๔๗ ช้นั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นร้แู กนกลางเฉพาะความพกิ าร ม.๒ ๑. อธบิ ายและปฏิบตั ติ นตามกฎหมายท่ี กฎหมายทเี่ กย่ี วข้องกับตนเอง ครอบครวั เกี่ยวขอ้ งกบั ตนเอง ครอบครัว ชุมชนและ เชน่ - กฎหมายเก่ียวกบั ความสามารถของ ประเทศ ผเู้ ยาว์ - กฎหมายบตั รประจำตวั ประชาชน - กฎหมายเพ่งเก่ยี วกับครอบครัวและ มรดก เชน่ การหมั้น การสมรส การรบั รองบุตร การรับบุตรบญุ ธรรม และมรดก กฎหมายทีเ่ กีย่ วกบั ชมุ ชนและประเทศ - กฎหมายเกีย่ วกับการอนุรักษ์ธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ ม - กฎหมายเกยี่ วกบั ภาษอี ากร และกรอก แบบแสดงรายการ ภาษเี งนิ ไดบ้ ุคคล ธรรมดา - กฎหมายแรงงาน ๒. เหน็ คุณค่าในการปฏบิ ัตติ นตาม สถานภาพ บทบาท สทิ ธิ เสรีภาพ สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรภี าพ หนา้ ที่ หน้าทใ่ี นฐานะพลเมอื งดตี ามวิถี ในฐานะพลเมอื งดตี ามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย ประชาธปิ ไตย ๓. วเิ คราะห์บทบาท ความสำคัญ และ แนวทางส่งเสริมใหป้ ฏิบัตติ นเป็น ความสัมพนั ธ์ของสถาบนั ทางสงั คม พลเมืองดตี ามวถิ ปี ระชาธิปไตย ๔.อธิบายความคล้ายคลงึ และความ บทบาท ความสำคญั และความสัมพันธ์ แตกตา่ งของวฒั นธรรมไทย และ ของสถาบันทางสงั คม เช่น สถาบัน วัฒนธรรมของประเทศในภมู ภิ าคเอเชยี ครอบครัว สถาบันการศกึ ษา สถาบนั เพอื่ นำไปสคู่ วามเข้าใจอนั ดรี ะหวา่ งกนั ศาสนา สถาบันเศรษฐกจิ สถาบัน ทางการเมอื งการปกครอง ความคล้ายคลงึ และความแตกตา่ งของ วัฒนธรรมไทย และวฒั นธรรมของ ประเทศในภูมิภาคเอเชียวัฒนธรรม เปน็ ปจั จัยสำคัญในการสรา้ งความเขา้ ใจ อันดีระหวา่ งกัน
๔๘ ช้นั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลางเฉพาะความพิการ ม.๓ ๑. อธิบายความแตกตา่ งของการกระทำ ลักษณะการกระทำความผดิ ทางอาญา ความผิดระหวา่ งคดอี าญาและคดแี พ่ง และโทษ ลกั ษณะการกระทำความผดิ ทางแพ่ง และโทษ ๒. มสี ่วนรว่ มในการปกป้องค้มุ ครองผ้อู ื่น ตวั อยา่ งการกระทำความผดิ ทางอาญา เชน่ ความผิดเก่ยี วกับทรพั ย์ ตวั อย่างการทำความผดิ ทางแพง่ เชน่ การทำผดิ สัญญา การทำละเมดิ ความหมาย และความสำคัญของสิทธิ ตามหลกั สิทธิมนุษยชน มนุษยชน การมีสว่ นรว่ มคมุ้ ครองสทิ ธิมนษุ ยชน ตามรัฐธรรมนูญ แหง่ ราชอาณาจักรไทย ตามวาระและโอกาสทีเ่ หมาะสม ๓. อนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมไทยและเลอื กรบั ความสำคญั ของวัฒนธรรมไทย วฒั นธรรมสากลท่เี หมาะสม ภมู ิปญั ญาไทยและวัฒนธรรมสากล การอนรุ ักษว์ ฒั นธรรมไทยและ ภูมปิ ัญญาไทยทเ่ี หมาะสม การเลือกรบั วฒั นธรรมสากลทเ่ี หมาะสม ๔. วเิ คราะห์ปจั จัยที่กอ่ ใหเ้ กดิ ปญั หาความ ปัจจยั ท่กี อ่ ใหเ้ กดิ ความขดั แยง้ เช่น ขัดแย้งในประเทศ และเสนอแนวคดิ ใน การเมอื ง การปกครอง เศรษฐกิจ การลดความขดั แยง้ สังคม ความเช่อื สาเหตุปัญหาทางสงั คม เช่น ปัญหา สง่ิ แวดลอ้ ม ปญั หายาเสพติด ปญั หา การทจุ รติ ปญั หาอาชญากรรม ฯลฯ แนวทางความรว่ มมอื ในการลดความ ขดั แย้งและการสรา้ งความสมานฉนั ท์
๔๙ ชน้ั ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลางเฉพาะความพิการ ๕. เสนอแนวคดิ ในการดำรงชวี ติ อย่างมี ปัจจัยท่สี ่งเสรมิ การดำรงชวี ิตให้มี ความสขุ ในประเทศและสังคมโลก ความสขุ เช่น การอยรู่ ่วมกันอย่างมี ขันตธิ รรม หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เหน็ คณุ คา่ ในตนเอง รจุ้ กั มอง โลกในแงด่ ี สรา้ งทักษะทางอารมณ์ รู้จกั บริโภคดว้ ยปญั ญา เลอื กรบั -ปฏเิ สธขา่ ว และวัตถุตา่ งๆ ปรับปรงุ ตนเองและส่ิง ตา่ งๆใหด้ ขี ึน้ อยู่เสมอ ม.๔-ม.๖ ๑. วเิ คราะหแ์ ละปฏิบัติตนตามกฎหมายที่ กฎหมายเพง่ เก่ียวกบั นติ ิกรรมสญั ญา เช่น เก่ียวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน ซื้อขาย ขายฝาก เช่าทรพั ย์ เชา่ ซื้อ กยู้ มื ประเทศชาติ และสังคมโลก เงนิ จำนำ จำนอง กฎหมายอาญา เชน่ ความผดิ เก่ียวกบั ทรัพย์ความผดิ เก่ียวกบั ชวี ิตและรา่ งกาย กฎหมายอ่ืนทีส่ ำคญั เชน่ รฐั ธรรมนูญ แหง่ ราชอาณาจกั รไทยฉบับปจั จุบัน กฎหมายการรับราชการทหาร กฎหมาย ภาษอี ากร กฎหมายคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค ข้อตกลงระหวา่ งประเทศ เช่น ปฏิญญา สากลวา่ ดว้ ยสิทธิมนุษยชน กฎหมาย มนษุ ยธรรมระหวา่ งประเทศ ๒. วเิ คราะหค์ วามสำคญั ของโครงสร้าง โครงสรา้ งทางสังคม ทางสังคม การขัดเกลาทางสงั คม และ - การจัดระเบียบทางสังคม การเปลีย่ นแปลงทางสงั คม - สถาบันทางสังคม การขัดเกลาทางสังคม การเปลย่ี นแปลงทางสังคม การแกป้ ญั หาและแนวทางการพฒั นา ทางสังคม ๓. ปฏิบัติตนและมีสว่ นสนับสนุนให้ผอู้ ืน่ คุณลกั ษณะพลเมืองดีของประเทศชาติ ประพฤตปิ ฏบิ ัตเิ พือ่ เปน็ พลเมอื งดขี อง และสังคมโลก เชน่ ประเทศชาติ และสงั คมโลก - เคารพกฎหมาย และกตกิ าสงั คม - เคารพสทิ ธิ เสรภี าพของตนเองและ บคุ คลอนื่ - มีเหตผุ ล รบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผอู้ ื่น
๕๐ ช้ัน ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลางเฉพาะความพกิ าร - มีความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเอง สงั คม ชมุ ชน ประเทศชาติและสังคม - เข้ารว่ มกจิ กรรมทางการเมอื ง การปกครอง - มีสว่ นรว่ มในการป้องกนั แก้ไข ปญั หาเศรษฐกจิ สงั คม การเมอื งการปกครอง ส่ิงแวดลอ้ ม - มีคุณธรรมจริยธรรม ใชเ้ ป็น ตวั กำหนดความคิด ๔. ประเมินสถานการณส์ ทิ ธิมนษุ ยชนใน ความหมาย ความสำคญั แนวคดิ และ ประเทศไทย และเสนอแนวทางพัฒนา หลักการของสทิ ธิมนุษยชน บทบาทขององคก์ รระหวา่ งประเทศ ในเวทีโลกทมี่ ีผลต่อประทศไทย สาระสำคญั ของปฏญิ ญาสากลวา่ ด้วยสทิ ธิ มนษุ ยชน บทบัญญัตขิ องรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย ฉบบั ปจั จบุ นั เกี่ยวกับสทิ ธมิ นุษยชน ปญั หาสทิ ธิมนุษยชนในประเทศ และแนวทางแกป้ ัญหาและพฒั นา ๕. วเิ คราะหค์ วามจำเป็นทีต่ ้องมกี าร ความหมายและความสำคญั ของวฒั นธรรม ปรับปรงุ เปลยี่ นแปลงและอนรุ กั ษ์ ลักษณะและ ความสำคัญของวฒั นธรรมไทย วัฒนธรรมไทยและเลอื กรับวัฒนธรรม สากล ท่ีสำคัญ การปรบั ปรุงเปลย่ี นแปลงและอนรุ ักษ์ วัฒนธรรมไทย ความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกบั วฒั นธรรมสากล แนวทางการอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมไทย ที่ ดงี าม วิธกี ารเลอื กรับวฒั นธรรมสากล
๕๑ สาระที่ ๒ หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง วัฒนธรรม และการดำเนนิ ชวี ติ ในสังคม มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมอื งการปกครองในสังคมปจั จบุ ัน ยดึ มัน่ ศรทั ธาและธำรงรักษา ไวซ้ งึ่ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุข ช้ัน ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลางเฉพาะความพิการ ป.๑ ๑. บอกโครงสรา้ ง บทบาทและหนา้ ทีข่ อง โครงสรา้ งของครอบครวั และความสัมพนั ธ์ สมาชกิ ในครอบครวั และโรงเรยี น ของบทบาท หน้าทข่ี องสมาชกิ ในครอบครวั โครงสรา้ งของโรงเรียน ความสัมพนั ธข์ อง บทบาท หนา้ ทีข่ องสมาชกิ ในโรงเรียน ๒. ระบุบทบาท สทิ ธิ หน้าทข่ี องตนเองใน ความหมายและความแตกตา่ งของอำนาจ ครอบครัวและโรงเรียน ตามบทบาท สิทธิ หนา้ ทใี่ นครอบครัวและ โรงเรียน การใช้อำนาจในครอบครวั ตามบทบาท สิทธิหน้าที่ ๓. มสี ่วนรว่ มในการตัดสนิ ใจและทำ กจิ กรรมตามกระบวนการประชาธิปไตยใน กิจกรรมในครอบครวั และโรงเรยี นตาม ครอบครวั เช่น การแบง่ หนา้ ท่คี วาม กระบวนการประชาธิปไตย รบั ผิดชอบในครอบครวั การรับฟังและ แสดงความคดิ เห็น กิจกรรมตามกระบวนการประชาธิปไตยใน โรงเรียน เชน่ เลอื กหัวหน้าห้อง ประธาน ชุมนุม ประธานนกั เรยี น ป.๒ ๑. อธบิ ายความสมั พันธข์ องตนเอง และ ความสมั พนั ธ์ของตนเอง และสมาชิกใน สมาชกิ ในครอบครวั ในฐานะเปน็ ส่วนหนง่ึ ครอบครวั กับชุมชน เชน่ การช่วยเหลอื ของชมุ ชน กิจกรรมของชุมชน ๒. ระบผุ มู้ บี ทบาท อำนาจในการตดั สินใจ ผ้มู บี ทบาท อำนาจในการตัดสนิ ใจ ในโรงเรียน และชมุ ชน ในโรงเรียน และชมุ ชน เช่น ผู้บริหาร สถานศึกษา ผนู้ ำทอ้ งถน่ิ กำนนั ผใู้ หญ่บา้ น ป.๓ ๑. ระบุบทบาทหน้าท่ขี องสมาชกิ ของ บทบาทหน้าที่ของสมาชกิ ในชุมชน ชุมชนในการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง การมีสว่ นรว่ มในกิจกรรมต่าง ๆ ตาม ๆ ตามกระบวนการประชาธปิ ไตย กระบวนการประชาธปิ ไตย
๕๒ ชัน้ ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นร้แู กนกลางเฉพาะความพิการ ๒. วเิ คราะหค์ วามแตกตา่ งของ การออกเสียงโดยตรงและการเลอื กตวั แทน กระบวนการการตดั สนิ ใจในช้ันเรยี น/ ออกเสียง โรงเรยี นและชมุ ชนโดยวธิ ีการออกเสยี ง โดยตรงและการเลือกตวั แทนออกเสยี ง ๓. ยกตวั อยา่ งการเปล่ยี นแปลงในชัน้ การตดั สนิ ใจของบคุ คลและกลมุ่ ทีม่ ผี ลต่อ เรยี น/โรงเรียนและชุมชนทเี่ ปน็ ผลจากการ การเปลีย่ นแปลงในชนั้ เรียน โรงเรยี น และ ตัดสนิ ใจของบคุ คลและกลมุ่ ชมุ ชน - การเปลยี่ นแปลงในชัน้ เรียน เช่น การเลือกหวั หน้าหอ้ ง การเลอื ก คณะกรรมการหอ้ งเรียน - การเปล่ยี นแปลงในโรงเรยี น เชน่ เลือก ประธานนกั เรียน เลอื กคณะกรรมการ นักเรยี น การเปลย่ี นแปลงในชุมชน เช่น การเลือก ผ้ใู หญบ่ ้าน กำนัน สมาชกิ อบต. อบจ. ป.๔ ๑. อธบิ ายอำนาจอธปิ ไตยและความสำคญั อำนาจอธปิ ไตย ของระบอบประชาธปิ ไตย ความสำคญั ของการปกครองตามระบอบ ประชาธปิ ไตย ๒. อธบิ ายบทบาทหนา้ ทข่ี องพลเมอื งใน บทบาทหนา้ ทขี่ องพลเมอื งในกระบวนการ กระบวนการเลอื กต้งั เลอื กตง้ั ทั้งกอ่ นการเลอื กตัง้ ระหวา่ งการ เลือกตั้ง หลงั การเลอื กตง้ั ๓. อธบิ ายความสำคญั ของสถาบนั สถาบันพระมหากษตั รยิ ใ์ นสังคมไทย พระมหากษตั ริย์ตามระบอบประชาธิปไตย ความสำคญั ของสถาบันพระมหากษตั ริยใ์ น อันมพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข สังคมไทย ป.๕ ๑. อธบิ ายโครงสรา้ ง อำนาจ หนา้ ทแ่ี ละ โครงสรา้ งการปกครองในทอ้ งถ่ิน เชน่ ความสำคญั ของการปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ อบต. อบจ. เทศบาล และการปกครอง พเิ ศษ เชน่ พทั ยา กทม. อำนาจหน้าทีแ่ ละความสำคัญของ การปกครองสว่ นทอ้ งถิน่
๕๓ ชนั้ ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลางเฉพาะความพกิ าร ๒. ระบุบทบาทหน้าที่ และวิธีการเขา้ ดำรง บทบาทหนา้ ที่ และวธิ กี ารเข้าดำรงตำแหน่ง ตำแหน่งของผูบ้ ริหารทอ้ งถิ่น ของผู้บรหิ ารท้องถิ่น เช่นนายก อบต. นายกเทศมนตรี นายก อบจ. ผวู้ า่ ราชการ กทม. ๓. วิเคราะห์ประโยชนท์ ช่ี ุมชน จะไดร้ บั องคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ กบั บรกิ าร จากองคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ สาธารณประโยชนใ์ นชมุ ชน ป.๖ ๑. เปรยี บเทยี บบทบาท หนา้ ทข่ี อง บทบาท หน้าท่ี ขององคก์ รปกครองสว่ น องคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ และรัฐบาล ท้องถ่นิ และรฐั บาล ๒. มีสว่ นรว่ มในกจิ กรรมตา่ งๆ ทสี่ ง่ เสรมิ กจิ กรรมตา่ งๆ เพอื่ สง่ เสรมิ ประชาธิปไตย ประชาธิปไตยในทอ้ งถ่นิ และประเทศ ในท้องถิน่ และประเทศ ๓. อภปิ รายบทบาท ความสำคญั ในการใช้ การมสี ว่ นในการออกกฎหมาย ระเบยี บ สิทธิออกเสยี งเลือกตั้งตามระบอบ กติกา การเลอื กตง้ั ประชาธปิ ไตย สอดสอ่ งดแู ลผู้มีพฤตกิ รรมการกระทำผิด การเลอื กตั้ง และแจง้ ตอ่ เจ้าหน้าที่ ผรู้ ับผิดชอบ ตรวจสอบคณุ สมบตั ิ การใชส้ ทิ ธิออกเสยี งเลอื กตง้ั ตามระบอบ ประชาธปิ ไตย ม.๑ ๑. อธบิ ายหลกั การ เจตนารมณ์ หลกั การ เจตนารมณ์ โครงสรา้ ง และ โครงสรา้ ง และสาระสำคญั ของ สาระสำคญั ของรฐั ธรรมนญู แหง่ รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย ราชอาณาจกั รไทย ฉบบั ปัจจุบัน ฉบบั ปจั จบุ นั โดยสังเขป ๒. วเิ คราะหบ์ ทบาทการถว่ งดุลของ การแบ่งอำนาจ และการถว่ งดลุ อำนาจ อำนาจอธิปไตยในรฐั ธรรมนญู แห่ง อธิปไตยทั้ง ๓ ฝา่ ย คอื นติ ิบัญญัติ บริหาร ราชอาณาจกั รไทย ฉบับปจั จบุ ัน ตุลาการ ตามทรี่ ะบใุ นรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทยฉบบั ปัจจบุ นั ๓. ปฏิบัตติ นตามบทบัญญัติของ การปฏบิ ัตติ นตามบทบญั ญตั ิของ รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย ฉบบั รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทยฉบบั ปัจจุบันท่เี กี่ยวข้องกบั ตนเอง ปัจจบุ นั เก่ยี วกับสิทธิ เสรีภาพและหนา้ ที่
๕๔ ช้นั ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลางเฉพาะความพิการ ม.๒ ๑. อธบิ ายกระบวนการในการตรา กระบวนการในการตรากฎหมาย กฎหมาย - ผู้มีสิทธิเสนอร่างกฎหมาย - ขั้นตอนการตรากฎหมาย - การมีสว่ นร่วมของประชาชนใน กระบวนการตรากฎหมาย ๒. วเิ คราะหข์ อ้ มูล ขา่ วสารทางการเมอื ง เหตกุ ารณ์ และการเปลี่ยนแปลงสำคญั ของ การปกครองทมี่ ผี ลกระทบต่อสงั คมไทย ระบอบการปกครองของไทย สมยั ปัจจบุ นั หลักการเลือกข้อมลู ขา่ วสาร ม.๓ ๑. อธิบายระบอบการปกครองแบบต่างๆ ระบอบการปกครอง แบบตา่ งๆ ท่ีใช้ในยุค ทีใ่ ช้ในยคุ ปัจจุบัน ปจั จุบัน เชน่ การปกครองแบบ เผด็จการ การปกครองแบบประชาธปิ ไตย เกณฑก์ ารตดั สนิ ใจ ๒. วิเคราะห์ เปรยี บเทยี บระบอบการ ความแตกต่าง ความคลา้ ยคลึงของการ ปกครองของไทยกบั ประเทศอืน่ ๆ ท่ีมีการ ปกครองของไทย กบั ประเทศอื่นๆ ที่มี ปกครองระบอบประชาธปิ ไตย การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ๓. วิเคราะหร์ ัฐธรรมนญู ฉบบั ปจั จบุ ันใน บทบัญญตั ขิ องรัฐธรรมนญู ในมาตราตา่ งๆ มาตราตา่ งๆ ท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั การเลอื กตั้ง ท่เี กีย่ วขอ้ งกับการเลือกตง้ั การมีส่วนรว่ ม การมสี ว่ นร่วม และการตรวจสอบการใช้ และการตรวจสอบการใชอ้ ำนาจรัฐ อำนาจรัฐ อำนาจหนา้ ที่ของรฐั บาล บทบาทสำคัญของรฐั บาลในการบริหาร ราชการแผน่ ดนิ ความจำเป็นในการมรี ฐั บาลตามระบอบ ประชาธปิ ไตย ๔. วิเคราะห์ประเดน็ ปญั หาที่เป็น ประเด็น ปัญหาและผลกระทบท่เี ป็น อปุ สรรคต่อการพฒั นาประชาธิปไตยของ อุปสรรคต่อการพัฒนาประชาธปิ ไตยของ ประเทศไทยและเสนอแนวทางแก้ไข ประเทศไทย แนวทางการแกไ้ ขปญั หา
๕๕ ชนั้ ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลางเฉพาะความพกิ าร ม.๔-ม.๖ ๑. วเิ คราะหป์ ัญหาการเมอื งทส่ี ำคญั ใน ปญั หาการเมืองสำคญั ท่เี กดิ ข้นึ ประเทศ จากแหลง่ ข้อมลู ตา่ งๆ พร้อมท้งั ภายในประเทศ เสนอแนวทางแกไ้ ข สถานการณ์การเมอื งการปกครอง ของสังคมไทย และสังคมโลก และ การประสานประโยชนร์ ว่ มกนั อทิ ธิพลของระบบการเมอื งการปกครอง ทม่ี ผี ลตอ่ การดำเนนิ ชวี ติ และความสมั พันธ์ ระหว่างประเทศ ๒. เสนอแนวทาง ทางการเมอื งการ การประสานประโยชน์รว่ มกันระหวา่ ง ปกครองท่ีนำไปสคู่ วามเข้าใจ และ ประเทศ เชน่ การสรา้ งความสมั พันธ์ การประสานประโยชน์รว่ มกนั ระหว่าง ระหวา่ งไทยกับประเทศตา่ ง ๆ ประเทศ การแลกเปล่ียนเพือ่ ชว่ ยเหลอื และส่งเสริม ด้านวัฒนธรรม การศกึ ษา เศรษฐกิจ สังคม ๓. วิเคราะห์ความสำคญั และ ความจำเป็น การปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มี ทต่ี อ้ งธำรงรกั ษาไว้ซึง่ การปกครองตาม พระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุข ระบอบประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษตั ริย์ - รูปแบบของรฐั ทรงเป็นประมุข - ฐานะและพระราชอำนาจของ พระมหากษัตรยิ ์ ๔. เสนอแนวทางและมีส่วนร่วมในการ การตรวจสอบการใชอ้ ำนาจรฐั ตาม ตรวจสอบการใช้อำนาจรฐั รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับ ปจั จบุ นั ที่มีผลตอ่ การเปลีย่ นแปลงทาง สังคม เชน่ การตรวจสอบโดยองค์กรอสิ ระ การตรวจสอบโดยประชาชน
๕๖ สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส ๓.๑ เขา้ ใจและสามารถบริหารจดั การทรพั ยากรในการผลิตและการบรโิ ภค การใช้ทรพั ยากร ที่ มอี ยู่จำกดั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและคมุ้ คา่ รวมทงั้ เขา้ ใจหลกั การของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพอื่ การดำรงชวี ติ อยา่ งมดี ลุ ยภาพ ชน้ั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลางเฉพาะความพกิ าร ป.๑ ๑. ระบุสินคา้ และบรกิ ารที่ใช้ประโยชน์ใน สินคา้ และบรกิ ารทใ่ี ช้อยูใ่ นชวี ิตประจำวัน ชีวติ ประจำวัน เช่น ดินสอ กระดาษ ยาสฟี ัน สินคา้ และบริการทีไ่ ด้มาโดยไมใ่ ชเ้ งิน เชน่ มี ผูใ้ ห้หรือการใช้ของแลกของ สนิ คา้ และบรกิ ารที่ไดม้ าจากการใช้เงินซ้อื ใชป้ ระโยชน์จากสนิ ค้าและบริการใหค้ ้มุ คา่ ๒. ยกตวั อยา่ งการใชจ้ า่ ยเงนิ ในชีวิต การใชจ้ า่ ยเงนิ ในชีวติ ประจำวนั เพ่ือซื้อสนิ คา้ ประจำวันทไี่ ม่เกนิ ตัวและเหน็ ประโยชน์ และบรกิ าร ของการออม ประโยชน์ของการใชจ้ ่ายเงินทไ่ี ม่เกินตวั ประโยชนข์ องการออม โทษของการใชจ้ า่ ยเงินเกินตัว วางแผนการใชจ้ า่ ย ๓. ยกตวั อย่างการใชท้ รพั ยากรใน ทรพั ยากรทใี่ ช้ในชวี ติ ประจำวนั เช่น ดนิ สอ ชีวิตประจำวันอยา่ งประหยัด กระดาษ เสอื้ ผ้า อาหาร ทรัพยากรสว่ นรวม เชน่ โต๊ะ เก้าอี้ นกั เรยี น สาธารณปู โภคตา่ ง ๆ วธิ กี ารใชท้ รพั ยากรท้ังของสว่ นตัวและ สว่ นรวมอย่างถกู ตอ้ ง และประหยดั และ คมุ้ คา่ ป.๒ ๑. ระบุทรพั ยากรทน่ี ำมาผลติ สนิ คา้ และ ทรัพยากรท่ีนำมาใชใ้ นการผลติ สนิ คา้ และ บริการทใ่ี ชใ้ นชวี ิตประจำวัน บรกิ ารทใี่ ช้ในครอบครัวและโรงเรยี น เช่น ดนิ สอและกระดาษที่ผลติ จากไม้ รวมทั้ง เครอ่ื งจักรและแรงงานการผลติ ผลของการใชท้ รัพยากรในการผลติ ที่ หลากหลายท่มี ตี ่อราคา คณุ ค่าและประโยชน์ ของสินคา้ และบรกิ าร รวมทงั้ สง่ิ แวดลอ้ ม ๒. บอกทีม่ าของรายไดแ้ ละรายจา่ ยของ การประกอบอาชพี ของครอบครวั ตนเองและครอบครัว การแสวงหารายไดท้ ี่สุจรติ และเหมาะสม รายไดแ้ ละรายจา่ ยในภาพรวมของครอบครัว
๕๗ ช้นั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลางเฉพาะความพกิ าร รายได้และรายจ่ายของตนเอง ๓. บนั ทึกรายรับรายจ่ายของตนเอง วธิ ีการทำบญั ชีรายรบั รายจา่ ยของตนเอง อย่างงา่ ย ๆ รายการของรายรบั ท่เี ปน็ รายได้ทเ่ี หมาะสม และไม่เหมาะสม รายการของรายจ่ายท่ีเหมาะสมและ ไม่เหมาะสม ๔. สรุปผลดขี องการใชจ้ า่ ยทเี่ หมาะสมกบั ทีม่ าของรายไดท้ ีส่ ุจริต รายไดแ้ ละการออม การใชจ้ า่ ยที่เหมาะสม ผลดขี องการใชจ้ ่ายท่เี หมาะสมกบั รายได้ การออมและผลดขี องการออม การนำเงนิ ทเี่ หลือมาใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ เช่น การชว่ ยเหลอื สาธารณกศุ ล ป.๓ ๑. จำแนกความตอ้ งการและความจำเป็น สินคา้ ทจี่ ำเป็นในการดำรงชีวติ ที่ เรียกวา่ ในการใชส้ ินค้าและบรกิ ารในการดำรง ปัจจัย ๔ ชวี ิต สนิ ค้าทีเ่ ปน็ ความตอ้ งการของมนุษยอ์ าจ เปน็ สินค้าท่จี ำเปน็ หรือไมจ่ ำเป็นต่อการ ดำรงชวี ติ ประโยชนแ์ ละคุณคา่ ของสนิ คา้ และบรกิ าร ที่สนองความตอ้ งการของมนุษย์ หลักการเลอื กสินค้าที่จำเปน็ ความหมายของผูผ้ ลติ และผ้บู ริโภค ๒. วเิ คราะห์การใชจ้ า่ ยของตนเอง ใชบ้ ัญชรี บั จ่ายวเิ คราะห์การใช้จ่ายทจ่ี ำเป็น และเหมาะสม วางแผนการใช้จา่ ยเงนิ ของตนเอง วางแผนการแสวงหารายไดท้ ีส่ ุจรติ และ เหมาะสม วางแผนการนำเงนิ ทีเ่ หลือจ่ายมาใช้อย่าง เหมาะสม ๓.อธิบายไดว้ า่ ทรัพยากรทีม่ อี ย่จู ำกดั มีผล ความหมายของผผู้ ลติ และผบู้ รโิ ภค ตอ่ การผลติ และบรโิ ภคสนิ คา้ และบริการ ความหมายของสนิ คา้ และบริการ
๕๘ ชัน้ ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นร้แู กนกลางเฉพาะความพิการ ปัญหาพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจทีเ่ กดิ จากความ หายากของทรพั ยากรกับความต้องการของ มนษุ ย์ทีม่ ไี ม่จำกดั ป.๔ ๑. ระบุปจั จยั ท่มี ผี ลตอ่ การเลอื กซอ้ื สนิ ค้า สนิ ค้าและบริการทม่ี อี ยู่หลากหลายในตลาดที่ และบรกิ าร มคี วามแตกต่างดา้ นราคาและคุณภาพ ปจั จัยทีม่ ผี ลตอ่ การเลอื กซ้ือสินค้าและบริการ ทมี่ ีมากมาย ซ่งึ ขึ้นอยู่กบั ผ้ซู ้ือ ผขู้ าย และ ตวั สินค้า เชน่ ความพงึ พอใจของผูซ้ ื้อ ราคา สนิ ค้า การโฆษณา คุณภาพของสินค้า ๒. บอกสิทธพิ ืน้ ฐานและรักษา สิทธพิ ืน้ ฐานของผูบ้ รโิ ภค ผลประโยชนข์ องตนเองในฐานะผบู้ รโิ ภค สนิ ค้าและบรกิ ารทมี่ ีเครอ่ื งหมายรบั รอง คณุ ภาพ หลักการและวธิ กี ารเลอื กบริโภค ๓. อธบิ ายหลักการของเศรษฐกจิ พอเพียง หลักการของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และนำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวันของตนเอง การประยกุ ตใ์ ชเ้ ศรษฐกจิ พอเพียงในการ ดำรงชีวติ เช่น การแต่งกาย การกนิ อาหาร การใช้จา่ ย ป.๕ ๑. อธิบายปจั จยั การผลติ สินคา้ และบรกิ าร ความหมายและประเภทของปัจจัยการผลิต ประกอบด้วย ทด่ี ิน แรงงาน ทุนและ ผู้ประกอบการ เทคโนโลยีในการผลติ สินค้าและบรกิ าร ปัจจยั อื่น ๆ เช่น ราคาน้ำมัน วตั ถดุ บิ พฤตกิ รรมของผู้บรโิ ภค ตวั อยา่ งการผลติ สนิ ค้าและบริการที่มอี ยใู่ น ทอ้ งถ่นิ หรือแหล่งผลิตสินค้าและบริการใน ชมุ ชน ๒. ประยุกตใ์ ชแ้ นวคดิ ของปรชั ญาของ หลักการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เศรษฐกจิ พอเพยี งในการทำกิจกรรม การประยุกต์ใช้ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ต่าง ๆ ในครอบครวั โรงเรยี นและชมุ ชน ในกจิ กรรมตา่ ง ๆ ในครอบครัว โรงเรียนและ ชมุ ชน เช่นการประหยัดพลังงานและ คา่ ใชจ้ า่ ยในบา้ น โรงเรยี น การวางแผนการ
๕๙ ชน้ั ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลางเฉพาะความพิการ ผลติ สินคา้ และบริการเพอื่ ลดความสูญเสียทกุ ประเภท การใช้ภิปญั ญาทอ้ งถ่น ตวั อยา่ งการผลติ สินคา้ และบริการในชุมชน เชน่ หนึง่ ตำบลหนึ่งผลติ ภณั ฑห์ รอื โอทอ๊ ป ๓. อธิบายหลักการสำคญั และประโยชน์ หลักการและประโยชน์ของสหกรณ์ ของสหกรณ์ ประเภทของสหกรณโ์ ดยสังเขป สหกรณใ์ นโรงเรียน (เน้นฝกึ ปฏิบัติจริง) การประยุกตห์ ลกั การของสหกรณม์ าใช้ใน ชวี ติ ประจำวนั ป.๖ ๑. อธบิ ายบทบาทของผผู้ ลติ ทม่ี ีความ บทบาทของผู้ผลิตทม่ี ีคุณภาพ เชน่ รับผดิ ชอบ คำนึงถงึ สง่ิ แวดล้อม มจี รรยาบรรณ ความรับผิดชอบตอ่ สังคม วางแผนกอ่ นเรมิ่ ลง มอื ทำกิจกรรมต่าง ๆ เพอื่ ลดความผิดพลาด และการสญู เสยี ฯลฯ ทัศนคตใิ นการใชท้ รพั ยากรอยา่ งมี ประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ล ประโยชนข์ องการผลิตสินคา้ ท่มี คี ุณภาพ ๒. อธิบายบทบาทของผบู้ รโิ ภค คณุ สมบัตขิ องผูบ้ รโิ ภคทด่ี ี ทีร่ ู้เทา่ ทัน พฤตกิ รรมของผู้บริโภคที่บกพรอ่ ง คุณคา่ และประโยชน์ของผู้บริโภคท่รี เู้ ทา่ ทนั ท่ี มีตอ่ ตนเอง ครอบครวั และสังคม ๓. บอกวธิ ีและประโยชนข์ องการใช้ ความหมาย และความจำเปน็ ของทรัพยากร ทรัพยากรอยา่ งย่งั ยืน หลักการและวธิ ใี ชท้ รพั ยากรให้เกิดประโยชน์ สงู สุด (ลดการสญู เสยี ทกุ ประเภท) วิธกี ารสร้างจติ สำนกึ ใหค้ นในชาตริ คู้ ณุ คา่ ของ ทรัพยากรท่มี ีอยู่จำกัด วางแผนการใช้ทรพั ยากร โดยประยุกต์เทคนิค และวธิ ีการใหม่ ๆ ให้เกิดประโยชนแ์ ก่สงั คม และประเทศชาติ และทันกบั สภาพทาง เศรษฐกจิ และสงั คม ม.๑ ๑. อธิบายความหมายและความสำคัญ ความหมายและความสำคญั ของ ของเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตรเ์ บอื้ งต้น
๖๐ ช้นั ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลางเฉพาะความพกิ าร ความหมายของคำว่าทรัพยากรมจี ำกดั กับ ความตอ้ งการมไี มจ่ ำกัด ความขาดแคลน การเลือกและค่าเสียโอกาส ๒. วิเคราะห์คา่ นิยมและพฤตกิ รรมการ ความหมายและความสำคญั ของการบริโภค บริโภคของคนในสงั คมซึ่งสง่ ผลต่อ อยา่ งมีประสิทธภิ าพ เศรษฐกจิ ของชุมชนและประเทศ หลักการในการบรโิ ภคทีด่ ี ปัจจัยท่มี อี ิทธพิ ลต่อพฤติกรรมการบริโภค ค่านยิ มและพฤตกิ รรมของการบรโิ ภคของคน ในสงั คมปัจจบุ นั รวมทง้ั ผลดีและผลเสยี ของ พฤตกิ รรมดังกลา่ ว ๓. อธิบายความเป็นมาหลักการและ ความหมายและความเป็นมาของปรัชญาของ ความสำคัญของปรชั ญาของเศรษฐกจิ เศรษฐกจิ พอเพียง พอเพียงต่อสังคมไทย ความเป็นมาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และ หลักการทรงงานของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวรวมทง้ั โครงการตาม พระราชดำริ หลกั การของเศรษฐกิจพอเพียง การประยกุ ต์ใช้ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ใน การดำรงชีวติ ความสำคญั คุณคา่ และประโยชน์ของปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี งตอ่ สังคมไทย ม.๒ ๑. วิเคราะหป์ จั จยั ทีม่ ีผลตอ่ การลงทุนและ ความหมายและความสำคญั ของการลงทนุ การออม และการออมต่อระบบเศรษฐกิจ การบริหารจดั การเงนิ ออมและการลงทนุ ภาคครวั เรอื น ปัจจยั ของการลงทุนและการออมคอื อตั รา ดอกเบยี้ รวมท้ังปจั จยั อนื่ ๆ เช่น คา่ ของเงิน เทคโนโลยี การคาดเดาเกีย่ วกับอนาคต ปัญหาของการลงทนุ และการออมใน สังคมไทย ๒. อธิบายปัจจยั การผลติ สินค้าและบริการ ความหมาย ความสำคญั และหลักการผลิต และปัจจยั ทีม่ อี ทิ ธพิ ลต่อการผลติ สนิ ค้า สินคา้ และบริการอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ และบรกิ าร
๖๑ ช้นั ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลางเฉพาะความพิการ สำรวจการผลิตสนิ คา้ ในทอ้ งถ่ิน วา่ มกี ารผลติ อะไรบา้ ง ใช้วธิ กี ารผลติ อยา่ งไร มปี ัญหา ด้านใดบ้าง มกี ารนำเทคโนโลยอี ะไรมาใชท้ ี่มผี ลตอ่ การผลติ สนิ ค้าและบรกิ าร นำหลกั การผลติ มาวเิ คราะหก์ ารผลติ สินค้า และบริการในทอ้ งถิน่ ทัง้ ดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม และสิ่งแวดล้อม ๓. เสนอแนวทางการพัฒนาการผลติ ใน หลกั การและเปา้ หมายปรชั ญาของเศรษฐกจิ ท้องถน่ิ ตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง พอเพยี ง สำรวจและวเิ คราะห์ปญั หาการผลิตสนิ ค้า และบรกิ ารในท้องถิ่น ประยกุ ตใ์ ชป้ รัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงใน การผลติ สินค้าและบรกิ ารในท้องถิ่น ๔. อภิปรายแนวทางการคมุ้ ครองสิทธขิ อง การรกั ษาและค้มุ ครองสทิ ธิประโยชน์ของ ตนเองในฐานะผูบ้ รโิ ภค ผู้บรโิ ภค กฎหมายคุ้มครองสทิ ธผิ ้บุ ริโภคและหนว่ ยงาน ทเ่ี กย่ี วข้อง การดำเนินกิจกรรมพทิ ักษส์ ิทธแิ ละ ผลประโยชนต์ ามกฎหมายในฐานะผบู้ รโิ ภค แนวทางการปกป้องสทิ ธขิ องผู้บริโภค ม.๓ ๑. อธิบายกลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ ความหมายและประเภทของตลาด ความหมายและตัวอยา่ งของอปุ สงคแ์ ละอุปทาน ความหมายและความสำคัญของกลไกราคา และการกำหนดราคาในระบบเศรษฐกจิ หลกั การปรบั และเปล่ียนแปลงราคาสินคา้ และบริการ ๒. มีสว่ นรว่ มในการแก้ไขปญั หาและ สำรวจสภาพปัจจบุ ันปญั หาท้องถน่ิ ทง้ั พฒั นาทอ้ งถิ่นตามปรัชญาของเศรษฐกิจ ทางด้านสงั คม เศรษฐกจิ และสิง่ แวดลอ้ ม พอเพียง วิเคราะห์ปัญหาของทอ้ งถนิ่ โดยใช้ปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง แนวทางการแกไ้ ขและพฒั นาท้องถิ่นตาม ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓. วเิ คราะหค์ วามสมั พันธ์ระหวา่ งแนวคดิ แนวคิดของเศรษฐกจิ พอเพียงกับการพัฒนาใน เศรษฐกิจพอเพยี งกับระบบสหกรณ์ ระดบั ตา่ ง ๆ หลกั การสำคัญของระบบสหกรณ์
ชน้ั ตัวชว้ี ดั ๖๒ ม.๔–ม.๖ ๑. อภปิ รายการกำหนดราคาและค่าจา้ ง สาระการเรยี นรูแ้ กนกลางเฉพาะความพิการ ในระบบเศรษฐกจิ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งแนวคิดเศรษฐกิ ๒. ตระหนกั ถึงความสำคญั ของปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียงทม่ี ีตอ่ เศรษฐกจิ พอเพียงกับหลักการและระบบของสหกรณเ์ พอ่ื สังคมของประเทศ ประยกุ ตใ์ ช้ในการพัฒนาเศรษฐกจิ ชมุ ชน ๓. ตระหนักถึงความสำคญั ของระบบ สหกรณ์ในการพฒั นาเศรษฐกจิ ในระดบั ระบบเศรษฐกิจของโลกในปัจจบุ นั ผลดแี ละ ชุมชนและประเทศ ผลเสียของระบบเศรษฐกจิ แบบต่างๆ ๔. วเิ คราะห์ปญั หาทางเศรษฐกจิ ตลาดและประเภทของตลาด ข้อดแี ละ ในชุมชนและเสนอแนวทางแกไ้ ข ขอ้ เสียของตลาดประเภทตา่ ง ๆ การกำหนดราคาตามอุปสงค์ และอุปทาน การกำหนดราคาในเชงิ กลยทุ ธท์ ่มี ีในสงั คมไทย การกำหนดคา่ จา้ ง กฎหมายทเี่ ก่ยี วขอ้ งและ อัตราคา่ จา้ งแรงงานในสงั คมไทย บทบาทของรฐั ในการแทรกแซงราคา และการ ควบคมุ ราคาเพ่ือการแจกจา่ ย และจัดสรรในทาง เศรษฐกจิ การประยุกตใ์ ชเ้ ศรษฐกิจพอเพียง ในการดำเนินชวี ิตของตนเอง และครอบครัว การประยกุ ต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงใน ภาคเกษตร อตุ สาหกรรม การคา้ และบริการ ปญั หาการพฒั นาประเทศท่ีผ่านมา โดย การศกึ ษาวิเคราะห์แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และ สงั คมฉบับท่ผี ่านมา การพฒั นาประเทศทน่ี ำปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้ ในการวางแผนพัฒนา เศรษฐกิจ และสงั คมฉบบั ปจั จบุ นั ววิ ฒั นาการของสหกรณ์ในประเทศไทย ความหมายความสำคญั และหลกั การของระบบ สหกรณ์ ตวั อย่างและประเภทของสหกรณใ์ นประเทศไทย ความสำคัญของระบบสหกรณ์ในการพฒั นา เศรษฐกจิ ในชมุ ชนและประเทศ ปัญหาทางเศรษฐกจิ ในชมุ ชน แนวทางการพัฒนาเศรษฐกจิ ของชุมชน
๖๓ ชนั้ ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นร้แู กนกลางเฉพาะความพิการ ตวั อย่างของการรวมกลมุ่ ทีป่ ระสบ ความสำเรจ็ ในการแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจ ของชุมชน สาระท่ี ๓ เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส ๓.๒ เขา้ ใจระบบและสถาบนั ทางเศรษฐกจิ ตา่ ง ๆ ความสมั พนั ธท์ างเศรษฐกจิ และความจำเป็น ของการรว่ มมือกันทางเศรษฐกจิ ในสงั คมโลก ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรยี นร้แู กนกลางเฉพาะความพกิ าร ป.๑ ๑. อธบิ ายเหตุผลความจำเป็นท่คี นตอ้ ง ความหมาย ประเภทและความสำคัญของ ทำงานอยา่ งสจุ รติ การทำงาน เหตผุ ลของการทำงาน ผลของการทำงานประเภทต่าง ๆ ทีม่ ตี ่อ ครอบครวั และสังคม การทำงานอย่างสจุ รติ ทำใหส้ งั คมสงบสุข ป.๒ ๑. อธบิ ายการแลกเปลีย่ นสินคา้ และ ความหมายและความสำคัญของการ บรกิ ารโดยวิธตี ่าง ๆ แลกเปลี่ยนสินคา้ และบริการ ลักษณะของการแลกเปล่ยี นสินค้าและ บรกิ ารโดยไมใ่ ชเ้ งิน รวมทง้ั การแบง่ ปัน การชว่ ยเหลอื ลกั ษณะการแลกเปลย่ี นสนิ ค้าและบรกิ าร โดยการใช้เงิน ๒. บอกความสัมพนั ธร์ ะหว่างผู้ซื้อและ ความหมายและบทบาทของผู้ซื้อและ ผขู้ าย ผู้ขาย ผ้ผู ลิตและผู้บรโิ ภคพอสังเขป ความสัมพันธ์ระหวา่ งผู้ซอ้ื และผ้ขู ายใน การกำหนดราคาสนิ คา้ และบรกิ าร ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งผซู้ ื้อและผขู้ าย ทำใหส้ งั คมสงบสุข และประเทศม่นั คง ป.๓ ๑. บอกสินค้าและบรกิ ารทรี่ ัฐจัดหาและ สนิ คา้ และบรกิ ารทภี่ าครัฐทกุ ระดบั จดั หา ใหบ้ ริการแก่ประชาชน และให้บรกิ ารแกป่ ระชาชน เชน่ ถนน
๖๔ ชน้ั ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลางเฉพาะความพิการ ๒. บอกความสำคัญของภาษแี ละบทบาท โรงเรยี น สวนสาธารณะ การสาธารณสุข ของประชาชนในการเสยี ภาษี การบรรเทาสาธารณภัย ความหมายและความสำคญั ของภาษีท่ีรฐั นำมาสรา้ งความเจรญิ และใหบ้ รกิ ารแก่ ประชาชน ตวั อยา่ งของภาษี เชน่ ภาษีรายได้บคุ คล ธรรมดา ภาษีมูลคา่ เพมิ่ ฯลฯ บทบาทหน้าท่ีของประชาชนในการเสีย ภาษี ๓. อธบิ ายเหตผุ ลการแขง่ ขนั ทางการคา้ ที่ ความสำคัญและผลกระทบของการแขง่ ขัน มีผลทำใหร้ าคาสนิ คา้ ลดลง ทางการคา้ ทมี่ ผี ลทำให้ราคาสนิ คา้ ลดลง ป.๔ ๑. อธิบายความสัมพนั ธท์ างเศรษฐกจิ ของ อาชีพ สนิ คา้ และบรกิ ารตา่ ง ๆ ทีผ่ ลิต คนในชุมชน ในชุมชน การพ่ึงพาอาศยั กนั ภายในชมุ ชนทาง ด้านเศรษฐกิจ เชน่ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง ผซู้ ้ือ ผู้ขาย การกู้หนย้ี มื สิน การสร้างความเข้มแขง็ ใหช้ มุ ชนดว้ ย การใช้สง่ิ ของท่ีผลิตในชมุ ชน ๒. อธบิ ายหนา้ ทเ่ี บื้องต้นของเงิน ความหมายและประเภทของเงิน หนา้ ท่เี บื้องตน้ ของเงนิ ในระบบเศรษฐกจิ สกุลเงนิ สำคัญทใี่ ช้ในการซื้อขาย แลกเปลีย่ นระหวา่ งประเทศ ป.๕ ๑. อธิบายบทบาทหนา้ ทเี่ บอื้ งต้นของ บทบาทหน้าทขี่ องธนาคารโดยสังเขป ธนาคาร ดอกเบี้ยเงินฝาก และดอกเบยี้ กู้ยืม การฝากเงนิ / การถอนเงิน ๒. จำแนกผลดแี ละผลเสยี ของการกู้ยืม ผลดีและผลเสยี ของการกู้ยมื เงนิ ทง้ั นอก ระบบและในระบบที่มตี อ่ ระบบเศรษฐกิจ เชน่ การเสยี ดอกเบีย้ การลงทุน การซ้ือของอุปโภคเพมิ่ ข้นึ ที่นำไปสคู่ วามฟุ้งเฟ้อ ฟมุ่ เฟือย เป็นต้น ป.๖ ๑. อธิบายความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งผผู้ ลิต ความสมั พันธร์ ะหวา่ งผู้ผลติ ผู้บรโิ ภค ผูบ้ ริโภค ธนาคาร และรฐั บาล ธนาคาร และรฐั บาล ทม่ี ตี อ่ ระบบ เศรษฐกจิ อย่างสงั เขป เชน่ การแลก
๖๕ ช้นั ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลางเฉพาะความพิการ เปลยี่ นสนิ คา้ และบรกิ าร รายไดแ้ ละ รายจา่ ย การออมกับธนาคาร การลงทุน แผนผงั แสดงความสมั พนั ธ์ของ หน่วยเศรษฐกจิ ภาษีและหนว่ ยงานทจี่ ดั เกบ็ ภาษี สทิ ธิของผู้บรโิ ภค และสิทธขิ องผูใ้ ช้ แรงงานในประเทศไทย การหารายได้ รายจา่ ย การออม การลงทนุ ซ่งึ แสดง ความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง ผผู้ ลิต ผู้บรโิ ภค และรัฐบาล ๒. ยกตวั อย่างการรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ การรวมกลุ่มเชงิ เศรษฐกิจเพอื่ ประสาน ภายในทอ้ งถน่ิ ประโยชน์ในท้องถ่ิน เช่น กลมุ่ ออมทรพั ย์ กลุ่มแม่บ้าน กองทนุ หมบู่ า้ น ม.๑ ๑. วเิ คราะหบ์ ทบาทหนา้ ท่แี ละความ ความหมาย ประเภท และความสำคัญ แตกตา่ งของสถาบันการเงนิ แตล่ ะประเภท ของสถาบนั การเงินทีม่ ีต่อระบบเศรษฐกจิ และธนาคารกลาง บทบาทหน้าท่แี ละความสำคัญของ ธนาคารกลาง การหารายได้ รายจา่ ย การออม การ ลงทุน ซ่ึงแสดงความสมั พันธ์ระหวา่ งผู้ผลติ ผ้บู รโิ ภค และสถาบนั การเงนิ ๒. ยกตวั อยา่ งทส่ี ะท้อนให้เห็นการพึง่ พา ยกตวั อยา่ งท่ีสะท้อนให้เหน็ การพง่ึ พา อาศัยกัน และการแขง่ ขนั กนั ทางเศรษฐกจิ อาศัยกนั และกัน การแขง่ ขันกนั ทาง ในประเทศ เศรษฐกจิ ในประเทศ ปัญหาเศรษฐกิจในชมุ ชน ประเทศ และ เสนอแนวทางแกไ้ ข ๓. ระบปุ ัจจยั ทม่ี อี ิทธพิ ลต่อการกำหนด อปุ ความหมายและกฎอปุ สงค์ อุปทาน สงค์และอุปทาน ปัจจัยท่มี ีอทิ ธิพลตอ่ การกำหนดอปุ สงค์ และอุปทาน ๔. อภปิ รายผลของการมกี ฎหมายเก่ียวกบั ความหมายและความสำคัญของทรพั ยส์ นิ ทรัพย์สนิ ทางปัญญา ทางปัญญา กฎหมายที่เกีย่ วกับการคมุ้ ครองทรัพย์สนิ ทางปัญญาพอสังเขป
๖๖ ชัน้ ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลางเฉพาะความพกิ าร ม.๒ ๑. อภิปรายระบบเศรษฐกจิ แบบต่างๆ ตวั อย่างการละเมิดแห่งทรพั ยส์ นิ ทาง ปัญญาแตล่ ะประเภท ๒. ยกตวั อยา่ งทสี่ ะทอ้ นให้เห็น การพ่ึงพาอาศยั กนั และการแขง่ ขันกนั ระบบเศรษฐกิจแบบต่างๆ ทางเศรษฐกิจในภมู ิภาคเอเชีย หลักการและผลกระทบการพึ่งพาอาศัย ๓. วเิ คราะหก์ ารกระจายของทรัพยากร ในโลกที่สง่ ผลตอ่ ความสมั พนั ธท์ าง กนั และการแข่งขนั กันทางเศรษฐกิจใน เศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ ภูมภิ าคเอเชีย การกระจายของทรพั ยากรในโลกทสี่ ง่ ผล ต่อความสัมพนั ธท์ างเศรษฐกิจระหว่าง ประเทศ เชน่ น้ำมัน ป่าไม้ ทองคำ ถา่ นหิน แร่ เป็นต้น ๔. วเิ คราะห์การแข่งขันทางการค้า การแขง่ ขนั ทางการค้าในประเทศและ ในประเทศและตา่ งประเทศส่งผลต่อ ตา่ งประเทศ คณุ ภาพสินคา้ ปรมิ าณการผลิต และ ราคาสินคา้ ม.๓ ๑. อธิบายบทบาทหน้าทขี่ องรัฐบาลใน บทบาทหน้าทขี่ องรฐั บาลในการพัฒนา ระบบเศรษฐกิจ ประเทศในดา้ นตา่ ง ๆ บทบาทและกิจกรรมทางเศรษฐกจิ ของ รัฐบาล เชน่ การผลติ สินคา้ และบรกิ าร สาธารณะทเ่ี อกชนไมด่ ำเนนิ การ เชน่ ไฟฟ้า ถนน โรงเรยี น - บทบาทการเกบ็ ภาษีเพอื่ พฒั นา ประเทศ ของรัฐในระดบั ตา่ ง ๆ - บทบาทการแทรกแซงราคาและ การควบคุมราคาเพ่อื การแจกจา่ ยและ การจดั สรรในทางเศรษฐกิจ บทบาทอน่ื ของรฐั บาลในระบบเศรษฐกิจ ในสงั คมไทย ๒. แสดงความคิดเห็นต่อนโยบาย และ นโยบาย และกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ของ กิจกรรมทาง เศรษฐกจิ ของรฐั บาลทีม่ ตี ่อ รฐั บาล บุคคล กลุ่มคน และประเทศชาติ ๓. อภิปรายบทบาทความสำคัญของ บทบาทความสำคญั ของการรวมกลุ่มทาง การรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ ระหว่างประเทศ เศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ ลักษณะของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ
๖๗ ชน้ั ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลางเฉพาะความพกิ าร กลุ่มทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่างๆ ๔. อภิปรายผลกระทบทเ่ี กดิ จากภาวะ ผลกระทบที่เกดิ จากภาวะเงนิ เฟอ้ เงินฝดื เงินเฟอ้ เงนิ ฝืด ความหมายสาเหตแุ ละแนวทางแก้ไข ภาวะเงินเฟ้อ เงินฝดื ๕. วเิ คราะห์ผลเสียจากการวา่ งงาน และ สภาพและสาเหตุปัญหาการวา่ งงาน แนวทางแก้ปญั หา ผลกระทบจากปัญหาการว่างงาน แนวทางการแก้ไขปัญหาการว่างงาน ๖. วิเคราะหส์ าเหตแุ ละวธิ ีการกดี กนั ทาง การคา้ และการลงทนุ ระหวา่ งประเทศ การคา้ ในการคา้ ระหว่างประเทศ สาเหตุและวธิ กี ารกดี กนั ทางการคา้ ใน การคา้ ระหวา่ งประเทศ ม.๔–ม. ๑. อธบิ ายบทบาทของรฐั บาลด้าน บทบาทของนโยบายการเงินและการคลงั ๖ นโยบายการเงนิ การคลงั ในการพฒั นา ของรฐั บาลในด้าน เศรษฐกิจของประเทศ - การรกั ษาเสถยี รภาพทางเศรษฐกจิ - การสรา้ งการเจริญเตบิ โตทาง เศรษฐกจิ - การรกั ษาดลุ การค้าระหวา่ งประเทศ - การแทรกแซงราคาและการควบคุม ราคา รายรับและรายจ่ายของรฐั ทมี่ ผี ลต่อ งบประมาณ หนส้ี าธารณะ การพัฒนา ทางเศรษฐกจิ และคณุ ภาพชวี ติ ของ ประชาชน - นโยบายการเกบ็ ภาษปี ระเภทต่าง ๆ และการใช้จา่ ยของรัฐ - แนวทางการแกป้ ัญหาการวา่ งงาน ความหมาย สาเหตุ และผลกระทบที่เกิด จากภาวะทางเศรษฐกจิ เช่น เงนิ เฟอ้ เงินฝืด ตวั ชวี้ ดั ความเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกจิ เช่น GDP , GNP รายไดเ้ ฉลยี่ ตอ่ บุคคล แนวทางการแก้ปญั หาของนโยบายการเงิน การคลงั
๖๘ ช้ัน ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลางเฉพาะความพิการ ๒. วเิ คราะหผ์ ลกระทบของการเปิดเสรี ววิ ฒั นาการของการเปดิ เสรที างเศรษฐกจิ ทางเศรษฐกจิ ในยุคโลกาภิวตั น์ทมี่ ผี ลตอ่ ในยคุ โลกาภิวตั น์ของไทย สงั คมไทย ปจั จัยทางเศรษฐกจิ ท่ีมีผลตอ่ การเปดิ เสรี ๓. วเิ คราะหผ์ ลดี ผลเสยี ของความร่วมมอื ทางเศรษฐกจิ ของประเทศ ทางเศรษฐกจิ ระหว่างประเทศในรูปแบบ ตา่ ง ๆ ผลกระทบของการเปดิ เสรที างเศรษฐกจิ ของประเทศทม่ี ีตอ่ ภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรม ภาคการค้าและบริการ การคา้ และการลงทนุ ระหวา่ งประเทศ บทบาทขององค์กรระหว่างประเทศใน เวทกี ารเงินโลกทม่ี ผี ลกบั ประเทศไทย แนวคดิ พ้นื ฐานท่เี ก่ยี วขอ้ งกับการคา้ ระหว่าง ประเทศ บทบาทขององคก์ ารความร่วมมอื ทาง เศรษฐกจิ ที่สำคญั ในภูมภิ าคต่าง ๆ ของ โลก เชน่ WTO , NAFTA , EU , IMF , ADB , OPEC , FTA , APECในระดับตา่ ง ๆ เขตสเ่ี หล่ยี มเศรษฐกิจ ปัจจัยตา่ ง ๆ ท่นี ำไปสกู่ ารพ่งึ พา การ แขง่ ขันการขดั แยง้ และการประสาน ประโยชน์ทางเศรษฐกจิ ตวั อย่างเหตกุ ารณท์ น่ี ำไปส่กู ารพึงพาทาง เศรษฐกิจ ผลกระทบจากการดำเนนิ กจิ กรรมทาง เศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ ปจั จยั ตา่ ง ๆ ทน่ี ำไปสู่การพ่งึ พาการ แขง่ ขัน การขดั แย้ง และการประ สารประโยชน์ทางเศรษฐกิจวธิ กี ารกีดกนั ทางการคา้ ในการคา้ ระหวา่ งประเทศ
๖๙ สาระท่ี ๔ ประวตั ศิ าสตร์ มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคญั ของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วธิ กี าร ทางประวตั ศิ าสตร์มาวิเคราะหเ์ หตุการณต์ ่าง ๆ อย่างเปน็ ระบบ ชั้น ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลางเฉพาะความพกิ าร ป.๑ ๑.บอกวนั เดือน ปี และการนบั ช่วงเวลา ชือ่ วนั เดอื น ปี ตามระบบสรุ ยิ คติทปี่ รากฏ ตามปฏิทนิ ทใ่ี ชใ้ นชวี ิตประจำวนั ในปฏทิ ิน ชอื่ วัน เดือน ปี ตามระบบจันทรคตใิ น ปฏิทนิ ชว่ งเวลาทใี่ ช้ในชวี ติ ประจำวัน เช่น เช้าวนั นี้ ตอนเย็น ๒. เรยี งลำดบั เหตกุ ารณ์ในชวี ิตประจำวัน เหตกุ ารณท์ เี่ กดิ ขน้ึ ในชวี ติ ประจำวนั ของ ตามวนั เวลาทเี่ กิดขน้ึ นกั เรยี น เชน่ รบั ประทานอาหาร ต่นื นอน เข้านอน เรยี นหนงั สือ เล่นกีฬา ฯลฯ ใช้คำบอกช่วงเวลา แสดงลำดับเหตุการณ์ ทเ่ี กิดข้นึ ได้ ๓. บอกประวัติความเป็นมาของตนเองและ วธิ กี ารสบื คน้ ประวตั ิความเปน็ มาของตนเอง ครอบครวั โดยสอบถามผเู้ กยี่ วข้อง และครอบครัวอย่างงา่ ย ๆ การบอกเล่าประวตั คิ วามเปน็ มาของตนเอง และครอบครวั อยา่ งสั้น ๆ ป.๒ ๑. ใชค้ ำระบเุ วลาทแี่ สดงเหตุการณ์ในอดีต คำทแ่ี สดงชว่ งเวลาในอดตี ปัจจุบนั และ ปัจจบุ ัน และอนาคต อนาคต เช่น วันนี้ เมื่อวานนี้ พร่งุ น้ี เดือนน้ี เดือนหนา้ เดือนกอ่ น วนั สำคญั ทป่ี รากฏในปฏทิ นิ ท่แี สดง เหตกุ ารณส์ ำคัญในอดตี และปัจจุบัน ใช้คำบอกช่วงเวลา อดีต ปจั จบุ นั อนาคต แสดงเหตกุ ารณไ์ ด้ ๒. ลำดับเหตุการณท์ ่เี กิดขนึ้ ในครอบครัว วิธีการสืบคน้ เหตกุ ารณท์ ผ่ี ่านมาแล้ว หรอื ในชวี ิตของตนเองโดยใช้หลักฐาน ที่เกิดข้ึนกับตนเองและครอบครัว ที่เก่ียวข้อง โดยใชห้ ลักฐานทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง เช่น ภาพถ่าย สูตบิ ตั ร ทะเบียนบ้าน ใชค้ ำทบี่ อกชว่ งเวลาแสดงเหตกุ ารณ์ ทีเ่ กดิ ขนึ้ ในครอบครวั หรอื ในชวี ิตตนเอง ใช้เสน้ เวลา (Time Line) ลำดบั เหตกุ ารณ์ ทเ่ี กดิ ข้นึ ได้
๗๐ ชนั้ ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลางเฉพาะความพกิ าร ป.๓ ๑. เทียบศักราชที่สำคัญตามปฏิทนิ ท่ใี ช้ใน ทีม่ าของศักราชที่ปรากฏในปฏทิ ิน เช่น ชีวิตประจำวัน พุทธศกั ราช คริสตศ์ กั ราชอย่างสังเขป (ถา้ เป็นมุสลิมควรเรียนฮิจเราะหศ์ กั ราชด้วย ) วิธีการเทยี บ พ.ศ. เปน็ ค.ศ. หรือ ค.ศ. เป็น พ.ศ. ตวั อย่างการเทยี บศกั ราช ในเหตุการณ์ ที่เกยี่ วข้องกบั นักเรยี น เชน่ ปีเกิดของ นกั เรียน เปน็ ต้น ๒. แสดงลำดับเหตุการณส์ ำคญั ของโรงเรียน วิธีการสืบคน้ เหตุการณ์สำคัญของโรงเรยี น และชมุ ชนโดยระบุหลักฐานและแหล่งขอ้ มลู และชมุ ชนโดยใช้หลกั ฐาน และ ทเ่ี ก่ยี วข้อง แหล่งขอ้ มูล ที่เก่ยี วขอ้ ง ใช้เส้นเวลา (Time Line) ลำดับเหตุการณ์ ทีเ่ กิดข้นึ ในโรงเรียนและชุมชน ป.๔ ๑. นบั ช่วง เวลา เป็นทศวรรษ ศตวรรษ ความหมายและชว่ งเวลาของทศวรรษ และสหัสวรรษ ศตวรรษ และสหสั วรรษ การใชท้ ศวรรษ ศตวรรษ และสหสั วรรษ เพ่อื ทำความเข้าใจช่วงเวลาในเอกสารเช่น หนังสอื พมิ พ์ ๒. อธบิ ายยุคสมัยในการศกึ ษาประวตั ขิ อง เกณฑ์การแบ่งยุคสมยั ในการศกึ ษา มนษุ ยชาติโดยสงั เขป ประวัติศาสตร์ทแี่ บง่ เปน็ ยคุ ก่อน ประวัตศิ าสตรแ์ ละยคุ ประวตั ศิ าสตร์ ยคุ สมัยท่ใี ช้ในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทย เชน่ สมยั ก่อนสโุ ขทัย สมยั สโุ ขทัย สมยั อยธุ ยา สมยั ธนบุรี และสมยั รตั นโกสินทร์ ๓. แยกแยะประเภทหลักฐานทใี่ ชใ้ น ประเภทของหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ ท่ี การศกึ ษาความเป็นมาของท้องถนิ่ แบ่งเป็นหลกั ฐานชั้นต้น และหลกั ฐานชน้ั รอง ตัวอย่างหลักฐานทใี่ ชใ้ นการศกึ ษา ความเป็นมาของท้องถิ่นของตน การจำแนกหลักฐานของทอ้ งถ่ินเป็น หลักฐานช้นั ต้นและหลกั ฐานชัน้ รอง
๗๑ ชน้ั ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลางเฉพาะความพกิ าร ป.๕ ๑. สืบค้นความเปน็ มาของท้องถนิ่ โดยใช้ วธิ กี ารสบื ค้นความเปน็ มาของทอ้ งถิน่ หลักฐานท่หี ลากหลาย หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ท่ีมอี ยู่ในทอ้ งถิ่น ที่เกดิ ขึ้นตามชว่ งเวลาตา่ งๆ เช่น เคร่ืองมือ เคร่ืองใช้ อาวธุ โบราณสถาน โบราณวตั ถุ การนำเสนอความเป็นมาของท้องถน่ิ โดย อ้างองิ หลักฐานท่ีหลากหลายดว้ ยวธิ ีการต่าง ๆ เช่น การเล่าเรอ่ื งการเขยี นอยา่ งงา่ ย ๆ การจดั นทิ รรศการ ๒. รวบรวมขอ้ มลู จากแหลง่ ตา่ ง ๆ เพือ่ การตั้งคำถามทางประวัตศิ าสตร์เกย่ี วกบั ตอบคำถามทางประวตั ศิ าสตร์ อย่างมี ความเปน็ มาของท้องถิ่น เช่น มเี หตกุ ารณ์ เหตผุ ล ใดเกดิ ขน้ึ ในชว่ งเวลาใด เพราะสาเหตใุ ด และมผี ลกระทบอย่างไร แหลง่ ขอ้ มูลและหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ ในท้องถนิ่ เพอ่ื ตอบคำถามดังกลา่ ว เชน่ เอกสาร เรื่องเล่า ตำนานท้องถนิ่ โบราณสถาน โบราณวตั ถุ ฯลฯ การใชข้ ้อมูลทพ่ี บเพ่อื ตอบคำถามได้อยา่ งมี เหตผุ ล ๓. อธบิ ายความแตกต่างระหว่าง ตัวอยา่ งเรอ่ื งราวจากเอกสารตา่ งๆ ที่ ความจรงิ กับข้อเทจ็ จรงิ เกย่ี วกบั เรื่องราว สามารถแสดงนยั ของความคิดเห็นกับข้อมลู ในท้องถิ่น เช่น หนังสอื พิมพ์ บทความจากเอกสารตา่ ง ๆ เป็นต้น ตัวอย่างขอ้ มลู จากหลกั ฐานทาง ประวัติศาสตร์ ในทอ้ งถนิ่ ท่แี สดงความจริง กบั ข้อเท็จจรงิ สรปุ ประเดน็ สำคัญเกี่ยวกับขอ้ มลู ในทอ้ งถิ่น ป.๖ ๑. อธิบายความสำคญั ของวธิ กี ารทาง ความหมายและความสำคัญของวิธกี ารทาง ประวัตศิ าสตรใ์ นการศึกษาเร่อื งราวทาง ประวตั ศิ าสตรอ์ ยา่ งง่าย ๆ ทเี่ หมาะสมกับ ประวตั ศิ าสตรอ์ ยา่ งง่าย ๆ นกั เรยี น การนำวิธีการทางประวตั ศิ าสตรไ์ ปใช้ศึกษา เรื่องราวในท้องถิ่น เชน่ ความเป็นมาของ ภมู นิ ามของสถานท่ีในทอ้ งถ่นิ
๗๒ ช้นั ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลางเฉพาะความพกิ าร ๒. นำเสนอข้อมลู จากหลกั ฐานท่ีหลากหลาย ตวั อย่างหลักฐานที่เหมาะสมกบั นักเรียนที่ ในการทำความเขา้ ใจเร่อื งราวสำคญั ในอดตี นำมาใชใ้ นการศกึ ษาเหตกุ ารณส์ ำคญั ใน ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย สมัยรตั นโกสินทร์ เชน่ พระราชหตั ถเลขาของรัชกาลที่ ๔ หรอื รัชกาลที่ ๕ กฎหมายสำคัญ ฯลฯ ( เชอื่ มโยงกับ มฐ. ส ๔.๓ ) สรุปขอ้ มูลท่ไี ด้จากหลกั ฐานทง้ั ความจรงิ และข้อเทจ็ จรงิ การนำเสนอข้อมลู ท่ีไดจ้ ากหลักฐาน ทางประวตั ิศาสตรด์ ว้ ยวธิ กี ารต่าง ๆ เชน่ การเล่าเรอื่ ง การจดั นทิ รรศการ การเขียน รายงาน ม.๑ ๑. วเิ คราะหค์ วามสำคญั ของเวลาใน ตวั อยา่ งการใชเ้ วลา ช่วงเวลาและยุคสมยั การศกึ ษาประวตั ิศาสตร์ ทป่ี รากฏในเอกสารประวตั ศิ าสตรไ์ ทย ความสำคญั ของเวลา และชว่ งเวลาสำหรบั การศกึ ษาประวตั ศิ าสตร์ ความสัมพันธ์และความสำคญั ของอดตี ท่มี ี ต่อปัจจุบนั และอนาคต ๒. เทียบศักราชตามระบบตา่ งๆท่ีใช้ศกึ ษา ทม่ี าของศกั ราชที่ปรากฏในเอกสาร ประวัตศิ าสตร์ ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย ได้แก่ จ.ศ. / ม.ศ. /ร. ศ./ พ.ศ. / ค.ศ. และ ฮ.ศ. วธิ ีการเทียบศักราชต่างๆ และตวั อย่าง การเทียบ ตวั อยา่ งการใช้ศกั ราชตา่ ง ๆ ท่ีปรากฏใน เอกสารประวตั ิศาสตร์ไทย ๓. นำวธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์มาใชศ้ กึ ษา ความหมายและความสำคญั ของประวัตศิ าสตร์ เหตุการณ์ทางประวัตศิ าสตร์ และวิธีการทางประวตั ิศาสตรท์ มี่ ีความ สัมพนั ธเ์ ช่อื มโยงกัน ตัวอยา่ งหลกั ฐานในการศกึ ษาประวตั ศิ าสตร์ ไทยสมยั สโุ ขทยั ท้ังหลกั ฐานชนั้ ตน้ และ หลกั ฐานชน้ั รอง ( เชอ่ื มโยงกบั มฐ. ส ๔.๓) เชน่ ขอ้ ความ ในศิลาจารึก สมัยสุโขทัย เป็นต้น
๗๓ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลางเฉพาะความพิการ นำวธิ กี ารทางประวตั ิศาสตรไ์ ปใชศ้ ึกษา เรอ่ื งราวของประวตั ศิ าสตร์ไทยทีม่ อี ยใู่ น ท้องถ่นิ ตนเองในสมยั ใดกไ็ ด้ (สมัยกอ่ น ประวัตศิ าสตร์ สมยั กอ่ นสโุ ขทัย สมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา สมัยธนบุรี สมยั รตั นโกสินทร์ ) และเหตุการณ์สำคญั ใน สมัยสุโขทัย ม.๒ ๑. ประเมนิ ความนา่ เช่อื ถอื ของหลกั ฐาน วธิ กี ารประเมนิ ความน่าเช่อื ถือของ ทางประวัติศาสตร์ในลักษณะตา่ ง ๆ หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรใ์ นลักษณะ ตา่ ง ๆ อย่างง่าย ๆ เชน่ การศึกษาภูมิหลังของ ผทู้ ำ หรือผูเ้ ก่ียวข้อง สาเหตุ ชว่ งระยะเวลา รูปลกั ษณข์ องหลกั ฐานทาง ประวตั ศิ าสตร์ เป็นตน้ ตวั อยา่ งการประเมนิ ความน่าเชื่อถอื ของ หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรไ์ ทยท่อี ยู่ ในท้องถิน่ ของตนเอง หรือหลกั ฐาน สมัยอยุธยา ( เชื่อมโยงกบั มฐ. ส ๔.๓ ) ๒. วเิ คราะหค์ วามแตกตา่ งระหวา่ งความจรงิ ตวั อย่างการวิเคราะหข์ อ้ มูลจากเอกสาร กับข้อเทจ็ จริงของเหตุการณท์ าง ต่าง ๆ ในสมัยอยธุ ยา และธนบรุ ี ประวตั ิศาสตร์ ( เชอ่ื มโยงกับ มฐ. ส ๔.๓ ) เช่น ข้อความ ๓. เห็นความสำคัญของการตีความหลกั ฐาน บางตอน ในพระราชพงศาวดารอยธุ ยา / ทางประวตั ศิ าสตรท์ ี่น่าเชื่อถอื จดหมายเหตุชาวต่างชาติ ตวั อยา่ งการตคี วามข้อมูลจากหลกั ฐานที่ แสดงเหตกุ ารณ์สำคัญในสมยั อยธุ ยาและ ธนบรุ ี การแยกแยะระหว่างข้อมลู กับความคิดเหน็ รวมทงั้ ความจริงกบั ข้อเท็จจรงิ จากหลักฐาน ทางประวัตศิ าสตร์ ความสำคัญของการวเิ คราะหข์ ้อมลู และ การตคี วามทางประวตั ิศาสตร์ ม.๓ ๑. วิเคราะห์เรอื่ งราวเหตกุ ารณ์สำคัญทาง ข้ันตอนของวธิ กี ารทางประวัติศาสตร์ ประวตั ิศาสตร์ได้อยา่ งมีเหตุผลตามวธิ ีการ สำหรบั การศกึ ษาเหตุการณ์ทาง ทางประวตั ิศาสตร์ ประวตั ิศาสตรท์ ่ีเกดิ ข้นึ ในทอ้ งถ่ินตนเอง
ชน้ั ตวั ช้ีวดั ๗๔ ๒. ใชว้ ธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร์ในการศึกษา ม.๔ –ม. เรอื่ งราวต่าง ๆ ทต่ี นสนใจ สาระการเรยี นรูแ้ กนกลางเฉพาะความพิการ ๖ ๑. ตระหนกั ถึงความสำคญั ของเวลาและ วิเคราะห์เหตุการณส์ ำคญั ในสมยั ยคุ สมยั ทางประวัตศิ าสตร์ที่แสดงถึงการ รัตนโกสนิ ทร์ โดยใชว้ ธิ กี ารทาง เปล่ยี นแปลงของมนุษยชาติ ประวตั ิศาสตร์ นำวิธีการทางประวตั ศิ าสตร์มาใชใ้ น การศกึ ษาเร่อื งราวทเี่ กี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว และท้องถ่นิ ของตน เวลาและยุคสมยั ทางประวัติศาสตรท์ ี่ ปรากฏในหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรไ์ ทย และประวตั ิศาสตรส์ ากล ตัวอยา่ งเวลาและยคุ สมยั ทาง ประวตั ศิ าสตร์ของสงั คมมนุษยท์ มี่ ปี รากฏ ในหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ (เชื่อมโยงกบั มฐ. ส ๔.๓) ความสำคัญของเวลาและยคุ สมยั ทาง ประวัตศิ าสตร์ ๒. สรา้ งองคค์ วามรใู้ หมท่ างประวัตศิ าสตร์ ขน้ั ตอนของวธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร์ โดย โดยใช้วธิ ีการทางประวัตศิ าสตรอ์ ย่างเปน็ นำเสนอตวั อยา่ งทีละข้นั ตอนอยา่ งชดั เจน ระบบ คณุ ค่าและประโยชน์ของวธิ กี ารทาง ประวตั ศิ าสตรท์ ีม่ ตี อ่ การศึกษาทาง ประวัติศาสตร์ ผลการศกึ ษาหรอื โครงงานทาง ประวัตศิ าสตร์
๗๕ สาระที่ ๔ ประวตั ิศาสตร์ มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถ วเิ คราะหผ์ ลกระทบท่ีเกิดขน้ึ ชน้ั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลางเฉพาะความพิการ ป.๑ ๑. บอกความเปลย่ี นแปลงของสภาพ ความเปลย่ี นแปลงของสภาพแวดลอ้ ม แวดล้อม ส่งิ ของ เครอ่ื งใช้ หรือการดำเนนิ สิง่ ของ เครือ่ งใช้ หรือการดำเนินชีวติ ของ ชวี ติ ของตนเองกับสมยั ของพ่อแม่ ปู่ยา่ อดีตกับปัจจุบันที่เป็นรูปธรรมและใกล้ ตายาย ตัวเด็ก เช่นการใช้ควาย ไถนา รถไถนา เตารีด ถนน เกวยี น - รถอแี ต๋น สาเหตุและผลของการเปลย่ี นแปลงของสงิ่ ต่างๆ ตามกาลเวลา ๒. บอกเหตกุ ารณท์ ี่เกิดขน้ึ ในอดีต เหตุการณส์ ำคญั ทเ่ี กดิ ข้ึนในครอบครัว ท่มี ผี ลกระทบต่อตนเองในปัจจบุ ัน เชน่ การยา้ ยบา้ น การหย่ารา้ ง การสญู เสยี บุคคลในครอบครัว ป.๒ ๑. สบื ค้นถึงการเปล่ยี นแปลง วิธกี ารสืบค้นขอ้ มลู อยา่ งง่าย ๆ เช่น ในวถิ ชี วี ิตประจำวนั ของคนในชุมชน ของ การสอบถามพอ่ แม่ ผรู้ ู้ ตนจากอดีตถึงปัจจุบนั วถิ ชี ีวิตของคนในชมุ ชน เช่น การประกอบอาชีพ การแต่งกาย การสอ่ื สาร ประเพณีใน ชุมชนจากอดีต ถงึ ปจั จบุ ัน สาเหตขุ องการเปลย่ี นแปลงวถิ ชี ีวิตของคน ในชุมชน ๒. อธบิ ายผลกระทบของการเปล่ียนแปลง การเปล่ยี นแปลงของวถิ ีชีวติ ของคนใน ท่มี ีต่อวิถชี ีวติ ของคน ชุมชนทางดา้ นตา่ ง ๆ ในชมุ ชน ผลกระทบของการเปลยี่ นแปลงทีม่ ตี อ่ วถิ ชี ีวติ ของคนในชมุ ชน ป.๓ ๑. ระบุปจั จยั ที่มอี ทิ ธิพลตอ่ การต้งั ถิน่ ฐาน ปจั จัยการตั้งถ่นิ ฐานของชุมชนซ่งึ ขนึ้ อยกู่ ับ และพฒั นาการของชมุ ชน ปัจจยั ทางภมู ศิ าสตร์และปจั จยั ทางสังคม เชน่ ความเจริญทางเทคโนโลยี การ คมนาคม ความปลอดภัย ปจั จยั ท่ีมีอทิ ธพิ ลตอ่ พฒั นาการของชมุ ชน ทงั้ ปจั จัยทางภูมิศาสตร์ และปจั จัยทาง สังคม
๗๖ ๒. สรุปลักษณะท่ีสำคญั ของขนบธรรมเนียม ขนบธรรมเนยี ม ประเพณแี ละวฒั นธรรม ประเพณี และวฒั นธรรมของชุมชน ชมุ ชนของตนทเ่ี กดิ จากปัจจยั ทางภูมิศาสตร์ ๓. เปรยี บเทยี บความเหมือนและความต่าง และปจั จัยทางสงั คม ทางวัฒนธรรมของชมุ ชนตนเองกับชุมชนอน่ื ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมของ ๆ ชุมชน อนื่ ๆ ทม่ี คี วามเหมือนและความต่าง กบั ชุมชนของตนเอง ป. ๔ ๑. อธิบายการตัง้ หลกั แหลง่ และพัฒนาการ พัฒนาการของมนุษยย์ ุคก่อนประวตั ศิ าสตร์ ของมนษุ ย์ยุคกอ่ นประวตั ิศาสตรแ์ ละยคุ และยุคประวัตศิ าสตร์ ในดนิ แดนไทย ประวตั ิศาสตร์โดยสงั เขป โดยสังเขป ๒. ยกตัวอยา่ งหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ท่ี หลกั ฐานการต้ังหลักแหลง่ ของมนุษย์ ยคุ พบในท้องถ่ินที่แสดงพฒั นาการของ กอ่ นประวตั ศิ าสตรใ์ นดนิ แดนไทยโดยสังเขป มนุษยชาติ หลกั ฐานทางประวัติศาสตรท์ ีพ่ บในทอ้ งถิน่ ที่ แสดงพัฒนาการของมนษุ ยชาติในดินแดน ไทยโดยสังเขป ป.๕ ๑. อธิบายอิทธพิ ลของอารยธรรมอินเดยี และ การเข้ามาของอารยธรรมอินเดียและจนี ใน จีนที่มตี ่อไทย และเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ ดนิ แดนไทยและภูมิภาคเอเชียตะวันออก โดยสงั เขป เฉียงใตโ้ ดยสงั เขป อทิ ธิพลของอารยธรรมอินเดยี และจีน ท่ีมตี ่อไทย และคนในภมู ิภาคเอเชีย ตะวนั ออกเฉยี งใต้ เชน่ ศาสนาและความเชอ่ื ภาษา การแต่งกาย อาหาร ๒. อภิปรายอิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาตทิ ่ี การเข้ามาของวัฒนธรรมตา่ งชาตใิ น มตี อ่ สงั คมไทยปจั จบุ ันโดยสังเขป สงั คมไทย เช่น อาหาร ภาษา การแตง่ กาย ดนตรี โดยระบุลักษณะ สาเหตุและผล อทิ ธพิ ลทห่ี ลากหลายในกระแสของ วฒั นธรรมต่างชาตติ ่อสงั คมไทยในปจั จุบัน ป.๖ ๑. อธิบายสภาพสังคม เศรษฐกิจและ ใช้แผนท่ีแสดงท่ีตงั้ และอาณาเขตของ การเมืองของประเทศเพ่อื นบ้านในปัจจุบัน ประเทศต่าง ๆ ในภมู ิภาคเอเชยี ตะวนั ออก เฉยี งใต้ สภาพสังคม เศรษฐกจิ และการเมอื งของ ประเทศเพอ่ื นบ้านของไทยโดยสงั เขป ตวั อยา่ งความเหมือนและ ความตา่ ง ระหวา่ งไทยกบั ประเทศเพื่อนบา้ น เช่น ภาษา ศาสนา การปกครอง
ชน้ั ตัวชว้ี ัด ๗๗ ๒. บอกความสมั พันธข์ องกล่มุ อาเซยี น สาระการเรยี นรแู้ กนกลางเฉพาะความพิการ โดยสังเขป ความเป็นมาของกลมุ่ อาเซียนโดยสังเขป สมาชิกของอาเซียนในปัจจบุ ัน ความสัมพันธ์ของกลมุ่ อาเซียนทาง เศรษฐกจิ และสังคมในปจั จุบันโดยสังเขป ม.๑ ๑. อธิบายพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ ทีต่ งั้ และสภาพทางภมู ิศาสตรข์ องประเทศ และการเมอื งของประเทศต่าง ๆ ใน ต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ ภมู ิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ ทม่ี ผี ลตอ่ พฒั นาการทางด้านตา่ งๆ พฒั นาการทางสงั คม เศรษฐกจิ และ การเมืองของประเทศตา่ ง ๆ ในภมู ิภาค เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ ๒. ระบคุ วามสำคัญของแหลง่ อารยธรรม ท่ีตง้ั และความสำคัญของแหลง่ อารยธรรม ในภมู ิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ ในภมู ิภาคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ เช่น แหล่งมรดกโลกในประเทศตา่ ง ๆของ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อทิ ธพิ ลของอารยธรรมโบราณในดนิ แดน ไทยทมี่ ีต่อพฒั นาการของสังคมไทยใน ปจั จุบนั ม.๒ ๑. อธบิ ายพัฒนาการทางสงั คม เศรษฐกจิ ทตี่ ง้ั และสภาพทางภมู ิศาสตรข์ องภมู ภิ าค และการเมืองของภูมภิ าคเอเชีย ตา่ งๆในทวีปเอเชยี (ยกเว้นเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้) ท่มี ีผลตอ่ พัฒนาการ โดยสงั เขป พฒั นาการทางสังคม เศรษฐกิจ และ การเมืองของภูมิภาคเอเชีย (ยกเวน้ เอเชีย ตะวันออกเฉยี งใต)้ ๒. ระบคุ วามสำคัญของแหล่งอารยธรรม ที่ตง้ั และความสำคญั ของแหลง่ อารยธรรม โบราณในภูมภิ าคเอเชยี โบราณในภมู ภิ าคเอเชยี เชน่ แหล่งมรดก โลกในประเทศต่างๆ ในภมู ิภาคเอเชีย อทิ ธพิ ลของอารยธรรมโบราณท่มี ตี ่อ ภูมิภาคเอเชียในปจั จบุ นั
๗๘ ชัน้ ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลางเฉพาะความพกิ าร ม.๓ ๑. อธิบายพฒั นาการทางสงั คม เศรษฐกิจ ทีต่ ัง้ และสภาพทางภมู ศิ าสตรข์ องภูมภิ าค และการเมืองของภมู ิภาคตา่ งๆ ในโลก ต่างๆของโลก (ยกเวน้ เอเชีย) ทีม่ ผี ลตอ่ โดยสังเขป พัฒนาการโดยสงั เขป ๒. วิเคราะห์ผลของการเปลีย่ นแปลงที่ พัฒนาการทางสังคม เศรษฐกจิ และการเมอื ง นำไปสคู่ วามรว่ มมอื และความขดั แยง้ ใน ของภมู ิภาคต่างๆของโลก (ยกเวน้ เอเชยี ) โดยสังเขป คริสต์ศตวรรษที่ ๒๐ ตลอดจนความ พยายามในการขจัดปญั หาความขดั แย้ง อทิ ธิพลของอารยธรรมตะวนั ตกท่ีมผี ลต่อ พฒั นาการและการเปลี่ยนแปลงของสงั คม โลก ความร่วมมือและความขดั แยง้ ใน คริสตศ์ ตวรรษท่ี ๒๐ เชน่ สงครามโลกครัง้ ท่ี ๑ คร้งั ที่ ๒ สงครามเย็น องคก์ ารความ รว่ มมือระหว่างประเทศ ม.๔-ม.๖ ๑.วิเคราะหอ์ ทิ ธพิ ลของอารยธรรรม อารยธรรมของโลกยคุ โบราณ ได้แก่ อารย โบราณ และการตดิ ต่อระหวา่ งโลก ธรรมลุ่มแมน่ ้ำไทกรสี -ยูเฟรตสี ไนล์ ฮวงโห ตะวันออกกบั โลกตะวันตกทมี่ ผี ลต่อ สินธุ และอารยธรรมกรกี -โรมนั พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของโลก การตดิ ต่อระหวา่ งโลกตะวนั ออกกับโลก ๒. วิเคราะห์เหตุการณส์ ำคัญตา่ งๆท่ีสง่ ผล ตะวันตก และอทิ ธพิ ลทางวัฒนธรรมท่ีมีต่อ ตอ่ การเปลยี่ นแปลงทางสงั คม เศรษฐกิจ กนั และกนั และการเมือง เขา้ สูโ่ ลกสมัยปจั จุบนั เหตุการณ์สำคัญตา่ งๆทีส่ ่งผลตอ่ การ เปลยี่ นแปลงของโลกในปัจจุบัน เช่นระบอบ ฟิวดสั การฟ้ืนฟู ศลิ ปวิทยาการสงครามครู เสด การสำรวจทางทะเล การปฏริ ูป ศาสนา การปฏวิ ตั ทิ าง ๓. วิเคราะห์ผลกระทบของการขยาย วทิ ยาศาสตร์ การปฏิวัตอิ ตุ สาหกรรม อทิ ธพิ ลของประเทศในยโุ รปไปยงั ทวปี จกั รวรรดนิ ยิ ม ลทั ธิชาตนิ ิยม เปน็ ต้น อเมริกา แอฟรกิ าและเอเชีย ความร่วมมอื และความขัดแย้งของ ๔. วเิ คราะหส์ ถานการณข์ องโลกใน ครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี ๒๑ มนุษยชาตใิ นโลก สถานการณ์สำคญั ของโลกในครสิ ต์ศตวรรษท่ี ๒๑ เช่น - เหตกุ ารณ์ ๑๑ กนั ยายน ๒๐๐๑ (Nine Eleven ) - การขาดแคลนทรัพยากร - การกอ่ การร้าย - ความขดั แยง้ ทางศาสนา ฯลฯ
๗๙ สาระท่ี ๔ ประวตั ศิ าสตร์ มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเปน็ มาของชาตไิ ทย วฒั นธรรม ภูมิปญั ญาไทย มีความรกั ความภมู ิใจและธำรง ความเปน็ ไทย ช้ัน ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลางเฉพาะความพิการ ป.๑ ๑. อธิบายความหมายและความสำคัญ ความหมายและความสำคญั ของ ของสญั ลักษณ์สำคญั ของชาติไทย และ สัญลกั ษณ์ทส่ี ำคญั ของชาติไทย ได้แก่ ปฏบิ ัติตนไดถ้ ูกตอ้ ง ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ (ธงชาติ เพลงชาติ พระพทุ ธรปู พระบรมฉายาลกั ษณ)์ การเคารพธงชาติ การร้องเพลงชาติ และเพลงสรรเสรญิ พระบารมี เคารพ ศาสนวัตถุ ศาสนสถาน เอกลักษณอ์ ืน่ ๆ เชน่ แผนที่ประเทศไทย ประเพณีไทย อาหารไทย (อาหารไทย ท่ีตา่ งชาตยิ กย่อง เชน่ ตม้ ยำกงุ้ ผดั ไทย) ทม่ี ีความภาคภูมิใจ และมสี ่วนรว่ ม ทจี่ ะอนุรักษไ์ ว้ ๒. บอกสถานทส่ี ำคัญซ่ึงเปน็ แหล่ง ตวั อยา่ งของแหล่งวฒั นธรรมในชุมชน วฒั นธรรมในชมุ ชน ท่ใี กล้ตวั นักเรยี น เช่น วดั ตลาด พพิ ิธภณั ฑ์ มสั ยดิ โบสถ์ครสิ ต์ โบราณสถาน โบราณวตั ถุ คุณคา่ และความสำคญั ของแหล่ง วัฒนธรรมในชุมชนในดา้ นต่างๆ เชน่ เป็น แหล่งทอ่ งเท่ยี ว เป็นแหล่งเรียนรู้ ๓. ระบุส่งิ ทีต่ นรกั และภาคภูมิใจใน ตัวอยา่ งสิ่งทเ่ี ปน็ ความภาคภูมิใจใน ท้องถนิ่ ทอ้ งถนิ่ เช่น สงิ่ ของ สถานท่ี ภาษาถิ่น ประเพณี และวัฒนธรรม ฯลฯ ทเี่ ป็น สง่ิ ท่ีใกล้ตวั นกั เรยี น และเปน็ รปู ธรรม ชดั เจน คณุ คา่ และประโยชนข์ องสิ่งต่างๆเหลา่ น้นั ป.๒ ๑. ระบบุ คุ คลท่ที ำประโยชน์ต่อท้องถน่ิ บุคคลในทอ้ งถ่นิ ท่ที ำคุณประโยชนต์ ่อการ หรือประเทศชาติ สรา้ งสรรคว์ ฒั นธรรม และความม่นั คง
๘๐ ช้ัน ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลางเฉพาะความพกิ าร ของท้องถน่ิ และประเทศชาติ ในอดีต ท่คี วรนำเป็นแบบอยา่ ง ผลงานของบคุ คลในทอ้ งถ่นิ ท่ีนา่ ภาคภมู ใิ จ ๒. ยกตวั อยา่ งวัฒนธรรม ประเพณี และ ตวั อยา่ งของวัฒนธรรมประเพณีไทย ภูมิปญั ญาไทยทีภ่ าคภมู ใิ จและควร เชน่ การทำความเคารพ อาหารไทย อนรุ กั ษไ์ ว้ ภาษาไทย ประเพณีสงกรานต์ ฯลฯ คุณคา่ ของวฒั นธรรม และประเพณีไทย ทม่ี ตี อ่ สงั คมไทย ภมู ปิ ญั ญาของคนไทยในทอ้ งถนิ่ ของ นกั เรยี น ป.๓ ๑. ระบพุ ระนามและพระราชกรณียกิจ พระราชประวตั ิ พระราชกรณยี กจิ โดยสังเขปของพระมหากษัตริย์ไทยท่ี โดยสังเขปของพอ่ ขุนศรีอนิ ทราทติ ย์ เปน็ ผูส้ ถาปนาอาณาจักรไทย สมเด็จพระรามาธบิ ดที ี่ ๑ (พระเจ้าอทู่ อง) สมเดจ็ พระเจ้าตากสนิ มหาราช และ พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลก มหาราช ผู้สถาปนาอาณาจกั รไทย สุโขทัย อยธุ ยา ธนบรุ ี และรตั นโกสนิ ทร์ ตามลำดบั อาณาจกั รไทยอนื่ ๆทผ่ี นวกรวมเข้าเป็น ส่วนหน่ึงของชาติไทย เชน่ ลา้ นนา นครศรีธรรมราช ๒. อธบิ ายพระราชประวตั แิ ละพระราช พระราชประวตั แิ ละพระราชกรณียกิจ กรณยี กิจของพระมหากษตั ริย์ ในรัชกาล ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั ปจั จุบัน โดยสงั เขป ภมู พิ ลอดุลยเดช และสมเด็จ พระบรมราชินีนาถโดยสงั เขป ๓. เล่าวรี กรรมของบรรพบุรษุ ไทย วรี กรรมของบรรพบุรุษไทยท่มี สี ่วน ทีม่ ีสว่ นปกปอ้ งประเทศชาติ ปกปอ้ งประเทศชาติ เช่น ทา้ วเทพสตรี ทา้ วศรสี ุนทร ชาวบ้านบางระจัน พระยาพชิ ัยดาบหัก สมเดจ็ พระนเรศวร มหาราช สมเด็จพระเจา้ ตากสินมหาราช ป.๔ ๑. อธิบายพฒั นาการของอาณาจกั ร การสถาปนาอาณาจักรสโุ ขทัยโดยสงั เขป สุโขทัยโดยสังเขป
๘๑ ช้นั ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลางเฉพาะความพกิ าร พัฒนาการของอาณาจกั รสโุ ขทยั ทางดา้ น การเมืองการปกครอง และเศรษฐกจิ โดยสงั เขป ๒. บอกประวตั แิ ละผลงานของบคุ คล ประวตั ิ และผลงานของบคุ คลสำคญั สำคญั สมัยสโุ ขทยั สมัยสุโขทัย เช่น พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ พ่อขนุ รามคำแหงมหาราช พระมหาธรรมราชา ท่ี ๑ (พระยาลไิ ทยโดยสังเขป) ๓. อธิบายภูมิปัญญาไทยท่สี ำคญั ภมู ปิ ัญญาไทยในสมยั สุโขทัย เช่น สมัยสุโขทัยที่น่าภาคภูมิใจ และควรคา่ ภาษาไทย ศลิ ปกรรมสุโขทยั ที่ได้รับ การยกย่องเปน็ มรดกโลก เครอ่ื ง แก่การอนรุ กั ษ์ สังคมโลก คณุ คา่ ของภมู ปิ ัญญาไทยท่สี ืบตอ่ ถึง ปัจจบุ ันทนี่ า่ ภาคภูมใิ จและควรค่า แกก่ ารอนรุ กั ษ์ ป.๕ ๑. อธิบายพฒั นาการของอาณาจกั ร การสถาปนาอาณาจักรอยธุ ยา โดยสังเขป อยุธยาและธนบรุ โี ดยสงั เขป ปัจจัยที่สง่ เสรมิ ความเจรญิ รงุ่ เรืองทาง เศรษฐกิจ และการปกครองของ ๒. อธิบายปัจจัยทสี่ ง่ เสรมิ ความเจริญ อาณาจกั รอยธุ ยา รงุ่ เรืองทางเศรษฐกิจและการปกครอง พฒั นาการของอาณาจกั รอยุธยาการด้าน ของอาณาจกั รอยธุ ยา การเมือง การปกครอง และเศรษฐกจิ ๓. บอกประวตั แิ ละผลงานของบุคคล โดยสงั เขป สำคัญสมยั อยุธยาและธนบรุ ีทน่ี ่า ผลงานของบคุ คลสำคญั ในสมยั อยธุ ยา เชน่ ภาคภูมิใจ สมเด็จพระรามาธบิ ดีท่ี ๑ สมเด็จ พระบรม ๔. อธิบายภูมปิ ญั ญาไทยทส่ี ำคัญ ไตรโลกนาถ สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช สมัยอยุธยาและธนบุรีทนี่ ่าภาคภูมิใจ สมเด็จพระนารายณม์ หาราช ชาวบา้ น และควรคา่ แก่การอนรุ กั ษไ์ ว้ บางระจัน เป็นต้น ภูมปิ ัญญาไทยสมยั อยธุ ยาโดยสังเขป เช่น ศิลปกรรม การคา้ วรรณกรรม การกอบกเู้ อกราชและการสถาปนา อาณาจกั รธนบุรโี ดยสงั เขป
๘๒ ชั้น ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลางเฉพาะความพกิ าร พระราชประวัติ และผลงานของ พระเจ้าตากสินมหาราชโดยสงั เขป ภูมปิ ญั ญาไทยสมัยธนบุรีโดยสงั เขป เช่น ศลิ ปกรรม การคา้ วรรณกรรม ป.๖ ๑. อธบิ ายพฒั นาการของไทยสมัย การสถาปนาอาณาจักรรตั นโกสนิ ทร์ รัตนโกสนิ ทร์ โดยสงั เขป โดยสงั เขป ๒. อธบิ ายปัจจยั ท่ีส่งเสรมิ ความ ปจั จัยท่สี ง่ เสรมิ ความเจริญรงุ่ เรอื งทาง เจรญิ รงุ่ เรอื งทางเศรษฐกจิ และการ เศรษฐกิจและการปกครองของไทย ปกครองของไทยสมัยรัตนโกสนิ ทร์ ในสมัยรัตนโกสนิ ทร์ ๓. ยกตวั อย่างผลงานของบุคคลสำคญั พฒั นาการของไทยสมัยรตั นโกสนิ ทร์ ดา้ นตา่ งๆสมัยรตั นโกสินทร์ โดยสังเขป ตามชว่ งเวลาตา่ งๆ เช่น ๔. อธบิ ายภูมปิ ญั ญาไทยทสี่ ำคญั สมัย สมยั รตั นโกสินทรต์ อนตน้ สมัยปฏริ ูป รตั นโกสนิ ทรท์ ่ีนา่ ภาคภมู ใิ จ และควรคา่ ประเทศ และสมยั ประชาธิปไตย แกก่ ารอนรุ กั ษไ์ ว้ ผลงานของบุคคลสำคญั ทางดา้ นตา่ งๆ ใน สมยั รตั นโกสนิ ทร์ เชน่ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้า- จฬุ าโลกมหาราช สมเดจ็ พระบวรราชเจ้ามหาสรุ สิงหนาท พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้า เจา้ อยูห่ วั ฯลฯ ภูมิปญั ญาไทยสมยั รตั นโกสนิ ทร์ เช่น ศิลปกรรม วรรณกรรม ม.๑ ๑. อธบิ ายเรอ่ื งราวทางประวตั ศิ าสตร์ สมัยก่อนประวตั ศิ าสตรใ์ นดินแดนไทย สมัยก่อนสุโขทยั ในดินแดนไทย โดยสงั เขป โดยสังเขป รฐั โบราณในดินแดนไทย เช่น ศรีวชิ ัยตาม พรลงิ ค์ ทวารวดี เป็นตน้ ๒. วิเคราะหพ์ ัฒนาการของอาณาจกั ร สโุ ขทัยในด้านตา่ ง ๆ
๘๓ ช้นั ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลางเฉพาะความพิการ ๓. วิเคราะหอ์ ทิ ธิพลของวัฒนธรรม และ รฐั ไทย ในดินแดนไทย เชน่ ลา้ นนา ภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทยั และสงั คมไทย นครศรีธรรมราช สพุ รรณภูมิ เป็นต้น ในปัจจุบัน การสถาปนาอาณาจกั รสโุ ขทยั และ ปจั จัยท่เี กย่ี วข้อง (ปจั จยั ภายในและ ปัจจัยภายนอก ) พฒั นาการของอาณาจักรสโุ ขทยั ในดา้ น การเมอื งการปกครอง เศรษฐกจิ สงั คม และความสมั พันธร์ ะหว่างประเทศ วัฒนธรรมสมยั สโุ ขทยั เชน่ ภาษาไทย วรรณกรรม ประเพณสี ำคญั ศิลปกรรม ไทย ภูมปิ ัญญาไทยในสมยั สุโขทยั เชน่ การชลประทาน เครอ่ื งสังคมโลก ความเสือ่ มของอาณาจกั รสโุ ขทัย ม.๒ ๑. วเิ คราะหพ์ ัฒนาการของอาณาจกั ร การสถาปนาอาณาจกั รอยธุ ยา อยธุ ยา และธนบรุ ีในด้านต่างๆ ปจั จยั ท่สี ง่ ผลตอ่ ความเจรญิ รุง่ เรอื งของ ๒. วเิ คราะหป์ จั จัยที่ส่งผลต่อความม่นั คง อาณาจกั รอยธุ ยา และความเจรญิ รงุ่ เรอื งของอาณาจกั ร พฒั นาการของอาณาจักรอยุธยาในด้าน อยธุ ยา การเมอื งการปกครอง สงั คม เศรษฐกิจ ๓. ระบุภูมปิ ญั ญาและวัฒนธรรมไทย และความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศ สมัยอยุธยาและธนบุรี และอิทธิพลของ การเสยี กรงุ ศรอี ยธุ ยาครงั้ ที่ ๑ และ ภมู ปิ ญั ญาดังกล่าว ตอ่ การพฒั นาชาติ การกู้เอกราช ไทยในยคุ ต่อมา ภมู ิปัญญาและวฒั นธรรมไทยสมยั อยุธยา เชน่ การควบคุมกำลังคน และ ศลิ ปวัฒนธรรม การเสียกรงุ ศรอี ยุธยาครั้งที่ ๒ การกู้ เอกราช และการสถาปนาอาณาจักร ธนบุรี ภูมิปญั ญาและวฒั นธรรมไทยสมยั ธนบุรี วรี กรรมของบรรพบุรุษไทย ผลงาน ของบุคคลสำคญั ของไทยและต่างชาติ ที่มสี ว่ นสร้างสรรคช์ าตไิ ทย
ช้นั ตวั ช้ีวัด ๘๔ ม.๓ ๑. วิเคราะห์พัฒนาการของไทย สมัยรตั นโกสนิ ทรใ์ นดา้ นตา่ งๆ สาระการเรยี นรูแ้ กนกลางเฉพาะความพกิ าร ม.๔ – ม. ๒. วเิ คราะห์ปจั จัยที่สง่ ผลต่อความ การสถาปนากรุงเทพมหานครเป็น ๖ มนั่ คงและความเจรญิ รุง่ เรืองของไทยใน สมัยรัตนโกสินทร์ ราชธานีของไทย ๓.วเิ คราะห์ภมู ปิ ัญญาและวฒั นธรรม ปัจจยั ที่สง่ ผลต่อความมนั่ คงและ ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ และอิทธพิ ลตอ่ การพัฒนาชาติไทย ความเจรญิ ร่งุ เรอื งของไทยในสมยั ๔.วิเคราะหบ์ ทบาทของไทยในสมัย รตั นโกสนิ ทร์ ประชาธิปไตย บทบาทของพระมหากษตั ริยไ์ ทยใน ราชวงศ์จกั รใี นการสรา้ งสรรคค์ วามเจรญิ ๑.วเิ คราะหป์ ระเด็นสำคญั ของ และความมนั่ คงของชาติ ประวตั ิศาสตร์ไทย พฒั นาการของไทยในสมยั รตั นโกสินทร์ ๒. วเิ คราะหค์ วามสำคัญของสถาบัน ทางด้านการเมือง การปกครอง สงั คม พระมหากษตั รยิ ์ตอ่ ชาติไทย เศรษฐกจิ และความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง ๓. วิเคราะห์ปัจจัยท่ีสง่ เสรมิ ความ ประเทศตามชว่ งสมัยต่างๆ สรา้ งสรรคภ์ ูมิปญั ญาไทย และ เหตกุ ารณ์สำคัญสมยั รัตนโกสนิ ทร์ทมี่ ี วัฒนธรรมไทย ซง่ึ มผี ลตอ่ สงั คมไทยใน ผลต่อการพัฒนาชาติไทย เชน่ การทำ ยุคปัจจบุ ัน สนธสิ ญั ญาเบาว์รงิ ในสมยั รชั กาลที่ ๔ การปฏริ ูปประเทศในสมยั รัชกาลที่ ๕ การเขา้ รว่ มสงครามโลกคร้ังที่ ๑ และครัง้ ที่ ๒ โดยวิเคราะห์สาเหตุปัจจยั และผล ของเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ภมู ปิ ัญญาและวัฒนธรรมไทยในสมยั รตั นโกสินทร์ บทบาทของไทยตัง้ แต่เปลย่ี นแปลง การปกครองจนถงึ ปัจจบุ ันในสงั คมโลก ประเด็นสำคัญของประวัตศิ าสตร์ไทย เช่น แนวคิดเกี่ยวกบั ความเปน็ มาของชาติ ไทย อาณาจกั รโบราณในดนิ แดนไทย และอิทธพิ ลท่ีมีตอ่ สงั คมไทย ปัจจยั ทีม่ ี ผลต่อการสถาปนาอาณาจกั รไทยใน ช่วงเวลาตา่ งๆ สาเหตุและ ผลของการปฏิรปู ฯลฯ
๘๕ ชัน้ ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลางเฉพาะความพิการ ๔. วิเคราะหผ์ ลงานของบุคคลสำคญั ทั้ง บทบาทของสถาบนั พระมหากษตั รยิ ใ์ น ชาวไทยและตา่ งประเทศ ที่มีสว่ น การพัฒนาชาติไทยในด้านตา่ งๆ เช่น การ สร้างสรรค์วฒั นธรรมไทย และ ป้องกันและรกั ษาเอกราชของชาติ การ ประวัติศาสตรไ์ ทย สร้างสรรคว์ ฒั นธรรมไทย อทิ ธิพลของวัฒนธรรมตะวันตก และ ตะวันออกที่มตี อ่ สังคมไทย ผลงานของบคุ คลสำคญั ทง้ั ชาวไทยและ ตา่ งประเทศ ที่มีสว่ นสรา้ งสรรค์ วฒั นธรรมไทย และประวตั ศิ าสตรไ์ ทย ปจั จัยที่สง่ เสรมิ ความสร้างสรรค์ภมู ิ ปัญญาไทย และวฒั นธรรมไทย ซงึ่ มีผล ต่อสังคมไทยในยคุ ปัจจบุ นั ๕. วางแผนกำหนดแนวทางและการมี สภาพแวดลอ้ มท่ีมีผลตอ่ การสรา้ งสรรค์ ส่วนร่วมการอนรุ กั ษภ์ ูมปิ ญั ญาไทยและ ภูมิปญั ญาและวฒั นธรรมไทย วฒั นธรรมไทย วิถชี ีวติ ของคนไทยในสมยั ต่างๆ การสืบทอดและเปลี่ยนแปลงของ วฒั นธรรมไทย แนวทางการอนรุ กั ษภ์ มู ิปญั ญาและ วฒั นธรรมไทยและการมสี ่วนร่วมในการ อนุรักษ์ วธิ ีการมีสว่ นรว่ มอนรุ ักษภ์ ูมปิ ญั ญาและ วฒั นธรรมไทย สาระที่ ๕ ภูมศิ าสตร์ มาตรฐาน ส ๕.๑ เขา้ ใจลกั ษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพนั ธข์ องสรรพสง่ิ ซง่ึ มผี ลตอ่ กันและกนั ในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเคร่อื งมือทางภูมศิ าสตรใ์ นการคน้ หา วเิ คราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภมู สิ ารสนเทศอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ชนั้ ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลางเฉพาะความพกิ าร ป.๑ ๑. แยกแยะสิ่งตา่ งๆ รอบตัวที่เกิดข้ึนเอง สิ่งตา่ ง ๆ รอบตวั ที่เกดิ ขน้ึ เองตาม ตามธรรมชาตแิ ละท่มี นุษยส์ รา้ งข้ึน ธรรมชาตแิ ละทม่ี นุษย์สรา้ งขึ้น
๘๖ ชน้ั ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลางเฉพาะความพิการ ๒. ระบุความสัมพันธข์ องตำแหน่ง ความสัมพนั ธ์ของตำแหนง่ ระยะ ระยะ ทิศของสงิ่ ตา่ งๆ รอบตัว ทศิ ของสง่ิ ตา่ งๆ รอบตัว เช่น ท่ีอยู่อาศัย บ้าน เพื่อนบ้าน ตน้ ไม้ ถนน ทงุ่ นา ไร่ สวน ท่ีราบ ภูเขา แหล่งน้ำ ๓. ระบทุ ิศหลกั และทต่ี ัง้ ของสิ่งต่างๆ ทิศหลัก (เหนือ ตะวนั ออก ใต้ ตะวนั ตก) และ ทต่ี ง้ั ของส่งิ ต่าง ๆ รอบตัว ๔. ใชแ้ ผนผงั งา่ ย ๆ ในการแสดง แผนผังแสดงตำแหน่งส่งิ ตา่ งๆใน ตำแหนง่ ของส่ิงต่างๆในห้องเรียน ห้องเรียน ๕. สังเกตและบอกการเปล่ียนแปลงของ การเปลีย่ นแปลงของสภาพอากาศในรอบ สภาพอากาศในรอบวนั วนั เชน่ กลางวนั กลางคนื ความรอ้ นของ อากาศ ฝน - เมฆ - ลม ป.๒ ๑. ระบุส่ิงต่างๆ ทีเ่ ป็นธรรมชาตกิ บั ที่ สง่ิ ตา่ งๆ ทเ่ี ปน็ ธรรมชาติกับทีม่ นุษย์สรา้ ง มนษุ ย์สร้างขึ้น ซึง่ ปรากฏระหวา่ ง ข้ึน ซงึ่ ปรากฏระหว่างโรงเรยี นกับบา้ น โรงเรียนกับบา้ น ๒. ระบุตำแหน่งอย่างงา่ ยและลกั ษณะทาง ตำแหนง่ อยา่ งง่ายและลกั ษณะทางกายภาพของ กายภาพของสิง่ ต่างๆที่ปรากฏในลูกโลก แผน สง่ิ ต่างๆทีป่ รากฏในลูกโลก แผนที่ แผนผัง ที่ แผนผัง และภาพถ่าย และภาพถา่ ยเช่น ภเู ขา ท่ีราบ แม่น้ำ ตน้ ไม้ อากาศ ทะเล ๓. อธิบายความสัมพันธข์ อง ความสมั พนั ธข์ องปรากฏการณร์ ะหว่าง ปรากฏการณ์ระหวา่ งโลก ดวงอาทติ ย์ โลก ดวงอาทติ ยแ์ ละดวงจนั ทร์เช่น และดวงจนั ทร์ ขา้ งขนึ้ ข้างแรม ฤดกู าลตา่ งๆ ป.๓ ๑. ใชแ้ ผนที่ แผนผัง และภาพถา่ ยใน แผนที่ แผนผงั และภาพถ่าย การหาขอ้ มลู ทางภูมิศาสตร์ในชมุ ชนได้ ความสมั พันธข์ องตำแหน่ง ระยะ ทศิ ทาง อย่างมีประสิทธิภาพ ๒. เขียนแผนผังง่ายๆ เพอ่ื แสดง ตำแหน่งที่ตั้งสัมพนั ธ์ของสถานทีส่ ำคญั ใน ตำแหนง่ ทีต่ ง้ั ของสถานท่สี ำคญั ใน บริเวณโรงเรยี นและชมุ ชน เชน่ สถานท่ี บริเวณโรงเรียนและชมุ ชน ราชการ อำเภอ ตลาด โรงพยาบาล ไปรษณีย์ ฯลฯ ๓ .บอกความสัมพนั ธข์ องลักษณะ ภมู ิประเทศ และภมู อิ ากาศทม่ี ีผลตอ่ กายภาพกบั ลักษณะทางสังคมของ สภาพสงั คมในชมุ ชน ชมุ ชน
๘๗ ชั้น ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลางเฉพาะความพิการ ป.๔ ๑. ใช้แผนท่ี ภาพถ่าย ระบุลกั ษณะ แผนที่/ภาพถ่าย ลกั ษณะทางกายภาพ สำคัญทางกายภาพของจงั หวดั ตนเอง ของจังหวัดตนเอง ๒. ระบแุ หลง่ ทรัพยากรและสิ่งตา่ ง ๆ ตำแหน่ง ระยะทางและทิศของ ในจงั หวัดของตนเองดว้ ยแผนท่ี ทรัพยากรและสิ่งตา่ งๆ ในจังหวัดของ ตนเอง ๓. ใช้แผนทอี่ ธิบายความสัมพันธข์ องสง่ิ แผนท่แี สดงความสมั พนั ธ์ของสงิ่ ต่างๆ ท่ี ต่างๆ ท่มี ีอยูใ่ นจงั หวดั มีอยู่ในจงั หวดั ลกั ษณะทางกายภาพ (ภูมิลักษณ์หรือ ภมู ปิ ระเทศและภูมอิ ากาศ) ทมี่ ผี ลตอ่ สภาพสงั คมของจังหวัด ป.๕ ๑. รตู้ ำแหน่ง (พกิ ดั ภมู ศิ าสตร์ ละติจดู ตำแหน่ง (พกิ ดั ภูมิศาสตร์ ละตจิ ดู ลองจิจดู ) ระยะ ทศิ ทางของภมู ิภาค ลองจิจูด) ระยะ ทศิ ทาง ของภมู ิภาค ของตนเอง ของตนเอง ๒. ระบลุ กั ษณะภมู ิลักษณ์ท่สี ำคญั ใน ภมู ลิ ักษณ์ทีส่ ำคญั ในภูมิภาคของตนเอง ภูมภิ าคของตนเองในแผนท่ี เชน่ แม่น้ำ ภูเขา ป่าไม้ ๓. อธบิ ายความสัมพันธข์ องลกั ษณะทาง ความสมั พันธข์ องลักษณะทางกายภาพ กายภาพกับลกั ษณะทางสังคมในภูมภิ าค (ภมู ิลักษณ์และภมู อิ ากาศ) และลักษณะ ของตนเอง ทางสังคม (ภูมสิ งั คม)ในภมู ภิ าคของ ตนเอง ป.๖ ๑. ใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ (แผนที่ เคร่ืองมือทางภมู ศิ าสตร์ (แผนท่ี ภาพถา่ ย ภาพถา่ ยชนิดตา่ ง ๆ) ระบุลกั ษณะสำคัญ ชนดิ ต่าง ๆ ) ท่แี สดงลกั ษณะทางกายภาพ ทางกายภาพและสังคมของประเทศ ของประเทศ ๒. อธบิ ายความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งลกั ษณะทาง ลกั ษณะทางกายภาพกับปรากฏการณ์ กายภาพกบั ปรากฏการณท์ างธรรมชาติ ทางธรรมชาติของประเทศ ของประเทศ เชน่ อุทกภัย แผน่ ดนิ ไหว วาตภัย ภมู ลิ ักษณท์ ี่มตี ่อภูมสิ งั คมของประเทศไทย ม.๑ ๑. เลือกใชเ้ คร่อื งมือทางภมู ศิ าสตร์ เครอื่ งมอื ทางภมู ศิ าสตร์ (ลกู โลก แผนที่ (ลกู โลก แผนที่ กราฟ แผนภูมิ) ในการ กราฟ แผนภมู ิ ฯลฯ) ทแี่ สดงลกั ษณะ สบื คน้ ข้อมลู เพื่อวิเคราะหล์ กั ษณะทาง ทางกายภาพ และสงั คมของประเทศไทย กายภาพและสงั คมของประเทศไทยและ และทวปี เอเชยี ออสเตรเลยี และ ทวปี เอเชีย ออสเตรเลยี และ โอเชียเนีย โอเชียเนยี
๘๘ ชั้น ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลางเฉพาะความพิการ ๒. อธิบายเสน้ แบ่งเวลา และ เส้นแบ่งเวลาของประเทศไทยกบั ทวีปต่าง เปรยี บเทียบวัน เวลาของประเทศไทย ๆ กบั ทวปี ตา่ ง ๆ ความแตกตา่ งของเวลา มาตรฐานกบั เวลาทอ้ งถนิ่ ๓. วเิ คราะห์เช่ือมโยงสาเหตแุ ละ ภยั ธรรมชาตแิ ละการระวงั ภัยทเี่ กดิ ขน้ึ ใน แนวทางปอ้ งกันภยั ธรรมชาติและการ ประเทศไทยและทวปี เอเชีย ออสเตรเลยี ระวังภยั ท่เี กิดขน้ึ ในประเทศไทยและ โอเชยี เนยี ทวีปเอเชยี ออสเตรเลีย และโอเชยี เนยี ม.๒ ๑. ใชเ้ ครื่องมือทางภูมศิ าสตรใ์ นการ เครอื่ งมอื ทางภมู ศิ าสตรท์ ี่แสดงลกั ษณะ รวบรวม วเิ คราะห์ และนำเสนอข้อมลู ทางกายภาพและสงั คมของทวปี ยโุ รป เกย่ี วกับลกั ษณะทางกายภาพและสังคม และแอฟริกา ของทวีปยโุ รป และแอฟริกา ๒. วิเคราะหค์ วามสมั พนั ธ์ระหว่าง ลกั ษณะทางกายภาพและสงั คมของทวีป ลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวปี ยโุ รปและแอฟริกา ยโุ รปและแอฟรกิ า ช้นั ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ม.๓ ๑. ใชเ้ ครื่องมือทางภมู ศิ าสตรใ์ นการ เคร่ืองมอื ทางภูมิศาสตรท์ แี่ สดงลักษณะ รวบรวม วิเคราะห์ และนำเสนอขอ้ มูล ทางกายภาพและสงั คมของทวปี อเมริกา เกย่ี วกบั ลกั ษณะทางกายภาพและสังคม เหนอื และอเมริกาใต้ ของทวีปอเมริกาเหนอื และอเมริกาใต้ ๒.วิเคราะห์ความสัมพันธร์ ะหว่าง ลกั ษณะทางกายภาพและสังคมของทวีป ลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีป อเมริกาเหนือ และอเมริกาใต้ อเมริกาเหนอื และอเมริกาใต้ ม.๔ – ม.๖ ๑. ใช้เคร่ืองมอื ทางภูมศิ าสตรใ์ นการ เคร่ืองมอื ทางภมู ิศาสตร์ ให้ขอ้ มูลและ รวบรวม วเิ คราะห์ และนำเสนอขอ้ มลู ข่าวสารภมู ลิ กั ษณ์ ภูมิอากาศและภมู ิ ภูมิสารสนเทศอยา่ งมีประสิทธิภาพ สังคมของไทยและภูมิภาคต่างๆทว่ั โลก ๒. วิเคราะห์อทิ ธิพลของสภาพ ปญั หาทางกายภาพหรือภยั พิบตั ทิ าง ภมู ศิ าสตร์ ซง่ึ ทำให้เกิดปญั หาทาง ธรรมชาตใิ นประเทศไทยและภูมิภาคต่าง กายภาพหรอื ภัยพบิ ัติทางธรรมชาตใิ น ๆ ของโลก ประเทศไทยและภูมิภาคตา่ ง ๆ ของโลก การเปลยี่ นแปลงลักษณะทางกายภาพ ในสว่ นตา่ ง ๆ ของ โลก การเกิดภูมสิ งั คมใหม่ของโลก
๘๙ ชนั้ ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลางเฉพาะความพกิ าร ๓. วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของพน้ื ที่ การเปลีย่ นแปลงของพน้ื ที่ซงึ่ ได้รับ ซึง่ ไดร้ บั อิทธิพลจากปัจจยั ทางภมู ศิ าสตร์ อทิ ธิพลจากปจั จยั ทางภมู ิศาสตร์ ในประเทศไทยและทวปี ตา่ งๆ ในประเทศไทยและทวีปตา่ งๆ เชน่ การ เคลือ่ นตัวของแผ่นเปลอื กโลก ๔. ประเมนิ การเปล่ียนแปลงธรรมชาติ การเปลย่ี นแปลงธรรมชาตใิ นโลก เชน่ ในโลกว่าเป็นผลมาจากการกระทำของ ภาวะโลกร้อน ความแหง้ แลง้ สภาพ มนุษย์และหรอื ธรรมชาติ อากาศแปรปรวน สาระท่ี ๕ ภมู ิศาสตร์ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏสิ มั พนั ธร์ ะหว่างมนษุ ยก์ บั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพทีก่ อ่ ใหเ้ กดิ การสรา้ งสรรค์วฒั นธรรม มจี ติ สำนึกและมสี ว่ นร่วมในการอนรุ กั ษท์ รพั ยากร และสง่ิ แวดล้อม เพ่ือการพฒั นาท่ยี งั่ ยืน ชนั้ ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรู้แกนกลางเฉพาะความพกิ าร ป.๑ ๑. บอกสง่ิ ตา่ ง ๆ ที่เกดิ ตามธรรมชาตทิ ่ี ลกั ษณะภมู ิประเทศ ภมู อิ ากาศมีผลต่อ ส่งผลตอ่ ความเปน็ อย่ขู องมนุษย์ ความเปน็ อยูข่ องมนุษย์ เช่น ทอ่ี ยอู่ าศัย เครือ่ งแตง่ กายและอาหาร ๒. สงั เกตและ เปรียบเทยี บการเปลีย่ น การเปลีย่ นแปลงของสภาพแวดล้อมทอี่ ยรู่ อบตัว แปลงของสภาพแวดล้อมทอ่ี ยรู่ อบตวั ๓. มีส่วนรว่ มในการจดั ระเบยี บ การรเู้ ท่าทันสิง่ แวดล้อมและปรบั ตัวเข้ากบั สง่ิ แวดล้อมทบี่ า้ นและช้นั เรยี น สิ่งแวดลอ้ ม ป.๒ ๑. อธบิ ายความสำคัญและคณุ ค่า คณุ คา่ ของส่งิ แวดลอ้ มทางธรรมชาติ เช่น ของสง่ิ แวดล้อมทางธรรมชาตแิ ละ ในการประกอบอาชพี ทางสังคม คุณคา่ ของสงิ่ แวดลอ้ มทางสังคม เช่น สิ่งปลกู สร้างเพอื่ การดำรงชพี ๒. แยกแยะและใชท้ รพั ยากรธรรมชาติท่ี ความหมายของทรพั ยากรธรรมชาติ ใช้แล้วไมห่ มดไปและท่ใี ชแ้ ลว้ หมดไปได้ ประเภททรพั ยากรธรรมชาติ อย่างคุม้ คา่ -ใชแ้ ลว้ หมดไป เชน่ แร่ - ใช้แล้วไม่หมด เช่น บรรยากาศ น้ำ - ใช้แลว้ มีการเกิดขน้ึ มา ทดแทนหรือรกั ษา ไว้ได้ เช่น ดิน ปา่ ไม้ สตั วป์ า่ - วธิ ใี ชท้ รพั ยากรอย่างคมุ้ ค่า
๙๐ ช้ัน ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลางเฉพาะความพิการ ๓. อธบิ ายความสัมพันธข์ องฤดกู าลกับ ความสมั พนั ธข์ องฤดูกาลกับการดำเนิน การดำเนินชีวิตของมนษุ ย์ ชีวติ ของมนุษย์ ๔. มสี ว่ นรว่ มในการฟน้ื ฟปู รบั ปรงุ การเปลยี่ นแปลงของสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและชุมชน การรักษาและฟน้ื ฟสู ่งิ แวดลอ้ ม ป.๓ ๑. เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลง สภาพแวดลอ้ มในชมุ ชนในอดีตและ สภาพแวดล้อมในชุมชนจากอดตี ถงึ ปัจจุบัน ปจั จุบัน ๒. อธบิ ายการพ่งึ พาส่งิ แวดลอ้ ม การพ่ึงพาสิ่งแวดล้อม ในการดำรงชวี ติ ของ และทรพั ยากรธรรมชาตใิ นการสนอง มนษุ ย์ เช่น การคมนาคม บา้ นเรอื น ความต้องการพ้ืนฐานของมนุษย์ และการประกอบอาชพี ในชมุ ชน และการประกอบอาชพี การประกอบอาชีพทีเ่ ปน็ ผลมาจาก สภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาติในชมุ ชน ๓. อธิบายเกี่ยวกับมลพษิ และการ มลพิษที่เกดิ จากการกระทำของมนุษย์ กอ่ ให้เกดิ มลพษิ โดยมนษุ ย์ ๔. อธบิ ายความแตกตา่ งของเมอื งและ ลักษณะของเมอื งและชนบท ชนบท ๕. ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงของ การเพิ่มและสูญเสยี สงิ่ แวดลอ้ มทำให้ ส่ิงแวดล้อมในชมุ ชน ชมุ ชนเปลี่ยนแปลง ป.๔ ๑. อธบิ ายสภาพ แวดลอ้ มทางกายภาพ สภาพ แวดลอ้ มทางกายภาพของชมุ ชนท่ี ของชมุ ชนท่ีส่งผลตอ่ การดำเนนิ ชีวติ ของ สง่ ผลต่อการดำเนินชีวติ ของคนในจงั หวดั คนในจงั หวัด เช่น ลักษณะบ้าน อาหาร ๒. อธิบายการเปลี่ยนแปลงสภาพ การเปล่ยี นแปลงสภาพแวดลอ้ มในจังหวัด แวดลอ้ มในจังหวดั และผลทีเ่ กดิ จากการ และผลทเี่ กิดจากการเปล่ียนแปลง เช่น เปลีย่ นแปลงน้ัน การตง้ั ถ่นิ ฐาน การยา้ ยถ่ิน ๓. มสี ว่ นร่วมในการอนุรักษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม การอนุรกั ษ์สิ่งแวดลอ้ มและ ในจังหวดั ทรพั ยากรธรรมชาตใิ นจงั หวดั ป.๕ ๑. วเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพท่ีมีอทิ ธพิ ลตอ่ ท่มี ีอิทธพิ ลตอ่ ลกั ษณะการตง้ั ถิ่นฐาน ลกั ษณะการต้ังถิ่นฐานและการยา้ ยถิน่ ของ และการย้ายถิน่ ของประชากร ประชากรในภมู ภิ าค ในภูมภิ าค
๙๑ ชัน้ ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลางเฉพาะความพกิ าร ๒. อธิบายอทิ ธพิ ลของส่ิงแวดล้อมทาง อิทธพิ ลของส่งิ แวดลอ้ มทางธรรมชาติที่ ธรรมชาตทิ กี่ อ่ ให้เกิดวถิ ีชวี ติ และการ กอ่ ใหเ้ กดิ วถิ ีชีวติ และการสร้างสรรค์ สร้างสรรค์วฒั นธรรมในภูมิภาค วัฒนธรรมในภูมิภาค ๓. นำเสนอตัวอยา่ งท่ีสะทอ้ นใหเ้ ห็นผล ผลจากการรกั ษาและการทำลาย จากการรกั ษาและการทำลาย สภาพแวดลอ้ ม สภาพแวดลอ้ ม และเสนอแนวคิด แนวทางการอนรุ ักษแ์ ละรักษา ในการรกั ษาสภาพแวดลอ้ มในภมู ิภาค สภาพแวดล้อมในภมู ภิ าค ป.๖ ๑. วเิ คราะห์ความสมั พนั ธ์ระหว่าง ส่ิงแวดลอ้ มทางธรรมชาติ กับส่งิ แวดล้อม สิ่งแวดลอ้ มทางธรรมชาตกิ บั ส่ิงแวดลอ้ ม ทางสงั คมในประเทศ ทางสงั คมในประเทศ ความสัมพนั ธแ์ ละผลกระทบ ๒. อธบิ ายการแปลงสภาพธรรมชาติใน ผลทีเ่ กดิ จากการปรบั เปลย่ี น หรอื ดัดแปลง ประเทศไทยจากอดตี ถงึ ปจั จบุ นั และผล สภาพธรรมชาตใิ นประเทศจากอดีต ถึง ท่ีเกดิ ขึน้ จากการเปลยี่ นแปลงนัน้ ปัจจบุ นั และผลทเ่ี กิดข้ึน (ประชากร เศรษฐกจิ สังคม อาชพี และวัฒนธรรม) ๓. จดั ทำแผนการใช้ทรัพยากรในชมุ ชน แนวทางการใชท้ รัพยากรของคนในชุมชน ให้ใชไ้ ดน้ านขนึ้ โดยมีจติ สำนึกรคู้ ุณคา่ ของ ทรพั ยากร แผนอนรุ กั ษ์ทรยั ากรในชุมชน หรือแผน อนุรักษ์ ม.๑ ๑. วเิ คราะห์ผลกระทบจากการ การเปล่ยี นแปลงประชากร เศรษฐกจิ เปลยี่ นแปลงทางธรรมชาตขิ องทวปี สังคม และวัฒนธรรมในทวีปเอเชยี เอเชยี ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย ออสเตรเลีย และโอเชยี เนีย การกอ่ เกดิ สงิ่ แวดลอ้ มใหม่ทางสังคม แนวทางการใช้ทรัพยากรของคนในชุมชน ใหใ้ ชไ้ ดน้ านขนึ้ โดยมีจติ สำนึกรูค้ ุณคา่ ของ ทรัพยากร แผนอนุรกั ษ์ทรยั ากรในทวปี เอเชีย ๒. วิเคราะห์ความรว่ มมอื ของประเทศ ความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศในทวีปเอเชีย ตา่ ง ๆท่มี ผี ลตอ่ ส่ิงแวดลอ้ มทาง ออสเตรเลีย โอเชียเนีย ท่ีมีผลตอ่ ธรรมชาติของทวปี เอเชยี ออสเตรเลยี สง่ิ แวดลอ้ มทางธรรมชาติ และโอเชยี เนีย
๙๒ ชน้ั ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นร้แู กนกลางเฉพาะความพิการ ๓. สำรวจ และอธบิ ายทำเลทตี่ ้งั ทำเลทตี่ ้งั กิจกรรมทางเศรษฐกจิ และสังคม กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ และสงั คมในทวปี ในทวีปเอเชยี ออสเตรเลีย และโอเชยี เนีย เอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชยี เนีย โดย เช่น ศูนยก์ ลางการคมนาคม ใช้แหล่งข้อมูลทห่ี ลากหลาย ๔. วเิ คราะห์ปัจจยั ทางกายภาพและ ปัจจัยทางกายภาพและสังคมทม่ี ีผลต่อ สังคมท่มี ีผลตอ่ การเล่ือนไหลของ การเลือ่ นไหลของความคดิ เทคโนโลยี ความคดิ เทคโนโลยี สนิ ค้า และ สินคา้ และประชากรในทวปี เอเชีย ประชากรในทวปี เอเชีย ออสเตรเลยี ออสเตรเลยี และโอเชยี เนีย และโอเชียเนยี ม.๒ ๑. วเิ คราะหก์ ารกอ่ เกดิ สงิ่ แวดล้อมใหม่ การเปลย่ี นแปลงประชากร เศรษฐกิจ ทางสงั คม อันเปน็ ผลจากการ สงั คม และวฒั นธรรมของทวีปยโุ รป เปลยี่ นแปลงทางธรรมชาติและทาง และแอฟรกิ า สังคมของทวีปยุโรป และแอฟรกิ า ๒. ระบุแนวทางการอนรุ กั ษ์ การอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม ในทวีปยโุ รป และแอฟรกิ า สง่ิ แวดล้อมในทวปี ยุโรป และแอฟริกา ๓. สำรวจ อภปิ รายประเดน็ ปญั หา ปัญหาเกีย่ วกับสิง่ แวดลอ้ มทเ่ี กิดข้ึนในทวปี เกีย่ วกับสิ่งแวดลอ้ มทเ่ี กดิ ขน้ึ ในทวีป ยุโรป และแอฟรกิ า ยุโรป และแอฟริกา ๔. วเิ คราะหเ์ หตุและผลกระทบที่ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของ ประเทศไทยได้รับจากการเปล่ียนแปลง ของส่ิงแวดลอ้ มในทวีปยุโรป และ สง่ิ แวดล้อมในทวปี ยุโรป และแอฟรกิ า แอฟริกา ต่อประเทศไทย ม.๓ ๑. วิเคราะหก์ ารกอ่ เกิดสง่ิ แวดล้อมใหม่ การเปลย่ี นแปลงประชากร เศรษฐกจิ ทางสังคม อนั เปน็ ผลจากการ สังคม และวฒั นธรรมของทวปี อเมริกา เปลีย่ นแปลงทางธรรมชาติและ เหนือและอเมรกิ าใต้ ทางสงั คมของทวีปอเมรกิ าเหนือและ อเมริกาใต้ ๒. ระบแุ นวทางการอนรุ กั ษ์ทรัพยากร ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมใน ธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ มในทวปี ทวปี อเมริกาเหนอื และอเมริกาใต้ อเมริกาเหนอื และอเมริกาใต้ ๓. สำรวจ อภิปรายประเด็นปญั หา ปญั หาเก่ยี วกับสง่ิ แวดล้อมทีเ่ กิดขึน้ ในทวปี เก่ียวกับสงิ่ แวดลอ้ มท่ีเกดิ ขน้ึ ในทวปี อเมริกาเหนอื และอเมรกิ าใต้ อเมริกาเหนอื และอเมรกิ าใต้
๙๓ ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลางเฉพาะความพิการ ๔. วิเคราะหเ์ หตุและผลกระทบตอ่ เนือ่ ง ผลกระทบต่อเนื่องของสงิ่ แวดลอ้ มในทวปี จากการเปล่ยี นแปลงของสิง่ แวดลอ้ มใน อเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ ที่ส่งผลต่อ ทวปี อเมริกาเหนอื และอเมริกาใต้ ที่ ประเทศไทย ส่งผลต่อประเทศไทย ม.๔ –ม.๖ ๑.วเิ คราะห์สถานการณแ์ ละวกิ ฤตการณ์ การเปล่ยี นแปลงลกั ษณะทางกายภาพ ด้านทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม ในส่วนตา่ ง ๆ ของ โลก ของประเทศไทยและโลก การเกิดภมู ิสงั คมใหม่ ๆ ในโลก วกิ ฤตการณด์ า้ นทรพั ยากรธรรมชาติและ สงิ่ แวดล้อมของประเทศไทยและโลก ๒. ระบุมาตรการป้องกนั และแก้ไข มาตรการป้องกันและแก้ไขปญั หา ปัญหา บทบาทขององคก์ ารและการ บทบาทขององค์การและการประสานความ ประสานความรว่ มมือทงั้ ในประเทศและ ร่วมมือท้งั ในประเทศและนอกประเทศ นอกประเทศเก่ยี วกบั กฎหมาย กฎหมายสิ่งแวดล้อม การจดั การ ส่งิ แวดล้อม การจดั การทรพั ยากร ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม ธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม ๓. ระบแุ นวทางการอนรุ กั ษ์ทรัพยากร การอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติและ ธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มในภมู ิภาคตา่ ง สิ่งแวดล้อมในภมู ภิ าคต่าง ๆ ของโลก ๆ ของโลก ๔. อธบิ ายการใชป้ ระโยชน์จาก การใชป้ ระโยชนจ์ ากสงิ่ แวดลอ้ มในการ สิ่งแวดล้อมในการสรา้ งสรรคว์ ัฒนธรรม สร้างสรรคว์ ัฒนธรรม อนั เปน็ เอกลักษณ์ อนั เปน็ เอกลกั ษณข์ องทอ้ งถิน่ ทั้งใน ของท้องถน่ิ ทัง้ ในประเทศไทยและโลก ประเทศไทยและโลก ๕. มสี ว่ นรว่ มในการแก้ปญั หาและ การแก้ปญั หาและการดำเนนิ ชีวติ ตาม การดำเนนิ ชีวิตตามแนวทางการอนรุ กั ษ์ แนวทางการอนุรกั ษท์ รพั ยากรและ ทรัพยากรและสง่ิ แวดลอ้ ม เพื่อการ สิ่งแวดลอ้ ม เพ่ือการพฒั นาทย่ี ง่ั ยืน พัฒนาที่ย่ังยืน
๙๔ โครงสร้างรายวชิ า รหสั วิชา ส ๑๒๑๐๑ รายวชิ า สงั คมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๑ เวลาเรียน ๘๐ ชว่ั โมง / ปี หน่วยน้ำหนกั ๒.๐ หน่วยท่ี ชอื่ หน่วย มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา/ นำ้ หนกั / คะแนน การเรยี นรู้ / ตัวช้วี ดั ชว่ั โมง ๓๕ ๑ ศาสนา ศาสนา ส ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑.๑ ศาสนา เป็นมรดกทาง ๓๐ ๒๕ ของเรา ป.๑/๒ ป.๑/๓ , ป.๑/๔ วัฒนธรรมและเปน็ , ป.๑/๕ , ป.๑/๖ ป.๑/๗ เคร่อื งมอื ยดึ เหนยี่ วจติ ใจ. , ใหม้ นุษย์อยู่ร่วมกนั ใน ป.๑/๘ สังคมได้อยา่ งสงบสขุ ส ๑.๒ ป.๑/๑ , ส.๑.๒ ป.๑/๒ ,ป.๑/๓ ๒ หนา้ ทขี่ องฉนั ส ๒.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ การเป็นพลเมืองดขี อง ๒๐ ส ๒.๒ ป.๑/๑ , ครอบครวั และโรงเรียน ป.๑/๒, ป.๑/๓ ตามบทบาทหนา้ ที่ ๓ รา้ นค้า ส ๓.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ การเลอื กสนิ ค้าและ ๑๐ ๒๐ ๑๐ ป.๑/๓ บรกิ ารท่ีเปน็ ประโยชน์ตอ่ ๑๐ ตนเอง ๑๐๐ ๔ ทำงานเบิกบาน ส. ๓.๒ ป.๑/๑ การทำงานรว่ มกบั ผอู้ น่ื ๑๐ ใจ อยา่ งมีความสขุ ๕ ธรรมชาตินา่ รู้ ๕.๒ ป.๑/๑ , ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ ๑๐ ป.๑/๒ สง่ิ แวดล้อมมีผลกระทบ ป.๑/๓ ตอ่ การดำรงชวี ติ และ สิ่งมชี ีวิต รวม ๘๐
๙๕ โครงสร้างรายวิชา รหัสวชิ า ส ๑๒๑๐๒ รายวิชา ประวตั ิศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๒ เวลาเรียน ๔๐ ช่ัวโมง / ปี หน่วยนำ้ หนกั ๒.๐ หน่วย ชอ่ื หนว่ ย มาตรฐานการเรียนรู้ / สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั ท่ี การเรียนรู้ ตวั ชวี้ ดั (ช่ัวโมง) คะแนน ๑. ปฏทิ ินคอื อะไร ส. ๔.๑ ป.๑/๑ , การร้จู ักใช้เวลาวา่ งให้เปน็ ๑๕ ๔๐ ป.๑/๒,ป.๑/๓ ประโยชน์ ๒. ส่ิงแวดล้อม ส. ๔.๒ ป.๑/๑ , ส่งิ แวดลอ้ มรอบตวั เรามี ๑๐ ๒๐ รอบตวั เรา ป.๑/๒ ความสำคญั ต่อการดำรงชวี ิต ของมนุษย์ ๓. ความเป็นไทย ส. ๔.๓ ป.๑/๑ , เอกลกั ษณ์ของความเป็นไทย ๑๕ ๔๐ ป.๑/๒, ,ป.๑/๓ ตอ้ งรว่ มกนั อนุรักษ์ สบื สาน ประเพณี วฒั นธรรมทด่ี ีงาม รวม ๔๐ ๑๐๐
๙๖ โครงสร้างรายวชิ า รหสั วิชา ส ๑๒๑๐๑ รายวิชา สงั คมศึกษา ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๒ เวลาเรยี น ๘๐ ชัว่ โมง / ปี หนว่ ยน้ำหนัก ๒.๐ หนว่ ยท่ี ชอื่ หนว่ ยการ มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสำคัญ เวลา/ นำ้ หนกั / คะแนน เรยี นรู้ / ตวั ชว้ี ัด ชั่วโมง ๔๐ ๑. ศาสนาท่ีตน ส. ๑.๑ ป.๒/๑ ป.๒/๒ ศาสนาเปน็ สิง่ เตือนใจให้ ๑๙ ๒๐ นบั ถอื ป.๒/๓ ป.๒/๔ ป.๒/๕ มนุษย์รู้จักชัว่ ดี และการอยู่ ป.๒/๖ ร่วมกนั ได้อยา่ งสนั ติสขุ ส. ๑.๒ ป.๒/๑ ป.๒/๒ ๒. พฤตกิ รรม ส. ๒.๑ ป.๒/๑ ป.๒/๒ การปฏิบตั ติ นตาม ๑๔ ของฉัน ป.๒/๓ ป.๒/๔ กฎระเบียบ กติกาเป็น ส ๒.๒ ป.๒/๑ ป.๒/๒ หนา้ ทีข่ องบุคคลในชุมชน ๓. สมดุ บนั ทึก ส.๓.๑ ป.๒/๑ ป.๒/๒ การบันทกึ รายรบั - รายจ่าย ๑๔ ๒๐ ของฉัน ป.๒/๓ ป.๒/๔ ในชีวิตประจำวันกอ่ ให้เกิด ๑๗ ๒๐ ส ๓.๒ ป.๒/๑ ป.๒/๒ ผลดตี อ่ การใช้จ่ายได้อยา่ ง ๘๐ ๑๐๐ ๔. ธรรมชาติ เหมาะสมกบั รายได้ของ น่าศึกษา ส ๕.๑ ป.๒/๑ ป.๒/๒ ตนเองและครอบครวั ป.๒/๓ ส ๕.๒ ป.๒/๑ ทรพั ยากรทางธรรมชาติ ป.๒/๒ ป.๒/๓ ป.๒/๔ และสงิ่ แวดลอ้ มทำใหเ้ กดิ ความสมั พันธ์ระหวา่ ง รวม ฤดูกาลกบั การดำเนนิ ชวี ติ ของมนษุ ย์
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215