐ ๑๐๐
151 คำอธบิ ายรายวชิ า กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ รหัสวชิ า ส๑๑๑๐๑ รายวชิ า สังคมศึกษา เวลาเรยี น ๘๐ ชั่วโมง/ปี หนว่ ยนำ้ หนัก ๑.๐ ศึกษาพุทธประวัติ พทุ ธสาวก โอวาท ๓ ตัวอยา่ ง เอกลักษณ์ของพทุ ธศาสนา ฝกึ การสวดมนต์ไหวพ้ ระ การแผ่เมตตา การนั่งสมาธิ มารยาทชาวพุทธ มารยาทไทย กฎระเบียบหน้าที่ในครอบครัว โรงเรียน สถานที่ สาธารณะ การยอมรับในความคิด ความเชื่อ และการปฏิบัติตนที่แตกต่างกัน การเคารพในสิทธิ เสรีภาพ ความสัมพันธใ์ นครอบครัว ชุมชน มีบทบาท หน้าที่ อำนาจในโรงเรียน ชุมชน การนำทรัพยากรมาใช้ผลิตสินคา้ การประกอบอาชพี ของครอบครวั การทำบญั ชีรายรบั -รายจ่าย การใชจ้ ่ายที่เหมาะสม การออม การนำเงินชว่ ยเหลอื สาธารณกุศล อธิบายความหมายความสำคัญของการแลกเปลี่ยนสินค้าและการบริการ ลักษณะการแลกเปลี่ยน บอกความหมายและบทบาทผ้ซู ื้อผู้ขาย สังคมสงบสุขประเทศชาติ สิง่ ทีเ่ ปน็ ธรรมชาตกิ ับมนษุ ย์สรา้ งข้ึนระหว่างบ้านกับ โรงเรียน ระบุตำแหน่ง แผนที่ แผนผัง ภาพถ่าย อธิบายความสัมพันธ์ของโลก ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ แยกแยะ ทรัพยากรธรรมชาติกับสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวเรา บอกความสัมพันธ์ของฤดูกาลกับชีวิตมนุษย์ การฟื้นฟู ปรับปรุง ส่งิ แวดล้อมในโรงเรียนและชุมชน โดยใช้กระบวนการเล่าเรื่อง ศึกษาค้นคว้า การยกตัวอย่าง การปฏิบัติ การจำแนก การสังเกต การอภิปราย การบรรยาย การอธบิ าย การบันทกึ การสนทนา การบอก การมีส่วนรว่ ม บทบาท สมมตุ ิ การเรยี งลำดบั เหตุการณ์ การสำรวจ สถานการณจ์ ำลอง และ การถาม-ตอบ ตระหนักและเห็นคุณคา่ ของศาสนาทต่ี นนับถอื ปลูกฝงั คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มมี ารยาทดงี าม เปน็ คนดขี องครอบครัว โรงเรยี นและสังคมมีความเคารพในสิทธิสว่ นบคุ คล ใชท้ รัพยากรอยา่ งคุม้ ค่า ประหยดั อดออม มีความรับผิดชอบ มกี ารแบง่ ปัน การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ความสนใจสง่ิ ท่ีอยู่รอบตัวและทรพั ยากรธรรมชาติ รหสั ตัวชว้ี ดั ส. ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕ , ป.๑/๖ ส. ๑.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ ส. ๒.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ ส. ๒.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ ส. ๓.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ ส. ๓.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ ส. ๕.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ ส. ๕.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ รวม ๒๖ ตวั ชว้ี ดั
152 คำอธิบายรายวชิ า กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๑ รหสั วชิ า ส๑๑๑๐๒ รายวชิ า ประวตั ิศาสตร์ เวลาเรยี น ๔๐ ชั่วโมง / ปี หน่วยนำ้ หนัก ๑.๐ ศึกษา คำแสดงช่วงเวลาวันนี้ เมื่อวานนี้ พรุ่งนี้ เดือนนี้ เดือนหน้า เดือนก่อน วันสำคัญใน ปฏิทิน การสืบค้นเหตุการณ์ทีเ่ กิดขึ้นกับตนเอง ครอบครัว และอธิบายผลกระทบการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตประจำวนั ของคนในชุมชน บอกผลงาน บุคคลในท้องถิน่ ท่ีทำคุณประโยชนแ์ ละน่าภาคภูมิใจ อนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิ ปัญญาไทย โดยใช้กระบวนการเล่าเรื่อง ศึกษาค้นคว้า การยกตัวอย่าง การปฏิบัติ การจำแนก การสังเกต การอภิปราย การบรรยาย การอธิบาย การบนั ทึก การสนทนา การบอก การมีส่วนร่วม บทบาทสมมตุ ิ การ เรยี งลำดับเหตกุ ารณ์ การสำรวจ สถานการณจ์ ำลอง และ การถาม-ตอบ ตระหนักและเห็นคุณค่าของศาสนาที่ตนนับถือ ปลูกฝัง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ อนุรักษ์ วัฒนธรรม ประเพณี ภมู ปิ ัญญาท้องถิน่ รหัสตัวชวี้ ดั ส. ๔.๑ ป.๑/๑ ส. ๔.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ ส. ๔.๓ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ รวม ๗ ตวั ช้วี ดั
153 คำอธิบายรายวชิ า กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๒ รหัสวชิ า ส๑๒๑๐๑ รายวชิ า สงั คมศกึ ษา เวลาเรยี น ๘๐ ช่วั โมง/ปี หน่วยน้ำหนัก ๒.๐ ศึกษาพทุ ธประวตั ิ พุทธสาวก ชาดก โอวาท ๓ พทุ ธศาสนสุภาษิต ตัวอยา่ ง เอกลกั ษณ์ของพุทธศาสนา ฝึกการสวดมนต์ไหว้พระ การแผ่เมตตา การนั่งสมาธิ มารยาทชาวพุทธ มารยาทไทย กฎระเบียบหน้าที่ใน ครอบครัว โรงเรียน สถานที่สาธารณะ การยอมรับในความคิด ความเชื่อ และการปฏิบัติตนที่แตกต่างกัน การ เคารพในสิทธิ เสรีภาพ ความสัมพันธ์ในครอบครัว ชุมชน มีบทบาท หน้าที่ อำนาจในโรงเรียน ชุมชน การนำ ทรัพยากรมาใช้ผลิตสินค้า การประกอบอาชีพของครอบครัว การทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย การใช้จ่ายที่ เหมาะสม การออม การนำเงนิ ช่วยเหลอื สาธารณกศุล อธบิ ายความหมายความสำคญั ของการแลกเปล่ียนสินค้าและ การบริการ ลักษณะการแลกเปล่ียน บอกความหมายและบทบาทผู้ซอ้ื ผู้ขาย สังคมสงบสุขประเทศชาตมิ นั่ คง สิ่ง ที่เป็นธรรมชาติกับมนุษย์สร้างขึ้นระหว่างบ้านกับโรงเรียน ระบุตำแหน่ง แผนที่ แผนผัง ภาพถ่าย อธิบาย ความสัมพันธ์ของโลก ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ แยกแยะทรัพยากรธรรมชาติกับสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวเรา บอก ความสัมพนั ธข์ องฤดูกาลกบั ชวี ิตมนุษย์ การฟ้นื ฟู ปรบั ปรุงส่งิ แวดลอ้ มในโรงเรยี นและชมุ ชน โดยใช้กระบวนการเล่าเรื่อง ศึกษาค้นคว้า การยกตัวอย่าง การปฏิบัติ การจำแนก การ สังเกต การอภิปราย การบรรยาย การอธิบาย การบันทึก การสนทนา การบอก การมีส่วนร่วม บทบาท สมมุติ การเรยี งลำดบั เหตกุ ารณ์ การสำรวจ สถานการณจ์ ำลอง และ การถาม-ตอบ ตระหนักและเห็นคุณค่าของศาสนาที่ตนนับถือ ปลูกฝัง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีมารยาทดีงาม เป็นคนดีของครอบครัว โรงเรียนและสังคมมีความเคารพในสิทธิส่วนบุคคล ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ประหยัด อดออม มีความรับผิดชอบ มีการแบง่ ปัน การให้ความชว่ ยเหลอื ความสนใจสิง่ ท่อี ยูร่ อบตัวและทรัพยากรธรรมชาติ รหัสตัวชี้วัด ส. ๑.๑ ป.๒/๑ ป.๒/๒ ป.๒/๓ ป.๒/๔ ป.๒/๕ ป.๒/๖ ส. ๑.๒ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ ส. ๒.๑ ป.๒/๑ ป.๒/๒ ป.๒/๓ ป.๒/๔ ส. ๒.๒ ป.๒/๑ ป.๒/๒ ส. ๓.๑ ป.๒/๑ ป.๒/๒ ป.๒/๓ ป.๒/๔ ส. ๓.๒ ป.๒/๑ ป.๒/๒ ส. ๕.๑ ป.๒/๑ ป.๒/๒ ส. ๕.๒ ป.๒/๑ ป.๒/๒ ป.๒/๓ ป.๒/๔ รวม ๒๖ ตวั ชวี้ ดั
154 คำอธิบายรายวชิ า กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๒ รหัสวชิ า ส๑๒๑๐๒ รายวิชา ประวัติศาสตร์ เวลาเรยี น ๔๐ ชว่ั โมง/ปี หน่วยนำ้ หนัก ๑.๐ คำแสดงช่วงเวลาวนั น้ี เม่อื วานน้ี พรุ่งน้ี เดอื นน้ี เดอื นหน้า เดอื นกอ่ น วนั สำคัญในปฏิทนิ การสืบค้น เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับตนเอง ครอบครัว โดยใช้ภาพถ่าย สูติบัตร ทะเบียนบ้านและอธิบายผลกระทบการ เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตประจำวันของคนในชุมชน บอกผลงาน บุคคลในท้องถิ่นที่ทำคุณประโยชน์และน่าภาคภูมิใจ อนุรกั ษ์วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาไทย โดยใช้กระบวนการเล่าเรื่อง ศกึ ษาคน้ ควา้ การยกตัวอยา่ ง การปฏิบัติ การจำแนก การสังเกต การ อภิปราย การบรรยาย การอธิบาย การบันทึก การสนทนา การบอก การมีส่วนร่วม บทบาท สมมตุ ิ การเรียงลำดบั เหตุการณ์ สถานการณจ์ ำลอง และการถาม-ตอบ ตระหนักและเห็นคุณค่าของศาสนาทีต่ นนับถือ ปลูกฝัง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีมารยาทดีงาม เป็นผมู้ ีจติ สำนกึ ในการอนุรักษ์ วัฒนธรรม ประเพณี ภูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ รหัสตัวชวี้ ัด ส. ๔.๑ ป.๒/๑ ส. ๔.๒ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ ส. ๔.๓ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ , ป.๒/๓ , ป.๒/๔ รวม ๗ ตัวช้ีวัด คำอธิบายรายวชิ า กลุ่มสาระการเรยี นร้สู ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๓ รหัสวิชา ส๑๓๑๐๑ รายวิชา สังคมศกึ ษา เวลาเรียน ๘๐ ชัว่ โมง / ปี หน่วยนำ้ หนัก ๒.๐
155 ศึกษาพุทธประวัติ พุทธสาวก ชาดก ศาสนิกชน พระรัตนตรัย โอวาท ๓ พุทธศานสุภาษิต ความสมั พนั ธ์ อทิ ธิพลพระพทุ ธศาสนากบั การดำเนนิ ชวี ิตประจำวัน ความสำคัญพระไตรปฏิดก ฝึกการสวดมนตไ์ หว้ พระ การนั่งสมาธิ มารยาทชาวพุทธ การอาราธนาศีล การสมาทานศีล การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ บอกช่ือ ความสำคัญและ ปฏิบัติตนต่อศาสนวัถตุ ศาสนสถาน ศาสนบุคคล ประเพณี วัฒนธรรมในครอบครัว ท้องถิ่น ลักษณะผลงานของบคุ คลเป็นประโยชน์แก่ชุมชนและท้องถิน่ บทบาทหน้าที่ของสมาชิก การออกเสยี ง พฤติกรรมของ ตนเองและเพื่อนๆ วันหยุดราชการที่สำคัญ การเปลี่ยนแปลงในชั้นเรียน โรงเรียนและชุมชน สินค้า หลักการเลือก สนิ คา้ ประโยชน์และคณุ ค่าของสนิ ค้า ความหมายของผูผ้ ลิต ผ้บู ริโภค วางแผน ใชบ้ ัญชรี ับ-จ่าย ปญั หาพ้ืนฐานทาง เศรษฐกิจ การบริการสินค้าภาครัฐ ความหมายความสำคัญของภาษี ตัวอย่างภาษี การเสียภาษีของประชาชน ผลกระทบของการแข่งขันทางการค้า ศักราชที่ปรากฏในปฏิทิน วิธีการเทียบศักราช การสืบค้นเหตุการณ์สำคัญการ ลำดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในโรงเรียนและชุมชน การตั้งถิ่นฐานของชุมชน ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการของชุมชน ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมของชุมชนตนเองและชุมชนอื่นๆ ที่มีความเหมือนและความต่าง พระราช ประวัติ พระราชกรณียกิจของผู้สถาปนากรุงสุโขทัย อยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร์ พระราชประวัติและพระราช กรณียกิจพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระบรมราชินีนาถ วีรกรรมของบรรพบุรุษไทย แผนที่ แผนผัง ภาพถ่าย ตำแหน่ง ระยะ ทิศทาง ลักษณะภมู ิประเทศ ภูมิอากาศ การเปรียบเทียบ การพึง่ พา สิ่งแวดล้อมในการดำรงชีวิตของมนุษย์ การเพิ่มและการสญู เสียสิง่ แวดล้อม มลพิษ การประกอบอาชพี ลักษณะเมอื ง และชนบท
156 โดยใช้กระบวนการเล่าเรื่อง ศึกษาค้นคว้า ยกตัวอย่าง ปฏิบัติ การจำแนก การถาม-ตอบ การบรรยาย การอธบิ าย การอภปิ ราย การบอก การสาธติ บทบาทสมมตุ ิ การเปรยี บเทียบ การเรียงลำดบั เหตุการณ์ การ สังเกต สถานการณ์จำลอง การเรยี งลำดับตำแหนง่ ตระหนักเห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่ตนนับถือเป็นแบบอย่างที่ดี เห็นคุณค่าของการสวดมนต์แผ่ เมตตา การฝึกสมาธิ ปลูกฝังคุณลักษณะอันพึงประสงค์ แสดงตนเป็นพุทธมามกะ เป็นคนดีของครอบครัว มี พฤติกรรมทด่ี ีงาม มพี นื้ ฐานประชาธิปไตย ประหยดั รักและหวงแทนชมุ ชน ตระหนกั ในการเสยี ภาษี รกั ษา ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี วฒั นธรรมของชุมชน รหัสตัวช้ีวดั ส. ๑๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ป.๓/๖ ป.๓/๗ ส.๑.๒ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ส.๒.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ส.๒.๒ ป.๓/๑ป.๓/๒ป.๓/๓ ส.๓.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ส.๓.๒ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ส.๔.๑ ป.๓/๑ป.๓/๒ ส.๔.๒ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ส.๔.๓ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ส.๕.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ส.๕.๒ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ รวม ๓๙ ตัวชว้ี ัด
157 คำอธบิ ายรายวชิ า กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๓ รหัสวชิ า ส๑๓๑๐๒ รายวิชา ประวัตศิ าสตร์ เวลาเรยี น ๔๐ ชวั่ โมง / ปี หนว่ ยน้ำหนัก ๑.๐ ศึกษาเพื่อให้ทราบถึงที่มาที่ปรากฏในปฏิทิน พุทธศักราช คริสต์ศักราช วิธีการเทียบ พ.ศ. เป็น ค.ศ. ตัวอย่างการเทียบศักราชในเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับนักเรียน ปีเกิดของนักเรียน วิธีการสืบค้นเหตุการณ์สำคัญของ โรงเรียน และชุมชน โดยใช้หลักฐาน แหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ใช้เส้นเวลา (Time line) ลำดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน โรงเรียน และชุมชน ปัจจัยการตั้งถิ่นฐานของชุมชน ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ ปัจจัยทางสังคม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการ พัฒนาของชุมชน ศึกษาเพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับพระราชประวัติ พระราชกรณียกิจ ของสมเด็จพระ รามาธิบดที ่ี ๑ (พระเจ้าอู่ทอง) สมเด็จพระเจ้าตากสนิ มหาราช พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลก ผู้สถาปนาอาณาจักรสุโขทัย อยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภมู ิพลอดุลยเดช สมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ศึกษาเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในการเล่าวีรกรรมบรรพบุรุษไทย ที่มีส่วน ป้องกันประเทศชาติ ท้าวเทพสตรี ท้าวศรีสุนทร ชาวบ้านบางระจัน พระยาพิชัยดาบหัก สมเด็จพระนเรศวร มหาราช สมเด็จพระเจ้าตากสนิ มหาราช โดยใชก้ ระบวนการทางประวัติศาสตร์ การเล่าเรอ่ื ง ศกึ ษาค้นควา้ ยกตวั อยา่ ง ปฏบิ ัติ การจำแนก การ ถาม-ตอบ การบรรยาย การอธิบาย การอภิปราย การบอก การสาธติ บทบาทสมมตุ ิ การเปรยี บเทียบ การเรยี งลำดับเหตุการณ์ การสังเกต สถานการณจ์ ำลอง การเรียงลำดับตำแหน่ง ตระหนักและเหน็ คณุ ค่าความสำคญั ของประวตั ิศาสตร์ไทย รักความเปน็ ไทย รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีคา่ นยิ ม ทพี่ งึ ประสงค์ รหสั ตวั ชวี้ ัด ส ๔.๑ ป๓/๑ , ป๓/๒ ส ๔.๒ ป๓/๑ , ป๓/๒ , ป๓/๓ ส ๔.๓ ป๓/๑ , ป๓/๒ , ป๓/๓ รวม ๘ ตวั ช้ีวัด คำอธบิ ายรายวชิ า กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ รหสั วชิ า ส ๑๔๑๐๑ รายวชิ า สังคมศกึ ษา เวลาเรียน ๘๐ ชวั่ โมง/ปี หน่วยนำ้ หนกั ๒.๐
158 ศึกษา ค้นคว้า สงั เกต รวบรวมขอ้ มลู เก่ียวกับศาสนาท่ีตนนับถอื ดา้ นประวตั ิศาสนา ความสำคัญของศาสนาใน ฐานะเป็นศูนย์รวมจิตใจของศาสนิกชน ชาดก ( ศาสนาพุทธ ) วันสำคัญทางศาสนา หลักธรรมของศาสนา ศัพท์ทาง ศาสนา ศาสนพิธี บุคคลตัวอย่างทางศาสนา หน้าที่ มารยาทของศาสนิกชน รัฐธรรมนูญและกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องใน ชีวิตประจำวัน ความหมายของเงิน สินเชื่อ ธนาคาร สถานการณ์เงิน ประเภทของภาษี หน้าที่ของเงิน ความสำคัญ ของธนาคาร และสถาบันการเงิน หลักการและประเภทของสินเชื่อ การบริหารจัดการทรัพยากรของจังหวัด ความสมั พนั ธท์ างเศรษฐกิจ ด้านการผลติ การบริโภค การบริการ การใชเ้ ทคโนโลยี เพ่ือการแบ่งปันในการผลติ และ การบรกิ าร การตลาด การพงึ่ พา การแบง่ ปัน การประสานประโยชน์ทางเศรษฐกิจในระดับจงั หวัด ระบบและหลักการ เศรษฐกิจพอเพียง สหกรณ์โรงเรียน ปัจจัยพื้นฐาน ที่มีผลต่อการสร้างสรรค์ มิติสัมพันธ์เชิงทำเลที่ตั้ง สิ่งแวดล้อม ลักษณะเฉพาะ ความสัมพันธ์ ความแตกต่าง ของลกั ษณะทางกายภาพของอำเภอ กระบวนการสงิ่ แวดลอ้ มของธรรมชาติ ที่ทำให้เกิดลักษณะกิจกรรมและปรากฏการณ์ แผนผัง แผนที่ เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ และสารสนเทศ ทาง ภูมิศาสตร์ การตั้งและการย้ายถิ่นฐาน ของประชากรในอำเภอ สาเหตุและผลของความแตกต่าง และความสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งแวดล้อม ทางธรรมชาติ กับสิ่งแวดล้อมทางสังคม และวัฒนธรรม ของอำเภอตน วิเคราะห์ อภิปราย จำแนก จัดกลุ่ม เปรียบเทียบ สังเคราะห์ ประเมินค่า สรุปและนำเสนอหลักธรรมของศาสนา ประโยชน์ของการบริหาร จิต และเจริญปัญญา การทำความดีและการปฏิบัติของบุคคล สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ในวิถีชีวิต ประชาธิปไตยของตนเองและผู้อืน่ การบริหารทรัพยากร ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกจิ การใช้เทคโนโลยีเพื่อการแข่งขนั ในการผลิตและการบริการ การประสานประโยชน์ทางเศรษฐกิจในระดับ ลักษณะเฉพาะ ความสำคัญ ความแตกต่าง ของสิ่งแวดลอ้ มทางกายภาพ สาเหตุและผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม ฝึกปฏิบัติตามมารยาท หน้าที่องศา สนิกชน ศาสน์พิธี ร่วมกิจกรรมวันสำคัญทางศาสนา ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดี ตามสถานภาพ บทบาท หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ บุคคลที่เป็นตัวอย่างในการดำรงชีวิต หลักธรรมทางศาสนา ความ หลากหลายของประเพณีวัฒนธรรมไทย และวิถีประชาธิปไตย การมีส่วนร่วมกิจกรรมสหกรณ์ กิจกรรมการเมือง การ ปกครองตามกระบวนการประชาธิปไตย การแก้ปัญหาและการส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม การศึกษาค้นคว้าข้อมูล สิ่งแวดลอ้ ม จากแหล่งความรู้ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิง่ แวดล้อมทางธรรมชาติและสังคม โดยใชก้ ระบวนการทางประวัตศิ าสตร์ ปลกู จิตอาสา อภปิ ราย ยกตัวอย่าง บรรยาย การเลา่ การสำรวจ การ สงั เกต และการจดบนั ทึก ตระหนกั และเห็นคณุ ค่าความสำคัญของศาสนาท่ีตนนบั ถือ ชาดก (ศาสนาพทุ ธ) หลักธรรมของศาสนา สภาพ มีเจตคติที่ถูกต้อง เกี่ยวกับการเป็นพลเมืองดี การเมือง การปกครอง และวิถีชีวิตประชาธิปไตย กฎหมายใน ชีวิตประจำวัน และอยรู่ ว่ มกับผ้อู ่นื อย่างสันติสขุ การพัฒนาเศรษฐกจิ ปจั จัยท่ีเป็นแรจูงใจ ในการใช้ทรัพยากรในจังหวัด อย่างประหยัด คุ้มค่าและมีคุณธรรม ระบบการเงิน การคลัง ระบบเศรษฐกิจพอเพียง และความสัมพันธ์เชื่อมโยงส่ิง จ่างๆที่เกี่ยวข้อง มีค่านิยมที่ดีงาม มีความภูมิใจ และชื่นชมการทำความดี ของบุคคลในสังคม การปฏิบัติตนตาม หลักธรรมของศาสนา รหสั ตวั ช้ีวัด ส ๑.๑ ป.๔/๑ ป. ๔/ ๒ ป. ๔/๓ ป. ๔/๔ ป. ๔/๕ ป. ๔/๖ ป. ๔/๗ ป. ๔/๘ ส ๑. ๒ ป.๔/๑ ป. ๔/ ๒ ป. ๔/๓ ส ๒.๑ ป.๔/๑ ป. ๔/ ๒ ป. ๔/๓ ป. ๔/๔ ป. ๔/๕ ส ๒.๒ ป. ๔/๑ ป. ๔/ ๒ ป. ๔/๓ ส ๓.๑ ป.๔/๑ ป. ๔/ ๒ ป. ๔/๓ ส ๓.๒ ป.๔/๑ ป. ๔/ ๒ ส ๕.๑ ป.๔/๑ ป. ๔/ ๒ ป. ๔/๓ ส ๕.๒ ป.๔/๑ ป. ๔/ ๒ รวม ๒๙ ตัวชี้วดั
159 คำอธบิ ายรายวชิ า กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ รหสั วิชา ส ๑๔๑๐๒ รายวชิ า ประวตั ิศาสตร์ เวลาเรยี น ๔๐ ชว่ั โมง/ปี หนว่ ยนำ้ หนกั ๑.๐ ศึกษา ค้นคว้า สังเกต ปีพ.ศ. และค.ศ. การตั้งถิ่นฐานและการสร้างอาณาจักรไทย พัฒนาการของอาณาจักร สุโขทยั ประวัติและผลงาน ตลอดจนปัจจัยพ้นื ฐาน ทม่ี ผี ลตอ่ การสรา้ งสรรค์ วัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาในท้องถิ่น การต้ัง และการย้ายถิ่นฐาน ของประชากรในอำเภอ รวมทั้งประวัติความเป็นมา เหตุการณ์สำคัญ ที่มีผลต่อวิถีชีวิตของตนใน จังหวัด ปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างสรรค์วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น สาเหตุและผลของความแตกต่าง และ ความสมั พันธร์ ะหวา่ งส่งิ แวดลอ้ ม ทางธรรมชาติ กบั ส่ิงแวดล้อมทางสังคม และวัฒนธรรมของอำเภอตน โดยใชก้ ระบวนการ วเิ คราะห์ อภิปราย จำแนก จัดกลุ่ม เปรยี บเทยี บ ตวั อย่างทแ่ี สดงความสัมพันธ์เวลาในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต เป็นพ.ศ. และ ค.ศ. เหตุการณ์สำคัญที่มีผลต่อ การเปลี่ยนแปลง และความเจริญรุ่งเรืองใน สมัยสุโขทัย บุคคลสำคัญ คนดีที่ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ประวัติและผลงานของบุคคลสำคัญใน สมัยสุโขทัย ประวัติและผลงาน ตลอดจนปัจจัยพื้นฐานที่มีผลต่อการสร้างสรรค์วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อให้มีความรู้ความ สภาพและความสำคัญของการอนุรักษ์ การพัฒนาท้องถิ่น สิ่งแวดล้อม ประเพณี วัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาท้องถิ่น ความเป็นชาติไทย ประเพณี วัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทย บุคคลสำคัญในท้องถนิ่ และของชาติต้ังแตอ่ ดตี ถึงปจั จุบนั
160 รหสั ตัวชี้วดั ส๔.๑ ป.๔/๑ ป.๔/ ๒ ป.๔/๓ ส ๔.๒ ป.๔/๑ ป. ๔/ ๒ ส ๔.๓ ป.๔/๑ ป. ๔/ ๒ ป. ๔/๓ รวม ๘ ตวั ชว้ี ดั
161 คำอธบิ ายรายวชิ า กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ รหสั วิชา ส ๑๕๑๐๑ รายวชิ า สงั คมศกึ ษา เวลาเรยี น ๘๐ ชวั่ โมง/ปี หน่วยน้ำหนกั ๒.๐ ศึกษา ค้นคว้า สังเกต รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับศาสนาที่ตนนับถือ ด้านประวัติศาสตร์ ของศาสดาของ ศาสนา ความสำคญั ของศาสนาในฐานะเป็นศูนยร์ วมจติ ใจของศาสนกิ ชน ชาดก (ศาสนาพุทธ) วันสำคัญของศาสนา หลักธรรมของศาสนา ศัพท์ทางศาสนา ศาสนาพิธี บุคคลตัวอย่าง หน้าที่ มารยาทของศาสนิกชน กฎหมายที่เกี่ยวข้องในชีวิตประจำวัน สินเชื่อ สถาบันการเงิน การบริหารจัดการ ทรัพยากรในจังหวัด ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจด้านการผลิต การบริโภค การบริการ การใช้เทคโนโลยีเพื่อการ แขง่ ขัน การประสานประโยชน์ทางเศรษฐกิจในระดับจังหวัด ระบบและหลกั การเศรษฐกจิ พอเพียง สหกรณ์ การต้ังถิ่น ฐานและการสรา้ งอาณาจักรไทย พฒั นาการของอาณาจักรสุโขทัย บคุ คลสำคญั /คนดังที่ปฎบิ ตั ติ นเปน็ พลเมืองดีตามวิถี ประชาธิปไตย ประวัติและผลงานของบุคคลสำคัญในสมัยสุโขทัย ประวัติและผลงานตลอดจนปัจจัยพื้นฐานที่มีต่อการ สร้างสรรค์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น สิ่งแวดล้อม ลักษณะเฉพาะความสัมพันธ์ความแตกต่างของลักษณะทาง กายภาพของอำเภอ กระบวนการสงิ่ แวดลอ้ มทางธรรมชาตทิ ีท่ ำให้เกดิ ลักษณะกิจกรรมและปรากฏการณ์แผนผงั แผนท่ี เครอ่ื งมอื ทางภมู ิศาสตร์ การต้งั และยา้ ยถน่ิ ฐานของประชากรในอำเภอ รวมทง้ั ประวตั ิความเป็นมา เหตุการณ์สำคัญ ที่มีผลต่อวิถีชีวติ ของคนในจงั หวัด ปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างสรรค์วัฒนธรรมและภูมิปญั ญาท้องถิ่น สาเหตุและผลของ ความแตกต่างและความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติกับสิ่งแวดล้อมทางสังคมและวัฒนธรรมของอำเภอตน อภิปรายสรุปหลักธรรมของศาสนา ประโยชน์ของการบริหารจิตและเจริญปัญญา การทำความดีและแนวปฎิบัติของ บุคคล สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ในวิถีชีวิตประชาธิปไตยของตนเองและผูอ้ ื่น การบริหารทัพยากร ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การใช้เทคโนโลยีเพื่อการแข่งขันในการผลิตและการบริการ เหตุการณ์สำคัญที่มีต่อการ เปลี่ยนแปลงและความเจริญรุ่งเรืองในสมัยสุโขทัย บุคคลสำคัญ/คนดีที่ปฎิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ประวัติและผลงานของบุคคลสำคัญในสมัยสุโขทัย ประวัติและผลงานตลอดจนปัจจัยพื้นฐานที่มีต่อการสร้างสรรค์ วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น ความแตกต่างของสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ สาเหตุและผลกระทบต่อการ เปลี่ยนแปลง ฝึกปฎิบัติ ตามมารยาท หน้าที่ของ ศาสนิกชน ศาสนาพิธี ร่วมกิจกรรมวันสำคัญทางศาสนา ใช้แผนที่ และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ปฎิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามสถานภาพ บทบาท หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ บคุ คลทเ่ี ป็นอยา่ งในการดำรงชีวิต หลักธรรมทางศาสนา บรรทัดฐานความหลากหลายของประเพณีวฒั นธรรมไทย และ วถิ ีประชาธิปไตย การมสี ว่ นร่วมในกจิ กรรมสหกรณ์ กจิ กรรมการเมอื งการปกครองตามกระบวนการประชาธปิ ไตย การ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ มทางธรรมชาติและสงั คม ปฏบิ ตั ิตนจนเป็นนสิ ยั อยา่ งชน่ื ชม โดยใช้กระบวนการ การปฏิบัติ การบรรยาย การเล่า อภิปราย ยกตัวอย่าง การถาม – ตอบ การสังเกต การเข้าร่วมกจิ กรรม การสบื คน้ และการสำรวจ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ ศาสนาที่ตนนับถือด้านประวัติศาสดา ชาดุก (ศาสนาพุทธ) หลักธรรมของศาสนา สภาพและความสำคัญของการอนุรักษ์ การพัฒนาการทอ้ งถิ่น สิ่งแวดล้อม ประเพณี วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถ่ิน มีเจตคติที่ถูกต้อง เกี่ยวกับการเป็นพลเมืองดี การเมือง การปกครองและวิถีชีวิตประชาธิปไตย กฎหมายใน ชีวิตประจำวัน และอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติสุข การพัฒนาเศรษฐกิจ ปัจจัยที่เป็นแรงจูงใจในการใช้ทรัพยากรอย่าง ประหยัด ระบบการเงิน ระบบเศรษฐกิจพอเพียง ประวัตศิ าสตร์ความเปน็ มาของทอ้ งถ่ิน ประวตั ิศาสตร์สุโขทัย
162 มีคา่ นิยมท่ีดงี าม มีความภมู ิใจ ความเปน็ ชาติไทย ประเพณี วัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาไทย บคุ คลสำคัญในท้องถ่ิน และชาตติ ัง้ แต่อดีตถึงปจั จบุ ัน รหัสตวั ชว้ี ดั ส . ๑.๑ ป.๕/๑ ส . ๑.๑ ป.๕/๒ ส. ๑.๑ ป.๕/๓ ส . ๑.๑ ป.๕/๔ ส. ๑.๑ ป.๕/๕ ส. ๑.๑. ป.๕/๖ ส. ๑.๑ ป.๕/๗ ส. ๑.๒ ป.๕/๑ ส. ๑.๒ ป.๕/๒ ส. ๑.๒ ป.๕/๓ ส. ๒.๑ ป.๕/๑ ส. ๒.๑ ป.๕/๒ ส. ๒.๑ ป.๕/๓ ส ๒.๑ ป.๕/๔ ส. ๒.๒ ป.๕/๑ ส. ๒.๒ ป.๕/๒ ส. ๒.๒ ป.๕/๓ ส. ๓.๑ ป.๕/๑ ส. ๓.๒ ป.๕/๒ ส. ๓.๑ ป.๕/๓ ส. ๓.๒ ป.๕/๑ ส. ๓.๒ ป.๕/๒ ส. ๔.๑ ป.๕/๑ ส. ๔.๑ ป.๕/๒ ส. ๔.๑ ป.๕/๓ ส. ๔.๒ ป.๕/๑ ส. ๔.๒ ป.๕/๒ ส. ๔.๓ ป.๕/๑ ส. ๔.๓ ป.๕/๒ ส. ๔.๓ ป.๕/๓ ส. ๔.๓ ป.๕/๔ ส. ๕.๑ ป.๕/๑ ส. ๕.๑ ป.๕/๒ ส. ๕.๑ ป.๕/๓ ส. ๕.๒ ป.๕/๑ ส. ๕.๒ ป.๕/๒ ส. ๕.๒ ป.๕/๓ รวม ๓๗ ตวั ชว้ี ดั
163 คำอธบิ ายรายวชิ า กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ รหัสวชิ า ส ๑๕๑๐๒ รายวชิ า ประวตั ิศาสตร์ เวลาเรียน ๔๐ ชว่ั โมง/ปี หน่วยนำ้ หนกั ๑.๐ ศึกษาเพื่อให้มีความสามารถในการสืบค้น ความเป็นมาของท้องถิ่น แหล่งข้อมูล หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ อยู่ในทอ้ งถน่ิ ทเี่ กิดข้นึ ตามชว่ งเวลา เครือ่ งมอื เคร่อื งใช้ อาวุธ โบราณสถาน โบราณวัตถุ ตำนานท้องถ่ิน คำบอกเล่า ศึกษาวิธีการทางประวัติศาสตร์ เพื่อรวบรวมข้อมูล สามารถตั้งคำถามทางประวัติศาสตร์ เกี่ยวกับความเป็นมาของ ท้องถิ่น ยกตัวอย่างเรื่องราวที่สามารถแสดงนัยของความคิดเห็นที่มีอยู่ในข้อมูลจากหลักฐานต่าง ๆ หนังสือพิมพ์ บทความ เอกสารอืน่ ๆ ตวั อย่างขอ้ มูลจากหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ท่ใี นท้องถิ่น ทแี่ สดงความจรงิ กับขอ้ เท็จจริง การ ตอบคำถามทางประวัติศาสตร์ โดยใช้ขอ้ มูลที่พบได้อย่างมีเหตผุ ล การนำเสนอความเป็นมาของทอ้ งถ่นิ ด้วยวธิ ีการตา่ ง ๆ การเล่าเรื่อง การเขียนอย่างง่าย ๆ การจัดนิทรรศการ ศึกษาเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในการอธิบาย การเข้ามาของ อารยธรรมอินเดีย จีน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อิทธิพลของอารยธรรมอินเดีย จีน ที่มีต่อไทย ศึกษาเพื่อให้ สามารถอภิปรายการเข้ามาของวัฒนธรรมตา่ งชาติ ในสังคมไทย อิทธิพลที่หลากหลายของกระแสวัฒนธรรมต่างชาตทิ ีม่ ี ต่อสังคมไทยในปัจจุบัน ศึกษาเพื่อให้สามารถอธิบาย การสถาปนาอาณาจักรอยุธยา ปัจจัยที่ส่งเสริมความ เจรญิ รุ่งเรือง ทางการปกครอง ศึกษาเพื่อให้สามารถบอกพัฒนาการของอาณาจกั รอยธุ ยา ด้านการเมือง การ ปกครอง เศรษฐกิจ ศึกษาเพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจ อธิบายถึงผลงานของบุคคลสำคัญในสมยั อยุธยา ภูมิปัญญาไทย สมัยอยุธยา การกอบกู้เอกราช การสถาปนาอาณาจักรธนบุรี พระราชประวัติ ผลงานของพระเจ้าตากสินมหาราช ภูมิ ปญั ญาไทยสมยั ธนบรุ ี โดยใช้กระบวนการ การปฏิบัติ การบรรยาย การเล่า อภิปราย ยกตัวอย่าง การถาม – ตอบ การสังเกต การเข้าร่วมกิจกรรม การสืบคน้ และการสำรวจ ตระหนกั และเห็นคณุ ค่าความสำคัญของประวัติศาสตร์ไทย รักความเป็นไทย รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ มีค่านิยม ทพี่ ึงประสงค์ รหัสตวั ชว้ี ดั ส ๔.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ ส ๔.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ ส ๔.๓ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/ ๓ , ป.๕/๔ รวม ๙ ตวั ช้วี ดั คำอธิบายรายวชิ า กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ รหสั วิชา ส๑๖๑๐๑ รายวชิ า สงั คมศึกษา เวลาเรยี น ๘๐ ชั่วโมง / ปี หนว่ ยนำ้ หนกั ๒.๐
164 สรปุ ศกึ ษา ค้นคว้า สังเกต ข้อมูลเกีย่ วกบั ศาสนาทตี่ นนับถอื ดา้ นประวตั ศิ าสดาของศาสนา ความสำคัญของ ศาสนาในฐานะเป็นศูนย์รวมจิตใจของศาสนิกชน ชาดก วันสำคัญทางศาสนา หลักธรรมของศาสนา ศาสนพิธี บุคคล ตัวอย่างทางศาสนา หน้าที่ มารยาทของศาสนนิกชน กฎหมายที่เกี่ยวข้องในชีวิตประจำวัน สินเชื่อ สถานบันการเงิน การบริหารจัดการทรัพยากรในจังหวัด ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ ด้านการผลิต การบริโภค การบริการ การใช้ เทคโนโลยี การผสานประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ระบบและหลักการเศรษฐกิจพอเพียง สหกรณ์ การตั้งถิ่นฐาน และการ สรา้ งอาณาจักรไทย พฒั นาการของอาณาจักรสโุ ขทัย บุคคลสำคญั คนดีทปี่ ฏิบัตติ นเป็นพลเมอื งดีตามวิถีประชาธิปไตย ประวัติผลงานของบุคคลสำคัญตลอดจนปัจจัยพื้นฐานที่มีต่อการสร้างสรรค์วัฒนธรรม และ ภูมิปัญญาในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ความแตกต่างของลักษณะทางกายภาพของอำเภอ กระบวนการสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติที่ทำให้เกิด ลักษณะกิจกรรม และปรากฎการณ์ แผนที่ เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ การตั้งและการย้ายถิ่นฐานของประชากรรวมทั้ง ประวัติความเป็นมา เหตุการณ์สำคัญที่มีผลต่อวิถีชีวิตของคนในจังหวัด ปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างสรรค์วัฒนธรรม และ ภูมปิ ัญญาท้องถิน่ โดยใช้กระบวนการเล่าเรื่อง ศึกษา อภิปราย การยกตัวอย่าง การปฏิบัติ การสนทนา สถานการณ์จำลอง การบรรยาย บทบาทสมมติ การถาม – ตอบ การบอก การสงั เกต การสำรวจ การสาธติ ตระหนักและเห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้และเพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจ ศาสนาที่ตนนับถือ ด้านประวัติศาสตร์ ชาดก ( ศาสนาพุทธ ) หลักธรรม สุภาษิต และความสำคัญของการอนุรักษ์ การพัฒนาทอ้ งถน่ิ ส่งิ แวดล้อม ประเพณี วฒั นธรรม และภูมิปญั ญาทอ้ งถ่ิน มเี จตคติท่ีถูกต้องเกยี่ วกับการเป็นพลเมอื ง ดี การเมือง การปกครอง และวิถีชีวิตประชาธิปไตย กฎหมายในชีวิตประจำวัน การพัฒนาเศรษฐกิจ ปัจจัยที่เป็น แรงจูงใจในการใช้ทรัพยากรในจังหวัดอย่างประหยัดคุ้มค่าตามระบบเศรษฐกิจพอเพียง ประวัติศาสตร์ความเป็นมา ของท้องถ่ิน และประวตั ิศาสตรข์ องสมัยสโุ ขทยั เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ ศาสนาที่ตนนับถือด้านประวัติศาสนา ชาดก ( ศาสนาพุทธ ) หลักธรรมของ ศาสนา สภาพและความสำคัญของการอนุรักษ์ การพัฒนาท้องถิ่น สิ่งแวดล้อม ประเพณี วัฒนธรรม และภูมิปัญญา ท้องถิ่น มีเจตคติที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเป็นพลเมืองดี การเมืองการปกครอง และวิถีชีวิตประชาธิปไตย กฎหมายใน ชีวิตประจำวัน และอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นอย่างสันติสุข การพัฒนาเศรษฐกิจ ประวัติศาสตร์ความเป็นมาของท้องถิ่น ประวตั ศิ าสตร์ สุโขทัย และความสัมพันธ์เชอื่ มโยงของสิ่งตา่ งๆ ทเ่ี ก่ียวข้อง รหัสตัวชี้วดั ส. ๑.๑ ป. ๖/๑ , ป. ๖/๒ , ป. ๖/๓ , ป. ๖/๕ , ป. ๖/๖ , ป. ๖/๗ , ป. ๖/๘ ส. ๑.๒ ป. ๖/๑ , ป. ๖/๒ , ป. ๖/๓ , ป. ๖/๔ ส. ๒.๑ ป. ๖/๑ , ป. ๖/๒ , ป. ๖/๓ , ป. ๖/๔ , ป. ๖/๕ ส. ๒.๒ ป. ๖/๑ , ป. ๖/๒ , ป. ๖/๓ ส. ๓.๒ ป. ๖/๑ , ป. ๖/๒ ส. ๔.๑ ป. ๖/๑ ส. ๔.๑ ป. ๖/๒ ส. ๔.๒ ป. ๖/๑ , ป. ๖/๒ ส. ๔.๓ ป. ๖/๑ , ป. ๖/๒ , ป. ๖/๓ , ป. ๖/๔ ส. ๕.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ ส. ๕.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ รวม ๓๔ ตวั ชว้ี ัด
165 คำอธบิ ายรายวชิ า กลุม่ สาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ รหสั วิชา ส๒๑๑๐๑ รายวชิ า สงั คมศึกษา เวลาเรยี น ๔๐ ชวั่ โมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต ภาคเรยี นท่ี ๑ ศึกษาเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องกฎหมายและประโยชน์ในการคุ้มครองสิทธิของคนพิการ บทบาทและ หน้าที่ของเยาวชนที่มีต่อสงั คมและประเทศชาติ โดยเน้นจิตสาธารณะ ศึกษาเพื่อให้อธิบายถึงความคล้ายคลึงและความ แตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รู้จักวิธีการปฏิบัติตน และ ผลทไี่ ด้จากการเคารพสิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น ศึกษาเพื่อให้สามารถอธิบายหลักการ เจตนารมณ์ โครงสร้าง และสาระสำคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับปัจจุบัน ศึกษาวิเคราะห์การแบ่งอำนาจและถ่วงดุลอำนาจอธิปไตย ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร ฝ่ายตุลาการ และการปฏิบัติตนตามบทบัญญัติ ศึกษาเพื่อให้สามารถอธิบายความหมายและความสำคัญของเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น ศึกษาวิเคราะห์ความหมายและความสำคัญของการบรโิ ภคอย่างมีประสทิ ธภิ าพ หลักการบรโิ ภคทดี่ ี ศึกษาเพ่ือให้ สามารถอธิบายความหมาย ความเป็นมาของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักเศรษฐกิจพอเพียง การประยุกต์ใช้ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดำรงชีวิต ศึกษาวิเคราะห์ความหมาย ประเภท และความสำคัญของสถาบันทาง การเงินที่มีต่อระบบเศรษฐกิจ บทบาทหน้าที่และความสำคัญของธนาคารกลาง ศึกษาเพื่อให้สามารถยกตัวอย่างที่ สะท้อนให้เห็นการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันทางเศรษฐกจิ ในประเทศ ศกึ ษาเพื่อใหส้ ามารถระบุถึงความหมาย และ กฎอุปสงค์ อุปทาน ศกึ ษาเพือ่ ใหส้ ามารถอธิบายความหมาย ความสำคัญของทรัพยส์ ินทางปญั ญา และสามารถ ยกตวั อยา่ งการละเมดิ แหง่ ทรพั ย์สนิ ทางปัญญาแต่ละประเภท โดยใช้กระบวนการคดิ การอธิบาย การยกตวั อย่าง การปฏิบัติ สถานการณจ์ ำลอง การเลา่ เรอ่ื งและบทบาท สมมุติ ตระหนักถงึ การเคารพสทิ ธิสว่ นบุคคล เห็นคุณคา่ ของวัฒนธรรมไทย รจู้ ักเคารพสทิ ธผิ อู้ น่ื เป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ มพี ื้นฐานประชาธิปไตย อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง รจู้ ักประหยดั รจู้ กั ออม รหัสตัวชว้ี ัด ส ๒.๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๓ , ม.๑/๔ , ส ๒.๒ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๓ , ส ๓.๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๓ , ส ๓.๒ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๓ , ม.๑/๔ รวม ๑๔ ตัวชวี้ ัด คำอธบิ ายรายวชิ า กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๑ รหัสวชิ า ส ๒๑๑๐๓ รายวชิ า ประวตั ิศาสตร์ เวลาเรียน ๒๐ ชว่ั โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ ภาคเรยี นท่ี ๑
166 ศกึ ษาวิเคราะห์ตวั อยา่ งการใชเ้ วลา ช่วงเวลา ยคุ สมยั ที่ปรากฏในเอกสารประวตั ศิ าสตร์ไทย ความสำคัญของเวลา และช่วงเวลาสำหรับการศึกษาประวัติศาสตร์ ศึกษาเพื่อให้ทราบที่มาของศักราชที่ปรากฏใน เอกสารประวัติศาสตร์ไทย วิธีการเทียบศักราช พ.ศ. และ ค.ศ. ศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจความหมายและ ความสำคญั ของประวตั ศิ าสตร์ วธิ ีการทางประวัตศิ าสตร์ทีม่ ีความสัมพันธ์เชือ่ มโยงกนั ยกตัวอย่างหลักฐานในการศกึ ษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยสุโขทัย (ศิลาจารึก) ศึกษาเพื่อให้สามารถอธิบายทีต่ ั้ง สภาพ ภูมิศาสตร์ทีม่ ีผลต่อพัฒนาการทางดา้ นตา่ ง ๆของประเทศในภมู ิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทีม่ ีผลต่อพัฒนาการด้านต่าง ๆ (ไทย-สิงคโปร)์ ศึกษาเพื่อใหส้ ามารถระบุท่ตี ้งั ความสำคญั ของแหล่ง อารยธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้(ไทย-สิงคโปร์ ) เกยี่ วกับแหลง่ มรดกโลก ศกึ ษาเพ่อื ใหส้ ามารถอธบิ าย สมยั กอ่ นประวตั ิศาสตรใ์ นดนิ แดนไทยสมัยสุโขทัย ศึกษาวเิ คราะห์ วัฒนธรรมสมัยสโุ ขทัย (ภาษาไทย) และ ภมู ิปญั ญา ไทย (เครอื่ งสงั คโลก) โดยใช้กระบวนการคิด การยกตวั อยา่ ง การเลา่ เรอ่ื ง การอธบิ าย การบรรยาย และสือ่ วดี ิทัศน์ ตระหนักเห็นคุณค่าของประวตั ิศาสตรไ์ ทย มีความเปน็ ไทย มีความรกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ และอนุรกั ษว์ ฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ รหัสตัวชว้ี ัด ส ๔.๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๓ , ส ๔.๒ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ส ๔.๓ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๓ ๘ ตัวชว้ี ัด
167 คำอธบิ ายรายวชิ า กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ รหสั วิชา ส ๒๑๑๐๒ รายวชิ า สงั คมศกึ ษา เวลาเรยี น ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกติ ภาคเรียนที่ ๒ ศึกษาเกย่ี วกับประเทศไทย ทวปี เอเชยี ออสเตรเลีย และโอเชียเนยี เรอ่ื งการใช้เครอ่ื งมอื ทางภูมิศาสตร์ (ลกู โลก แผนที่ กราฟ แผนภูมิ) ท่แี สดงลกั ษณะทางกายภาพ สงั คม ศกึ ษาเพ่ือให้สามารถอธิบายเสน้ แบง่ เวลาของประเทศไทยกบั ทวปี ตา่ ง ๆ ความแตกตา่ งของเวลามาตรฐานกับเวลาท้องถนิ่ ศึกษาวเิ คราะห์ภัยธรรมชาติ การระวงั ภัย การเปลี่ยนแปลงของประชากร เศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม แนวทางการใช้ทรัพยากรของคนในชุมชน ให้ให้ได้นานขึ้น โดยมีจติ สำนึกรู้คุณค่าของทรัพยากร ความร่วมมือระหว่างประเทศที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ศกึ ษาเพือ่ สำรวจทำเลทตี่ ัง้ กิจกรรมทางเศรษฐกจิ สงั คม ศึกษาวเิ คราะห์ปัจจยั ทางกายภาพ สังคมทม่ี ผี ลต่อการเลอ่ื น ไหลของความคิด เทคโนโลยี สินค้า และประชากร โดยใชก้ ระบวนการอธิบาย การบรรยาย การยกตวั อย่าง การวดั การคดิ การปฏิบตั ิ และการเลา่ เรือ่ ง ตระหนักและเห็นคณุ ค่าของการใช้เวลาวา่ งให้เปน็ ประโยชน์ มที กั ษะในการใชเ้ คร่ืองมือทางภูมศิ าสตร์ รู้จักใช้ ทรัพยากรทางธรรมชาติอย่างประหยัดและคุม้ ค่า อนรุ ักษธ์ รรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม รหัสตวั ชว้ี ัด ส ๕.๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๓ , ส ๕.๒ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๓ , ม.๑/๔ รวม ๗ ตวั ชวี้ ดั
168 คำอธบิ ายรายวชิ า กลุ่มสาระการเรียนร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ รหสั วิชา ส ๒๑๑๐๔ รายวิชา ศาสนาและวฒั นธรรม เวลาเรยี น ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ ภาคเรียนท่ี ๒ ศึกษาเพื่อให้สามารถอธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศไทย ศึกษาวิเคราะห์ความสำคัญของ พระพุทธศาสนาต่อสังคมไทยในฐานะเป็นศาสนาประจำชาติ สถาบันของสังคมไทย การพัฒนาตนและครอบครัว พุทธประวัติ การประสูติ การแสวงหาความรู้ การบำเพ็ญทุกขกริ ิยา พุทธสาวก พุทธสาวิกา ชาดก ศาสนิกชน ตัวอยา่ ง ศกึ ษาให้มคี วามรู้ความเข้าใจสามารถอธบิ ายพระรัตนตรยั อรยิ สัจ ๔ (ขนั ธ์ ๕) (หลกั กรรม) ( สขุ ๒) ( มงคล ๓๘ ไม่คบคนพาล คบบัณฑิต บูชาผู้ควรบูชา) พุทธศาสนสุภาษิต (คบคนเช่นใดเป็นคนเช่นนั้น) ตระหนักและเ ห็น คุณค่าของการคดิ แบบ โยนิโสมนสิการ (คุณค่าแท้-คุณค่าเทยี ม) การสวดมนต์แปลและแผเ่ มตตาภาษามอื ไทย ศึกษา วิเคราะห์หลักธรรม(ไตรสิกขา) ศาสนิกชนของศาสนาต่างๆมีการประพฤติปฏิบัตติ นและวถิ ีการดำเนินชวี ติ แตกต่างกัน ตามหลกั ความเชื่อและคำสอนของศาสนาทต่ี นนับถอื ศกึ ษาเพอ่ื ให้สามารถปฏิบตั ติ นอย่างเหมาะสมต่อศานิกชนอื่นใน สถานการณต์ ่าง ๆ ศกึ ษาวิเคราะหต์ วั อย่างบคุ คลในท้องถน่ิ หรือประเทศที่ปฏบิ ัตติ นเปน็ แบบอย่างดา้ นศาสนสัมพันธ์หรือ มีผลงานด้านศาสนสัมพันธ์ ปฏิบัติตนเพื่อบำเพ็ญประโยชน์สาธารณะ บำรุงรักษาวัด ศึกษาเพื่อให้สามารถอธิบายวิถี ชีวิตของพระภิกษุ การเข้าพบพระภิกษุ การแสดงความเคารพ การประนมมือ การไหว้ การกราบแบบเบญจาง คประดิษฐ์ การเคารพพระรตั นตรยั การเจริญพระพุทธมนต์ การฟังสวดอภิธรรม การฟงั พระธรรมเทศนา ศกึ ษา เพื่อให้สามารถปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมในเรื่อง การจัดโต๊ะหมู่บูชา การจุดธูปเทียน การจัดเครื่องประกอบโต๊ะหมู่ บูชา การกล่าวภาษามือไทยคำอาราธนาต่าง ๆ ศกึ ษาเพอื่ ให้สามารถอธบิ ายประวตั ิ ความสำคัญของวนั ธรรมสวนะ วนั เขา้ พรรษา วันออกพรรษา วันเทโวโรหณะ ระเบียบพิธเี วยี นเทียน การปฏบิ ตั ิตนในวนั มาฆบูชา วันวสิ าขบูชา วันอัฎฐมบี ูชา วันอาสาฬหบูชา วันธรรมสวนะ และเทศกาลสำคัญ โดยใช้กระบวนการเลา่ เรอื่ ง ศึกษาค้นควา้ การยกตวั อยา่ ง การคดิ การสนทนา การอธิบาย การบรรยาย ส่ือวีดทิ ัศน์ และสถานการณจ์ ำลอง ตระหนกั เหน็ คุณคา่ และความสำคัญของพระพทุ ธศาสนา มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม ประพฤตเิ ป็นศาสนิกชนทด่ี ี มคี วามจงรักภักดตี อ่ ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ และมจี ติ สาธารณะ รหัสตัวชวี้ ัด ส ๑.๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๓ , ม.๑/๔ , ม.๑/๕ , ม.๑/๖ , ม.๑/๗ , ม.๑/๘ , ม.๑/๙ , ม.๑/ ๑๐ , ม.๑/๑๑ , ส ๑.๒ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๓ , ม.๑/๔ , ม.๑/๕ รวม ๑๖ ตวั ชีว้ ดั
169 คำอธิบายรายวชิ า กล่มุ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ รหสั วิชา ส๒๒๑๐๑ รายวชิ า สังคมศึกษา เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกิต ภาคเรียนท่ี ๑ ศึกษาเพ่ือให้เกดิ ความรคู้ วามเข้าใจและตระหนักเห็นคุณค่าของการปฏบิ ัตติ นตามกฎหมายทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั ตนเอง ครอบครวั สถานภาพ บทบาท สิทธเิ สรีภาพ หนา้ ท่ี แนวทางการส่งเสริม ในฐานะพลเมอื งที่ดตี ามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย ศกึ ษาวิเคราะหบ์ ทบาทความสำคัญ ความสัมพนั ธข์ องสถาบนั ทางสังคม สถาบันครอบครวั สถาบนั การศกึ ษา สถานบนั ศาสนา ศึกษาเพอ่ื ใหส้ ามารถอธิบายถึงความคล้ายคลงึ ความ แตกตา่ งของวัฒนธรรมไทย วฒั นธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชยี วฒั นธรรมทเี่ ปน็ ปจั จยั สำคัญในการสรา้ งความ เข้าใจอนั ดรี ะหว่างกัน กระบวนการในการตรากฎหมาย การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน ศกึ ษาวเิ คราะหเ์ หตุการณ์ การเปล่ียนแปลงสำคญั ของระบอบการปกครองของไทย การเลือกขอ้ มูล ขา่ วสารเพือ่ นำมาวิเคราะห์ ศกึ ษาวิเคราะห์ ความหมาย ความสำคญั ของการลงทุน การออมตอ่ ระบบเศรษฐกิจ การบริหารจัดการเงินออม การลงทุนภาค ครวั เรอื น ศกึ ษาเพื่อใหส้ ามารถอธบิ ายความหมาย ความสำคัญ หลกั การผลติ สินค้า การบรกิ าร การสำรวจการ ผลิตสนิ ค้าในทอ้ งถ่ินศกึ ษาเพ่อื ให้สามารถเสนอแนวทางการนำหลักการ เป้าหมายปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง การ ประยุกต์ใช้ในการผลติ สนิ คา้ การบรกิ ารในท้องถ่ิน ศึกษาเพ่ืออภิปรายกฎหมายคุ้มครองสทิ ธผิ ู้บรโิ ภค ระบบ เศรษฐกิจแบบทนุ นยิ ม ศกึ ษาเพื่อใหม้ คี วามรูค้ วามเขา้ ใจสามารถยกตวั อย่างทสี่ ะท้อนหลกั การ ผลกระทบการพง่ึ พา อาศัยกนั และกนั การแข่งขนั ทางเศรษฐกจิ ในภูมภิ าคเอเชีย ศกึ ษาวเิ คราะห์การกระจายของทรพั ยากรในโลกทสี่ ง่ ผลตอ่ ความสัมพันธท์ างเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ ( ป่าไม้) การแขง่ ขันการค้าในประเทศ และต่างประเทศ โดยใชก้ ระบวนการเปรียบเทยี บ การตอบคำถาม การอภปิ ราย การวเิ คราะห์ มีความจงรักภกั ดีตอ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ เป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ มีความเป็น ประชาธิปไตย รจู้ ักการประหยัด การออม มจี ิตสำนึกในการรักษาสิง่ แวดล้อม เหน็ ความสำคญั ของระบอบการ ปกครอง ดำเนนิ ชีวติ ตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง อยู่อย่างพอเพียง รหสั ตวั ชว้ี ัด ส ๒.๑ ม.๒/๑ , ม.๒/๒ , ม.๒/๓ ,ม.๒/๔ ,ส ๒.๒ ม.๒/๑ , ม.๒/๒ , ส ๓.๑ ม.๒/๑ , ม.๒/๒ ,ม.๒/๓ , ม.๒/๔ ,ส ๓.๒ ม.๒/๑ , ม.๒/๒ , ม.๒/๓ , ม.๒/๔ รวม ๑๔ ตวั ชี้วัด
170 คำอธิบายรายวชิ า กลุ่มสาระการเรยี นร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี ๒ รหสั วชิ า ส๒๒๑๐๒ รายวชิ า สังคมศกึ ษา เวลาเรยี น ๔๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต ภาคเรียนท่ี ๒ ศกึ ษาเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกับเครื่องมอื ทางภมู ิศาสตร์ (แผนทีท่ างกายภาพ แผนทท่ี างสงั คม) ทแี่ สดงลักษณะทางกายภาพ ทางสงั คมของทวีปยโุ รป ทวีปแอฟริกา ศกึ ษาวเิ คราะหล์ ักษณะทาง กายภาพ ลักษณะทางสังคม การเปล่ียนแปลงทางประชากร การเปลยี่ นแปลงทางเศรษฐกิจ การเปลีย่ นแปลงทาง วฒั นธรรม ศกึ ษาเพอื่ ใหส้ ามารถอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สง่ิ แวดล้อม ศึกษาเพอื่ ให้สามารถอภปิ รายประเด็น ปญั หาเกย่ี วกบั ส่ิงแวดลอ้ ม ผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงในทวปี ยุโรป และทวีปแอฟรกิ า โดยใช้กระบวนการ การศึกษาค้นควา้ การวิเคราะห์ การอธิบาย การสาธิต การยกตวั อย่าง การตอบ คำถาม และการปฏิบตั ิ เหน็ คุณคา่ ของการใชเ้ ครอ่ื งมือทางภูมศิ าสตร์ มจี ติ สำนกึ ในการอนรุ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาติ ใชท้ รพั ยากรอย่างคุ้มคา่ มีความรบั ผดิ ชอบต่อสงิ่ แวดลอ้ มโลก มีสว่ นรว่ มในการลดภาวะโลกร้อน รหสั ตัวชว้ี ัด ส ๕.๑ ม.๒/๑ , ม.๒/๒ ,ส ๕.๒ ม.๒/๑ , ม.๒/๒ ,ม.๒/๓ , ม.๒/๔ รวม ๖ ตวั ชี้วดั
171 คำอธบิ ายรายวชิ า กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒ รหัสวชิ า ส๒๒๑๐๓ รายวชิ า ประวตั ิศาสตร์ เวลาเรยี น ๒๐ ชวั่ โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ ภาคเรยี นท่ี ๑ ศกึ ษาวเิ คราะหเ์ พ่ือใหเ้ กิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกบั ตวั อยา่ งการประเมนิ ความน่าเชื่อถอื ของหลักฐานทาง ประวัตศิ าสตรไ์ ทยท่อี ยูใ่ นท้องถ่ิน ศึกษาวเิ คราะห์ตวั อย่างการวเิ คราะหข์ ้อมลู จากเอกสารต่าง ๆ ในสมยั อยุธยา ( พงศาวดาร จดหมายเหตุ) ตวั อย่างการตีความขอ้ มูลจากหลักฐานทีแ่ สดงเหตกุ ารณส์ ำคญั ในสมยั อยธุ ยา สมยั ธนบรุ ี ศึกษาเพอื่ ใหส้ ามารถอธบิ ายท่ตี ั้ง สภาพทางภูมศิ าสตรข์ องภมู ภิ าคตา่ ง ๆในทวีปเอเชียท่มี ีผลต่อพฒั นาการทางสงั คม เศรษฐกจิ การเมอื ง ทีต่ ้ัง ความสำคญั ของแหล่งอารยธรรมตะวนั ออก มรดกโลก ศึกษาวเิ คราะห์การสถาปนา อาณาจกั รอยธุ ยา ปัจจยั ทีส่ ่งผลตอ่ ความเจริญรงุ่ เรอื ง วรี กรรมของบรรพบรุ ุษไทย ผลงานของบุคคลสำคญั ท่มี สี ่วน สรา้ งสรรคช์ าตไิ ทย พระสรุ ิโยทยั พระนเรศวรมหาราช สมเดจ็ พระเจ้าตากสนิ มหาราช ศึกษาเพ่อื ใหส้ ามารถระบภุ ูมปิ ัญญา วฒั นธรรมไทยสมยั อยธุ ยา และสมยั ธนบรุ ี โดยใช้กระบวนการ การศกึ ษาค้นควา้ การสบื ค้นข้อมลู การบรรยาย การอภิปราย ศกึ ษาจาก สื่อวดี ีทศั น์ และสอื่ ตา่ ง ๆ การอธิบาย การวเิ คราะห์ กระบวนการกลุม่ การศึกษาแหล่งประวตั ศิ าสตร์ ตระหนักและเห็นคณุ คา่ ของประวัตศิ าสตร์ไทย มคี วามรกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ เกดิ ความรักหวงแหนมรดก โลก รักความเป็นไทย มคี วามภาคภูมิใจในเอกราช มคี วามกตญั ญกู ตเวทตี อ่ แผ่นดนิ ไทย รหสั ตวั ชวี้ ดั ส ๔.๑ ม.๒/๑ , ม.๒/๒ ,ม.๒/๓ , ส ๔.๒ ม.๒/๑ , ม.๒/๒ ,ส ๔.๓ ม.๒/๑ , ม.๒/๒ ,ม.๒/๓ รวม ๘ ตวั ชว้ี ดั
172 คำอธบิ ายรายวชิ า กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ รหัสวิชา ส๒๒๑๐๔ รายวิชา ศาสนาและวัฒนธรรม เวลาเรียน ๒๐ ช่ัวโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ ภาคเรียนท่ี ๒ ศกึ ษาเพอื่ ให้เกิดความรคู้ วามเขา้ ใจสามารถอธิบายถึงการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสูป่ ระเทศ เพ่ือนบ้าน การนับถือศาสนาในประเทศเพ่อื นบา้ น ศึกษาวิเคราะห์ความสำคัญของพระพทุ ธศาสนาท่ี ชว่ ยเสริมสรา้ ง ความเข้าใจอนั ดี เป็นรากฐานทางวฒั นธรรม เอกลักษณ์ของชาติ มรดกของชาติ ศกึ ษาวิเคราะห์เพอ่ื ให้สามารถ อภิปรายความสำคัญของพระพทุ ธศาสนากับการพัฒนาชมุ ชน การจัดระเบียบสังคม ศกึ ษาวเิ คราะห์พระพุทธประวัติ การผจญมาร การตรสั รู้ การสงั่ สอน พุทธสาวก พทุ ธสาวกิ า (พระสารีบตุ ร) ชาดก (ราโชวาทชาดก) ศาสนิกชน ตัวอย่าง (พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ฯ) ศกึ ษาเพอื่ ใหส้ ามารถอธิบายโครงสรา้ ง สาระสงั เขปของพระวินัยปฎิ ก พระรตั นตรัย (ธรรมคณุ ๖) อรยิ สจั ๔ (อายตนะ อบายมขุ ๖ สขุ ๒ มงคล ๓๘ (ประพฤตธิ รรม เวน้ จากความชว่ั เวน้ จากการดื่มนำ้ เมา) พุทธสภุ าษติ (ทำดีไดด้ ี ทำชว่ั ไดช้ ว่ั ) ศกึ ษาเพือ่ ใหเ้ ห็นคณุ คา่ ของการพฒั นาการเรยี นรดู้ ้วยวิธี คิดแบบโยนโิ สมนสิการ การคิดแบบอบุ ายปลุกเร้าคุณธรรม แบบอรรถธรรมสมั พนั ธ์ การสวดมนตแ์ ปล การแผ่ เมตตาภาษามอื ไทย การฝกึ การบรหิ ารจิตและเจริญปญั ญาตามหลักสติปฎั ฐานเน้นอานาปานสติ ศึกษาวเิ คราะห์ สามารถปฏิบัติตนตามหลกั ธรรม (สัตวโ์ ลกยอ่ มเปน็ ไปตามกรรม) ดรณุ ธรรม ๖ การเปน็ ลกู ทด่ี ีตามหลกั ทิศเบ้ืองตน้ ในทศิ ๖ มารยาทของศาสนกิ ชนในการต้อนรบั มารยาทของผ้เู ปน็ แขก การฝกึ ปฏิบัตริ ะเบียบพธิ ปี ฏิบตั ิต่อพระภกิ ษุ การยนื การใหท้ ่ีน่ัง การเดินสวน การสนทนา การรบั สงิ่ ของ การแตง่ กายไปวดั การแต่งกายไปงานมงคล การ แต่งกายไปงานอวมงคล การทำบญุ ตกั บาตร การถวายภตั ตาหาร ส่งิ ของทคี่ วรถวาย และสง่ิ ของตอ้ งห้ามสำหรับพระภกิ ษุ การถวายสังฆทาน เคร่อื งสงั ฆทาน การจดั เครือ่ งไทยธรรม เคร่ืองไทยทาน การเข้ารว่ มกจิ กรรมวันสำคญั ทางพระพุทธศาสนา วนั มาฆบูชา วันวสิ าขบูชา วนั อฏั ฐมีบชู า วันอาสาฬหบชู า วนั ธรรมสวนะ เทศกาลสำคัญ ศาสนพธิ ี พธิ ีกรรม แนวปฏบิ ัตขิ องศาสนาพทุ ธ ศาสนาครสิ ต์ และศาสนาอสิ ลาม โดยใช้กระบวนการ ศกึ ษาค้นคว้า การอธิบาย การอภิปราย การวิเคราะห์ การยกตวั อยา่ ง การปฏิบตั ิ การแสดงบทบาทสมมติ การสนทนา การสาธติ การทศั นศกึ ษา และการเขา้ รว่ มกิจกรรม ตระหนกั และเห็นคณุ คา่ ของศาสนาทต่ี นนับถอื ปฏบิ ัติตนเป็นแบบอยา่ งทีด่ ี มคี ุณธรรม จริยธรรมเปน็ ศาสนกิ ชนท่ีดี มคี วามสขุ ใจ สขุ ภาพจิตทดี่ ี รหสั ตวั ชว้ี ัด ส ๑.๑ ม.๒/๑ , ม.๒/๒ ,ม.๒/๓ , ม.๒/๔ , ม.๒/๕ ,ม.๒/๖ , ม.๒/๗ , ม.๒/๘, ม.๒/๙ ม.๒/๑๐, ม.๒/๑๑, ส ๑.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕ รวม ๑๖ ตัวชว้ี ดั คำอธิบายรายวชิ า กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๓ รหสั วชิ า ส๒๓๑๐๑ รายวชิ า สังคมศึกษา เวลาเรยี น ๔๐ ช่ัวโมงจำนวน ๑.๐ หนว่ ยกติ ภาคเรยี นท่ี ๑
173 ศึกษาใหม้ ีความรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกบั ลกั ษณะการกระทำความผดิ ทางอาญา โทษทางอาญา ตัวอย่างการกระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ ลักษณะการกระทำผดิ ทางแพ่ง ความรับผิดทางแพง่ ตัวอย่างการทำผิดสัญญา การทำละเมิด การเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับความหมาย ความสำคญั ของสิทธิมนุษยชนของคนพกิ ารตามรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย ตระหนักและเห็นคุณค่าของการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมท้องถิ่น การเลือกรับวัฒนธรรมสากล ศึกษาเพ่ือ วิเคราะหส์ าเหตุปญั หาทางสังคม ปัญหาสิง่ แวดล้อม ปัญหายาเสพตดิ ศกึ ษาเพ่ือให้สามารถนำเสนอแนวคิดเก่ียวกับ ปัจจัยที่ส่งเสริมการดำรงชีวิตให้มีความสุข การอยู่ร่วมกันอย่างมีขันติธรรม หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง รู้จัก บริโภคด้วยปัญญา ศึกษาให้ความรู้ความเข้าใจสามารถอธิบายการปกครองระบอบประชาธิปไตย ศึกษาวิเคราะห์ ความแตกต่างความคลา้ ยคลงึ ของการปกครองของไทย ประเทศสหรฐั อเมรกิ า บทบัญญตั ขิ องรฐั ธรรมนญู ในมาตราท่ี เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้ง ศึกษาวิเคราะห์ประเด็นปัญหา ผลกระทบที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประชาธิปไตยของ ประเทศไทย ความขัดแย้งทางการเมือง ศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจสามารถอธิบายความหมายของการตลาด ประเภทของตลาด เห็นคุณค่าของการมีส่วนร่วมในการสำรวจสภาพปัจจุบันปัญหาสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น ศึกษาวิเคราะห์หลัก สำคญั ของระบบสหกรณ์ สหกรณโ์ รงเรียน ศึกษาเพอื่ ใหม้ ีความรูค้ วามเขา้ ใจสามารถอธิบายบทบาทหน้าที่ของรัฐบาล ในการพัฒนาประเทศด้านการศกึ ษา ศึกษาเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจแสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกับนโยบายทางเศรษฐกิจ กิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐบาลเกี่ยวกับสินค้า OTOP ศึกษาเพื่อให้สามารถอภิปรายบทบาทความสำคัญของทาง รวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ASSAN ๓ ผลกระทบที่เกิดจากภาวะเงินเฟ้อ ศึกษาวิเคราะห์สภาพสาเหตุ ปญั หาวา่ งงาน ผลกระทบจากปญั หาการวา่ งงานการคา้ การลงทุนระหวา่ งประเทศ (ไทย-เวยี ดนาม , ไทย-ญี่ปนุ่ ) โดยใชก้ ระบวนการอธิบาย อภิปราย ศึกษาค้นคว้า การถามตอบ การวิเคราะห์ การแสดง ความคดิ เห็น การมสี ่วนร่วม และการลงมอื ปฏิบตั ิ เปน็ พลเมืองดขี องประเทศ มคี วามซือ่ สตั ยส์ ุจรติ เห็นคุณค่าของวัฒนธรรมไทย รักความเป็นไทย อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง มีความเป็นประชาธปิ ไตย มคี วามสามคั คี มคี วามมุ่งมน่ั ในการทำงาน ใฝ่ เรียนรู้ และมีความคดิ สรา้ งสรรค์ รหัสตัวชีว้ ดั ส๒.๑ม.๓/๑ , ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ส๒.๒, ม.๓/๑, ๓/๒, ๓/๓, ๓/๔ส๓.๑ม.๓/๑,๓/๒, ๓/๓, ส๓.๒ม.๓/๑, ๓/๒, ๓/๓, ๓/๔, ๓/๕, ๓/๖ รวม ๑๘ ตัวชีว้ ดั คำอธบิ ายรายวชิ า กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี ๓ รหัสวิชา ส๒๓๑๐๒ รายวชิ า สังคมศึกษา เวลาเรยี น ๔๐ ชัว่ โมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกติ ภาคเรียนที่ ๒ ศึกษาเพอื่ ใหม้ ีความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกบั ทวีปอเมริกาเหนือและอเมรกิ าใต้ เร่ืองการใช้เครือ่ งมอื ทางภูมศิ าสตร์ ที่แสดงลักษณะทางกายภาพ ลักษณะทางสังคม ศึกษาวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงประชากร เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ศึกษาเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจสามารถระบุทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ศึกษา เพ่อื ให้มคี วามรู้ความเข้าใจปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมท่เี กดิ ขึน้ ในทวปี อเมริกาเหนอื และอเมริกาใตท้ ่ีส่งผลตอ่ ประเทศไทย
174 โดยใช้กระบวนการวิเคราะห์ การสำรวจ อภิปราย อธิบาย การศึกษาค้นคว้า ตระหนกั ถึงการอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม มีจติ สาธารณะ และมีความรับผดิ ชอบ รหสั ตัวชว้ี ัด ส๕.๑ม.๓/๑ , ม.๓/๒, ส๕.๒ม.๓/๑, ม.๓/๒ , ม.๓/๓, ม.๓/๔ รวม ๖ ตวั ชว้ี ัด
175 คำอธิบายรายวชิ า กลุม่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ รหัสวิชา ส๒๓๑๐๓ รายวชิ า ประวตั ิศาสตร์ เวลาเรียน ๒๐ ชว่ั โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ ภาคเรียนที่ ๑ ศกึ ษาวิเคราะหข์ ั้นตอนวธิ ีการทางประวัตศิ าสตรส์ ำหรับการศึกษาเหตกุ ารณท์ างประวตั ศิ าสตร์ทเ่ี กิดข้นึ ในท้องถ่ิน ตนเอง ศกึ ษาเพือ่ ใหส้ ามารถนำวิธีการทางประวตั ิศาสตร์มาใช้ศึกษาเร่อื งราวของตนเอง ครอบครัว ท้องถนิ่ ศึกษา เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจสามารถอธิบายที่ตั้ง สภาพทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปอเมริกาใต้ ศึกษา วิเคราะห์องค์การความร่วมมือระหว่างประเทศ การสถาปนากรุงเทพมหานครเป็นราชธานีของไทย ปัจจัยที่ส่งผลต่อ ความมั่นคงและความเจริญของไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ การปฏิรูปประเทศในสมัยรัชกาลที่ ๕ ศึกษาวิเคราะห์ภูมิ ปัญญาวัฒนธรรมไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาชาติไทยจนถึงปัจจุบัน บทบาทของพระมหากษัตริย์ ไทยในราชวงศจ์ ักรใี นการสรา้ งสรรค์ความเจริญ และความมั่งคงของชาติ รชั กาลท่ี ๗ และรชั กาลท่ี ๙ โดยใชก้ ระบวนการทางประวัติศาสตร์ ศึกษาคน้ ควา้ วิเคราะห์ อภปิ ราย บรรยาย ศึกษาแหล่งเรยี นรู้ทาง ประวัติศาสตร์ ตระหนักและเหน็ คณุ คา่ ของบรรพบรุ ุษไทย รกั ความเปน็ ไทย รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ มีความภาคภมู ใิ จในเอกราชของชาติไทย รหสั ตัวชวี้ ดั ส๔.๑ม.๓/๑ , ม.๓/๒, ส๔.๒ม.๓/๑, ม.๓/๒ ,ส๔.๓ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔ รวม ๘ ตัวชีว้ ัด
176 คำอธิบายรายวชิ า กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ รหสั วชิ า ส๒๓๑๐๔ รายวิชาศาสนาและวฒั นธรรม วลาเรียน ๒๐ ชว่ั โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกิต ภาคเรยี นท่ี ๒ ศึกษาวิเคราะห์การเผยแผ่พุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศต่าง ๆทั่วโลก ศึกษาเพื่อให้สามารถปฏิบัติตนและเห็น ความสำคญั ของพุทธศาสนาในฐานะทีช่ ว่ ยสรา้ งสรรคอ์ ารยธรรมและความสุขให้แก่โลก ศกึ ษาเพอ่ื ให้สามารถปฏิบัติตาม พระพุทธศาสนา(ปัญญา ๓) หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พุทธประวัติจากพระพุทธรูปปางมารวิชัย ปางปฐม เทศนา ปางลีลา ปางประจำวันเกิด ศึกษาเพื่อมีความรู้ความเข้าใจสามารถอธิบายประวัติของพระพุทธสาวก (พระอัญญาโกญทัญญะ) พุทธสาวิกา ชาดก(นันทวิสาลชาดก)ศาสนิกชนตัวอย่าง(สมเก็จพระเทพรัตรราสุดาสยามบรม ราชกุมารี) พระรตั นตรัย(สังฆคุณ)อริสัจ ๔(ไตรลักษณ์) พุทธศาสนสุภาษิต (ปมาโท มจฺจุโน ปทํ) (ความประมาท เปน็ ทางแห่งความตาย) ศึกษาเพอ่ื ใหส้ ามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรม มงคลชวี ิต ๓๘ (มศี ิลปะวิทยา) บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ ธมฺมจารี สขุ ํ เสติ ( ผปู้ ระพฤติธรรมย่อมอยเู่ ป็นสขุ ) ศกึ ษาเพ่อื ปลูกฝังให้เห็นคณุ ค่าของการพฒั นาการเรยี นรดู้ ้วยวิธีคิดแบบโยนโิ สมนสิการ วิธคี ิดแบบอริยสัจ วิธีคิดแบบ สืบสาวเหตุปัจจยั ศึกษาเพื่อให้สามารถปฏิบัติตนให้ถูกต้องเกี่ยวกับการสวดมนต์แปล แผ่เมตตาภาษามือ การ ฝึกบริหารจิตและเจรญิ ปัญญาตามหลักสติปัฏฐานเน้นอานาปานสติ วิธกี ารนำไปใช้ในชวี ิตประจำวัน ศึกษาวิเคราะห์ วถิ ีการดำเนนิ ชีวติ ของศาสนกิ ชน พทุ ธศาสนกิ ชน ศาสนาคริตส์ ศาสนาอสิ ลาม การปฏิบัตติ นต่อพระสงฆใ์ นศาสน พิธที ี่บา้ น การสนทนา การแต่งกาย มารยาทการพดู การเป็นศิษย์ท่ดี ีตามหลกั ทิศเบื้องขวา ๖ ของพระพุทธศาสนา การ ปฏิบัติหน้าท่ีชาวพทุ ธตามพุทธปณธิ าน ๔ ในมหาปรินิพพานสูตร ศาสนพิธีงานมงคล ทำบุญเลีย้ งพระ ศึกษาเพื่อใหม้ ี ความรู้ความเข้าใจสามาถอธิบายประวัติวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา วันวิสาขบูชา วันธรรมสวนะ เทศกาลสำคัญ ศึกษาเพ่ือใหส้ ามารถปฏิบัตติ นใน การแสดงตนเป็นพทุ ธมามกะภาษามือไทย ศึกษาเพ่ือใหม้ ีความรคู้ วามเขา้ ใจสามารถนำเสนอกระบวนการปลูกจิตสำนกึ จิตสาธารณะต่อการบำรงุ รักษาวัด และพทุ ธสถาน โดยใช้กระบวนการอธิบาย อภิปราย วิเคราะห์ ศึกษาค้นคว้าแหล่งเรียนรู้ การฝึกปฏิบัติและการมีส่วน ร่วมกจิ กรรม ตระหนักถึงความสำคัญของพระพุทธศาสนา เป็นศาสนิกชนที่ดี เห็นคุณค่าของหลักธรรม มีคุณธรรม จรยิ ธรรม มคี า่ นยิ มทพ่ี ึงประสงค์ เป็นแบบอย่างที่ดี มีความพากเพยี ร มีความอดทนอยอู่ ยา่ งพอเพียง มีการ สำรวมกาย วาจา และมีเหตผุ ล รหสั ตัวชว้ี ัด ส๑.๑ ม.๓/๑ , ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘, ม.๓/๙,ม.๓/๑๐, ส๑.๒ ม.๓/๑ , ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗ รวม ๑๗ ตวั ช้ีวดั
177 คำอธบิ ายรายวชิ า กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๔ รหัสวิชา ส ๓๑๑๐๑ รายวิชา สังคมศึกษา เวลาเรยี น ๔๐ ชว่ั โมง จำนวน ๑.o หนว่ ยกติ ภาคเรยี นที่ ๑ ศึกษาวิเคราะห์ลักษณะของสังคมชมพูทวปี คติความเชอ่ื ทางศาสนาสมัยก่อนพระพทุ ธเจ้า พระพุทธเจา้ ใน ฐานะเป็นมนษุ ย์ผูฝ้ กึ ตนไดอ้ ย่างสูงสุด (การตรัสร)ู้ การก่อตง้ั พระพทุ ธศาสนา วิธกี ารสอนการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา ตามแนวพทุ ธจริยา การดำรงรกั ษาพระพทุ ธศาสนา การปฏิบัติทย่ี ึดทางสายกลาง พระพุทธศาสนาเนน้ การพัฒนา และศรทั ธาทีถ่ กู ต้อง การนำลักษณะประชาธปิ ไตยในพระพุทธศาสนามาใชใ้ นการดำรงชวี ิต และหลกั การของ พระพทุ ธศาสนากับหลกั วทิ ยาศาสตร์ การปฏบิ ตั ิตนเปน็ ชาวพทุ ธที่ดี ขัน้ ตอนของศาสนพธิ ี สวดมนตไ์ หวพ้ ระภาษามือ และเหน็ คณุ ค่า ของศาสนพิธี การปฏิบตั ิตนตามกฎหมายแพง่ เกย่ี วกับตนเอง ครอบครัว และกฎหมายคนพิการ ศกึ ษาวเิ คราะห์สถานการณ์การเมืองการปกครองของสงั คมไทย การยกตัวอย่างขา่ วสารเก่ียวกับการเมืองการปกครองที่ มีผลกระทบต่อการดำเนนิ ชีวติ ศึกษาใหม้ ีความรู้ความเข้าใจเกยี่ วกบั ระบบเศรษฐกจิ ของไทย ขอ้ ดีขอ้ เสยี ของการตลาด การกำหนดราคาของสินคา้ นโยบายการเงิน การคลัง ในการพัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศไทย การธนาคาร และ อตั ราการวา่ งงาน โดยใช้กระบวนการวิเคราะห์ การฝึกปฏบิ ัติ วเิ คราะหเ์ ปรยี บเทียบ การเขา้ ร่วมกจิ กรรม การศกึ ษาค้นควา้ การใชภ้ าษามอื การสาธติ บทบาทสมมตุ ิ สถานการณ์จำลอง การแสดงละคร การวเิ คราะหข์ า่ วจากหนงั สือพมิ พ์ การเล่าขา่ ว การอภปิ ราย การแลกเปลย่ี นเรียนรู้ การเขียนรายงาน การสืบค้นข้อมลู การอธบิ าย การบรรยาย การฝึกประสบการณ์ตรง กระบวนการกลมุ่ ตระหนกั ในคุณคา่ และเหน็ ความสำคัญพระพทุ ธศาสนา เกิดความเลื่อมใสศรทั ธา เปน็ พุทธศาสนกิ ชนท่ดี ี มีคุณธรรม จรยิ ธรรม กตญั ญกู ตเวที เป็นพลเมอื งดขี องประเทศชาติ มวี ินัย มีความรับผิดชอบ มเี หตแุ ละผล ใฝ่เรียนรู้ มคี วามเปน็ ประชาธปิ ไตย มีความมุ่งม่ันในการทำงาน ประหยดั อดออม และมีเจตคตทิ ีด่ ตี อ่ อาชพี สจุ ริต รหัสตวั ชวี้ ดั ส ๑.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ ม.๔/๕ ม.๔/๖ ม.๔/๗ ส ๑.๒ ม๔/๑ ม.๔/๒ ส ๒.๑ ม๔/๑ ส ๒.๒ ม๔/๑ ส ๓.๑ ม๔/๑ ส ๓.๒ ม๔/๑ รวม ๑๓ ตวั ชว้ี ดั
178 คำอธิบายรายวชิ า กลุ่มสาระการเรยี นร้สู ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๔ รหัสวชิ า ส ๓๑๑๐๒ รายวชิ า สังคมศึกษา เวลาเรียน ๔๐ ชัว่ โมง จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกติ ภาคเรียนท่ี ๒ ศกึ ษาวเิ คราะห์อารยธรรมทอ้ งถนิ่ ประเดน็ สำคญั ของประวตั ศิ าสตรไ์ ทย ความเปน็ มา การเลกิ ทาสในสมยั รชั กาลท่ี ๕ และการเปล่ียนแปลงการปกครองในสมยั รชั กาลท่ี ๗ วิธกี ารใช้เครือ่ งมือทางภูมศิ าสตร์ การใช้แผนทชี่ นดิ ตา่ งๆ และการใช้เข็มทศิ ศึกษาวิเคราะหส์ ถานการณก์ ารเปล่ยี นแปลงลักษณะทางกายภาพของ ประเทศไทย ประเทศเพอ่ื นบา้ นในทวีปเอเชีย และวิกฤตการณด์ า้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม โดยใชก้ ระบวนการสบื ค้นข้อมูล ศกึ ษาจากสือ่ เทคโนโลยี วทิ ยากรทอ้ งถนิ่ วเิ คราะห์ การเขียนรายงาน ศึกษาแหลง่ เรียนรปู้ ระวตั ศิ าสตร์ทอ้ งถิ่น ฝกึ ปฏิบตั กิ ารใชเ้ ครื่องมอื ทางภมู ศิ าสตร์ การฝกึ ปฏิบตั ิ การเลา่ ข่าว และ การเขา้ รว่ มกิจกรรมรณรงค์ ตระหนักและเห็นคณุ ค่าของอารยธรรมประวตั ิศาสตร์ไทย มคี วามเปน็ ไทย รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ มคี วาม รบั ผดิ ชอบ มจี ติ สำนกึ ในการอนุรกั ษส์ ิง่ แวดลอ้ มทางธรรมชาติ และรู้จกั ใช้ทรพั ยากรธรรมชาตอิ ยา่ งคุ้มคา่ รหัสตัวชวี้ ัด ส ๔.๒ ม.๔/๑ ส ๔.๓ ม.๔/๑ ส ๔.๓ ม.๔/๒ ส ๕.๑ ม.๔/๑ ส ๕.๒ ม.๔/๑ รวม ๕ ตวั ช้วี ดั
179 คำอธิบายรายวชิ า กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๕ รหสั วชิ า ส๓๒๑๐๑ รายวิชา สงั คมศึกษา เวลาเรยี น ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกติ ภาคเรียนที่ ๑ ศกึ ษาวิเคราะหพ์ ระพทุ ธศาสนาเน้นการฝึกหดั อบรมตนการพึ่งตนเอง พระพทุ ธศาสนาเปน็ ศาสตร์แห่ง การศกึ ษาเน้นวิธกี ารศกึ ษาปัญหา การแกไ้ ขปญั หา ฝกึ ตนไมใ่ หป้ ระมาท มุ่งเป็นประโยชนส์ ุขสันติแก่บุคคลใน สงั คม สนั ติแก่ประเทศไทย พระพุทธศาสนากบั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเน้นการพฒั นาแบบยัง่ ยืน ความสำคญั ของพระพทุ ธศาสนากบั การศกึ ษาทีส่ มบรู ณ์ การเกดิ สนั ตภิ าพ ศกึ ษาวิเคราะหพ์ ระรตั นตรยั ความหมายคณุ คา่ ของพทุ ธะ ธรรมะ สังฆะ อรยิ ะสัจ ๔(ทศพิธราชธรรม ๑๐) พทุ ธสุภาษติ (จติ ตํ ทนตฺ ํ สุขาวหํ) (จติ ท่ีฝกึ ดแี ล้วนำสุขมาให้) พุทธสาวก พทุ ธ สาวกิ า (พระอานนท์)ศาสนกิ ชนตัวอย่าง (พระอาจารยม์ ่ัน ภูรทิ ตฺโต) ( พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั ฯภูมพิ ลอดลุ ยเดช) ศกึ ษาเพ่อื ใหม้ ีความรู้ความเข้าใจในการเขา้ รว่ มกิจกรรมการแสดง ตนเป็นพุทธมามกะภาษามอื ไทย ศกึ ษาวิเคราะห์หลักธรรม คตธิ รรม ทีเ่ ก่ยี วเนื่องกับวนั สำคญั ทางพระพทุ ธศาสนา ศาสนาท่ีตนนับถอื การปฏิบตั ติ นในวนั สำคัญทางศาสนา ศึกษา วเิ คราะห์โครงสร้างทางสงั คม การจดั ระเบียบทางสงั คม ศกึ ษาเพอ่ื ใหม้ ีความรคู้ วามเขา้ ใจสามารถฝึกปฏบิ ตั ติ นใหม้ ี คุณลกั ษณะพลเมอื งดีมคี วามรบั ผิดชอบ มคี ุณธรรมจรยิ ธรรมในการดำเนนิ ชีวติ ของประเทศชาติ สังคมประเทศไทย ศกึ ษาเพ่อื ให้มีความรู้ความเข้าใจสามารถนำเสนอวธิ ีการประสานประโยชนร์ ่วมกันระหวา่ งประเทศ เสนอแนวทางการ แลกเปลยี่ นเพื่อชว่ ยเหลอื สง่ เสริมด้านวัฒนธรรม การศกึ ษา เศรษฐกจิ สังคม ศึกษาเพอื่ ใหม้ ีความรคู้ วามเขา้ ใจใน การประยกุ ต์ใช้เศรษฐกจิ พอเพียงในการดำเนินชวี ติ ของตนเอง ของครอบครัว ศกึ ษาวิเคราะหบ์ ทบาทขององค์การ ระหว่างประเทศในเวทกี ารเงนิ โลกท่มี ีผลตอ่ ประเทศไทย
180 โดยใชก้ ระบวนการ การเขา้ รว่ มกจิ กรรม โครงการ การวิเคราะห์ การปฏบิ ัติ การเล่านทิ าน การบรรยาย การศกึ ษานอกสถานที่ การศกึ ษาค้นควา้ การรายงาน การแสดงบทบาทสมมุติ และ การยกตวั อยา่ ง มีความรกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ รกั ความเปน็ ไทย มีความซอ่ื สัตย์ สุจริต มีวินยั ในตนเอง มีจิตสาธารณะ ใฝเ่ รยี นรู้ เป็นแบบอย่างทดี่ ี มคี ุณธรรมจริยธรรม มีความมงุ่ ม่นั ในการทำงาน มคี วามสามารถในทกั ษะชีวติ ดำรงชวี ติ อยอู่ ยา่ งพอเพียง รู้จกั ใช้ทรพั ยากรอย่างคุม้ คา่ และ มีความสามารถในการแกป้ ัญหา รหสั ตวั ชวี้ ดั ส ๑.๑ ม.๕/๘, ม.๕/๙, ม.๕/๑๐, ม.๕/๑๑, ม.๕/๑๒, ม.๕/๑๓, ม.๕/๑๔ ส ๑.๒ ม.๕/๓ , ม.๕/๔, ส ๒.๑ ม.๕/๒ , ม.๕/๓ ,ส ๒.๒ ม.๕/๒ , ส ๓.๑ ม.๕/๒ ,ส๓.๒ ม.๕/๒ รวม ๑๔ ตวั ชี้วดั
181 คำอธิบายรายวชิ า กลุม่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๕ รหสั วชิ า ส๓๒๑๐๒ รายวิชา สังคมศึกษา เวลาเรยี น ๔๐ ชวั่ โมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต ภาคเรยี นท่ี ๒ ศกึ ษาเพอื่ ให้มคี วามรคู้ วามเข้าใจตระหนกั ถงึ ความสำคัญของเวลา ยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตร์หลกั ฐานทาง ประวัติศาสตรท์ อ้ งถนิ่ ประวัติศาสตรข์ องไทย ศึกษาวเิ คราะห์เหตุการณ์สำคญั ตา่ ง ๆ ทส่ี ่งผลตอ่ การเปล่ยี นแปลงของประเทศไทยในปัจจบุ ันเกี่ยวกับระบอบศักดินา ประเด็นสำคญั ของประวัตศิ าสตร์ไทย การเปลีย่ นแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ บทบาทของสถาบันพระมหากษตั ริยใ์ นการพัฒนาชาติไทยในดา้ นตา่ ง ๆ ผลงานบุคคลสำคัญทอ้ งถ่นิ ของชาติไทย (พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจา้ อยู่หวั ฯ รัชกาลท่ี ๖) ปัจจยั และบุคคลท่ี ส่งเสริมความสร้างสรรคภ์ ูมิปญั ญาไทย(พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั ฯภมู พิ ลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙) ปญั หาทาง กายภาพหรือภัยพบิ ัติทางธรรมชาตใิ นประเทศไทย ภูมภิ าคเอเชีย ศึกษาให้มคี วามร้คู วามเขา้ ใจสามารถระบมุ าตรการ ปอ้ งกัน มาตรการแก้ไขทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมในประเทศไทย นอกประเทศ ศึกษาเพอ่ื ใหม้ คี วามรคู้ วาม เข้าใจสามารถระบแุ นวทางการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ มในทวีปเอเชีย การวเิ คราะห์ การศึกษาคน้ คว้า การเล่นบทบาทสมมตุ ิ การศกึ ษานอกสถานที่ ยกตวั อยา่ งบคุ คลสำคญั โดยใช้กระบวนการ การวเิ คราะห์ การศึกษาคน้ ควา้ การแสดงบทบาทสมมุติ การศกึ ษาดงู าน แหล่ง ประวตั ศิ าสตร์ การนำเสนอผลงาน การอธิบาย รายงาน การยกตัวอยา่ งบุคคลสำคัญและการยกตวั อยา่ ง ข่าวสาร มีความรกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ รักความเปน็ ไทย ใฝเ่ รยี นรู้ มที กั ษะการคิดแกป้ ัญหา มจี ติ สาธารณะ ตระหนัก ในการอนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอ้ ม รณรงคล์ ดภาวะโลกรอ้ น และสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี รหัสตัวชวี้ ดั ส๔.๑ ม.๕/๑, ส ๔.๒ ม.๕/๒, ส๔.๓ ม.๕/๓, ม.๕/๔, ส ๕.๑ ม.๕/๒, ส ๕.๒ ม.๕/๒, ม.๕/๓ รวม ๗ ตวั ชวี้ ดั
182 คำอธิบายรายวชิ า กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๖ รหสั วชิ า ส ๓๓๑๐๑ รายวิชา สงั คมศกึ ษา เวลาเรียน ๔๐ ชวั่ โมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกติ ภาคเรยี นท่ี ๑ ศกึ ษาวเิ คราะห์ความสำคัญและคณุ คา่ ของพระไตรปฎิ ก ศกึ ษาเพอื่ ให้มคี วามรคู้ วามเข้าใจเกดิ ความเชื่อม่ันตอ่ ผลการกระทำความดี ความชั่ว ศกึ ษาเพ่ือให้มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจสามารถอธิบายประวตั ิของพระมูฮมั มัด พระเยซู ศกึ ษาเพอ่ื ให้ตระหนกั ในคณุ คา่ ของค่านิยม จรยิ ธรรม การขจดั ความขดั แย้งเพ่ือการอย่รู ว่ มกันอยา่ ง สันติสขุ การพัฒนาการเรียนรดู้ ้วยวิธีการคดิ แบบโยนิโสมนสิการ วธิ ีคดิ แบบอริยสัจ ศกึ ษาเพอ่ื ให้สามารถ ปฏบิ ตั ิการสวดมนต์แปล การแผเ่ มตตาภาษามอื ไทย การฝึกบริหารจติ และเจรญิ ปญั ญา การนำวิธีการบรหิ ารจติ และ เจริญปญั ญาไปใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ พฒั นาคุณภาพชวี ติ พัฒนาสงั คม ศกึ ษาเพื่อให้มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจใน หลกั ธรรมสำคัญการอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งสนั ตสิ ขุ ศาสนาพทุ ธ ( สาราณยี ธรรม๖) ศาสนาคริสต์ ( บญั ญัติ ๑๐ ประการ) ศาสนาอสิ ลาม ( หลกั จริยธรรม) ศึกษาเพือ่ ใหม้ ีความรคู้ วามเข้าใจในการนำเสนอสภาพ ปัญหาในชมุ ชน ศกึ ษาเพือ่ ให้มีความรคู้ วามเข้าใจในการสัมมนาการปกปอ้ งคุ้มครองธำรงรกั ษาพระพทุ ธศาสนาของพทุ ธ บริษัทในสังคมไทย การปลูกจิตสำนกึ และการมสี ว่ นร่วมในสงั คมพทุ ธ ศกึ ษาเพอ่ื ใหม้ คี วามสามารถในการประเมนิ ความหมาย ความสำคญั ของวัฒนธรรม แนวทางการอนุรักษว์ ัฒนธรรมไทยทดี่ ีงาม วธิ กี ารเลอื กรบั วัฒนธรรมสากล ศกึ ษาวิเคราะห์การปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ ฐานและพระราชอำนาจ ของพระมหากษตั รยิ ์ ศึกษาเพอ่ื ให้มีความรู้ความเข้าใจสามารถเสนอแนวทางการตรวจสอบการใช้อำนาจรฐั ตาม รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจบุ ันที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสงั คม การตรวจสอบโดยประชาชน ศกึ ษาเพ่ือให้มคี วามรคู้ วามเข้าใจตระหนักถงึ ความหมาย ความสำคญั ของหลกั การระบบสหกรณ์ ยกตัวอยา่ ง สหกรณ์ ประเภทของสหกรณ์ในประเทศไทย ศึกษาวเิ คราะห์ปญั หาทางเศรษฐกจิ ในชุมชน ยกตวั อยา่ งของการ รวมกลมุ่ ท่ีประสบความสำเรจ็ ในการแก้ปญั หาทางเศรษฐกิจของชมุ ชน บทบาทขององคก์ าร ความรว่ มมอื ทางเศรษฐกจิ ทส่ี ำคญั ในภูมภิ าคต่าง ๆ APEC ยกตวั อยา่ งเหตกุ ารณท์ นี่ ำไปสู่การพึ่งพาทางเศรษฐกิจ โดยใชก้ ระบวนการ ศกึ ษาคน้ ควา้ การยกตวั อยา่ ง การปฏิบตั ิ การสาธิต บทบาทสมมตุ วิ ิเคราะห์ การเปรยี บเทยี บ การอธบิ าย การอภปิ ราย การนำเสนอ การรายงาน กระบวนการกลุ่มการมสี ว่ นร่วม การเขา้ รว่ มกจิ กรรม การสมั มนา การประเมนิ เหน็ คุณค่าและความสำคญั ของผู้นำทางศาสนา รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ รกั ความเป็นไทย มีคณุ ธรรมจริยธรรมท่ดี ีงาม เป็นแบบอย่างทดี่ ี เกิดความเล่ือมใสในศาสนา เปน็ พลเมอื งดีของประเทศชาติ มีความ เป็นประชาธปิ ไตย มงุ่ มน่ั ในการทำงาน ใฝเ่ รยี นรู้ มคี วามเออ้ื เฟ้ือ รจู้ ักช่วยเหลือผ้อู ่นื และสามารถทำงานรว่ มกับ ผอู้ ่ืนไดอ้ ยา่ งมีความสุข รหสั ตวั ชวี้ ัด ส๑.๑ ม.๖/๑๕ , ม.๖/๑๖ , ม.๖/๑๗, ม.๖/๑๘ , ม.๖/๑๙ , ม.๖/๒๐ ,ม.๖/๒๑ ,ม.๖/๒๒ , ส๑.๒ ม.๖/๕ , ส๒.๑ ม.๖/๔ ม.๖/๕ , ส๒.๒ ม.๖/๓ , ม.๖/๔ , ส๓.๑ ม.๖/๓ ,ม.๖/๔ , ส๓.๒ ม.๖/๓ รวม ๑๖ ตวั ชวี้ ดั
183 อธิบายรายวชิ า กลุ่มสาระการเรียนรูส้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๖ รหัสวิชา ส ๓๓๑๐๒ รายวชิ า สังคมศึกษา เวลาเรียน ๔๐ ชว่ั โมง จำนวน ๑ หนว่ ยกิต ภาคเรยี นท่ี ๒ ศึกษาเพือ่ ใหส้ ามารถสรา้ งองค์ความรู้เก่ยี วกับข้ันตอนของวิธกี ารทางประวัติศาสตร์ โดยนำเสนอตวั อยา่ งทลี ะขั้นตอนอยา่ งชดั เจน ผลการศึกษาหรอื โครงงานทางประวตั ิศาสตร์ ศึกษาวิเคราะหก์ าร ขยาย การลา่ อาณานคิ ม ผลกระทบของทวีปอเมริกา สถานการณส์ ำคญั ของโลกในครสิ ตศ์ ตวรรษที่ ๒๑ เหตุการณร์ ะเบิดตึก World Trade Center ๑๑ กันยายน ๒๐๐๑ ศกึ ษาเพ่ือให้มคี วามรคู้ วามเข้าใจสามารถ วางแผนกำหนดแนวทางการสบื ทอด และการเปลย่ี นแปลงของวัฒนธรรมไทย แนวทางการอนรุ ักษ์ภมู ิปญั ญา วัฒนธรรมไทย การมสี ่วนรว่ มในการอนรุ ักษ์ วิธกี ารอนรุ ักษ์ ศึกษาวเิ คราะหก์ ารเปล่ยี นแปลงของพื้นที่ ซึง่ ได้รบั อทิ ธพิ ลจากปัจจยั ทางภูมศิ าสตรใ์ นประเทศไทย การเคลื่อนตวั ของแผน่ เปลอื กโลก ศกึ ษาเพือ่ ประเมนิ การ เปลีย่ นแปลงธรรมชาติในโลกเกีย่ วกบั ภาวะโลกรอ้ น ความแหง้ แลง้ สภาพอากาศแปรปรวน ศกึ ษาเพือ่ ให้มคี วามรู้ ความเข้าใจสามารถอธบิ ายการใช้ประโยชน์จากสงิ่ แวดล้อมในการสรา้ งสรรคว์ ฒั นธรรมไทยอันเปน็ เอกลกั ษณ์ของท้องถิ่น ทงั้ ในประเทศไทยและโลก ศึกษาเพอื่ ใหส้ ามารถเขา้ รว่ มใน การแกป้ ัญหาและการดำเนินชีวติ ตามแนวทางการอนุรักษ์ทรพั ยากรและสง่ิ แวดล้อมเพ่ือการพฒั นาที่ย่งั ยนื โดยใชก้ ระบวนการทางประวตั ิศาสตร์ วิเคราะห์ สรา้ งองคค์ วามรู้ ประเมิน อธบิ าย การมีสว่ นรว่ ม การนำเสนอ การรายงาน การศกึ ษาจากแหล่งประวัตศิ าสตร์ มที กั ษะการคิดวเิ คราะห์ รกั ความเปน็ ไทย มจี ติ สำนกึ ในการอนรุ ักษ์วฒั นธรรมไทย มสี ว่ นรว่ มในการรณรงคล์ ดภาวะโลกรอ้ น มจี ิตสำนกึ ในการอนรุ กั ษ์สงิ่ แวดลอ้ ม มีความคดิ สรา้ งสรรค์ รหสั ตัวช้วี ดั ส ๔.๑ ม.๖/๒, ส๔.๒ ม.๖/๓ , ม.๖/๔ , ส๔.๓ ม.๖/๕ , ส ๕.๑ ม.๖/๓ ,ม.๖/๔ ส๕.๒ ม.๖/๔ , ม.๖/๕ รวม ๘ ตัวชวี้ ดั
184 ภาคผนวก
185 อภธิ านศัพท์ กตัญญกู ตเวที ผรู้ ูอ้ ุปการะทท่ี า่ นทำแลว้ และตอบแทน แยกออกเป็น ๒ ขอ้ ๑. กตัญญู รคู้ ณุ ท่าน ๒. กตเวทตี อบแทน หรอื สนองคณุ ท่าน ความกตญั ญูกตเวทีวา่ โดยขอบเขต แยกได้ เปน็ ๒ ระดบั คือ ๒.๑ กตญั ญกู ตเวทตี อ่ บุคคลผูม้ ีคุณความดหี รอื อปุ การะตอ่ ตนเปน็ ส่วนตวั ๒.๒ กตัญญกู ตเวทตี ่อบคุ คลผูไ้ ด้ บำเพ็ญคณุ ประโยชน์หรือมีคุณความดี เก้ือกูลแกส่ ว่ นรว่ ม (พ.ศ. หนา้ ๒-๓) กตญั ญูกตเวทตี ่ออาจารย์ / โรงเรียน ในฐานะทเี่ ปน็ ศิษย์ พึงแสดงความเคารพนบั ถอื อาจารย์ ผู้ เปรียบเสมือนทิศเบอ้ื งขวา ดังน้ี ๑. ลูกตอ้ นรบั แสดงความเคารพ ๒. เข้าไปหา เพอ่ื บำรุง รบั ใช้ ปรึกษา ซักถาม รับคำแนะนำ เป็นต้น ๓. ฟงั ด้วยดี ฟงั เปน็ รูจ้ ักฟัง ให้เกิดปญั ญา ๔. ปรนนบิ ัติ ชว่ ยบรกิ าร ๕. เรยี นศิลปวทิ ยาโดยเคารพ เอาจริงเอาจงั ถอื เปน็ กิจสำคญั ด้วยดี กรรม การกระทำ หมายถึง การกระทำทปี่ ระกอบดว้ ยเจตนา คือ ทำดว้ ยความจงใจ ประกอบดว้ ยความ จงใจหรอื จงใจทำดีกต็ าม ชั่วกต็ าม เชน่ ขุดหลุมพรางดกั คนหรอื สัตวใ์ นตกลงไปตายเปน็ กรรม แตข่ ุดบอ่ น้ำไว้กินไว้ใช้ สตั วต์ กลงไปตายเองไม่เป็นกรรม (แตถ่ ้ารอู้ ยวู่ า่ บ่อน้ำทีต่ นขุดไวอ้ ยู่ในท่ีซ่งึ คนจะพลัดตกได้ ง่ายแลว้ ปลอ่ ยปละละเลย มคี นตกลงไปก็ไมพ่ ้นกรรม) การกระทำท่ีดีเรยี กวา่ “กรรมดี” ทช่ี วั่ เรยี กวา่ “กรรมชว่ั ” (พ.ศ. หน้า ๔) กรรม ๒ กรรมจำแนกตามคณุ ภาพ หรอื ตามธรรมทเี่ ปน็ มูลเหตุมี ๒ คอื ๑. อกศุ ลกรรม กรรมท่ีเปน็ อกุศล กรรมชวั่ คือ เกิดจากอกศุ ลมูล ๒. กุศลกรรม กรรมทเี่ ปน็ กศุ ล กรรมดี คือกรรมท่เี กดิ จากกุศลมูล กรรม ๓ กรรมจำแนกตามทวารคอื ทางทกี่ รรมมี ๓ คือ ๓. กายกรรม การกระทำทางกาย ๒. วจกี รรม การ กระทำทางวาจา ๓. มโนกรรม การกระทำทางใจ กรรม ๑๒ กรรมจำแนกตามหลกั เกณฑ์เก่ียวกบั การใหผ้ ล มี ๑๒ อยา่ ง คอื หมวดที่ ๑ ว่าดว้ ยปากกาล คอื จำแนกตามเวลาท่ีให้ผล ได้แก่ ๑. ทฏิ ฐธิ รรมเวทนียกรรม กรรมท่ีให้ผลในปจั จบุ ัน คอื ในภพน้ี ๒. อุปชั ชเวทนยี กรรม กรรมทใ่ี หผ้ ลในภาพท่ีจะไปเกดิ คือ ในภพหน้า ๓. อปราบปรเิ วทนยี กรรม กรรมทใี่ ห้ผลในภพตอ่ ๆ ไป ๔. อโหสิกรรม กรรมเลกิ ให้ผล หมวดที่ ๒ ว่าโดยกิจ คอื การใหผ้ ลตามหน้าที่ ไดแ้ ก่ ๕. ชนกกรรม กรรมแต่งใหเ้ กิด หรือกรรมท่ีเป็นตัวนำไปเกิด ๖. อุปตั ถมั ภกกรรม กรรมสนบั สนนุ คือ เขา้ สนบั สนนุ หรือซ้ำเติมตอ่ จากชนกกรรม ๗. อุปปีฬกกรรม กรรมบีบ คั้น คอื เข้ามาบบี คั้นผลแหง่ ชนกกรรม และอปุ ตั ถัมภกกรรมน้ันใหแ้ ปรเปลย่ี นทเุ ลาเบาลงหรอื สน้ั เข้า ๘. อุป ฆาตกกรรม กรรมตดั รอน คอื กรรมแรงฝา่ ยตรงข้ามท่ีเข้าตัดรอนให้ผลของกรรมสองอยา่ งนน้ั ขาดหรือหยุดไป ทเี ดียว หมวดท่ี ๓ วา่ โดยปานทานปริยาย คือจำแนกตามลำดบั ความแรงในการใหผ้ ล ไดแ้ ก่ ๙. ครกุ รรม กรรมหนัก ให้ผลกอ่ น ๑๐. พหุลกรรม หรือ อาจณิ กรรม กรรที่ทำมากหรอื กรรมชินใหผ้ ลรองลงมา ๑๑. อาสนั นกรรม กรรม จวนเจยี น หรือกรรมใกลต้ าย ถา้ ไมม่ ีสองขอ้ ก่อนกจ็ ะให้ผลกอ่ นอ่นื ๑๒. กตตั ตากรรม หรอื กตตั ตาวาปน กรรม กรรมสักวา่ ทำ คือเจตนาอ่อน หรอื มิใชเ่ จตนาอย่างน้นั ใหผ้ ลตอ่ เมอื่ ไม่มกี รรมอน่ื จะใหผ้ ล (พ.ศ. หน้า ๕) กรรมฐาน ทตี่ ั้งแห่งการงาน อารมณ์เปน็ ทต่ี ัง้ แห่งการงานของใจ อบุ ายทางใจ วธิ ฝี กึ อบรมจติ มี ๒ ประเภท คือ สมถกรรม ฐาน คือ อุบายสงบใจ วปิ สั สนากรรมฐาน อบุ ายเรอื งปญั ญา (พ.ศ. หนา้ ๑๐)
186 กลุ จริ ัฏตธรรม ๔ ธรรมสำหรบั ดำรงความม่นั คงของตระกลู ใหย้ ั่งยนื เหตทุ ี่ทำให้ตระกลู มั่งคง่ั ตั้งอยู่ได้นาน (พ.ธ. หนา้ ๑๓๔) ๑. นฏั ฐคเวสนา คอื ของหายของหมด รจู้ กั หามาไว้ ๒. ชณิ ณปฏสิ ังขรณา คือ ของเก่าของชำรดุ รจู้ ักบรู ณะ ซ่อมแซม ๓. ปริมติ ปานโภชนา คือ รูจ้ กั ประมาณในการกนิ การใช้ ๔. อธิปจั จสลี วันตสถาปนา คือ ตัง้ ผมู้ ี ศีลธรรมเปน็ พอ่ บา้ นแมเ่ รอื น (พ.ธ. หนา้ ๑๓๔) กศุ ล บญุ ความดี ฉลาด สงิ่ ท่ีดี กรรมดี (พ.ศ. หนา้ ๒๑) กุศลกรรม กรรมดี กรรมทเ่ี ปน็ กุศล การกระทำทด่ี คี ือเกดิ จากกศุ ลมูล (พ.ศ. หน้า ๒๑) กศุ ลกรรมบถ ๑๐ ทางแห่งกรรมดี ทางทำดี กรรมดีอันเปน็ ทางนำไปสสู่ ุคตมิ ี ๑๐ อย่างได้แก่ ก. กายกรรม ๓ (ทางกาย) ๑. ปาณาติปาตา เวรมณี เวน้ จากการทำลายชีวิต ๒. อทินนาทานา เวรมณี เวน้ จาก ถอื เอาของทเ่ี ขามิได้ให้ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวรมณี เว้นจากประพฤตผิ ดิ ในกาม ข. วจีกรรม ๔ (ทางวาจา) ได้แก่ ๔. มสุ าวาทา เวรมณี เว้นจากพูดเท็จ ๕. ปสิ ุณายวาจาย เวรมณี เวน้ จากพดู ส่อเสียด ๖. ผรสุ าย วาจาย เวรมณี เว้นจากพดู คำหยาบ ๗. สมั ผปั ปลาปา เวรมณี เวน้ จากพูดเพอ้ เจอ้ ค. มโนกรรม ๓ (ทางใจ) ๘. อนภชิ ฌา ไมโ่ ลกคอยจอ้ งอยากไดข้ องเขา ๙. อพยาบาท ไม่คดิ ร้ายเบียดเบียนเขา ๑๐. สมั มาทฏิ ฐิ เห็นชอบตามคลองธรรม (พ.ศ. หน้า ๒๑) กศุ ลมูล รากเหง้าของกุศล ต้นเหตขุ องกศุ ล ต้นเหตขุ องความดี ๓ อยา่ ง ๑. อโลภะ ไม่โลภ (จาคะ) ๒. อโทสะ ไม่คดิ ประทษุ รา้ ย (เมตตา) ๓. อโมหะ ไม่หลง (ปญั ญา) (พ.ศ. หนา้ ๒๒) กศุ ลวิตก ความตรึกที่เปน็ กศุ ล ความนกึ คิดทดี่ งี าม ๓ คอื ๑. เนกขมั มวิตก ความตรกึ ปลอดจากกาม ๒. อพยาบาทวิตก ความตรกึ ปลอดจากพยาบาท ๓. อวหิ ิสาวิตก ความตรึกปลอดจากการเบียดเบียน (พ.ศ. หน้า ๒๒) โกศล ๓ ความฉลาด ความเชย่ี วชาญ มี ๓ อยา่ ง ๑. อายโกศล คือ ความฉลาดในความเจรญิ รอบรทู้ างเจรญิ และเหตขุ อง ความเจริญ ๒. อปายโกศล คอื ความฉลาดในความเสอ่ื ม รอบรทู้ างเส่ือมและเหตุของความเสอ่ื ม ๓. อุปายโกศล คือ ความฉลาดในอุบาย รอบร้วู ิธีแกไ้ ขเหตุการณแ์ ละวธิ ที ่จี ะทำใหส้ ำเรจ็ ท้งั ในการปอ้ งกนั ความเสอื่ มและในการ สรา้ งความเจรญิ (พ.ศ. หน้า ๒๔) ขนั ธ์ กอง พวก หมวด หมู่ ลำตวั หมวดหน่ึง ๆ ของรูปธรรมและนามธรรมท้งั หมดที่แบง่ ออกเป็นหา้ กอง ได้แก่ รูปขนั ธ์ คอื กองรูป เวทนาขันธ์ คือ กองเวทนา สญั ญาขันธ์ คอื กองสัญญา สงั ขารขนั ธ์ คอื กองสังขาร วญิ ญาณขันธ์ คอื กอง วญิ ญาณ เรียกรวมว่า เบญจขนั ธ์ (พ.ศ. หน้า ๒๖ - ๒๗) คารวธรรม ๖ ธรรม คือ ความเคารพ การถอื เป็นส่งิ สำคญั ทจ่ี ะพึงใส่ใจและปฏิบัติดว้ ย ความเออื้ เฟื้อ หรอื โดยความ หนกั แน่นจริงจงั มี ๖ ประการ คอื ๑. สัตถคุ ารวตา ความเคารพในพระศาสดา หรอื พทุ ธคารวตา ความเคารพใน พระพทุ ธเจา้ ๒. ธัมมคารวตา ความเคารพในพระธรรม ๓. สังฆคารวตา ความเคารพในพระสงฆ์ ๔. สกิ ขา คารวตา ความเคารพในการศกึ ษา ๕. อัปปมาทคารวตา ความเคารพในความไม่ประมาท ๖. ปฏสิ นั ถารคารวตา ความเคารพในการปฏสิ ันถาร (พ.ธ. หน้า ๒๒๑) คหิ ิสขุ (กามโภคสี ขุ ๔) สุขของคฤหัสถ์ สขุ ของชาวบ้าน สขุ ท่ีชาวบา้ นควรพยายามเขา้ ถงึ ใหไ้ ดส้ ม่ำเสมอ สขุ อนั ชอบ ธรรมที่ผู้ครองเรอื นควรมี ๔ ประการ ๑. อตั ถิสุข สุขเกิดจากความมีทรพั ย์ ๒. โภคสุข สขุ เกดิ จากการใช้จ่าย ทรพั ย์ ๓. อนณสขุ สุขเกดิ จากความไม่เป็นหน้ี ๔. อนวชั ชสุข สุขเกดิ จากความประพฤตไิ มม่ ีโทษ (ไมบ่ กพร่อง เสียหายทง้ั ทางกาย วาจา และใจ) (พ.ธ. หน้า ๑๗๓) ฆราวาสธรรม ๔ ธรรมสำหรบั ฆราวาส ธรรมสำหรับการครองเรอื น หลักการครองชีวติ ของคฤหัสถ์ ๔ ประการ ได้แก่ ๑. สัจจะ คือ ความจรงิ ซือ่ ตรง ซ่ือสตั ย์ จรงิ ใจ พดู จริง ทำจริง ๒. ทมะ คือ การฝกึ ฝน การข่มใจ ฝึกนสิ ัย ปรบั ตัว รจู้ กั ควบคุมจติ ใจ ฝึกหดั ดัดนสิ ยั แกไ้ ขขอ้ บกพร่อง ปรับปรงุ ตนให้เจรญิ กา้ วหน้าดว้ ยสตปิ ัญญา ๓.
187 ขนั ติ คือ ความอดทน ต้ังหน้าทำหน้าทกี่ ารงานดว้ ยความขยนั หม่นั เพยี ร เขม้ แข็ง ทนทาน ไมห่ วั่นไหว มน่ั ในจุดหมาย ไมท่ ้อถอย ๔. จาคะ คอื เสียสละ สละกเิ ลส สละความสุขสบาย และผลประโยชน์ส่วนตนได้ ใจ กวา้ ง พรอ้ มที่จะรบั ฟงั ความทุกข์ ความคดิ เห็นและความต้องการของผอู้ ่นื พร้อมทจี่ ะรว่ มมือชว่ ยเหลือ เอือ้ เฟ้อื เผ่อื แผไ่ มค่ ับแคบเหน็ แก่ตวั หรอื เอาแต่ใจตวั (พ.ธ. หนา้ ๔๓) จิต ธรรมชาตทิ ร่ี อู้ ารมณ์ สภาพทนี่ กึ คดิ ความคิด ใจ ตามหลักฝา่ ยอภิธรรม จำแนกจิตเปน็ ๘๙ แบง่ โดยชาติเป็น อกุศลจติ ๑๒ กศุ ลจิต ๒๑ วปิ ากจติ ๓๖ และกิรยิ าจติ ๘ (พ.ศ. หน้า ๔๓) เจตสกิ ธรรมท่ีประกอบกบั จติ อาการหรอื คุณสมบัติตา่ ง ๆ ของจิต เช่น ความโลภ ความโกรธ ความหลง ศรัทธา เมตตา สติ ปญั ญาเปน็ ตน้ มี ๕๒ อย่าง จดั เปน็ อญั ญสมานาเจตสิก ๑๓ อกศุ ลเจตสิก ๑๔ โสภณเจตสกิ ๒๕ (พ.ศ. หน้า ๔๙) ฉนั ทะ ๑. ความพอใจ ความชอบใจ ความยินดี ความต้องการ ความรักใคร่ในสิ่งนัน้ ๆ ๒. ความยินยอม ความยอมให้ ท่ีประชมุ ทำกิจนั้น ๆ ในเมื่อตนมิได้รว่ มอยดู่ ว้ ย เปน็ ธรรมเนยี มของภิกษุที่อยใู่ นวดั ซ่งึ มีสีมารวมกนั มสี ิทธิทจี่ ะเข้า ประชุมทำกจิ ของสงฆ์ เวน้ แต่ภกิ ษนุ ัน้ อาพาธ จะเขา้ ร่วมประชมุ ดว้ ยไม่ได้ กม็ อบฉนั ทะคือ แสดงความยนิ ยอมให้ สงฆ์ทำกิจน้ัน ๆ ได้ (พ.ศ. หนา้ ๕๒) ฌาน การเพ่ง การเพง่ พนิ จิ ดว้ ยจติ ท่เี ปน็ สมาธิแน่วแน่ มี ๒ ประเภท คือ ๑. รปู ฌาน ๒. อรูปฌาน (พ.ศ. หนา้ ๖๐) ฌานสมบตั ิ การบรรลฌุ าน การเขา้ ฌาน (พทุ ธธรรม หน้า ๙๖๔) ดรุณธรรม ธรรมท่ีเปน็ หนทางแห่งความสำเร็จ คอื ข้อปฏบิ ตั ทิ เี่ ป็นดุจประตูชัยอันเปิดออกไปสู่ความสขุ ความ เจริญก้าวหนา้ แหง่ ชีวติ ๖ ประการ คอื ๑. อาโรคยะ คือ รักษาสขุ ภาพดี มิให้มีโรคท้ังจติ และกาย ๒. ศลี คอื มีระเบยี บวินัย ไมก่ อ่ เวรภยั แก่สงั คม ๓. พทุ ธานุมตั ิ คือ ได้คนดีเป็นแบบอยา่ ง ศึกษาเยี่ยงนิยมแบบอย่างของ มหาบุรุษพุทธชน ๔. สุตะ คอื ตัง้ เรียนรใู้ หจ้ รงิ เล่าเรียนค้นคว้าใหร้ เู้ ชีย่ วชาญใฝส่ ดับเหตุการณ์ให้รเู้ ทา่ ทนั ๕. ธรรมานวุ ัติ คือ ทำแต่สงิ่ ทถ่ี กู ต้องดีงาม ดำรงมนั่ ในสจุ รติ ทัง้ ชีวติ และงานดำเนนิ ตามธรรม ๖. อลนี ตา คอื มี ความขยันหมน่ั เพียร มีกำลังใจแข็งกลา้ ไม่ทอ้ แท้เฉ่อื ยชา เพยี รกา้ วหน้าเร่อื ยไป (ธรรมนญู ชวี ติ บทที่ ๑๕ คนสืบตระกูล ขอ้ ก. หนา้ ๕๕) หมายเหตุ หลักธรรมขอ้ นเี้ รียกช่อื อกี ย่างหนง่ึ ว่า “วัฒนมุข” ตรงคำบาลวี า่ “อตั ถทวาร” ประตแู ห่งประโยชน์ ตัณหา (๑) ความทะยานอยาก ความดินรน ความปรารถนา ความแส่หา มี ๓ คือ ๑. กามตัณหา ความทะยานอยากในกาม อยากไดอ้ ารมณอ์ ันนา่ รกั น่าใคร่ ๒. ภวตณั หา ความทะยานอยากในภพ อยากเป็นนน่ั เปน็ น่ี ๓. วภิ วตัณหา ความ ทะยานอยากในวภิ พ อยากไมเ่ ปน็ นั่นไมเ่ ปน็ นี่ อยากพรากพ้นดับสูญ ไปเสีย ตนั หา (๒) ธิดามารนางหนง่ึ ใน ๓ นาง ทอ่ี าสาพระยามารผ้เู ป็นบิดา เขา้ ไปประโลมพระพทุ ธเจา้ ดว้ ยอาการตา่ ง ๆ ในสมยั ท่ี พระองคป์ ระทับอยทู่ ี่ต้นอชปาลนิโครธ ภายหลังตรสั รู้ใหม่ ๆ (อกี ๒ นางคอื อรดี กบั ราคา) (พ.ศ. หน้า ๗๒) ไตรลักษณ์ ลกั ษณะสาม คอื ความไม่เท่ียง ความเปน็ ทกุ ข์ ความไมใ่ ช่ตวั ตน ๑. อนิจจตา (ความเปน็ ของไม่เทีย่ ง) ๒. ทกุ ขตา (ความเป็นทกุ ข)์ ๓. อนตั ตา (ความเป็นของไมใ่ ช่ตน) (พ.ศ. หนา้ ๑๐๔) ไตรสิกขา สกิ ขาสาม ข้อปฏิบัติทีต่ ้องศึกษา ๓ อย่าง คอื ๑. อธิศีลสกิ ขา หมายถงึ สกิ ขา คือ ศีลอันย่ิง ๒. อธจิ ติ ตสกิ ขา หมายถึง สิกขา คอื จิตอันย่ิง ๓. อธปิ ัญญาสิกขา หมายถงึ สิกขา คอื ปญั ญา อนั ยิง่ เรยี กกนั ง่าย ๆ วา่ ศลี สมาธิ ปญั ญา (พ.ศ. หนา้ ๘๗)
188 ทศพธิ ราชธรรม ๑๐ ธรรม สำหรบั พระเจ้าแผ่นดนิ คณุ สมบตั ิของนกั ปกครองท่ีดี สามารถปกครองแผ่นดนิ โดยธรรม และ ยังประโยชน์สุขใหเ้ กดิ แก่ประชาชน จนเกิดความชนื่ ชมยินดี มี ๑๐ ประการ คอื ๑. ทาน การใหท้ รัพยส์ นิ สงิ่ ของ ๒. ศีล ประพฤตดิ งี าม ๓. ปรจิ จาคะ ความเสียสละ ๔. อาชชวะ ความซือ่ ตรง ๕. มทั ทวะ ความออ่ นโยน ๖. ตบะ ความทรงเดช เผากิเลสตณั หา ไมห่ มกมุ่นในความสุขสำราญ ๗. อักโกธะ ความไม่กริว้ โกรธ ๘. อวิหิงสา ความไมข่ ่มเหงเบยี ดเบยี น ๙. ขนั ติ ความอดทนเข้มแข็ง ไมท่ อ้ ถอย ๑๐. อวิ โรธนะ ความไมค่ ลาดธรรม (พ.ศ. หนา้ ๒๕๐) ทฏิ ธัมมกิ ัตถสงั วัตตนกิ ธรรม ๔ ธรรมทเี่ ปน็ ไปเพื่อประโยชนใ์ นปัจจุบนั คือ ประโยชน์สขุ สามัญทมี่ องเหน็ กนั ในชาตินี้ ที่ คนท่ัวไปปรารถนา เชน่ ทรัพย์ ยศ เกียรติ ไมตรี เปน็ ตน้ มี ๔ ประการ คือ ๑.อฏุ ฐานสัมปทา ถึงพรอ้ มดว้ ยความหมัน่ ๒. อารกั ขสัมปทา ถึงพรอ้ มดว้ ยการรกั ษา ๓. กัลยาณมติ ตตา ความมเี พื่อนเปน็ คนดี ๔. สมชีวิตา การเลย้ี งชพี ตามสมควรแก่กำลังทรพั ยท์ ีห่ าได้ (พ.ศ. หน้า ๙๕) ทุกข์ ๑. สภาพที่ทนอย่ไู ด้ยาก สภาพที่คงทนอย่ไู มไ่ ด้ เพราะถูกบีบคน้ั ดว้ ยความเกิดขน้ึ และดบั สลาย เน่ืองจากต้องไปตาม เหตปุ จั จยั ท่ไี มข่ ึ้นตอ่ ตวั มนั เอง ๒. สภาพทท่ี นไดย้ าก ความรู้สึกไมส่ บาย ไดแ้ ก่ ทกุ ขเวทนา (พ.ศ. หนา้ ๙๙) ทุกรกริ ยิ า กริ ิยาที่ทำไดย้ าก การทำความเพียรอนั ยากทใี่ คร ๆ จะทำได้ เชน่ การบำเพ็ญเพียรเพือ่ บรรลุธรรมวเิ ศษ ดว้ ยวิธี ทรมานตนต่าง ๆ เช่น กล้ันลมอสั สาสะ (ลมหายใจเขา้ ) ปัสสาสะ (ลมหายใจออก) และอดอาหาร เปน็ ต้น (พ.ศ. หน้า ๑๐๐) ทุจรติ ๓ ความประพฤติไมด่ ี ประพฤตชิ ว่ั ๓ ทาง ได้แก่ ๑. กายทจุ รติ ประพฤติชว่ั ทางกาย ๒. วจีทจุ ริต ประพฤติชวั่ ทาง วาจา ๓. มโนทจุ รติ ประพฤตชิ ่ัวทางใจ (พ.ศ. หนา้ ๑๐๐) เทวทตู ๔ ทูตของยมเทพ ส่ือแจ้งข่าวของมฤตยู สญั ญาณทเ่ี ตือนใหร้ ะลึกถงึ คตธิ รรมดาของชีวติ มใี หม้ คี วามประมาท ไดแ้ ก่ คนแก่ คนเจบ็ คนตาย และสมณะ ๓ อยา่ งแรกเรยี กเทวทตู สว่ นสมณะเรยี กรวมเปน็ เทวทตู ไปดว้ ยโดยปรยิ าย เพราะมาในหมวดเดยี วกนั แตใ่ นบาลที ่านเรยี กวา่ นิมิต ๔ ไมไ่ ด้เรยี กเทวทตู (พ.ศ. หน้า ๑๐๒) ธาตู ๔ ส่งิ ทท่ี รงภาวะของมน้ั อยเู่ องตามธรรมดาของเหตุปจจัย ได้แก่ ๑. ปฐวธี าตุ หมายถึง สภาวะทแ่ี ผไ่ ปหรือกินเนื้อท่ี เรยี กชื่อสามัญวา่ ธาตุเขม้ แขง็ หรอื ธาตุดิน ๒. อาโปธาตุ หมายถงึ สภาวะทเ่ี อบิ อาบดดู ซมึ เรียกสามญั ว่า ธาตุเหลว หรอื ธาตนุ ้ำ ๓. เตโชธาตุ หมายถึง สภาวะท่ที ำให้รอ้ น เรยี กสามญั วา่ ธาตุไฟ ๔. วาโยธาตุ หมายถงึ สภาวะทท่ี ำให้ เคล่ือนไหว เรียกสามญั วา่ ธาตลุ ม (พ.ศ. หนา้ ๑๑๓) นาม ธรรมทร่ี ู้จักกนั ดว้ ยช่อื กำหนดรดู้ ว้ ยใจเปน็ เรอ่ื งของจติ ใจ สง่ิ ทีไ่ มม่ รี ปู ร่าง ไม่มรี ูปแต่นอ้ มมาเป็นอารมณข์ องจิตได้ (พ.ศ. หนา้ ๑๒๐) นิยาม ๕ กำหนดอันแน่นอน ความเปน็ ไปอนั มีระเบยี บแน่นอนของธรรมชาติ กฎธรรมชาติ ๑. อตุ ุนยิ าม (กฎ ธรรมชาติเกี่ยวกับอณุ หภูมิ หรือปรากฏการณ์ธรรมชาตติ ่าง ๆ โดยเฉพาะ ดนิ นำ้ อากาศ และฤดกู าล อนั เปน็ ส่ิงแวดล้อมสำหรับมนษุ ย์) ๒. พีชนยิ าม (กฎธรรมชาติเก่ียวกับการสบื พันธ์ุ มีพันธกุ รรมเป็นตน้ ) ๓. จติ ตนยิ าม (กฎธรรมชาตเิ กย่ี วกบั การทำงานของจติ ) ๔. กรรมนยิ าม (กฎธรรมชาตเิ ก่ยี วกบั พฤติกรรม ของมนษุ ย์ คือ กระบวนการใหผ้ ลของการกระทำ) ๕. ธรรมนิยาม (กฎธรรมชาตเิ กีย่ วกบั ความสมั พนั ธแ์ ละอาการ ทีเ่ ปน็ เหตุ เปน็ ผลแก่กนั แหง่ ส่งิ ทงั้ หลาย (พ.ธ. หนา้ ๑๙๔)
189 นิวรณ์ ๕ สงิ่ ทกี่ ้นั จติ ไมใ่ หก้ า้ วหน้าในคณุ ธรรม ธรรมทกี่ นั้ จติ ไมใ่ หบ้ รรลุคุณความดี อกศุ ลธรรมทีท่ ำจติ ให้เศรา้ หมองและทำ ปญั ญาใหอ้ ่อนกำลงั ๑. กามฉนั ทะ (ความพอใจในกาม ความต้องการกามคณุ ) ๒. พยาบาท (ความคดิ รา้ ย ความขดั เคืองแคน้ ใจ) ๓. ถนี มิทธะ (ความหดหแู่ ละเซอื่ งซึม) ๔. อทุ ธจั จกุกกุจจะ (คามฟุง้ ซา่ นและรอ้ นใจ ความ กระวนกระวายกลุ้มกังวล) ๕. วิจกิ ิจฉา (ความลงั เลสงสัย) (พ.ธ. หนา้ ๑๙๕) นโิ รธ ความดับทกุ ข์ คอื ดบั ตัณหาได้ส้ินเชงิ ภาวะปลอดทุกข์ เพราะไมม่ ที กุ ข์ที่จะเกิดขึน้ ได้ หมายถึง พระนพิ พาน (พ.ศ. หน้า ๑๒๗) บารมี คณุ ความดีที่บำเพญ็ อยา่ งย่งิ ยวด เพ่ือบรรลจุ ุดหมายอนั สูงย่งิ มี ๑๐ คอื ทาน ศลี เนกขมั มะ ปัญญา วิรยิ ะ ขันติ สจั จะ อธิษฐาน เมตตา อเุ บกขา (พ.ศ. หน้า ๑๓๖) บญุ กิริยาวตั ถุ ๓ ทีต่ ้งั แหง่ การทำบญุ เรื่องทีจ่ ัดเปน็ การทำความดี หลักการทำความดี ทางความดมี ี ๓ ประการ คือ ๑. ทาน มัย คือทำบุญดว้ ยการใหป้ ันสงิ่ ของ ๒. ศลี มยั คอื ทำบญุ ด้วยการรักษาศลี หรอื ประพฤติดมี ีระเบียบวินยั ๓. ภา วนมยั คือ ทำบุญดว้ ยการเจรญิ ภาวนา คือฝกึ อบรมจติ ใจ (พ.ธ. หนา้ ๑๐๙) บญุ กิริยาวัตถุ ๑๐ ทตี่ ้ังแหง่ การทำบุญ ทางความดี ๑. ทานมัย คอื ทำบุญดว้ ยการใหป้ ันสง่ิ ของ ๒. สลี มัย คือ ทำบญุ ดว้ ย การรักษาศีล หรอื ประพฤติดี ๓. ภาวนมยั คอื ทำบุญด้วยการเจรญิ ภาวนา คอื ฝกึ อบรมจิตใจ ๔. อปจายนมัย คือ ทบญุ ด้วยการประพฤตอิ อ่ นน้อมถ่อมตน ๕. เวยยาวจั จมยั คอื ทำบุญดว้ ยการชว่ ยขวนขวาย รับใช้ ๖. ปัตตทิ าน มัย คือ ทำบุญด้วยการเฉลี่ยส่วนแหง่ ความดใี ห้แกผ่ ู้อ่นื ๗. ปัตตานุโมทนามยั คอื ทำบุญดว้ ยการยินดใี น ความดีของผอู้ ่นื ๘. ธมั มสั สวนมยั คอื ทำบุญด้วยการฟังธรรม ศึกษาหาความรู้ ๙. ธัมมเทสนามยั คอื ทำบุญดว้ ย การส่ังสอนธรรมให้ความรู้ ๑๐. ทิฏฐุชกุ รรม คอื ทำบุญดว้ ยการทำความเห็นใหต้ รง (พ.ธ. หน้า ๑๑๐) บพุ นิมติ ของมชั ฌิมาปฏิปทา บุพนิมติ แปลวา่ ส่งิ ทเ่ี ป็นเครือ่ งหมายหรือสง่ิ บง่ บอกล่วงหน้า พระพทุ ธองค์ตรสั เปรียบเทยี บ ว่า ก่อนทีด่ วงอาทติ ยจ์ ะขึ้น ยอ่ มมแี สงเงินแสงทองปรากฏให้เห็นก่อนฉันใด กอ่ นทอ่ี ริยมรรคซึ่งเปน็ ข้อปฏิบตั ิ สำคญั ในพระพุทธศาสนาจะเกิดขึ้น กม็ ีธรรมบางประการปรากฏขน้ึ กอ่ น เหมือนแสงเงนิ แสงทองฉันนน้ั องค์ประกอบของธรรมดงั กลา่ ว หรือบพุ นมิ ติ แห่งมัชฌิมาปฏปิ ทา ได้แก่ ๑. กลั ปย์ าณมติ ตตา ความมีกลั ยาณมติ ร ๒. สลี สมั ปทา ถงึ พร้อมดว้ ยศีล มีวินัย มีความเปน็ ระเบียบในชีวิตของตนและในการอยรู่ ว่ มในสังคม ๓. ฉันท สัมปทา ถึงพรอ้ มด้วยฉันทะ พอใจใฝร่ กั ในปญั ญา สัจธรรม ในจรยิ ธรรม ใฝร่ ูใ้ นความจริงและใฝ่ทำความดี ๔. อัตตสัมปทา ความถึงพรอ้ มด้วยการทจี่ ะฝกึ ฝน พฒั นาตนเอง เหน็ ความสำคญั ของการท่จี ะตอ้ งฝกึ ตน ๕. ทิฏฐสิ ัป ทา ความถึงพรอ้ มด้วยทฏิ ฐิ ยึดถือ เชอ่ื ถือในหลกั การ และมีความเหน็ ความเขา้ ใจพนื้ ฐานท่มี องสิ่งทงั้ หลายตาม เหตุปัจจัย ๖. อปั ปมาทสมั ปทา ถงึ พร้อมด้วยความไม่ประมาท มคี วามกระตือรือร้นอยเู่ สมอ เหน็ คณุ คา่ ของกาลเวลา เห็นความเปลยี่ นแปลงเป็นส่งิ กระตุ้นเตอื นให้เร่งรัดการค้นหาให้เขาถึงความจริงหรือในการทำชีวติ ที่ดงี ามใหส้ ำเรจ็ ๗. โยนโิ สมนสกิ าร ร้จู ดั คิดพจิ ารณา มองสิง่ ทัง้ หลายให้ไดค้ วามร้แู ละได้ประโยชน์ท่จี ะเอามาใช้ พฒั นาตนเองย่ิง ๆ ขน้ึ ไป (แสงเงินแสงทองของชีวิตท่ี ดีงาม: พระธรรมปิฎก) (ป.อ. ปยตุ ฺโต) เบญจธรรม ธรรม ๕ ประการ ความดี ๕ อยา่ ง ทีค่ วรประพฤติคกู่ นั ไปกบั การรกั ษาเบญจศลี ตามลำดบั ข้อ ดงั น้ี ๑. เมตตา กรณุ า ๒. สมั มาอาชีวะ ๓. กามสังวร (สำรวมในกาม) ๔. สจั จะ ๕. สตสิ มั ปชัญญะ (พ.ศ. หนา้ ๑๔๐ – ๑๔๑) เบญจศีล ศีล ๕ เวน้ ฆ่าสตั ว์ เวน้ ลกั ทรพั ย์ เวน้ ประพฤติผิดในกาม เวน้ พดู ปด เวน้ ของเมา (พ.ศ. หนา้ ๑๔๑) ปฐมเทศนา เทศนาคร้ังแรก หมายถงึ ธมั มจักรกปั ปวัตตนสตู รทีพ่ ระพุทธเจ้าทรงแสดงแกพ่ ระปญั จวคั คียใ์ นวนั ขึน้ ๑๕ คำ่ เดอื น ๘ หลังจากวันตรัสรู้สองเดอื น ท่ปี า่ อสิ ิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี (พ.ศ. หนา้ ๑๔๗)
190 ปฏิจจสมุปบาท สภาพอาศัยปัจจยั เกิดขนึ้ การทส่ี ง่ิ ทั้งหลายอาศัยกนั จึงมขี น้ึ การทท่ี กุ ข์เกิดขนึ้ เพราะอาศัยปจั จยั ตอ่ เน่อื งกนั มา (พ.ศ. หน้า ๑๔๓) ปรยิ ตั ิ พุทธพจนอ์ ันจะพึงเล่าเรยี น ส่งิ ที่ควรเลา่ เรียน การเลา่ เรียนพระธรรมวินยั (พ.ศ. หนา้ ๑๔๕) ปธาน ๔ ความเพยี ร ๔ อยา่ ง ไดแ้ ก่ ๑. สังวรปธาน คือ การเพยี รระวังหรอื เพียรปดิ กน้ั (ยับยั้งบาปอกศุ ลธรรมทย่ี งั ไมเ่ กิด ไม่ใหเ้ กิดข้นึ ) ๒. ปหานปธาน คือ เพียรละบาปอกศุ ลท่ีเกดิ ขึ้นแล้ว ๓. ภาวนาปธาน คือ เพยี รเจรญิ หรอื ทำ กศุ ลธรรมทีย่ งั ไม่เกิดใหเ้ กดิ ขึ้น ๔. อนุรักขนาปธาน คอื เพียรรักษากศุ ลธรรมที่เกิดขึ้นแลว้ ไมใ่ หเ้ สื่อมไปและทำให้ เพ่มิ ไพบูลย์ (พ.ศ. หนา้ ๑๔๙) ปปญั จธรรม ๓ กเิ ลสเคร่ืองเนน่ิ ชา้ กิเลสท่เี ปน็ ตัวการทำให้คดิ ปรุงแต่งยดึ เยื้อพสิ ดาร ทำใหเ้ ขาหา่ งออกไปจากความเป็นจรงิ งา่ ย ๆ เปิดเผย ก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ และขัดขวางไมใ่ ห้เข้าถึงความจรงิ หรอื ทำให้ ไม่อาจแกป้ ัญหาอย่าง ถูกทางตรงไปตรงมา มี ๓ อย่าง คอื ๑. ตณั หา (ความทะยานอยาก ความปรารถนาทจ่ี ะบำรุงบำเรอ ปรนเปรอตน ความยากได้อยากเอา) ๒. ทิฏฐิ (ความคิดเห็น ความเชอ่ื ถอื ลักธิ ทฤษฎี อดุ มการณต์ า่ ง ๆ ท่ยี ดึ ถือไวโ้ ดยงมงายหรอื โดยอาการเชิดชวู ่าอยา่ งนเ้ี ทา่ น้นั จริงอย่างอ่นื เท็จทง้ั นน้ั เป็นต้น ทำให้ปิดตัวแคบ ไมย่ อมรบั ฟังใคร ตดั โอกาสทจี่ ะ เจริญปญั ญา หรอื คิดเตลดิ ไปขา้ งเดียว ตลอดจนเปน็ เหตุแหง่ การเบยี ดเบียนบบี คั้นผอู้ ื่นทไี่ มถ่ อื อย่างตน ความยดึ ตดิ ในทฤษฎี ฯลฯ คือความคดิ เห็นเป็นความจริง) ๓. มานะ (ความถอื ตวั ความสำคญั ตนวา่ เปน็ น่ันเปน็ น่ี ถอื สงู ถอื ต่ำ ย่งิ ใหญ่ เท่าเทยี มหรอื ดอ้ ยกวา่ ผอู้ น่ื ความอยากเดน่ อยากยกชตู นใหย้ ิง่ ใหญ)่ (พ.ธ. หน้า ๑๑๑) ปฏิเวธ เข้าใจตลอด แทงตลอด ตรสั รู้ รูท้ ะลปุ รโุ ปรง่ ลลุ ว่ งดว้ ยการปฏิบัติ (พ.ศ. หนา้ ๑๔๕) ปฏเิ วธสทั ธรรม สทั ธรรม คอื ผลอันจะพงึ เข้าถึงหรือบรรลดุ ว้ ยการปฏิบัติได้แก่ มรรค ผล และนิพพาน (พ.ธ. หนา้ ๑๒๕) ปัญญา ๓ ความรอบรู้ เข้าใจ ร้ซู ง้ึ มี ๓ อยา่ ง คือ ๑. สตุ มยปญั ญา (ปญั ญาเกดิ แต่การสดับการเล่าเรอ่ื ง) ๒. จินตามนปญั ญา (ปัญญาเกิดแตก่ ารคิด การพจิ ารณาหาเหตผุ ล) ๓. ภาวนามยปัญญา (ปัญญาเกิด แตก่ ารฝกึ อบรมลงมือปฏบิ ัต)ิ (พ.ธ. หน้า ๑๑๓) ปัญญาวฒุ ิธรรม ธรรมเป็นเครอ่ื งเจริญปัญญา คุณธรรมที่กอ่ ใหเ้ กดิ ความเจรญิ งอกงามแห่งปัญญา ๑. สปั ปุรสิ สงั เสวะ คบหาสตั บุรุษ เสวนาทา่ นผทู้ รง ๒. สทั ธัมมสั สวนะ ฟังสัทธรรม เอาใจใส่ เลา่ เรยี นหาความรจู้ รงิ ๓. โยนโิ สมนสกิ าร ทำในใจโดยแยบคาย คดิ หาเหตผุ ลโดยถูกวิธี ๔. ธัมมานธุ มั มปฏบิ ตั ิ ปฏบิ ตั ิธรรมถกู ตอ้ งตามหลัก คอื ให้สอดคล้องพอดี ขอบเขตความหมาย และวัตถปุ ระสงค์ท่ีสัมพนั ธ์กับธรรมขอ้ อ่นื ๆ นำสง่ิ ที่ไดเ้ ล่าเรียนและตริ ตรองเห็นแล้วไปใชป้ ฏบิ ตั ิให้ถกู ต้องตามความมุ่งหมายของสิง่ น้ัน ๆ (พ.ธ. หนา้ ๑๖๒ – ๑๖๓) ปาปณกิ ธรรม ๓ หลกั พอ่ ค้า องค์คณุ ของพอ่ ค้ามี ๓ อยา่ ง คอื ๑ จักขุมา ตาดี (รจู้ กั สินค้า) ดขู องเป็น สามารถคำนวณราคา กะทุน เก็งกำไร แมน่ ยำ ๒. วิธโู ร จัดเจนธรุ กิจ (รู้แหล่งซ้อื ขาย รูค้ วามเคลอ่ื นไหวความต้องการของตลาด สามารถใน การจดั ซอ้ื จัดจำหนา่ ย รู้ใจและร้จู กั เอาใจลูกคา้ ) ๓. นสิ สยสมั ปันโน พรอ้ มดว้ ยแหลง่ ทนุ อาศยั (เปน็ ทเี่ ชอ่ื ถือไวว้ างใน ในหมแู่ หล่งทนุ ใหญ่ ๆ หาเงนิ มาลงทุนหรอื ดำเนินกจิ การโดยงา่ ย ๆ) (พ.ธ. หนา้ ๑๑๔) ผัสสะ หรือ สมั ผัส การถกู ตอ้ ง การกระทบ ความประจวบกนั แหง่ อายตนะภายใน อายตนะภายนอก และวญิ ญาณ มี ๖ คือ ๑. จกั ขุสมั ผสั (ความกระทบทางตา คือ ตา + รูป + จกั ขุ - วิญญาณ) ๒. โสตสัมผสั (ความกระทบทางหู คือ หู + เสียง + โสตวญิ ญาณ) ๓. ฆานสัมผสั (ความกระทบทางจมกู คือ จมกู + กลน่ิ + ฆานวิญญาณ) ๔. ชวิ หาสัมผัส (ความกระทบทางล้ิน คือ ลิ้น + รส + ชวิ หาวญิ ญาณ) ๕. กายสมั ผสั (ความกระทบทางกาย คอื กาย +
โผฏฐพั พะ + กายวญิ ญาณ) ๖. มโนสมั ผัส 191 (พ.ธ. หนา้ ๒๓๓) (ความกระทบทางใจ คอื ใจ + ธรรมารมณ์ + มโนวญิ ญาณ) ผวู้ เิ ศษ หมายถึง ผู้สำเร็จ ผูม้ วี ิทยากร (พจนานกุ รมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕) พระธรรม คำสง่ั สอนของพระพทุ ธเจา้ ทงั้ หลักความจริงและหลกั ความประพฤติ (พ.ศ. หนา้ ๑๘๓) พระอนพุ ุทธะ ผตู้ รสั รู้ตาม คอื ตรัสรู้ด้วยไดส้ ดับเลา่ เรยี นและปฏิบัตติ ามท่ีพระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ ทรงสอน (พ.ศ. หนา้ ๓๗๔) พระปจั เจกพทุ ธะ พระพทุ ธเจ้าประเภทหนง่ึ ซงึ่ ตรสั รูเ้ ฉพาะตวั มไิ ดส้ ่งั สอนผู้อ่นื (พ.ศ. หนา้ ๑๖๒) พระพุทธคณุ ๙ คณุ ของพระพทุ ธเจา้ ๙ ประการ ได้แก่ อรหํ เป็นผูไ้ กลจากกเิ ลส ๒. สมฺมาสัมฺพุทโฺ ธ เป็นผู้ ตรสั รชู้ อบได้โดยพระองคเ์ อง ๓. วชิ ชฺ าจรณสมฺปนฺโน เป็นผถู้ ึงพรอ้ มดว้ ยวชิ ชาและ จรณะ ๔. สุคโต เปน็ ผู้ เสด็จไปแลว้ ดว้ ยดี ๕. โลกวทิ ู เปน็ ผรู้ ูโ้ ลกอยา่ งแจ่มแจง้ ๖. อนตุ ตฺ โร ปุริสทมฺมสารถิ เป็นผสู้ ามารถฝกึ บุรุษท่ีสมควร ฝกึ ได้อย่างไม่มีใครย่งิ กวา่ ๗. สตฺถา เทวมนสุ สฺ านํ เป็นครผู ูส้ อนเทวดาและมนษุ ย์ทัง้ หลาย ๘. พทุ ฺโธ เป็นผู้รู้ ผู้ตน่ื ผเู้ บกิ บาน ๙. ภควา เปน็ ผูม้ โี ชค มีความเจรญิ จำแนกธรรมสง่ั สอนสัตว์ (พ.ศ. หนา้ ๑๙๑) พระพุทธเจา้ ผ้ตู รสั ร้โู ดยชอบแลว้ สอนผู้อน่ื ให้รูต้ าม ทา่ นผู้รดู้ ี ร้ชู อบด้วยตนเองกอ่ นแล้ว สอนประชมุ ชนให้ประพฤตชิ อบ ด้วยกาย วาจา ใจ (พ.ศ. หน้า ๑๘๓) พระภกิ ษุ ชายผไู้ ดอ้ ุปสมบทแล้ว ชายท่บี วชเป็นพระ พระผ้ชู าย แปลตามรปู ศัพท์วา่ ผขู้ อหรือผู้มองเห็นภัยในสังขารหรอื ผู้ ทำลายกเิ ลส ดูบริษัท ๔ สหธรรมกิ บรรพชิต อุปสมั บัน ภิกษุสาวกรปู แรก ไดแ้ ก่ พระอญั ญาโกณฑญั ญะ (พ.ศ. หน้า ๒๐๔) พระรตั นตรัย รตั นะ ๓ แก้วอนั ประเสรฐิ หรอื สง่ิ ลำ้ ค่า ๓ ประการ หลกั ท่ีเคารพบูชาสงู สดุ ของพทุ ธศาสนกิ ชน ๓ อย่าง คือ ๑ พระพทุ ธเจา้ (พระผตู้ รัสรเู้ อง และสอนให้ผอู้ ่ืนรตู้ าม) ๒.พระธรรม (คำส่ังสอนของพระพทุ ธเจา้ ทง้ั หลักความจรงิ และหลกั ความประพฤติ) ๓. พระสงฆ์ (หมู่สาวกผู้ปฏบิ ัติตามคำสง่ั สอนของพระพทุ ธเจา้ ) (พ.ธ. หน้า ๑๑๖) พระสงฆ์ หม่ชู นทฟ่ี ังคำส่ังสอนของพระพุทธเจา้ แล้วปฏบิ ัติชอบตามพระธรรมวนิ ยั หมู่สาวกของพระพทุ ธเจ้า (พ.ศ. หนา้ ๑๘๕) พระสัมมาสัมพุทธเจา้ หมายถึง ท่านผตู้ รสั รูเ้ อง และสอนผู้อน่ื ให้ร้ตู าม (พ.ศ. หน้า ๑๘๙) พระอนพุ ทุ ธะ หมายถงึ ผตู้ รัสรตู้ าม คือ ตรสั รูดว้ ยไดส้ ดับเลา่ เรยี นและปฏิบตั ติ ามทพ่ี ระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ทรงสอน ไดแ้ ก่ พระอรหันตส์ าวกทง้ั หลาย (พ.ศ. หน้า ๓๗๔) พระอรยิ บุคคล หมายถงึ บุคคลผู้เป็นอริยะ ท่านผูบ้ รรลุธรรมวเิ ศษ มโี สดาปัตติผล เปน็ ตน้ มี ๔ คอื ๑. พระโสดาบัน ๒. พระสกทาคามี (หรือสกทิ าคาม)ี ๓. พระอนาคามี ๔. พระอรหนั ต์ แบง่ พิสดารเปน็ ๘ คอื พระผู้ตั้งอยใู่ นโสดาปตั ตมิ รรค และพระผ้ตู ้ังอยใู่ นโสดาปัตติผลคู่ ๑
192 พระผ้ตู ้ังอยใู่ นสกทาคามมิ รรค และพระผู้ต้ังอยใู่ นสกทาคามผี ลคู่ ๑ พระผู้ตงั้ อยใู่ นอนาคามิมรรค และพระผู้ตั้งอยใู่ นอนาคามผิ ลคู่ ๑ พระผตู้ ั้งอยใู่ นอรหตั ตมรรค และพระผ้ตู ั้งอยใู่ นอรหตั ตผลคู่ ๑ (พ.ศ. หนา้ ๓๘๖) พราหมณ์ หมายถึง คนวรรณะหนงึ่ ใน ๔ วรรณะ คือ กษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ ศทู ร ; พราหมณ์เป็นวรรณะนกั บวชและ เปน็ เจา้ พธิ ี ถอื ตนว่าเป็นวรรณะสงู สดุ เกิดจากปากพระพรหม (พ.ศ. หนา้ ๑๘๕) พละ ๔ กำลงั พละ ๔ คอื ธรรมอนั เป็นพลังทำใหด้ ำเนินชีวติ ดว้ ยความมนั่ ใจ ไม่ต้องหวาดหว่นั ภัยตา่ ง ๆ ได้แก่ ๑. ปัญญา พละ กำลังคือปญั ญา ๒. วริ ิยพละ กำลังคอื ความเพยี ร ๓. อนวชั ชพละ กำลงั คอื การกระทำท่ีไมม่ ีโทษ ๔. สังคห พละ กำลังการสังเคราะห์ คอื เกอ้ื กูลอย่รู ว่ มกบั ผู้อ่นื ไดด้ ี (พ.ศ. หน้า ๑๘๕ – ๑๘๖) พละ ๕ พละ กำลงั พละ ๕ คอื ธรรมอันเปน็ กำลงั ซ่ึงเป็นเครื่องเก้อื หนนุ แกอ่ ริยมรรค จดั อย่ใู นจำพวก โพธิปักขยิ ธรรม มี ๕ คอื สัทธา วริ ิยะ สติ สมาธิ ปัญญา (พ.ศ. หนา้ ๑๘๕ – ๑๘๖) พุทธกจิ ๕ พระพุทธองคท์ รงบำเพ็ญพทุ ธกจิ ๕ ประการ คือ ๑. ปพุ พฺ ณเฺ ห ปิณฺฑปาตญฺจ ตอนเช้าเสดจ็ ออกบิณฑบาต เพอ่ื โปรดสตั ว์ โดยการสนทนาธรรมหรือการแสดงหลักธรรมให้เขา้ ใจ ๒. สายณฺเห ธมมฺ เทสนํ ตอนเย็น แสดง ธรรมแก่ประชาชนท่ีมาเฝา้ บริเวณทปี่ ระทบั ๓. ปโทเส ภกิ ฺขุโอวาทํ ตอนคำ่ แสดงโอวาทแก่พระสงฆ์ ๔. อฑฒฺ รตเฺ ต เทวปญฺหนํ ตอนเทีย่ งคืนทรงตอบปัญหาแกพ่ วกเทวดา ๕. ปจจฺ ูเสว คเต กาเล ภพพฺ าภพฺเพ วโิ ลกนํ ตอนเช้ามดื จวนสวา่ ง ทรงตรวจพจิ ารณาสตั ว์โลกว่าผ้ใู ดมีอปุ นิสยั ที่จะบรรลุธรรมได้ (พ.ศ. หนา้ ๑๘๙ - ๑๙๐) พทุ ธคุณ คณุ ของพระพทุ ธเจ้า คอื ๑. ปํญญาคณุ (พระคุณ คอื ปญั ญา) ๒. วสิ ทุ ธิคณุ (พระคณุ คอื ความบรสิ ุทธิ)์ ๓. กรณุ าคณุ (พระคุณ คือ พระมหากรุณา) (พ.ศ. หน้า ๑๙๑) ภพ โลกเป็นท่ีอยูข่ องสัตว์ ภาวะชีวติ ของสัตว์ มี ๓ คือ ๑. กามภพ ภพของผู้ยังเสวยกามคุณ ๒. รปู ภพ ภพของ ผเู้ ขา้ ถงึ รูปฌาน ๓. อรปู ภพ ภพของผู้เขา้ ถึงอรปู ฌาน (พ.ศ. หน้า ๑๙๘) ภาวนา ๔ การเจริญ การทำใหม้ ีขึน้ การฝึกอบรม การพัฒนา แบง่ ออกเป็น ๔ ประเภท ได้แก่ ๑. กายภาวนา ๒. สลี ภาวนา ๓. จติ ตภาวนา ๔. ปัญญาภาวนา (พ.ธ. หนา้ ๘๑ – ๘๒) ภูมิ ๓๑ ๑.พนื้ เพ พืน้ ชั้น ท่ีดิน แผ่นดนิ ๒. ชนั้ แหง่ จติ ระดบั จิตใจ ระดับชีวติ มี ๓๑ ภมู ิ ได้แก่ อบายภมู ิ ๔ (ภูมิท่ีปราศจากความเจริญ) - นริ ยะ (นรก) – ตริ ัจฉานโยนิ (กำเนดิ ดิรจั ฉาน) – ปิตตวิ สิ ยั (แดน เปรต) - อสรุ กาย (พวกอสรู ) กามสุคตภิ มู ิ ๗ (กามาวจรภมู ิทเี่ ปน็ สคุ ติ ภมู ทิ ่ีเป็นสุคติซึ่งยังเกี่ยวขอ้ งกบั กาม) - มนษุ ย์ (ชาวมนษุ ย์) – จาตุมหาราชกิ า (สวรรคช์ ั้นทท่ี ้าวมหาราช ๔ ปกครอง) - ดาวดงึ ส์ (แดนแห่งเทพ ๓๓ มี ทา้ วสักกะเปน็ ใหญ่) -ยามา (แดนแหง่ เทพผปู้ ราศจากความทกุ ข์) - ดุสติ (แดนแหง่ ผ้เู อบิ อ่มิ ดว้ ยสริ สิ มบัตขิ องตน) - นมิ มานรดี (แดนแห่งเทพผูย้ ินดใี นการเนรมติ ) - ปรนิมมิตว สวัตตี (แดนแห่งเทพผยู้ ังอำนาจให้เปน็ ไปในสมบัติท่ีผอู้ น่ื นริ มิตให)้ (พ.ธ. หนา้ ๓๑๖-๓๑๗) โภคอาทยิ ะ ๕ ประโยชน์ที่ควรถือเอาจากโภคทรพั ย์ ในการที่จะมีหรือเหตุผลในการทจ่ี ะมีหรือครอบครองโภคทรพั ย์ ๑. เลีย้ ง ตัว มารดา บดิ า บุตร ภรรยา และคนในปกครองทงั้ หลายใหเ้ ป็นสุข ๒. บำรงุ มิตรสหายและรว่ มกิจกรรมการงานให้ เปน็ สุข ๓. ใช้ปอ้ งกนั ภยนั ตราย ๔. ทำพลี คือ ญาติพลี สงเคราะหญ์ าติ อตถิ พิ ลี ตอ้ นรบั แขก ปุพพเปตพลี ทำบญุ อทุ ศิ ให้ผลู้ ่วงลับ ราชพลี บำรุงราชการ เสียภาษี เทวตาพลี สกั การะบำรงุ สิง่ ที่เชือ่ ถอื ๕. อุปถัมภบ์ ำรงุ สมณพราหมณ์ ผู้ประพฤตชิ อบ (พ.ธ. หน้า ๒๐๒ -๒๐๓) มงคล สง่ิ ทีท่ ำให้มโี ชคดตี ามหลักพระพุทธศาสนา หมายถงึ ธรรมท่นี ำมาซ่งึ ความสุข ความเจรญิ มงคล ๓๘ ประการ หรือ เรยี กเต็มวา่ อดุ มมงคล (มงคลอันสงู สุด) ๓๘ ประการ (ดรู ายละเอียดมงคลสตู ร) (พ.ศ. หนา้ ๒๑๑)
193 มิจฉาวณิชชา ๕ การค้าขายทผี่ ดิ ศีลธรรมไม่ชอบธรรม มี ๕ ประการ คอื ๑. สตั ถวณิชชา คา้ อาวุธ ๒. สัตตวณชิ ชา คา้ มนษุ ย์ ๓. มงั สวณชิ ชา เลี้ยงสัตว์ไวข้ ายเนอื้ ๔. มชั ชวณชิ ชา ค้าขายนำ้ เมา ๕. วสิ วณชิ ชา คา้ ขายยาพษิ (พ.ศ. หนา้ ๒๓๓) มรรคมอี งค์ ๘ ข้อปฏบิ ตั ิให้ถึงความดับทุกข์ เรยี กเตม็ ว่า “อรยิ อัฏฐงั คกิ มรรค” ไดแ้ ก่ ๑. สมั มาทิฎฐิ เหน็ ชอบ ๒. สัมมาสังกัปปะ ดำรชิ อบ ๓. สมั มาวาจา เจรจาชอบ ๔. สัมมากมั มนั ตะ ทำการชอบ ๕. สัมมาอาชีวะ เล้ยี งชพี ชอบ ๖. สัมมาวายามะ เพียรชอบ ๗.สมั มาสติ ระลึกชอบ ๘. สมั มาสมาธิ ตั้งจติ มนั่ ชอบ (พ.ศ. หนา้ ๒๑๕) มจิ ฉัตตะ ๑๐ ภาวะท่ผี ดิ ความเป็นส่ิงทีผ่ ดิ ไดแ้ ก่ ๑. มจิ ฉทฏิ ฐิ (เห็นผดิ ได้แก่ ความเห็นผิดจากคลองธรรมตามหลักกศุ ล กรรมบถ และความเห็นทไี่ มน่ ำไปสู่ความพน้ ทกุ ข์) ๒. มจิ ฉาสังกปั ปะ (ดำริผิด ได้แก่ ความดำริทเี่ ป็นอกุศล ทง้ั หลาย ตรงขา้ มจากสมั มาสังกัปปะ) ๓. มิจฉาวาจา (วาจาผิด ไดแ้ ก่ วจที จุ รติ ๔) ๔. มิจฉากมั มนั ตะ (กระทำ ผดิ ได้แก่ กายทุจรติ ๓) ๕. มจิ ฉาอาชีวะ (เล้ียงชีพผิด ได้แก่ เลี้ยงชีพในทางทจุ รติ ) ๖. มิจฉาวายามะ (พยายาม ผดิ ไดแ้ ก่ ความเพียรตรงข้ามกบั สมั มาวายามะ) ๗. มิจฉาสติ (ระลกึ ผดิ ได้แก่ ความระลึกถึง เรื่องราวทล่ี ่วงแล้ว เชน่ ระลึกถึงการได้ทรพั ย์ การไดย้ ศ เป็นต้น ในทางอกุศล อันจัดเป็นสตเิ ทยี ม) เปน็ เหตุชักนำ ใจใหเ้ กิดกิเลส มโี ลภะ มานะ อสสา มจั ฉรยิ ะ เปน็ ตน้ ๘. มจิ ฉาสมาธิ (ตงั้ ใจผิด ไดแ้ ก่ ต้ังจิตเพง่ เลง็ จดจ่อปกั ใจ แนว่ แน่ในกามราคะพยาบาท เปน็ ต้น หรือเจริญสมาธแิ ลว้ หลงเพลนิ ตดิ หมกมุ่น ตลอดจนนำไปใชผ้ ิดทาง ไม่ เปน็ ไปเพือ่ ญาณทสั สนะ และความหลดุ พ้น) ๙. มิจฉาญาณ (รผู้ ดิ ได้แก่ ความหลงผดิ ทแี่ สดงออกในการคดิ อุบายทำความชั่วและในการพจิ ารณาทบทวน วา่ ความชว่ั นน้ั ๆ ตนกระทำได้อย่างดีแลว้ เป็นต้น) ๑๐. มจิ ฉา วิมตุ ติ (พน้ ผดิ ได้แก่ ยงั ไมถ่ งึ วิมุตติ สำคัญวา่ ถึงวมิ ุตติ หรอื สำคญั ผดิ ในสงิ่ ทม่ี ใิ ช่วิมตุ ต)ิ (พ.ธ. หน้า ๓๒๒) มิตรปฏิรูป คนเทยี มมิตร มติ รเทียม มใิ ช่มติ รแท้ มี ๔ พวก ไดแ้ ก่ ๑. คนปอกลอก มลี กั ษณะ ๔ คือ ๑.๑ คดิ เอาไดฝ้ ่ายเดยี ว ๑.๒ ยอมเสียแต่น้อย โดยหวงั จะเอาใหม้ าก ๑.๓ ตวั เองมภี ยั จึงมาทำกิจของเพอ่ื น ๑.๔ คบเพอ่ื นเพราะ เห็นแก่ประโยชน์ของตัว ๒. คนดีแตพ่ ูด มีลกั ษณะ ๔ คือ ๒.๑ ดแี ตย่ กเรอ่ื งท่ผี า่ นมาแลว้ มาปราศรยั ๒.๒ ดีแต่ อ้างสงิ่ ท่ยี งั มดี ี แตอ่ า้ งสงิ่ ทยี่ งั ไมม่ ีมาปราศรยั ๒.๓ สงเคราะหด์ ว้ ยสิง่ ที่ไรป้ ระโยชน์ ๒.๔ เม่ือเพือ่ นมีกิจอา้ งแต่เหตขุ ัดข้อง ๓. คนหัวประจบมีลกั ษณะ ๔ คอื ๓.๑ จะทำชวั่ กค็ ล้อยตาม ๓.๒ จะทำดกี ็คลอ้ ยตาม ๓.๓ ตอ่ หนา้ สรรเสริญ ๓.๔ ลบั หลงั นินทา ๔. คนชวนฉิบหายมลี กั ษณะ ๔ ๔.๑ คอยเปน็ เพอ่ื นด่มื น้ำเมา ๔.๒ คอยเป็นเพื่อนเทย่ี วกลางคนื ๔.๓ คอยเป็นเพอื่ นเทยี่ วดกู ารเลน่ ๔.๔ คอยเปน็ เพ่อื นไปเล่นการพนนั (พ.ธ. หน้า ๑๕๔ – ๑๕๕) มิตรน้ำใจ ๑. เพอ่ื นมที ุกข์พลอยทกุ ขด์ ้วย ๒. เพือ่ นมสี ุขพลอยดใี จ ๓. เขาตเิ ตียนเพ่ือน ชว่ ยยับย้งั แกไ้ ขให้ ๔. เขา สรรเสรญิ เพ่ือน ชว่ ยพดู เสรมิ สนับสนนุ (พ.ศ. หนา้ ๒๓๔) รปู ๑. ส่งิ ที่ต้องสลายไปเพราะปัจจยั ต่าง ๆ อนั ขดั แยง้ สง่ิ ที่เปน็ รปู รา่ งพร้อมทงั้ ลักษณะอาการของมนั สว่ นร่างกาย จำแนกเป็น ๒๘ คือ มหาภูตรูป หรือธาตุ ๔ และอปุ าทายรปู ๒. อารมณท์ ร่ี ไู้ ด้ดว้ ยจักษุ สิง่ ท่ีปรากฏแกต่ า ขอ้ ๑ ในอารมณ์ ๖ หรอื อายตนะภายนอก ๓. ลกั ษณนามใชเ้ รียกพระภกิ ษุสามเณร เชน่ ภกิ ษรุ ูปหนงึ่ (พ.ศ. หนา้ ๒๕๓)
194 วัฏฏะ ๓ หรือไตรวฎั ฎ์ การวนเวยี น การเวียนเกดิ เวยี นตาย การเวียนว่ายตายเกดิ ความเวยี นเกดิ หรอื วนเวยี นดว้ ย อำนาจกิเลส กรรม และวบิ าก เช่น กเิ ลสเกดิ ขึ้นแล้วให้ทำกรรม เมือ่ ทำกรรมแลว้ ย่อมได้ผลของกรรม เม่อื ไดร้ บั ผลของกรรมแล้ว กิเลสกเ็ กิดอกี แล้ว ทำกรรมแล้วเสวยผลกรรมหมุนเวียนตอ่ ไป (พ.ธ. หนา้ ๒๖๖) วาสนา อาการกายวาจา ท่ีเป็นลกั ษณะพิเศษของบุคคล ซง่ึ เกิดจากกเิ ลสบางอยา่ ง และไดส้ ัง่ สมอบรมมาเป็นเวลานานจน เคยชินตดิ เปน็ พ้ืนประจำตัว แมจ้ ะละกเิ ลสน้ันได้แลว้ แตก่ อ็ าจจะละอาการกายวาจาท่เี คยชินไมไ่ ด้ เช่น คำพดู ตดิ ปาก อาการเดินทเี่ รว็ หรอื เดินตว้ มเต้ยี ม เปน็ ตน้ ท่านขยายความว่า วาสนา ท่เี ป็นกุศลกม็ ี เป็นอกศุ ลก็มี เปน็ อัพ ยากฤต คอื เป็นกลาง ๆ ไมด่ ไี มช่ ว่ั ก็มี ท่ีเป็นกศุ ลกบั อัพยากฤตนน้ั ไมต่ ้องละ แตท่ ี่เปน็ อกศุ ลซ่ึงควรจะละน้ัน แบง่ เป็น ๒ สว่ น คือ สว่ นที่จะเปน็ เหตใุ หเ้ ข้าถงึ อบายกบั ส่วนทีเ่ ป็นเหตุให้เกิดอาการแสดงออกทางกายวาจา แปลก ๆ ต่าง ๆ สว่ นแรก พระอรหนั ต์ทุกองคล์ ะได้ แต่สว่ นหลังพระพุทธเจ้าเท่าน้ันละได้ พระอรหันตอ์ น่ื ละไม่ได้ จงึ มคี ำกลา่ ววา่ พระพทุ ธเจา้ เท่านน้ั ละกิเลสท้งั หมดได้ พร้อมท้งั วาสนา; ในภาษาไทย คำวา่ วาสนามคี วามหมายเพี้ยน ไป กลายเปน็ อำนาจบุญเก่า หรอื กุศลทีท่ ำให้ได้รบั ลาภยศ (ไมม่ ใี น พ.ศ. ฉบบั ทพี่ ิมพเ์ ป็นเลม่ แตค่ น้ ได้จากแผ่น ซดี รี อม พ.ศ. ของสมาคมศษิ ย์เก่ามหาจุฬาฯ) วติ ก ความตรกึ ตริ กายยกจิตขึ้นสอู่ ารมณ์ การคดิ ความดำริ “ไทยใชว้ ่าเป็นหว่ งกังวล” แบง่ ออกเปน็ กศุ ลวติ ก ๓ และอกุศล วิตก ๓ (พ.ศ. หน้า ๒๗๓) วิบัติ ๔ ความบกพรอ่ งแห่งองค์ประกอบตา่ ง ๆ ซง่ึ ไมอ่ ำนวยแกก่ ารที่กรรมดจี ะปรากฏผล แตก่ ลับเปดิ ชอ่ งใหก้ รรมชว่ั แสดงผล พดู ส้ัน ๆ ว่าสว่ นประกอบบกพรอ่ ง เปดิ ชอ่ งใหก้ รรมช่ัววิบตั ิมี ๔ คอื ๑. คตวิ บิ ัติ วบิ ัตแิ ห่งคติ หรอื คติ เสีย คอื เกิดอย่ใู นภพ ภมู ิ ถน่ิ ประเทศ สภาพแวดลอ้ มท่ีไม่เหมาะ ไมเ่ ก้อื กลู ทางดำเนนิ ชีวติ ถนิ่ ทไ่ี ปไม่อำนวย ๒. อปุ ธวิ ิบัติ วบิ ตั แิ หง่ รา่ งกาย หรอื รปู กายเสีย เชน่ ร่างกายพกิ ลพกิ าร ออ่ นแอ ไม่สวยงาม กริ ยิ าทา่ ทางน่าเกลยี ด ไม่ ชวนชมตลอดจนสขุ ภาพทไี่ ม่ดี เจบ็ ป่วย มีโรคมาก ๓. กาลวิบตั ิ วิบตั ิแหง่ กาลหรอื หรอื กาลเสยี คอื เกดิ อยใู่ นยคุ สมยั ทบ่ี ้านเมอื งมภี ยั พิบัตไิ ม่สงบเรียบร้อย ผูป้ กครองไม่ดี สังคมเส่ือมจากศลี ธรรม มากด้วยการเบยี ดเบียน ยกยอ่ งคน ชว่ั บบี ค้ันคนดี ตลอดจนทำอะไรไมถ่ กู าลเวลา ไมถ่ ูกจงั หวะ ๔. ปโยควิบัติ วิบตั ิแหง่ การประกอบ หรือกิจการเสีย เชน่ ฝกั ใฝใ่ นกิจการหรือเร่อื งราวที่ผดิ ทำการไมต่ รงตามความถนดั ความสามารถ ใชค้ วามเพยี ร ไม่ถกู ต้อง ทำการครึ่ง ๆ กลาง ๆ เปน็ ตน้ (พ.ธ. หนา้ ๑๖๐- ๑๖๑) วิปัสสนาญาณ ๙ ญาณในวิปัสสนา ญาณทีน่ ับเขา้ ในวปิ ัสสนา เปน็ ความรทู้ ที่ ำให้เกดิ ความเหน็ แจ้ง เขา้ ใจสภาวะของสิ่ง ท้งั หลายตามเปน็ จริง ไดแ้ ก่ ๑. อุทยพั พยานุปัสสนาณาณ คือ ญาณอันตามเหน็ ความเกดิ และดบั ของ เบญจขนั ธ์ ๒. ภงั คานุปัสสนาญาณ คือ ญาณอันตามเหน็ ความสลาย เมือ่ เกิดดับก็คำนงึ เด่นชดั ในส่วนดบั ของ สงั ขารทั้งหลาย ตอ้ งแตกสลายทัง้ หมด ๓. ภยตปู ัฏฐานญาณ คือ ณาณอนั มองเหน็ สงั ขาร ปรากฏเป็นของน่า กลวั ๔. อาทีนวานปุ ัสสนาญาณ คอื ญาณอันคำนงึ เหน็ โทษของสังขารทั้งหลาย วา่ เปน็ โทษบกพรอ่ งเป็นทกุ ข์ ๕. นพิ พิทานุปสั สนาญาณ คอื ญาณอันคำนงึ เห็นความหน่ายของสงั ขาร ไม่เพลินเพลนิ ติดใจ ๖. มุญจติ กุ ัมยตา ญาณ คอื ญาณอันคำนึงดว้ ย ใครพ่ ้นไปเสีย คือ หน่ายสงั ขารทั้งหลาย ปรารถนาทจี่ ะพ้นไปเสีย ๗. ปฏิสัง ขานปุ สั สนาญาณ คือ ญาณอันคำนงึ พจิ ารณาหาทาง เมือ่ ตอ้ งการจะพน้ ไปเสีย เพือ่ มองหาอุบายจะปลดเปล้อื ง ออกไป ๘. สงั ขารเุ ปกขาณาณ คือ ญาณอันเปน็ ไปโดยความเป็นกลางต่อสังขาร คอื พจิ ารณาสงั ขารไม่ ยนิ ดยี นิ ร้ายในสังขารทั้งหลาย ๙. สจั จานุโลมกิ ญาณ หรอื อนโุ ลมญาณ คือ ณาณอนั เปน็ ไปโดยอนโุ ลกแก่การ หยัง่ รู้อริยสัจ แลว้ แล้วมรรคญาณให้สำเรจ็ ความเปน็ อรยิ บคุ คลตอ่ ไป (พ.ศ. หน้า ๒๗๖ – ๒๗๗)
195 วมิ ตุ ติ ๕ ความหลดุ พ้น ภาวะไร้กเิ ลส และไม่มที กุ ข์ มี ๕ ประการ คือ ๑. วิกขมั ภนวิมุตติ ดบั โดยข่มไว้ คอื ดบั กเิ ลส ๒. ตทังควมิ ตุ ติ ดับกิเลสดว้ ยธรรมทเ่ี ป็นคปู่ รับธรรมทตี่ รงกันขา้ ม ๓. สมจุ เฉทวมิ ุตติ ดบั ดว้ ยตดั ขาด ดบั กิเลส เสร็จสิ้นเด็ดขาด ๔. ปฏปิ ัสสัทธิวมิ ุตติ ดับดว้ ยสงบระงับ โดยอาศยั โลกตุ ตรมรรคดับกิเลส ๕. นสิ รณวิมุตติ ดับดว้ ยสงบระงับ คือ อาศัยโลกตุ ตรธรรมดับกิเลสเดด็ ขาดเสร็จสนิ้ (พ.ธ. หน้า ๑๙๔) โลกบาลธรรม ธรรมคุ้มครองโลก ได้แก่ ปกครองควบคุมใจมนษุ ยไ์ ว้ใหอ้ ยูใ่ นความดี มใิ ห้ละเมดิ ศลี ธรรม และให้อยกู่ นั ด้วย ความเรยี บรอ้ ยสงบสขุ ไมเ่ ดอื ดรอ้ นสับสนว่นุ วาย มี ๒ อยา่ งไดแ้ ก่ ๑. หริ ิ ความอายบาป ละอายใจตอ่ การทำความชวั่ ๒. โอตตปั ปะ ความกลวั บาปเกรงกลัวตอ่ ความชว่ั และผลของกรรมชัว่ (พ.ศ. หน้า ๒๖๐) ฤาษี หมายถงึ ผูแ้ สวงธรรม ได้แก่ นกั บวชนอกพระศาสนาซึง่ อยใู่ นป่า ชีไพร ผแู้ ตง่ คมั ภีรพ์ ระเวท (พ.ศ. หน้า ๒๕๖) สตปิ ัฏฐาน ๔ ทีต่ ัง้ ของสติ การต้งั สติกำหนดพจิ ารณาสิง่ ท้ังหลายให้รู้เหน็ ตามความเป็นจรงิ คือ ตามส่งิ นัน้ ๆ มนั เป็นของ มันเอง มี ๔ ประการ คอื ๑. กายานุปัสสนาสติปฏั ฐาน (การตง้ั สตกิ ำหนดพจิ ารณากายใหร้ ูเ้ หน็ ตามเป็นจริงวา่ เป็นแตเ่ พียงกาย ไมใ่ ช่สัตว์ บคุ คล ตวั ตนเราเขา) ทา่ นจำแนกวธิ ีปฏบิ ตั ิไดห้ ลายอย่าง คอื อานาปานสติ กำหนดลมหายใจ ๑ อริ ยิ าบถ กำหนดรทู้ นั อริ ิยาบถ ๑) สมั ปชญั ญะ สรา้ งสมั ปชญั ญะในการกระทำความเคลอ่ื นไหวทกุ อย่าง ๑) ปฏกิ ลู มนสกิ าร พจิ ารณาส่วนประกอบอนั ไมส่ ะอาดทั้งหลายที่ประชมุ เขา้ เป็นรา่ งกายนี้ ๑) ธาตุมนสิการ พิจารณาเหน็ ร่างกายของตน โดยสกั วา่ เป็นธาตุแตล่ ะอย่างๆ ๒. เวทนานปุ สั สาสตปิ ัฏฐาน (การตง้ั สตกิ ำหนดพจิ ารณาเวทนาใหร้ เู้ ห็นตามเป็นจริงวา่ เปน็ แตเ่ พยี งเวทนา ไมใ่ ช่ สตั ว์บุคคลตวั ตนเราเขา) คือ มีสติรชู้ ดั เวทนาอันเป็นสขุ กด็ ี ทุกขก์ ็ดี เฉย ๆ กด็ ี ท้งั ที่เปน็ สามิสและเป็นนริ ามิสตามทเี่ ปน็ ไปอยู่ขณะนน้ั ๆ ๓. จติ ตานปุ สั สนาสตปิ ฏั ฐาน (การตั้งสตกิ ำหนดพจิ ารณาจิต ให้รูเ้ ห็นตามเป็นจริงวา่ เปน็ แต่เพียงจติ ไมใ่ ช่สตั ว์ บุคคลตัวตนเราเขา) คือ มีสตริ ูช้ ดั จิตของตนท่มี รี าคะ ไมม่ รี าคะ มโี ทสะ ไมม่ โี ทสะ มีโมหะ ไม่มโี มหะ เศรา้ หมองหรอื ผ่องแผว้ ฟุ้งซ่านหรอื เปน็ สมาธิ ฯลฯ อยา่ งไร ๆ ตามทีเ่ ปน็ ไปอย่ใู นขณะนน้ั ๆ ๔. ธัมมานปุ สั สนาสติปัฏฐาน (การตงั้ สตกิ ำหนดพจิ ารณาธรรม ใหร้ ู้เหน็ ตามเปน็ จรงิ ว่า เปน็ แตเ่ พยี งธรรม ไม่ใช่ สัตวบ์ คุ คลตวั ตนของเรา) คือ มีสติร้ชู ดั ธรรมทัง้ หลาย ได้แก่ นิวรณ์ ๕ ขนั ธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ โพชฌงค์ ๗ อรยิ สจั ๔ วา่ คืออะไร เปน็ อยา่ งไร มใี นตนหรือไม่ เกิดข้นึ เจริญบริบูรณแ์ ละดับไดอ้ ย่างไร เปน็ ต้น ตามทเี่ ปน็ จรงิ ของมนั อย่างน้ัน ๆ (พ.ธ. หน้า ๑๖๕) สมณะ หมายถึง ผสู้ งบ หมายถงึ นกั บวชทว่ั ไป แต่ในพระพุทธศาสนา ท่านใหค้ วามหมายจำเพาะ หมายถงึ ผรู้ ะดบั บาป ไดแ้ ก่ พระอรยิ บุคคล และผู้ปฏบิ ตั เิ พ่อื ระงบั บาป ได้แก่ ผู้ปฏบิ ัติธรรมเพื่อเปน็ พระอรยิ บคุ คล (พ.ศ. หน้า ๒๙๙) สมบตั ิ ๔ คอื ความเพยี บพร้อมสมบรู ณ์แหง่ องคป์ ระกอบต่าง ๆ ซง่ึ ช่วยเสรมิ ส่งอำนวยโอกาสให้กรรมดปี รากฏผล และไม่ เปดิ ช่องใหก้ รรมชว่ั แสดงผล มี ๔ อยา่ ง คอื ๑. คตสิ มบตั ิ สมบตั แิ หง่ คติ ถงึ พรอ้ มดว้ ยคติ หรอื คติให้ คอื เกิดอยู่ ในภพ ภมู ิ ถนิ่ ประเทศทเ่ี จริญ เหมาะหรือเกื้อกูล ตลอดจนในระยะสั้นคือ ดำเนนิ ชีวิตหรือไปในถิน่ ท่ีอำนวย ๒. อปุ ธสิ มบัติ สมบตั ิแห่งรา่ งกาย ถงึ พร้อมด้วยร่างกาย คอื มรี ปู ร่างสวย รา่ งกายสง่างาม หน้าตาทา่ ทางดี นา่ รัก นา่ นยิ มเลอ่ื มใส สขุ ภาพดี แขง็ แรง ๓. กาลสมบตั ิ สมบัตแิ ห่งกาล ถึงพร้อมดว้ ยกาลหรือกาลให้ คอื เกดิ อยู่ในสมยั ที่ บา้ นเมืองมคี วามสงบสขุ ผ้ปู กครองดี ผูค้ นมคี ณุ ธรรมยกยอ่ งคนดี ไม่ส่งเสรมิ คนช่ัว ตลอดจนในระยะเวลาสนั้ คือ
196 ทำอะไรถูกกาลเวลา ถกู จังหวะ ๔. ปโยคสมบตั ิ สมบตั แิ หง่ การประกอบ ถงึ พร้อมด้วยการประกอบกิจ หรอื กจิ การให้ เชน่ ทำเรื่องตรงกบั ท่เี ขาตอ้ งการ ทำกจิ ตรงกับความถนัดความสามารถของตน ทำการถงึ ขนาดถูกหลัก ครบถ้วน ตามเกณฑ์หรอื เตม็ อัตรา ไมใ่ ชท่ ำคร่ึง ๆ กลาง ๆ หรอื เหยาะแหยะ หรอื ไมถ่ กู เรื่องกนั รจู้ ักจัดทำ รู้จกั ดำเนินการ (พ.ธ. หน้า ๑๖๑ – ๑๖๒) สมาบัติ ภาวะสงบประณีตซึง่ พ่งึ เขา้ ถงึ ; สมาบตั ิมหี ลายอยา่ ง เชน่ ณานสมบัติ ผลสมาบตั ิ อนุปุพพวิหารสมาบัติ (พ.ศ. หนา้ ๓๐๓) สติ ความระลึกได้ นกึ ได้ ความไม่เผลอ การคมุ ใจไดก้ ับกจิ หรอื คมุ จติ ใจไวก้ บั สง่ิ ท่ีเกย่ี วข้อง จำการทที ำและคำพดู แมน้ านได้ (พ.ศ. หน้า ๓๒๗) สงั ฆคุณ ๙ คณุ ของพระสงฆ์ ๑. พระสงฆ์สาวกของพระผูม้ ีพระภาคเปน็ ผูป้ ฏิบัติดี ๒. เป็นผปู้ ฏบิ ัตติ รง ๓. เป็นผู้ ปฏิบัติถูกทาง ๔. เป็นผู้ปฏิบตั ิสมควร ๕. เปน็ ผู้ควรแกก่ ารคำนบั คอื ควรกบั ของท่ีเขานำมาถวาย ๖. เป็นผู้ ควรแก่การตอนรับ ๗. เป็นผู้ควรแกท่ ักษิณา ควรแกข่ องทำบญุ ๘. เป็นผคู้ วรแกก่ ารกระทำอญั ชลี ควรแกก่ าร กราบไหว้ ๙. เป็นนาบุญอนั ยอดเย่ียมของโลก เปน็ แหล่งปลกู ฝงั และเผยแพร่ความดีท่ียอดเย่ียมของโลก(พ.ธ. หนา้ ๒๖๕-๒๖๖) สังเวชนียสถาน สถานทตี่ ั้งแห่งความสงั เวช ทที่ ีใ่ หเ้ กดิ ความสงั เวช มี ๔ คอื ๑. ทพ่ี ระพุทธเจ้าประสตู ิ คือ อทุ ยานลมุ พินี ปัจจุบนั เรียกลมุ พนิ ีหรือรุมมนิ เด (Lumbini หรือ Rummindei) ๒. ทพี่ ระพทุ ธเจ้า ตรสั รู้ คอื ควงโพธิ์ ทีต่ ำบลพุทธคยา (Buddha Gaya หรอื Bodh – Gaya) ๓. ทพี่ ระพุทธเจา้ แสดงปฐมเทศนา คอื ปา่ อิสิปตนมฤคทายวนั แขวงเมอื งพาราณสี ปัจจุบันเรยี กสารนาถ ๔. ทพี่ ระพุทธเจา้ ปรนิ พิ พาน คือทส่ี าลวโน ทยาน เมืองกสุ นิ ารา หรอื กุสินคร บัดน้ีเรยี กกาเซีย (Kasia หรอื Kusinagara) (พ.ศ. หนา้ ๓๑๗) สันโดษ ความยนิ ดี ความพอใจ ยนิ ดีดว้ ยปจั จยั ๔ คอื ผา้ น่งุ หม่ อาหารทน่ี อนทนี่ ง่ั และยาตามมีตามได้ ยนิ ดีของของตน การมคี วามสุข ความพอใจด้วยเคร่อื งเลีย้ งชพี ท่ีหามาได้ดว้ ยเพียรพยายามอันชอบธรรมของตน ไมโ่ ลภ ไมร่ ษิ ยา ใคร (พ.ศ. หนา้ ๓๒๔) สันโดษ ๓ ๑. ยถาลาภสนั โดษ ยินดีตามทีไ่ ด้ คอื ไดส้ ่งิ ใดมาดว้ ยความเพียรของตน กพ็ อใจด้วยส่ิงนนั้ ไมไ่ ดเ้ ดือดร้อน เพราะของทไ่ี ม่ได้ ไมเ่ พง่ เล็งอยากได้ของคนอ่ืนไม่รษิ ยาเขา ๒. ยถาพลสันโดษ คือ ยินดตี ามกำลัง คือ พอใจเพียง แคพ่ อแก่กำลงั รา่ งกาย สขุ ภาพ และขอบเขตการใช้สอยของตน ของทเี่ กินกำลังก็ไมห่ วงแหนเสียดายไม่เกบ็ ไวใ้ ห้ เสยี เปลา่ หรอื ฝนื ใช้ให้เป็นโทษแกต่ น ๓. ยถาสารุปปสนั โดษ ยนิ ดีตามสมควร คือ พอใจตามทส่ี มควร คอื พอใจ ตามทส่ี มควรแกภ่ าวะฐานะแนวทางชีวิต และจุดหมายแห่งการบำเพญ็ กิจของตน เช่น ภิกษพุ อใจแต่องอันเหมาะ กบั สมณภาวะ หรอื ไดข้ องใช้ทีไ่ ม่เหมาะสมกบั ตนแตจ่ ะมีประโยชน์แกผ่ อู้ ืน่ ก็นำไปมอบให้แกเ่ ขา เป็นต้น (พ.ศ. หน้า ๓๒๔) สัทธรรม ๓ ธรรมอนั ดี ธรรมทแ่ี ท้ ธรรมของสตั บุรุษ หลกั หรือแกน่ ศาสนา มี ๓ ประการ ไดแ้ ก่ ๑. ปริยตั ิสทั ธรรม (สัทธรรมคือคำสง่ั สอนอนั จะต้องเลา่ เรียน ไดแ้ ก่ พทุ ธพจน)์ ๒. ปฏบิ ตั ิสัทธรรม (สัทธรรมคือสิ่งพงึ ปฏบิ ตั ิ ได้แก่ ไตรสิกขา คอื ศีล สมาธิ ปญั ญา) ๓. ปฏเิ วธสัทธรรม (สัทธรรมคอื ผลอนั จะพงึ เข้าถึง หรือบรรลุดว้ ยการปฏบิ ตั ิ ได้แก่ มรรค ผล และนพิ พาน (พ.ธ. หนา้ ๑๒๕) สปั ปุริสธรรม ๗ ธรรมของสตั บุรษุ ธรรมท่ีทำใหเ้ ป็นสตั บรุ ุษ คณุ สมบัตขิ องคนดี ธรรมของผู้ดี ๑. ธมั มญั ญุตา คอื ความรจู้ กั เหตุ คือ รูห้ ลักความจรงิ ๒. อตั ถญั ญตุ า คอื ความรู้จักผล คือรู้ความ มุ่งหมาย ๓. อตั ตัญญตุ า คอื ความรจู้ กั ตน คือ รวู้ ่าเราน้ันว่าโดยฐานะ ภาวะ เพศ กำลงั ความรู้ ความสามารถ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215